You are on page 1of 12

คป.

25

แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
ประจำ..........…………………………….

บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด


-1 -

แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
ตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555 ข้อ 4
กาหนดให้สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่สิบคนขึ้นไป ต้องจัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
ซึ่งต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์สาคัญ ดังนี้.-
1. การตรวจตรา
2. การฝึกอบรม
3. การรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย
4. การดับเพลิง
5. การอพยพหนีไฟ
6. การบรรเทาทุกข์
1. กำรตรวจตรำ
ให้หัวหน้าส่วน/แผนก รับผิดชอบในการสารวจความเสี่ยงและตรวจตราเพื่อเฝ้าระวังป้องกัน
และขจัดต้นเหตุของการเกิดเพลิงไหม้ในพื้นที่ การสารวจตรวจตราระบบความปลอดภัยและความเรียบร้อย
ของอาคาร สานักงาน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้โดยดาเนินการ ดังนี้.-
1.1 สารวจตรวจตราความปลอดภัยบริเวณสานักงาน อาคาร สถานที่ วัสดุ ซึ่งอาจเป็น
จุดเริ่มต้นที่ทาให้ทราบถึงสาเหตุการเกิดอัคคีภัยตลอดจนอุปกรณ์เกี่ยวกับการป้องกัน
และระงับอัคคีภัย หากพบบริเวณใดเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย ให้รีบแจ้งหัวหน้า
หน่วยงานเพื่อดาเนินการแก้ไขหรือเพิ่มความระมัดระวังเป็นพิเศษ
1.2 ตรวจสอบและทดสอบประสิทธิภาพการทางานของถังดับเพลิง อุปกรณ์ดับเพลิงภายใน
อาคารให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยถังดับเพลิงจะต้องมีสารเคมีที่ใช้
ในการดับเพลิงตามปริมาตรที่กาหนดและเปลี่ยนน้ายาตามวาระและอายุของน้ายานั้น
และต้องติดตั้งในที่เห็นได้ชัดเจนสามารถหยิบใช้งานได้สะดวกไม่มีสิ่งกีดขวาง
1.3 จัดทาป้ายความปลอดภัย เช่น “ทางหนีไฟ” ต้องเห็นชัดเจนทั้งกลางวันและกลางคืน
ป้ายข้อความ “ทางเข้า” และ “ทางออก” เป็นต้น
1.4 แจ้งเส้นทางอพยพหนีไฟและขนย้ายทรัพย์สินให้ทุกคนทราบ
1.5 สารวจ ตรวจตรา อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า สายไฟ ปลั๊กไฟ ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ใช้งาน
ได้ดี ไม่มีความเสียหายหรือชารุด ตลอดจนการขจัดแหล่งสะสมเชื้อเพลิง เช่น กระดาษ
และวัสดุอื่น ๆ ที่ติดไฟง่าย เป็นต้น
1.6 จัดทาผังการติดต่อสื่อสาร หมายเลขโทรศัพท์ของฝ่ายบริหาร หน่วยงานผู้ดูแลอาคาร
สถานีตารวจในพื้นที่ และสถานีดับเพลิงใกล้เคียงโดยทาป้ายติดให้ชัดเจนและทั่วถึง
-2 -

