You are on page 1of 51

วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

มาตรฐาน
ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและ
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน

ฉบับจัดประชาพิจารณ 12 มิถุนายน 2551

ISBN xxx-xxxx-xx-x
มาตรฐาน วสท. ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1
EIT Standard เดือน .... 2551
2004-51 ราคา ....... บาท
วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

มาตรฐานระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน
และโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน

ISBN xxx-xxxx-xx-x
มาตรฐาน วสท. ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1
EIT Standard เดือน .... 2551
2004-51 ราคา ....... บาท
ชื่อหนังสือ มาตรฐานระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
ชื่อผูเ ขียน คณะอนุกรรมการมาตรฐานไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
คณะอนุกรรมการมาตรฐานโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
รหัส ISBN XXX-XXXX-XX-X
พิมพครั้งที่ 1 เดือน............. 2551
จํานวนที่พิมพ 3,000 เลม
ราคา ....... บาท
จัดทําโดย วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
จัดจําหนายโดย วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
พิมพที่ โรงพิมพ......................................
สงวนลิขสิทธิ์โดย วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 2
คํานํา
วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ เห็นวามาตรฐานระบบไฟฟาแสงสวาง
ฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินมีความสําคัญเพราะเกี่ยวเนื่องกับความปลอดภัยในชีวิตของมนุษย จึงได
จัดทํามาตรฐานระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินนี้ขึ้น เพื่อใชเปนขอกําหนดในการ
ออกแบบ ติดตั้งและตรวจสอบ การใชงานระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
มาตรฐานนี้กําหนดตามเกณฑอยางต่ําของความปลอดภัย เพื่อใหมีการออกแบบ ติดตั้ง รวมถึงการ
ใชโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินที่เปนมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ เพื่อปองกันความสับสนสําหรับผูใชอาคาร
เนื้อหาในมาตรฐานกลาวถึงขอบเขตเพื่อใหเขาใจถึงขอบเขตที่มาตรฐานใชบงั คับ การเตรียมการ
และความจําเปนในการใหแสงสวางฉุกเฉิน การออกแบบ การติดตั้ง การตรวจสอบและการทดสอบโคมไฟฟา
ฉุกเฉิน แบตเตอรี่ที่ใช ระบบการเดินสายและขอกําหนดของวงจร ใบรับรองและสมุดบันทึก การจัดเก็บเอกสารที่
ใชในระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน นอกจากนี้เนื้อหามาตรฐานยังรวมถึงโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน ซึ่งตองมี
รูปแบบ ขนาดและสีที่เหมาะสม เพื่อใหมองเห็นและสามารถหนีออกจากพื้นที่ที่ไมปลอดภัยใหเร็วที่สุด ซึ่งโคม
ไฟปายทางออกฉุกเฉินจะตองมีความสวางที่เพียงพอ และการติดตั้งตองสามารถมองเห็นไดงายตามทางหนีภัย
มาตรฐานนี้ครอบคลุมเฉพาะการออกแบบ ติดตั้งและตรวจสอบเทานั้น ไมครอบคลุมการเลือกใช
อุปกรณ ซึ่งเปนหนาที่ของผูเกี่ยวของที่จะเลือกอุปกรณที่มีคุณภาพ โดยมีมาตรฐานรับรองคุณภาพ ความสามารถ
ในการทํางานของอุปกรณทตี่ องไมต่ํากวาที่กําหนดในมาตรฐานนี้
การใชมาตรฐานนี้ ผูใชตองมีความรูพื้นฐานดานระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน ซึ่งจะเขาใจไดงายขึ้น
ถาผูใชไดรับการอบรมเพื่อใหเขาใจการใชมาตรฐานอยางถูกตอง
ในกรณีที่มีกฎหมายหรือขอบังคับอื่นใดนอกเหนือจากมาตรฐานนี้ ใหทําตามกฎหมายหรือ
ขอบังคับอื่นที่กําหนดไว และใหเปนไปตามมาตรฐานการออกแบบและการติดตั้งในมาตรฐานนี้

วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 3
คํานํา
มาตรฐานโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินฉบับนี้ เริ่มมาจากการที่สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ
อุตสาหกรรม (สมอ.) ไดจัดตั้งคณะทํางานเพื่อพิจารณายกรางมาตรฐานโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน โดยมี
เปาหมายจะประกาศเปนมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) ตอไป
ปจจุบันผลิตภัณฑอุตสาหกรรมโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน ไดเขามามีบทบาทตอการออกแบบอาคารที่
อยูอาศัย อาคารสํานักงาน และอาคารอื่นที่คลายกัน เพื่อใชเปนสิ่งอํานวยความสะดวกใหผูใชสถานที่สามารถ
อพยพออกจากอาคารไดอยางถูกตองและรวดเร็ว เมื่อเกิดสภาวะฉุกเฉินขึ้น เพื่อเปนการสงเสริมอุตสาหกรรม
ประเภทนี้ และเพื่อใหผลิตภัณฑนี้มีคุณลักษณะและคุณสมบัติถูกตองตามหลักวิชาการ สํานักงานมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) จึงกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินขึ้นโดย
ใชเอกสารตอไปนี้เปนแนวทาง
มาตรฐานโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินเปนสวนหนึ่งของมาตรฐานระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคม
ไฟปายทางออกฉุกเฉิน สวนที่เพิ่มเติมในมาตรฐานนี้คือ สี สัญลักษณ และขนาด การติดตั้ง การใชงานของโคม
ไฟปายทางออกฉุกเฉินรวมกับไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินกําหนดทิศทางการเคลื่อนที่
เพื่อออกจากพื้นที่ใหเร็วที่สุดจนถึงทางออกที่ปลอดภัย โดยมีแสงสวางฉุกเฉินสองทางเพื่อใหเกิดความปลอดภัย
ในการออกจากพื้นที่ โดยรูปแบบของโคมปายทางออกอาจทําเปนปายแยก หรือทําเปนปายรวมก็ได กรณีที่ทํา
เปนปายรวม ลูกศรตองหางจากสัญลักษณไมนอยกวา 25 มิลลิเมตร

เอกสารอางอิง
AS 2293.3-2005 Emergency escape lighting and exit signs for building: Part 3 : Emergency escape luminaries
and exit signs

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 4
รายชื่อคณะอนุกรรมการจัดทํารางมาตรฐาน
ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
ที่ปรึกษา
1. รศ.ดร.ชํานาญ หอเกียรติ
2. คุณโสภณ ศิลาพันธ
คณะอนุกรรมการจัดทํารางมาตรฐาน
1. นายเกียรติ อัชรพงศ ประธานอนุกรรมการ
2. นายธนา ชาตะวราหะ รองประธานอนุกรรมการ
3. นายประกรณ เมฆจําเริญ อนุกรรมการ
4. นายสุโชติ สุเมธาวีนันท อนุกรรมการ
5. นายรัฐพล ใหญสิงหบุญ อนุกรรมการ
6. นายอุทัย จิตเสรี อนุกรรมการ
7. นายพิชญะ จันทรานุวัฒน อนุกรรมการ
8. นายกิตติ สุขุตมตันติ อนุกรรมการ
9. นายสุพล แกวบรรพต อนุกรรมการ
10. นายสมศักดิ์ วัฒนศรีมงคล อนุกรรมการ
11. นายพงษพันธ ไชยะคํา อนุกรรมการ
12. นายลือชัย ทองนิล อนุกรรมการ
13. นายสุนทร จูงใจ อนุกรรมการ
14. นายรุงโรจน ชางปรุง อนุกรรมการ
15. นายจิรัฏฐ มงคลวิเศษวรา อนุกรรมการและเลขานุการ
16. นางสาวสโรชา มัฌชิโม ผูชวยเลขานุการ

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 5
รายชื่อคณะทํางานปรับปรุงมาตรฐาน
ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
ป พ.ศ. 2551
1. นายเกียรติ อัชรพงศ ประธานคณะทํางาน
2. นายไชยะ แชมชอย คณะทํางาน
3. นายจิรัฏฐ มงคลวิเศษวรา คณะทํางาน
4. นายธีระ ริมปรังษี คณะทํางาน
5. นายสุธี ปนไพสิฐ คณะทํางาน
6. นายจรูญ มาสุขใจ คณะทํางาน
7. นายพงษพันธ ไชยะคํา คณะทํางาน
8. นายวิเชียร พิสุทธิ์เศวตกุล คณะทํางาน
9. นายรัฐพล ใหญสิงหบุญ คณะทํางาน
10.นายสถาพร รุงรัตนาอุบล คณะทํางาน
11.นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล คณะทํางาน
12.นายกิตติ สุขุตมตันติ คณะทํางานและเลขานุการ
13. นางสาวสโรชา มัฌชิโม ผูชวยเลขานุการ
14.นางสาวเมตตา หมอนเขื่อน ผูชวยเลขานุการ

