You are on page 1of 138

หมวดวิชาที่ 3

การวิเคราะห์ งานเพือ่ ชี้บ่งอันตราย


สมาคมส่ งเสริ มความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย)
หมวดวิชาที่ 3 การวิเคราะห์ งานเพือ่ ชี้บ่งอันตราย
ประกอบด้ วยหัวข้ อวิชา
3.1 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงาน
3.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันโรคจากการทำงาน
3.3 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิภยั ร้ายแรง
แนวคิด
1. การชี้บ่งอันตราย หมายถึง กระบวนการแจกแจงข้อมูลเกี่ยวกับอันตรายจากการทำงานที่เคยเกิดขึ้นมา
แล้วในอดีตที่ผา่ นมา หรื อยังไม่เคยเกิดอันตราย แต่มีแนวโน้มว่าอาจจะเกิดได้ โดยในกระบวนการดังกล่าว
นี้ประกอบด้วยการค้นหาว่าอันตรายเกิดที่ไหน เกิดกับใครหรื อเกิดอะไร ลักษณะการเกิดเป็ นอย่างไร และ
สาเหตุที่อาจจะเกิดเพราะอะไร แล้วนำมาพิจารณาวิธีการในการป้ องกันและควบคุมมิให้เกิดอันตรายขึ้น
2. การประเมินความเสี่ ยง เป็ นกระบวนการนำอันตรายที่ช้ ีบ่งได้มาหาระดับของอันตรายนั้นโดยใช้ความ
สัมพันธ์ของความรุ นแรงกับโอกาสที่จะเกิด แล้วนำความเสี่ ยงต่ออันตรายตามระดับมากำหนดและจัดทำ
มาตรการป้ องกัน
3. อันตรายจากการทำงานมีลกั ษณะแตกต่างกันเป็ น 3 ลักษณะคือ อุบตั ิเหตุจากการทำงาน โรคจากการ
ทำงานและอุบตั ิภยั ร้ายแรง จึงมีวธิ ีคิดในการชี้ บ่งอันตรายและการป้ องกันที่แตกต่างกัน
วัตถุประสงค์
เมื่อเข้ารับการอบรมในหมวดวิชานี้ แล้ว ผูเ้ ข้ารับการอบรมต้อง
1. มีความรู้ ความเข้าใจในความหมายและหลักการของการชี้ บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ ยง
2. สามารถใช้แบบตารางชี้ บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ ยงต่ออุบตั ิเหตุจากการทำงานได้
3. สามารถใช้แบบตารางชี้ บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ ยงต่อโรคจากการทำงานได้
4.สามารถใช้แบบตารางชี้ บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ ยงต่ออุบตั ิภยั ร้ายแรงได้

กิจกรรมระหว่ างการอบรมและสื่ อการสอน


1. ศึกษาเอกสารประกอบการอบรม
2. ทำแบบประเมินตนเองก่อนอบรม
3. ศึกษากรณี ศึกษา
4. ทำแบบประเมินตนเองหลังอบรม

การประเมินผล
ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองก่อนอบรมและหลังอบรม
หัวข้ อวิชา 3.1 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงาน
ประกอบด้ วยเรื่อง
3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้ บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ ยง
3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงานแบบจับคู่ช้ ีบ่งอันตราย
แนวคิด
1. การประสบอันตรายจากการทำงานที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการเกิดจากความบกพร่ องของระบบการจัดการ
ด้านความปลอดภัยของสถานประกอบกิจการนั้นๆ กล่าวคือนายจ้างหรื อผูบ้ ริ หารระดับสูงมิได้ตระหนักถึงความ
สำคัญในงานความปลอดภัยอย่างถ่องแท้ จึงมักดำเนินงานด้านความปลอดภัยในเชิงรับมากกว่าเชิงรุ ก
2. การจัดการด้านความปลอดภัยเชิงรุ กที่สำคัญอย่างยิง่ ที่ถูกกำหนดให้สถานประกอบกิจการต้องดำเนินการในระบบ
การจัดการด้านความปลอดภัยก็คือการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ ยงของอันตรายที่จะเกิดขึ้น
3. การปฏิบตั ิงานในสถานประกอบกิจการแต่ละงานผูป้ ฏิบตั ิงานจะต้องสัมผัสกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องมือ
เครื่ องจักร และ สภาพแวดล้อมในการทำงาน ที่อาจก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุ การเจ็บป่ วยหรื อโรคจากการทำงาน ดังนั้นผู ้
ปฏิบตั ิงานจะต้องสามารถชี้ บ่งอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบตั ิงานได้โดยใช้วธิ ีการที่เหมาะสมกับการชี้บ่ง
อันตรายแต่ละเรื่ อง
4. การชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงานมีเทคนิคและวิธีการหลายวิธี ผูท้ ี่จะดำเนินการต้องพิจารณา
เลือกวิธีการที่เหมาะสมกับอันตรายและสภาพงานในสถานประกอบกิจการของตนเอง
วัตถุประสงค์
เมื่อเข้ารับการฝึ กอบรมในหัวข้อวิชานี้ แล้ว ผูเ้ ข้ารับการอบรมต้องสามารถ
1. อธิบายความหมายของการชี้บ่งอันตรายได้
2. อธิบายสิ่ งที่จะต้องคำนึงถึงในการชี้บ่งอันตราย
3. อธิบายเทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงานได้
อย่างน้อย 1 วิธี
เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง
คำจำกัดความทีเ่ กีย่ วข้ อง
อันตราย(Hazard) หมายถึงสิ่ งหรื อเหตุการณ์ที่ถา้ เกิดขึ้นอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บ
การเจ็บป่ วย โรคจากการทำงาน ความเสี ยหายต่อทรัพย์สิน สภาพแวดล้อมหรื อสิ่ งต่างๆเหล่านี้
รวมกัน
การชี้บ่งอันตราย(Hazard Identification)หมายถึงการแจกแจงอันตรายที่
มีและที่แอบแฝงอยูใ่ นทุกงาน ทุกจุดทำงาน ทุกกิจกรรม ทุกขั้นตอนงาน ตลอดจนวัสดุ
อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักรและสิ่ งแวดล้อมการทำงานเป็ นต้น
ความเสี่ ยง (Risk ) หมายถึงความน่าจะเป็ น(Probability) ของการเจ็บป่ วย
บาดเจ็บหรื อสูญเสี ยอันเนื่องจากอุบตั ิเหตุจากการทำงานในสถานประกอบกิจการ
การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) หมายถึงกระบวนการ
วิเคราะห์ถึงปัจจัยต่างๆที่อาจเป็ นเหตุทำให้อนั ตรายที่มีและที่แอบแฝงอยูก่ ่อให้เกิดอุบตั ิเหตุ การ
เจ็บป่ วย โรคจากการทำงาน หรื ออุบตั ิภยั ร้ายแรงโดยพิจารณาถึงโอกาสที่จะเกิดและความรุ นแรง
ของอันตรายเหล่านั้น
เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
วิธีการชี้บ่งอันตราย
ผูใ้ ช้ตอ้ งเลือกวิธีการชี้ บ่งอันตรายให้ถูกต้องและเหมาะสมกับลักษณะอันตรายในกิจกรรมที่จะดำเนินการ หรื อลักษณะความ
เสี่ ยงจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการด้วย เทคนิคการชี้บ่งอันตรายที่รู้จกั กันทัว่ ไป มีดงั นี้
– การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JOB SAFETY ANALYSIS)
– การชี้บ่งอันตรายตาม มอก. 18001
– CHECK LIST
– WHAT IF
– HAZARD AND OPERABILITY STUDY (HAZOP)
– FAILURE MODES AND EFFECTS ANALYSIS (FMEA)
– FAULT TREE ANALYSIS(FTA)
– EVENT TREE ANALYSIS(ETA)
นอกจากวิธีการชี้บ่งอันตรายดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีวิธีการอื่นๆ อีกหลายวิธีซ่ ึงหากสถานประกอบกิจการสามารถเลือกวิธี
การชี้บ่งอันตราย ที่เหมาะสมกับลักษณะการประกอบกิจการ จะทำให้มองเห็นอันตรายได้ชดั เจนยิง่ ขึ้น ในบรรดาวิธีการชี้
บ่งอันตรายดังกล่าวล้วนแต่มีเทคนิคการชี้บ่งเฉพาะตัวและต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน โดยเฉพาะการชี้ บ่ง
อันตรายเกี่ยวกับ อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักร ถัง ท่อ ความดันหรื อระบบ ผูท้ ี่จะทำการชี้บ่งอันตรายจำเป็ นต้องได้รับการ
อบรมเป็ นการเฉพาะและต้องมีผเู ้ ชี่ยวชาญในเรื่ องที่จะชี้บ่งร่ วมด้วย ส่ วนมากถ้าจะทำอาจต้องจ้างที่ปรึ กษาดำเนินการให้ ดัง
นั้นในคู่มือเล่มนี้จะกล่าวถึงพอสังเขปเท่านั้น
เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
1. การชี้บ่งอันตรายโดยการวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย(Job Safety Analysis)
หรือวิเคราะห์ งานเพือ่ ค้ นหาอันตราย ใช้ตารางชี้บ่งอันตรายและมาตรการป้ องกัน ซึ่งมี 2 รู ป
แบบ ได้แก่
1.1 แบบตาราง 3 ช่ อง โดยผูทำ ้ การวิเคราะห์ตอ้ งแจกแจงขั้นตอนการทำงาน วิเคราะห์
อันตรายในแต่ละขั้นตอน แล้วพิจารณามาตรการป้ องกันอันตรายในแต่ละขั้นตอน
ตารางที่ 1 ตารางชี้บ่งอันตรายและมาตรการป้ องกัน แบบ 3 ช่ อง

ขั้นตอนการ อันตรายพร้อม มาตรการ


ทำงาน สาเหตุ ป้ องกัน

ข้ อสั งเกต ช่องกลาง คือ อันตรายพร้อมสาเหตุ หมายถึง ต้องบ่งชี้ แหล่งอันตราย ใคร/อะไร ได้รับอันตราย ลักษณะอันตราย
และสาเหตุที่อาจเกิดขึ้น แล้วกรอกรวมอยูใ่ นช่องเดียวกัน
เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
1.2 แบบตาราง 6 ช่ อง หรื ออาจมีชื่อเรี ยกต่างไปจากนี้ บางตารางก็ลดหรื อเพิ่มช่อง บางตา
รางก็สลับช่องบ้าง แต่หลักการเหมือนกันคือเป็ นตารางที่ใช้ช้ ีบ่งอันตรายรวมทุกเรื่ อง โดยงาน
เดียวกัน ขั้นตอนเดียวกัน กรอกอยูด่ ว้ ยกัน ดังตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 2 ตารางชี้บ่งอันตรายและมาตรการป้ องกัน แบบ 6 ช่ อง
ขั้นตอนการ แหล่งอันตราย ใคร/อะไร ได้รับ ลักษณะ สาเหตุที่อาจเกิด มาตรการ
ทำงาน อันตราย อันตราย ขึ้ น ป้ องกัน
เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
2. วิธีการชี้บ่งอันตรายโดยวิธี มอก.18001 ใช้การจำแนกประเภทกิจกรรมของ
งาน ระบุแหล่งกำเนิดของอันตราย ระบุวา่ ใครหรื ออะไรจะได้รับอันตราย และ
อันตรายจะเกิดขึ้นอย่างไร กรอกข้อมูลลงในตารางชี้บ่งอันตรายซึ่งรู ปแบบของ
ตารางเป็ นการใช้ตารางชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ ยงอยูด่ ว้ ยกัน แต่ไม่มี
ช่องมาตรการป้ องกัน โดยแยกการป้ องกันออกไปอยูอ่ ีกตารางต่างหาก เรี ยกว่า
ตารางจัดการความเสี่ ยง(ดูรายละเอียดในตัวอย่างการประเมินความเสี่ ยง)
เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
3. การชี้บ่งอันตรายโดยวิธี Checklist
เป็ นวิธีที่ใช้ในการชี้บ่งอันตรายโดยการนำแบบตรวจไปใช้ในการตรวจสอบการดำเนินงานในสถานประกอบกิจการเพื่อ
ค้นหาอันตราย แบบตรวจประกอบด้วยหัวข้อ คำถามที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานต่างๆ เพื่อตรวจสอบว่าได้ปฏิบตั ิตาม
มาตรฐานการออกแบบ มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน หรื อกฎหมายหรื อไม่ เพื่อนำผลจากการตรวจสอบมาทำการชี้บ่งอันตราย
ตารางที่ 3 แบบฟอร์ มการชี้บ่งอันตรายโดยวิธี Checklist
พื้นที่ / เครื่ องจักร / กระบวนการผลิต /ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน / กิจกรรม _______________________

ผลจากการทำ อันตรายหรือผลที่เกิดขึ้น มาตรการควบคุม ข้อเสนอแนะ


Checklist ตามมา ป้ องกัน
เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
4. การชี้บ่งอันตรายโดยวิธี What if
เป็ นกระบวนการในการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนอันตรายในการดำเนินการต่างๆ ในสถานประกอบกิจการ
โดยการใช้คำถาม “ จะเกิดอะไรขึ้น ....... ถ้า .........” ( What if ) และหาคำตอบในคำถามเหล่านั้น
ตารางที่ 4 แบบฟอร์ มการชี้บ่งอันตรายวิธี What if
พื้นที่ / เครื่ องจักร / กระบวนการผลิต /ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน / กิจกรรม _____________________

What if (คำถาม) อันตรายหรือผลที่เกิด มาตรการควบคุม ข้อเสนอแนะ


ขึ้นตามมา ป้ องกัน

What if (คำถาม) อันตรายหรือผลที่เกิดขึน้ ตามมามาตรการควบคุมป้ องกันข้ อเสนอแนะ


เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
5. การชี้บ่งอันตรายวิธี HAZOP
เป็ นเทคนิคการศึกษา วิเคราะห์และทบทวนเพื่อชี้บ่งอันตรายและค้นหาปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการดำเนินงานในสถานประกอบกิจการ โดยการวิเคราะห์หา
อันตรายและปัญหาของระบบต่างๆ ซึ่งอาจจะเกิดจากความไม่สมบูรณ์ในการออกแบบที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ต้ งั ใจ ด้วยการตั้งคำถามที่สมมติสถานการณ์ของการผลิต
ในภาวะต่างๆ โดยการใช้ HAZOP Guide Words มาประกอบกับปัจจัยการผลิตที่ได้ออกแบบไว้หรื อความบกพร่ องและความผิดปกติในการทำงาน
เช่น อัตราการไหล อุณหภูมิ ความดัน เป็ นต้น เพื่อนำมาชี้บ่งอันตรายหรื อค้นหาปัญหาในกระบวนการผลิตซึ่งอาจทำให้เกิดอุบตั ิเหตุหรื ออุบตั ิภยั ร้ายแรงขึ้นได้
ตารางที่ 5 แบบฟอร์ มการชี้บ่งอันตรายวิธี HAZOP
หน่วย_____________________________________ รายละเอียด ____________________________
ปัจจัยการผลิต _______________________________ ค่าควบคุม _____________________________

ข้อบกพร่อง สถานการณ์ อันตรายหรือผลที่เกิดขึ้น มาตรการควบคุม / ข้อเสนอแนะ


จำลอง ตามมา ป้ องกัน
เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
6. การชี้บ่งอันตรายวิธี FMEA
เป็ นเทคนิคการชี้บ่งอันตรายที่ใช้การวิเคราะห์ในรู ปแบบความล้มเหลวและผลที่เกิดขึ้นซึ่งเป็ นการตรวจสอบ ชิ้นส่ วน
เครื่ องจักรอุปกรณ์ในแต่ละส่ วนของระบบ แล้วนำมาวิเคราะห์หาผลที่เกิดขึ้น เมื่อเกิดความล้มเหลวของเครื่ องจักร
อุปกรณ์
ตารางที่ 6 แบบฟอร์ มการชี้บ่งอันตรายวิธี FMEA
พื้นที่ / เครื่ องจักร / กระบวนการผลิต / ขั้นตอน / กิจกรรม_______________________

เครื่องจักร/อุปกรณ์ ความล้ม สาเหตุของความ อันตรายหรือผลที่เกิด มาตรการควบคุม/ ข้อเสนอแนะ


