You are on page 1of 48

สารบัญ

หนา
คํานํา
คํานําผูเขียน
ภาคทฤษฎี
- ทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม 1
- การแบงประเภทของเพลิง 5
- จิตวิทยาเมื่อเกิดอัคคีภัย 6
- การปองกันแหลงกําเนิดของการติดไฟ 8
- วิธีการดับเพลิงประเภทตาง ๆ 10
- เครื่องดับเพลิงชนิดตาง ๆ 12
- วิธีการใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล 17
ที่ใชในการดับเพลิง
- แผนการปองกันและระงับอัคคีภัย 20
- การจัดระบบปองกันและระงับอัคคีภัย และการประยุกตใชระบบ 35
และอุปกรณที่มีอยูในสถานประกอบการ

ภาคสนาม 43

บรรณานุกรม

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
คํานํา

การเกิดเพลิงไหมในสถานประกอบการ ยอมกอใหเกิดความเสียหาย ตออาคาร


สถานที่ อุปกรณการผลิต วัตถุดิบ สินคา บุคลากร รวมถึงภาพพจนของสถานประกอบการ
ทําใหการผลิตหยุดชะงัก สงผลกระทบตอเศรษฐกิจของนายจางและภาพรวมของประเทศ การ
ดําเนินการเพื่อการปองกันมิใหเกิดเพลิงไหม หรือการจัดการระงับเพลิงในขั้นตน เพื่อปองกัน
ไมใหเพลิงไหมลุกลามใหญโตนั้น เปน สิ่งสําคัญยิ่ง

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จึงไดจัดทํา


หนังสือ "คูมือการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน" เลมนี้ขึ้น เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติการ
ฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน ซึ่งนายจางเจาของสถานประกอบการทุกแหงตองจัดใหลูกจาง
อยางนอยรอยละ 40 ของจํานวนลูกจางในแตละหนวยงานของสถาน-ประกอบการนัน้ ผานการ
ฝกอบรมหลักสูตรนี้ ทั้งนี้เพื่อเปนไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การปองกันและ
ระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการเพื่อความ ปลอดภัยในการทํางานสําหรับลูกจาง ลงวันที่
21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 จึงหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้ ซึ่งมีเนื้อหารายละเอียด
เกี่ยวกับการดับเพลิงขั้นตนจะเปนประโยชนตอนายจาง ลูกจาง และผูเกี่ยวของนําไปใชปฏิบัติ
ไดดีตอไป

กองตรวจความปลอดภัย

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
พฤศจิกายน 2544

ภาคทฤษฎี

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
1.

1.ทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม

การสันดาป หรือการเผาไหม (COMBUSTION) คือ ปฏิกิริยาเคมี ที่เกิด


จากการรวมตัวของเชื้อเพลิงกับออกซิเจน ซึ่งเปนผลใหเกิดความรอนและแสงสวางกับสภาพการ
เปลี่ยนแปลง
ไฟจะเกิดขึ้นไดตองประกอบดวย องคประกอบ 3 อยาง หรือเรียกวา ทฤษฎี
สามเหลี่ยมของไฟ คือ
1. เชื้อเพลิง
2. ความรอน
3. ออกซิเจน

2.
รูปที่ 1 สามเหลี่ยมของไฟ

เมื่อเกิดไฟขึ้น และมีการเกิดไฟอยางตอเนื่อง ซึ่งประกอบดวย องคประกอบ 4 อยาง


เปนองคประกอบของการลุกไหมอยางตอเนื่องมีผลใหเกิดเพลิงไหม เรียก ทฤษฎีปร ามิดของไฟ
(Tetrahedron)

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
1. เชื้อเพลิง 2. ความรอน
3. ออกซิเจน 4. ปฏิกิริยาลูกโซ

รูปที่ 2 องคประกอบของการเกิดเพลิงไหม
3.

1. เชื้อเพลิง
เชื้อเพลิงทีท่ ําใหเกิดการลุกไหมมาจากสารเคมี ซึ่งอาจแบงได 2 ประเภท คือ
สารอนินทรียเคมี และอินทรียเคมี
สารอนินทรียเคมี เปนสารที่เปนพวกแรธาตุ ที่ไมไดเกิดจากสิ่งมีชวี ิต และไมมี
สวนประกอบของคารบอน (C) เชน โปตัสเซียมไนเตรท (KNO3) โซเดียม (Na) แอมโมเนียม
ไนเตรท (NH4 NO3) รวมทัง้ กรดตางๆ เชน Sulfuric acid (H2SO4)
Hydrochloric acid (HCI) และ Nitric acid (HNO3) เปนตน
กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
สารอินทรียเ คมี เปนสารทีม่ าจากสิ่งที่มชี ีวิต มีสวนประกอบของธาตุคารบอน (C)
อยูเสมอ เปนสารเคมีที่ไดมาจากรางกายมนุษย สัตว และพืช เมื่อสิ่งเหลานี้ตายและทับถมกันนานนับ
พันลานป ก็จะกลายเปนน้ํามัน ถานหิน กาซธรรมชาติ สารอินทรียท ี่เปนเชื้อเพลิง ซึ่งเปนสารไวไฟ
หรือ
สารระเบิด ไดมาจากน้าํ มัน ถานหิน กาซธรรมชาติ ผลิตภัณฑที่ไดมาจากอินทรียสารถูกนําไปผลิต
สารเคมีอื่นไดอีกมากมาย เชน ผลิตน้ํามันเบนซิน (Gasoline) น้ํามันดีเซล (Solar oil)
น้ํามันกาด (Kerosene) น้ํามันหลอลื่น (Lubricant) ผลิตภัณฑพลาสติกตางๆ รวมทั้งเสนใย
สังเคราะห ผลิตยารักษาโรค เครื่อง-สําอาง ตัวทําละลาย (Solvent) ยากําจัดแมลง ศัตรูพืช ปุย
และวัตถุระเบิดตางๆ เปนตน
2. ความรอน
เปนสิ่งทีท่ ําใหอุณหภูมิของเชื้อเพลิงสูงขึ้นถึงจุดติดไฟ (lgnition point) ทําให
องคประกอบของการเกิดไฟ (ปฏิกิริยาการสันดาป) เกิดขึ้นอยางเหมาะสม ซึ่งเชื้อเพลิงแตละชนิด
ยอมจะมี
จุดติดไฟไมเหมือนกัน เชน เชื้อเพลิงเหลวอาจมีจุดติดไฟต่ํากวาพวกเชื้อเพลิงแข็ง ซึ่งสามารถแยก
คุณสมบัติของความรอนทีท่ าํ ใหเชื้อเพลิงถึงจุดติดไฟตางๆ ดังนี้
- จุดวาบไฟ (Flash Point) คือ จุดที่มีปริมาณความรอนเพียงพอให
เชื้อเพลิงเหลวหรือแข็งใดๆ คายไอหรือกลายเปนไอ เขาผสมกับอากาศอยางไดสัดสวนก็จะลุกไหมวาบขึน้
ชั่วขณะแลวก็จะดับไป เพราะอัตราการระเหยของสารเชื้อเพลิงจากของแข็งหรือของเหลวนอยเกินกวาที่
จะทําใหเกิดเปลวไฟอยางตอเนื่อง
- จุดลุกติดไฟ (Fire Point) คือ จุดที่มีปริมาณความรอนเพียงพอใหเชื้อเพลิง
เหลวหรือแข็งใด ๆ คายไอหรือกลายเปนไอ เขาผสมกับอากาศอยางไดสัดสวน และเกิดการลุกไหมขึ้น
เมื่อมีเปลวไฟหรือประกายไฟที่เหมาะสม และเกิดเปนการเผาไหมอยางตอเนื่อง โดยปกติแลวจุดติดไฟ
ของ
สารเชื้อเพลิงจะสูงกวาจุดวาบไฟมากหรือนอยขึ้นกับคุณสมบัติของเชื้อเพลิงชนิดนัน้ ๆ
- จุดลุกติดไฟไดเอง (Autoignition temperature หรือ AIT) คือ
จุดอุณหภูมิทที่ ําใหสารเชื้อเพลิงเกิดการลุกไหมขึ้นไดเอง โดยไมตอ งอาศัยการจุดติดไฟจากแหลงภายนอก 4.

ในการเกิดเพลิงไหมจะมีปฏิกิริยาดูดและคายความรอนเกิดขึ้น ดังนี้
- ปฏิกิริยาคายความรอน (Exothermic reaction) คือ การเกิดปฏิกิรยิ า
แลวได

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
พลังงานความรอนเกิดขึ้น เชน ปฏิกิริยาการสันดาป หรือปฏิกิริยาการลุกไหม
C + O2 CO2 + 94.5 Kcal/mol
- ปฏิกิริยาดูดความรอน (Endothermic reaction) คือ การ
เกิดปฏิกิริยาแลวมีการใชพลังงานความรอนไป ทําใหความรอนลดลงจึงทําใหสามารถดับไฟได
H2 O (l) + 10.5 kcal/mol H2 o (g)
3. ออกซิเจน
บรรยากาศทั่วๆ ไปมีไนโตรเจน 79.04 % ออกซิเจนผสมอยู 20.93 %
และคารบอนไดออกไซด 0.03 % โดยออกซิเจนจะเปนตัวทําใหเกิดการเผาไหม การเผาไหมแตละครั้ง
ตองการ ออกซิเจน ประมาณ 16 % เทานัน้ ถาออกซิเจน ต่ํากวา 16 % ก็จะไมชวยใหเกิดการ
เผาไหมตอไป
ไฟจึงจะมอดดับลงได ดังนัน้ จะเห็นวาเชือ้ เพลิงทุกชนิดถูกลอมรอบไปดวยออกซิเจนอยางเพียงพอสําหรับ
การเผาไหม ยิ่งมีออกซิเจนมากเชื้อเพลิงก็ยิ่งติดไฟไดดีขึ้น และเชื้อเพลิงบางประเภทมีออกซิเจนใน
ตัว-เองอยางเพียงพอที่จะทําใหตัวเองลุกไหมไดโดยไมตองอาศัยออกซิเจนที่อยูโดยรอบ
4. ปฏิกิริยาลูกโซ
คือ ปฏิกิริยาที่เกิดจากการลุกติดไฟอยางตอเนื่อง ตราบเทาที่ยงั มีองคประกอบทั้ง 3
อยาง หนุนเนื่องกันอยู ทําใหขนาดและความรุนแรงของเพลิงเพิม่ ขึ้น เมื่อรวมกันในปริมาณและ
คุณสมบัติที่เหมาะสมแลว จะทําใหเกิดปฏิกิริยาลุกติดไฟขึ้นอยางตอเนื่อง แตถาขาดอยางใดอยางหนึ่ง
แลว ปฏิกิริยาลุกติดไฟจะไมเกิดขึ้น จากเหตุผลนี้เอง ทําใหเกิดการคิดคนสารที่ใชในการกําจัด
องคประกอบของไฟตัวใดตัวหนึ่ง หรือหลายตัวใหหมดไปเพื่อใหไฟดับ

5.

2.การแบงประเภทของเพลิง

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
ประเภทของเพลิง แบงออกเปน 4 ประเภท ตามมาตรฐาน NFPA
(National Fire Protection Association)
1. ประเภท A มีสัญลักษณเปนเครื่องหมาย ∆ ภายในมีอักษร A โดยจะมีสี
ของพื้นเปนสีเขียว ตัวอักษรสีดํา
คือ เพลิงที่เกิดจากวัตถุไหมไฟโดยทัว่ ไป เชน ไม, กระดาษ, ถานหิน เปนตน
เชื้อเพลิงทีท่ ําใหเกิดเพลิงประเภทนี้ เมื่อเผาไหมแลว จะมีขี้เถาเหลืออยู

2. ประเภท B มีสัญลักษณเปนเครื่องหมาย … ภายในมีอักษร B โดยจะมี


สีของพื้นเปนสีแดง ตัวอักษรสีดํา
คือ เพลิงที่เกิดจากสารเชื้อเพลิงที่เปนของเหลวและแกส

3. ประเภท C มีสัญลักษณเปนเครื่องหมาย { ภายในมีอักษร C โดยจะ


มีสีของพืน้ เปนสีฟา ตัวอักษรสีดํา
คือ เพลิงที่เกิดจากอุปกรณไฟฟา ที่มีกระแสไฟฟาไหลอยู

4. ประเภท D มีสัญลักษณเปนเครื่องหมาย œ ภายในมีอักษร D โดยจะ


มีสีของพืน้ ที่เปนสีเหลือง ตัวอักษรสีดํา
คือ เพลิงที่เกิดจากโลหะติดไฟ เชน แมกนีเซียม, ติตาเนียม, ลิเทียม 6.

3.จิตวิทยาเมื่อเกิดอัคคีภัย

มนุษยเมื่อเผชิญสถานการณคับขัน เกิดความตระหนก ความกลัวตาย โดยสัญชาติ-


ญาณแลวทุกคนจะพยายามดิ้นรน หรือใชวิธีหนีใหเร็วที่สุดเมื่อมีภัย ในขณะทีห่ นีทกุ คนจะตกอยูใ นภาวะ
กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
ตื่นตระหนก ทําใหมีปฏิกิรยิ าหลายอยางที่ผิดปรกติวิสยั ได ซึ่งมักเกิดจาก
- คาดคะเนไมได เดาไมถูกวาเหตุการณจะแปรเปลี่ยนไปอยางไร
- เหตุการณที่ปรากฏมีการตอเนื่องกันนาน
- ขาดโอกาสที่จะตอบโตกับเหตุการณที่กาํ ลังเปนอยู
- หลบเลี่ยงหลีกหนีไมได จนตรอก
- ขาดกําลังใจ ขวัญเสีย ขาดที่พึ่ง ขาดความเชื่อมั่น
อัคคีภัย เมื่อเกิดขึ้นแลวยอมสรางความเสียหายแกชีวติ รางกาย ทรัพยสนิ ของผูอยูใน
เหตุการณไมมากก็นอย เมื่อเกิดเหตุแตละครั้งจะพบวามีบุคคลหลายกลุมอยูในที่เกิดเหตุ คือ
1. ผูเสียชีวิต หรือผูบาดเจ็บ รวมถึงบาดเจ็บทางกายและสภาพจิตใจ
2. ผูเขาชวยเหลือคนบาดเจ็บ ไดแก ผูที่มคี วามรู และไดรับการฝกฝนมาแลว
3. ผูเขาชวยเหลือระงับภัย ไดแก เจาหนาที่ที่ไดรับการอบรมและฝกฝนการระงับภัย
กลุมบรรเทาสาธารณภัย ตํารวจดับเพลิง องคกรตางๆ ที่ไดจัดเตรียมบุคลากรไว
เสริมหรือชวยเหลือ
4. คนดูทั่วไป หรือที่ชาวบานเรียกวา ไทยมุง ในกลุมนี้แบงเปน 2 พวก
4.1 ผูอยากรู อยากเห็น
4.2 ผูที่รอโอกาสเพื่อประกอบมิจฉาชีพ
สิ่งกระตุนตางๆ ที่มีผลตอสภาวะจิตใจของผูอยูในเหตุการณ
1. อาการตื่นตระหนก/ตกใจ (Panic) ความมีสติเทานั้นที่จะควบคุมอาการตระหนก
ไวได ตั้งแตเริ่มอาการตระหนกจนถึงชวงเวลาที่ไดสติ บางคนใชเวลาสั้นๆ ก็ไดสติ ในชวงเวลาที่ยังไมได
สตินั้น
ถาเคยทําอะไร เคยฝกอะไรไวบางก็จะทําไปตามนัน้ ไดบาง
2. แสง สี แสงของไฟ ความสวางของการลุกไหม ยอมกระตุนใหเกิดความกลัว ถา
ขาดแสง หรือเกิดความมืดไปจากปกติ จะทําใหเกิดความกลัวไดเชนกัน นอกจากนัน้ สีของควันไฟ สี
ของการลุกไหมก็เปนตัวกระตุนอีกทางหนึง่ ดวย
3. เสียง มีสวนกระตุน ใหเกิดความกลัว เกิดการตกใจ ทําใหอารมณเปลี่ยนแปลงได
เรงใหเกิดความกลัวขึ้นได เ สียงแตกประทุจากการลุกไหม เสียงแตกหักของอุปกรณ หรือในทางตรงกัน
ขามในภาวะทีข่ าดเสียงคือความเงียบสงัด ก็ทําใหเกิดความกลัวได
4. กลิ่น เปนสิ่งที่กระตุน อีกอยางหนึ่ง อันไดแกกลิ่นควันไหม กลิ่นคาวเลือด กลิ่น
สาร-ระคายเคือง กลิ่นจากการระเบิด เปนตน

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
7.