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 6
สารบัญ
หนา
ภาคที่ 1 นิยาม 12
ภาคที่ 2 ไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน 16
1. ขอบเขต 17
2. การเตรียมการและการจดบันทึก 17
2.1 การเตรียมการ 17
2.2 แผนผังอาคาร 17
2.3 การจดบันทึก 17
3. การใหแสงสวางฉุกเฉิน 18
3.1 ทั่วไป 18
3.2 การใหแสงสวางเพื่อการหนีภัย 18
3.3 การใหแสงสวางสํารอง 18
4. ความสองสวางเพื่อการหนีภัย 19
4.1 ทั่วไป 19
4.2 ความสองสวางขั้นต่ําและการปรับตา 19
4.3 ชวงเวลาการสองสวาง 20
4.4 ความสม่ําเสมอของการสองสวาง 20
5. การออกแบบการใหแสงสวางฉุกเฉิน 21
5.1 ทั่วไป 21
5.2 แหลงจายไฟฟาแสงสวาง 21
5.3 การทํางานของแหลงจายไฟฟาฉุกเฉิน 21
5.4 ความลมเหลวของโคมไฟฟาฉุกเฉิน 22
5.5 โคมไฟฟาแสงสวางหนีภัย 22
5.6 การทําเครื่องหมายและฉลาก 23
6. การติดตั้งโคมไฟฟาฉุกเฉิน 24
6.1 ตําแหนงติดตั้ง 24
6.2 แสงบาดตา 24
7. แบตเตอรี่ 24

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 7
8. ระบบการเดินสายและขอกําหนดของวงจร 25
8.1 ทั่วไป 25
8.2 การเดินสายไฟฟาสําหรับโคมไฟตอพวง 25
9. ใบรับรองและสมุดบันทึก 26
9.1 ใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ 26
9.2 ใบรับรองการตรวจสอบและการทดสอบ 26
9.3 สมุดบันทึก 26
10. การตรวจสอบและการทดสอบ 27
10.1 การตรวจสอบราย 3 เดือน 27
10.2 การตรวจสอบราย 1 ป 27
11. การจัดเก็บเอกสารของระบบไฟฟาฉุกเฉิน 27

ภาคที่ 3 โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
1. ขอบขาย 30
2. บทนิยาม 30
3. ขอกําหนดทั่วไป 31
3.1. ขอกําหนดของปาย 31
3.1.1. องคประกอบภาพและรูปราง 31
3.1.2. ตําแหนงขององคประกอบภาพ 35
3.1.3. พื้นที่ปายเพิ่มเติม 35
3.1.4. ขอบปาย 35
3.1.5. สี 35
3.1.6. ขนาดขององคประกอบภาพ 36
3.1.7. ขนาดของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน 36
3.2. ขอกําหนดดานการสองสวาง 38
3.2.1. ขอกําหนดทั่วไป 38
3.2.2. การสองสวาง 38
3.3. ขอกําหนดในการทํางาน 43
3.3.1. ชนิดของแบตเตอรี่ 43

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 8
3.3.2. ความจุของแบตเตอรี่ 43
3.3.3. สัญญาณแสดงความลมเหลวของแบตเตอรี่ 43
4. ภาวะทั่วไปสําหรับการทดสอบ 43
4.1. ขอกําหนดทั่วไปในการทดสอบ 43
4.2. การทดสอบดานการสองสวาง 43
5. การทําเครื่องหมายและฉลาก 44
6. การติดตั้งโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน และระยะหาง 45
6.1 ความสูงของการติดตั้ง 45
6.2 ระยะหางระหวางปายทางออก 45
6.3 ระยะมองเห็นไกลสุด 47
6.4 การเดินสายและขอกําหนดของอุปกรณโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินแบบ
โคมไฟฟาตอพวง 48
6.4.1 ทั่วไป 48
6.4.2 การเดินสายไฟฟาสําหรับโคมไฟฟาตอพวง 48
7. ใบรับรองและสมุดบันทึก 49
7.1 ใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ 49
7.2 ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ 49
7.3 สมุดบันทึก 49
8. การตรวจสอบและทดสอบ 49
8.1 การตรวจสอบราย 3 เดือน 50
8.2 การตรวจสอบราย 1 ป 50
9. การจัดเก็บเอกสารของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน 50
9.1 แบบติดตั้งจริงของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน 50
9.2 ใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ 50
9.3 ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ 50
9.4 สมุดบันทึก 50

