You are on page 1of 5

การวิเคราะห์ ความปลอดภัยในการทำงาน

JSA NO.002 (LBB)


( JOB SAFETY ANALYSIS )
ชื่อโครงการ/Project name : CFP Crude Oil Tank Project บริ ษทั / Company : LADKRABANG BORED PILE CO., LTD วิเคราะห์โดย/ Analysis by : Subcontractor Signature : Date :
สถานที่/ Location : _________________________
Thai Oil : CTCI Sup. Signature : Date :
งานทีวิเคราะห์ / Job Analysis : ______________________________________
Bored Pile Work By Tripod ตรวจสอบโดย /Verified by : CTCI-HSEM Signature : Date :
ตรวจสอบโดย/Verified by : Signature : Date :

เลขที่ ขั้นตอนในการทำงานโดยสังเขป อุบตั ิเหตุหรื ออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการควบคุมความเสี่ ยง Assessment Score

No. Steps of work Accidents or hazards that may arise Risk control measures

Severityควา
Likelihood

Related

กฎหมาย
มรุ รแรง
โอกาส

legal
A. ขอใบอนุญาตก่อนการปฏิบตั ิงานทุกขั้น A.1 เกิดข้อผิดพลาดในการทำงานทุกขั้นตอนและไม่เป็ นไปตามระเบียบปฏิบตั ิของ A.1.1 ขอทราบรายละเอียดระเบียบปฏิบตั ิของโรงงาน 1 1 2
ตอน โรงงาน A.1.2 ทำการขอใบอนุญาตในการทำงานจากเจ้าของ พื้นที่ทุกครั้งที่เข้าไป
ปฏิบตั ิงาน

A.2 ไม่มีการวิเคราะห์อนั ตรายในกรทำงานอาจเกิดอันตรายต่อพนักงาน อุปกรณ์ A.2.1 ทำการอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยให้กบั พนักงาน วิเคราะห์อนั ตราย 1 2 2


ของทางโรงกลัน่ สิ่ งแวดล้อม และชื่อเสี ยงของทางบริ ษทั จากงานที่ท ำในแต่ละงานที่จะเข้าไปปฏิบตั ิงาน

1 การขนย้ายอุปกรณ์และเครื่ องจักรไปยังพื้นที่ 1.1 อุบตั ิเหตุจากการจราจร 1.1.1 ต้องมีการสำรวจเส้นทางเข้าออกพื้นที่และต้องทราบรายละเอียดเกี่ยว 1 1 2


ปฏิบตั ิงาน กับอุปกรณ์และเครื่ องจักรที่จะทำการขนย้ายเข้า ทั้งความกว้าง ความสูง น้ำ
หนักของเครื่ องจักรอุปกรณ์ที่จะทำการขนย้าย พร้อมจัดให้มีผใู้ ห้สญั ญาณ
เพื่ออำนวยความสะดวกในการผ่านทาง
1.1.2 จำกัดความเร็ วเร็ วไม่เกิน 10 กิโลเมตร/ชม.
1.1.3 แจ้งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องในการขนย้ายทราบ ได้แก่ ผูค้ วบคุมงาน เจ้า
หน้าที่ของโรงกลัน่ และเจ้าหน้าทีความปลอดภัยทราบเกี่ยวกับรายละเอียด
ในการขนย้าย

1 of 5
เลขที่ ขั้นตอนในการทำงานโดยสังเขป อุบตั ิเหตุหรื ออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการควบคุมความเสี่ ยง Assessment Score

No. Steps of work Accidents or hazards that may arise Risk control measures

Severityควา
Likelihood

Related

กฎหมาย
มรุ รแรง
โอกาส

legal
1.2 อันตรายจากการใช้เครนและ/หรื อเฮี๊ยบในการยกขนย้ายอุปกรณ์ สภาพ 1.2.1 ในการขนย้ายอุปกรณ์ เครนและ/หรื อเฮี๊ยบ ต้องไม่ท ำงานเกินกำลังที่ 1 2 2
เครื่ องจักรอุปกรณ์การยกไม่พร้อมใช้งาน อาจตกหล่นใส่ ผปู้ ฏิบตั ิงาน จะสามารถยกได้
1.2.2. รถเครนและ/หรื อเฮี๊ยบ รวมถึงอุปกรณ์การยกต้องได้รับการตรวจ
สภาพก่อนนำเข้ามาใช้งานในพื้นที่โรงกลัน่
1.2.3 รถยกต้องมีใบรับรองการตรวจสภาพตามกฎหมาย (ปจ.)
ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยและผูค้ วบคุมงานดูแลอยูต่ ลอดเวลา
1.2.4 ตรวจสอบพาหนะก่อนใช้เพื่อให้แน่ใจว่ามีความปลอดภัยและอยูใ่ น
สภาพที่พร้อมใช้งาน และอยูใ่ นมาตรฐานที่ก ำหนด
1.2.5 ขณะทำการยกอุปกรณ์ตอ้ งมีเชือกบังคับทิศทางอยูต่ ลอดเวลาในการ
ยกทุกครั้ง