5. ควัน (Smoke) คือสารผสมระหวางเขมา ขี้เถาและวัสดุตางๆ ที่เกิดมาจาก


กองเพลิงรวมทั้งแกสและไอ มีสีตางๆ ตั้งแตสีดํา สีเทา สีขาวขุนอมฟา ฯลฯ ทําใหทัศนวิสยั ในการ
มองเห็นลดลงและมีสารพิษที่เปนอันตรายตอรางกายลอยสะสมอยูในควันดวย
6. อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง (ความรอน) การสัมผัสวัตถุทมี่ ีอุณหภูมิแตกตางกันมากๆ
ยอมกระตุนใหเกิดความกลัวไดมากนอยขึน้ อยูกับประสบการณของแตละคน
7. ขาว ขาวที่เกิดในภาวะตางๆ ที่สอใหเห็นถึงความสับสนและไมแนนอน เปน
อันตรายแกคนนัน้ ๆ หรือญาติพี่นอง พรรคพวก หรือขาวนากลัวตางๆ ยอมกระตุนอารมณใหเกิดความ
กลัวได
สิ่งที่ควรปฏิบตั ิและควรรับทราบ
เมื่อเกิดเพลิงไหมคนที่อยูในเหตุการณเห็นควันฟุง ไปทัว่ จะเกิดอาการตระหนก
(Panic)
ขาดสติ และพรอมที่จะวิง่ ออกจากสถานที่นนั้ เพื่อเอาชีวิตรอด ผูทมี่ ีสติอยูบางก็รีบเขาไปดับเพลิงไหม
แตถาใชเครื่องดับเพลิงไมถกู ตอง หรือใชวัสดุอุปกรณที่ไมเหมาะสมเขาดับเพลิง จะทําใหไมสามารถ
ดับเพลิงได
สิ่งทีท่ ําใหมีการตอบสนองหรือรับรูเหตุการณไดอยางมีประสิทธิภาพ ขึ้นอยูกับ
1. การเรียนรู กรณีเพลิงไหมจะตองรูถ ึงสาเหตุ ลักษณะการลุกไหม ปจจัย
สนับสนุนการลุกไหม อันตรายจากการลุกไหม ระยะเวลาของการลุกไหม ผลเสียที่เกิดขึน้ ทัง้ ในขณะเกิด
หลังเกิดความเสียหายจากอัคคีภัยทําใหมกี ารเตรียมตัว เตรียมการ เตรียมแผน ฝกคน สะสมอุปกรณเพื่อ
ตอสูกับไฟไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังตองมีการเตรียมการปองกัน มิใหเกิดภัยหรือบรรเทา
ความรุนแรงอีกทางหนึง่ ดวย
2. การเตือนภัย ขาวสารตางๆ ที่เกีย่ วของกับภยันตรายตางๆ ถาหากไดรับทราบขาว
หรือสัญญาณเตือนภัยอยางเหมาะสม มีจังหวะและขั้นตอนที่เหมาะสม การเตือนภัยที่ชามาก ก็ทําใหเกิด
อัคคีภัยลุกลามใหญโตและรุนแรง
3. การวางแผนรับสถานการณ เปนสิ่งสําคัญในการรับอัคคีภัย การวางแผนที่ดี
จะตองมีรายละเอียดพอสมควร และตองมีการซักซอม ตลอดจนมีการฝกซอม แกไขหรือปรับปรุงสิ่งที่ไม
ดี
4.การสื่อสารและการคมนาคม การสื่อสารและการใหขอ มูลที่แมนยําถูกตอง และรวดเร็ว
เปนปจจัยที่สาํ คัญในขณะเกิดอัคคีภัย
5. ผูนํา ถาผูน ํามีความสนใจดีรับทราบและไดตระเตรียมการณ ยอมเห็นชัดวาจะสามารถ
รับกับสถานการณอัคคีภัยไดดี

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
6. ขวัญและกําลังใจ การมีอุปกรณที่ดี มีผูนาํ ที่ดี ผานการฝกฝนมาอยางดี มี
ระเบียบวินัยเปนตน ถาขวัญและกําลังใจเขมแข็งแลวกิจกรรมตางๆ ทีย่ ุงยากลําบากเพียงใด ก็
8.
สามารถดําเนินใหลุลว งจนเปนผลสําเร็จจนได

4.การปองกันแหลงกําเนิดของการติดไฟ

การเกิดเพลิงไหมนนั้ เกิดขึ้นเนื่องจากปฏิกริ ิยาระหวางความรอน เชื้อเพลิง และ


ออกซิเจนในอากาศ เมื่อทราบวาอะไรบางที่สามารถเปนแหลงใหเกิดความรอนสูงพอที่จะติดไฟได
จําเปนตอง
ควบคุมไมใหมีองคประกอบอีก 2 อยาง เขาไปอยูรวมดวย แตถาควบคุมไมไดทั้ง 2 อยาง ซึ่งปกติเรา
ควบ-คุมออกซิเจนไมไดเพราะโดยปกติจะมีออกซิเจนผสมอยูในอากาศโดยธรรมชาติ เราจึงตองดูแล
ควบคุมไมใหเชื้อเพลิงเขาไปสัมผัสกับสิ่งทีท่ ําใหเกิดความรอนสูง
ขอแนะนําสําหรับการดูแลปองกันแหลงกําเนิดของการติดไฟนั้น อาจทําไดโดยการลด
ความรอนและ/หรือการกําจัดหรือปองกันไมใหมีเชื้อเพลิงไปสัมผัสความรอน ซึ่งกลาวโดยสังเขปไดดังนี้
1 อุปกรณไฟฟา ควรใชใหเหมาะสมกับงาน และควรมีการตรวจสอบอุปกรณไฟฟา
เพื่อปองกันไฟฟาลัดวงจร นอกจากนีก้ ารทําความสะอาดอุปกรณไฟฟาควรใชนา้ํ ยาเฉพาะและควรเปน
ชนิดที่ไมไวไฟ
2 การลดความเสียดทาน อาจทําไดโดยการใชสารสําหรับหลอลื่นที่ไมไวไฟและเปน
ชนิดที่ไดรับการแนะนําจากผูส รางอุปกรณหรือฝายวิศวกรรมควรมีการทําความสะอาดอุปกรณเสมอๆ เพื่อ
ไมใหเกิดการสะสมของฝุนซึ่งอาจเปนเชือ้ ไฟ
3 วัสดุไวไฟชนิดพิเศษ ควรเก็บรักษาใหถูกตองซึ่งควรเปนการเสนอแนะจากฝาย
วิศวกรรมหรือผูเชี่ยวชาญ
4 การเชื่อมและการตัดโลหะ ควรจัดเปนบริเวณแยกตางหากจากงานอื่นๆ ควรอยูใน
บริเวณที่มกี ารถายเทอากาศสะดวกและพืน้ ที่จะตองเปนชนิดทนไฟ แตถาหากจัดใหอยูแยกตางหากไมได
ก็ควรจัดเตรียมบริเวณสําหรับการตัดและการเชื่อมนั้น ตองคํานึงถึงการใชพื้นทีท่ นไฟ การปองกัน
ประกายไฟจากการเชื่อมหรือตัดไมใหกระเด็นไปในบริเวณอื่นๆ โดยเฉพาะตองไมมเี ชื้อเพลิงอยูในบริเวณ
ใกลเคียง และควรจัดหาอุปกรณสําหรับดับเพลิงไวในบริเวณนี้ดวย
5 การใชเตาเผาแบบเปดหรือเปลวไฟทีไ่ มมีสิ่งปดคลุม ตองมีการปองกันการกระเด็น
ของ ลูกไฟ ตองไมเก็บสารที่เปนเชื้อเพลิงไวในบริเวณที่ใกลเคียง ไมควรทิ้งใหติดไฟโดยไมมีการดูแล
รวมทัง้ ตองมีการถายเทอากาศที่เหมาะสม
6 การสูบบุหรี่และการจุดไฟ ควรจัดใหมีบริเวณสูบบุหรี่สําหรับพนักงาน และจัดปาย
แสดงบอกไวและตองเขมงวดใหพนักงานปฏิบัติตาม บริเวณที่อนุญาตใหสูบบุหรี่ควรจัดภาชนะ
กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
สําหรับใสขี้บหุ รี่ ในบริเวณใดที่หามการสูบบุหรี่ควรหามจุดไฟดวยและเตรียมการสําหรับปองกันการเกิด
อัคคีภัย
ที่อาจเกิดจากความประมาทเลินเลอ รวมทัง้ ประกาศหลักปฏิบัติในการใชบริเวณนี้เพื่อใหพนักงานเขาใจ
และใหความรวมมือปองกันอัคคีภัย 9.

7 วัตถุที่ผิวรอนจัด เชน ปลองไฟ ทอไอน้ํา ทอน้าํ รอน ไมควรติดตั้งผานสวนที่


เปนพืน้ หรือเพดาน ควรจัดใหผานผนังทนไฟหรือมีการหุม หอดวยสารหรือวัตถุทนไฟ รวมทัง้ จัดใหมีการ
ถายเทความรอนในบริเวณนั้นดวย สําหรับโลหะที่ถูกทําใหรอนจัด ควรบรรจุในภาชนะหรือผานไปตาม
อุปกรณ
ที่จัดไวโดยเฉพาะ
8 ไฟฟาสถิตย ประจุไฟฟาสถิตยสว นใหญเกิดขึน้ เนื่องจากการเสียดสีของสารที่ไม
เปนตัวนํา ซึ่งเมื่อเกิดการถายเทประจุไฟฟาก็จะทําใหเกิดประกายไฟ และถาประกายไฟสัมผัสกับ
เชื้อเพลิง
ก็อาจเกิดการลุกไหม การปองกันไมใหเกิดไฟฟาสถิตยเปนไปไมได วิธีแกไขทีน่ ิยมใชโดยทัว่ ไปก็คือ
ก. การตอสายดิน (Grounding)
ข. การตอกับวัตถุทที่ ําหนาที่เปนตัวรับประจุได (Bonding)
ค. รักษาระดับความชื้นสัมพันธที่ระดับที่เหมาะสม
ง. การทําใหบรรยากาศรอบๆ เปนประจุไฟฟา ซึ่งจะทําหนาที่เปนตัวนําประจุไฟฟา
ออกจากวัตถุที่เก็บประจุไฟฟาสถิตไวในตัวมัน แตวิธีนคี้ วรใชภายใตคําแนะนํา
ของผูเชี่ยวชาญทางดานนี้เทานั้น เพราะมิฉะนัน้ กรรมวิธีในการทําใหเกิดประจุ
ไฟฟา อาจเปนตัวกอใหเกิดการลุกไหมเสียเอง
9 เครื่องทําความรอน เชื้อเพลิงที่ใชสําหรับเครื่องทําความรอนควรมีจุดติดไฟที่
อุณหภูมิสูง บริเวณที่ติดตั้งเครื่องควรมีการระบายอากาศที่ดี เพราะเชื้อเพลิงถาเผาไหมไมสมบูรณจะเกิด
กาซคารบอนโมนอกไซดซึ่งเปนอันตรายตอคน ควรอยูหางจากสารไวไฟในกรณีทมี่ ีเปลวไฟ ควรมีฝาปด
กั้น
ที่ทนไฟและไมติดไฟ มีปลองสําหรับปลอยอากาศรอนหรือกาซที่เกิดจากการเผาไหม ขี้เถาที่เกิดขึ้นจาก
การเผาไหมไมควรตักออกจนกวาไฟจะมอดหมดแลว เครื่องทําความรอนทีห่ ิ้วหรือยายเปลีย่ นที่ได ควรมี
ที่สําหรับหิว้ หรือสําหรับการขนยายที่เหมาะสม
10 การลุกไหมดวยตนเอง เกิดจากปฏิกิริยาการสันดาปของออกซิเจนกับเชื้อเพลิง
จนกระทั่งติดไฟ และเกิดการลุกไหมขึ้น สวนมากมักจะเกิดขึ้นในบริเวณที่มีอากาศพอที่จะเกิดการ
สันดาปได แตมีการระบายอากาศไมเพียงพอ ซึ่งจะทําใหเกิดความรอนสูง ดังนัน้ ในทีท่ ี่เก็บสารที่อาจเกิด
กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
การสันดาปไดควรมีการถายเทอากาศทีเ่ หมาะสมและปราศจากเชื้อเพลิงที่อาจเรงปฏิกิริยาการสันดาป
การใชถังขยะชนิดที่มีฝาปดมิดชิด สําหรับขยะที่เปอนน้ํามันหรือสีจะชวยปองกันการลุกไหมดว ยตนเองได

10.