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 9
ภาคผนวก
หนา
ภาคผนวก ก การวัดความสองสวางในระบบแสงสวางฉุกเฉิน 51
ภาคผนวก ข รายละเอียดและขอแนะนําเรื่องระบบแบตเตอรี่ 54
ภาคผนวก ค รูปแบบและสีโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน 58
ภาคผนวก ง ใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ 61
ภาคผนวก จ ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ 64
ภาคผนวก ฉ ตัวอยางการทําเครื่องหมายและฉลาก 67
ภาคผนวก ช การเลือกระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน 69
ภาคผนวก ฌ ขั้นตอนการออกแบบ 73

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 10
สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 1 โคออรดิเนตสีของวัสดุโปรงแสง 36
ตารางที่ 2 ขนาดของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน 37
ตารางที่ 3 ขนาดของพื้นที่วัดความสวาง 38
ตารางที่ 4 ตําแหนงจุดวัดคาความสวางบนองคประกอบภาพสีเขียว 39
ตารางที่ 5 ตําแหนงจุดวัดคาความสวางบนองคประกอบภาพสีขาว 41
ตารางที่ 6 ระยะมองเห็นไกลสุดของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน 47

สารบัญรูป
หนา
รูปที่ 1 ตัวอยางองคประกอบของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน 31
รูปที่ 2 องคประกอบภาพที่กําหนด 32
รูปที่ 3 โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินที่ใชองคประกอบภาพ 1 ชิ้น 33
รูปที่ 4 โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินที่ใชองคประกอบภาพ 2 ชิ้น 34
รูปที่ 5 ขอบเขตตําแหนงสีของสีเขียว และสีขาวของวัสดุโปรงแสง 34
รูปที่ 6 ตําแหนงจุดวัดความสวางบนองคประกอบภาพสีเขียว 37
รูปที่ 7 ตําแหนงจุดวัดคาความสวางบนองคประกอบภาพสีขาว 40
รูปที่ 8 แสดงการติดตั้งปายทางออก 47
รูปที่ 9 การติดตั้งปายทางออกใกลพื้นเสริมกับไฟทางออกดานบน 47

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 11
ภาคที่ 1
นิยาม

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 12
ภาคที่ 1
นิยาม
1. การใหแสงสวางงานความเสี่ยงสูง (high-risk task lighting) หมายถึง สวนของการใหแสงสวางฉุกเฉิน
เพื่อใหเกิดความปลอดภัยกับผูที่เกี่ยวของกับงานหรือสถานการณทอี่ ันตราย และเพื่อใหสามารถยกเลิกงาน
หรือขบวนการไดอยางถูกตองและปลอดภัย
2. การใหแสงสวางฉุกเฉิน (emergency lighting) หมายถึง การใหแสงสวางเมื่อแหลงจายไฟฟาปกติลมเหลว
การใหแสงสวางฉุกเฉินรวมถึง การใหแสงสวางเพื่อการหนีภัย (escape lighting) และการใหแสงสวาง
สํารอง (standby lighting)
3. การใหแสงสวางเพื่อการหนีภัย (escape lighting) หมายถึง สวนของการใหแสงสวางฉุกเฉินที่ใหความสอง
สวางพอเพียงเพื่อใหผูที่เกี่ยวของออกจากพื้นที่ไดอยางปลอดภัย รวมถึงพื้นที่เตรียมการหนีภัยและพื้นที่เก็บ
อุปกรณดับเพลิง อุปกรณแจงเหตุ และอุปกรณปฐมพยาบาล หรือเพื่อใชในการยกเลิกงาน หรือขบวนการที่
อันตรายกอนออกจากพื้นที่
4. การใหแสงสวางสํารอง (standby lighting) หมายถึง สวนของการใหแสงสวางฉุกเฉินที่ทําใหสามารถ
ดําเนินกิจกรรมตอไปไดตามปกติ หรือสามารถยกเลิกกิจกรรมนั้นไดอยางปลอดภัย การใหแสงสวางนี้อาจมี
ความสองสวางนอยกวาการใหแสงสวางปกติ
5. โคมไฟฟาตอพวง (slave luminaire) หมายถึง โคมไฟฟารับไฟจากระบบแหลงจายไฟฟาฉุกเฉินสวนกลาง
และไมมีแหลงจายไฟฟาภายในโคม
6. โคมไฟฟาฉุกเฉิน (emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟาที่มีอุปกรณสําหรับการใหแสงสวางฉุกเฉิน
7. โคมไฟฟาฉุกเฉินคงแสง (maintained emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟาซึ่งหลอดไฟฟาใหแสง
สวางฉุกเฉินไดรับพลังงานไฟฟาตลอดเวลาจากแหลงจายไฟฟาปกติ หรือ แหลงจายไฟฟาฉุกเฉิน
8. โคมไฟฟาฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ (self-contained emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟาฉุกเฉินคงแสง
หรือไมคงแสง ซึ่งอุปกรณทั้งหมด เชน แบตเตอรี่ หลอดไฟฟา ชุดควบคุม อุปกรณทดสอบและอุปกรณ
แสดงสภาวะ ประกอบอยูภายในโคม หรือใกลโคมภายในระยะ 1 เมตรของสายตอ
9. โคมไฟฟาฉุกเฉินไมคงแสง (non-maintained emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟาซึ่งหลอดไฟฟา
ใหแสงสวางฉุกเฉินจะทํางานเฉพาะเมื่อแหลงจายไฟฟาปกติลมเหลว