2. กำรฝึกอบรม
2.1 ให้ผู้รับผิดชอบดาเนินการจัดทาแผนการอบรม ดังนี้.-
2.1.1 แผนการจัดฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น
2.1.2 แผนการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ
2.1.3 แผนการฝึกอบรมอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร
2.2 จัดให้ผู้ปฏิบัติงานจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของจานวนผู้ปฏิบัติงานในแต่ละ
หน่วยงานได้รับการฝึกอบรมหลักสูตรการดับเพลิงขั้นต้น ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
2.3 จัดฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟประจาปีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
2.4 จัดให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับการฝึกอบรมอื่น ๆ ตามที่เห็นสมควร เช่น การปฐมพยาบาล
ขั้นต้น การช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากเหตุอัคคีภัย เป็นต้น
3. กำรรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย
เป็นกิจกรรมที่จัดทาขึ้นเพื่อจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงานสนใจและตระหนักถึงความปลอดภัย
ในการปฏิบัติงานโดยมีการส่งเสริมในเรื่องการป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการและที่อยู่อาศัย
ให้กับผู้ปฏิบัติงานทุกคน ซึ่งการรณรงค์และป้องกันอัคคีภัยต้องประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้.-
3.1 จัดบอร์ดให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดอัคคีภัย ความเสียหายและผลกระทบที่เกิดขึ้น
จากเหตุอัคคีภัย
3.2 แนวทางการปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดอัคคีภัย
3.3 ติดตั้งป้ายเตือน ป้ายห้ามและป้ายวิธีปฏิบัติในบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย
3.4 ออกระเบียบข้อบังคับในการตรวจสอบบารุงรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ในการระงับอัคคีภัย
3.5 จัดนิทรรศการสัปดาห์ความปลอดภัยในการทางาน
-3 -

4. แผนกำรดับเพลิง

4.1 ลำดับขั้นตอนกำรปฏิบัติเมื่อผูป้ ฏิบัติงำนพบเหตุเพลิงไหม้

ดับได้ ผู้อานวยการดับเพลิง
จป.วิชาชีพหรือ รายงาน หัวหน้าส่วน/ รายงาน
ผู้ที่ได้รับมอบหมาย แผนก (หัวหน้าหน่วยงาน)

ผู้ปฏิบัติงาน แจ้งเพื่อนร่วมงานหรือ ดับได้แจ้ง


ที่พบเหตุเพลิงไหม้ หัวหน้างานและ
เข้าดับเพลิงทันที

- ใช้แผนปฏิบัติการระงับเหตุเพลิงไหม้ขั้นต้น ผู้อานวยการดับเพลิง (หัวหน้าหน่วยงาน)


ดับไม่ได้ - แจ้งหน่วยงานข้างเคียงให้ดาเนินการ
ดับไม่ได้ พิจารณาแจ้งหน่วยงานดับเพลิงภายนอก
ช่วยเหลือ
- แจ้งหัวหน้าส่วน/แผนก/จป.ผู้ที่ได้รับ หรือใช้แผนปฏิบัติการเมื่อเกิดเหตุ
รายงาน
มอบหมาย เพลิงไหม้ขั้นรุนแรง
-4 -

4.2 รำยชื่อผู้มีหน้ำที่ดับเพลิงขั้นต้น

ฝ่ำย/ส่วน…………………………………………………………………….
พื้นที่…………………………………………………………………………...

หัวหน้ำชุดดับเพลิงขั้นต้น
ชื่อ……………………………………………………………………………
….

พนักงำนผู้รับผิดชอบพื้นที่ พนักงำนดับเพลิงขั้นต้น

ผู้รับผิดชอบ 1. ชื่อ………………………………………………………………………… ผู้รับผิดชอบ 1. ชื่อ…………………………………………………………………………………….


2. ชื่อ………………………………………………………………………… 2. ชื่อ…………………………………………………………………………………….
3. ชื่อ………………………………………………………………………… 3. ชื่อ…………………………………………………………………………………….
หน้ำที่ - ดูแลอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในสานักงานรวมถึงเครื่องจักรที่มี หน้ำที่ - ให้ทาการดับเพลิงโดยใช้ถังดับเพลิง เมื่อเกิดเหตุในพื้นที่
ในพื้นที่ที่เกิดเหตุเพลิงไหม้ - รายงานผลการดับเพลิงให้หัวหน้าชุดดับเพลิงขั้นต้น
- เก็บเอกสารที่สาคัญนาออกนอกพื้นที่ เมื่อได้รับคาสั่งจากหัวหน้า ทราบโดยทันที
ชุดดับเพลิงขั้นต้น
-5 -

4.3 โครงสร้ำงผู้มีหน้ำที่ในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ขั้นรุนแรง

