You are on page 1of 4

ซิก้า กาวโพลียูรีเทน

ตารางการเตรียมพื้นผิว- Sika
สำ�หรับโพลียูรีเทนชนิดสวนผสมเดียว
กาวสำ�หรับงานยึดติด และงานยาแนว Sikaflex®-2xx
และ SikaTack®

Version 03 (08/2010)

®
กาวติดยึดและกาวยาแนว Sikaflex ®
-2xx และ SikaTack ®

ระดับ รายละเอียด

1 ก) งานยาแนวรอยต่อทั่วไป สำ�หรับเชื่อมต่อชิ้นส่วนขนาดเล็กซึ่งมีการเคลื่อนตัวของรอยต่อค่อนข้างน้อย
ข) งานเชื่อมยึดภายในส่วนที่ไม่ใช่โครงสร้าง ซึ่งต้องไม่สัมผัสกับภาวะอุณหภูมิสูงจัดแม้ในช่วงระยะเวลาอันสั้น และไม่สัมผัสกับน้ำ�

2 ก) งานยาแนวรอยต่อที่เกี่ยวกับชิ้นส่วนขนาดใหญ่ ซึ่งมีการเคลื่อนของรอยต่อ
ข) งานเชื่อมยึดภายในและภายนอก ภายใต้สภาวะแวดล้อมปกติ

3 งานนอกเหนือจากระดับ 1 และ 2 ซึ่งต้องมีความต้องการพิเศษเฉพาะ

การเตรียมพื้นผิวก่อนการทำ�งาน: ระดับ

1 2 3
พื้นผิววัสดุต้องแห้งสนิท ปราศจากคราบน้ำ�มัน ไขมัน และฝุ่น
พื้นผิวส่วนที่สกปรกสามารถทำ�ความสะอาดได้ด้วย

การทำ�ความสะอาด/

การทำ�ความสะอาด/
Sika ®

Remover 208 หรืออาจใช้ผลิตภัณฑ์อื่น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะ

การเตรียมพื้นผิว

การเตรียมพื้นผิว
ของคราบสิ่งสกปรก เช่น Sika Cleaner P หรือสารทำ�ความ
®

วัสดุรองพื้น

วัสดุรองพื้น
สะอาดซึ่งมีน้ำ�เป็นส่วนผสมหลัก หรือเครื่องทำ�ความสะอาด
ด้วยแรงดันไอน้ำ� ฯลฯ ขอแนะนำ�ให้ตรวจสอบความเหมาะสม

เชิงกล
เชิงกล
ของผลิตภัณฑ์ทำ�ความสะอาดก่อนการใช้งาน

AP SA AP 205 210
อะลูมิเนียม (AlMg3, AIMgSi1)
AP 205 AP 205 204 N
1

205 204 N
อะลูมิเนียม (ชุบเคลือบป้องกันการผุกร่อน) SA
SA 206 GP
2

205 204 N AP 205 204 N


เหล็ก (เช่น St37)
SA 206 GP AP SA 206 GP
3

205 AP 205 210


เหล็ก (สแตนเลส)
SA AP 205 204 N
4

SA AP SA 206 GP
เหล็ก (ชุบสังกะสี)
205 AP 205 210
5

SA
วัสดุเคลือบผิวชั้นบน(ประเภท โพลียูรีเทน,อะคริลิค) SA 206 GP
SCA

กรุณาติดต่อฝ่ายบริการทางด้านเทคนิค
10

SCA SCA
วัสดุเคลือบผิวประเภทสีผุ่น (PES, EP/PES)
SA AP SA 206 GP
10

สีรองพื้นชนิดสองส่วนผสมแบบมีน้ำ�เป็นส่วนผสม SA
และผิวเคลือบชั้นบน (โพลียูรีเทน, อะคริลิค) SA 206 GP
10
SCA

