You are on page 1of 14

F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ

กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)


สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

ส่ วนที่ 1 รายละเอียดของงานหรื อกิจกรรมที่ทาํ (โดย Job Owner) _______________________________________________________JSEA No.


ชื่องาน/กิจกรรม งานเจาะเสาเข็มสําหรับ EPS Expansion Phase 3 Project
รายละเอียดของงาน/กิจกรรม.ก่อสร้างงานเสาเเข็มเจาะระบบแห้งด้วยเครื องเจาะแบบสามขา (Bore Pile, Dry Process- Tripod) และ งานสํารวจเพื่อตรวจสอบใต้ดิน (Verify underground by water jet)
วัตถุประสงค์ของงาน/กิจกรรม ….. เสริมรากฐานของอาคารและเครื่ องจักรที่นํามาติดตั้ง .ระยะเวลาปฏิบตั ิงาน 3 มกราคม 2563 ถึง 31 เมษายน 2563
สถานที่ปฏิบตั ิงาน PTTGC Branch 2 Plant, Map-Ta-Phut Industrial Estate, Rayong, Thailand
อุปกรณ์/เครื่ องมือที่ใช้ เครื่ องเจาะเสาเข็ม,รถเฮี๊ยบ เทรลเลอร์ติดเฮี๊ยบ รถกระบะ รถส่ งคอนกรี ต อุปกรณ์เครื่ องมือช่าง AIRCOMPRESSOR JCB เครื่ องกําเนิดไฟฟ้า Gennarator, รถเครน .
ส่ วนที่ 2 การชี้บ่งอันตรายและลักษณะปัญหาสิ่ งแวดล้ อม และการกําหนดมาตรการป้องกัน (โดย JSEA Team)
ด้ านความปลอดภัย: การบาดเจ็บ/เจ็บป่ วย ไฟไหม้/ระเบิด ทรัพย์สินเสี ยหาย กระทบต่อกระบวนการผลิต เช่น เปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิ ไม่มีผลกระทบ
ด้ านสิ่ งแวดล้ อม: มลพิษทางอากาศ/กลิ่น เสี ยงดัง นํ้าเสี ย/ปนเปื้ อน ดินปนเปื้ อน ทัศนียภาพ/ภาพลักษณ์ อื่นๆ ไม่มีผลกระทบ
ชี้บ่งอันตรายและผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อมที่อาจจะเกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนและกําหนดมาตรการป้องกัน p_pramnuch@hotmail.com
ผลการตรวจสอบการ
ลําดับที่ ขั้นตอนการทํางาน อันตรายหรื อผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ มาตรการป้องกันหรื อลดอันตราย/ผลกระทบ
ปฏิบัติ
1. 1.1 งานขนย้ายเครื่ องมือ วัสดุและ 1.1.1 รถเฉี่ ยวชน กระแทกอุปกรณ์ของโรงงานหรื อ 1.1.1.1 รถที่มาใช้งานต้องผ่านการตรวจสภาพจาก PTTGC
อุปกรณ์เข้า-ออกพื้นที่ อุปกรณ์ของอาคารสถานที่เสี ยหาย พร้อมติดสติ๊กเกอร์ ก่อนนํารถเข้ามาปฏิบตั ิ
1.1.2 เกิดประกายไฟจากท่อไอเสี ยรถ ทําให้เกิดไฟลุก 1.1.1.2 ต้องมี Work Permit สําหรับทํางานก่อนนํารถเข้า
ไหม้ พื้นที่
1.1.3 วัสดุร่วงหล่นขณะทําการขนย้ายถูกผูป้ ฏิบตั ิงาน 1.1.1.3 จัดให้มีผใู ้ ห้สัญญาณรถ ในระหว่างปฏิบตั ิงานและ
ได้รับบาดเจ็บ หรื อโดนอุปกรณ์ของโรงงานหรื ออาคาร ขณะรถเคลื่อนที่เข้า-ออกพื้นที่คบั แคบเพื่อป้องกันการเฉี่ ยว
สถานที่เสี ยหาย ชน
1.1.4 ขณะจอดรถขนของลง รถไหล โดนถูก 1.1.1.4 เดินรถตามเส้นทางที่กาํ หนด แนบเส้นทางเดินรถใน
ผูป้ ฏิบตั ิงานได้รับบาดเจ็บ หรื อโดนอุปกรณ์ของ Work permit ไม่ออกนอกเส้นทาง
โรงงานหรื ออาคารสถานที่เสี ยหาย 1.1.1.5 จํากัดความเร็ วของรถไม่ให้เกินข้อกําหนดของ

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 1 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

PTTGC (ในพื้นที่กระบวนการผลิตไม่เกิน 20 กม./ชม.)