5.การดับเพลิงประเภทตางๆ

หลักการดับเพลิง สามารถทําได 4 วิธี คือ


1. การกําจัดเชื้อเพลิง ทําไดโดยการ
นําเชื้อเพลิงออกไปจากบริเวณเกิดอัคคีภัย และสําหรับกรณีขนถายเอาเชื้อเพลิง
ออกไปไมได ควรใชวิธีนาํ สารอื่นๆ มาเคลือบผิวของเชือ้ เพลิงเอาไว เชน การใชผงเคมี โฟม น้ํา
ละลายดวยผงซักฟอก ซึ่งเมื่อฉีดลงบนผิววัสดุแลวจะปกคลุมอยูนานตราบเทาทีน่ ้ําหรือสารเคมีอนื่ ๆ ที่
ผสมในน้าํ ยังไมสลายตัว
2. การกําจัดออกซิเจน โดยการปดกั้นออกซิเจนไมใหไปรวมตัวกับไอของเชื้อเพลิง
เนื่องจากออกซิเจนเปนองคประกอบหนึง่ ของไฟ วิธกี ารกําจัดออกซิเจนมีหลายวิธี เชน ฉีดน้ําหรือสาร-
ปกคลุมอื่นๆ ไปคลุมผิวเชื้อเพลิงหรือฉีดแกสเฉื่อย เชน ไนโตรเจน หรือคารบอนไดออกไซดไปปกคลุม
บริเวณเพลิงไหมทาํ ใหจํานวนออกซิเจนในอากาศมีปริมาณต่ําลง จนไมมีการสันดาปอีกตอไป
โดยทั่วไปแลวเชื้อเพลิงจะถูกลอมดวยออกซิเจนประมาณ 21 % ซึ่งเกินพอสําหรับการ
เผาไหมเพราะไฟตองการเพียง 16 % แตถาหากเราสามารถทําใหออกซิเจนลดจํานวนลงไปไดก็ไมได
หมายความวาเราสามารถดับไฟไดเลยทีเดียวหากออกซิเจนนอยลง ไฟก็อาจยังคงไหมแบบคุได (ไมมี
เปลว) เชน ไฟไหมในตูเก็บของในลักษณะคุ เมื่อเปดฝาตูออกไฟก็จะลุกทันที ทั้งนี้เพราะออกซิเจนจาก
ภายนอกเขาไปชวยในการเผาไหมอยางเพียงพอ
3. การลดอุณหภูมิ (ลดความรอน) เมื่อทําใหอุณหภูมิของเชื้อเพลิงต่ําลงไปกวา
จุดวาบไฟ แมจะมีเชื้อเพลิงและออกซิเจนผสมกันอยูกไ็ มเกิดการสันดาป เพลิงก็จะสงบลง วิธกี ารลด
อุณหภูมิหรือการลดความรอน เปนวิธีที่ใชกันแพรหลายซึ่งจะใชน้ําทําการดับไฟ การดับโดยวิธนี จี้ ะทําให
เชื้อเพลิงเย็นตัวลง เพื่อลดอัตราการกลายเปนไอเพื่อปองกันการระเบิด เนื่องจาก OVER
PRESSURE หรือทําใหความรอนต่ําลง
4. การขัดขวางปฏิกิริยาลูกโซ การเผาไหมที่เปนไปอยางตอเนื่อง รวดเร็วและแรงขึ้น
เรื่อยๆ เกิดขึ้นเนื่องจากอนุมูลอิสระที่ถกู เหวี่ยงออกไปแลวกลับเขาไปที่ฐานของไฟอยางรวดเร็ว ดังนัน้

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
จึงมีการทดลองหาสารเคมีทสี่ ามารถขัดขวางการเกิดปฏิกิริยาลูกโซของไฟ ซึ่งพบวาฮาลอน
(HALON) เมื่อฉีดใสไฟมันจะเขาไปแทนที่อนุมูลอิสระอยางรวดเร็ว แตตองระวังในการใชเพราะ
อาจจะทําใหขาดอากาศหายใจได เนื่องจากฮาลอน (HALON) หนักกวาอากาศ จึงสามารถไล
อากาศออกไป สารดัง-กลาวไดแก ไฮโดรคารบอนประกอบกับฮาโลเจน (Halogented-
Hydrocarbon) ซึ่งสารฮาโลเจน ไดแก ไอโอดีน โบรมีน คลอรีน และฟลูออรีน (เรียง
ตามลําดับความสามารถในการใชงาน) สารดับเพลิงประเภทนี้มีชื่อเรียกวา ฮาลอน (HALON)
11.
เชน HALON 1211 HALON 1301 แตปจจุบันไดถกู เลิกผลิตแลว โดยมีสารชนิดอื่นมา
ทดแทน เชน FM-200
ฉะนั้น การดับไฟใหมีประสิทธิภาพ จึงควรทราบประเภทของไฟที่เกิดจากสารเชื้อเพลิง
ตางๆ เพื่อทีจ่ ะสามารถใชสารดับเพลิงไดอยางถูกตองและเพื่อความปลอดภัยของผูเขาไปดับไฟ

การดับเพลิงประเภท A โดยการลดปฏิกิริยาของการลุกไหม และการทําใหเย็นตัวลงโดยการใช


น้ําจากเครื่องปมน้ําที่ไหลตามทอ ผานหัวฉีด เชน พวกทอแหง (Dry Riser) และทอเปยก
(Wet Riser) ระบบน้ําดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System) แตถามี
ปริมาณไฟเล็กนอย (การลุกไหมประมาณ 2-3 นาทีแรก) ก็อาจใชเครื่องดับเพลิงชนิดถือหิว้
น้ํา เปนสารดับเพลิงที่เหมาะสําหรับเพลิงประเภท A
การดับเพลิงประเภท B ใชวิธีกําจัดออกซิเจนใหมีปริมาณไมเพียงพอตอการลุกไหมสําหรับกรณีเพลิงที่อยู
ในภาชนะเปด โดยใชเครื่องดับเพลิงแบบคารบอนไดออกไซดและน้าํ ยาเหลวระเหยในการกําจัดออกซิเจน
และควบคุมไอของเชื้อเพลิง
โฟม (Foam) สามารถดับเพลิงประเภท B ได แตประสิทธิภาพอาจดอยกวา
โฟมใชควบคุมบริเวณการคายไอของเชื้อเพลิงใหนอยจนไมสามารถจะขับไอของเชื้อเพลิงใหมาติดไฟไดและ
เปนการปดกั้นออกซิเจนในอากาศดวย
การดับเพลิงประเภท C ถาหากสามารถตัดกระแสไฟฟาออกไดก็จะสามารถดับดวยวิธีการดับเพลิง
ประเภท A แตถาไมสามารถตัดกระแสไฟฟาได ควรใชเครื่องดับเพลิงที่ดับไฟประเภท C กาซ
คารบอนไดออกไซค หรือฮาลอนซึ่งเปนสารดับเพลิงทีเ่ หมาะสมและไมเปนสื่อไฟฟาจะดับเพลิงประเภท
C ไดผลดี
การดับเพลิงประเภท D ไมสามารถกําจัดการทําปฏิกิริยาของเชื้อเพลิงกับออกซิเจนโดยใชเครื่องดับเพลิง
ชนิดคารบอนไดออกไซด เพราะทําใหเกิดปฏิกิริยาลุกไหมมากขึน้ การใชทรายแหง (SiO2) เพื่อกลบ
ผิวของไฟที่ลุกไหมเพราะทรายทีห่ ลอมเหลวละลายจะดูดกลืนความรอน ใหการลุกไหมลดลงและยังปดกัน้
ออกซิเจนในอากาศดวย สําหรับการใชผงแกรไฟตดับเพลิง เปนการใชหลักการเชนเดียวกับวิธีของทรายแหง

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
และมีผลเทากัน การใชผงเกลือแกงซึง่ ไมทําปฏิกิริยากับเชื้อเพลิงประเภทโลหะ และสามารถกัน้ ออกซิเจน
ไมใหทาํ ปฏิกิริยากับโลหะเชือ้ เพลิงไดอีกดวย
การใชกาซเฉื่อย เชน ฮีเลี่ยม อารกอน ไนโตรเจน กาซเฉื่อยจะไปทําปฏิกิริยากับโลหะ
ที่ ลุกไหม และควบคุมไมใหเกิดการลุกไหมตอไป

12.

6.เครื่องมือดับเพลิงประเภทตางๆ

1. เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ (Portable fire extinquisher)


1.1 ประเภทของเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ
เครื่องดับเพลิงแบบมือถือมีอยูหลายประเภท ขึ้นอยูกบั ความเหมาะสมของการใชงาน
ไมวาจะเปนประเภทของเชื้อเพลิงและสถานทีท่ ี่จะฉีดดับเพลิงซึง่ เครื่องดับเพลิงที่ใชกนั อยูมีดงั ตอไปนี้
1.1.1 เครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดบรรจุน้ําสะสมแรงดัน
ใชสําหรับดับเพลิงประเภท A เทานัน้ ขนาดทีน่ ิยมใชกันทั่วไป คือ ขนาด 10
ลิตร
ตัวถังทําดวยแสตนเลส เพื่อปองกันการเกิดสนิม ภายในถังบรรจุกาซไนโตรเจน หรือกาซารบอนไดออกไซด
เพื่อใหมีความดันสะสม 100 PSI
1.1.2 เครื่องดับเพลิงชนิดมือถือชนิดบรรจุกาซคารบอนไดออกไซด
เหมาะสําหรับดับเพลิงประเภท B และ C ภายในบรรจุกาซใหมีความดัน
1,200
PSI ดังนัน้ ถังตองเปนถังไรตะเข็บเทานัน้ และทําการตรวจสอบสภาพทุกๆ 6 เดือน โดยวิธีชงั่ น้ําหนัก
แลวบันทึกขอมูลเก็บไว หากน้ําหนักสูญหายไปเกินกวา 10 % ควรทําการเติมกาซใหม
1.1.3 เครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดบรรจุน้ํายาเหลวระเหย
นิยมใชในบริเวณที่มีอุปกรณไฟฟา อีเลคทรอนิคส และในบริเวณทีต่ องการความ
สะอาด
1.1.4 เครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดบรรจุผงเคมีแหง
สําหรับฉีดดับเพลิงประเภท A B และ C ภายในบรรจุผงเคมีแหง และกาซ
ไนโตรเจน ควรมีการตรวจสอบสภาพทุก ๆ 6 เดือน เชน การจับตัวของผงเคมี การรั่วไหลของแกส

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
คันบีบ การอุดตันของปลายหัวฉีด การผุกรอนของถัง

1.2 ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงชนิด A
การติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ ใหตดิ ตั้งชนิดของเครื่อง (1 เอ – 40 เอ) ตาม
พื้นที่กาํ หนดในตาราง แตหากใชชนิดทีต่ ่ํากวาความสามารถในการดับเพลิงตามพื้นที่ทกี่ ําหนด ใหเพิ่ม
จํานวนเครื่องดับเพลิงชนิดนั้นใหไดสัดสวนกับพื้นที่ทกี่ ําหนด
ในการคํานวณใชเครื่องดับเพลิงตามสัดสวนพื้นที่ของสถานที่กาํ หนด หากมีเศษของการ
คํานวณพื้นที่เหลือ ใหนับเปนพืน้ ทีเ่ ต็มสวน ที่ตองเพิม่ จํานวนเครื่องดับเพลิงขึ้นอีก หนึง่ เครื่อง
ในกรณีที่ สถานที่มพี ื้นที่เกินกวาที่กําหนดไวในตาราง จะตองเพิ่มเครื่องดับเพลิง
โดยคํานวณตามสัดสวนของพืน้ ที่ตามทีก่ าํ หนดไวในตาราง 13.

ชนิดของเครื่อง บริเวณที่สถานที่ซงึ่ มีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัย


ดับเครื่อง (ตารางเมตร)
อยางเบา อยางปานกลาง อยางรายแรง
1 เอ 200 ไมอนุญาตใหใช ไมอนุญาตใหใช
2 เอ 560 200 ไมอนุญาตใหใช
840 420
3 เอ 200
1,050 560 370
4 เอ 1,050 840 560
5 เอ 1,050 1,050 840
10 เอ 1,050 1,050 840
20 เอ 1,050 1,050 1,050
40 เอ

หมายเหตุ
1. สถานที่ซงึ่ มีสภาพเสี่ยงตอการเกิดจาการอัคคีภัยอยางเบา หมายความวาสถานทีท่ ี่
อาจเกิดเหตุเพลิงไหมไดโดยเพลิงนัน้ เกิดจากวัตถุ หรือของเหลวที่มอี ยูหรือใชในบริเวณนั้น ซึ่งไหมไฟ
อยางชา หรือมีควันนอย หรือไมระเบิด
2. สถานที่ซงึ่ มีสภาพเสี่ยงตอการเกิดจากอัคคีภัยอยางปานกลาง หมายความวา
สถานทีท่ ี่อาจเกิดเพลิงไหมไดโดยเพลิงนัน้ เกิดจากวัตถุ หรือของเหลวที่มีอยู หรือใชบริเวณนัน้ ซึ่งไหมไฟ
อยางปานกลางหรือมีควันปานกลางหรือไมมากแตไมเปนพิษ หรือไมระเบิด

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
3. สถานที่ซงึ่ มีสภาพเสี่ยงตอการเกิดจากอัคคีภัยอยางรายแรง หมายความวา สถานที่
ที่อาจเกิดเพลิงไหมไดโดยเพลิงนัน้ เกิดจากวัตถุหรือของเหลวที่มีอยูห รือใชในบริเวณนั้น ซึ่งไหมไฟได
อยาง รวดเร็วหรือมีควันเปนพิษ หรือระเบิดได

1.3 ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงชนิด B
เครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดที่ใชดับเพลิง ประเภท B ในสถานที่ตามสภาพเสี่ยงตอ
การเกิดอัคคีภัยตามที่กําหนดในตารางดังตอไปนี้

14.

สถานที่ซงึ่ มีสภาพเสี่ยง ชนิดของเครื่องดับเพลิง ระยะหางจากวัสดุที่กอให


ตอการเกิดอัคคีภัย เกิดเพลิงประเภท บี
อยางเบา 5 บี 9 เมตร
10 บี 15 เมตร
อยางปานกลาง 10 บี 9 เมตร
20 บี 15 เมตร
อยางรายแรง 20 บี 9 เมตร
40 บี 15 เมตร

1.4 วิธีใชเครื่องดับเพลิง

1. ดึงสลักออกจากคันบีบ

2. จับปลายสายพรอมบีบที่คันบีบ

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
พยายามเขาใกล 2 – 4 เมตร เหนือลมพรอมฉีดสารที่บรรจุตามคุณลักษณะของเครื่องดับเพลิง
เชน บรรจุน้ําใหฉีดที่ฐานของเพลิง บรรจุผงเคมีแหงใหฉีดปกคลุม
15.