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 13
10. โคมไฟฟาฉุกเฉินรวม (combined emergency luminaire) หมายถึง โคมไฟฟาประกอบดวยหลอดสอง
หลอดหรือมากกวา ที่อยางนอยหนึ่งหลอดไดรับไฟจากแหลงจายไฟฟาฉุกเฉิน และอีกหนึ่งหลอดไดรับไฟ
จากแหลงจายไฟฟาปกติ โคมไฟฟาฉุกเฉินรวมเปนไดทั้งแบบ คงแสง หรือไมคงแสง
11. ชุดควบคุม (control unit) หมายถึง ชุดที่ประกอบดวยระบบถายโอนแหลงจายไฟฟา อุปกรณประจุ
แบตเตอรี่ และอุปกรณทดสอบสําหรับชุดควบคุมที่ใชกับหลอดฟลูออเรสเซนตอาจรวมบัลลาสตไวขา งใน
ดวย
12. ทางหนีภัย (escape route) หมายถึง ทางที่ประกอบเปนสวนหนึ่งสําหรับหนีภัยจากจุดหนึ่งในอาคาร ไปยัง
ทางออกสุดทาย
13. ทางออกสุดทาย (final exit) หมายถึง ปลายทางของทางหนีภัย ซึ่งทําใหคนไมตกอยูในอันตรายเนื่องจากไฟ
ไหม
14. ปายทางออก หมายถึง ปายที่ใชแสดงทางออกฉุกเฉิน หรือทางหนีภัย
15. ปายทางออกสวางในตัว (internally illuminated exit sign) หมายถึง ปายที่มีองคประกอบภาพตาม
มาตรฐานโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน ดังเชน ตัวอยางรูปที่ 1 โดยมีการเปลงแสงสวางของปายจาก
แหลงกําเนิดแสงภายในตัวเอง ไมตองอาศัยแหลงกําเนิดแสง (light source) ภายนอก
16. พิกัดชวงเวลาการสองสวางฉุกเฉิน (rated duration of emergency operation) หมายถึง ระยะเวลาที่โคม
ไฟฟาฉุกเฉินสามารถใหปริมาณแสงออกจากโคมตามพิกัดได
17. พิกัดปริมาณแสงของโคมไฟฟาฉุกเฉิน (rated lumen output of emergency luminaire) หมายถึง ปริมาณ
แสงที่กําหนดโดยผูผลิต หลังจากที่ไฟฟาปกติเกิดลมเหลวภายใน 60 วินาที (หรือ 0.25 วินาที สําหรับพื้นที่
งานความเสี่ยงสูง)
18. พื้นที่งานอันตราย หมายถึง พื้นที่ซึ่งมีการทํางานอยางตอเนื่องของเครื่องจักร หรือ พื้นที่ที่มีการใชเชื้อเพลิง
ในรูปแบบตาง ๆ เปนตน
19. สภาวะฉุกเฉิน (emergency mode) หมายถึง ภาวะของโคมไฟฟาฉุกเฉินใหแสงสวาง โดยรับไฟจาก
แหลงจายไฟฟาฉุกเฉิน ขณะเกิดภาวะลมเหลวของแหลงจายไฟฟาปกติ
20. สภาวะปกติ (normal mode) หมายถึง ภาวะของโคมไฟฟาฉุกเฉินที่พรอมที่จะทํางานในสภาวะฉุกเฉิน
ขณะที่แหลงจายไฟฟาปกติทํางาน ในกรณีที่แหลงจายไฟฟาปกติลมเหลวโคมไฟฟาฉุกเฉินตองเปลี่ยน
ภาวะการทํางานจากสภาวะปกติไปเปนสภาวะฉุกเฉินอัตโนมัติ และเมื่อแหลงจายไฟฟาปกติคืนสภาพ
ดังเดิมโคมไฟฟาก็กลับไปที่สภาวะปกติอัตโนมัติ
21. สภาวะพัก (rest mode) หมายถึง ภาวะของโคมไฟฟาฉุกเฉินที่ใหดับลง เมื่อแหลงจายไฟฟาปกติลมเหลว
และเมื่อแหลงจายไฟฟาปกติคืนสภาพดังเดิมโคมไฟฟาก็กลับไปที่สภาวะปกติอัตโนมัติ