SA
ผิวชุบเคลือบคาโทด
10
SA SA 206 GP

205 AP 205
ผิวเคลือบคอยล์
10
SCA SCA 206 GP

พลาสติก FRP (โพลีเอสเตอร์ชนิดไม่อิ่มตัว) AP SA


SA
ด้านที่เคลือบเจลโค้ท หรือ SMC SA 206 GP
6 9

พลาสติก FRP (โพลีเอสเตอร์ชนิดไม่อิ่มตัว) SA 206 GP


GRV SA 206 GP
ด้านที่เคลือบทับ GRV 205 215
6 9

215 205 215


ABS (เอบีเอส)
7
209 D SA 209 D

พีวีซีชนิดแข็ง 7
215 205 215
AP SA 209 D
PMMA/PC (ไม่มีการเคลือบป้องกันรอยขีดข่วน) SA 209 D
AP SA 206 GP
7 8

SA
กระจก SA
9
SA 206 GP

SA
กระจกที่มีการเคลือบพ่นเซรามิค SA
9
SA 206 GP

ไม้อัด 215
11

1 ถึง 4 ให้ดูหน้าสุดท้ายเรื่อง “คำ�อธิบายในการเตรียมและปรับผิววัสดุ”


วิธีที่ 1 คือ ข้อปฏิบัติที่แนะนำ�
วิธีที่ 2 คือ ทางเลือกอื่นที่ปฏิบัติได้
สำ�หรับการใช้เพื่อยึดพื้นผิวหรือยาแนวรอยต่อ ไม่จำ�เป็นต้องเตรียมพื้นผิว (เช่น ขัด ทำ�ความสะอาด/กระตุ้นพื้นผิว ทารองพื้น)
กรุณาศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น แนวปฏิบัติทั่วไปสำ�หรับ "การยึดหรือยาแนวรอยต่ือด้วยผลิตภัณฑ์ Sikaflex “, เอกสารข้อมูลผลิตภัณฑ์, ฯลฯ
®

การทดสอบการยึดติดของกาวใช้มาตรฐาน DIN 54457 และมาตรฐานภายใน CQP 033-1 เป็นหลัก


การใช้งานตารางการเตรียมพื้นผิว- Sika ®

ข้อมูลเกี่ยวกับการเตรียมพื้นผิวในเอกสารฉบับนี้ใช้เพื่อเป็นแนวปฏิบัติเท่านั้น และต้องได้รับการตรวจพิสูจน์โดยการทดสอบจาก
ชิ้นงานจริง ท่านสามารถขอรับคำ�แนะนำ�ในการเตรียมพื้นผิวสำ�หรับงานเฉพาะทางซึ่งอ้างอิงจากการทดสอบในห้องปฏิบัติการ
ได้จาก Sika

ผลิตภัณฑ์ Sika® ฑฎRemover-208 Sika® Aktivator-205 Sika® Aktivator

สี ใส ไม่มีสี ใส ไม่มีสี ค่อนข้างเหลืองใสเล็กน้อย


ชนิดของผลิตภัณฑ์ สารทำ�ความสะอาด สารเพิ่มการยึดติด สารเพิ่มการยึดติด
โดยทั่วไปอยู่ระหว่าง 10-35๐ (40-95F๐)
อุณหภูมิในการใช้งาน
สำ�หรับเงือนไขพิเศษกรุณาติดต่อ ฝ่ายบริการทางเทคนิค
การใช้งาน ผ้าขาวสะอาด ไม่มีขุย, กระดาษทิชชูแผ่นใหญ่
ปริมาณการใช้ ประมาณ 40 มิลลิลิตร ต่อตารางเมตร
เวลารอแห้ง (Flash-off) อยู่ระหว่างเวลา 10 นาที แต่ไม่ควรเกิน 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ชนิดของผลิตภัณฑ์ และเง่ื่อนไขสภาพแวดล้อม
(23 oC / ความชื้นสัมพัทธ์ 50% ) อ้างอิงตามเอกสาร ข้อมูลผลิตภัณฑ์
สีของฝาปิดภาชนะ แดง เหลือง ส้ม
ผลิตภัณฑ์ Sika® Primer-206 G+P Sika® Primer-290ฏ D Sika® Primer-210 Sika® Primer-215