2. ระบบน้าํ ดับเพลิง
2.1 ปมน้าํ ดับเพลิง (Fire pump)
ในโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบการตางๆ มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมี
ปมน้ําดับเพลิงไวสําหรับปมน้ําจากน้ําสํารองที่มีอยู เพือ่ ควบคุมและดับเพลิงที่เกิดขึ้นมิใหขยายลุกลาม
ซึ่งอาจเปนปมน้ําดับเพลิงที่ใชเครื่องยนตดเี ซลเปนตนกําลังจะทําใหใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
โดยเฉพาะเมือ่ ระบบไฟฟาถูกตัดลง ปมน้ําดับเพลิงตามมาตรฐาน UL จะมีอยูห ลายขนาด เชน
500, 700 และ 1,200 GPM ความดันใชงาน 100 – 120 PSI การใชงานควรกําหนด
ตารางเวลาการบํารุงรักษา และกําหนดผูท ี่รับผิดชอบในการตรวจสอบอยางเครงครัด เชน ปริมาณน้าํ มัน
เชื้อเพลิง
หากระบบดับเพลิงตอวงจรโดยอัตโนมัติ จะตองตรวจสอบวาหากความดันในเสนทอ
ลดลงตามที่กาํ หนด เชน 50 PSI แลวปมจะทํางานไดเองโดยอัตโนมัติหรือไม

2.2 ปริมาณน้ําสํารอง
ควรตองเตรียมน้ําสํารองในการควบคุมและดับเพลิงที่เกิดขึ้นอยางนอยตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เรื่อง “ การปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการ เพื่อความปลอดภัยของ
ลูกจาง” กําหนดใหนายจางจัดเตรียมน้ําสํารองไวใชในการดับเพลิง ในกรณีที่ไมมที อจายน้าํ ดับเพลิง
ของ
ทางราชการในบริเวณที่สถานประกอบการตั้งอยูหรือมีแตปริมาณน้ําไมเพียงพอ โดยนายจางตอง
จัดเตรียมน้ําสํารองใหเปนไปตามกฎหมายเปนอยางนอย

เนื้อที่ ปริมาณน้าํ สํารอง

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
ไมเกิน 250 ตารางเมตร 9000 ลิตร
เกิน 250 ตารางเมตรแตไมเกิน 500 ตาราง 15000 ลิตร
เมตร 27000 ลิตร
เกิน 500 ตารางเมตรแตไมเกิน 1000 36000 ลิตร
ตารางเมตร
เกิน 1000 ตารางเมตร

16.

2.3 สายฉีดน้ําดับเพลิง
2.3.1 สายฉีดน้ําดับเพลิงภายในอาคาร
สายฉีดน้าํ ดับเพลิงสําหรับผูด ูแลอาคารทั่วไป หรือผูทมี่ ไิ ดฝกการใชสายน้าํ ดับเพลิง
สามารถใชสายสูบชนิดนี้ได ซึ่งมีใชกันอยู 2 แบบ
- แบบสายออนพับแขวนอยูภายในตู (Hose rack)
มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 ½ และ 2 ½ นิ้ว ทําดวยผาใบและเสนใยสังเคราะห มี
ความยาวมาตรฐาน 20 และ 30 เมตร การใชงานมีขอจํากัดที่จะตองลากสายออกใหสุดกอนน้าํ ถึง
จะไหลออกมาได ฉะนัน้ จึงไมเหมาะกับบริเวณที่แคบ และมักมีรอยรั่วฉีกขาดตามรอยพับ การติดตั้งสาย
ฉีดน้ําแบบนี้ควรจะติดตั้งเฉพาะขนาดเสนผาศูนยกลาง 1 ½ นิว้ เทานั้น แตจะมีหัวจายน้ําขนาด 2
½ นิ้ว ไวสําหรับพนักงานดับเพลิง หรือหนวยบรรเทาสาธารณภัยนําสายมาชวยเหลือได
- แบบสายแข็งมวนเปนขด (Hose reel)
เปนสายทีม่ ีอัตราการไหลของน้าํ 50 GPM ที่แรงดัน 5 บาร โดยมีขอดีที่ผูใช
สามารถลากสายออกจากที่เก็บทําการดับเพลิงตามความยาวที่ตองการใช โดยมิตองลากสายจนสุดความ
ยาว เหมาะสําหรับในอาคาร โรงงานแคบๆ และอาคารสํานักงาน การใชงานบํารุงรักษางาย แตมี
ราคาแพง

2.3.2 สายฉีดน้ําดับเพลิงภายนอกอาคาร
สายฉีดน้าํ ดับเพลิงภายนอกอาคารที่มมี าตอกับ ทอจายน้ํา (Hydrant) แบบสวมเร็ว
ใชในการตอสูก ับไฟที่ลกุ ลามขั้นรุนแรง ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีขนาด 2 ½ และ 1 ½ มี
ความยาว 20 และ 30 เมตร

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
2.4 หัวฉีดน้าํ ดับเพลิง โดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ
2.4.1 ชนิดฉีดน้ําเปนลําตรง (Strength line)
เปนหัวฉีดที่ปรับไมได น้ําทีอ่ อกมาจะเปนลํา ซึ่งมีใชกนั อยูทวั่ ไปโดยตํารวจดับเพลิงและ
บรรเทาสาธารณภัย เหมาะสําหรับฉีดน้าํ ดับเพลิงในระยะไกลๆ เพื่อทําใหระยะทางเปนตัวทําใหมานน้ํา
กระจายอาจใชแรงดันของน้าํ เปนตัวทําลายโครงสรางอาคาร และหลอเย็นโดยทีท่ ีมดับเพลิงไมตองเขาใกล
เพลิงมาก แตไมเหมาะสําหรับพืน้ ที่แคบๆ เชน ในอาคารโรงงานแคบๆ และจะทําใหเชื้อเพลิงที่เปน
ของเหลว เชน น้ํามัน สารละลายตางๆ กระจายเปนวงกวางทําใหเกิดเพลิงลุกลาม
2.4.2 ชนิดฉีดน้ําเปนฝอย (Fog)
เปนหัวฉีดน้าํ ที่สามารถปรับน้ําใหเปนลําหรือเปนฝอย โดยมีรัศมีตั้งแต 0-120 องศา
เพื่อใชในการหลอเย็นหรือนําทีมดับเพลิงเขาไปโดยอาศัยฉากน้ํา เปนตัวไลไอของสารใหเจือจาง และกัน
รังสีความรอน เปลวไฟ เพื่อเขาปดวาวลดับเพลิงไดอยางมีประสิทธิภาพซึ่งหัวฉีดน้ํานี้เปนทีน่ ิยมใชกันอยาง 17.
มาก
7. วิธกี ารใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่ใชในการดับเพลิง

ในการเขาดับเพลิงหรือผจญเพลิง นอกจากอุปกรณที่ใชสําหรับดับเพลิง เชน เครื่อง


ดับเพลิงชนิดตางๆ สายสงน้ําดับเพลิง หัวฉีดน้ํา และอื่นๆ ผูที่เขาทําการดับเพลิง หรือผจญเพลิงตอง
สวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ที่สามารถปองกันอันตรายที่จะไดรับ
ผูที่เขาทําการดับเพลิง หรือผจญเพลิง จะตองแนใจวา อุปกรณคุมครองความปลอดภัย
สวนบุคคลที่ใชอยูในสภาพที่ดี หัวหนาทีมดับเพลิงจะตองจัดใหมกี ารตรวจอุปกรณเปนประจํา และถามี
อุปกรณใดชํารุดเสียหายจะตองซอมหรือเปลี่ยนใหม อุปกรณที่จําเปนไดแก
1. หมวกดับเพลิง เปนอุปกรณปองกันศีรษะในขณะเขาดับเพลิง ตองมีคุณภาพ
อยางนอยตามมาตรฐาน มอก. 368 (Safety Hat type D) มีสีสดใส และ/หรือจะตองติด
แถบสะทอน-แสงที่ดานนอกสําหรับอุปกรณปองกันศีรษะที่มีสมี ืดทึบที่มีอยูเดิม อุปกรณปองกันศีรษะตอง
แข็งแรง ทนตอการกระแทกของเศษวัสดุได และตองมีกระบังหนาเพือ่ ปองกันความรอนและอันตรายตอ
อวัยวะบริเวณ
ใบหนา ตัวหมวกสวนใหญทําดวยไฟเบอรกลาส มีน้ําหนักเบา เมื่อเทียบกับหมวกที่ทาํ ดวยเหล็ก
การเก็บและบํารุงรักษา ควรทําความสะอาดทั้งบริเวณภายนอกและภายใน สายรัดควร
ตรวจดูวายังใชงานไดดีอยูหรือไม กระบังหนาตองไมแตกหรือราว และควรถอดกระบังหนาออกจากหมวก
ทุกครั้ง เพราะอาจทําใหเกิดการขูดขีด ขุนมัว หรือแตกราวไดในกรณีเก็บหมวกทับกัน
2. แวนตา ในขณะปฏิบัติงานบางสถานที่ กรณีที่หมวกที่ใชสวมใสไมมีกระบังหนา
การเขาดับเพลิงหรือผจญเพลิง มีโอกาสที่จะไดรับอันตรายบริเวณดวงตา จะตองสวมใสอุปกรณปองกัน
กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
ดวงตา หรือใชในกรณีปองกันฝุน ละออง ตัวแวนตาและเลนสอาจทําดวยพลาสติกชนิดใสอยางหนา มี
สายรัดเพื่อกันการหลน
ลักษณะการใชงาน ใชสวมใสบริเวณตาทัง้ สองขาง เพือ่ ปองกันสะเก็ดวัสดุหรือฝุน
ละอองตางๆ หรือควันไฟ และปองกันมิใหดวงตาไดรับอันตราย
การเก็บและบํารุงรักษา ควรทําความสะอาดและเช็ดกระจกเลนสใหใสสะอาดและควรมี
วัสดุหอหุม แวนเฉพาะอันมิใหเก็บรวมไวดว ยกันเพราะอาจทําใหวัสดุแตกหรือเกิดราวได
3. เสื้อคลุมดับเพลิง ใชสําหรับใสคลุมทับเครื่องแตงกายหรือเครื่องแบบที่ใชอยู
ตามปกติ มีสที ี่มองเห็นไดชัดเจนหรือมีแถบสีสะทอนแสงติดอยูที่แขน ลําตัวเสื้อคลุม เนื้อผาอาจเปน
ผาใบหรือผาโทเรที่มีคุณสมบัติปองกันความรอน ดานในซับดวยผาอีกชั้นหนึง่ ความยาวของตัวเสื้อคลุม
เขา กระดุมเสื้อเปนชนิดขอสับหรือกระดุมกด ดานในติดแถบตีนตะขาบ แขนยาวถึงขอมือ ประโยชน
ของเสื้อคลุมดับเพลิง เพื่อปองกันความรอนและเปลวไฟ และเพื่อใหทราบวาบุคคลที่ใสเสื้อนี้มหี นาที่
ในการดับเพลิงและผจญเพลิง
ลักษณะการใชงาน ใชสวมใสเพื่อปองกันเปลวไฟที่จะมากระทบ แขน ขา หรือลําตัว 18.
หรือปองกันความรอนและเห็นเดนชัดจากแถบสะทอนแสงขณะเขาไปในที่เกิดเหตุหรือขณะผจญเพลิง
การเก็บและบํารุงรักษา เมือ่ ใชเสร็จแลวควรสงซักและทําความสะอาด หรือนําไปผึ่งแดด
ทันทีแลวพับเก็บหรือแขวนไวในที่อากาศถายเทไดหรือทีโ่ ลงแจง ไมควรเก็บไวในที่อบั ชื้นเพราะอาจทําให
เสื้อสกปรกหรือเปนราได
4. ถุงมือ เปนชนิดผาขนสัตวอยางหนาหรือเปนถุงมือหนังอยางบาง ตองสวมใสนวิ้ มือ
ทั้ง 5 นิว้ ทนความรอนได และสามารถปองกันการถูกบาดจากของมีคม เพื่อการหยิบจับอุปกรณ และ
สิ่งตางๆ ในทีเ่ กิดเหตุซงึ่ อาจมีความรอนหลงเหลืออยู
การเก็บและบํารุงรักษา เมือ่ ใชเสร็จแลวควรนํามาผึ่งแดดหากมีสงิ่ สกปรกติดอยูใหซักทํา
ความสะอาดกอนเก็บ
5. รองเทาดับเพลิง เปนชนิดบูตยาง พืน้ รองเทามีแผนเหล็ก เปนเหล็กสปริง หัว
รองเทาหุมดวยเหล็กเชนเดียวกัน มีลักษณะอยางนอยตามมาตรฐาน มอก. ที่ 523 ใชใสเมื่อเขาผจญ
เพลิง เพราะในที่เกิดเหตุอาจมีเศษวัสดุแหลมคม
ลักษณะการใชงาน ใชสวมใสไวที่เทาใหคลุมเทาจนถึงนอง รองเทาไมควรเล็กหรือใหญ
เกินไป เพราะจะทําใหผูปฏิบัติงานไมคลองตัว ขณะเขาผจญเพลิง
การเก็บและบํารุงรักษา ควรทําความสะอาดเสียกอน และควรเก็บรองเทาไวในที่โลง
เพื่อปองกันการอับชื้น

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
6. หนากากหายใจแบบถังอัดอากาศ (Self Contained Breathing
Apparatus : SCBA) ใชสําหรับทีมคนหาหรือผูมีหนาที่เขาคนหาผูที่ติดหรือตกคางอยูในที่เกิดเหตุ
หรือผจญเพลิง
เนื่องจากบริเวณดังกลาวอาจมีปริมาณออกซิเจนในอากาศต่ํากวา 16 %ซึ่งเปนอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได
อุปกรณชุดนี้ประกอบดวย หนากากคลุมหนา ทออากาศ อุปกรณถายทอดเสียง
ถังอากาศ ตัวปรับอากาศที่ไดมาตรฐานมีการตรวจสอบสภาพและฝกซอมการใชงานอยางสม่ําเสมอ
ระยะเวลาของการใชงาน ขึ้นอยูกับปริมาณความจุของถังอากาศหรือทออากาศที่เราสะพายอยูดา นหลัง
การตรวจสอบสภาพ SCBA ควรปฏิบัติดังนี้
- HIGH PRESSURE TEST โดยการเปด Valve อากาศที่
Cylinder ชาๆ ดูความดันที่ Pressure Gauge วามีอยูเ ทาไร
- LOW PRESSURE TEST โดยการเปดวาลวอากาศที่ Cylinder
ชาๆ และสวมหนากากใหแนนแลวหายใจ หลังจากนัน้ ปดวาลวแลวหายใจตามธรรมดาเมื่ออากาศ
ภายในหนากากหมด
จะเกิดเปนสูญญากาศขึ้น หนากากจะยุบติดหนาเราเมื่อเราสูดหายใจแรงๆ แสดงวาหนากากนัน้ กันรั่ว
(Seal) ไดดี
- การตรวจสอบสัญญาณเตือน ซึ่งจะเตือนใหผูที่สวมใส SCBA ทราบวาปริมาณ 19.
อากาศในถังใกลจะหมด เปนการเตรียมออกจากบริเวณนั้นไดทนั เวลากอนที่อากาศในถังจะหมด
ลักษณะการใชงาน หนากากเปนแบบชนิดเต็มหนาใสคลุมทั้งศีรษะ ใหบริเวณที่เปน
แวน-ตาและทีถ่ ายทอดเสียงสัญญานอยูดา นหนา แผนรองหลังสะพายไวดานหลัง มีไวสําหรับเปนตัวยึด
ถังอากาศใหตดิ อยูกับตัวผูใชงาน คาดเข็มขัดที่ติดอยูกบั แผนรองหลังไวที่บริเวณเอว รัดใหกระชับ อยาให
แนน หรือหลวมเกินไปเพราะจะทําใหไมสะดวกแกผูปฏิบัติงาน
การเก็บและบํารุงรักษา เมือ่ ใชแลวควรทําความสะอาดหนากากหายใจชนิดคลุมหนา
ทั้งดานในและดานนอก โดยเฉพาะที่ใชสาํ หรับหายใจตองทําความสะอาดเปนพิเศษและควรเก็บไวใน
สถานที่โลงแจงมีอากาศถายเทไดสะดวกหรือเก็บไวเปนชุดเดียวกับถังอัดอากาศ สําหรับถังอัดอากาศควร
ตรวจวายังมีอากาศบรรจุสํารองไวเพียงพอหรือไม หากพบวาแรงดันอากาศภายในทอเหลือนอยเกินไปควร
อัดอากาศใหพรอมใชงานตอไป
การคํานวณหาระยะเวลาการใช SCBA
การใช SCBA ทุกครั้งเราจะตองทราบวาอากาศทีบ่ รรจุอยูใน Cylinder นัน้ จะ
มีระยะเวลาการใชงานไดนานเทาไร มีหลักการคํานวณดังนี้