ระบบ เหลว ล้มเหลว ขึ้ นตามมา ป้ องกัน

เครื่องจักร/อุปกรณ์ ระบบความล้ มเหลวสาเหตุของความล้ มเหลวอันตรายหรือผลที่เกิดขึน้ ตามมามาตรการควบคุม/ป้ องกันข้ อเสนอแนะ


เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
7. การชี้บ่งอันตรายวิธี FTA
เป็ นเทคนิคการชี้บ่งอันตรายที่เน้นถึงอุบตั ิเหตุหรื ออุบตั ิภยั ร้ายแรงที่เกิดขึ้นหรื อคาดว่าจะเกิดขึ้น เพื่อนำไปวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดเหตุ ซึ่ง
เป็ นเทคนิคในการคิดย้อนกลับที่อาศัยหลักการทางตรรกวิทยา ในการใช้หลักเหตุและผล เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุหรื ออุบตั ิภยั
ร้ายแรง โดยเริ่ มวิเคราะห์จากอุบตั ิเหตุหรื ออุบตั ิภยั ร้ายแรงที่เกิดขึ้นหรื อคาดว่าจะเกิดขึ้น เพื่อพิจารณาหาเหตุการณ์แรกที่เกิดขึ้นก่อนแล้วนำมา
แจกแจงขั้นตอนการเกิดเหตุการณ์แรก ว่ามาจากเหตุการณ์ยอ่ ยอะไรได้บา้ ง และเหตุการณ์ยอ่ ยเหล่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร การสิ้ นสุ ดการวิเคราะห์
เมื่อพบว่าสาเหตุของการเกิดเหตุการณ์ยอ่ ยเป็ นผลเนื่องจากความบกพร่ องของเครื่ องจักร อุปกรณ์ หรื อความผิดพลาดจากการปฏิบตั ิงาน
ตารางที่ 7 แบบฟอร์ มการชี้บ่งอันตรายวิธี FTA
พื้นที่ / เครื่ องจักร / กระบวนการผลิต / ขั้นตอน / กิจกรรม__________________________
สถานการณ์จำลองของเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุร้ายแรง_____________________

สาเหตุที่ทำให้เกิด อันตรายหรือผลที่เกิด มาตรการป้ องกันและ ข้อเสนอแนะ


เหตุการณ์ที่อาจ ขึ้นตามมา ควบคุม
ก่อให้เกิดอุบัติภัยร้าย อันตราย
แรง
เรื่องที่ 3.1.1 ความหมายและหลักการของการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ ยง (ต่ อ)
8. การชี้บ่งอันตรายวิธี ETA
เป็ นเทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อวิเคราะห์และประเมินหาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อเนื่องเมื่อเกิดเหตุการณ์แรกขึ้น (Initiating Event)
ซึ่งเป็ นการคิดคาดการณ์ล่วงหน้าเพื่อวิเคราะห์หาผลสื บเนื่องที่จะเกิดขึ้นเมื่อเครื่ องจักรอุปกรณ์เสี ยหายหรื อคนทำงานผิดพลาดเพื่อให้ทราบ
สาเหตุวา่ เกิดขึ้นได้อย่างไร และมีโอกาสที่จะเกิดมากน้อยเพียงใด รวมทั้งเป็ นการตรวจสอบว่าระบบความปลอดภัยที่มีอยูม่ ีปัญหาหรื อไม่
อย่างไร
ตารางที่ 8 แบบฟอร์ มการชี้บ่งอันตรายวิธี ETA
พื้นที่ / เครื่ องจักร / กระบวนการผลิต / ขั้นตอน / กิจกรรม__________________________
สถานการณ์จำลอง_________________________________________________________

ระบบความปลอดภัย / ขั้น อันตรายหรือผลที่เกิด มาตรการป้ องกันและ ข้อเสนอแนะ


ตอนการปฏิบัติ ขึ้นตามมา ควบคุมอันตราย
มีข้อบกพร่อง
สรุปเทคนิคการชี้บ่งอันตรายทีเ่ หมาะสมกับอุปกรณ์ ในโรงงาน
ระบบ / เครื่องจักร วิธีการชี้บ่งอันตราย
อุปกรณ์ / ขั้น HAZOP FMEA What if Checklist
ตอน

อุปกรณ์ในการผลิต เหมาะสม ไม่แนะนำ เหมาะสม ใช้ได้หากมีการ


 Valve มากที่สุด ดำเนินการมา
 ท่อ , ระบบท่อ แล้ว
 Vessels ในอดีต
 Tank
 Pump
 Exchanger
 Etc.
ท่อส่ง เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม
ท่เครื
อที่ อ่แงมื
ยกออกจาก
อระบบควบคุม มากที
ไม่ ่สุด
แนะนำ เหมาะสม เหมาะสม ไม่แแนะนำ
ไม่ นะนำ
อุปกรณ์
ระบบสื ่ อสารต่างๆ มากที่สุด
โทรศัพท์
ระบบไฟฟ้ า
ไมโครเวฟ
สรุปเทคนิคการชี้บ่งอันตรายทีเ่ หมาะสมกับอุปกรณ์ ในโรงงาน(ต่ อ)

ระบบ / เครื่องจักร วิธีการชี้บ่งอันตราย


อุปกรณ์ / ขั้นตอน HAZOP FMEA What if Checklist
ระบบความปลอดภัย ไม่แนะนำ เหมาะสม เหมาะสม ไม่แนะนำ
 ระบบแจ้งเหตุเพลิง มากที่สุด
ไหม้
 ระบบจ่ายน้ำดับ
เพลิง
 ระบบหยุด
เครื่องจักรอัตโนมัติ
ระบบสาธารณูปโภค เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม ไม่แนะนำ
ระบบน้ำหล่อลื่น มากที่สุด
ระบบจ่ายน้ำ00
สรุปเทคนิคการชี้บ่งอันตรายทีเ่ หมาะสมกับอุปกรณ์ ในโรงงาน(ต่ อ)

ระบบ / เครื่องจักร วิธีการชี้บ่งอันตราย


อุปกรณ์ / ขั้น
ตอน HAZOP FMEA What if Checklist

โครงสร้างและสิ่ง ไม่แนะนำ เหมาะสม เหมาะสม เหมาะสม


ปลูกสร้าง มากที่สุด
 อาคาร
 คลังพัสดุ
 สะพาน
 ถนน
การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment)
จากการชี้บ่งอันตรายและวิเคราะห์ปัจจัยหรื อสภาพการณ์ต่าง ๆ ที่เป็ นสาเหตุทำให้มี
อันตรายที่แอบแฝงอยูซ่ ่ ึงอาจก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุและเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การเกิดเพลิง
ไหม้ การระเบิด การรั่วไหลของสารเคมีหรื อวัตถุอนั ตราย เป็ นต้น ผูว้ เิ คราะห์จะประเมินความ
เสี่ ยงโดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุ นแรงของเหตุการณ์เหล่านั้น ที่อาจส่ งผลให้เกิดอันตราย
หรื อความเสี ยหายแก่ชีวติ ทรัพย์สิน ชุมชน และสิ่ งแวดล้อม
ความเสี่ ยง (Risk) หมายถึง ความน่าจะเป็ น (Probability) ของการเจ็บป่ วย
บาดเจ็บหรื อสูญเสี ยอันเนื่องจากอุบตั ิเหตุจากการทำงานในสถานประกอบกิจการ การคำนวณค่า
ความเสี่ ยงทำได้โดยการนำเอาค่าความน่าจะเป็ นหรื อโอกาสของการเกิดเหตุการณ์น้ นั ๆ คูณกับ
ความรุ นแรงที่จะเกิดเหตุการณ์น้ นั มาพิจารณา
ความเสี่ ยง = โอกาสของการเกิดเหตุการณ์ × ความรุนแรงทีเ่ กิดจากเหตุการณ์
การประเมินความเสี่ ยงที่นิยมใช้ ได้แก่ การประเมินความเสี่ ยงตามระเบียบกรมโรงงาน
อุตสาหกรรม และการประเมินความเสี่ ยงตามวิธี มอก. 18001 ดังรายละเอียดต่อไปนี้
การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) (ต่ อ)
การประเมินความเสี่ ยงตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่าด้วยหลักเกณฑ์การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ ยงและการจัดทำแผน
งานบริ หารจัดการความเสี่ ยง ได้แบ่งระดับการพิจารณาโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ไว้ 4 ระดับ ดังตารางที่ 9
ดังนี้
ตารางที่ 9 แสดงระดับของโอกาสการเกิดเหตุการณ์ อนั ตรายตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม

ระดับ รายละเอียด
1 มีโอกาสในการเกิดยาก เช่น ไม่เคยเกิดเลยในช่วงเวลา
ตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป
2 มีโอกาสในการเกิดน้อย เช่น ความถี่ในการเกิด เกิดขึ้น
1 ครั้ง ในช่วง 5 – 10 ปี
3 มีโอกาสในการเกิดปานกลาง เช่น ความถี่ในการเกิด เกิด
ขึ้น 1 ครั้ง ในช่วง 1 – 5 ปี
4 มีโอกาสในการเกิดสูง เช่น ความถี่ในการเกิด เกิด
มากกว่า 1 ครั้งใน 1 ปี
การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) (ต่ อ)

• สำหรับการพิจารณาถึงความรุ นแรงของผลที่เกิดจากอันตรายต่อสุ ขภาพนั้น โดย


ทัว่ ไปจะกำหนดให้ความรุ นแรงสูงสุ ดที่อาจเกิดคือ อันตรายถึงตาย และกำหนด
ระดับความรุ นแรงต่ำสุ ดที่ไม่มีผทู ้ ี่ได้รับบาดเจ็บ ขณะเดียวกัน ก็จะพิจารณาระดับ
ความรุ นแรงจากผลกระทบอื่นประกอบด้วย เช่น ผลกระทบต่อทรัพย์สิน ผลกระทบ
ต่อชุมชน และผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม เป็ นต้น
• ตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่าด้วยหลักเกณฑ์การชี้บ่งอันตราย การ
ประเมินความเสี่ ยงและการจัดทำแผนงานบริ หารจัดการความเสี่ ยง ได้แบ่งความ
รุ นแรงออกเป็ น 4 ระดับ โดยพิจารณาถึงผลกระทบที่อาจเกิดต่อบุคคล ชุมชน สิ่ ง
แวดล้อม หรื อทรัพย์สินมากน้อยเพียงใด ดังแสดงในตารางที่ 10
ตารางที่ 10 แสดงระดับความรุนแรงของอันตรายตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม
กระทบต่อสิ่ง กระทบต่อ
ระดับ ความรุนแรง กระทบต่อบุคคล กระทบต่อชุมชน
แวดล้อม ทรัพย์สิน
ไม่มีผลกระทบ
มีการบาดเจ็บ
ต่อชุมชน
เล็กน้อยใน เล็กน้อยสามารถ เสียหายน้อย
รอบโรงงานหรือ
1 เล็กน้อย ระดับ ควบคุม มากหรือไม่
มี
ปฐมพยาบา หรือแก้ไขได้ เสียหายเลย
ผลกระทบเล็ก

น้อย
มีผลกระทบต่อ
มีการบาดเจ็บที่ ปานกลาง เสียหายปาน
ชุมชน
ต้อง สามารถ กลางและ
รอบโรงงานและ
2 ปานกลาง ได้รับการรักษา แก้ไข สามารถดำเนิน
แก้ไข
ทาง ได้ในระยะเวลา การผลิต
ได้ในระยะเวลา
การแพทย์ สั้น ต่อไปได้
สั้น
มีผลกระทบต่อ
มีการบาดเจ็บ เสียหายมากและ
ชุมชน รุนแรง ต้องใช้
หรือ ต้อง
3 สูง รอบโรงงานและ เวลาใน
เจ็บป่ วยที่ หยุดการผลิตใน
ต้องใช้ การแก้ไข
รุนแรง บางส่วน
การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) (ต่ อ)

• เมื่อวิเคราะห์โอกาสของการเกิดอันตรายและระดับความรุ นแรงของอันตรายของ
เหตุการณ์ใดๆ แล้วนำมาจัดทำเป็ นตาราง Matrix เพื่อการประเมินความเสี่ ยง
ตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่าด้วยหลักเกณฑ์การชี้บ่งอันตราย การ
ประเมินความเสี่ ยงและการจัดทำแผนงานบริ หารจัดการความเสี่ ยง ซึ่งแบ่งระดับ
ความเสี่ ยงออกเป็ น 4 ระดับ เช่นกัน คือ ความเสี่ ยงเล็กน้อย ความเสี่ ยงที่ยอมรับได้
ความเสี่ ยงสูง และความเสี่ ยงที่ยอมรับไม่ได้ ดังตารางที่ 11
ตารางที่ 11 แสดงระดับความเสี่ ยงตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม
เกิดได้ปาน
เกิดได้ยาก เกิดได้น้อย เกิดได้สูง
กลาง
โอกาส (1) (2) (4)
(3)
ความรุนแรง
เล็กน้อย (1) เล็กน้อย (1) เล็กน้อย (2) ยอมรับได้ (3) ยอมรับได้ (4)
ปานกลาง (2) เล็กน้อย (2) ยอมรับได้ (4) ยอมรับได้ (6) สูง (8)
ยอมรับไม่ได้
สูง (3) ยอมรับได้ (3) ยอมรับได้ (6) สูง (9)
(12)
ยอมรับไม่ได้ ยอมรับไม่ได้
สูงมากบความเสี
การกำหนดระดั (4) ่ ยง ยอมรับได้ (4) สูง (8)
(12) (16)
1 – 2 จัดเป็ นระดับความเสี่ ยง เล็กน้ อย
3 – 6 จัดเป็ นระดับความเสี่ ยง ยอมรับได้
8 – 9 จัดเป็ นระดับความเสี่ ยง สู ง
12 – 16 จัดเป็ นระดับความเสี่ ยง ยอมรับไม่ ได้
จากตารางข้างต้นจะเห็นได้วา่ เมื่อวิเคราะห์เหตุการณ์ใดๆ พบว่ามีโอกาสเกิดขึ้นในระดับใด และมีระดับความรุ นแรง
อยูใ่ นระดับใด ก็จะนำมาเปรี ยบเทียบกับตารางเพื่อประเมินความเสี่ ยง ตัวอย่างเช่น ถ้าเหตุการณ์หนึ่งมีโอกาสเกิดขึ้น
ปานกลาง (3) และมีระดับความรุ นแรงสูงมาก (4) ก็พบว่าจะมีระดับความเสี่ ยงที่ยอมรับไม่ ได้ เป็ นต้น
การประเมินความเสี่ ยงตามวิธี มอก.18001
การประเมินความเสี่ ยงตามวิธี มอก. 18001 เป็ นการค้นหาอันตรายจาก
สภาพแวดล้อมในการทำงานในสถานที่ต่างๆ เทคนิคนี้ทำให้สามารถระบุลำดับ
ความเสี่ ยงของอันตรายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับ กิจกรรมของงานที่ครอบคลุมสถาน
ที่ เครื่ องจักร อุปกรณ์ บุคลากร และขั้นตอนการทำงานที่อาจก่อให้เกิดการบาด
เจ็บหรื อเจ็บป่ วย ความเสี ยหายต่อทรัพย์สิน ความเสี ยหายต่อสิ่ งแวดล้อม หรื อสิ่ ง
ต่าง ๆ เพื่อให้ทราบถึงอันตรายที่มีอยูท่ ้ งั หมดในองค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถ
พิจารณามาตรการควบคุมความเสี่ ยงที่มีอยูห่ รื อที่กำหนดเป็ นแผนงาน
การประเมินความเสี่ ยงตามวิธี มอก.18001 (ต่ อ)
ระดั ความ
รายละเอียด
บ รุนแรง
โรงงานหยุดการผลิต ความเสียหายน้อย
ทรัพย์สินเสียหายมูลค่าน้อย
1 น้อย คนได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย ผิวหนังชั้นบนได้รับ
บาดเจ็บ ระคายเคือง
อึดอัดไม่สบาย
โรงงานหยุดการผลิต ความเสียหายไม่มาก
ทรัพย์สินเสียหายมูลค่า
2 ปานกลาง ไม่มาก คนได้รับบาดเจ็บ เป็ นบาดแผลลึก
อาการป่ วยที่อาจทำให้พิการ
เล็กน้อย กระดูกหักหรือแตกเล็กน้อย
โรงงานหยุดการผลิต ความเสียหายมาก
การประเมินความเสี่ ยงตามวิธี มอก.18001 (ต่ อ)
จากตารางข้างต้นความเสี ยหายจากการหยุดการผลิต และทรัพย์สินเสี ยหาย
มากน้อยเท่าไรขึ้นอยูก่ บั ขนาดของสถานประกอบกิจการ โดยอาจจะคิดเปรี ยบเทียบ
จากเงินลงทุน มูลค่าหรื อทรัพย์สินของสถานประกอบกิจการ ซึ่งการประเมินโดย
วิธีน้ ีจะแบ่งความรุ นแรงออกเป็ น 3 ระดับเท่านั้น ส่ วนระดับของโอกาสที่จะเกิด
อันตราย วิธีการประเมินของ มอก. 18001 แบ่งระดับของโอกาสออกเป็ น 3
ระดับเช่นกันตามตารางที่ 13 ซึ่งการแบ่งระดับนี้จะเห็นว่า แบ่งระดับ แตกต่างกับ
วิธีการประเมินความเสี่ ยงตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ตารางที่ 13 แสดงระดับของโอกาสทีจ่ ะเกิดอันตรายตามวิธี มอก.
18001
ระดั
โอกาส รายละเอียด