สี ดำ� ดำ� เหลืองใส เหลืองใส


ชนิดของผลิตภัณฑ์ น้ำ�ยารองพื้น
โดยทั่วไปอยู่ระหว่าง 10 - 35oC (40 - 95oF)
อุณหภูมิในการใช้งาน
สำ�หรับเงือนไขพิเศษกรุณาติดต่อ ฝ่ายบริการทางเทคนิค
ควรเขย่ากระป๋อง ควรเขย่ากระป๋อง ก่อนการใช้งานประมาณ 2-3 นาที ไม่ต้องเขย่า
ก่อนการใช้งาน จนกระทั่งไม่ได้ยินเสียงของลูกบอลในกระป๋อง เปิดฝาใช้งานได้ตามปกติ
การใช้งาน แปรง / ผ้าสักหลาด / โฟมเฉพาะสำ�หรับน้�ำ ยารองพืน้
ประมาณ 100-150 มิลลิลิตร ต่อตารางเมตร
ปริมาณการใช้ สำ�หรับพื้นที่มีรูพรุนมากจะใช้ประมาณ 200 มิลลิลิตรต่อตารางเมตร
อ้างอิงตามเอกสารข้อมูลผลิตภัณฑ์

เวลารอแห้ง อยู่ระหว่างเวลา 10 นาที แต่ไม่ควรเกิน 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ชนิดของผลิตภัณฑ์ และเง่ื่อนไข สภาพแวดล้อม


(23 oC / ความชื้นสัมพัทธ์ 50% ) อ้างอิงตามเอกสารข้อมูลผลิตภัณฑ์
สีของฝาปิดภาชนะ ดำ� เขียว เทา น้ำ�เงิน
หมายเหตุ: Sika จฎ Aktivator และ Sika จฎ Primer เป็นวัสดุที่จะทำ�ปฏิริยาแห้งตัวเมื่อสัมผัส เพื่อควบคุมให้ ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพที่ดี ควรปิดฝาภาชนะทันทีหลังเปิดฝาใช้งาน
® ®

ในกรณีที่มีการใช้งาน เปิด-ปิดฝา บ่อยครั้ง สามารถใช้งานได้ไม่เกิด 2 เดือน หลังจากการ เปิดใช้ครั้งแรก


ในกรณีที่มีการใช้งาน ไม่บ่อย สามารถใช้งานได้ไม่เกิน 2 เดือนหลังจากที่เปิดใช้ครั้งแรก
ในการเลือกใช้ฟองน้ำ� จะต้องพิจารณา ถึงความทนทานต่อ ตัวทำ�ละลาย เช่น โฟมเมลามีน Bolsotect จาก BASF เป็นโฟมที่เหมาะสมในการใช้งาน

ข้อมูลทางกฎหมาย
ตัวย่อ ผลิตภัณฑ์ / คำ�อธิบาย ข้อมูลที่ระบุในที่นี้และข้อเสนอแนะใดๆ เป็นข้อมูลที่ให้โดยอ้างอิงจากความรู้ปัจจุบันและประสบการณ์ของผลิต
ไม่ต้องการการดูแลรักษาพิเศษในการเตรียมชิ้นงาน ภัณฑ์ต่างๆ ของ Sika โดยจะต้องมีการจัดเก็บ ขนย้ายอย่างเหมาะสม และใช้งานภายใต้สภาวะปกติตามคำ�แนะ
นำ�ของ Sika ข้อมูลนี้ใช้สำ�หรับการใช้งานและผลิตภัณฑ์ที่ระบุไว้ในที่นี้เท่านั้น และเป็นข้อมูลที่ได้จากการทดสอบ
208 Sika® Remover-208 ในห้องปฏิบัติการซึ่งไม่สามารถใช้แทนการทดสอบในภาคปฏิบัติจริงได้ ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงตัวแปรต่างๆ
ในการใช้งาน เช่น การเปลี่ยนแปลงวัสดุ ฯลฯ หรือ ในกรณีของการใช้งานที่แตกต่างออกไป ให้ปรึกษาหน่วยงาน
SCP Sika® Cleaner P บริการทางด้านเทคนิคของ Sika ก่อนการใช้ผลิตภัณฑ์ของ Sika ข้อมูลที่ให้ไว้ในที่นี้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นเท่านั้น
กระดาษทราย (เบอร์ 60-80) และทำ�ความสะอาด ผู้ใช้งานจะต้องทำ�การทดสอบผลิตภัณฑ์ในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการก่อนการใช้งานจริง คำ�สั่งซื้อทั้ง
ฌฑGR-V หมดอยู่ภายใต้เงื่อนไขการขายและการจัดส่งของ Sika ฉบับล่าสุด ผู้ใช้งานจะต้องอ้างถึงข้อมูลทางด้านเทคนิค
โดยการใช้เครื่องดูดฝุ่น
ของผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องฉบับล่าสุด ซึ่ง Sika จะส่งเอกสารข้อมูลผลิตภัณฑ์ดังกล่าวให้ตามที่ผู้ใช้งานร้องขอ
AP แผ่นขัดแบบละเอียดมาก
205 Sika® Aktivator-205
SA Sika® Aktivator