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
CYLINDER ที่บรรจุอากาศมีหลายขนาดแตกตางกันไป แตที่เหมือนกันคือบอก
ไดวาสามารถบรรจุน้ําไดกี่ลติ ร และอัดความดันไดกี่บาร สิ่งที่เราควรจะทราบคือจะตองรูวา Cylinder
นั้นบรรจุลิตรของอากาศไดเทาไร
ตัวอยาง CYLINDER มีความจุลิตรน้ํา 6 ลิตร และอัดความดันสูงสุด 207
บาร
การคํานวณ ความจุลิตรน้ํา = 6 ลิตร
อัดความดันสูงสุด = 207 บาร
ดังนัน้ จํานวนลิตรของอากาศ = 207 x 6 ลิตร
= 1242 ลิตร
เราทราบแลววา CYLINDER ลูกนี้บรรจุอากาศไดเทากับ 1242 จะหาวา
ใชไดนานเทาไรโดยเอาจํานวนอากาศที่เราหายใจในหนึง่ นาทีตามคามาตรฐานที่เราตองการนํามาใช เชน
การเดินดวยความเร็ว 5 ไมล ตอชั่วโมงจะใชอากาศ 60 ลิตรตอนาทีนนั้ ไปหารจํานวนลิตรของ
อากาศ
เพราะฉะนัน้ ตัวอยางนี้จะใชไดนาน 20.7 นาที ( 1242/60 = 20.7
นาที )

20.

8. แผนการปองกันและระงับอัคคีภัย
วัตถุประสงค
1. เพื่อเปนการปองกันการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพยสนิ จากอัคคีภัย
2. เพื่อสรางความมั่นใจในเรื่องความปลอดภัยตอพนักงานกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม
3. เพื่อลดอัตราการเสี่ยงตอการเกิดเหตุอัคคีภัย
4. เพื่อสรางทัศนคติที่ดีตอพนักงานในสถานประกอบการ

แผนปองกันและระงับอัคคีภัย ควรประกอบดวยแผนทีใ่ ชดําเนินการในภาวะตางกัน ดังนี้


1. แผนกอนเกิดเหตุเพลิงไหม ประกอบดวย
- แผนการรณรงคปองกันอัคคีภัย
กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
- แผนการอบรม
- แผนการตรวจตรา
2. แผนขณะเกิดเหตุเพลิงไหม ประกอบดวย
- แผนการดับเพลิง
- แผนอพยพหนีไฟ
- แผนบรรเทาทุกข
3. แผนหลังเหตุเพลิงไหม ประกอบดวย
- แผนบรรเทาทุกข
- แผนปฏิรูปฟนฟู

1. แผนกอนเกิดเหตุเพลิงไหม
1.1 แผนการรณรงคปองกันอัคคีภัย
แผนการรณรงคปองกันอัคคีภัย เปนแผนเพื่อปองกันการเกิดอัคคีภัยในสถานประกอบการ
โดยเปนการสรางความสนใจ และสงเสริมในเรื่องการปองกันอัคคีภยั ใหเกิดขึ้นในทุกระดับของพนักงาน ใน
แผนการรณรงคปองกันอัคคีภัยควรกําหนดผูรับผิดชอบ ระยะเวลาดําเนินการ และงบประมาณใหชัดเจน
ตัวอยางหัวขอที่จะทําการรณรงคปองกันอัคคีภัย เชน
- 5 ส.
- การลดการสูบบุหรี่
- การจัดนิทรรศการ
- จัดทําโปสเตอร
- การใชสื่อตาง ๆ 21.

1.2 แผนการอบรม
เปนการอบรมใหความรูกับพนักงานทั้งในเชิงปองกันและการปฏิบัติเมือ่ เกิดเหตุ ซึ่งการ
เกิดอัคคีภัยภายในสถานประกอบการ ยอมนํามาซึง่ ความสูญเสียตอธุรกิจการคาทั้งทางตรงและทางออม
ไมวาจะเปนทรัพยสินเสียหาย การผลิต การบริการหยุดชะงัก เสียโอกาสการขาย หรืออาจถึงขัน้ มีผูที่
ไดรับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต ดังนัน้ ในการปองกันและลดความเสีย่ งดานการเกิดอัคคีภัย จึงจําเปนตองจัด
ใหมีแผนการอบรม โดยกําหนดผูรับผิดชอบ ระยะเวลาดําเนินการ และงบประมาณใหชัดเจน
ตัวอยางของหลักสูตรที่ตองจัดทําในแผนการอบรม
- การจัดฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนใหกับพนักงาน
- การฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมหนีไฟ

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
ตัวอยางของหลักสูตรที่ควรจัดทําในแผนการอบรม
- การปฐมพยาบาล
- การใชเครื่องชวยหายใจ
1.3 แผนการตรวจตรา
เปนแผนการสํารวจความเสีย่ งและตรวจตรา เพื่อเฝาระวังปองกันและขจัดตนเหตุของ
การเกิดเพลิงไหม กอนจัดทําแผนควรมีขอมูลตางๆ ดังตอไปนี้ เชื้อเพลิง สารเคมี สารไวไฟ
ระบบไฟฟาจุดที่มีโอกาสเสีย่ งตอการเกิดเพลิงไหม และตองมีการบันทึกขอมูลเกีย่ วกับ คุณสมบัติ
ลักษณะการลุกไหม ปริมาณของสารอันตรายที่มีอยูสงู สุด ชนิดของสารดับเพลิงและปริมาณทีต่ อ งใช
เพื่อประกอบการวางแผน
การตรวจตรา ควรมีการกําหนดบุคคล พืน้ ที่ที่รับผิดชอบ หัวขอและจุดที่ตองตรวจ
ระยะเวลา ความถี่ ผูตรวจสอบรายงาน การสงรายงานผล การแจงขอบกพรองในการตรวจตราที่ชัดเจน
ตัวอยางของหัวขอที่ควรตรวจตรา เชน
- จุดที่เสี่ยงตอการเกิดเหตุเพลิงไหม
- การใช และการเก็บวัตถุไวไฟ
- ของเสียติดไฟงาย
- เชื้อเพลิง
- แหลงความรอนตาง ๆ
- อุปกรณดับเพลิง
- ทางหนีไฟ

22.

ตังอยางแผนผังการตรวจตรา

กอนเขาทํางาน 10 นาที

ตรวจสถานที่ตามที่กําหนด

สงแบบรายงานที่ฝาย…….

ฝาย…….ตรวจสอบแบบรายงานและสรุปผล
กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
มีขอบกพรอง ผอ.แผนฯ ไมมีขอบกพรอง
สั่งแกไข

เก็บรวบรวมเอกสาร
หัวหนาฝายที่เกี่ยวของ
โดยฝาย……..
สั่งการ

รายงานผล
พนักงานที่รับผิดชอบ
ปรับปรุงแกไข

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
แผนการดับเพลิงและวิธกี ารดับเพลิง
แผนการดับเพลิง
ตัวอยางลําดับขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อพนักงานพบเหตุเพลิงไหม

เจาหนาที่ความ ผูอํานวยการ
ปลอดภัยใน ดับเพลิงหรือ
การทํางาน (จป.) ผูจัดการโรงงาน
แจง

ใหรายงาน
ถาดับได ผูบังคับบัญชา หัวหนาหนวย รายงาน หัวหนาแผนก รายงาน ผูจัดการฝาย
ตามลําดับขั้น

พนักงานที่พบ แจงเพื่อนรวมงาน
เหตุเพลิงไหม หรือหัวหนา
และเขาดับเพลิงทันที
- ใชแผนปฏิบัติการระงับ ผูอํานวยการดับเพลิง
ถาดับไมได เหตุเพลิงไหมขั้นตน หรือผูจัดการโรงงาน
- แจงประชาสัมพันธ ถาดับไมได ตัดสินใจแจงหนวยงาน
- แจงเจาหนาที่ความ- รายงาน ดับเพลิงจากภายนอก หรือ
ปลอดภัยในการทํางาน ใชแผนปฏิบัติการ เมื่อเกิด
(จป.) เหตุขั้นรุนแรง (ถามี)
กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
ตัวอยาง
การกําหนดตัวบุคคลและหนาที่เพื่อระงับเหตุเพลิงไหมขั้นตน

ฝาย/แผนก…………………………………….
หัวหนาชุดดับเพลิงขั้นตน
บริเวณ…………………………………………
ชื่อ………………………………………….
ชุด……………………………………………..

พนักงานที่ปฏิบัติงานอื่น
ในขณะเกิดเพลิงไหม พนักงานผจญเพลิง

ผูรับผิดชอบ 1. ชื่อ………………………………………………. ผูรับผิดชอบ 1. ชื่อ…………………………………………


2. ชื่อ……………………………………………… 2.. ชื่อ………………………………………..
3. ชื่อ……………………………………………… 3. ชื่อ………………………………………...
หนาที่ 1. ………………………………………………………… หนาที่ 1. ………...…………………………………………
2. ….…………………………………………………….. 2. .………………………………………………….
3. ………………………………………………………… 3. ………...………………………………………...
หมายเหตุ 1. พนักงานที่ปฏิบัติงานอื่นในขณะเกิดเพลิงไหม หมายถึง ผูควบคุมเครื่องจักร ผูควบคุมไฟฟา ซึ่งจะตองกําหนดตามสถานประกอบการ
2. หนาที่ใหระบุตามที่กําหนดใหปฏิบัติงานในขณะเกิดเพลิงไหม เชน ปฏิบัติงานควบคุมเครื่องจักร ควบคุมไฟฟา

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
ตัวอยาง โครงสรางหนวยงานปองกันระงับอัคคีภัยเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหมขั้นรุนแรง

ผูอํานวยการดับเพลิง
ชื่อ....................................................

ฝายไฟฟา ฝายปฏิบัติการ ฝายสื่อสารและประสานงาน ฝายเคลื่อนยายภายใน-ภายนอก ฝายสงเสริมปฏิบัติการ


ชื่อ................... ชื่อ........................... ชื่อ................................. ชื่อ.......................................... ชื่อ.............................................

พนักงาน หนวยดับเพลิง หนวยจัดหาและ หนวยสนับสนุน หนวยยามรักษาการณ หนวยเดินเครื่อง หนวยดับเพลิง


ควบคุมเครื่อง ชื่อ....................... สนับสนุนการดับเพลิง ชื่อ........................... ชื่อ.............................. สูบน้ําฉุกเฉิน จากพื้นที่อื่น
ชื่อ.......................... ชื่อ............................ ชื่อ....................... ชื่อ.............................

ชวยชีวิต ยานพาหนะ พยาบาล ศูนยรวมขาวและสื่อสาร


ชื่อ......................... ชื่อ......................... ชื่อ.......................... ชื่อ...................................
ชื่อ.......................... ชื่อ......................... ชื่อ.......................... ชื่อ...................................

หมายเหตุ 1. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการเต็มรูปแบบนี้จะใชเมื่อเกิดเพลิงไหมอยางรุนแรง
2. การเกิดเพลิงไหมภายในพื้นที่ตาง ๆ เพียงเล็กนอย ใหหัวหนาแผนกดําเนินการสั่งการดับเพลิงตามแผนการปฏิบัติการเมื่อเกิดเพลิงไหมขั้นตน

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
และโทรศัพทแจงศูนยรวมขาวและสื่อสาร หรือ ผูอํานวยการดับเพลิง หรือเจาหนาที่ความปลอดภัย

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
26.

หนาที่ของผูปฏิบัติงานตามโครงสราง
ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ
ผูอํานวยการดับเพลิง ใหปฏิบัติดังนี้
1. รับฟงรายงานตาง ๆ เพื่อสั่งการการใชแผนตาง ๆ
2. ขอความชวยเหลือจากหนวยงานที่เกีย่ วของ
3. รายงานผลการเกิดเพลิงไหมตอผูบังคับบัญชาระดับสูงขึ้นไป
4. ใหขาวแกสอื่ มวลชน

ฝายไฟฟา ใหปฏิบัติดังนี้
1. เมื่อเกิดเพลิงไหมใหรีบเขาไปที่เกิดเหตุ เพื่อรับคําสั่งตัดไฟ
จากฝายปฏิบัติการ
2. รับคําสั่งจากผูอํานวยการดับเพลิง

ฝายปฏิบัติการ หัวหนาฝายปฏิบัติการใหถอื ปฏิบัติดังนี้


1. เมื่อเกิดเพลิงไหมในพื้นทีใ่ หหวั หนาฝายปฏิบัติการแยก
ชุดปฏิบัติการออกเปน 2 ชุด คือ ชุดควบคุมเครื่องจักร
และชุดดับเพลิง
1.1 ชุดควบคุมเครื่องจักร
เมื่อเกิดเพลิงไหมในพืน้ ที่ใด ใหชุดควบคุมเครื่องจักร
ทําการควบคุมเครื่องจักรใหทํางานตอไปจนกวาจะไดรับ
คําสั่งใหหยุดเครื่องจากหัวหนาฝายปฏิบัติการกรณีทไี่ ม
สามารถเดินเครื่อง หรือไดรับคําสั่งใหหยุดเครื่อง ใหชุด
ควบคุมเครื่องจักรไปชวยทําการดับเพลิง
1.2 ชุดดับเพลิง
เมื่อเกิดเพลิงไหมในพืน้ ที่ตัวเองไมวา มากหรือนอย
ชุดปฏิบัติการชุดนี้จะแยกตัวออกจากการควบคุมเครื่องจักร
ออกทําการดับเพลิงโดยทันทีที่เกิดเพลิงไหม โดยไมตอ ง
หยุดเครื่องและใหปฏิบัติการภายใตคําสั่งของหัวหนาฝาย
ปฏิบัติการในพื้นที่ ในการปฏิบัติการหากจําเปน ตองขอ
ความชวยเหลือจากหนวยอื่นใหหวั หนาฝายปฏิบัติการ
ั่ าเนินการ
สงดํ

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
27.

ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ
2. ทันทีที่ทราบเหตุเพลิงไหมในพื้นที่ของตัวเอง ใหแจงขาว
โทรศัพทถึงเจาหนาที่ความปลอดภัย ถึงผูอํานวยการ
ดับเพลิง และโทรศัพทแจงศูนยรวมขาว

ฝายสื่อสารและประสานงาน ใหปฏิบัติดังนี้
1. คอยชวยเหลือประสานงานระหวางบุคคลที่เกี่ยวของ
2. รับคําสั่งจากผูอํานวยการดับเพลิง และติดตอผานศูนย
รวมขาว
3. สั่งการแทนผูอํานวยการดับเพลิง ถาไดรับมอบหมาย

หนวยจัดหาและสนับสนุนในการดับเพลิง ใหเจาหนาที่ความปลอดภัยคอยชวยเหลือดังนี้
- ผูประสานงาน 1. คอยชวยเหลือประสานงานระหวางผูอํานวยการดับเพลิง
ยามรักษาการณ และผูเกีย่ วของ
2. คอยรับ-สงคําสั่งจากผูอํานวยการดับเพลิงในการติดตอ
ศูนยขาว
3. สั่งการแทนผูอํานวยการดับเพลิง ในกรณีที่ผูอํานวยการ
ดับเพลิงมอบหมาย
- ยามรักษาการณ 1. ใหรีบไปยังจุดเกิดเหตุ คอยรับคําสั่งจากผูอํานวยการ
ดับเพลิงและหัวหนาฝายประสานงาน
2. ปองกันมิใหบุคคลภายนอกที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของเขากอน
ไดรับอนุญาต
3. ควบคุมปองกันทรัพยสินที่ฝายเคลื่อนยายนํามาเก็บไว

ฝายเคลื่อนยายภายในภายนอก 1. ใหรับผิดชอบในการกําหนดจุดปลอดภัยอัคคีภัยในการเก็บ
วัสดุครุภัณฑ
2. อํานวยความสะดวกในการเคลื่อนยายขนสงวัสดุครุภณ
ั ฑ
3. จัดยานพาหนะและอุปกรณขนยาย

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
28.

ผูปฏิบัติงาน หนาที่รับผิดชอบ
ฝายสงเสริมปฏิบัติการ
- หนวยติดตอดับเพลิงจากพืน้ ที่อื่น ใหปฏิบัติดังนี้
1. ใหแจงสัญญาณ SAFETY ORDER SYSTEM (SOS)
2. พนักงานทีท่ ราบเหตุเพลิงไหมและตองการเขามาชวยเหลือ
ดับเพลิง ใหรายงานตัวตอผูอํานวยการดับเพลิงเพื่อทําการ
แบงเปนชุดชวยเหลือสงเสริมการปฏิบัติงาน
3. สําหรับการเกิดอัคคีภยั ในบริเวณเครื่องจักร ชุดดับเพลิง
ควรมาจากชุดดับเพลิงในสถานที่นั้น ผูที่มาชวยเหลือ
ควรชวยเหลือในการลําเลียงอุปกรณดับเพลิง
4. คอยคําสั่งจากผูอํานวยการดับเพลิง ใหคอยอยูบริเวณ
ที่เกิดเพลิงไหม
- หนวยเดินเครื่องสูบน้ําฉุกเฉิน ใหปฏิบัติดังนี้
1. ใหเดินเครื่องสูบน้ําดับเพลิงทันทีที่ไดรับแจงเหตุเพลิงไหม
2. ทําการควบคุมดูแลเครื่องสูบน้ําดับเพลิงขณะที่เกิด
เพลิงไหม
3. ในเวลาปกติใหตรวจสอบเครื่องมือ อุปกรณใชงานตาม
รายการตรวจเช็ค

ศูนยรวมขาว / สื่อสาร ใหปฏิบัติดังนี้


1. เมื่อทราบขาวเกิดเพลิงไหมจะตองทําการตรวจสอบขาว
2. แจงเหตุเพลิงไหม
3. ติดตามขาว แจงขาวเปนระยะ
4. ติดตอขอความชวยเหลือ (ถามีการสื่อสาร)
5. แจงขาวอีกครั้งเมื่อเพลิงสงบ

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
29.

ตัวอยางผูรับผิดชอบในตําแหนงตาง ๆ ตามแผนปฏิบัตกิ าร
ตําแหนง เวลาปกติ (วันธรรมดา) นอกเวลาปกติ (วันธรรมดา) วันหยุด
08.00-17.00 น. 17.00-08.00 น. 08.00-24.00-08.00
1. ผูอํานวยการ - ผูอํานวยการฝายปฏิบัติการหรือ - หัวหนาแผนก/หนวย - หัวหนาแผนก/หนวย
ดับเพลิง ผูไดรับมอบหมาย ประจํา ประจําพืน้ ทีห่ รือใกล
พื้นทีห่ รือใกลเคียง เคียง
2. หัวหนาฝาย - หัวหนาแผนกไฟฟา - พนักงานนอนเวร………
ไฟฟา - พนักงานนอนเวร………….
3. หัวหนาฝาย - ผูจัดการฝายโรงงานหรือผูไดรับ - …………………………… -…………………………
ปฏิบัติการ มอบหมาย
- หนวยคุม - พนักงานคุมเครื่องจักรปกติ - พนักงานคุมเครื่องจักรปกติ - พนักงานคุมเครื่องจักรปกติ
เครื่องจักร - ทีม Emergency - ทีมEmergency - ทีม Emergency
Response Response Response
……………………………….. ……………………………… ………………………..
………………………………. ……………………………… ………………………...
4. หัวหนาฝาย - ผูจัดการฝายบุคคลหรือ - …………………………… - …………………………
สื่อสารและ ผูรับมอบหมาย
ประสานงาน
- หนวย
- พยาบาลประจําบริษัท - ทีมปฐมพยาบาล - ทีมปฐมพยาบาล
สนับสนุน
- พนักงานขับรถพยาบาล - พนักงานขับรถพยาบาล
- พยาบาล - พนักงานขับรถพยาบาล
- เจาหนาที่ - …………………………… - …………………………
- พนักงานรับโทรศัพท
ยานพาหนะ
- เจาหนาที่
ศูนยรวม
ขาว
และสื่อสาร - เจาหนาที่ความปลอดภัย
- หนวยจัดหา

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
และสนับสนุน
การดับเพลิง
- ผูประสานงาน
30.

ตําแหนง เวลาปกติ (วันธรรมดา) นอกเวลาปกติ (วันธรรมดา) วันหยุด


08.00-17.00 น. 17.00-08.00 น. 08.00-24.00-08.00
- ผูจายอุปกรณ (อยูระหวางการรออุปกรณ
ดับเพลิง ดับเพลิง)
- ผูสื่อขาวผาน - หัวหนาฝายปฏิบัติการ
ศูนยรวมขาว (ตอนตน)
และสื่อสาร จป. (เมื่อไปถึงที่เกิดเหตุ)
- หัวหนายามรักษาการณ - หัวหนายามรักษาการณ
- หนวยยาม
รักษาการณ - ผูประสานงานยามรักษาการณ
5. หัวหนาฝาย - หัวหนาฝายแผนกธุรการหรือผู - นายเวรประจําวัน - นายเวรประจําวันหยุด
เคลื่อนยาย ไดรับมอบหมาย
ภายใน/นอก

6. หัวหนาฝาย - ผูจัดการฝาย - - ………………………….


สงเสริม ……………………………….
ปฏิบัติการ - จากหนวยธุรการ/ซอมบํารุง - จากหนวยธุรการ/ซอม
- หนวยเดิน - จากหนวยธุรการ/ซอมบํารุง บํารุง
การเครื่อง-
ชื่อ…………………………….. ชื่อ
สูบน้ํา ชื่อ…………………………….. …………………………..
ฉุกเฉิน
- หนวยติดตอ - ผูกดสัญญาณแจงเหตุ จาก
ดับเพลิงจาก SOS - ผูกดสัญญาณแจงเหตุ จาก - ผูกดสัญญาณแจงเหตุ
พื้นที่อนื่ ……………………….. SOS จาก SOS
- ใช ………………………..
……………..
Safety
Order
System

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
(SOS)

31.

2.2 แผนอพยพหนีไฟ
แผนอพยพหนีไฟนั้นกําหนดขึ้นเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพยสินของพนักงานและ
ของสถานประกอบการในขณะเกิดเพลิงเหตุไหม
แผนอพยพหนีไฟที่กาํ หนดขึ้นนัน้ มีองคประกอบตางๆ เชน หนวยตรวจสอบจํานวน
พนักงาน, ผูนําทางหนีไฟ, จุดนัดพบ, หนวยชวยชีวติ และยานพาหนะ ฯลฯ ควรไดกําหนด
ผูรับผิดชอบในแตละหนวยงานโดยขึ้นตรงตอผูอํานวยการอพยพหนีไฟหรือผูอํานวยการดับเพลิง ดังนี้
- ผูอํานวยการอพยพหนีไฟหรือผูอํานวยการดับเพลิง ชื่อ
…………………………………….
- ผูชวยผูอํานวยการอพยพหนีไฟหรือผูชวยผูอํานวยการดับเพลิง ชื่อ
………………………..
ในแผนดังกลาวควรกําหนดใหมีการปฏิบัติดังนี้
1. ผูนําทางหนีไฟ จะเปนผูนาํ ทางพนักงานอพยพหนีไฟไปตามทางออกทีจ่ ัดไว
2. จุดนัดพบ หรือเรียกอีกอยางวา “จุดรวมพล” จะเปนสถานที่ที่ปลอดภัย ซึ่ง
พนักงานสามารถที่จะมารายงานตัวและทําการตรวจสอบนับจํานวนได
3. หนวยตรวจสอบจํานวนพนักงาน มีหนาที่ตรวจนับจํานวนพนักงานวา มีการอพยพ
หนีไฟออกมาภายนอกบริเวณที่ปลอดภัยครบทุกคนหรือไม หากพบวาพนักงานอพยพหนีไฟออกมาไม
ครบตามจํานวนจริง ซึ่งหมายถึงยังมีพนักงานติดอยูในพื้นที่ทเี่ กิดอัคคีภัย
4. หนวยชวยชีวิตและยานพาหนะ จะเขาคนหาและทําการชวยชีวติ พนักงานที่ยงั ติด
คางอยูในอาคารหรือในพื้นทีท่ ี่ไดเกิดอัคคีภัย รวมถึงกรณีของพนักงานที่ออกมาอยูท ่จี ุดรวมพลแลวมี
อาการเปนลม ช็อคหมดสติหรือบาดเจ็บเปนตน หนวยชวยชีวิตและยานพาหนะจะทําการปฐมพยาบาล
เบื้องตน และติดตอหนวยยานพาหนะใหในกรณีที่พยาบาลหรือแพทยพจิ ารณาแลวตองนําสงโรงพยาบาล

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
32.

ตัวอยาง
แผนอพยพหนีไฟ

ผูอํานวยการ หรือผูชวยผูอํานวยการดับเพลิง
สั่งใชแผนอพยพหนีไฟไปยังประชาสัมพันธ

ประชาสัมพันธประกาศพรอมกดสัญญาณ
เตือนภัย

ผูนําทางจะถือสัญญาณธง
นําพนักงานออกจากพื้นที่ปฏิบัติงาน
ตามชองทางที่กําหนด

ผูนําทางนําพนักงานไปยังจุดรวมพล

ผูนําทาง & ผูตรวจสอบยอด


พนักงาน

รีบนําผูปวยหรือผูบาดเจ็บสงหนวย
ผูตรวจสอบยอดแจงยอดตอผูอํานวยการ
พยาบาลหรือสถานพยาบาล
หรือผูชวยผูอํานวยการดับเพลิง ณ จุดรวมพล
ใกลเคียง
ไมครบ
ครบ
ผูอํานวยการหรือผูชวยผูอํานวยการดับเพลิง ผูอํานวยการหรือผูชวย
แจงใหพนักงานอยูในจุดรวมพล ผูอํานวยการดับเพลิง
จนกวาเหตุการณสงบ สั่งหนวยงานชวยชีวิตคนหา

หนวยชวยชีวิตคนหาและ
รายงานผลใหผูอํานวยการ
หรือผูชวยผูอํานวยการทราบ
กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
33.

3. แผนหลังเหตุเพลิงไหม
3.1.แผนบรรเทาทุกข
แผนบรรเทาทุกขจะประกอบดวยหัวขอตางๆ ดังนี้
1. การประสานงานกับหนวยงานของรัฐ
2. การสํารวจความเสียหาย
3. การรายงานตัวของเจาหนาที่ทกุ ฝายและกําหนดจุดนัดพบเพื่อรอรับคําสั่ง
4. การชวยชีวิตและขุดคนหาผูเสียชีวิต
5. การเคลื่อนยายผูประสบภัย ทรัพยสนิ และผูเสียชีวิต
6. การประเมินความเสียหาย ผลการปฏิบัติงานและรายงานสถานการณเพลิงไหม
7. การชวยเหลือสงเคราะหผูประสบภัย
8. การปรับปรุงแกไขปญหาเฉพาะหนาเพื่อใหธุรกิจสามารถดําเนินการไดโดยเร็วที่สุด

ตัวอยางการกําหนดหนาที่รับผิดชอบของผูปฏิบัตกิ ารในแผนบรรเทาทุกข
หนาที่รับผิดชอบ ผูปฏิบัติ
1. การประสานงานกับหนวยงานของรัฐ หัวหนาทีม……………………………………………
พนักงานรวมทีม………………………………………
2. การสํารวจความเสียหาย หัวหนาทีม……………………………………………
พนักงานรวมทีม…………………………………….
3. การรายงานตัวของเจาหนาที่ทกุ ฝายและกําหนด หัวหนาทีม……………………………………………
จุดนัดพบของบุคลากร พนักงานรวมทีม………………………………………
4. การชวยชีวิตและคาหาผูประสบภัย หัวหนาทีม……………………………………………
พนักงานรวมทีม………………………………………
5. การเคลื่อนยายผูประสบภัย ทรัพยสนิ และ
หัวหนาทีม……………………………………………
ผูเสียชีวิต
พนักงานรวมทีม………………………………………
6. การประเมินความเสียหาย ผลการปฏิบัติงาน
หัวหนาทีม……………………………………………
และการรายงานสถานการณเพลิงไหม
พนักงานรวมทีม………………………………………
7. การชวยเหลือ สงเคราะหผปู ระสบภัย
หัวหนาทีม……………………………………………
พนักงานรวมทีม………………………………………
8. การปรับปรุงแกไขปญหาเฉพาะหนาเพื่อใหธุรกิจ
หัวหนาทีม……………………………………………
สามารถดําเนินการไดโดยเร็วที่สุด
พนักงานรวมทีม………………………………………

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
34.