จำนวนคนที่ต้องสัมผัสน้อย ความถี่และระยะเวลาที่สัมผัส
น้อย การสัมผัสแล้วเป็ น
1 น้อย อันตรายเฉพาะเครื่องมือ มีข้ ันตอนการปฏิบัติงานและ
เป็ นลายลักษณ์อักษร มีมาตรการ
ควบคุมการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
จำนวนคนที่ต้องสัมผัสไม่มาก ความถี่และระยะเวลาที่
สัมผัสไม่มาก การสัมผัสแล้วเป็ น
ปาน
2 อันตรายเรื้ อรัง มีข้ ันตอนการปฏิบัติงานแต่ไม่เหมาะกับ
กลาง
ความเสี่ยง (ไม่มีเป็ นลายลักษณ์
อักษร) มีมาตรการควบคุมการปฏิบัติงานแต่ไม่ต่อเนื่อง
จำนวนคนที่ต้องสัมผัสมาก ความถี่และระยะเวลาที่สัมผัส
มาก การสัมผัสแล้วเป็ นอันตราย
3 มาก
การพิจารณาโอกาสทีจ่ ะเกิดอันตราย
หัวข้อพิจารณา น้ำ เกณฑ์การประเมินโอกาสที่เกิดอันตราย
ห 3 (มาก) 2(ปานกลาง) 1(เล็กน้อย)



คะแ

1.จำนวนคนที่สัมผัสหรือจำนวนคนที่ 3 มากกว่า10 คนขึ้น 6-10 คน 1-5 คน


ปฏิบัติงานนั้น ไป
2.ความถี่และระยะเวลาที่สัมผัส 3 30 ชม.ต่อสัปดาห์ 10-30 ชม.ต่อสัปดาห์ น้อยกว่า10 ชม.ต่อสัปดาห์
3.การตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการ 3 ไม่มีการตรวจวัด มีการตรวจวัดแต่ไม่ มีการตรวจวัดและเป็ นไปตามค่า
ทำงาน เป็ นไปตาม มาตรฐาน
ค่ามาตรฐานกฎหมาย กฎหมาย
4.คู่มือความปลอดภัยที่เป็ นไปตาม 3 ไม่มีเป็ นลาย มีแต่ไม่เหมาะสมกับ มีและเหมาะสมกับลักษณะความ
มาตรฐาน ลักษณ์อักษร ลักษณะ เสี่ยง
ความเสี่ยง
5.การฝึ กอบรมตามคู่มือความ 3 ไม่มีการฝึ กอบรม มีการฝึ กอบรมแต่ไม่ มีการฝึ กอบรมและเหมาะสมกับ
ปลอดภัยอย่างมี เหมาะสม ลักษณะความ
ประสิทธิภาพ กับลักษณะความเสี่ยง เสี่ยง
6.การควบคุมการปฏิบัติตามคู่มือ 2 ไม่มีการควบคุม มีการควบคุมการ มีการควบคุมการปฏิบัติและมีการ
ความปลอดภัยที่ได้ การปฏิบัติ ปฏิบัติแต่ไม่มี บันทึกอย่าง
มาตรฐาน การบันทึกหรือบันทึก ต่อเนื่อง
แต่ไม่
การพิจารณาโอกาสทีจ่ ะเกิดอันตราย (ต่ อ)
พิจารณาโอกาสที่จะเกิดอันตรายในแต่ละหัวข้อ โดยแต่ละข้อใช้เกณฑ์
ประเมิน 1 หรื อ 2 หรื อ 3 คูณน้ำหนักคะแนน ทั้ง 10 ข้อ แล้วรวมคะแนนทั้ง
10 ข้อ (ข้อใดไม่เกี่ยวข้องให้ตดั ทิ้ง) แล้วเทียบคะแนนที่ได้เป็ นร้อยละโดยใช้
สูตร คะแนนที่ได้100
คะแนนรวม
ตารางพิจารณาโอกาสทีจ่ ะเกิดอันตราย

คะแนนที่ได้คิดเป็ นร้อยละ โอกาสที่จะเกิดอันตราย

น้อยกว่า 50 น้อย

50-70 ปานกลาง

มากกว่า 70 มาก
ตารางที่ 14 ระดับความเสี่ ยงตามวิธี มอก. 18001

ความรุนแรง
ของ

มาก ปานกลาง น้อย


โอกาส (3) (2) (1)

อันตราย
ที่จะเกิด
อันตราย
ไม่อาจยอมรับ
มาก สูง ปานกลาง
ได้
(3) (6) (3)
(9)
การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment)
ตามมาตรฐานของ มอก.18001 ให้นำตารางที่ 12 และ 13 มาจัดเข้าเป็ น
ตาราง Matrix ตามตารางที่ 14 โดยแบ่งระดับความเสี่ ยง ออกเป็ น 5
ระดับ ดังนี้
1 จัดเป็ นระดับความเสี่ ยง เล็กน้ อย
2 จัดเป็ นระดับความเสี่ ยง ยอมรับได้
3 - 4 จัดเป็ นระดับความเสี่ ยง ปานกลาง
6 จัดเป็ นระดับความเสี่ ยง สู ง
9 จัดเป็ นระดับความเสี่ ยง ไม่ อาจยอมรับได้
ตารางที่ 15 เป็ นตารางการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ ยงกรอกอยูใ่ น
ตารางเดียวกันดังรายละเอียดต่อไปนี้
ตารางที่ 15 ตารางการชี้บ่งอันตราย และประเมินความเสี่ ยงตาม มอก.18001
การจัดทำแผนงานจัดการความเสี่ ยง (Risk Treatment
Plan)
การแบ่งระดับความเสี่ ยงดังกล่าวข้างต้น ใช้เป็ นพื้นฐานในการตัดสิ นใจว่า
ต้องมีการจัดการความเสี่ ยง หรื อ การกำหนดมาตรการควบคุมป้ องกันคือ การกำจัด
โอกาสที่จะเกิด หรื อลดโอกาสที่จะเกิด หรื อลดความรุ นแรง หรื อลดทั้ง 2 องค์
ประกอบ รวมถึงการพิจารณากำหนดเวลาที่ใช้ในการปฏิบตั ิการควบคุมป้ องกัน ซึ่ง
จะสัมพันธ์โดยตรงกับความเสี่ ยงดังตารางที่ 16
ตารางที่ 16 แสดงระดับความเสี่ ยงและการควบคุมป้ องกัน
ระดับความ การปฏิบัติและเวลาที่ใช้
เสี่ยง
ที่ไม่อาจ งานจะเริ่มหรือทำต่อไปไม่ได้จนกว่าจะลดความเสี่ยงลง ถ้าไม่
ยอมรับได้ สามารถลดความเสี่ยงลงได้ ถึงแม้จะใช้
ความพยายามอย่างเต็มที่แล้วก็ตาม จะต้องหยุดการทำงานนั้น
สูง ต้องลดความเสี่ยงลงก่อนจึงจะเริ่มทำงานได้ ต้องจัดสรรทรัพยากร
และมาตรการให้เพียงพอเพื่อลดความ
เสี่ยงนั้น เมื่อมีความเสี่ยงเกี่ยวข้องกับงานที่กำลังทำอยู่ จะต้องหา
ทางแก้ไขอย่างเร่งด่วน
ปานกลาง จะต้องใช้ความพยายามที่จะลดความเสี่ยง แต่ค่าใช้จ่ายของการ
ป้ องกันควรจะมีการพิจารณาอย่าง
รอบคอบและมีการจำกัดงบประมาณ จะต้องมีมาตรการลดความเสี่ยง
ภายในเวลาที่กำหนด เมื่อความ
เสี่ยงระดับปานกลางมีความสัมพันธ์กับการเกิดความเสียหายร้ายแรง
ควรทำการประเมินเพิ่มเติม เพื่อหา
ค่าของความน่าจะเป็ นของความเสียหายที่แม่นยำขึ้น เพื่อเป็ นหลัก
พจารณาแหล
ิ ่ง
ันตราย(้
อ ืนท
พ ่ /

สรุปขั้นตอนการชี้บ่งอันตราย 1
เคร่
ืองจ ักร /
กระบวนการผล ิต / การ
และประเมินความเสี่ ยง ปฏิบ
ัติงาน /ส



ิจกรรม
ก ่
บ งอ

่งแวดล

นตรายโดย
้อม /

ิธ
ว ีการต ่างๆ
เช่น
2
- JSA
CHECK LIST
WHAT IF
HAZOP
FMEA
FTA, ETA
มอก. 18004
3
โอกาสการ ประเม ินความ ความร
ุ นแรง
เก
ิดอ
ันตราย เส่ยง

ระด
ับ
ความ
เส
่ยง

เล็ก ยอมรับ ปาน ูง


ส ไม
่อาจ

นอย ได
้ กลาง ยอมร
ับได

เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย
การชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงานมีวธิ ีการ ที่เหมาะสม
สำหรับใช้ช้ ีบ่งอันตรายเกี่ยวกับกิจกรรมการทำงาน และไม่จำเป็ นต้องใช้ความรู้
ความเชี่ยวชาญเฉพาะ เพียงใช้ความรู้พ้ืนฐานด้านความปลอดภัยก็สามารถดำเนิน
การชี้บ่งอันตรายได้ และใช้ได้ดีสำหรับลักษณะอันตรายเบื้องต้นที่เกิดจากการ
เคลื่อนไหวอวัยวะทำงานอยูก่ บั วัสดุ อุปกรณ์ ต่างๆ ซึ่งวิธีการนี้ตอ้ งการผูท้ ี่
ทำงานประจำอยูห่ น้างาน ช่วยกันชี้บ่งอันตรายโดยทำอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
พร้อมๆ กับการทำงาน วิธีการที่กล่าวมานั้น คือ Job Safety Analy
sis (JSA) และ การชี้บ่งอันตรายโดยวิธี มอก.18001 ดังนั้นคู่มือเล่มนี้
จะแสดงวิธีคิดในการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ ยงของทั้งสองวิธีผสมผสาน
กันเพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปกรอกในตารางแบบของ 2 วิธี ได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
เพราะตารางแบบของทั้ง 2 วิธีระบุเงื่อนไขทัว่ ๆ ไปเปรี ยบเหมือนตารางสรุ ป
อันตรายและความเสี่ ยง ที่ทำให้เกิดการประสบอันตรายจากการทำงาน
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
การชี้บ่งอันตรายแบบจับคู่ช้ ีบ่งอันตราย เป็ นวิธีการหนึ่งที่ได้พฒั นาขึ้นเพื่อให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานสามารถ
วิเคราะห์งานที่ปฏิบตั ิ และระบุอนั ตรายที่จะเกิดขึ้นตลอดจนกำหนดวิธีการทำงานที่ปลอดภัยได้
และง่ายต่อการนำไปใช้สำหรับสถานประกอบกิจการทุกประเภท วิธีการนี้มีหลักในการดำเนินงาน
ประกอบด้วย
1. ระบุ ชื่องาน ชื่อจุดทำงาน ชื่อจุดต้องสนใจ ชื่องานพิเศษ
2. ชี้บ่ง เพื่อทำให้ทราบว่า จะเกิดอันตรายอะไรได้บา้ ง
3. ประเมิน ความเสี่ ยงที่อาจจะเกิดอันตรายมากน้อยเท่าใด ความเสี่ ยงนั้นยอมรับได้ หรื อไม่
4. กำหนด มาตรการป้ องกันเพื่อความปลอดภัย แล้วนำมาสร้างแบบตรวจของแต่ละความเสี่ ยง
5. จูงใจ ให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องปฏิบตั ิตามมาตรการป้ องกันที่กำหนดไว้
6. ควบคุม ด้วยแบบตรวจแต่ละความเสี่ ยงที่สร้างขึ้น หากพบว่ายังมีความเสี่ ยงอันตรายเกิดขึ้น
อีก อาจต้องทำการปรับปรุ งหรื อเพิ่มมาตรการการป้ องกันที่มีอยูเ่ ดิมให้สมบูรณ์ครบถ้วน
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
ฝึ กปฏิบัตกิ ารชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้องกันอุบัตเิ หตุจากการทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย
การดำเนินการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงานแบบจับคู่ช้ ีบ่ง
อันตรายมีข้นั ตอนการดำเนินการ 5 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. จัดทำแบบบัญชีรายการจุดทำงาน
2. จัดทำแบบจับคู่ช้ ีบ่งอันตราย
3. จัดทำแบบวิเคราะห์จุดทำงานเพื่อความปลอดภัย
4. จัดทำแบบตรวจกิจกรรมเสี่ ยง
5. จัดทำแบบตรวจสอบข้อผิดพลาด
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
1. จัดทำแบบบัญชีรายการจุดทำงาน
งานแต่ละงานจะประกอบด้วย ชื่องาน ชื่อกิจกรรม ขั้นตอนงาน และจุดทำงาน ซึ่งจุดทำงานจะทำให้เรารู้ถึง
สถานที่ได้ชดั เจนขึ้น ซึ่งสามารถแจกแจงได้ดงั นี้
- งานแต่ละงาน ประกอบไปด้วย กิจกรรม
- แต่ละกิจกรรม ประกอบไปด้วย ขั้นตอนงาน
- ทุกกิจกรรม จะต้องทำที่จุดทำงาน
จุดทำงาน หมายถึง จุดหรื อตำแหน่งที่มีการทำงาน แบ่งเป็ น 3 ลักษณะ
1. จุดทำงานที่สามารถระบุตำแหน่ งได้ แน่ นอน ไม่เปลี่ยนที่ทำงานหรื อไม่ยา้ ยที่ทำงาน ชื่อจุดทำงานนี้ จะขึ้น
ต้นด้วยคำนาม เช่น โต๊ะตัดแผ่นไม้ เครื่ องรี ดแผ่นไม้ เครื่ องขัดแผ่นไม้ เป็ นต้น
2.จุดทำงานที่ไม่ สามารถระบุตำแหน่ งที่ทำงานได้ แน่ นอน มีการย้ายที่ทำงาน แต่ทำงานเหมือนเดิม ชื่อจุด
ทำงานจะขึ้นต้นด้วยคำกิริยา เช่น ถ่ายเทสารเคมี พ่นสี ล้างถัง เป็ นต้น
3. จุดทำงานที่มีลกั ษณะเคลือ่ นย้ าย และสามารถระบุจุดทำงานต้นทางและปลายทางได้ ชื่อจุดทำงาน จะเริ่ ม
ต้นด้วยคำกิริยาเคลื่อนย้าย เช่น เข็น ลาก จูง กลิ้ง เป็ นต้น
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้องกันอุบัตเิ หตุจาก
การทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
วิธีปฏิบัติในการทำบัญชีรายการจุดทำงาน
้ เนินการชี้บ่งอันตรายจะต้องจัดทำบัญชีรายการจุดทำงาน ( แสดงในแบบฟอร์มที่ 1 ) ซึ่ง
ผูดำ
บัญชีรายการจุดทำงานจะประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับ
ก. แผนก เป็ นชื่อที่กำหนดโดยสถานประกอบกิจการ
ข. ชื่อผูจ้ ดั ทำบัญชีรายการจุดทำงาน (ส่ วนมากจะเป็ นชื่อหัวหน้างาน)
ค. วัน เดือน ปี ที่ทำ
ง. ชื่องาน ที่กำหนดในแผนก โดยใน 1 แผนก อาจมีหลายๆงาน แต่ละงานจะประกอบไป
ด้วยจุดทำงาน ซึ่งอาจมีจุดทำงาน 1 จุด หรื อหลายๆจุดก็ได้
จ. ชื่อจุดทำงาน
ฉ. ชื่อคนทำงาน ในแต่ละจุดทำงาน
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
ตัวอย่ างที่ 1 แสดงการกรอกรายละเอียดเกี่ยวกับบัญชีรายการจุดทำงาน
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)