SCA Sika® Coating Aktivator

204 N Sika® Primer-204 N

206 GP Sika® Primer-206 G+P


ผู้จำ�หน่าย
209 D Sika® Primer-209 D

210 Sika® Primer-210

215 Sika® Primer-215

TS ฝ่ายบริการทางด้านเทคนิค Sika BU Industry


คำ�อธิบายในการเตรียมและปรับผิววัสดุ
1. อะลูมิเนียม 6. FRP (พลาสติกเสริมใยแก้ว) 9. วัสดุที่โปร่งใสหรือโปร่งแสง
อะลูมิเนียมและอะลูมิเนียมอัลลอยจะจำ�หน่ายในรูป วัสดุในกลุ่มนี้ ส่วนใหญ่ก็คือ พลาสติกชนิดเทอร์โมเซ็ต ในกรณี ข องวั ส ดุ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ โ ปร่ ง ใสหรื อ โปร่ ง แสง
ของโครง, ส่วนตัด, แผ่นรีดบาง, แผ่นชิ้น และงานหล่อ ติ้ ง เป็ น ส่ ว นใหญ่ ซึ่ ง ผลิ ต มาจากโพลี เ อสเทอร์ ช นิ ด ไม่ ซึ่งตำ�แหน่งของผิวการเชื่อมจะต้องสัมผัสโดยตรงกับ
ข้อมูลที่ระบุในการเตรียมพื้นผิวและการรองพื้นในที่นี้ อิ่มตัว และอีกส่วนหนึ่งคือ อีพ็อกซี่เรซิ่นหรือโพลียูรีเทน แสงแดดผ่านชั้นโปร่งใสหรือโปร่งแสง ต้องทำ�การเสริม
จะเกี่ยวข้องกับกลุ่มผลิตภัณฑ์นี้เท่านั้น โลหะผสมซึ่ง ส่วนประกอบที่ผลิตกันในปัจจุบนั นีท้ �ำ จากโพลีเอสเทอร์ วัสดุกั้นแสงอัลตราไวโอเลตเข้าไปเพื่อป้องกันรอยเชื่อม
ประกอบด้ ว ยแมกนี เ ซี ย มอาจมี ส ารประกอบของ ชนิ ด ไม่ อิ่ ม ตั ว ซึ่ ง มี ส่ ว นผสมของสไตรี น ในรู ป แบบโม ของกาว ซึ่งอาจทำ�ได้โดยการใช้ ก) เทปทึบแสง ข)
แมกนี เ ซี ย มออกไซด์ ซึ่ ง ละลายได้ ใ นน้ำ � อยู่ บ นพื้ น ผิ ว เลกุลเดี่ยวและมีกลิ่นเฉพาะตัว ส่วนประกอบเหล่านี้ไม่ กรอบพิมพ์พรางแสง หรือ ค) วัสดุรองพื้นสีดำ�สำ�หรับ
จะต้องกำ�จัดชั้นของสารประกอบออกไซด์นี้ออกโดยใช้ สามารถเกิดการแห้งได้อย่างสมบูรณ์ เมื่อถอดออกจาก วัสดุกึ่งโปรงใส เช่น พลาสติก GRP หรือพลาสติกพิมพ์
แผ่นขัดที่มีความละเอียดสูง ในกรณีของอะลูมิเนียมซึ่ง แม่พิมพ์แล้วก็ยังหดตัวลงได้อีก ด้วยเหตุนี้ ในการเชื่อม ลายชนิดโปร่งแสง เนื่องจากการใช้งานภายนอกอาคาร
ผ่านกระบวนการบำ�บัดพื้นผิวมาแล้ว (เช่น ต่อจึงควรเลือกใช้พลาสติก FRP ชนิดที่หล่อจากแบบ จะต้องสัมผัสกับแสงอัลตราไวโอเลตเป็นประจำ� การใช
ชุบโครเมียม, ชุบอโนไดซ์ หรือเคลือบผิว) สามารถ ้วัสดุรองพื้นสีดำ�เพื่อป้องกันแสงอัลตราไวโอเลตเพียง