1.1.1.6 ผูท้ ี่ทาํ หน้าที่นาํ รถเข้า-ออกต้องถือธงเขียว-แดง,เป่ า
นําหวีดให้สัญญาณและสวมเสื้ อสะท้อนแสงตลอดเวลาที่
ปฏิบตั ิงาน
1.1.1.7 ผูท้ ี่มีหน้าที่ขบั รถ ต้องมีสภาพร่ างกายที่พร้อมในการ
ทํางาน (ไม่เจ็บป่ วย,ไม่ดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์) โดยมี
การตรวจสอบโดยหัวหน้างานหรื อ Safety,ลดกระจกลงทั้ง 2
ข้าง
1.1.1.8 รถต้องติดตั้งครอบท่อไอเสี ยป้องกันประกายไฟและ
มีถงั ดับเพลิงประจํารถ ขนาด 15 ปอนด์ Fire rating
(10A40B)
1.1.3.1 ทําการผูกมัดวัสดุ อุปกรณ์ดว้ ยเชือกให้แน่นหนาและ
ตรวจสอบโดยหัวหน้างานก่อนที่จะนํารถเข้า-ออกจากหน้า
งาน
1.1.3.2 ไม่บรรทุกของหรื อใส่ ชิ้นงานจนล้นขอบกระบะรถ

1.1.4.1 ดับเครื่ องยนต์ทุกครั้ง และมีหมอนรองล้อขณะจอด


รถ
2 2.1 งานนํารถ Hiab และ รถเครน เข้า 2.1.1วัสดุร่วงหล่นขณะทําการเคลื่อนย้ายถูก 2.1.1.1 จัดให้มีผใู ้ ห้สัญญาณนําทางระวังเหตุในขณะที่รถ
พื้นที่ ผูป้ ฏิบตั ิงานได้รับบาดเจ็บ หรื ออุปกรณ์ของพื้น กําลังเคลื่อนตัวเข้าและออกเดินหน้าถอยหลังหรื อเข้าในพื้นที่
สําหรับใช้งานเพื่อยกวัสดุ-อุปกรณ์,ตู ้ ข้างเคียงได้รับความเสี ยหาย คับแคบ ป้องกันการเฉี่ ยวชนอาคารและอุปกรณ์ขา้ งเคียง
คอนเทนเนอร์ , เครื่ องเจาะเสาเข็ม, Air เสี ยหาย
Compressor , Generator 2.1.1.2 ต้องวิง่ ในเส้นทางที่ Area Owner กําหนดเท่านั้น

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 2 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

2.1.1.3 ผูท้ ี่ทาํ หน้าที่นาํ รถเข้าและออกต้องถือธงเขียว-แดง


เป่ านกหวีดให้สัญญาณทุกครั้ง
2.1.1.4 กําหนดงานยกด้วยรถเครน จะได้แจ้งทางเจ้าของงาน
อย่างน้อย 1 วัน พร้อมทั้ง เอกสารตรวจสอบสภาพรถและ
ประกันภัยของรถต้อง ไม่หมดอายุ
2.1.1.5 จํากัดความเร็ วไม่เกิน 20 km./hr.
2.1.1.6 ต้องมีการผูกรัดอุปกรณ์ให้แน่นหนาและตรวจสอบ
โดยหัวหน้างานก่อนที่จะนํารถเข้าสู่ พ้นื ที่ก่อสร้าง

2.2 การติดตั้งตําแหน่งขารถ Hiab หรื อ 2.2.1 ขณะติดตั้งขา Hiab หรื อ เครน ชนกระแทกกับ 2.2.1.1 หัวหน้างานทําการ Tool box Talk ,KYT ก่อนเริ่ มงาน
เครน สําหรับงานยกวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ ผูป้ ฏิบตั ิงานระหว่างกางขาได้รับอันตราย ทุกครั้ง
2.2.1.2 ผูบ้ งั คับรถเฮี๊ยบ, เครน/ผูป้ ฏิบตั ิงานจะต้องล้อมธง
ขาว-แดงหรื อบอกตําแหน่งพื้นที่ทาํ งานก่อนยกทุกครั้ง
2.2.1.3 ห้ามผูป้ ฏิบตั ิงานยืน่ ส่ วนหนึ่งส่ วนใดเข้าไปบริ เวณที่
มีจุดหมุน จุดหนี บ จุดอับของพื้นที่ปฏิบตั ิงาน
2.2.1.4 ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องยืนอยูใ่ นระยะห่ างที่ปลอดภัย

2.2.2 รถ Hiab หรื อ เครน ล้มเกิดการทรุ ดตัว เนื่องจาก 2.2.2.1 ผูบ้ งั คับรถและผูค้ วบคุมงานยก ต้องตรวจสอบสภาพ
พื้นที่รับนํ้าหนักไม่ได้ พื้นที่เพื่อให้มนั่ ใจว่าสามารถรับนํ้าหนักได้และต้องไม่มีน้ าํ
ท่วมขังก่อนการรองด้วยแผ่นเพลท ในกรณี ยนื่ ขาเครนบน
พื้นดินจะต้องรองขาเครนด้วยแผ่นเหล็กขนาดหนา 1 นิ้ว
กว้างไม่นอ้ ยกว่า 4 เท่าของขาหยัง่ เครน
2.2.2.2 ต้องจัดทํา Lifting Plan และใบอนุญาตงานยก ซึ่ งต้อง

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 3 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

ได้รับการอนุมตั ิโดย PTTGC ก่อนเริ่ มงานทุกครั้ง


2.2.2.3 ชิ้นงานที่ทาํ การยกต้องมีน้ าํ หนักไม่เกินขีด
ความสามารถ ในการยกของ Hiab หรื อเครน

2.2.3 แผ่นเพลทหล่นทับกระแทกโดนร่ างกายได้รับ 2.2.3.1 แผ่นเพลท ที่มีขนาดใหญ่และนํ้าหนักมากต้องมี


บาดเจ็บขณะทําการยกแผ่นเหล็กรองขาของ Hiabหรื อ ผูป้ ฏิบตั ิงานอย่างน้อย 2 คนในการยก
รถเครน