1.3 อุปกรณ์บางตัวอาจตกจากรถบรรทุก 1.3.1 ต้องตรวจสอบการยึดโยง การผูกมัดก่อนการขนส่ ง 1 2 2


1.3.2 ระมัดระวังและตรวจซ้ำที่จุดรัดอุปกรณ์
2 การประกอบติดตั้ง Tripod 2.1 ตกจากที่สูง 2.1.1 สวมใส่ อุปกรณ์ PPE
2.1.2 สวมใส่ อุปกรณ์ป้องกันการตกแบบ ชนิดเต็มตัว 1 2 2

3 ตรวจสอบจุดเจาะ 3.1 ถูกปักหรื อทิ่มแทงด้วยหมุด ค้อนตีพลาดโดนอวัยวะของร่ างกายระหว่างทำ 3.1.1 อบรมความปลอดภัยแก่พนักงานก่อนเริ่ มงาน 1 1 2


ทำเครื่ องหมายถ่ายระยะ หมุด 3.1.2 สวมอุปกรณ์ PPE ให้พร้อมระหว่างเข้าไปปฏิบตั ิงาน
วางหมุดบริ เวณหน้างาน

3.2 สะดุดวัสดุอุปกรณ์ที่วางอยูต่ ามหน้างาน 3.2.1 อุปกรณ์ที่ไม่ใช้ตอ้ งจัดเก็บให้เป็ นระเบียบ ไม่กีดขวางงานอื่น 1 1 2

3.3 อันตรายจากการจราจร รถเฉี่ ยวชน ในจุดที่อยูบ่ นถนน 3.3.1 จัดบุคคลคอยให้สญ ั ญาณจราจรระหว่างการทำเครื่ องหมายถ่ายระยะ 1 1 2
3.3.2 กั้นพื้นที่ไม่ให้คนที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในพื้นที่

4 งานเจาะและงานต่อปลอกเหล็ก 4.1 การทรุ ดตัว การลาดเอียงของ Tripod 4.1.1 ปรับระดับบริ เวณพื้นที่ๆ ทำงาน ในกรณี พ้ืนที่ลาดเอียง ต้องแน่ใจว่า 2 2 2
พื้นที่น้ำหนักสามารถกดทับได้ โดยดูจากสภาพของดิน
4.1.2 หากดินอ่อนเหลวต้องมีแผ่นเหล็กปูก่อนนำ Tripod เข้าพื้นที่

4.2 อันตรายจากการเจาะไปโดนอุปกรณ์ใต้ดิน 4.2.1 ตรวจสอบจุดเจาะที่จะทำการเจาะเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีสายไฟหรื อท่อ 2 3 2


อื่นๆ ใต้ดิน โดยการใช้คนขุด
4.2.2 ต้องมีการขอใบอนุญาตงานขุดดินก่อนเริ่ มงานขุดดิน

2 of 5
เลขที่ ขั้นตอนในการทำงานโดยสังเขป อุบตั ิเหตุหรื ออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการควบคุมความเสี่ ยง Assessment Score

No. Steps of work Accidents or hazards that may arise Risk control measures

Severityควา
Likelihood

Related

กฎหมาย
มรุ รแรง
โอกาส

legal
4.3 การตกหล่นของปลอกเหล็ก (กรณี ใช้เฮี๊ยบหรื อเครนช่วยยก) 4.3.1 ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งกีดขวางขณะทำการยกปลอกเหล็ก 1 2 2
4.3.2 เครื่ องมือและอุปกรณ์ตอ้ งถูกตรึ งไว้ดว้ ยเชือกบังคับทิศทางเพื่อ
ป้ องกันการตกกระแทกกับอุปกรณ์อื่น

4.4 อันตรายจากการตกหลุมที่เจาะไว้ 4.4.1 ปลอกเหล็กด้านบนต้องสูงจากพื้นอย่างน้อย 50 เซนติเมตร และต้องมี 1 1 2


แผ่นไม้อดั หรื อตะแกรงเหล็กปิ ดปากหลุม (กรณี ต่อปลอกค้างคืน)
4.5 อันตรายจากอัคคีภยั 4.5.1 จัดหาถังดับเพลิงให้มีจ ำนวนเพียงพอและอยูใ่ กล้ที่ท ำงานพร้อมใช้ 1 3 2
งานได้ทนั ที(อย่างน้อย 10A 30B)
4.5.2 เครื่ องปั้มลมต้องมีตะแกรงครอบท่อกันประกายไฟที่ท่อไอเสี ย