นอกจากวิธีการระบุรายชื่อจุดทำงานตาม ที่ได้อธิบายข้างต้นนี้ แล้ว ยังมีวิธีการระบุชื่อจุดทำงานได้อีก 2 วิธีดงั นี้


ก. ใช้ คำถามนำ
1. คำถามแบบที่1 ให้ถามว่าทำงานตรงจุดไหน หรื อเริ่ มทำงานนี้ตรงจุดไหน ? ถ้าสามารถระบุตำแหน่งได้
แน่นอน จะเป็ นลักษณะที่ 1 ชื่อจุดทำงานจะขึ้นต้นด้วย คำนาม ยกตัวอย่าง เช่น จุดโต๊ะตัดแผ่น จุดเครื่ องรี ด
จุดตูเ้ ตรี ยมเครื่ องชัง่ เป็ นต้น แต่ถา้ ไม่สามารถระบุตำแหน่งที่ทำงานได้แน่นอน เพราะ มีการเปลี่ยน จุดทำงาน ก็ให้
เปลี่ยนใช้คำถามแบบที่ 2
2. คำถามแบบที่ 2 ให้เริ่ มถามว่างานนี้เริ่ มทำอะไรก่อน ? ถ้าตอบได้ จะเป็ นจุดทำงานลักษณะที่ 2 หรื อ 3
ชื่อจุดทำงานจะขึ้นต้นด้วยคำกิริยา เช่น ตัดแผ่น เตรี ยมชิ้นงาน ถ่ายสารเคมี เรี ยงวงไม้ เป็ นต้น
ถ้าเป็ นจุดทำงานลักษณะที่ 3 ชื่อจุดทำงานจะขึ้นต้นด้วยคำกิริยาเคลื่อนย้าย เช่น เข็นถาดชิ้นงานจากชั้น
วางไปเครื่ องตัด ขับรถโฟล์คลิฟต์จากโกดังไปลานส่ งของ เป็ นต้น
ข. จำแนกตามกิจกรรม งานจะประกอบด้วยหลายๆ กิจกรรม แต่ละกิจกรรมจะมีจุดทำงานอยูท่ ี่เดียวกันก็ได้ ซึ่ง
กิจกรรมจะประกอบด้วยขั้นตอนการทำงาน (Work procedure) และขั้นตอนการทำงานจะประกอบ
ด้วยวิธีการปฏิบตั ิงาน (Work instruction) แสดงในแผนผังและตัวอย่างที่ 2
แผนผังแสดงงานจำแนกตามกิจกรรม
ตัวอย่ างที่ 2 แสดงการหาชื่อจุดทำงาน โดยการระบุชื่องานและกิจกรรมต่ างๆ
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
หมายเหตุ ชื่อจุดทำงานที่ข้ ึนต้นด้วยคำนาม จะเป็ นจุดทำงานลักษณะที่ 1
คือมีตำแหน่งที่แน่นอน แต่ถา้ จุดทำงานขึ้นต้นด้วยคำกิริยา จะเป็ นจุดทำงาน
ลักษณะที่ 2 คือไม่มีตำแหน่งที่แน่นอน แต่ถา้ มีหลายกิจกรรมทำที่เดียวกัน ให้
เลือกกิจกรรมใดมาตั้งชื่อก็ได้
การหาจุดทำงานในงานปกติของสถานประกอบกิจการ ให้ค่อยๆทยอยทำ
ทั้งนี้อาจต้องมีคำถามเพิ่มเติมว่า มีจุดทำงานนอกเหนือจากงานปกติหรื อไม่ เช่น
งานพิเศษ งานที่ทำโดยมีเงื่อนไข หรื อจะมีงานนี้ เข้ามานานๆ ครั้ง เป็ นต้น
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้องกัน
อุบัตเิ หตุจากการทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
2. จัดทำแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย
เมื่อรวบรวมชื่อจุดทำงานได้แล้วในแบบฟอร์มที่1 ให้นำชื่องานและชื่อจุดทำงานมากรอกใน
แบบฟอร์มที่ 2 ดังแสดงตัวอย่าง ในตารางที่ 3 ทั้งนี้ให้ใช้ 1 จุดทำงานต่อ 1 แบบฟอร์มของ
ตารางจับคู่ ชี้บ่งอันตราย ซึ่งแบบฟอร์มดังกล่าวนี้ ให้ระบุขอ้ มูลเกี่ยวกับ อวัยวะ คำอันตราย
และตัวเหตุที่ทำให้เกิดอันตราย
“ อวัยวะ” หมายถึง ส่ วนต่างๆของร่ างกายคนทำงานที่อาจได้รับอันตรายจากการทำงาน
เช่น นิ้วมือ มือ ตา ศีรษะ เท้า/นิ้วเท้า ใบหน้า แขน/ข้อศอก ขา/หน้าแข้ง หลัง หน้าอก ทั้ง
ตัว
“ คำอันตราย” คือ คำที่ทำให้นึกถึงการบาดเจ็บ เสี ยชีวติ หรื อทรัพย์สินเสี ยหาย ในการชี้
บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุแบ่งคำอันตรายของอุบตั ิเหตุได้ 15 ประเภท
“ ตัวเหตุ ” หมายถึง สิ่ งใดๆที่ไม่ใช่คน ทั้งนี้ให้ระบุชื่อเฉพาะส่ วนที่มีโอกาสสัมผัส
อวัยวะ เช่น รถ ขอบกันชนรถ ล้อหลังขวา ใบมีด ปลายมีด แผ่นกระจก ขอบกระจก ทั้งนี้ให้
มีการคิดเพิ่มเติมว่าหากตัวเหตุมีการ แตก หัก หล่น หรื อ หลุด อาจทำให้มีลกั ษณะเป็ น เศษ ชิ้น
ส่ วน เสี้ ยน เช่น เศษกระจก เสี้ยนไม้ ชิ้นส่ วนแท่นเครื่ อง เป็ นต้น
ประเภทต่ างๆของคำอันตรายกับลักษณะทีป่ รากฏของแต่ ละคำอันตราย
อุบัติเหตุ 15 ประเภท
ประเภท คำอันตราย ลักษณะที่ปรากฏ
1 กระแทก ชน ครูด ถาก เสียดสี ไม่คม
2 หนีบ บีบ อัด ทับ วัตถุแข็ง 2 ด้าน มีช่องว่างตรงกลางและมีแรง
เข้าหากัน
3 บาด ตัด เฉือน ฟั น ฉีก คม/แรงดึง
4 ทิ่ม แทง เจาะ ข่วน เกี่ยว เสียบ แหลม
5 กัดกร่อน ระคายเคือง สัมผัสสารเคมี
6 ลวก ไหม้ สัมผัสของร้อน
7 ไฟฟ้ าช๊อต ไฟฟ้ าดูด สัมผัสกระแสไฟฟ้ า
8 หล่นใส่ หล่นทับ ล้มทับ เลื่อนทับ วัตถุอยู่ด้านบน
9 กระเด็นใส่ ดีดใส่ ฟาดใส่ พุ่งชน พุ่งใส่ วัตถุมีแรงพุ่ง
เลื่อนชน
10 ตกจากที่สูง (กระแทก) คนอยู่ต่างระดับ
11 ตกจากยานพาหนะ ยานพาหนะเคลื่อนที่
12 ลื่นล้ม สะดุดล้ม ไถลล้ม เสียหลักล้ม พื้ นลื่น ขรุขระ ต่างระดับ ลาด เอียง
(กระแทก) สิ่งของกีดขวาง
13 หมดสติเฉียบพลัน ที่อับอากาศ ได้รับสารพิษ
แบบฟอร์ มที่ 2 แสดงแบบจับคู่ช้ ีบ่งอันตราย โดยการจับคู่อวัยวะกับตัว
เหตุ และหาคำอันตรายมาเชื่อมระหว่างอวัยวะกับตัวเหตุ
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
• เพื่อให้เข้าใจวิธีการกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มที่ 2 จะให้ตวั อย่างใน
กรณี ศึกษาดังแสดงในตัวอย่างที่ 3 และตัวอย่างที่ 4
ตัวอย่ างที่ 3 แสดงการกรอกข้อมูล งานทำแกนม้ วน ในจุดทำงานยิงตะปูประกอบ
แกนม้วน ลงในแบบฟอร์มที่ 2
ตัวอย่ างที่ 4 แสดงการกรอกข้อมูล งานประกอบในจุดทำงานตัดแต่งชิ้น
งาน ลงในแบบฟอร์มที่ 2
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)

3. จัดทำแบบวิเคราะห์ จุดทำงานเพือ่ ความปลอดภัย


แบบวิเคราะห์จุดทำงานเพื่อความปลอดภัย (Work safety analysis) ประกอบด้วย
1. การชี้บ่งอันตราย โดยการจับคู่อนั ตราย อวัยวะและตัวเหตุ ซึ่งจะมีคำอันตรายเชื่อมโยงอยู่ ดังที่ได้อธิบายแล้ว
2. การประเมินความเสี่ ยง โดยคำนึงถึง
2.1 ความรุ นแรงที่จะเกิดขึ้นเมื่อถอดอุปกรณ์ป้องกันอวัยวะออก หรื อไม่มีการจัดอุปกรณ์ป้องกันให้
2.2 ความรุ นแรงที่จะเกิดขึ้นถ้าใส่ อุปกรณ์ป้องกันอวัยวะ(กรณี ที่สถานประกอบกิจการได้จดั อุปกรณ์ป้อ
งกันฯให้) แต่ถา้ สภาพความเป็ นจริ ง สถานประกอบกิจการไม่ได้จดั อุปกรณ์ป้องกันฯ ให้ ความรุ นแรงที่จะเกิดขึ้นก็จะ
เท่ากับในข้อ 2.1
2.3 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ ยงนั้นมีมากน้อยเพียงใด เช่นหากมีมาตรการป้ องกันที่ดี ทำให้ความเสี่ ยงที่จะเกิด
ขึ้นมีโอกาสน้อย(ต่ำ) แต่ถา้ ไม่มีมาตรการป้ องกัน หรื อมีแต่ยงั ไม่มีประสิ ทธิภาพ หรื อไม่ถูกต้อง จะทำให้ความเสี่ ยงที่
จะเกิดมีโอกาสมาก (สูง)
รายละเอียดของแบบวิเคราะห์จุดทำงานเพื่อความปลอดภัย ดังแสดงใน แบบฟอร์มที่ 3 และตัวอย่างที่ 5
แบบฟอร์ มที่ 3 แสดงแบบวิเคราะห์จุดทำงานเพื่อความปลอดภัย ซึ่งมีท้ งั หมด 5 ช่อง โดยช่องที่ 1 ให้ระบุลำดับคู่
เสี่ ยง ช่องที่ 2 ระบุคู่อนั ตราย(=ชี้บ่งอันตราย) ส่ วนช่องที่ 3, 4 และ 5 เป็ นการประเมินความเสี่ ยง ซึ่งประกอบด้วย
ความรุ นแรง (ช่องที่ 3,4 ) และโอกาสที่จะเกิด (ช่องที่ 5)
ตัวอย่ างที่ 5 แสดงการกรอกข้อมูลในแบบวิเคราะห์จุดทำงานเพื่อความปลอดภัย ลง
ในแบบฟอร์มที่ 3
แบบวิเคราะห์ สาเหตุที่อาจเกิดขึน้ (โอกาสที่จะเกิดโดยตรง)
งาน______________________________
ชื่อหัวหน้ างาน ___________________
จุดทำงาน_________________________ วัน /เดือน /ปี
____________________
กิจกรรม__________________________ ขั้นตอน
งาน_______________________
ลำดับ อวัยวะ/คำอันตราย/ตัว ความรุนแรงที่ ตอบคำถาม: แน่ใจ
(1) เหตุ คาดว่า ว่า.......
(2) จะเกิดเมื่อ จะไม่..................
สมมุติว่า
เพราะ.......................
อวัยวะไม่ได้
สวม (4)
อุปกรณ์
ป้ องกัน
(3)
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
อธิบาย มีท้ งั หมด 4 ช่อง โดยช่องที่ 1 ให้ระบุลำดับคู่ ช่องที่ 2 ให้นำคู่
ที่จบั ไว้ในตารางจับคู่มากรอกใส่ ประกอบด้วยอวัยวะ คำอันตราย ตัวเหตุโดย
อวัยวะกับตัวเหตุอาจสลับหน้าหรื อหลังกันได้ ช่องที่ 3 เป็ นการคาดความรุ นแรง
เพื่อคัดกรองลักษณะอันตรายที่ไม่ก่อให้เกิดความรุ นแรงออกไป ช่องที่ 4
เป็ นการคาดสาเหตุที่อาจเกิดขึ้น(โอกาสที่จะเกิดโดยตรง) โดยใช้คำถามนำ
ตัวอย่ างที่ 5
การใช้ แบบวิเคราะห์ สาเหตุที่อาจเกิดขึน้
งาน ทำแกนม้ วน ชื่อหัวหน้ างาน นายประมวล
จุดทำงาน ยิงตะปูประกอบแกนม้ วน วัน /เดือน /ปี 9/12/47
กิจกรรม ประกอบแกนม้ วน ขั้นตอนงาน (จุดทำงาน/กิจกรรม/ขัน้ ตอนงานอาจมีชื่อเหมือนกัน ให้ ใช้ อย่ างใด
อย่ างหนึ่ง)
ลำดับ อวัยวะ/คำอันตราย/ตัวเหตุ ความรุนแรงที่คาดว่า ตอบคำถาม: แน่ใจ
(1) (2) จะเกิดเมื่อสมมุติว่า ว่า.......
อวัยวะไม่ได้สวม จะ
อุปกรณ์ป้องกัน ไม่..................เพราะ..............
(3) .........
(4)
1. มือซ้ายครูดหัวตะปู ใส่ยา(ปฐมพยาบาล ไม่แน่ใจ
)
2. หัวตะปูข่วนมือซ้าย ไปโรงพยาบาล ไม่แน่ใจ
3. มือขวากระแทกด้ามเครื่องยิง ไม่เจ็บ
4. เท้ากระแทกแกนม้วน เจ็บแต่ไม่ต้อง
ใส่ยา
5. แกนม้วนเลื่อนทับเท้า ไปโรงพยาบาล แน่ใจเพราะมีตัว
ล็อค
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
การพิจารณาความรุ นแรง ให้พิจารณาเป็ น 3 ระดับคือ
1. ใส่ ยาหรื อปฐมพยาบาลเทียบได้กบั ระดับเล็กน้ อย
2. ไปโรงพยาบาลเทียบได้กบั ระดับปานกลาง
3. สู ญเสี ยอวัยวะหรื อเสี ยชีวิตเทียบได้กบั ระดับมาก
ต่ำกว่านี้ถือว่าไม่รุนแรงให้ตดั ทิ้งเช่น คู่ที่3 และคู่ที่ 4
คำถามแน่ใจว่า.............จะไม่...........เพราะ.........ให้พิจารณาจาก 5 เงื่อนไขว่า กิจกรรม ตัวเหตุหรื อ
อวัยวะนั้น
1.ได้ถูกยึดไว้ มัดไว้ ดึงไว้ หรื อสวิทช์ปิด-เปิ ดถูกล็อค จนทำให้ไม่หลุด ไม่หล่น ไม่เคลื่อน ไม่กระเด็น เป็ นต้น
2.มีอุปกรณ์บงั คับ เปลี่ยนทิศทาง มีสายดิน
3.มีวสั ดุปิด กั้น ครอบ คลุม หุม้ หรื อหุม้ ฉนวน
4. ไม่อยูต่ รงตำแหน่งหรื อทิศทางซึ่ งกันและกัน
5. ตรวจสอบและทดลอง ดัน ดึง โยก เขย่า พบว่าติดแน่น หรื อมีสภาพมัน่ คง แข็งแรง ไม่ผกุ ร่ อนหรื อเสื่ อมสภาพ
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
ถ้าข้อใดตอบว่าแน่ใจ ให้ระบุเหตุผลที่แน่ใจ เพื่อแสดงว่าในสภาพปัจจุบนั ไม่มีสาเหตุที่
อาจเกิดขึ้น แล้วคอยตรวจสอบซ้ำตามระยะเวลาที่แน่ใจ และคู่น้ ีไม่จำเป็ นต้องนำไปกรอกใน
ตารางชี้บ่งอันตรายตามมาตรฐานต่างๆ
ถ้าคู่ใดตอบไม่แน่ใจ แสดงให้เห็นว่ามีสาเหตุที่อาจเกิดขึ้น หรื อมีโอกาสที่จะเกิดโดยตรง ให้นำ
ข้อมูลทั้งหมดของคู่น้ ีไปกรอกในตารางชี้บ่งอันตรายแบบ 3 ช่อง หรื อแบบ 6 ช่อง ดังนี้
ตัวเหตุ หมายถึง แหล่งอันตราย
คำอันตราย หมายถึง เป็ นลักษณะอันตราย
อวัยวะ หมายถึง ใคร หรื ออะไรได้รับอันตราย (ถ้าตัวเหตุกระทำกับตัวเหตุกจ็ ะเกิดทรัพย์สิน
เสี ยหาย ซึ่งสามารถจับคู่ได้เช่นกัน)
คำตอบไม่ แน่ ใจ หมายถึง สาเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้จากเงื่อนไขใดใน 5 เงื่อนไขที่กล่าวข้างต้นซึ่ง
สามารถกลับมาตอบเป็ นสาเหตุได้
ตัวอย่ างการกรอกตารางชี้บ่งอันตราย JSA แบบ 3 ช่ อง