2.3 งานยกวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆด้วยรถ 2.3.1 รถ Hiabหรื อเครน ในขณะยกชิ้นงานเกิดการ 2.3.1.1 จัดให้มี 4 ผู ้ งานยกตามข้อกําหนด PTTGC ( ผูบ้ งั คับ
Hiab หรื อเครน เหวีย่ งโดนผูป้ ฏิบตั ิงานบาดเจ็บหรื อชนอุปกรณ์ของ , ผูย้ ดึ เกาะวัสดุ, ผูใ้ ห้สัญญาณ, ผูค้ วบคุมงานยกและสวมใส่
พื้นที่ปฏิบตั ิงานได้รับความเสี ยหาย เสื้ อสะท้อนแสงสี เขียวตลอดเวลาที่ปฏิบตั ิงาน
2.3.1.2 ปิ ดกั้นพื้นที่การทํางานก่อนทําการยกติดตั้ง และจัด
ป้ายเตือนผูท้ ี่ไม่เกี่ยวข้องห้ามเข้า
2.3.1.3 ผูใ้ ห้สัญญาณและผูบ้ งั คับเฮี๊ยบ,เครน จะต้องอยูใ่ น
ตําแหน่งที่สามารถมองเห็นซึ่ งกันและกันได้ กรณี ที่ไม่
สามารถมองาเห็นกันได้จะต้องมีวทิ ยุสื่อสารในการให้
สัญญาณเฮี๊ยบ,เครน

2.3.2 ขณะทําการยก สเก็น หรื อสลิงผ้าใบขาด,ชิ้นงาน 2.3.2.1 อุปกรณ์ที่ใช้ในงานยก สลิงผ้าใบ สเก็นต้องผ่านการ


หล่นทับ,กระแทกผูป้ ฏิบตั ิงานได้รับบาดเจ็บหรื อโดน ตรวจสภาพจาก PTTGC และติดสติ๊กเกอร์ ก่อนนํามาใช้งาน
อุปกรณ์ของโรงงาน หรื ออาคารสถานที่เสี ยหาย 2.3.2.2 ใช้เศษผ้ารองเหลี่ยมมุมของชิ้นงานเพื่อป้ องกันเหลี่ยม
คมบาดสลิงขาด
2.3.2.3 ตรวจสอบการใส่ สเก็น และการผูกมัดให้ถูกต้องโดย

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 4 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

หัวหน้านผูร้ ับเหมาก่อนทําการยก
2.3.2.4 ขณะทําการยกชิ้นงาน ผูป้ ฏิบตั ิงานจะต้องไม่ยนื อยู่
ในวิถีอนั ตรวย (life of fire) หรื อใต้วธิ ี การเหวีย่ งของเครน
และไม่ยนื่ มือหรื อส่ วนหนึ่งส่ วนใดของร่ างกายใต้ชิ้นงาน
ขณะเครนกําลังวางชิ้นงาน
2.3.2.5 สวมใส่ ถุงมือหนังตลอดเวลาขณะปฏิบตั ิงาน

2.4 งานยกตูค้ อนเทนเนอร์ 2.4.1 ผูป้ ฏิบตั งานพลัดตกจากบันได ขณะขึ้นบันไดเพื่อ 2.4.1.1มีคนจับบันไดทุกครั้งที่ข้ ึนทํางาน และใช้บนั ไดที่มี
ปลดสลิง สเก็นบนตู ้ สภาพพร้อมใช้งานไม่ชาํ รุ ด
2.4.1.2 ไม่ข้ ึนยืนใช้งาน 3 ขั้นสุ ดของบันได
2.4.1.3 วางบันไดพาดขอบตู ้ ปรับให้มีความเอียงไม่ชนั
เกินไป
3 3.1 งานสํารวจวงรอบเพื่อนําค่าพิดไปใช้ 3.1.1 หัวค้อนหักหรื อหลุดถูกผูป้ ฏิบตั ิงานทําให้ได้รับ 3.1.1.1 ตรวจสอบค้อนทุกครั้งก่อนใช้งานหัวค้อนต้องแน่น
งานในการวางหมุดเสาเข็ม บาดเจ็บระหว่างปั กหมุด หนาไม่หลวมคลอน

3.1.2 เศษไม้จากหมุดตํามือ เป็ นแผล 3.1.2.1 สวมถุงมือหนัง หรื อผ้าเคลือบยางด้านหน้า


3.1.3 ผูป้ ฏิบตั ิงานสะดุดวัสดุ อุปกรณ์ที่กองอยูห่ น้างาน 3.1.3.1 ตรวจสองพื้นที่ปฏิบตั ิงาน ต้องไม่มีอุปกรณ์หรื อ
หกล้ม ได้รับบาดเจ็บ เครื่ องมือกีดขวางขณะปฏิบตั ิงาน

3.1.4 ผูป้ ฏิบตั ิงานถูกเฉี่ ยวชนขณะถ่ายระยะหมุดในจุด 3.1.4.1 จัดให้มี Flag Man คอยให้สัญญาณการจราจรระหว่าง
ที่อยูบ่ นถนนทางสัญจร การทําเครื่ องหมายถ่ายระยะบนถนน

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 5 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