เตรียมพื้นผิวโดยใช้การบำ�บัดขั้นต้นอย่างง่ายก็เพียงพอ พิมพ์ที่ใช้ระยะเวลาหรือเร่งอุณหภูมิเท่านั้น ด้านเรียบ
(ด้านเจลโค้ท) อาจมีคราบของน้ำ�ยาทาแบบพิมพ์ติด อย่างเดียวจึงไม่เหมาะสม (ยกเว้น งานต้นแบบซึ่งคาด
อยู่ ซึ่งจะส่งผลเสียต่อการยึดเกาะของกาว ส่วนด้าน ว่ามีอายุการใช้งานเพียงสั้นๆ เท่านั้น) สำ�หรับการใช้
2. อะลูมิเนียมชนิดชุบอโนไดซ์ หยาบที่อยู่อีกด้านหนึ่งซึ่งสัมผัสกับอากาศในระหว่าง งานภายในอาคารและมี แ นวเชื่ อ มที่ สั ม ผั ส กั บ แสง
อะลูมิเนียมเป็นวัสดุที่ไวต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น อัลตราไวโอเลตเป็นบางครั้ง การใช้วัสดุรองพื้นสีดำ�
เมื่อสัมผัสกับอากาศ ปฏิกิริยาออกซิเดชั่นทางไฟฟ้า การผลิต โดยปกติแล้วจะมีการเคลือบพาราฟินเพื่อ
ช่วยการแห้งตัวในอากาศ จึงจำ�เป็นต้องขัดผิวให้ทั่วก่อน เพี ย งอย่ า งเดี ย วเพื่ อ ป้ อ งกั น แสงอั ล ตราไวโอเลตก็
เคมีหรือทางเคมีทำ�ให้เกิดการสร้างชั้นผิวที่ทนทานและ เป็นการเพียงพอแล้ว
มีความหนาสม่ำ�เสมอ พื้นผิวที่ผ่านกระบวนการบำ�บัด ทำ�การเตรียมพื้นผิวต่อไป สำ�หรับพลาสติก FRP ส่วน
แบบนี้จะดูดซับสีย้อมหรือเม็ดสีได้อย่างดีเยี่ยม ในการ ที่ ห ล่ อ บางซึ่ ง ทำ � จากวั ส ดุ โ ปร่ ง ใสหรื อ วั ส ดุ ที่ มี สี อ่ อ น 10. พื้นผิวเคลือบหรือทาสี
เพิ่มความทนทานทางเคมีของชั้นออกไซด์และ/หรือรอย จะมีคุณสมบัติโปร่งแสง ในกรณีเช่นนี้ จะต้องฉาบ การทดสอบเบื้องต้นเป็นสิ่งที่จำ�เป็นก่อนทำ�การเชื่อมต่อ
ต่อในชั้นสีนั้น โดยปกติจะใช้แล็คเกอร์ใสที่มีส่วนผสม ทาวัสดุปัองกันแสงยูวีที่เหมาะสม (อ่านเพิ่มเติมในข้อ 9 ชิ้นวัสดุกับพื้นผิวเคลือบ โดยหลักการทั่วไป ระบบพื้น
ต่างๆ ทางเคมีเคลือบเงาบนพื้นผิว จึงจำ�เป็นต้องมีการ พื้นผิวโปร่งใสหรือโปร่งแสง) ในกรณีของพลาสติก FRP ผิวที่ผ่านกระบวนการทางความร้อน (การจุ่มเคลือบ
ทดสอบเบื้องต้นเพื่อตรวจสอบการยึดเกาะของกาวกับ ที่มีส่วนประกอบของสารไวไฟ จะต้องทำ�การทดสอบ แบบคาตาโฟรีติค, การพ่นเคลือบด้วยสีผง) หรือผ่าน
วัสดุเหล่านี้ เบื้องต้นเพื่อหาวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการเตรียมพื้นผิว การเพิ่มปฏิกิริยาโพลีเมอร์ไรเซชัน (อีพ็อกซี่หรือสีโพลียู
รีเทน) จะสามารถเชื่อมต่อได้ด้วยผลิตภัณฑ์ Sikaflex®
3. เหล็ก 7. พลาสติก แต่สีน้ำ�มันชนิดอัลคิดเรซิ่น (Alkyd resin) ซึ่งแห้งด้วย