ขั้นตอนงาน อันตรายพร้อมสาเหตุ มาตรการป้ องกัน


ยิงตะปูแกนม้วน มือซ้ายครูดหัวตะปู
เพราะขณะ
หยิบแกนม้วนทิศทาง
การ
เคลื่อนไหวมือซ้ายมี
โอกาสตรง
กับตำแหน่งหัวตะปู
และไม่มี
วัสดุก้ ันระหว่างมือ
ซ้ายกับหัว
ตะปู
ตัวอย่ างการกรอกตารางชี้บ่งอันตราย JSA แบบ 6 ช่ อง

ขั้นตอนงาน แหล่ง ใครหรือ ลักษณะ สาเหตุที่ มาตรการ


อันตราย อะไร อันตราย อาจเกิด ป้ องกัน
ยิงตะปูแกน หัวตะปู มือซ้ายนาย ครูด ขณะหยิบ
ม้วน จริง แกนม้วน
ทิศทางการ
เคลื่อนไหว
มือซ้าย
มีโอกาสตรง
กับ
ตำแหน่งหัว
ตะปู
และไม่มีวัสดุ
กั้น
ระหว่างมือ
ซ้ายกับ
หัวตะปู
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
หมายเหตุ เมื่อกรอกในตารางชี้บ่งอันตราย JSA แบบ 6 ช่องได้ ก็
สามารถกรอกในตาราง มอก. 18001 ได้เช่นกันเพราะช่องกรอกเหมือนกัน
การพิจารณามาตรการป้องกัน
มาตรการป้ องกันและควบคุมแบ่งเป็ น 2 ประเภท
หลักการควบคุมป้ องกันที่ตวั เหตุมี 6 วิธีดงั นี้

ทำให้ตัวเหตุ วิธีการ
1. ไม่เคลื่อนเข้าหาอวัยวะ 1. ยึดไว้ หน่วงไว้ ล็อคสวิทซ์
2. เคลื่อนเข้าหาแต่ไม่ตรงอวัยวะ 2.ใช้อุปกรณ์บังคับเปลี่ยนทิศทาง
3. เคลื่อนเข้าหาแต่ไม่ถึงอวัยวะ 3. ใช้วัสดุปิดกั้น
4. ถูกหุ้มด้วยวัสดุป้องกัน 4. วัสดุอ่อนนุ่ม / ฉนวน หุ้ม
5. ย้ายตำแหน่งให้ไม่ตรงอวัยวะ 5. เปลี่ยนตำแหน่งที่อยู่
6. เลิกใช้หรือเปลี่ยน 6. เปลี่ยนไปใช้ชนิดที่ปลอดภัย
กว่า
2 หลักการควบคุมป้ องกันทีอ่ วัยวะ มี 6 วิธี ดังนี้

ทำให้
อวัยวะ วิธีการ
ก.ไม่เคลื่อนไหวเข้าหาตัวเหตุ ก.กำหนดการกระทำใช้อุปกรณ์ยึดส่วน
ของร่างกาย
ข. เคลื่อนไหวมีทิศทางไม่ตรงกับตัวเหตุ ข.เปลี่ยนทิศทางการกระทำ ใช้อุปกรณ์
บังคับทิศทาง
ค. เคลื่อนไหวไปไม่ถึงตัวเหตุ ค.ใช้อุปกรณ์แทน วัสดุปิดกั้น กำหนด
ระยะของอวัยวะ
ง. สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วน ง. เลือกอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วน
บุคคล บุคคล
จ. อยู่ในตำแหน่งที่ตัวเหตุจะไม่สัมผัส จ. เปลี่ยนตำแหน่งที่อยู่ของอวัยวะ
ฉ. ยกเลิกหรือเปลี่ยนการกระทำใหม่ ฉ. ทำแบบอื่นที่ปลอดภัยกว่า
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)

หากพบว่ามาตรการป้ องกันที่ตวั เหตุและอวัยวะยังไม่สามารถแก้ไขความเสี่ ยงนั้นได้ อาจต้องมาพิจารณาที่การกระทำของผู ้


ปฏิบตั ิงาน เช่น ผูป้ ฏิบตั ิงานมีการกระทำที่ไม่ปลอดภัย (unsafe action) เพราะบริ ษทั /สถานประกอบกิจการ ยัง
ไม่ได้กำหนดกฎ ระเบียบหรื อข้อปฏิบตั ิ แต่ยงั ไม่มีอนั ตรายเกิดขึ้น ถือว่างานนั้นยังมีความเสี่ ยงอยู่ แต่ถา้ มีอนั ตรายเกิดขึ้น
แล้ว จัดว่าเป็ นการกระทำผิดพลาด (action error) จนทำให้เกิดอันตรายขึ้น ดังนั้นสถานประกอบกิจการจึงต้อง
แก้ไขโดยการกำหนดกฎ ระเบียบ หรื อข้อปฏิบตั ิ หรื อบางเรื่ องอาจไม่ตอ้ งกำหนดเพราะเป็ นเรื่ องที่ควรรู ้อยูแ่ ล้ว แต่บางครั้งมี
กฎระเบียบแล้วแต่ผปู้ ฏิบตั ิงานยังฝ่ าฝื นอีก เรี ยกว่า มีพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย (unsafe behavior) และยังคงทำงาน
ที่เสี่ ยงอยู่ แต่ถา้ มีอนั ตรายเกิดขึ้นแล้วเรี ยกว่า คนผิดพลาด (human error) ดังนั้นอาจทำการแก้ไขโดยการสอนขณะ
ทำงาน (หรื อการสอนหน้างาน = on the job training) ซึ่ งปฏิบตั ิได้จริ งทำให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานรู ้และเข้าใจ ส่ วน
พฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย อาจมีสาเหตุเกิดจาก
1.การลืม เพราะเผลอเรอ เลินเล่อ หรื อจำยาก อาจแก้ไขได้โดยการอบรม ใช้เทคนิคการเตือนตนหยัง่ รู ้ ระวังภัย (KYT)
2. สะเพร่ า หมายถึง ทำงานอย่างไม่ต้ งั ใจ ไม่ใส่ ใจ ทำงานข้ามขั้นตอน แต่ยงั ไม่มีเหตุอนั ตรายเกิดขึ้น อาจแก้ไขโดยการ
อบรมให้ทำงานตามขั้นตอนที่กำหนด ให้ทราบว่าถ้าหากไม่ปฏิบตั ิตามจะเกิดความเสี ยหายอย่างไร อาจต้องมีการกำหนด
โทษหรื อภาคทัณฑ์ไว้
3. ประมาทเพราะไม่ยอมรับหรื อไม่เชื่อหรื อรู ้แล้วแต่ยงั ฝ่ าฝื นจนทำให้เกิดเหตุอนั ตรายขึ้น จำเป็ นต้องให้ความรู ้เกี่ยวกับ
ทัศนคติความปลอดภัยและจิตสำนึกความปลอดภัย
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
ส่ วนความบกพร่ องของร่ างกายผูป้ ฏิบตั ิงาน จะต้องมีมาตรการเฉพาะ เช่น
* ตาบอดสี ก็ให้จดั งานให้เหมาะสมกับสภาพร่ างการของผูป้ ฏิบตั ิงาน ไม่ให้ทำงาน
ที่เกี่ยวข้องกับสี ตัวอย่าง เช่น สี แดง เตือนว่ามีอนั ตรายเกิดขึ้น แต่คนที่ตาบอดสี น้ ี
จะไม่ทราบว่าในที่ทำงานมีอนั ตรายเกิดขึ้น
* ให้คนอ้วน ทำงานในที่อากาศร้อนจัด จะมีความเสี่ ยงสูง ควรจัดให้ทำงานในที่
อากาศไม่ร้อน
* คนที่สายตาผิดปกติ ไม่ควรให้ทำงานที่ตอ้ งใช้สายตามาก
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
4. จัดทำแบบตรวจกิจกรรมเสี่ ยง
หลังจากได้มาตรการป้ องกันหรื อมาตรการป้ องกันเพิ่มเติมจากขั้นตอนที่
3 แล้ว ให้นำมากำหนดเป็ นข้อปฏิบตั ิ แล้วทำการตรวจว่าผูป้ ฏิบตั ิงาน
ได้ปฏิบตั ิตามข้อปฏิบตั ิที่สถานประกอบกิจการได้กำหนดไว้หรื อไม่ ซึ่ ง
ถือได้วา่ เป็ นการตรวจที่ตรงกับประเด็นเสี่ ยง ดังแสดงในแบบฟอร์มที่ 4
แบบฟอร์ มที่ 4 แบบตรวจกิจกรรมเสี่ ยงใน 1 จุดทำงานที่ได้ผา่ นขั้น
ตอนการชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ ยงแล้ว
ตัวอย่ างที่ 6 การกรอกข้อมูลเกี่ยวกับมาตรการป้ องกันในแบบตรวจกิจกรรมเสี่ ยง ลง
ในแบบฟอร์มที่ 4
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
5. จัดทำแบบตรวจสอบข้ อผิดพลาด
เมื่อได้ดำเนินการตั้งแต่ข้ นั ตอนที่ 1 ถึง 4 แล้ว แต่ยงั มีความเสี่ ยงจน
ทำให้เกิดอันตรายขึ้นอีก จะต้องนำมาพิจารณาทบทวนว่าเหตุการณ์ความ
ไม่ปลอดภัยที่เกิดขึ้นนี้มีสาเหตุเกิดจากอะไรบ้างแล้วกรอกรายละเอียด
ลงในแบบฟอร์มที่ 5
แบบฟอร์ มที่ 5 แบบตรวจสอบข้อผิดพลาดหรื อเป็ นการแสดงแบบ
วิเคราะห์อุบตั ิเหตุเบื้องต้น

หมายเหตุ ปัจจัยภายนอก หมายถึง คนหรื อตัวเหตุใดๆ จากจุดทำงานอื่น หรื อมีโอกาสเข้ามา ณ.จุดที่ทำการประเมิน


โดยไม่ จำเป็ น ซึ่งทำให้มีคู่เสี่ ยงเพิ่มขึ้น หรื อทำให้เพิ่มระดับความเสี่ ยงของคู่เดิม
เรื่องที่ 3.1.2 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตเิ หตุจากการ
ทำงานแบบจับคู่ชี้บ่งอันตราย (ต่ อ)
เทคนิคการชี้บ่งอันยรายแบบจับคู่เสี่ ยงตามที่อธิบายมาทั้งหมดข้างต้น
สามารถเปรี ยบเทียบได้กบั ตารางบางส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการชี้บ่งอันตรายตามวิธี
มอก. 18001 ได้ ตามตารางที่ 7 ดังนี้
ตัวอย่ างที่ 7 แสดงการเปรี ยบเทียบบางส่ วนของตาราง “เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อ
ป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการทำงาน” (แถวล่าง) กับ “เทคนิคการชี้บ่งอันตราย ตามวิธี
มอก. 18001” (แถวบน)
กิจกรรม
คำถามท้ ายบท
• อุบตั ิเหตุจากการทำงานมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
• จงอธิบายความหมายของอุบตั ิเหตุแบบเบื้องต้นและแบบซับซ้อนโดยละเอียด
• จงอธิบายการใช้ตารางจับคู่อนั ตราย
• จงอธิบายการใช้ตารางวิเคราะห์สาเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากอุบตั ิเหตุจากการทำงาน
• วิธีการควบคุมป้ องกันมีกี่ขอ้ อะไรบ้าง
หัวข้ อวิชา 3.2 เทคนิคการบ่ งชี้อนั ตรายเพือ่ ป้ องกันโรคจากการทำงาน
ประกอบด้ วยเรื่อง
3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้อมการทำงาน
3.2.2 หลักการบ่ งชี้อนั ตรายหรือป้ องกันโรคจากการทำงาน
แนวคิด
1. สิ่ งแวดล้อมการทำงาน หมายถึงสิ่ งต่างๆ ที่อยูล่ อ้ มรอบตัวผูป้ ฏิบตั ิงานในขณะที่ทำงาน เช่น หัวหน้าควบคุมงาน เพื่อนร่ วมงาน
เครื่ องจักร เครื่ องกล เครื่ องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ อากาศที่หายใจ แสงสว่าง เสี ยง ความสัน่ สะเทือน รังสี ความร้อน ความ
เย็น ก๊าซ ไอ ฝุ่ น ฟูม ละออง และสารเคมีอื่นๆ และยังรวมถึงเชื้ อโรคและสัตว์ต่างๆเป็ นต้น
2. การบ่งชี้อนั ตรายเพื่อป้ องกันโรคจากการทำงาน หมายถึง การค้นหาสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัย จากสภาพแวดล้อมการทำงาน
หรื อสิ่ งแวดล้อมการทำงานที่ไม่ได้มาตรฐานความปลอดภัยตามที่กฎหมายกำหนดไว้
3. วิธีการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันโรคจากการทำงาน ประกอบด้วย
3.1 การตระหนักว่ามีสิ่งแวดล้อมการทำงานอะไรบ้างที่มีผลต่อสุ ขภาพอนามัยของผูป้ ฏิบตั ิงาน
3.2 การประเมินผลเพื่อทำการคัดกรอง สิ่ งแวดล้อมการทำงานที่อาจส่ งผลกระทบทำให้เกิดโรคจากการทำงานได้
3.3 การควบคุมป้ องกันที่แหล่งกำเนิดหรื อทางผ่านหรื อตัวผูป้ ฏิบตั ิงาน เพื่อป้ องกันโรคจากการทำงาน
วัตถุประสงค์
เมื่อเข้ารับการฝึ กอบรมในหัวข้อวิชานี้ แล้ว ผูร้ ับการฝึ กอบรมต้อง
1. อธิบายความหมายของการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันโรคจากการทำงานได้
2. อธิบายความหมายของสิ่ งแวดล้อมการทำงาน หรื อสภาพแวดล้อมการทำงานที่มี
ศักยภาพเชิงอันตราย ทำให้เป็ นสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัยในการทำงานได้
3. สามารถทำการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันโรคจากการทำงานโดยอาศัยหลักการ 3
ขั้นตอน คือ การตระหนัก การคัดกรอง และการควบคุมป้ องกัน
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน

สิ่ งแวดล้ อมการทำงาน หมายถึง สิ่ งต่างๆที่อยูล่ อ้ มรอบตัวผูป้ ฏิบตั ิงานใน


ขณะที่ทำงาน เช่น หัวหน้าควบคุมงาน เพื่อนร่ วมงาน เครื่ องจักร เครื่ องกล เครื่ อง
มือ และอุปกรณ์ต่างๆ อากาศที่หายใจ แสงสว่าง เสี ยง ความสัน่ สะเทือน รังสี
ความร้อน ความเย็น ก๊าซ ไอ ฝุ่ น ฟูม ละออง และสารเคมีอื่นๆ และยังรวมถึงเชื้ อ
โรคและสัตว์ต่างๆเป็ นต้น
ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมการทำงานที่อยูล่ อ้ มรอบตัวผูป้ ฏิบตั ิงานในขณะทำงานนั้น
แบ่งเป็ นหมวดหมู่ได้ 4 ประเภท คือ ปัจจัยสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ ทางเคมี
ทางชีวภาพและ เออร์กอนอมิคส์ โดยการทำงานนั้น อาจมีผลจากการสัมผัสกับสิ่ ง
แวดล้อมการทำงานทั้ง 4 ประการดังกล่าว แต่จะมากหรื อน้อยเพียงใดขึ้นอยูก่ บั
ลักษณะงาน ดังแสดงในภาพที่ 1
ภาพที่ 1 แสดงปั จจัยสิ่ งแวดล้อมการทำงานที่คุกคามสุ ขภาพ
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
ปัจจัยสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน แบ่งเป็ นหมวดหมู่ได้ 4 ประเภท ดังนี้
1. ปัจจัยสิ่ งแวดล้ อมทางกายภาพ (physical environment) ที่อยูร่ อบๆตัวผูป้ ฏิบตั ิงานใน
ขณะทำงานนั้น เช่น เสี ยงดัง ความสัน่ สะเทือน ความเย็น รังสี แสงสว่าง ความกดดันบรรยากาศ นอกจาก
นี้ ยังรวมถึงเครื่ องจักร เครื่ องมืออุปกรณ์ต่างๆ และบริ เวณสถานที่ทำงาน เป็ นต้น
2. ปัจจัยสิ่ งแวดล้ อมทางเคมี (chemical environment) มีผปู ้ ฏิบตั ิงานต้องเกี่ยวข้องกับ
สารเคมีชนิดต่างๆ ที่ใช้เป็ นวัตถุดิบ หรื อผลผลิตหรื อของเสี ยที่ตอ้ งกำจัด โดยทัว่ ไปสารเคมีดงั กล่าวอาจจะ
อยูใ่ นรู ปของก๊าซ ไอ ฝุ่ น ฟูม ควัน ละออง หรื ออยูใ่ นรู ปของเหลว เช่น สารตัวทำละลาย (solvents)
ต่างๆเป็ นต้น
3. ปัจจัยสิ่ งแวดล้ อมทางชีวภาพ (biological environment) ของผูป้ ฏิบตั ิงาน มีท้ งั ชนิด
ที่มีชีวติ และไม่มีชีวติ ตัวอย่างชนิดที่มีชีวติ เช่น ไวรัส แบคทีเรี ย เชื้อรา พยาธิ และสัตว์อื่นๆ เช่น งู
เป็ นต้น สำหรับตัวอย่างที่ไม่มีชีวติ เช่น ฝุ่ นพืชต่างๆ ได้แก่ ฝุ่ นไม้ ฝุ่ นฝ้ ายและฝุ่ นเมล็ดพืชต่างๆ เป็ นต้น
4. ปัจจัยทางเออร์ กอนอมิกส์ (ergonomics) งานบางอย่างที่เร่ งรัด ต้องทำงานแข่งกับเวลาการ
ทำงานเป็ นผลัด การทำงานที่มีชวั่ โมงการทำงานที่ยาวนาน การทำงานหนักเกินไป การทำงานที่จำเจ
ซ้ำซาก การทำงานที่ไม่เหมาะสมกับความสามารถของร่ างกายและจิตใจ อิริยาบถการทำงานที่ไม่เหมาะ
สม หน่วยที่ทำงานไม่เหมาะสม เป็ นต้น
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
ความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
ในสถานที่ทำงานที่แตกต่างกัน อาจจะมีลกั ษณะของสิ่ งแวดล้อมการทำงานที่แตกต่างกัน โดยจะ
ขึ้นอยูก่ บั กิจกรรมที่ทำ ในบางครั้งสถานที่ทำงานหรื อโรงงานประเภทเดียวกันก็อาจจะมีสภาพ
ของสิ่ งแวดล้อมการทำงานที่แตกต่างกันออกไป บางแห่งอาจมีสภาพของสิ่ งแวดล้อมการทำงาน
ที่เหมาะสม แต่บางแห่งอาจจะไม่เหมาะสม ความไม่เหมาะสมของสิ่ งแวดล้อมการทำงานนี้
พอจะยกตัวอย่างให้เห็นได้ เช่น ในสถานที่ทำงานอาจจะมีฝนฟุ้ ุ่ งกระจายอย่างมาก มีเสี ยงที่ดงั
เกินไป เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ชำรุ ด สารพิษต่างๆ ฟุ้ งกระจายไปทัว่ บริ เวณที่ทำงาน พื้น
สถานที่ทำงานลื่น แสงสว่างไม่เพียงพอ วิธีการทำงานของผูป้ ฏิบตั ิงานหรื อพนักงานไม่เหมาะ
สม อากาศอาจจะร้อนอบอ้าว นอกจากนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสถานที่ทำงานอาจจะไม่
ดี เป็ นต้น เมื่อผูป้ ฏิบตั ิงานที่อาจเป็ น พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมหรื อชาวไร่ ชาวนา
ชาวสวน พนักงานขับรถ ฯลฯ จะต้องทำงานอยูใ่ นสิ่ งแวดล้อมการทำงานที่ไม่เหมาะสมดังกล่าว
อยูเ่ สมอ บุคคลนั้นก็อาจจะได้รับอันตราย อันตรายในที่น้ ี อาจจะเป็ นลักษณะของความเจ็บป่ วย
หรื อเป็ นโรคจากการทำงาน หรื ออาจจะได้รับอุบตั ิเหตุ เกิดการบาดเจ็บ พิการ หรื อเสี ยชีวติ
ก็ได้
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
ความหมายของการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันโรคจากการทำงาน คือ การค้นหาสิ่ งคุกคามสุ ขภาพ
อนามัยจากสิ่ งแวดล้อมการทำงานหรื อสภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่ได้มาตรฐานความปลอดภัย
หรื อไม่เป็ นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยที่กฎหมายกำหนดไว้
หลักการบ่ งชี้อนั ตรายหรือป้องกันโรคจากการทำงาน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. การตระหนัก ถึงสิ่ งแวดล้อมการทำงานมีอะไรบ้าง ที่อาจทำให้เกิดโรคจากการทำงานใดได้บา้ ง
ซึ่งการดำเนินการขั้นตอนนี้ จะประกอบด้วย
1.1 การค้นหาสิ่ งแวดล้อมการทำงานในแต่ละจุดทำงาน โดยแบ่งสิ่ งแวดล้อมการทำงานเป็ น 4
ประเภท ได้แก่ สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ ทางเคมี ทางชีวภาพและเออร์กอนอมิคส์ ตามที่อธิบาย
ข้างต้นนี้ ซึ่งการค้นหาสิ่ งแวดล้อมการทำงานได้แสดงในตารางที่ 1 (แบบฟอร์มที่ 1) มีท้ งั หมด
4 ช่อง คือ ให้ระบุสิ่งแวดล้อมการทำงาน ชื่อจุดทำงาน ชื่อผูค้ ุมงาน และจำนวนคนทำงาน
ตารางที่ 1 การค้ นหาสิ่ งแวดล้อมการทำงานแต่ ละจุดทำงาน
การระบุเบือ้ งต้ น เกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมการทำงานทางกายภาพ ให้
พิจารณาดังนี้

ให้ดูตวั อย่างวิธีการกรอกข้อมูลเกี่ยวกับ การค้นหาสิ่ งแวดล้อมการทำงานทางกายภาพ


ตามที่แสดงในตัวอย่างที่ 1
ตัวอย่ างที่ 1 แสดงการกรอกข้อมูลเกี่ยวกับการค้นหาสิ่ งแวดล้อมการ
ทำงานทางกายภาพ
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
• วิธีการระบุ เกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมการทำงานทางเคมี ให้ระบุเป็ นลักษณะ
ของสารเคมี เช่น ฝุ่ น ไอระเหย ฟูม ละอองไอ ก๊าซ หรื อเส้นใย
ฯลฯ ส่ วนสิ่ งแวดล้อมการทำงานทางชีวภาพ ให้ระบุวา่ เป็ นเชื้อ
จุลินทรี ย ์ หรื อหากทราบแน่ชดั อาจระบุเฉพาะเจาะจงก็ได้ เช่น เชื้อ
ไวรัส เชื้อแบคทีเรี ย เชื้อรา เป็ นต้น ทั้งนี้ให้ศึกษาวิธีการกรอกข้อมูล
ตามตัวอย่างที่ 2
ตัวอย่ างที่ 2 แสดงการกรอกข้อมูลการค้นหาสิ่ งแวดล้อมการทำงานทาง
เคมีและชีวภาพ
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
1.2 ระบุสิ่งแวดล้อมการทำงานที่อาจจะเป็ นสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัย
ในการทำงาน ตามแบบฟอร์มที่ 2 ดังแสดงในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลสิ่ งแวดล้อมการทำงานที่อาจเป็ นสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัย โดยประกอบ
ด้วยข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ชื่อจุดทำงาน ผูค้ ุมงาน สิ่ งแวดล้อมการทำงานที่อาจเป็ นสิ่ งคุกคาม ฯ และชื่อ
คนทำงาน

เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
และชัดเจนยิง่ ขึ้น ให้
ศึกษาตัวอย่างที่ 3 โดย
การกรอกข้อมูลลงใน
แบบฟอร์มที่ 2
ตัวอย่ างที่ 3 แสดงวิธีการกรอกข้อมูลเพื่อระบุสิ่งแวดล้อมการทำงานที่
อาจจะเป็ นสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัยในการทำงาน
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
2. การคัดกรอง เพื่อป้ องกันโรคจากการทำงาน โดยมีลำดับขั้นตอนดังต่อ
ไปนี้
2.1 ทำการตรวจวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมการทำงาน เพื่อใช้สำหรับพิจารณา
ว่าเป็ นสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัยหรื อไม่ โดยให้กรอกข้อมูลลงในแบบ
ฟอร์มที่ 3 ดังในแสดงในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับผลการตรวจวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมการ
ทำงาน
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
วิธีการกรอกข้อมูลในแบบฟอร์มที่ 3 ให้ศึกษาจากตัวอย่างที่4 โดยให้พิจารณาว่า ถ้า
เป็ นสิ่ งแวดล้อมการทำงานด้านกายภาพ ให้เปรี ยบเทียบผลที่ตรวจวิเคราะห์ที่ได้กบั เกณฑ์
มาตรฐานทางกฎหมาย ถ้าได้ผลลัพท์ ตั้งแต่ร้อยละ 90 ขึ้นไปของเกณฑ์มาตรฐาน ให้ถือเป็ นสิ่ ง
คุกคามสุ ขภาพอนามัย สำหรับสิ่ งแวดล้อมการทำงานด้านเคมีที่ตรวจวิเคราะห์ได้ต้ งั แต่ร้อยละ 2
0 ขึ้นไปของเกณฑ์มาตรฐาน ให้จดั เป็ นสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัย ทั้งนี้เกณฑ์มาตรฐานความ
ปลอดภัยมีท้ งั ของประเทศไทยและต่างประเทศ ถ้าค่ามาตรฐานมีความแตกต่างกันให้เปรี ยบเทียบ
ร้อยละกับเกณฑ์ที่มีค่าน้อยกว่า เช่น สาร A ประเทศไทย กำหนดค่ามาตรฐานความปลอดภัย
เท่ากับ 10 ส่ วนในล้านส่ วน แต่ประเทศสหรัฐอเมริ กากำหนดค่ามาตรฐานความปลอดภัย
เท่ากับ 1 ส่ วนในล้านส่ วน ให้ทำการเปรี ยบเทียบร้อยละกับ 1 ส่ วนในล้านส่ วน ดังนั้นหาก
ตรวจวิเคราะห์สาร A จากบรรยากาศการทำงานได้มากกว่า 0.2 ส่ วนในล้านส่ วน ก็จะเข้าข่าย
ว่าเป็ นสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัยได้ ดังแสดงในตัวอย่างที่ 4
ตัวอย่ างที่ 4 แสดงวิธีการกรอกข้อมูลเกี่ยวกับผลการตรวจวิเคราะห์สิ่ง
แวดล้อมการทำงานลงในแบบฟอร์มที่ 3
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
2.2 จัดให้มีการตรวจสุ ขภาพของผูท้ ี่ปฏิบตั ิงานตามที่กำหนดไว้ในข้อ 2.1
กล่าวคือ สิ่ งแวดล้อมทางเคมีที่ตรวจวิเคราะห์ได้มากกว่ าร้ อยละ 20 ของค่า
มาตรฐาน และสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพที่ตรวจได้มีค่ามากกว่ าร้ อยละ 90 ของค่า
มาตรฐาน ถือว่าเป็ นสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัย จะต้องจัดให้คนที่ทำงานในบริ เวณ
ดังกล่าว ไปตรวจสุ ขภาพให้สอดคล้องกับสิ่ งคุกคามนั้น แล้วนำข้อมูลมากรอกใน
แบบฟอร์มที่ 4 ดังแสดงในตารางที่ 4
ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับผลการตรวจสุ ขภาพที่สอดคล้องกับสิ่ งคุกคาม
สุ ขภาพโดยการจำแนกเป็ นรายบุคคล
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงา
น (ต่ อ)
การประเมินสิ่ งคุกคามด้านสิ่ งแวดล้อมการทำงานว่าอยูใ่ นระดับสูงหรื อต่ำให้เทียบกับเกณฑ์
มาตรฐานตามที่ได้อธิบายไว้แล้วในข้อ 2.1 ส่ วนการประเมินผลการตรวจสุ ขภาพของผู้
ที่สมั ผัสสิ่ งแวดล้อมด้านกายภาพว่าอยูใ่ นระดับสูงหรื อต่ำ ให้ใช้หลักเกณฑ์วา่ หากพบความ
ผิดปกติจะมากหรื อน้อยก็ตาม ให้จดั ว่าอยูใ่ นระดับสูง เช่น ทดสอบสมรรถภาพการได้ยนิ
พบว่ามีการสูญเสี ยการได้ยนิ จะมากหรื อน้อยก็ตามถือว่าอยูใ่ นระดับสูง แต่ถา้ พบว่าการ
ได้ยนิ เป็ นปกติจดั ว่าอยูใ่ นระดับต่ำ สำหรับการประเมินผลการตรวจสุ ขภาพของผูป้ ฏิบตั ิ
งานที่สมั ผัสสารเคมีวา่ อยูใ่ นระดับสูงหรื อต่ำ ให้เทียบกับค่ามาตรฐานทางชีวภาพ (Biolo
gical exposure indices BEI) โดยถ้าตรวจพบว่ามีค่าร้ อยละ 80 ขึ้นไป
ของค่ามาตรฐานฯจะจัดอยูใ่ นระดับสูง ดังแสดงในตัวอย่างที่ 5
ตัวอย่ างที่ 5 ผลการตรวจสุ ขภาพที่สอดคล้องกับสิ่ งคุกคามสุ ขภาพ
อนามัยโดยการจำแนกเป็ นรายบุคคล
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
หมายเหตุ การตรวจสุ ขภาพผูท้ ี่สมั ผัสกับสารอะซิโตน คือการตรวจสารอะซิโตนจากปัสสาวะเมื่อสิ้ นสุ ดเวลาการทำงาน โดย
เกณฑ์มาตรฐานเท่ากับ 50 มิลลิกรัมต่อลิตร ดังนั้นถ้าใช้เกณฑ์มาตรฐานทาวชีวภาพของสารอะซิโตนร้อยละ 80 จะเท่ากับ
40 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยผลจากการตรวจปัสสาวะพบอะซีโตน 42 และ45 มิลลิกรัมต่อลิตร จึงเข้าข่ายว่าอยูใ่ นระดับสู ง
2.3 ทำการคัดกรองโดยพิจารณาความสัมพันธ์ของผลการตรวจสิ่ งคุกคามด้านสิ่ งแวดล้อมการทำงาน และผลการตรวจสุ ขภาพ
หากผลการตรวจสุ ขภาพ เกินเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัยฯหรื อเกินร้อยละ 80 ของค่ามาตรฐานฯ จะเข้าข่าย “สูง” แต่ถา้ ไม่
เกินเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัยฯหรื อไม่เกินร้อยละ 80 ของค่ามาตรฐานฯ จะเข้าข่าย “ต่ำ” แล้วมาพิจารณาหาความสัมพันธ์
ดังนี้
ความสัมพันธ์ : 1. ผลการตรวจสิ่ งแวดล้อมสูง ผลการตรวจสุ ขภาพสูง เสี่ ยงมาก
2. ผลการตรวจสิ่ งแวดล้อมสูง ผลการตรวจสุ ขภาพต่ำ เสี่ ยง
3. ผลการตรวจสิ่ งแวดล้อมต่ำ ผลการตรวจสุ ขภาพสูง เสี่ ยง
4. ผลการตรวจสิ่ งแวดล้อมต่ำ ผลการตรวจสุ ขภาพต่ำ เป็ นความ-
เสี่ ยงที่ยอมรับได้ ในระยะเวลา 1 ปี ปี ต่ อไปต้ องตรวจสุ ขภาพซ้ำอีก