4 4.1 งานขุดดินด้วยมือ (Hand Tool) เพื่อ 4.1.1 อันตราย ขุดโดนอุปกรณ์ใต้ดิน เช่นสายไฟฉี ก 4.1.1.1 ต้องขออนุญาตทํางานขุด (Excavation Permit) และ
ตรวจสอบตําแหน่งอุปกรณ์ใต้ดิน (จอบ ขาด / ท่อแตก ได้รับอนุญาตจากเจ้าของพื้นที่ก่อนเริ่ มงานทุกครั้ง
เสี ยม พลัว่ อีเตอร์ พลัว่ พีวซี ี ) 4.1.1.2 หัวหน้างานต้องทํา Toolbox Talk และชี้แจงขั้นตอน
วิธีการและตําแหน่งขุดให้ถูกต้องตามที่ระบุในใบอนุญาติ
ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องสวมใส่ อุปกรณ์ PPE ให้เหมาะสมกับงาน
เช่น ถุงมือหนัง
4.1.1.3 งานขุดดินด้วยมือจะต้องขุดตามระยะที่กาํ หนดใน
แบบก่อสร้าง และหากสภาพดินอ่อน จะต้องมีการทํา
Shoring ในการป้องกันดินพังทลาย
4.1.1.4 ระหว่างขุดหากพนักงานขุดพบแผ่นหิ นหรื อ
Warning tapeให้หยุดงานขุดชัว่ คราวและแจ้งเจ้าของพื้นที่
ตรวจสอบก่อนทํางานต่อไป และเปลี่ยนอุปกรณ์การขุดเป็ น
เสี ยม PVC
4.1.2 กล้ามเนื้ออ่อนล้า ปวดหลัง เมื่อยหลังจากการ 4.1.2.1 หยุดพัก หรื อพลัดเปลี่ยนการทํางานเป็ นระยะ ลด
ทํางานต่อเนื่องเป็ นเวลานานๆ ความเมื่อยล้าในการทํางาน
4.1.2.2 จัดชุดปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประจําหน้างาน
4.1.3 จอบหลุดใส่ ผปู ้ ฏิบตั ิงานศรี ษะแตก ได้รับบาดเจ็บ 4.1.3.1 ตรวจสอบอุปกรณ์งานขุดก่อนการใช้งานในแต่ละวัน
โดยหัวหน้างานตรวจสอบทุกวัน
4.1.3.2 ให้ทาํ การใช้ลิ่มล็อคแน่นหนา ก่อนเริ่ มปฏิบตั ิงานทุก
ครั้ง
4.1.3.3 ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องระวังและดูแลผูป้ ฏิบตั ิงานคนอื่นๆ
ไม่ให้อยูใ่ นวิถีอนั ตราย (line of fire)
4.1.4 ผูป้ ฏิบตั ิงาน พลัดตกหลุมได้รับบาดเจ็บ 4.1.4.1หลังการขุดหากไม่มีการ กลบดิน ให้ปิดล้อมด้วย

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 6 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

Hard barricade และทําบันไดขึ้นลงพร้อมติดป้ายเตือนหลุม


ลึก
4.2 งานสํารวจเพื่อตรวจสอบแนวท่อและ 4.2.1พนักงานอาจได้รับบาดเจ็บหรื ออุปกรณ์โรงงาน 4.2.1.1ขออนุญาตขุดดินตามกฎระเบียบ และไม่ปฎิบตั ิ
แนวสายไฟใต้ดิน (Verify underground เสี ยหายได้ นอกเหนือจากพื้นที่ที่ได้รับอนุญาต
by water jet) ก่อนเริ่ มกระบวนการเจาะ 4.2.1.2 ผูค้ วบคุมงานต้องทําการ Tool Box Talk ก่อนการ
เสาเข็มด้วยวิธีการใช้แรงดันนํ้า 3 bar ทํางานเพื่อให้มนั่ ใจว่าผูท้ าํ งานเข้าใจขอบข่ายงานรับทราบข้อ
ควรระวังต่างๆ รวมทั้งอันตรายที่เกิดขึ้น
4.2.2 อันตรายจาก Hydrocarbon รั่วไหลบริ เวณพื้นที่ 4.2.2.1 จัดให้มีผเู ้ ฝ้าระวังไฟ ตรวจวัดแก๊สเป็ นระยะ
ทํางาน 4.2.2.2 จัดให้มีที่ครอบท่อกันประกายไฟตามโรงงานกําหนด
4.2.2.3 จัดให้มีถงั ดับเพลิงประจําพื้นที่ตลอดเวลา
4.2.3 พนักงานได้รับอันตรายจากแรงดันนํ้า 4.2.3.1 ปิ ดกั้นพื้นที่ไม่ให้คนที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในพื้นที่
4.2.3.2 ขณะทําการสํารวจ พนักงานผูช้ ่วยต้องอยูใ่ นรัศมีหรื อ
ตําแหน่งยืนที่ปลอดภัย
4.2.4 นํ้าและดินเลนไหลลงรางระบายนํ้าของโครงการ 4.2.4.1 ปิ ดกั้นพื้นที่ดว้ ยกระสอบทรายเพื่อป้องกันนํ้าและดิน
เลนไหลลงราง
4.2.4.2 ขนย้ายดินออกจากพื้นที่โดยมีการป้องกันดินและนํ้า
หล่นใส่ ถนนของโครงการและถนนสาธารณะพร้อมทําความ
สะอาดพื้นที่ทาํ งาน
5 5.1 กั้นพื้นที่ป้องกันดินโคลนไหลออก 5.1.1 ผูป้ ฏิบตั ิงานยกกระสอบทราย ด้วยท่าทางการยกที่ 5.1.1.1 ใส่ ทรายลงในกระสอบละครึ่ ง ไม่ใส่ ทรายเต็ม
พื้นที่โดยใช้กระสอบทรายและพลาสิ ก ผิดวิธีทาํ ให้มีอาการปวดหลังได้ กระสอบ
คลุมกระสอบทราย 5.1.1.2 ใช้รถเข็นช่วยในการขนย้าย
5.1.1.3 ใช้วธิ ี การยกกระสอบทรายด้วยท่าทางให้ถูกวิธี