เหล็ ก จะเกิ ด การกั ด กร่ อ นทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ สภาวะการ พลาสติกบางชนิดต้องการกระบวนการบำ�บัดพิเศษทาง ปฏิกิริยาออกซิเดชันจะไม่เหมาะสมสำ�หรับการเชื่อมต่อ
สัมผัสกับสภาพแวดล้อม วัสดุรองพื้น Sika® ซึ่งใช้ ฟิสิกส์ - เคมีก่อนจึงจะสามารถทำ�การเชื่อมต่อได้ สำ � หรั บ สี ที่ ผ่ า นกระบวนการด้ ว ยกลไกทางกายภาพ
ทาบนพื้นผิวเป็นชั้นฟิล์มบางๆ ไม่ได้ทำ�หน้าที่ป้องกัน (การเตรียมผิวด้วยเปลวไฟ หรือการกัดผิวด้วยพลาสมา โดยปกติจะเคลือบด้วยโพลีไวนิลบิวทีรัล (polyvinyl
การกัดกร่อนดังกล่าว butyral) หรืออีพ็อกซี่เรซิ่นเอสเทอร์ ซึ่งโดยทั่วไปจะ
ร่วมกับวิธีการเตรียมผิวทางเคมี) ตัวอย่างเช่น โพลีโพ ใช้ได้กับวัสดุยาแนวเท่านั้น กล่าวคือ ไม่ละลายปนกับ
รพีลีนและโพลีเอธิลีน เนื่องจากพลาสติกผสมมี กาว ข้อควรระวัง: สารเติมแต่งในสีซึ่งใช้ในการปรับ
4. เหล็กสแตนเลส มากมายหลายชนิด จึงไม่สามารถให้คำ�แนะนำ�ที่เฉพาะ แต่งการก่อตัวของชั้นฟิล์ม เช่น สารปรับสภาพ, ซิลิโคน,
“สแตนเลส” และ “เหล็กชนิดพิเศษ” มีความหมายรวม เจาะจงลงไปได้ พลาสติกผสมแต่ละอย่าง รวมถึงน้ำ�ยา
ถึงกลุ่มผลิตภัณฑ์ซึ่งมีความหลายหลายของส่วนผสม สารลดความเงาของผิว ฯลฯ อาจส่งผลเสียต่อการยึด
ทาแบบพิมพ์ทั้งด้านในด้านนอก ต่างก็มีส่วนประกอบ ติดกับพื้นผิวสี ในการเคลือบผิว จึงจำ�เป็นต้องมีการ
ทางเคมีและการแต่งผิว คุณสมบัติเหล่านี้มีผลกระทบ แตกต่างกันไป เทอร์โมพลาสติกจะมีความเสี่ยงต่อการ
อย่างยิ่งต่อการยึดเกาะของกาว พื้นผิวอาจมี ตรวจสอบเพือ่ ให้มคี ณ ุ ภาพและส่วนประกอบทีส่ ม่�ำ เสมอ
แตกร้าวจากแรงเครียดได้ ดังนั้น ส่วนประกอบที่ขึ้นรูป โดยใช้ระบบรับประกันคุณภาพ
สารประกอบโครเมียมออกไซด์เพียงชนิดเดียว การขัด ด้วยความร้อนจะต้องผ่านการคลายแรงเครียดออกก่อน
สารนี้ออกด้วยแผ่นขัดที่มีความละเอียดสูงจะช่วยเพิ่ม ทำ�การเชื่อมต่อโดยควบคุมการให้ความร้อน 11. ไม้อัดเคลือบฟิล์มฟีโนลิค
ประสิทธิภาพในการยึดเกาะของกาว แผ่นไม้อัดประเภทนี้ มีการเคลือบกันน้ำ�ด้วยชั้นฟิล์มสี
8. PMMA / PC เหลืองหรือน้ำ�ตาลที่ผิวด้านนอก การเตรียมพื้นผิว
5. เหล็กเคลือบสังกะสี สามารถทำ�ได้เช่นเดียวกับการเตรียมพื้นผิวสำ�หรับการ