ผู้อำนวยกำรดับเพลิง (หัวหน้ำหน่วยงำน)

หน่วยควบคุมระบบไฟฟ้ำ หน่วยปฏิบัติกำร หน่วยสื่อสำรและประสำนงำน หน่วยจัดหำและสนับสนุน


กำรดับเพลิง

ทีมดับเพลิง ทีมผู้รับผิดชอบพื้นที่ ทีมรักษำ ทีมติดต่อประสำนงำน ทีมพยำบำล ทีมยำนพำหนะ


ควำมปลอดภัย ช่วยชีวิต
ทีมเดินเครื่องสูบน้ำฉุกเฉิน
-6 -

รำยชื่อผู้มีหน้ำที่ในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ขั้นรุนแรง

1. ผู้อานวยการดับเพลิง ชื่อ……………………………………………….. (หัวหน้าหน่วยงาน)


2. หน่วยควบคุมระบบไฟฟ้า
2.1 ชื่อ …………………………………………………………….. หัวหน้าหน่วยควบคุมระบบไฟฟ้า
2.2 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมควบคุมระบบไฟฟ้า
2.3 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมควบคุมระบบไฟฟ้า
3. หน่วยปฏิบัติการ
3.1 ชื่อ …………………………………………………………….. หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการ
3.2 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมดับเพลิง
3.3 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมดับเพลิง
3.4 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมดับเพลิง
3.5 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมผู้รับผิดชอบพื้นที่
3.6 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมผู้รับผิดชอบพื้นที่
3.7 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมผู้รับผิดชอบพื้นที่
4. หน่วยสื่อสารและประสานงาน
4.1 ชื่อ …………………………………………………………….. หัวหน้าหน่วยสื่อสารและประสานงาน
4.2 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมติดต่อประสานงาน
4.3 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมติดต่อประสานงาน
4.4 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมรักษาความปลอดภัย
4.5 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมรักษาความปลอดภัย
5. หน่วยจัดหาและสนับสนุนการดับเพลิง
5.1 ชื่อ …………………………………………………………….. หัวหน้าหน่วยจัดหาและสนับสนุนฯ
5.2 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมพยาบาล/ช่วยชีวิต
5.3 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมพยาบาล/ช่วยชีวิต
5.4 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมยานพาหนะ
5.5 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมยานพาหนะ
5.6 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมเดินเครื่องสูบน้าฉุกเฉิน
5.7 ชื่อ …………………………………………………………….. ทีมเดินเครื่องสูบน้าฉุกเฉิน
-7 -