นำข้อมูลที่ได้ท้ งั หมด มากรอกในแบบฟอร์มที่ 5 ดังแสดงในตารางที่ 5


ตารางที่ 5 แสดงความสัมพันธ์ของผลการตรวจสิ่ งคุกคามกับผลการตรวจสุ ขภาพ
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
จากตัวอย่างที่ 5 ที่กรอกลงในแบบฟอร์มที่ 4 แล้ว ให้นำมากรอกในแบบฟอร์มที่
5 เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งคุกคามฯกับผลการตรวจสุ ขภาพ ว่ามีความ
เสี่ ยงระดับเท่าใด เช่น มีความเสี่ ยงมาก หรื อเสี่ ยง หรื อเป็ นความเสี่ ยงที่ยอมรับได้
ในเวลา 1 ปี ดังแสดงในตัวอย่างที่ 6
ตัวอย่ างที่ 6 แสดงการกรอกข้อมูลเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งคุกคามฯกับผล
การตรวจ
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
3. การควบคุมป้องกัน หลังจากหาความสัมพันธ์ของสิ่ งคุกคามสุ ขภาพและผลการ
ตรวจสุ ขภาพ หากผลลัพธ์ของความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งคุกคามฯและผลตรวจ
สุ ขภาพ มีลกั ษณะดังต่อไปนี้
(3.1) ถ้าความสัมพันธ์เข้าข่ายเสี่ ยงมากและเสี่ ยง ให้พิจารณาหามาตรการควบคุม
ป้ องกัน กรอกลงในแบบฟอร์มที่ 6 ดังแสดงในตารางที่ 6
ตารางที่ 6 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมป้ องกัน
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
จากข้อมูลในตัวอย่างที่ 6 ซึ่งได้ความสัมพันธ์ที่อยูใ่ นระดับ เสี่ ยงมากและเสี่ ยง จะ
ต้องนำมาพิจารณาหามาตรการควบคุมป้ องกัน ดังแสดงในตัวอย่างที่ 7
ตัวอย่ างที่ 7 แสดงข้อมูลการควบคุมป้ องกันอันตราย
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
3.2 พิจารณาเลือกวิธีการควบคุมป้ องกัน แต่ละสิ่ งคุกคามฯและที่ตวั
บุคคลที่เสี่ ยง ลงในแบบฟอร์มที่ 7 ดังแสดงในตารางที่ 7
ตารางที่ 7 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกวิธีการควบคุมป้ องกัน
เรื่องที่ 3.2.1 องค์ ประกอบและความสำคัญของสิ่ งแวดล้ อมการทำงาน
(ต่ อ)
นำข้อมูลที่พิจารณาแล้วในตารางที่ 7 มากรอกใส่ แบบฟอร์มที่ 7 ดังแสดง
ในตัวอย่างที่ 8
ตัวอย่ างที่ 8 แสดงการเลือกวิธีการควบคุมป้ องกัน
กิจกรรม
คำถามท้ ายบท
• จงอธิบายความหมายของการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันโรคจากการ
ทำงาน
• สภาพแวดล้อมการทำงานหรื อสิ่ งแวดล้อมการทำงานที่มีศกั ยภาพเชิง
อันตรายทำให้เป็ นสิ่ งคุกคามสุ ขภาพอนามัย มีอะไรบ้าง จงอธิบาย
• จงอธิบายเทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันโรคจากการทำงาน
หัวข้ อวิชา 3.3 เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
แรง
ประกอบด้ วยเรื่อง
3.3.1 ความหมายของอุบตั ิภยั ร้ายแรง
3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิภยั ร้ายแรง
แนวคิด
1. อุบตั ิภยั ร้ายแรง หมายถึง การแพร่ กระจายอย่างรุ นแรงของสารเคมี ทำให้เกิดไฟไหม้ หรื อเกิดการระเบิดหรื อสารเคมีที่มีพิษสู ง
รั่วไหล ฟุ้ งกระจาย โดยมีสาเหตุการเกิดเนื่องจากปราศจากการควบคุม ทำให้เกิดอันตรายทันทีทนั ใดหรื อเกิดในระยะเวลาต่อมา
ทำให้มีผลต่อคนทำงานสภาพแวดล้อมและชุมชนใกล้เคียง
2. การชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิภยั ร้ายแรง หมายถึง การค้นหาบริ เวณที่สงสัยว่าจะเป็ น สาเหตุที่อาจทำให้เกิดอุบตั ิภยั ร้ายแรง
ได้ แล้วนำผลที่ได้จากการชี้ บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ ยงมาทำการจัดการความเสี่ ยงนั้นมิให้เกิดอุบตั ิภยั ร้ายแรงขึ้น
3. การเกิดอุบตั ิภยั ร้ายแรงแบ่งได้เป็ น 4 แบบ ดังนี้
3.1โครงสร้างอาคารพังทลาย
3.2 สารเคมี มีพิษสูง รั่วไหล ฟุ้ งกระจาย
3.3 ระเบิด
3.4 ไฟไหม้
4. อุบตั ิภยั ร้ายแรงทั้ง 4 แบบนี้ จะมีเงื่อนไขการเกิดแตกต่างกัน
วัตถุประสงค์
เมื่อเข้ารับการอบรมในหัวข้อวิชานี้ แล้ว ผูเ้ ข้ารับการอบรมต้อง
1. สามารถอธิบายความหมายของอุบตั ิภยั ร้ายแรงและการบ่งชี้อนั ตราย
เพื่อป้ องกันอุบตั ิภยั ร้ายแรง ได้
2. สามารถค้นหาจุดที่สงสัยว่าจะเสี่ ยงต่ออุบตั ิภยั ร้ายแรง แล้วทำการชี้บ่ง
อันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิภยั ร้ายแรงนั้น
3. สามารถอธิบายการเกิดอุบตั ิภยั ร้ายแรงได้
เรื่องที่ 3.3.1 ความหมายของอุบัตภิ ยั ร้ ายแรง
อุบัตภิ ัยร้ ายแรง หมายถึง การแพร่ กระจายอย่างรุ นแรงของสารเคมีทำให้เกิด
ไฟไหม้ หรื อเกิดการระเบิดหรื อสารเคมี มีพิษสูง รั่วไหล ฟุ้ งกระจาย และรวมถึง
การพังทลายของโครงสร้าง โดยมีสาเหตุการเกิดเนื่องมาจากปราศจากการควบคุม
ทำให้เกิดอันตรายทันทีทนั ใด หรื อเกิดในระยะเวลาต่อมาแล้วมีผลกระทบต่อคน
ทำงาน สภาพแวดล้อมและชุมชนใกล้เคียง
การชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้องกันอุบัตภิ ัยร้ ายแรง หมายถึง การค้นหาบริ เวณที่
สงสัยว่าจะเสี่ ยง ซึ่งจำเป็ นที่จะต้องดำเนินการชี้บ่งอันตราย และการประเมินความ
เสี่ ยงด้วยวิธีที่เหมาะสม แล้วดำเนินการจัดการความเสี่ ยงนั้นมิให้เกิดอุบตั ิภยั ร้าย
แรงขึ้น ดังไดอะแกรมต่อไปนี้
ไดอะแกรม
อุบัตภิ ยั ร้ ายแรงแบ่ งออกได้ 4 แบบ ดังนี้
1.โครงสร้างอาคารพังทลาย
2. สารเคมีที่ มีพิษสู ง รั่วไหล ฟุ้ งกระจาย
3. การระเบิด
4. ไฟไหม้
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ ายแรง