สำ�หรับวัสดุ PMMA และ PC เราขอแนะนำ�ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ ทาสีและการเคลือบ แต่เนื่องจากความหลากหลายของ
หลักการในการเคลือบสังกะสีบนเหล็ก คือ ก)
Sikaflex®-222 UV หรือ Sikaflex®-295 ร่วมกับเทปป้อง
กระบวนการรีดเย็นเซนด์ซิเมียร์ (Sendzimir), ข) สารที่ใช้เคลือบ อาจทำ�ให้ประสิทธิภาพในการยึดติดไม่
เคลือบสังกะสีโดยวิธีทางไฟฟ้า (Electrogalvanizing), ค) กันแสงอัลตราไวโอเลต (อ่านเพิ่มเติมในข้อ 7 และ 9) เป็นไปตามที่ต้องการ ในกรณีเช่นนี้ ให้ขัดพื้นผิวลง
การจุ่มเคลือบร้อน หรือ การเคลือบกัลวาไนซ์อย่างต่อเนื่ ในกรณีที่มีการเคลือบเพื่อป้องกันรอยขีดข่วนบนวัสดุ จนกระทั่งถึงเนื้อไม้ก่อน แล้วจึงทำ�การเตรียมพื้นผิวดัง
อง ในกรณีของ ก) และ ข) มีการเตรียมพื้นผิวของวัสดุ PMMA และ PC ให้ใช้กระดาษทราย (เบอร์ 120) ขัดชั้น กล่าว
ให้มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ และส่วนประกอบบนชั้นผิ นี้ตรงบริเวณที่จะมีการเชื่อมต่อ และเตรียมพื้นผิวเช่นเดี
วมีความสม่ำ�เสมอพอสมควร แต่สำ�หรับส่วนผสมบนผิ ยวกับวัสดุที่ไม่มีการเคลือบ การทาทับสี
วของชิ้นส่วนซึ่งผ่านการจุ่มเคลือบร้อนจะไม่มีความสม่ำ� ผลิตภัณฑ์ Sikaflex® สามารถทาทับด้วยระบบสีแบบ
เสมอ ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องตรวจสอบการยึดเกาะของก ธรรมดาได้เกือบทุกชนิด โดยจะมีประสิทธิภาพสูงสุด
าวเป็นระยะๆ เหล็กที่เคลือบด้วยสังกะสีน้ำ�มันต้องขจัด เมื่อปล่อยให้วัสดุยาแนวแห้งสนิทเสียก่อน หากจำ�เป็น
ความมันออกก่อนใช้งาน อย่าใช้วัสดุขัดถูในกรณีของเห ต้องทาสีทับก่อนเวลาอันควร ให้ตรวจสอบความเข้ากัน
ล็กเคลือบสังกะสีโดยวิธีทางไฟฟ้า ได้กับสีที่ใช้ โปรดสังเกตว่าสีที่ไม่มีความยืดหยุ่นจะขัด
ขวางการเคลื่อนที่ของรอยต่อ ซึ่งในกรณีที่เลวร้ายที่สุด
อาจนำ�ไปสู่การแตกร้าวของสีได้ สีซึ่งมีส่วนผสมของ
พีวีซีและสีชนิดที่แห้งด้วยปฏิกิริยาออกซิเดชัน (ในตัวทำ�
ละลายน้ำ�มันหรืออัลคิดเรซิ่น) โดยทั่วไปจะไม่เหมาะกับ
การทาทับบนผลิตภัณฑ์ Sikaflex®

บริษัท ซิก้า (ประเทศไทย) จำ�กัด


700/37 หมู่ที่ 5
นิคมอุตสาหกรรมบางปะกง 2 ถ.บางนา-ตราด
ต.คลองตำ�หรุ อ.เมืองชลบุรี
จ.ชลบุรี 20000
โทร: + 66 3821 4270-85
แฟกซ์: + 66 3821 4286
www.sika.co.th

®
04/2009

You might also like