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 7 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

6 6.1 ติดตั้งเครื่ องเจาะเสาเข็มแบบ 3 ขา 6.1.1 ชุดอุปกรณ์เครื่ องเจาะเสาเข็มแบบ 3 ขา เอียง/ล้ม 6.1.1.1 ทําการตรวจสอบจุดยึดล็อคขาของชุดอุปกรณ์เครื่ อง


เพื่อเริ่ มงาน ทับผูป้ ฎิบตั ิงานทําให้แขน ขา หัก หรื อเป็ นแผลฟกชํ้า เจาะเสาเข็มแบบ 3 ขา ว่ามีการเชื่อมติดกับคานเหล็กอย่าง
เรี ยบร้อยหรื อไม่และติดตั้งในจุด,มุมองศาที่สมดุลป้องกัน
การล้มทําการตรวจสอบโดยวิศวกรเครื่ องกล และผ่านการ
ตรวจสภาพจากหน่วยงานซ่อมบํารุ งเครื่ องกลของ PTT GC
ร่ วมกับ GCME หลังจากที่ติดตั้งชุดเครื่ องเจาะเสร็ จ
6.1.1.2 ขณะทําการยกอุปกรณ์เข้าติดตั้ง ห้ามผูป้ ฏิบตั ิงานเข้า
ไปจับ ต้องวางอุปกรณ์ลงกับพื้นก่อน

7 7.1 งานตอกท่อ Casing โดยตุม้ เหล็กของ 7.1.1 ท่อ Casing, ลูกตุม้ ตอกท่อ Casing, ลูกตุม้ ตักดิน 7.1.1.1 ต้องมีการตรวจสอบสภาพสลิง,สะเก็นและการขัน
เครื่ องเจาะเสาเข็มแบบ 3 ขา หลุดตกทับ/กระแทกถูกผูป้ ฏิบตั ิงานเป็ นแผลฟกชํ้า เกลียวสะเก็นให้สุดเกลียวเพื่อป้องกันการหลุดของสะเก็น
ห้ามใช้ตะขอตัวเอสคล้องเกี่ยวกับลูกตุม้ ท่อสลีฟ, ลูกตุม้ ตอก
ท่อสลีฟ, ลูกตุม้ ตักดิน
7.1.1.2 ต้องมีการตรวจสอบและแจ้งเตือนตําแหน่งการยืน
ทํางานของผูป้ ฏิบตั ิงานที่เป็ นผูช้ ่วยงานเครื่ องเจาะเสาเข็ม
แบบ 3 ขา ต้องปลอดภัยโดยผูค้ วบคุมงาน
7.1.1.3 ห้ามผูป้ ฏิบตั ิงานเข้าไปอยูบ่ ริ เวณที่เครื่ องเจาะกําลัง
ทํางานอยู่
7.1.1.4 จัดให้มีอุปกรณ์ช่วยประคองแทนมือจับ
7.1.1.5 ขณะที่เกี่ยวด้วยตะขอตัวเอส ลูกตุม้ ต้องล้มลงกับพื้น
ก่อนที่ผปู ้ ฏิบตั ิงานจะเข้าไปเกี่ยวสลิง

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 8 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

7.1.2 สเก็นเครื่ องเจาะเสาเข็มแบบ 3 ขา หัก, สลิงขาด 7.1.2.1 อุปกรณ์ช่วยยกต้องผ่านการตรวจสภาพก่อนใช้งาน


ทําให้อุปกรณ์ได้รับความเสี ยหาย จากหน่วยงานของเจ้าของพื้นที่
7.1.2.2 อุปกรณ์ช่วยยกต้องมีความสามารถในการรับนํ้าหนัก
จากการยกลูกตุม้ และแรงดึงจากการดึงท่อ
7.1.2.3 จัดให้มี Check list ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่ องเจาะ
เสาเข็มแบบ 3 ขา

7.1.3 เสี ยงดังจากการตอก,กระแทกของลูกตุม้ ส่ งผล 7.1.3.1 ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องสวมใส่ Ear Muff ตลอดเวลาที่มีการ
กระทบต่อการได้ยนิ ของผูป้ ฎิบตั ิงาน ปฎิบตั ิงาน และผูท้ ี่ปฏิบตั ิงานข้างเคียงต้องสวมใส่ Ear Plug

7.1.4 ประกายไฟจากท่อไอเสี ย Air-Compressor ทําให้ 7.1.4.1 สวมใส่ ตะแกรงครอบท่อไอเสี ย


เกิดไฟไหม้ในพื้นที่ปฎิบตั ิงาน 7.1.4.2 จัดถังดับเพลิงประจําจุดปฏิบตั ิงาน
7.1.4.3 อุปกรณ์ตอ้ งผ่านการตรวจสภาพก่อนใช้งานจาก
หน่วยงานของเจ้าของพื้นที่
7.1.5 นํ้ามันจากเครื่ อง Air-Compressor หกรั่วไหล ลง 7.1.5.1 จัดถาดรองนํ้ามันรองใต้เครื่ อง Air-Compressor
พื้นดิน ทําให้ส่งผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อม 7.1.5.2 หลังหยุดใช้งาน 30 นาที จัดให้มีผา้ ใบคลุมเครื่ อง
Air-Compressor คลุมจนถึงถาดรอง