3.2 แผนการปฏิรูป ฟนฟู


แผนปฏิรูป ไดแก การนํารายงานผลการประเมินจากทุกดานจากสถานการณจริงมา
ปรับปรุงแกไขโดยเฉพาะแผนการปองกันอัคคีภัย (กอนเกิดเหตุ) แผนปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม แผน
บรรเทาทุกข (ทันทีที่เพลิงสงบ) รวมทั้งการปรับปรุงแกไขตัวบุคลากรตางๆ ที่บกพรอง
นอกจากนี้ ยังมีโครงการเพือ่ รวมรับแผนปฏิรูป ไดแก
1. โครงการประชาสัมพันธ สาเหตุการเกิดอัคคีภัยและแนวทางการปองกันในรูปแบบ
ตางๆ
2. โครงการสงเคราะหผูปว ย
3. โครงการปรับปรุงซอมแซมและสรรหาสิ่งทีส่ ูญเสียใหกลับคืนสภาพปกติ
4. การปรับแผนปองกันและระงับอัคคีภัยใหเหมาะสมยิง่ ขึน้

35.

9. การจัดระบบปองกันและระงับอัคคีภัยและการประยุกตใช
ระบบและอุปกรณที่มีอยูใ นสถานประกอบการ

การปองกันอัคคีภัยที่มีประสิทธิภาพขึ้นอยูกับปจจัยหลัก 2 ประการ คือ

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
1. คุณภาพของคน - สรางทัศนคติแกพนักงานใหมีความตืน่ ตัวและเตรียมพรอมสําหรับ
เหตุการณฉุกเฉิน
2. คุณภาพของเครื่องมือ - เลือกใชเครื่องมือและระบบการปองกันอัคคีภัยและระบบ
ปองกันตางๆ
ที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพไดมาตรฐาน ใหถูกตองกับประเภทของ
ไฟ
และความเสี่ยงของพื้นที่
ดังนัน้ ความเหมาะสมในการเลือกใชอุปกรณและระบบการปองกันอัคคีภัยตางๆ นัน้ จึง
เปนสวนหนึง่ ที่ทาํ ใหลดความเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยและดับเพลิงไดอยางมีประสิทธิภาพ การจัดเตรียม
อุปกรณปองกันและระงับอัคคีภัย ตองพิจารณาตามความสําคัญ ความจําเปนและความเหมาะสม
ตามลักษณะของสถานประกอบการ
1. ระบบอุปกรณดับเพลิง
1.1 เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ (PORTABLE FIRE
EXINGUISHER) สําหรับดับเพลิงขั้นตนแยกออกเปนชนิดตางๆ ไดดังนี้
เครื่องดับเพลิงแบบมือถือมีอยูหลายประเภท ขึ้นอยูกบั ความเหมาะสมของการใชงาน
ไมวาจะเปนประเภทของเชื้อเพลิงและสถานทีท่ ี่จะฉีดดับเพลิงซึง่ เครื่องดับเพลิงที่ใชกนั อยูมีดงั ตอไปนี้
1.1.1 เครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดบรรจุน้ําสะสมแรงดัน
ใชสําหรับดับเพลิงประเภท A เทานัน้ ขนาดทีน่ ิยมใชกันทั่วไป คือ ขนาด 10
ลิตร
ตัวถังทําดวยแสตนเลส เพื่อปองกันการเกิดสนิม ภายในถังบรรจุกาซไนโตรเจนหรือกาซ
คารบอนไดออกไซด เพื่อใหมีความดันสะสม 100 PSI
1.1.2 เครื่องดับเพลิงชนิดมือถือชนิดบรรจุกาซคารบอนไดออกไซด
เหมาะสําหรับดับเพลิงประเภท B และ C ภายในบรรจุกาซใหมีความดัน
1,200
PSI ดังนัน้ ถังตองเปนถังไรตะเข็บเทานัน้ และทําการตรวจสอบสภาพทุกๆ 6 เดือน โดยวิธีชงั่ น้ําหนัก
แลวบันทึกขอมูลเก็บไว หากน้ําหนักสูญหายไปเกินกวา 10 % ควรทําการเติมกาซใหม
1.1.3 เครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดบรรจุน้ํายาเหลวระเหย
นิยมใชในบริเวณที่มีอุปกรณไฟฟา อีเลคทรอนิคส และในบริเวณทีต่ องการความ
สะอาด
1.1.4 เครื่องดับเพลิงแบบมือถือชนิดบรรจุผงเคมีแหง
สําหรับฉีดดับเพลิงประเภท A B และ C ภายในบรรจุผงเคมีแหง และกาซ

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
36.

ไนโตรเจน ควรมีการตรวจสอบสภาพทุก ๆ 6 เดือน เชน การจับตัวของผงเคมี การรั่วไหลของแกส


คันบีบ การอุดตันของปลายหัวฉีด การผุกรอนของถัง

ขอปฏิบัตกิ ารติดตั้งเครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือ


- เครื่องดับเพลิงแตละเครือ่ งจะตองมีนา้ํ หนักสุทธิไมเกิน 20 กิโลกรัม
- เครื่องดับเพลิง ใหติดตั้งสูงจากพื้นทีท่ ํางาน ไมนอ ยกวา 1 เมตร และไมเกิน
1.40 เมตร สามารถมองเห็นไดเดนชัด หยิบใชไดงาย
- ตองมีรายละเอียดเกี่ยวกับ ชนิด และวิธีใชเปนภาษาไทยที่เห็นชัดเจนติดไว ณ จุด
ติดตั้ง
- จัดใหมีการตรวจสอบสภาพเครื่องดับเพลิง เชน การชํารุดสึกกรอน แรงดันภายใน
ไมนอยกวา 6 เดือน ตอ 1 ครั้ง และเก็บผลไวใหพนักงานเจาหนาที่ สามารถตรวจสอบได
ตลอดเวลา
- เครื่องดับเพลิงแบบมือถือทุกเครื่องจะตองมีเครื่องหมาย หรือสัญลักษณแสดงวาเปน
ชนิดใดใชดับไฟประเภทใด เครื่องหมายหรือสัญลักษณตองมีขนาดทีม่ องเห็นไดชัดเจนในระยะไมนอยกวา
1.50 เมตร
- เครื่องดับเพลิงจะตองมีมาตรฐานทีท่ างราชการกําหนด หรือยอมรับ

1.2 ระบบน้าํ ดับเพลิง


ระบบทอยืน
ระบบทอยืน เปนการติดตั้งระบบทอสงน้าํ วาลว หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิง และ
อุปกรณฉีดน้ําดับเพลิงประกอบกัน อุปกรณทั้งหมดถูกติดตั้งภายในอาคาร โดยมีตําแหนงของหัวตอสาย
ฉีดน้ําดับเพลิงหรือทีเ่ ก็บสายฉีดน้ําดับเพลิง อยูในที่ทซี่ ึ่งสามารถตอสายฉีดน้าํ นําไปฉีดยังจุดที่เกิดเพลิงได
โดยงาย เปนจุดที่สามารถเห็นไดชัดเจน และสะดวกตอการทํางานของพนักงานดับเพลิง
ระบบทอยืนจะเปนระบบที่สมบูรณก็ตอเมื่อตอระบบทั้งหมดเขากับระบบสงน้าํ เชน ถัง
เก็บน้าํ ทีม่ ีเครื่องสูบน้าํ ดับเพลิง จากแหลงจายน้าํ ที่มปี ริมาณเพียงพอในการฉีดน้ําดับเพลิงตามระยะเวลา
ที่ตองการ
ในปจจุบนั สวนใหญ จะตองติดตั้งทอยืนและเตรียมสายฉีดน้ําดับเพลิงขนาด 25
มิลลิเมตร (1 นิ้ว) หรือ 40 มิลลิเมตร (1 ½ นิ้ว) สําหรับในอาคาร และใชหัวตอสายฉีดน้ํา
ดับเพลิงขนาด 65 มิลลิเมตร (2 ½ นิ้ว) สําหรับพนักงานดับเพลิงหรือผูที่ไดรับการฝกฝนมาแลว

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
37.

หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิง
- ควรอยูในระยะที่สามารถตอสายฉีดน้ําดับเพลิงไดครอบคลุมทั้งอาคาร
- ตําแหนงของหัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิง จะตองอยูในระยะที่บุคคลเขาถึงไดโดยงายทุก
ทิศทางและโดยทันทีเมื่อเกิดเพลิงไหม โดยไมมีสิ่งกีดขวาง และอยูสูงจากพืน้ ไมเกินกวา 1.5 เมตร
(5 ฟุต)
- หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงจะตองเปนหัวตอสวมเร็วชนิดตัวเมีย ขนาด 2 ½ นิ้ว
ขอตอสายสงน้ําดับเพลิง
- ขอตอสายสงน้าํ ดับเพลิงเขาอาคารและภายในอาคารเปนแบบเดียวกันหรือขนาด
เทากันกับที่ใชในหนวยงานดับเพลิงของทางราชการในทองถิ่นนัน้ การติดตั้งมีสิ่งปองกันความเสียหายที่
จะเกิดจากยานพาหนะหรือสิ่งอื่น
- ขอตอสายสงน้าํ ดับเพลิงและกระบอกฉีดที่ใชฉีดเพลิงโดยทัว่ ไป เปนแบบเดียวกันหรือ
ขนาดเทากันกับที่ใชในหนวยดับเพลิงของทางราชการในทางราชการในทองถิน่ นัน้ ซึ่งสามารถตอเขา
ดวยกันได และอยูในสภาพที่ใชงานไดดี
ตูสายฉีดน้าํ ดับเพลิงพรอมอุปกรณ
ตูเก็บสายและอุปกรณตองมีขนาดใหญพอที่จะบรรจุอุปกรณตางๆ ไดแก สายฉีดน้าํ
ดับเพลิง วาลวน้าํ หัวฉีด ไดอยางเพียงพอ และสะดวกตอการใชงาน
สายฉีดน้าํ ดับเพลิง
สายฉีดน้าํ ดับเพลิงมีความยาวหรือตอกันมีความยาวเพียงพอที่จะควบคุมบริเวณที่เกิด
เพลิงได มีใชทวั่ ไป 2 แบบ
- สายฉีดน้าํ ดับเพลิงชนิดสายยาวแข็งแบบลอหมุน (Hose Reel)
- สายฉีดน้าํ ดับเพลิงชนิดพับ (Hose rack)
หัวรับน้ําดับเพลิง
- ควรมีหัวรับน้ําดับเพลิงจากภายนอกอาคาร ขนาด 2 ½ นิ้ว โดยมี วาลวกันกลับ
(Check Valve) ในระบบทอน้าํ และไมใหมี Valve ปด-เปด ในระบบทอน้าํ ของหัวรับน้ํา
ดับเพลิง
- หัวรับน้าํ ดับเพลิงจะตองเปนชนิดขอตอตัวผูพรอมฝาครอบตัวเมียและโซคลอง

1.3 ระบบกระจายน้ําดับเพลิง
เพื่อความพรอมในการดับเพลิงไดทันทีอยางอัตโนมัติ ตามความตองการ โดยการฉีดน้ํา
กระจายลงมาคลุมบริเวณที่เปนตนเหตุของเพลิง ทําใหเพลิงดับลงอยางรวดเร็วไมสามารถขยายตัวไปยัง

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
พื้นที่ขางเคียงเปนการปองกันชีวิตและทรัพยสินไดอยางมีประสิทธิภาพ ระบบกระจายน้ําดับเพลิงมีหลาย 38.
ประเภท คือ
- ระบบทอเปยก (Wet pipe system) ใชในระบบที่อุณหภูมแิ วดลอมไมทาํ
ใหนา้ํ ในเสนทอน้ําเกิดการแข็งตัว
- ระบบทอแหง (Dry pipe system) ใชในระบบที่อุณหภูมทิ ั่วไปต่ํากวาจุด
เยือกแข็ง
- ระบบทอแหงแบบชะลอน้ําเขา (Pre-action system) ปองกันการทํางาน
ผิดพลาดของหัวกระจายน้ําดับเพลิง (Sprinkler)
- ระบบเปด (Deluge Valve) เหมาะสําหรับระบบที่ตองการน้ําดับเพลิงใน
ปริมาณมากๆ หรือเปดออกใชน้ําทันทีพรอมกันทุกหัวฉีด
ทั้งนี้ ในกรณีที่มีระบบน้ําดับเพลิงอัตโนมัติ ตองปฏิบัติดังนี้
(1) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติตองไดมาตรฐานที่ทางราชการกําหนดหรือยอมรับ
(2) ตองเปดวาลวประธานที่ควบคุมระบบจายน้ําเขาอยูตลอดเวลา และจัดใหมีผู
ควบคุมดูแลใหใชงานไดตลอดเวลาที่มีการทํางาน
(3) ตองติดตั้งสัญญาณเพื่อเตือนภัยในขณะที่ระบบน้ําดับเพลิงอัตโนมัติกําลังทํางาน
หรือกรณีอุปกรณตัวหนึ่งตัวใดในระบบผิดปกติ
(4) ตองไมมีสิ่งกีดขวางทางน้ําจากหัวฉีดน้ําดับเพลิงของระบบนี้อยางนอยหกสิบ
เซนติเมตรโดยรอบ

1.4 ระบบน้าํ ดับเพลิงนอกอาคาร


หัวดับเพลิง
- ขนาดของทอทางน้าํ เขาหัวดับเพลิง ไมควรเล็กกวา 6 นิ้ว
- หัวตอสายฉีดน้ําดับเพลิงจะตองเปนหัวตอสวมเร็วชนิดตัวเมีย
- ติดตั้งหางจากอาคารไมนอยกวา 12 เมตร
- ระยะหางระหวางหัวดับเพลิงแตละหัวหางไมเกิน 150 เมตร
- ความสูงของหัวดับเพลิงไมนอ ยกวา 2 ฟุต วัดจากศูนยกลางหัวตอสายฉีดน้าํ ถึง
ระดับพื้น
ระบบสงน้าํ
- ระบบประปาสาธารณะทีม่ ีความดันและปริมาณการไหลที่เพียงพอ
- เครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Fire Pump) ชนิดอัตโนมัติตอกับแหลงน้าํ
- เครื่องสูบน้ําชนิดใชมอเตอรไฟฟา (Moter fire pump)

