You are on page 1of 2

วิธีการช่วยเหลือตนเองเบื้องต้น

1. ต้อ งควบคุม สติ ให้ได้ อย่ า ตื่ น กลัว จนท า


อะไรไม่ถกู แล้วเปิ ดสัญญาณเตือนเพลิงไหม้(ถ้า
5. อย่ าใช้ลิ ฟ ต์และบัน ไดเลื่ อ นขณะเกิ ด เพลิ ง
ไหม้ เพราะอุป กรณ์ เหล่ า นี้ จ ะหยุด การท างาน
อัคคีภยั
เนื่ อ งจากไม่ มี ก ระแสไฟฟ้ า ให้ ใ ช้บั น ไดหนี ไ ฟ
มี ) และหากได้ยิ น สัญ ญาณเตือ นไฟไหม้ ให้รี บ เท่านัน้
ออกจากตัวอาคารทันที 6. หากติ ด อยู่ในวงล้อ มของไฟ ให้โทรศั พ ท์
2. หากเพลิงมีขนาดเล็ก พอที่จะดับเองได้ ให้ แจ้งหน่วยดับ เพลิ งว่าท่ านอยู่ที่ ตาแหน่งใดของ
ใช้ถั ง ดั บ เพลิ ง เพื่ อ ดั บ ไฟ หากไม่ มี อ ุป ก รณ์ เพลิ ง ไหม้ แล้ว หาทางช่ว ยเหลื อ ตัว เองโดยปิ ด
หรือไม่สามารถดับเพลิงเองได้ ให้รีบแจ้งตารวจ ประตูให้สนิท หาผ้าหนา ๆ ชุบนา้ อุดตามช่องที่
ดั บ เพลิ ง โทร. 199 จากนั้ น รี บ ออกจากตั ว ควันเข้าได้
อาคารทันที 7. หากมีไฟลามติดตัว อย่าเพิ่ งวิ่ง เพราะยิ่ง
3. หากอยู่ในอาคารที่มีเพลิงไหม้ ก่อนจะเปิ ด วิ่ ง... ไฟจะยิ่ งลุก ลาม ให้ห ยุด นิ่ง และล้ม ตัว ลง
ประตูตอ้ งแตะลูกบิดก่อน โดยนัง่ ชันเข่าให้มนั ่ คง นอนกั บ พื้ น ทั น ที หลั ง จากนั้น ให้ใช้มื อ ปิ ดหน้า
หลังประตู แล้วใช้หลังมือแตะที่ลกู บิดประตู ถ้ามี กลิ้งตัวทับเสื้อผ้าที่ตดิ ไฟจนดับ
ความร้อนสูงแสดงว่ามีเพลิ งไหม้อยู่ในห้อง หรือ 8.ถ้าหนีอ อกมาได้แล้ว ไม่ค วรกลับ เข้าไปใน
บริเวณใกล้ ๆ ดังนัน้ อย่าเปิ ดประตูโดยเด็ดขาด อาคารอี ก หากยังมีคนอื่นติ ด อยู่ภายในอาคาร
แต่ห ากลูก บิ ด ไม่ ร อ้ น ให้ค่ อ ย ๆ บิ ด ออกช้า ๆ ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ดบั เพลิงทราบ เพื่อที่เจ้าหน้าที่จะ
โดยใช้ไหล่คอยหนุนประตูไว้ หากทาได้ควรหาผ้า ได้เข้าไปช่วยเหลือผูท้ ี่ตดิ อยู่
ชุบ น ้า ปิ ดจมูก หรื อ ผ้า ห่ ม ชุบ น ้า ชุ่ม ๆ ไว้ด ว้ ย
4. หากต้องเผชิญ กับควันไฟที่ ปกคลุม ให้ใช้
วิ ธี ค ลานต ่า ๆ และหนี ไ ปยั ง ทางออกฉุก เฉิ น
เพราะอากาศที่พ อหายใจได้จะอยู่ด า้ นล่างเหนือ
พื้นห้องไม่เกิน 1 ฟุ ต ควรเตรียมหน้ากากหนี
ไ ฟ ฉุ ก เฉิ น ( Emergency smoke mask) ไ ว้ จ ะ จัดทำโดย
ปลอดภัย กว่า หรื ออาจใช้ถงุ พลาสติก ใสขนาด อบต.หินแก้ว
ใหญ่ตกั อากาศ แล้วคลุมศีรษะหนีฝ่าควันออกมา Tel. 077-5200-01
อัคคีภยั หมายถึง ภัยอันตรายอันเกิดจาก แหล่งกาเนิดอัคคีภยั ดังต่อไปนี้ ผลกระทบที่เกิดจากอัคคีภยั
ไฟที่ขาดการควบคุมดูแล ทาให้เกิดการติดต่อ 1. อุปกรณ์ไฟฟ้า ผลที่เกิดขึน้ จากอัคคีภยั โดยตรงที่ทาให้
ลุกลามไปตามบริเวณที่มีเชือ้ เพลิงเกิดการลุก 2. การสูบบุหรี่หรือการจุดไฟ เกิดการบาดเจ็บและสูญเสียชีวิตอันเนือ่ งมาจาก