การเกิดอุบตั ิภยั ร้ายแรงจะเริ่ มต้นพิจารณาจากตัวเหตุวา่ มีเงื่อนไขที่จะทำให้


เกิดอุบตั ิภยั ร้ายแรงได้หรื อไม่เป็ นสำคัญ โดยยังไม่คำนึงถึงคน เนื่องจากคนเป็ น
ส่ วนประกอบ (ตรงกันข้ามกับการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุจากการ
ทำงาน)
เทคนิคการชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิภยั ร้ายแรงเริ่ มต้นจากการเขียน
แผนผังอาคาร ใส่ หมายเลขอาคารกำกับไว้ แล้ว เดินสำรวจจากการค้นหาสถานที่ /
สถานที่ทำงาน / จุดทำงานที่สงสัยว่าจะเสี่ ยงต่ออุบตั ิภยั ร้ายแรง ( นำมาประเมิน
ความเสี่ ยงภายหลัง) โดยและกำหนดจุดที่สงสัยว่าจะเสี่ ยงตามอาคารที่สำรวจ โดย
ใช้ตารางที่1 และ ตารางที่ 3-5 ประกอบ
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
อุบัติภัยร้ ายแรงแบบที่ 1. โครงสร้ างอาคารพังทลาย แรง(ต่ อ)
แนวคิด ถ้าสิ่ งของทัว่ ไป เช่น บรรจุภณั ฑ์ หีบห่อ พังทลาย เรี ยกว่า เกิดอุบตั ิเหตุ ในหัวข้อนี้ จะพิจารณาเฉพาะ
โครงสร้างอาคารพังทลาย
โครงสร้างอาคารที่เป็ นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ให้ผสำู้ รวจพิจารณาว่ามี สถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงานใดของ
โครงสร้างเป็ นไปตามเงื่อนไขต่อไปนี้หรื อไม่
เงือ่ นไขที่ 1. การก่อสร้ างไม่ ถูกแบบ / ไม่ เป็ นไปตามแบบ
ไม่ถูกแบบ หมายถึง แบบก่อสร้างไม่ได้คำนวณตามหลักวิศวกรรมโยธา ไม่ใช้วิศวกรโยธา หรื อสถาปนิกออกแบบ
ก่อสร้าง
ไม่เป็ นไปตามแบบ หมายถึง แบบก่อสร้างคำนวณตามหลักวิศวกรรมโยธา หรื อสถาปัตยกรรม
แต่การก่อสร้างไม่เป็ นไปตามแบบ
เงื่อนไขที่ 1 นี้ การพิจารณายาก ต้องให้วิศวกรโยธาเอาต้นแบบมาดู ถ้ายังไม่สามารถดำเนินการได้ให้
ปล่อยไว้ก่อน
เงือ่ นไขที่ 2. การเพิม่ เติมของหนัก
ประเด็นนี้ให้พิจารณาว่า สถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงานของอาคารได้มีการนำสิ่ งของหนัก (น้ำหนัก
ประมาณ 500 กิโลกรัม / ตารางเมตรขึ้นไป) มาไว้ในภายหลังหรื อไม่ โดยเฉพาะให้พิจารณาที่ช้ นั ลอย ระเบียง
กันสาด หิ้ง บนชั้นสองขึ้นไป ดาดฟ้ าฯลฯ เป็ นต้น
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
แรง(ต่ อ)
เงือ่ นไขที่ 3.การต่ อเติม
ประเด็นนี้ ให้พิจารณา สถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงาน ที่มีการก่อสร้างต่อเติมโดยมีส่วนยึดติดกับ
โครงสร้างเดิม ซึ่ งการต่อเติมส่ วนใหญ่จะใช้ช่างทัว่ ไปเพราะเห็นว่าเป็ นการต่อเติมเพียงเล็กน้อย เช่น ชั้น
ลอย ระเบียง กันสาด ชั้นวางของที่ยดึ ติดกับโครงสร้างเดิม ฯลฯ เป็ นต้น
การต่อเติมนี้มกั เกิดขึ้นร่ วมกับเงื่อนไขที่ 2 คือการเพิ่มเติมของหนักด้วย
เงือ่ นไขที่ 4. มีแรงกระทำจากภายนอก
ประเด็นนี้ ให้พิจารณาจากเหตุการณ์ในอดีตและปั จจุบนั ว่าสถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงาน ของ
โครงสร้างใดมีแรงกระทบ กระแทก กระเทือนบ้าง เช่น เคยถูกไฟไหม้ เคยถูกรถชน เคยถูกเสาล้มทับ
เคยถูกลมพายุ ฯลฯ แต่ปัจจุบนั ได้รับการซ่อมแซมจนดูเป็ นปกติแล้ว (การซ่อมแซมทำโดยช่างทัว่ ไป)
หรื อปั จจุบนั สภาพที่ปรากฏมีแรงกระทำจากภายนอก เช่น เครื่ องจักรสัน่ สะเทือน ลักษณะการทำงานมี
แรงกระแทกโครงสร้าง มีการตอกเสาเข็มใกล้ๆ ฯลฯ เป็ นต้น เมื่อพบสถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุด
ทำงานใดของโครงสร้างเข้าประเด็นดังกล่าวประเด็นใด ประเด็นหนึ่ง ให้กรอกรายละเอียดลงในตารางที่
1
ตารางที่ 1 สถานที่ทำงานที่สงสัยว่าจะเสี่ ยงต่อโครงสร้างอาคารพังทลาย
ลำดับ สถานที่ / สถานที่ ราย
ทำงาน ละเอียด
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
แรง(ต่ อ)
ขั้นตอนต่ อไปให้ วศิ วกรโยธามาดำเนินการดังนี้
1. ประเมินความเสี่ ยง ว่ายอมรับได้หรื อไม่
2. ถ้ายอมรับไม่ได้ ให้วศิ วกรแนะนำว่าจะควบคุม ป้ องกัน แก้ไข อย่างไร
3. รี บดำเนินการตามคำแนะนำนั้น
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ ายแรง (ต่
อ)
อุบัติภัยร้ ายแรงแบบที่ 2 สารเคมีที่มีพษิ สู ง รั่วไหล ฟุ้ งกระจาย
สารเคมีรั่วไหล ระดับที่จะเป็ นอุบตั ิภยั ร้ายแรง หมายถึง การรั่วไหล ฟุ้ งกระจายในขอบเขตกว้างจนผูค้ นต้องอพยพหนีมิ
ฉะนั้นจะทำให้มีผไู้ ด้รับอันตรายเป็ นจำนวนมาก แต่ถา้ สารเคมีหกรั่วไหลไม่ได้ฟงกระจายไปในขอบเขตกว้
ุ้ าง ผูค้ นไม่ตอ้ ง
หนีให้ประเมินเป็ นอุบตั ิเหตุ ส่ วนสารเคมีที่มีพิษไม่สูง รั่วไหลปกติ ให้ประเมินเป็ นโรคจากการทำงาน
วิธีคดิ
ให้พิจารณา สถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงาน ที่มีเงื่อนไขดังต่อไปนี้
1. มีตวั เหตุที่เป็ นภาชนะปิ ด เช่น ถัง แท้งค์ ท่อ วาล์ว ปั๊ ม คอมเพรสเซอร์ เป็ นต้น โดยเฉพาะที่มีสารเคมีปริ มาณ
มากๆบรรจุอยูใ่ นภาชนะปิ ด ถ้าเปิ ดจะมีสารเคมีภายในไหลออกมา
2. ในภาชนะตามข้อ 1 นั้น ต้องเป็ นสารเคมีอนั ตราย ( โดยดูประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อง ความปลอดภัยในการ
ทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอนั ตราย ลงวันที่ 22 สิ งหาคม 2534 และประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน เรื่ อง
กำหนดชนิดและประเภทของสารเคมีอนั ตราย ลงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2535 กำหนดไว้ 1,580 ลำดับ) หรื อ
สารเคมีที่มีพิษระดับสูงอาจ ดูจากค่า LD 50 ที่มีค่าน้อยกว่า 50 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
3. สารเคมีอนั ตราย ตามข้อ 2. บรรจุอยูภ่ ายในภาชนะที่มีความดัน ซึ่งถ้ารั่วไหลจะพุง่ หรื อฟุ้ งกระจายได้เป็ นบริ เวณกว้าง
โดยเฉพาะเมื่อออกมามีสภาพเป็ นไอหรื อก๊าซและเบากว่าอากาศ
ตารางที่ 2 สถานที่สงสัยว่าจะเสี่ ยงต่อสารเคมีที่มีพิษสูง รั่วไหล ฟุ้ งกระจาย
ลำดับ สถานที่ / สถานที่ทำงาน รายละเอียด
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
ก. สถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงาน ใดที่มีเแรง (ต่้งข้ออ1.)และข้อ 2. และข้อ 3. (1+2+3) ต้องทั้ง 3 ข้อร่วม
งื่อนไขทั
กัน ให้กรอกรายละเอียดลงในตารางที่ 2
ข. นำสถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงานที่ระบุในตารางที่ 2 ไปทำการชี้บ่งอันตราย(Hazard Identification) โดย
วิธีที่เหมาะสม วิธีการที่ใช้ช้ ีบ่งอันตรายได้แก่
- Hazop Analysis
- What If Analysis
- FMEA
- Fault Tree / Event Tree
- Checklist
- ม.อ.ก. 18001
เพื่อให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับการเลือกวิธีการชี้บ่งอันตรายที่เหมาะสม ได้แสดงไว้ในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 แสดงการเลือกวิธีการชี้ บ่งอันตราย
ลักษณะของ ระบบ อุปกรณ์ วิธีการชี้บ่งอันตรายที่
และการทำงาน เหมาะสม
อุปกรณ์ท่ต
ี ่อกันเป็ นกระบวนการ HAZOP , WHAT-IF , CHECK LIST
ระบบท่อ ถัง ปั๊ ม วาล์ว HAZOP , WHAT-IF , FMEA
ระบบควบคุมกระแสไฟฟ้ า WHAT-IF , FMEA
ระบบความปลอดภัยของอุปกรณ์ WHAT-IF , FMEA
ระบบสนับสนุนกระบวนการ HAZOP , WHAT-IF , FMEA
โครงสร้าง WHAT-IF , FMEA , CHECK LIST
กิจกรรม (คน+อุปกรณ์) WHAT-IF , CHECK LIST , JSA จับคู่
เสี่ยง
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
ค.
แรง (ต่ อ)
นำผลจากการชี้บ่งอันตรายไปทำการประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) จะได้ระดับของ ความเสี่ ยง
ออกมาเป็ น :-
1) ความเสี่ ยงที่ยอมรับไม่ได้
2) ความเสี่ ยงสูง
3) ความเสี่ ยงปานกลาง
4) ความเสี่ ยงที่ยอมรับได้
5) ความเสี่ ยงเล็กน้อย
ง. นำสถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงานที่ประเมินความเสี่ ยงแล้วอยูใ่ นระดับที่ ยอมรับไม่ได้ เสี่ ยงสูงและเสี่ ยงปานกลาง
ไปทำการกำหนดวิธีการจัดการความเสี่ ยง (Risk Management) โดยหามาตรการลดความรุ นแรงและ /
หรื อลดโอกาสที่จะเกิด แล้วดำเนินการตามนั้น
กระบวนที่กล่าวมาข้างต้นนี้ตอ้ งใช้ผมู้ ีความรู้เฉพาะเรื่ อง ถ้าหากสถานประกอบกิจการมีสถานที่ /สถานที่ทำงาน / จุด
ทำงานที่เสี่ ยงต่อการรั่วไหล เป็ นจำนวนมากและรุ นแรง ก็จะอยูใ่ นข่ายบังคับให้ปฏิบตั ิตามประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรมฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่ อง มาตรการ
คุม้ ครองความปลอดภัยในการดำเนินงาน ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ซึ่งกำหนดประเภทหรื อชนิดของ
โรงงานไว้ 12 ประเภท (อาจขอคำปรึ กษาเพิ่มเติมได้จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรื อ สำนักงานอุตสาหกรรม
จังหวัด)
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
แรง(ต่ อ)
ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542 ) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่ อง
มาตรการคุม้ ครองความปลอดภัยในการดำเนินงาน ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ได้กำหนดประเภทหรื อชนิดโรงงาน 12
ประเภทที่จะต้องจัดทำและยืน่ รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ ยงจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการโรงงาน ดังต่อไปนี้
1. โรงงานสกัดน้ำมันจากพืช สัตว์ หรื อไขมันสัตว์ เฉพาะที่ใช้สารทำละลายในการสกัด
2. โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ เคมีภณั ฑ์ สารเคมีหรื อวัตถุอนั ตราย
3. โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับปุ๋ ย หรื อสารป้ องกัน หรื อกำจัดศัตรู พืช หรื อสัตว์
4. โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห์ ยางอีลาสโตเมอร์ พลาสติก หรื อเส้นใยสังเคราะห์ซ่ ึงมิใช่ใยแก้ว
5. โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสี น้ำมันชักเงา เชลแล็ค แล็กเกอร์ หรื อผลิตภัณฑ์สำหรับใช้ยาหรื ออุด
6. โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการทำไม้ขีดไฟ วัตถุระเบิด หรื อ ดอกไม้ไฟ
7. โรงงานกลัน่ น้ำมันปิ โตรเลี่ยม
8. โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากปิ โตรเลียม ถ่านหิ น หรื อลิกไนต์
9. โรงงานผลิตก๊าซ ซึ่งมิใช่ก๊าซธรรมชาติ ส่ งหรื อจำหน่ายก๊าซ
10.โรงงานบรรจุก๊าซ
11.โรงงานห้องเย็น
12.โรงงานผลิต ซ่อมแซม ดัดแปลง เครื่ องกระสุ นปื น วัตถุระเบิด หรื อสิ่ งอื่นใดที่มีอำนาจในการประหาร ทำลายหรื อทำให้หมด
สมรรถภาพ ในทำนองเดียวกับอาวุธปื น เครื่ องกระสุ นปื น หรื อวัตถุระเบิดและรวมถึงสิ่ งประกอบของสิ่ งดังกล่าว
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
แรง(ต่ อ)
อุบัติภัยร้ ายแรงแบบที่ 3 ระเบิด
วิธีคดิ
ตัวเหตุที่จะระเบิดได้มี 2 ประเภท คือ สารเคมี และอุปกรณ์
สารเคมี แยกเป็ นสารเคมีที่สงั่ ซื้อเข้ามา และสารเคมีที่เกิดขึ้นหรื อมีอยูโ่ ดยไม่ได้สงั่ ซื้อเข้ามาใช้
ให้จดั ทำระเบียนรายชื่อทางเคมีของสารเคมีที่สงั่ ซื้อเข้ามาครอบครอง แล้วเปิ ดข้อมูล MSDS
หรื อ สอ.1 หรื อสอบถามจากผูผ้ ลิตผูจำ ้ หน่าย ก็จะทราบว่า สารเคมีตวั ใดระเบิดได้ดว้ ยเงื่อนไข
ใดบ้าง แล้วนำจัดเข้าตารางที่ 4 (เฉพาะสารเคมีที่ระเบิดได้) จากนั้นให้พิจารณาสารเคมีชนิดอื่นๆ ที่
มีอยูใ่ นสถานประกอบกิจการด้วย ถ้าไม่มีขอ้ มูลว่าระเบิดได้กไ็ ม่ตอ้ งนำมากรอกในตาราง แล้ว
ตรวจดูอุปกรณ์ที่สงสัยว่าจะระเบิดได้หรื อไม่ (ไม่แน่ใจให้สอบถาม)
ตารางที่ 4 สถานที่สงสัยว่าจะเสี่ ยงต่อการระเบิดจากสารเคมีหรื ออุปกรณ์
ลำดับ ชื่อสารเคมีที่ สถานที่ / สถานที่ เงื่อนไขการระเบิด
ระเบิดได้ ทำงาน

ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ที่ สถานที่ / สถานที่ เงื่อนไขการระเบิด


ระเบิดได้ ทำงาน

หมายเหตุ สารเคมี / อุปกรณ์ที่มีคุณสมบัติระเบิดได้ ให้กรอกไว้ก่อนว่าเป็ นจุดสงสัยว่าจะระเบิดได้ แล้วจึงนำ


ไปชี้บ่งอันตราย / ประเมินความเสี่ ยง / จัดการความเสี่ ยงต่อไป
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
อุบัติภัยร้ ายแรงแบบที่ 4 ไฟไหม้
แรง(ต่ อ)
วิธีคดิ
พิจารณาสถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงาน ที่มีตวั เหตุเป็ นเชื้ อเพลิง ซึ่งมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
1) สารไวไฟ หมายถึง ของแข็ง ของเหลว ก๊าซซึ่งมีคุณสมบัติไวไฟ ซึ่งสามารถเปิ ดเอกสารข้อมูลหรื อสามารถสอบถามหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องได้
2) มีวสั ดุที่ติดไฟง่าย ส่ วนใหญ่จะมีลกั ษณะแห้ง กรอบ หรื ออ่อนหรื อบาง มีปริ มาณมากอยูร่ วมกัน มีปริ มาตร ¼ ลูกบาศก์เมตร
ขึ้นไป ใช้มือ บีบ หัก งอ พับไปตามแรงบีบ หรื อฉี กขาดได้ เช่น กองกระดาษ กล่องกระดาษ สำลี เศษผ้า เศษไม้ แผ่นไม้บางๆ
เป็ นต้นและมีช่องหรื อโพรงให้อากาศเข้า
3)สารปฏิกิริยาเฉพาะ หมายถึง ของแข็ง ของเหลว ก๊าซที่มีปฏิกิริยาเฉพาะเงื่อนไขพิเศษแล้วติดไฟได้ ถ้าพบว่ามีสารที่ไม่แน่ใจหรื อ
เคยเกิดไฟลุกได้เอง ให้สอบถามเพราะสารพวกนี้ บางกรณี ไม่ตอ้ งมีความร้อนก็ติดไฟได้
สถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงาน ตามข้อ 1) 2) 3) ดังกล่าวข้างต้นมีจุดที่ก่อให้เกิดความร้อนที่อยูใ่ กล้พอที่จะมีโอกาส
สัมผัสกันได้หรื อไม่ ดังต่อไปนี้
ก) จุดกำเนิดความร้อนที่ร้อนอยูแ่ ล้วโดยสภาพปกติ เช่น งานเชื่อมโลหะ ลูกไฟ หม้อต้มน้ำ เตา
หลอดไฟฟ้ า เป็ นต้น
ข) จุดกำเนิดความร้อนโดยสภาพปกติยงั ไม่ร้อน หรื อดูเหมือนไม่ร้อน แต่มีเงื่อนไขที่สามารถทำให้เกิดความร้อนได้ เช่น ปลัก๊ ไฟ ข้อ
ต่อสายไฟ หลังคาสังกะสี การลากถังโลหะกับพื้นที่ขรุ ขระ ไฟฟ้ าสถิตย์เป็ นต้น
ถ้ามีให้กรอกรายละเอียดลงในตารางที่ 5 โดยการจับคู่ เช่น 1/ก 2/ข หรื อ 3 (สารปฏิกิริยาเฉพาะไม่ตอ้ งจับคู่)
ตารางที่ 5 สถานที่สงสัยว่าจะเสี่ ยงต่อไฟไหม้

ลำดับ สถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุด ราย


ทำงาน ละเอียด
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้ องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
แรง(ต่ อ)
นำสถานที่ / สถานที่ทำงาน / จุดทำงานในตารางที่ 5 ไปดำเนินการแยก
ออกจากกันไม่ให้มีโอกาสสัมผัสกัน หรื อถ้าทำไม่ได้ ให้ทำฉนวนปิ ดคลุม แล้วทำ
แบบตรวจ ส่ วนสารปฏิกิริยาเฉพาะให้ปรึ กษาผูเ้ ชี่ยวชาญ
หมายเหตุ การควบคุมอุบตั ิภยั ร้ายแรงจะเน้นแก้ไขปรับปรุ งที่ตวั เหตุเป็ นหลัก
โดยจะใช้วธิ ีการควบคุมที่ตวั เหตุ โดยควบคุมจนทำให้คนทำงานมีผลต่อการเกิด
เหตุการณ์นอ้ ยและแน่นอนที่สุด เมื่อดำเนินการครบถ้วนตามขั้นตอนดังกล่าว ก็จะ
ได้แผนป้ องกันและปฏิบตั ิการต่อเหตุฉุกเฉิ น (Emergency Respons
e Plan) ของสถานประกอบกิจการต่อไป
สำหรับเอกสารชุดนี้ จะกล่าวเรื่ อง อุบตั ิภยั ร้ายแรงไว้พอสังเขป โดยเน้นที่วธิ ี
การค้นหาจุดสงสัยว่าจะเสี่ ยงเท่านั้น
เรื่องที่ 3.3.2 หลักการชี้บ่งอันตรายเพือ่ ป้องกันอุบัตภิ ยั ร้ าย
แรง(ต่ อ)
ขั้นตอนการปฏิบัติในการชี้บ่งอันตรายจากอุบัติภัยร้ ายแรง
1. ให้เริ่ มจากแผนผังสถานที่ทำงาน (Workplaces) ก่อน เสร็ จแล้วต่อด้วยสถานที่ทวั่ ไป (Places)
โดยพิจารณาเฉพาะตัวเหตุ ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ กรอกรายละเอียดลงในตาราง ก็จะได้จุดที่สงสัยว่าจะเสี่ ยงต่อ
โครงสร้างพังทลาย หรื อสารเคมีที่มีพิษสูงรั่วไหล ฟุ้ งกระจาย หรื อการระเบิด หรื อไฟไหม้ แล้วแต่กรณี
2. นำข้อมูลของจุดที่สงสัยว่าจะเสี่ ยงต่อการเกิดโครงสร้างพังทลาย หรื อสารเคมีที่มีพิษสู ง รั่วไหล ฟุ้ งกระจาย
หรื อระเบิด หรื อไฟไหม้ ไปทำการชี้บ่งอันตราย (Hazard Indentification) ด้วยวิธีการที่เหมาะ
สม ดังแสดงในตารางที่ 3
3. นำผลจากข้อ 2 ไปทำการประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment)
4. นำจุดที่เสี่ ยง (ในระดับที่ตอ้ งแก้ไข) ไปดำเนินการจัดการความเสี่ ยง (Risk Management)
หมายเหตุ การควบคุมป้ องกันอุบตั ิภยั ร้ายแรง เน้นการแก้ไขที่ตวั เหตุ จนความเสี่ ยงลดลงถึงระดับที่น่าพอใจ
หรื อยอบรับได้ ไม่เน้นการแก้ไขที่ตวั คน (ต่างกับกรณี การชี้บ่งอันตรายจากอุบตั ิเหตุ)
การชี้บ่งอันตรายเพื่อป้ องกันอุบตั ิภยั ร้ายแรงจะต้องมีการจัดทำและรวบรวมเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของ
สารเคมี(MSDS)ทั้งหมดที่ใช้ในสถานประกอบกิจการ แล้วสรุ ปสาระที่สำคัญๆ เพื่อความสะดวกในการ
ค้นหาข้อมูล ดังแสดงในตารางที่ 6
ตารางที่ 6 แสดงรายละเอียดที่สำคัญของสารเคมี
ชื่อสารเคมี คุณสมบัติ ไฟไหม้ หก รัว่ ไหล การปฐมพยาบาล
กิจกรรม
คำถามท้ ายบท
• จงอธิบายความหมายของอุบตั ิภยั ร้ายแรงและการชี้ บ่งอันตรายเพื่อ
ป้ องกันอุบตั ิภยั ร้ายแรง
• การค้นหาจุดสงสัยว่าจะเสี่ ยงในการเกิดอุบตั ิภยั ร้ายแรง มีกี่แบบ อะไร
บ้าง
• จงอธิบายเงื่อนไขการเกิดอุบตั ิภยั ร้ายแรงจากโครงสร้างอาคารพังทลาย
และสารเคมี มีพิษสู ง รั่วไหลฟุ้ งกระจาย

You might also like