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
- เครื่องสูบน้ําชนิดใชเครื่องยนตดีเซล (Diesel Engine fire pump)
- เครื่องสูบน้ํารักษาระดับความดัน (Jockey pump) 39.
- น้ําสํารองเพือ่ ใชในการดับเพลิง
- ถังน้าํ ดับเพลิงและถังน้าํ สํารอง
- แมน้ํา, ลําคลอง, บอน้าํ
- ระบบการสงน้าํ ที่เก็บกักน้ํา ปมน้าํ และการติดตั้งไดรับการตรวจสอบและรับรองจาก
วิศวกรโยธาซึง่ คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปตยกรรม รับรองและมีการ
ปองกันไมใหเกิดความเสียหายเมื่อเกิดเพลิงไหม

2.ระบบการเก็บวัสดุไวไฟและวัตถุระเบิด
2.1 สถานทีท่ ี่มีการเก็บรักษาวัตถุไวไฟและวัตถุระเบิด ตองเก็บแยกวัตถุไวไฟและวัตถุ
ระเบิดรวมทัง้ วัตถุใดทีท่ ําปฏิกิริยากัน หรือปฏิกิริยาที่เกิดการหมักหมมแลวเกิดการลุกไหมได หรือ
สามารถลุกไหมไดดวยตนเอง หรือสารเคมีที่เปนตัวเติมออกซิเจนออกเปนสัดสวนตางหากไมปะปนกัน
และตองเก็บในหองทีม่ ีผนังทนไฟ และตองจัดทําปาย “วัตถุไวไฟ หามสูบบุหรี่” หรือ “วัตถุระเบิด
หามสูบบุหรี”่
2.2 ภาชนะบรรจุถายวัตถุไวไฟและวัตถุระเบิดตองแข็งแรงทนทานและปลอดภัยในการ
ใชงาน กับตองดูแลรักษาใหอยูในสภาพที่เรียบรอยและปลอดภัยตอการใชงานอยูเ สมอ
2.3 ภาชนะขนถายวัตถุไวไฟและวัตถุระเบิดตองเปนแบบที่หยิบยกหรือขนยายไดดวย
ความปลอดภัย และหามเก็บไวในบริเวณประตูเขา – ออก บันไดหรือทางเดินสถานที่เก็บตองมีการ
ระบายอากาศที่เหมาะสมปลอดภัยในหองเก็บและหองปฏิบัติงานอันเกี่ยวกับวัตถุระเบิดและวัตถุไวไฟเก็บ
ไวในหองทีม่ ีผนังทนไฟและประตูหนาตางหามมิใหใชกระจก และการเก็บถังกาซหามเก็บรวมกับสิง่ ที่ลุก
ไหมไดงาย

3. ระบบการกําจัดของเสียที่ติดไฟไดงาย
ควรปฏิบัติเกี่ยวกับของเสียทีต่ ิดไฟงาย ดังนี้
(1) เก็บรวบรวมของเสียที่ติดไฟไดงายในภาชนะปดที่เปนโลหะ
(2) ทําความสะอาดมิใหการสะสมหรือตกคางของของเสียที่ติดไฟไดงายไมนอยกวา
วันละหนึ่งครั้ง ถาเปนงานกะไมนอยกวากะละหนึ่งครั้ง เวนแตวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดที่ลุกไหมเองได
จัดใหมีการทําความสะอาดทันที
(3)นําของเสียที่เก็บรวบรวม ออกจากบริเวณที่พนักงานทํางานไมนอ ยกวา

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
วันละหนึ่งครั้ง และนําไปกําจัดจนหมดอยางนอยเดือนละหนึง่ ครั้ง โดยวิธีการที่ปลอดภัย เชน การเผา
การฝง หรือการใชสารเคมีเพื่อใหของเสียนั้นสลายตัวในการกําจัดของเสียโดยการเผาใหดําเนินการ
ดังตอไปนี้ 40.
- การกําจัดของเสียโดยการเผาในเตาที่ออกแบบสําหรับการเผาโดยเฉพาะ
- ผูปฏิบัติงานทีท่ ําหนาที่เผา ตองสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล
เชน หนากาก ถุงมือ เปนตน
- จัดเก็บเถาที่เหลือจากการเผาของเสียไวในภาชนะทีป่ ดมิดชิด เพื่อปองกันการรั่วไหล

4.ระบบปองกันอันตรายจากฟาผา
ควรมีสายลอฟาเพื่อปองกันอันตรายจากฟาผาสําหรับอาคาร สิ่งกอสราง ภาชนะหรือ
อุปกรณ ดังตอไปนี้
(1) อาคารที่มวี ัสดุไวไฟหรือวัตถุระเบิด
(2) อาคารที่มิไดอยูในรัศมีการปองกันของสายลอฟาจากอาคารอื่น
(3) สิ่งกอสรางหรือภาชนะที่มีสว นสูง เชน ปลองไฟ เสาธง ถังเก็บน้ําหรือสารเคมี
การติดตั้งสายลอฟา ใหปฏิบัติตามมาตรฐานที่เปนทีย่ อมรับ

5. ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม
ในระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม ทีป่ ฏิบัติจะประกอบดวย 3 องคประกอบ
(1) อุปกรณตรวจจับและสงสัญญาณ (Detector)
- อุปกรณตรวจจับความรอน (HEAT DETECTOR) ซึง่ มี 2 ชนิด คือ
อุปกรณตรวจจับอุณหภูมิตายตัว (FIXED TEMPERATURE DETECTOR) และ
อุปกรณตรวจจับอัตราการเพิ่มอุณหภูมิ (RATE OF RISE DETECTOR) ชนิดแรกเปน
ชนิดทีก่ ําหนดอุณหภูมิคงตัวไวคงที่คาหนึ่ง โดยใชโลหะที่มีจุดหลอมเหลวต่ํา และกลับคืนตัวอยาง
อัตโนมัติเหมือนกับเทอรโมสตัด (THERMOSTAT) สวนชนิดที่สองจะทํางานเมื่ออัตราการเพิ่ม
ของอุณหภูมิสงู ขึ้น เกินกวาอัตราที่ตั้งไวกอ นที่จะถึงจุดติดไฟ สําหรับชนิดที่สองนีป้ ระกอบดวยอุปกรณ
ตรวจจับอุณหภูมิตายตัวซึง่ ถูกสรางใหรวมอยูในชุดเดียวกันดวย
- อุปกรณตรวจจับควัน (SMOKE DETECTOR) สําหรับอุปกรณ
ตรวจจับควัน ประกอบดวยอุปกรณตรวจจับไฟฟาพลังแสง ชุดควบคุม และแหลงกําเนิดเสียงรวมอยูใน
ชุดเดียวกัน และอุปกรณจับควันโดยอาศัยการเกิดไอออน (IONIZATION DETECTOR)
ซึ่งประกอบดวยอุปกรณตรวจจับการเกิดไอออน ชุดควบคุม แหลงกําเนิดเสียง และแบตเตอรี่
(2) ชุดควบคุม (Control)

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
มีหนาที่เปนแผงศูนยรวมเพือ่ จายกําลังงานไปยังอุปกรณกําเนิดเสียง เมื่อไดรับ
สัญญาณจากอุปกรณตรวจจับมันจะสงเสียงเตือนภัยตลอดเวลาในสภาวะฉุกเฉินจนกวาจะเขาสูสภาวะ
ปกติหรือหยุดเสียงทีช่ ุดควบคุมเทานัน้ จึงจะหยุดสงเสียงเตือนภัย นอกจากนีช้ ุดควบคุมนี้ยงั สามารถสัง่ 41.
ใหไปทํางานสวนอืน่ ๆ เชน ปดทอน้าํ มัน ทอกาซ พัดลม เพื่อปองกันไฟลุกลามอยางไรก็ตามเพื่อให
ระบบมีการทํางานที่แนนอนและมีความนาเชื่อถือสูง ในขณะที่ระบบไฟฟาของการไฟฟาฯ ขัดของโดย
การจัดใหระบบมีแบตเตอรี่สํารองไว
(3) อุปกรณกําเนิดเสียง ไดแก กระดิ่ง ออด และลําโพงฮอรน แตสวนใหญจะใชกระดิ่งไฟฟา
กระแสสลับ
สําหรับสถานประกอบการอาจติดตั้ง เปนระบบการแจงเหตุเพลิงไหมเปนชนิดมีผูกดสัญญาณโดยตรง
เมื่อพบเหตุก็ได
ระบบสัญญานแจงเหตุเพลิงไหมเปนอุปกรณเตือนขณะเกิดเพลิงไหมไดทันทวงที และ
เปนการเตือนใหหนีไฟเพื่อปฏิบัติตามแผนที่ไดวางไว ซึ่งควรปฏิบัติดังนี้
- สถานประกอบกิจการตั้งแต 2 ชั้นขึ้นไป จะตองติดตัง้ ระบบหรืออุปกรณเตือนภัย
หรือสัญญานแจงเหตุเพลิงไหมเปลงเสียงใหบุคคลในสถานที่ประกอบกิจการภายในไดยิน โดยมีระดับ
ความดังของเสียงไมนอยกวา 100 เดซิเบล ซึ่งวัดจากจุดกําเนิดของเสียง 1 เมตรโดยรอบ ในกรณี สถานที่
ที่ไมตองการใชเสียง ตองจัดใหมีสัญญาณหรือแจงใหคนที่อยูในอาคารไดยินหรือทราบอยางทั่วถึงใน
ขอบเขตที่ตองการ
- สัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมจะตองมีเสียงที่แตกตางไปจากเสียงทีใ่ ชในสถานที่
ประกอบการและหามใชเสียงสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมดังกลาวในกรณีอื่นที่ไมเกี่ยวของกับสัญญาณเพื่อ
แจงเหตุเพลิงไหม
- ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมและระบบอุปกรณเตือนภัยจากอัคคีภัย จะตอง
ทํางานไดตลอดเวลาเมื่อตองใชหรือเมื่อเกิดอันตรายจากอัคคีภัย
- มีการทดสอบประสิทธิภาพในการทํางานอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง

6.ระบบทางหนีไฟ และอาคารสถานประกอบการ
เพื่อใหการอพยพหนีไฟของคนในอาคารมีความปลอดภัย ควรปฏิบัติดังนี้
(1) ชองทางผานสูทางออกควรมีความกวางของชองทางไมนอยกวาหนึ่งเมตรสิบ
เซนติเมตร
(2) ทางออกและทางออกสุดทายควรมีลักษณะดังตอไปนี้
- มีทางออกทุกชั้นอยางนอยสองทางที่สามารถอพยพคนไดทั้งหมดออกจาก

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
ที่ทาํ งานออกสูทางออกสุดทายไดภายในเวลาไมเกินหานาทีโดยปลอดภัย
- ชองทางผานไปสูทางออกหรือหองบันไดฉุกเฉินควรมีระยะหางจากจุดที่ทํางาน
ไมเกินสิบหาเมตรสําหรับสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอยางรายแรง และไมเกิน
สามสิบเมตรสําหรับสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอยางปานกลางหรืออยางเบา 42.
ทั้งนี้ หองบันไดฉุกเฉินจะตองสามารถปองกันไฟและควันหรือมีชองทางฉุกเฉินที่มผี นังทนไฟ
- ชองทางผานสูประตูทางออกสุดทายภายนอกอาคารตองมีความกวางอยางนอย
ไมต่ํากวาหนึ่งเมตรสิบเซนติเมตร ในกรณีที่มีคนงานเกินหาสิบคนขึ้นไป ขนาดความกวางของทางออก
สุดทายตองกวางขึ้นอีกหกสิบเซนติเมตร หรือมีชองทางเพิ่มขึ้นอีกอยางนอยหนึ่งชองทาง
- ทางออกสุดทายตองไปสูบ ริเวณที่ปลอดภัย
(3) บันไดในสถานประกอบการ ควรมีลักษณะดังตอไปนี้
- บันไดและชานบันไดในอาคารตั้งแตสี่ชั้นขึ้นไปใหสรางดวยวัสดุทนไฟ
- อาคารตั้งแตสามชั้นขึ้นไป ถาหลังคามีความลาดเอียงหนึ่งในสี่หรือนอยกวา
จะตองมีบันไดหนีไฟที่ออกสูหลังคาที่สรางดวยวัสดุทนไฟอยางนอยหนึ่งบันได
- มีสัญลักษณที่เห็นไดเดนชัดเจนนําจากบันไดสูทางออกภายนอก
ในกรณีที่ใชปลองทางหนีไฟแทนบันได เสนทางลงสูปลองทางลงภายในปลอง
ตลอดจนพื้นฐานของปลองจะตองใชวัสดุทนไฟ และประตูปลองตองสรางดวยวัสดุทนไฟและปลอดภัยจาก
ควันไฟ น้ํา หรือสิ่งอื่นใดที่ใชในการดับเพลิง
(4) ประตูที่ใชในเสนทางหนีไฟ ควรมีลักษณะดังตอไปนี้
- ติดตั้งในจุดที่เห็นชัดเจนโดยไมมีสิ่งของกีดขวาง
- ตองเปนชนิดที่เปดเขาออกไดทั้งสองดาน และปดไดเอง
- ตองมิใชประตูเลื่อนแนวดิ่ง ประตูมวน และประตูหมุน
- ประตูบันไดจะตองมีความกวางไมนอยกวาความกวางของชองบันได
- ประตูที่เปดสูบันไดจะตองไมเปดตรงบันได และมีชานประตูอยางนอยเทากับ
ความกวางของประตูในทุกจุดที่ประตูเปดออกไป
- ประตูเปดออกสูภายนอกอาคารตองเปนชนิดเปดออกภายนอก หามปด ผูกหรือ
ลามโซประตู

(5) เสนทางหนีไฟ ตองปราศจากสิง่ กีดขวาง

\\\\\\[[[[[[

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
43.

ภาคสนาม

การฝกภาคสนาม อยางนอยตองประกอบดวยการฝกอบรมดังนี้
1. การดับเพลิงจากเพลิงประเภท เอ และเพลิงประเภท บี โดยผูเขารับการฝกอบรม
ตองฝกปฏิบัติจริงในการใชผงเคมีแหง น้าํ ยาโฟม หรือคารบอนไดออกไซด
2. การดับเพลิงจากเพลิงประเภท ซี และเพลิงประเภท ดี ในกรณีที่สถานประกอบการ
มีโลหะตาง ๆ ที่ติดไฟ อาทิ แมกนีเซียม เซอรโดเนียม ไทเทเนียม เปนตน โดยวิทยากรผูฝกทําการ
ดับเพลิงจริง เพื่อสาธิตตอผูเขารับการฝก
3. การดับเพลิงโดยใชเครื่องดับเพลิงชนิดมือถือ
4. การดับเพลิงโดยใชสายดับเพลิง หัวฉีด

[[[[\\\\

ที่มา : กองตรวจความปลอดภัย
กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
กระทรวงแรงงาน

กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

You might also like