7.1.6 สายลมหลุดสะบัดโดนผูป้ ฏิบตั ิงานเป็ นแผลฟกชํ้า 7.1.6.1 ใส่ สลิงกันสะบัดที่ขอ้ ต่อสายลมทั้งสองด้าน


7.1.6.2 จัดให้มีผเู ้ ฝ้าระวังค่อยควบคุมการเปิ ด-ปิ ดลมที่หวั จ่าย
ที่เครื่ อง Air-Compressor
7.1.7 ผูป้ ฏิบตั ิงานตกหลุม บ่อที่เจาะไว้ได้รับบาดเจ็บ 7.1.7.1 ปลอกเหล็กด้านบนต้องสู งจากพื้นดินอย่างน้อย 50
เป็ นแผล แขน ขาหัก ซม. (กรณี ทาํ งานไม่แล้วเสร็ จ ต้องมีการปิ ดด้วยไม้อดั และ

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 9 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

จัดทํา Hard Barricade)


7.1.7.2 ต้องมีการจัดหาแผ่นไม้อดั ปิ ดบริ เวณปากหลุมเข็ม
เจาะ
7.1.7.3 ปิ ดกั้นพื้นที่ติดตั้งป้ ายเตือนให้เห็นชัดเจน
8 8.1 ลงเหล็กเสริ มโครงสร้างเสาเข็มเจาะ 8.1.1โครงเหล็กเสริ มกระแทก/สะบัด/บาดมือ 8.1.1.1 ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องสวมใส่ ถุงมือหนังปฏิบตั ิงาน
โดยใช้เครื่ องเจาะเสาเข็ม ผูป้ ฏิบตั ิงานเป็ นแผล 8.1.1.2 ให้สัญญาณผูป้ ฏิบตั ิงานเมื่อยกเหล็กเสาเข็มมาลง
หลุมเข็มเจาะโดยให้ออกจากจุดที่ปฏิบตั ิงาน
8.1.1.3 ทําการผูกมัดปลายเหล็กเสาเข็มเพื่อหย่อนลงหลุม
8.1.1.4 ให้ใช้สเก็นเท่านั้น
9 9.1 งานเทคอนกรี ตหล่อเสาเข็ม 9.1.1 เกิดประกายไฟจากท่อไอเสี ยทําปฏิกิริยากับสาร 9.1.1.1 ต้องมีการวัดค่า LEL% มีค่าเท่ากับ 0% เท่านั้น
ไวไฟและมีแก็สรั่ว ตามเส้นทางที่ผา่ นทําให้เกิดไฟไหม้ 9.1.1.2 มีผนู ้ าํ รถตรวจเช็คสารไวไฟตลอดเส้นทางเดินรถ
รถเสี ยหาย 9.1.1.3 ผูข้ บั ขี่ขบั รถใช้ความเร็ วไม่เกิน 20 กม./ชม.
9.1.1.4 Gas Detector แบบ 4 เชนเชอร์ ไว้ตรวจสอบสาร
ไวไฟ
9.1.1.5 จัดเตรี ยมถังดับเพลิง 15Lbs10A40B ไว้ประจํารถ
9.1.1.6 ท่อไอเสี ยต้องมีท่อครอบกันประกายไฟ ตาม
มาตรฐานของ PTTGC Group
9.1.2 ยานพาหนะเฉี่ ยวชนผูป้ ฏิบตั ิงานได้รับบาดเจ็บที่ 9.1.2.1 ต้องมีผทู ้ าํ หน้าที่ให้สัญญาณนําทางในขณะที่รถกําลัง
มือแขนขาหัก และอุปกรณ์ของโรงงานเสี ยหาย เคลื่อนตัวเพื่อป้ องกันการเฉี่ ยวชนผูป้ ฏิบตั ิงานและเฉี่ ยวชน
อุปกรณ์ของโรงงาน
9.1.2.2 ต้องเปิ ดกระจกรถทั้ง 2 ข้างและห้ามเปิ ดเครื่ องเสี ยง
ภายในรถ

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 10 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