หน้ำที่ตำมโครงสร้ำงกำรป้องกันและระงับอัคคีภัยเมื่อเกิดเหตุขั้นรุนแรง

ผู้ปฏิบัติงำน หน้ำที่รับผิดชอบ
ผู้อำนวยกำรดับเพลิง ให้ปฏิบัติ ดังนี้.-
1. รับฟังรายงานต่าง ๆ เพื่อสั่งการใช้แผนตาม
ความเหมาะสม
2. ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
3. รายงานผลการเกิดเพลิงไหม้ต่อผู้บังคับบัญชาระดับสูง
ขึ้นไป
4. ให้ข่าวแก่สื่อมวลชน
หน่วยควบคุมระบบไฟฟ้ำ ให้ปฏิบัติ ดังนี้.-
1. รับคาสั่งจากผู้อานวยการดับเพลิง
2. เมื่อเกิดเพลิงไหม้ให้รีบเข้าไปที่เกิดเหตุ เพื่อรับคาสั่งตัดไฟ
จากหัวหน้าหน่วยควบคุมระบบไฟฟ้า
หน่วยปฏิบัติกำร ให้ปฏิบัติ ดังนี้.-
1. รับคาสั่งจากผู้อานวยการดับเพลิง
1.1 ทีมผู้รับผิดชอบพื้นที่
เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ในพื้นที่ใดให้ทีมผู้รับผิดชอบ
พื้นที่นั้น ๆ ดูแลอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้สานักงาน
รวมถึงเครื่องจักรที่มีและปฏิบัติตามคาสั่งหัวหน้า
หน่วยปฏิบัติการ
1.2 ทีมดับเพลิง
เมื่อเกิดเพลิงไหม้ในพื้นที่ตนเอง ชุดปฏิบัติการ
ชุดนี้จะแยกตัวออกจากทีมรับผิดชอบพื้นที่และทา
การดับเพลิงโดยทันทีที่เกิดเพลิงไหม้ โดยไม่ต้องหยุดเครื่อง
และให้ปฏิบัติการภายใต้คาสั่งของหัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ
หากจาเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากหน่วยอื่น
ให้แจ้ง หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการทันที
2. ทันทีที่ทราบเหตุเพลิงไหม้ในพื้นที่ของตนเอง
ให้แจ้งข่าวทางโทรศัพท์ถึงผู้อานวยการดับเพลิง
หน่วยสื่อสำรและประสำนงำน ให้ปฏิบัติ ดังนี้.-
1. คอยช่วยเหลือประสานงานระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2. รับคาสั่งจากผู้อานวยการดับเพลิง
3. สั่งการแทนผู้อานวยการดับเพลิง (กรณีได้รับมอบหมาย)
-8 -

ผู้ปฏิบัติงำน หน้ำที่รับผิดชอบ
 ทีมติดต่อประสำนงำน 1. คอยช่วยเหลือประสานงานระหว่างผู้อานวยการดับเพลิง
ทีมรักษาความปลอดภัย และผู้เกี่ยวข้อง
2. คอยรับ-ส่งคาสั่งจากผู้อานวยการดับเพลิงในการติดต่อ
ศูนย์ข่าวหรือติดต่อขอความช่วยเหลือจากหน่วยดับเพลิง
ภายนอก
3. สั่งการแทนผู้อานวยการดับเพลิง (กรณีได้รับมอบหมาย)

 ทีมรักษำควำมปลอดภัย 1. ให้รีบไปยังจุดเกิดเหตุ คอยรับคาสั่งจากผู้อานวยการ


ดับเพลิงและหัวหน้าทีมติดต่อประสานงาน
2. ป้องกันมิให้บุคคลภายนอกที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องเข้า
ก่อนได้รับอนุญาต
3. ควบคุมป้องกันทรัพย์สินที่เคลื่อนย้ายได้นามาเก็บไว้
หน่วยจัดหำและสนับสนุนกำรดับเพลิง 1. เตรียมพื้นที่ที่จุดรวมพล เพื่อรองรับผู้ป่วย
 ทีมพยำบำล/ช่วยชีวิต 2. เตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาลและช่วยชีวิตผู้ป่วย
3. ให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้ได้รับบาดเจ็บ
รวมถึงประเมินสภาพผู้ป่วยสาหรับนาส่งต่อเพื่อเข้ารับ
การรักษาในสถานพยาบาลต่อไป

 ทีมยำนพำหนะ 1. เตรียมยานพาหนะเพื่อการขนย้ายผู้ป่วย รวมถึงขนย้าย


อุปกรณ์อื่นๆตามความจาเป็น
2. นาผู้ป่วยส่งต่อไปยังโรงพยาบาล

 ทีมเดินเครื่องสูบน้ำฉุกเฉิน (ถ้ำมี) 1. ให้เดินเครื่องสูบน้าดับเพลิงทันทีที่ได้รับแจ้งเหตุเพลิงไหม้