4.6 การปะทะกันระหว่างเครื่ องเจาะกับอุปกรณ์ของโรงงานได้รับความเสี ยหายและ 4.6.1 จัดลำดับการทำงานให้เป็ นไปตามแผนงาน 2 3 2


ปะทะกับพนักงานได้รับบาดเจ็บ 4.6.2 ปิ ดกั้นพื้นที่ท ำงานให้ชดั เจน
4.6.3 ห้ามไม่ให้บุคคลและยานพาหนะที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในพื้นที่การ
ทำงาน
4.6.4 จัดให้มีผใู้ ห้สญั ญาณกับผูใ้ ช้ Tripod ตลอดเวลา

4.7 อันตรายจากการปนเปื้ อนของน้ำมันหกล้น 4.7.1 ตรวจสอบสภาพจุดเชื่อมต่อสายน้ำมันทุกครั้งก่อนเริ่ มงาน 1 1 2


4.7.2 จัดหาภาชนะรองรับและจัดการทำความสะอาด จัดเก็บทันทีหากมีการ
รั่วไหลหรื อหกล้น

5 การผูกเหล็กเสริ มสำหรับหลุมที่เจาะ การยก 5.1 ร่ างกายบาดเจ็บจากการขีดข่วน การกระแทกกับเหล็กมือ นิ้ว ร่ างกายได้รับบาด 5.1.1 สวมใส่ ถุงมือหนังตลอดเวลาที่ท ำงานเหล็กรวมถึงอุปกรณ์ PPE ชนิด 1 1 2
เหล็กและท่อส่ งคอนกรี ตลงหลุมโดย Tripod เจ็บ อื่นที่จ ำเป็ น
หรื อรถเครน 5.1.2 อุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้ตอ้ งทำการจัดเก็บไม่ให้กีดขวางการทำงาน หรื อ
งานอื่น
5.1.3 ปิ ดกั้นพื้นที่ไม่ให้ผทู้ ี่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในพื้นที่การทำงาน

5.2 การยกเหล็กเสริ มและท่อส่ งคอนกรี ตลงหลุม อาจตกหล่นกระแทกพนักงาน 5.2.1 ปิ ดกั้นพื้นที่ไม่ให้ผทู้ ี่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในพื้นที่การทำงาน 1 2 2


บาดเจ็บและ/หรื อโดนอุปกรณ์ของโรงกลัน่ ได้รับความเสี ยหาย ตรวจสภาพอุปกรณ์การยกก่อนทำงานยกทุกครั้ง
5.2.2 ในการยกเหล็กและท่อส่ งคอนกรี ตต้องมีเชือกบังคับทิศทางผูกอยู่
ตลอดเวลาที่ท ำงานยก
5.2.3 ต้องมีคนคอยให้สญ ั ญาณขณะทำการยกตลอดเวลา
5.2.4 ต้องไม่อยูใ่ ต้วสั ดุอุปกรณ์ที่ก ำลังยก หรื อไม่เข้าไปอยูใ่ นแนววิถี
อันตรายของงานยก

3 of 5
เลขที่ ขั้นตอนในการทำงานโดยสังเขป อุบตั ิเหตุหรื ออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการควบคุมความเสี่ ยง Assessment Score

No. Steps of work Accidents or hazards that may arise Risk control measures

Severityควา
Likelihood

Related

กฎหมาย
มรุ รแรง
โอกาส

legal
6 งานเทคอนกรี ต 6.1 อุบตั ิเหตุจากการจราจร 6.1.1 จัดหาคนให้สญ
ั ญาณและคนนำรถคอนกรี ตไปให้ถึงจุดปฏิบตั ิงาน 1 2 2

6.2 รถคอนกรี ตติดหล่มเนื่องจากดินที่หน้างานอ่อนเหลว 6.2.1 ตรวจสภาพเส้นทางเข้าออกให้สามารถเข้าถึงหลุมเจาะได้สะดวก หาก 1 1 2


ดินอ่อนเหลวต้องมีการปูแผ่นเหล็กก่อนเข้าพื้นที่ท ำงาน
6.3 เศษคอนกรี ตกระเด็นเข้าตาพนักงานระหว่างเทคอนกรี ต 6.3.1 สวมใส่ แว่นตานิรภัยและอุปกรณ์ PPE ตลอดเวลาในการทำงาน 1 1 2
6.4 ระหว่างทำการไล่คอนกรี ตและถอดท่อส่ งคอนกรี ต ท่อส่ งคอนกรี ตอาจ 6.4.1 สวมใส่ อุปกรณ์ PPE ให้ครบถ้วนตลอดเวลาทำงาน 1 2 2
กระแทกและหลุดทับพนักงาน 6.4.2 ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องไม่อยูใ่ นแนววิถีอนั ตรายระหว่างการไล่คอนกรี ตและ
การถอดท่อส่ งคอนกรี ต