9.1.3 ผูป้ ฏิบตั ิงานสัมผัสกับนํ้าปูนทําให้มือเท้าเป็ นผื่น 9.1.3.1 ผูป้ ฏิบตั ิงานสวมใส่ ถุงมือยาง แว่นตานิรภัยและ
คันและนํ้าปูนกระเด็นเข้าดวงตา กระเด็นเปื้ อนอุปกรณ์ รองเท้าบู๊ทหัวเหล็ก ขณะปฏิบตั ิงานเทคอนกรี ต
ของโรงงาน 9.1.3.2 ต้องมีการปิ ดกั้นล้อมบริ เวณพื้นที่จุดทํางานด้วยผ้า
เต้นหรื อผ้าใบ
9.1.4 เศษปูนหกเลอะพื้นที่ขณะทํางานเทคอนกรี ต 9.1.3.3 ใส่ Face Shield ป้องกันใบหน้าและดวงตาขณะเทปูน
9.1.3.4 จัดเตรี ยมที่ลา้ งตาฉุ กเฉิ นไว้ในพื้นที่ทาํ งาน
9.1.4.1 จัดเตรี ยมผ้า Blue sheet ปูรองรับเศษปูน และนํ้าปูนที่
จ่ายออกมาจากรถขณะทําการเทคอนกรี ต ก่อนเข้าปฏิบตั ิงาน
10 10.1 เทปูนโดยแรงงานคน โดยรถเข็นปูน 10.1.1 รถเข็นปูน ทับขา ผูป้ ฏิบตั ิงานได้รับบาดเจ็บ 10.1.1.1 การเข็นรถสามล้อต้องไปในแนวราบเรี ยบ เพื่อ
สามล้อ (กรณี รถปูนเข้าไม่ถึงพื้นที่ ป้องกันการพลิกควํา่ ของรถเข็นปูน
ทํางาน) 10.1.1.2 ไม่โหลดปูนใส่ รถเข็นให้มีปริ มาณมากจนเกินไป
เพราะคนเข็นอาจรับนํ้าหนักไม่ไหว
11 11.1 ขั้นตอนการถอนปลอกเหล็ก Casing 1.1.1 ลวดสลิงฟาดผูป้ ฏิบตั ิงานขณะปฏิบตั ิงานถอด 11.1.1 มีการให้สัญญาณกันระหว่างผูบ้ งั คับ Winch และผูด้ ู
หลังจากเทคอนกรี ต ปลอก casing ได้รับบาดเจ็บ แขน ขา หัก ปลายสลิง
1.1.1.2 มีการเผือ่ ปลายสลิงไว้ประมาณ 3-4 เมตร ขณะถอด
ปลอก casing
11.1.1.3 ห้ามผูป้ ฏิบตั ิงานอยูแ่ นววิถีอนั ตรายเด็ดขาด
11.1.2 ปลอก casing ทับเท้าผูป้ ฏิบตั ิงานขณะ 11.1.2.1 ใช้ไม้รองปลอก casing ขณะวางลงพื้นแล้วห้ามมี
ปฏิบตั ิงานถอดปลอก casing ได้รับบาดเจ็บ แขน ขา ส่ วนหนึ่งส่ วนใดอยูใ่ ต้ปลอก casing ขณะวาง
หัก
12 12.1 การเคลื่อนย้ายจุดเจาะ ตําแหน่ง 12.1.1 ลวดสลิงฟาดผูป้ ฏิบตั ิงานขณะปฏิบตั ิงาน ได้รับ 12.1.1.1ห้ามผูป้ ฏิบตั ิงานอยูแ่ นววิถีอนั ตรายเด็ดขาด
เสาเข็มต้นต่อไปของเครื่ องเจาะสามขา บาดเจ็บ แขน ขา หัก 12.1.1.2 มีการให้สัญญาณกันระหว่างผูบ้ งั คับ Wich และ ผูด้ ู

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 11 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

ปลายสลิง
12.1.1.3 ต้องมีการปิ ดกั้นล้อมบริ เวณพื้นที่ไม่ให้ผทู ้ ี่ไม่มีส่วน
เกี่ยวข้องเข้าพื้นที่
12.1.1.4 กรณี ทาํ การรื้ อและประกอบใหม่เพื่อย้ายจุดงาน ต้อง
ทําการตรวจสอบ อุปกรณ์งานยกใหม่ โดยวิศวกรเครื่ องกล
ในครั้งแรกที่ติดตั้ง (ในกรณี ที่ทาํ การแยกชิ้นส่ วนประกอบ)
มีเอกสาร Check List ที่ตอ้ งตรวจสอบโดยผูช้ าํ นาญการด้าน
Mechanical Inspector จากทาง GC ในกรณี ที่ยา้ ยอุปกรณ์มา
ตอกที่จุดอื่น
13 13.1 การทํางานช่วงเวลากลางคืน 13.1.1 กล้ามเนื้อตาเมื่อยล้า อาจเดินสะดุด หกล้ม ศรี ษะ 13.1.1.1 จัดหาแสงสว่างให้เพียงพอ ทั้งจุดทํางานและรอบๆ
แตก พื้นที่การต่อการทํางานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการ
ทํางาน และตรวจสอบโดยหัวหน้างานทุกวัน
14 14.1 งานติดตั้งตูไ้ ฟ (Control Panel) 14.1.1เครื่ องมือ / อุปกรณ์ทบั มือ,ทับเท้าได้รับบาดเจ็บ 14.1.1.1 พนักงานต้องสวมใส่ ถุงมือหนัง,รองเท้านิรภัย
ตลอดเวลาที่ปฏิบตั ิงาน
14.1.1.2 ปิ ดกั้นบริ เวณพื้นที่ป้องกันบุคคลที่ไม่มีส่วน
เกี่ยวข้องเข้าและติดป้ายเตือนให้ชดั เจน
14.1.2ไฟฟ้าช๊อต ขณะทําการต่อสายและขณะทําการ 14.1.2.1 ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องมีความบชํานาญ,เป็ นช่างไฟฟ้าที่
ตรวจสอบระบบไฟจากตู ้ Control Panel ได้รับการแต่งตั้งจากบริ ษทั ผูร้ ับเหมาผ่านการอบรมหรื อสอบ
ขึ้นทะเบียนกับกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
14.1.2.2ตูไ้ ฟ ต้องผ่านการตรวจสอบจาก PTTGC ติดสติก
เกอร์ ก่อนการใช้งาน
14.1.3 เกิดจากประกายไฟจากท่อไอเสี ย และ 14.1.3.1 ต้องมีการวัดค่า LEL% มีค่าเท่ากับ 0% เท่านั้น
เครื่ องยนต์ จากการเปิ ดใช้งาน Generator 14.1.3.2 มีผนู ้ าํ รถตรวจเช็คสารไวไฟตลอดเส้นทางเดินรถ

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 12 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