2. ทาการควบคุมดูแลเครื่องสูบน้าดับเพลิงขณะที่เกิด
เหตุเพลิงไหม้
-9 -

5. กำรอพยพหนีไฟ
การอพยพหนีไฟกาหนดขึ้นเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงาน ปณท
ในขณะเกิดเหตุเพลิงไหม้มีองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น หน่วยตรวจสอบจานวนพนักงาน ผู้นาทางหนีไฟ
จุดรวมพลหรือหน่วยช่วยชีวิตและยานพาหนะ เป็นต้น ซึ่งได้กาหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละส่วนงาน โดยขึ้นตรง
ต่อผู้อานวยการดับเพลิง (หัวหน้าหน่วยงาน) ดังนี้
1. ผู้อานวยการดับเพลิง (หัวหน้าหน่วยงาน)
ชื่อ.............................................................
2. ส่วน/แผนก………………………………………………………..
ผู้นาทางหนีไฟ ชื่อ........................................................................................
ผู้ตรวจสอบจานวนผู้ปฏิบัติงาน ชื่อ…………………………………………………………
3. ส่วน/แผนก………………………………………………………..
ผู้นาทางหนีไฟ ชื่อ........................................................................................
ผู้ตรวจสอบจานวนผู้ปฏิบัติงาน ชื่อ…………………………………………………………
ผู้มีหน้าที่ตามแผนอพยพหนีไฟให้ปฏิบัติดังนี้
1. ผู้อำนวยกำรดับเพลิง มีหน้าที่รับฟังรายงานผลตรวจนับจานวนผู้ปฏิบัติงาน หากพบว่ามีผู้ปฏิบัติงาน
ออกมาไม่ครบ ให้สั่งการทีมช่วยชีวิตเข้าดาเนินการค้นหา
2. ผูน้ ำทำงหนีไฟ เป็นผู้นาทางผู้ปฏิบัติงานอพยพหนีไฟตามทางออกที่จัดไว้ ไปยังจุดรวมพลซึ่งเป็นสถานที่
ที่ปลอดภัย ซึ่งผู้ปฏิบัติงานสามารถที่จะมารายงานตัวและทาการตรวจสอบนับจานวนได้
3. ผูต้ รวจสอบจำนวนผู้ปฏิบัติงำน ตรวจนับจานวนผู้ปฏิบัติงานว่า มีการอพยพหนีไฟออกมาบริเวณ
ที่ปลอดภัยครบทุกคนหรือไม่ หากไม่ครบตามจานวนจริง ให้รายงานต่อผู้อานวยการดับเพลิงโดยทันที
4. หน่วยช่วยชีวิต เมื่อได้รับคาสั่งจากผู้อานวยการดับเพลิง ให้เข้าค้นหาและทาการช่วยชีวิตผู้ปฏิบัติงาน
ที่ยังติดค้างอยู่ในอาคารหรือในพื้นที่ที่เกิดอัคคีภัย รวมถึงกรณีของผู้ปฏิบัติงานที่ออกมาอยู่ที่จุดรวมพล
แล้วมีอาการเป็นลม หมดสติหรือบาดเจ็บ เป็นต้น หน่วยพยาบาลหรือช่วยชีวิตจะทาการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
และติดต่อหน่วยยานพาหนะให้ในกรณีพยาบาลหรือแพทย์พิจารณาแล้วต้องนาส่งโรงพยาบาล
- 10 -

กำรอพยพหนีไฟ

ผู้อำนวยกำรดับเพลิง (หัวหน้ำหน่วยงำน)
ประกาศใช้แผนอพยพหนีไฟ

ผู้พบเห็นเหตุเพลิงไหม้ ประกาศและกด
สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้

ผู้นำทำงหนีไฟจะถือธงสัญลักษณ์ นาผู้ปฏิบัติงานออก
จากพื้นที่ปฏิบัติงานตามช่องทางที่กาหนด