ไหม้ตอ่ เนือ่ ง 3.ความเสียดทานของประกอบของ ความร้อน เกิดความเสียหายแก่อาคารสถานที่
เครื่องจักร เครื่องยนต์ และเครื่องจักรอุปกรณ์ตา่ ง ๆ โดยตรง
สาเหต ุของอัคคีภยั อาจเกิดได้ 2 ลักษณะ 4. เครื่องทาความร้อน
ใหญ่คือ 5.วัตถุที่มผี วิ ร้อนจัด เช่น เหล็กที่ถกู การป้องกันและลดความสูญเสียจาก
1. สาเหตุของอัคคีภยั อันเกิดจากความตัง้ ใจ เผา ท่อไอนา้ อัคคีภยั
เช่น การลอบวางเพลิงหรือการก่อวินาศกรรม ฯ 6.เตาเผาซึ่งไม่มฝี าปิ ดหรือเปลวไฟที่ไม่
มีสิ่งปกคลุม 1. การจั ด ระเบี ย บเรี ย บร้อ ยดี หมายถึ ง
2.สาเหตุข องอั ค คี ภั ย อั น เกิ ด จากความ
7. การเชือ่ มและตัดโลหะ การป้องกันการติดต่อลุกลาม โดยจัดระเบียบใน
ประมาท ขาดความระมัดระวังแบ่งเป็ นประเด็ น
8. การลุกไหม้ดว้ ยตัวเอง เกิดจากการ การเก็ บรักษา สารสมบัติที่น่าจะเกิดอัคคีภัยได้
หลักๆ ได้ 2 ประเด็นคือ
สะสมของสารบางชนิด เช่น พวกขยะแห้ง ถ่าน ง่ายให้ถกู ต้องตามลักษณะการเก็บรักษา
2.1ขาดความระมัดระวังทาให้เชือ้ เพลิง
หินจะเกิดความร้อนขึน้ ในตัวของมันเอง 2. การตรวจตราซ่ อ มบ ารุง ดี หมายถึ ง
แพร่ ก ระจาย เช่น ในบริ เวณที่ มี ไอของตั ว ท า
จนกระทัง่ ถึงจุดติดไฟ การกาจัดสาเหตุในการกระจายตัวของเชื้อเพลิง
ละลาย หรือนา้ มันเชื้อเพลิงแพร่กระจาย เมื่อไป
9. เกิดจากการวางเพลิง และความร้อ น เช่น การตรวจตราการไหลรั ว่
สัมผัสกับแหล่งความร้อน เช่น บริเวณที่มีจดุ สูบ
10.ประกายไฟที่เกิดจากเครื่องจักร ของเชือ้ เพลิงต่าง ๆ
บุหรี่ก็จะทาให้เกิดอัคคีภยั ได้
2.2 ขาดความระมัดระวังการใช้ไฟและ ขัดข้อง 3. การมี ร ะเบี ย บวิ นั ย ดี หมายถึ ง การ
ความร้อน เช่น การที่สะเก็ดไฟจากการเชื่อมติด 11.โลหะหรือวัตถุหลอมเหลว ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและระเบี ย บข้อ บั ง คั บ ที่
ด้วยไฟฟ้ า หรือก๊าซไปตกลงในบริเวณที่ มีกอง 12. ไฟฟ้าสถิต เกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภยั เช่น สถานที่ใดที่ให้
เศษไม้ห รื อ ผ้า ท าให้เกิ ด การคุก รุ่น ลุก ไหม้เกิ ด 13.ปฏิกิริยาของสารเคมีบางชนิด เช่น มีไว้ซึ่งเครื่องดับเพลิง
อัคคีภยั โซเดียม โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส เมือ่ สัมผัสกับ 4. ความร่วมมือที่ ดี หมายถึ ง การศึ กษา
นา้ อากาศ หรือวัสดุอื่นๆ ทาให้เกิดการลุกไหม้ หาความรูค้ วามเข้า ใจในการป้ องกัน และระงับ
ได้ อั ค คี ภัย โดยการฝึ กการใช้อ ปุ กรณ์ เครื่ อ งมื อ
14.สภาพบรรยากาศที่มสี งิ่ ปนเปื้ อน เครื่องใช้ในการดับเพลิง ตลอดจนการฝึ กซ้อมใน
ก่อให้เกิดการระเบิดได้ การปฏิบตั ติ ามแผนฉุกเฉินเมือ่ เกิดเพลิงไหม้
15.จากสาเหตุอื่น ๆ

You might also like