14.1.3.3 Gas Detector ไว้ตรวจสอบสารไวไฟ


14.1.3.4 จัดเตรี ยมถังดับเพลิง 15Lbs10A20B ไว้ประจํารถ
14.1.3.5 ท่ อ ไอเสี ย ต้องมี ท่ อ ครอบกันประกายไฟ ตาม
มาตรฐานของ PTTGC
15 15.1การติดตั้งและใช้ Genarator 15.1.1เกิดจากประกายไฟจากท่อไอเสี ย และเครื่ องยนต์ 15.1.1.1 Genatator และตูไ้ ฟ ต้องผ่านการตรวจสอบจาก
ขณะเปิ ดใช้งาน PTTGC ติดสติกเกอร์ ก่อนการใช้งาน
15.1.1.2 ก่อน Start เครื่ อง Genarator ต้องตรวจวัดสารติดไฟ
ต้องเป็ น 0% LEL เท่านั้น
15.1.1.3 จัดทําที่ครอบป้องกันประกายไฟที่ท่อไอเสี ยของ
เครื่ อง Genarator และต้องทําความสะอาดคราบเขม่าทุกวัน
15.1.1.4 จัดเตรี ยมถังดับเพลิง ขนาด 10A40B 15 ปอนด์ ไว้
ประจําเครื่ อง Genarator
15.1.1.5 จัดให้มี Check lish และช่างไฟฟ้าทําการตรวจสอบ
อุปกรณ์พร้อมให้มีการทดสอบการทํางานของ ELCB ทุกครั้ง
ก่อนใช้งานประจํา

15.1.2 เกิดไฟฟ้าช๊อตผูป้ ฏิบตั ิงานได้รับบาดเจ็บ 15.1.2.1 ให้ติดตั้ง ELCB ที่ตูไ้ ฟด้วยทุกครั้ง


15.1.2.2 ติดตั้งสายดิน โดยการต่อเข้ากับจุดต่อกราวน์ของ
อุปกรณ์แพลนหรื อ กราวน์ของเสา Street light หรื อจุดที่
ได้รับอนุญาตจาก PTTGC หรื อตอกกราวน์ Rod กรณี ไม่มี
พื้นที่ไม่มีอุปกรณ์ในโรงงานตรงจุดก่อสร้าง
15.1.2.3 สายไฟต้องไม่แช่น้ าํ และจัดทําเสาหรื อ S-hook เพื่อ
ห้อยสายไฟ ไม่ให้กีดขวางทางเดิน-ถนนและพื้นทีทาํ งาน

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 13 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562


F-(Q-SH)-P-(Q-SH)-007-01 การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและ
กลุ่มบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
สิ่ งแวดล้อม (Job Safety and Environment Analysis, JSEA)

15.1.2.4 จัดให้มีถาดรองเครื่ องจักเป็ นโลหะไม่มีรูรั่ว ตาม


ข้อกําหนดของ PTTGC

15.1.3 นํ้ามันจาก Genarator หกรั่วไหล ส่ งผลกระทบ 15.1.3.1 หากที่ถาดรองมีน้ าํ มัน ให้ชผ้ า้ ซับนํ้ามันบนถาดรอง
ทางด้านสิ่ งแวดล้อม แล้วนํ้าผ้าใส่ ถุงผูกมัดให้แน่นแล้วนํามาทิ้งในถังขยะที่ทาง
PTTGC จัดเตรี ยมไว้ให้ (ถังสี แดง)

16 16.1 5 ส (House Keeping) 16.1.1 หลังเลิกงาน ให้ตรวจสอบเครื่ องมือและอุปกรณ์ 16.1.1.1 ตรวจสอบให้แน่ใจและทําความสะอาดบริ เวณพื้นที่
ปิ ดให้เรี ยบร้อย ทํางานก่อนที่จะเคลื่อนย้ายออก

ส่ วนที่ 3 รับรองผลการวิเคราะห์ (โดย JSEA Team) 3.1ชื่อ Job Owner หน่วยงาน/บริ ษทั วันที่
3.2 ชื่อผูแ้ ทน Area Owner: 3.3 ชื่อผูแ้ ทน SHE 3.4 ชื่อผูแ้ ทน Contractor 3.5 อื่นๆ ระบุ

ส่ วนที่ 4.1 การอนุมตั ิ JSEA ของ Job Owner ส่ วนที่ 4.2 การอนุมตั ิ JSEA ของ Area Owner ส่ วนที่ 4.3 การอนุมตั ิ JSEA ของ SHE
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (ถ้ามี) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (ถ้ามี) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (ถ้ามี)
ลงชื่อ ลงชื่อ ลงชื่อ
วันที่ วันที่ วันที่
ส่ วนที่ 5 การสื่ อสาร JSEA (โดยหัวหน้างาน) ได้ทาํ การสื่ อสารให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานทราบและเข้าใจ JSEA ก่อนเริ่ มงานแล้ว โดยมีผเู ้ ข้ารับการสื่ อสารทั้งหมด ราย
ลงชื่อหัวหน้างาน ตําแหน่ง หน่วยงาน/บริ ษทั
วันที่
ส่ วนที่ 6 ตรวจสอบผลการปฏิบัตติ ามมาตรการป้ องกัน (โดยหัวหน้างาน) ได้ตรวจสอบและควบคุมให้มีการปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันที่กาํ หนดไว้อย่างครบถ้วนแล้ว
ลงชื่อหัวหน้างาน ตําแหน่ง หน่วยงาน/บริ ษทั วันที่

ประกาศใช้ครั้งที่1 หน้า 14 จาก 14 วันที่มีผลบังคับใช้ : 15 มกราคม 2562

You might also like