ผู้นำทำงหนีไฟนาผู้ปฏิบัติงานไปยังจุดรวมพล

ผู้ตรวจสอบจำนวนผู้ปฏิบัติงำนตรวจนับจานวนผู้ปฏิบัติงาน

ผู้ตรวจสอบจำนวนผู้ปฏิบัติงำนแจ้งจานวนผู้ปฏิบัติงานต่อ
ผู้อำนวยกำรดับเพลิง ผู้อำนวยกำรดับเพลิง
ผู้อำนวยกำรดับเพลิง (หัวหน้ำหน่วยงำน) โดยทันที
(หัวหน้ำหน่วยงำน) (หัวหน้ำหน่วยงำน)
สั่งการให้หน่วยช่วยชีวิต ครบ ไม่ครบ สั่งการให้หน่วยช่วยชีวิต
รีบนาผู้ป่วยหรือ หรือเจ้ำหน้ำที่ดับเพลิง
ผู้บาดเจ็บ ส่งหน่วย หน่วยช่วยชีวิตหรือเจ้ำหน้ำที่ จำกภำยนอกค้นหา
พยาบาล ดับเพลิงจำกภำยนอกรายงานผล ผู้ติดค้าง
การค้นหาให้ผู้อำนวยกำร
ดับเพลิง (หัวหน้ำหน่วยงำน)
ทราบทันที
ผู้อำนวยกำรดับเพลิง
(หัวหน้ำหน่วยงำน)
แจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานทราบ
จนกว่าเหตุการณ์สงบ
- 11 -

๖. กำรบรรเทำทุกข์
การบรรเทาทุกข์กาหนดขึ้นเพื่อช่วยเหลือพนักงานผู้ประสบภัยหลังจากเหตุการณ์เพลิงไหม้
ผ่านพ้นเข้าสู่ภาวะปกติและอานวยความสะดวกในการประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ของทางราชการ
ประกอบด้วยภารกิจต่าง ๆ ดังนี้
6.1 การประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ
6.2 การสารวจความเสียหาย
6.3 การรายงานตัวของเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายและกาหนดจุดนัดพบเพื่อรอรับคาสั่ง
6.4 การช่วยชีวิตและค้นหาผู้เสียชีวิต
6.5 การเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย ทรัพย์สินและผู้เสียชีวิต
6.6 การประเมินความเสียหาย ผลการปฏิบัติงานและรายงานสถานการณ์เพลิงไหม้
6.7 การช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบภัย
6.8 การปรับปรุงแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเพื่อให้ธุรกิจสามารถดาเนินการได้โดยเร็วที่สุด
หน้ำที่รับผิดชอบของผู้ปฏิบัติกำรในแผนบรรเทำทุกข์
หน้ำที่รับผิดชอบ ผู้ปฏิบัติ
1. การประสานงานกับหน่วยงาน หัวหน้าทีม .............................................................................
ของรัฐ ผู้ปฏิบัติงานร่วมทีม ...............................................................
2. การสารวจความเสียหาย หัวหน้าทีม .............................................................................
ผู้ปฏิบัติงานร่วมทีม ...............................................................

3. การรายงานตัวของเจ้าหน้าที่ หัวหน้าทีม .............................................................................


ทุกฝ่ายและกาหนดจุดนัดพบ ผู้ปฏิบัติงานร่วมทีม ...............................................................
เพื่อรอรับคาสั่ง
4. การช่วยชีวิตและค้นหาผู้เสียชีวิต หัวหน้าทีม .............................................................................
ผู้ปฏิบัติงานร่วมทีม ...............................................................
5. การเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย หัวหน้าทีม .............................................................................
ทรัพย์สินและผู้เสียชีวิต ผู้ปฏิบัติงานร่วมทีม ...............................................................
6. การประเมินความเสียหาย หัวหน้าทีม .............................................................................
ผลการปฏิบัติงานและ ผู้ปฏิบัติงานร่วมทีม ...............................................................
รายงานสถานการณ์เพลิงไหม้
7. การช่วยเหลือสงเคราะห์ หัวหน้าทีม .............................................................................
ผู้ประสบภัย ผู้ปฏิบัติงานร่วมทีม ...............................................................
8. การปรับปรุงแก้ไขปัญหา หัวหน้าทีม .............................................................................
เฉพาะหน้าเพื่อให้ธุรกิจสามารถ ผู้ปฏิบัติงานร่วมทีม ...............................................................
ดาเนินการได้โดยเร็วที่สุด

You might also like