6.5 เศษคอนกรี ตตกลงพื้น และพื้นถนนระหว่างออกนอกพื้นที่ท ำงาน 6.5.1 ทำความสะอาดพื้นที่หลังจากทำการเทคอนกรี ตแล้วเสร็ จ 1 1 2


6.5.2 ล้างทำความสะอาดรถคอนกรี ตภายในพื้นที่ๆ จัดเตรี ยมไว้ ก่อนออก
นอกพื้นที่

7 การถอดปลอกเหล็กออก 7.1 ปลอกเหล็กหล่นทับ ล้มทับผูป้ ฏิบตั ิงาน 7.1.1 ต้องมีคนคอยให้สญ ั ญาณระหว่างทำการถอดปลอกเหล็กตลอดเวลา 1 2 2


7.1.2 ไม่อนุญาตให้คนที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาในพื้นที่ๆ เครื่ องจักร
ทำงาน
7.1.3 ไม่ยนื ใต้อุปกรณ์ที่ก ำลังทำการยกและใช้เชือกบังคับทิศทางผูกติด
ตลอดเวลา

7.2 ตกหลุมเจาะที่คอนกรี ตยังไม่แข็งตัว 7.2.1 ต้องจัดให้มีคอกปิ ดหลุมพร้อมป้ ายเตือนคอนกรี ตยังไม่แข้งตัว 1 2 2

8 การย้าย Tripod เข้าเจาะต้นต่อไป 8.1 เกิดการชนกันระหว่าง Tripod กับอุปกรณ์ของโรงกลัน่ เสี ยหาย 8.1.1 จัดทำแผนการเจาะให้เป็ นไปตามขั้นตอนที่วางไว้ 1 3 2
8.1.2 เคลื่อนย้ายเข้าเจาะต้นต่อไปโดยให้มีระยะห่างไม่นอ้ ยกว่าหกเท่าของ
ขนาดเสาเข็ม
8.1.3 จัดคนคอยให้สญ ั ญาณขณะทำการเคลื่อนย้าย Tripod เข้าเจาะต้นต่อ
ไป

9 การขนย้ายดินจากงานเข็มเจาะออกจากพื้นที่ 9.1 ดินที่ขนออกจากพื้นที่ท ำงานอาจตกหล่นตามท้องถนน 9.1.1 รถบรรทุกต้องมีการล้างล้อทำความสะอาดทุกครั้งก่อนขนย้ายออก 1 1 2


นอกพื้นที่
9.1.2 หากมีดินร่ วงหล่นตามท้องถนนต้องมีพนักงานคอยเก็บ กวาดทำความ
สะอาดตลอดเวลา

4 of 5
เลขที่ ขั้นตอนในการทำงานโดยสังเขป อุบตั ิเหตุหรื ออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการควบคุมความเสี่ ยง Assessment Score

No. Steps of work Accidents or hazards that may arise Risk control measures

Severityควา
Likelihood

Related

กฎหมาย
มรุ รแรง
โอกาส

legal
10 การทำงานในช่วงเวลากลางคืน 10.1 สะดุดหกล้มเนื่องจากแสงสว่างไม่เพียงพอ 10.1.1 จัดเตรี ยมอุปกรณ์ให้แสงสว่างเพื่อใช้ในเวลากลางคืน 1 1 2
10.1.2สวมใส่ แว่นตานิรภัยแบบใสในเวลากลางคืน เพื่อทัศนวิสยั ที่ดีในการ
มองเห็น

10.2 ไฟฟ้ าช๊อตจากเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ า (แบบ เคลื่อนที่) ที่ใช้สำหรับให้แสงสว่างใน 10.2.1 อุปกรณ์จะต้องผ่านการตรวจสภาพก่อนนำเข้ามาใช้งาน 1 2 2


เวลากลางคืน 10.2.2 ในขณะใช้งานต้องทำการติดตั้งสายดิน พร้อมมีถงั ดับเพลิงสภาพ
พร้อมใช้งานอยูต่ ลอดเวลาและมีเจ้าหน้าที่ระวังไฟคอยควบคุมอยูต่ ลอด
เวลา

Remarks: กรณี เกิดเหตุฉุกเฉินให้อพยพไปยังจุดรวมพลที่ใกล้ที่สุดในทิศทางเหนือลม

5 of 5

You might also like