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 14
22. สภาวะลมเหลวของแหลงจายไฟฟาปกติ (normal supply failure) หมายถึง สภาวะที่แสงสวางปกติไม
สามารถใหความสองสวางอยางต่ําเพื่อการหนีภัยฉุกเฉิน และระบบการใหแสงสวางฉุกเฉินควรเริ่มทํางาน
23. สายทนไฟ (fire resistant cable) หมายถึง สายไฟฟาที่มีฉนวนชั้นในของสายไฟ เปนวัสดุชนิดทนไฟ และ
ฉนวนชั้นนอกเปนวัสดุชนิดที่ไมทําใหเกิดไฟลามงาย มีควันนอยเมื่อถูกเปลวไฟ และไมมีสวนผสมของ
กลุมธาตุ Halogen และสายทนไฟตองผานการทดสอบตามมาตรฐาน BS 6387 ในลําดับชั้น C, W & Z
- ลําดับชั้น C ทนตอการถูกเปลวไฟที่อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส เปนเวลา 3 ชั่วโมง
- ลําดับชั้น W ทนตอการถูกเปลวไฟที่อุณหภูมิ 650 องศาเซลเซียส เปนเวลา 15 นาที และพรอมกับ
การฉีดน้ําขณะถูกเปลวไฟอีก 15 นาที
- ลําดับชั้น Z ทนตอการถูกเปลวไฟที่อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส เปนเวลา 15 นาที พรอมกับการ
เคาะสายไฟทุก 30 วินาที

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 15
ภาคที่ 2
ไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 16
ภาคที่ 2
ไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน

1. ขอบเขต
มาตรฐานนี้มีไวเพื่อใชเปนขอกําหนดในการออกแบบ ติดตั้งและตรวจสอบสําหรับการใชงาน
ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน มาตรฐานนี้กําหนดตามเกณฑอยางต่ําของความปลอดภัย ในกรณีที่มี
กฎหมายหรือขอบังคับอื่นใดนอกเหนือจากมาตรฐานนี้ใหทําตามกฎหมายหรือขอบังคับอื่นที่กําหนดไว
นอกเหนือจากนั้นใหเปนไปตามมาตรฐานการออกแบบ และการติดตั้งนี้

2. การเตรียมการและการจดบันทึก
2.1 การเตรียมการ
ความปลอดภัยเนื่องจากการใหแสงสวางฉุกเฉินควรไดรับความรวมมือจากเจาของ ผูครอบ ครอง
พื้นที่ใชงาน สถาปนิก วิศวกร ผูรับเหมา เจาหนาที่ของรัฐ และผูที่เกี่ยวของตั้งแตเริ่มโครงการ
นอกเหนือจากมาตรฐานนี้ผูรวมงานทั้งหมดตองนํากฎหมาย ขอบังคับที่เกี่ยวของมาพิจารณาประกอบ
ดวย

2.2 แผนผังอาคาร
ตองเตรียมแผนผังอาคารซึ่งแสดงทางหนีภัย อุปกรณพื้นฐานระบบดับเพลิง เชน จุดติดตั้งอุปกรณ
แจงเหตุดวยมือ อุปกรณผจญเพลิง อุปกรณสื่อสารที่มีและตําแหนงของวัสดุ อุปกรณ โครงสราง หรืออยาง
อื่นที่อาจกีดขวางทางหนีภัย เพื่อใชในการเตรียมการตามขอ 2.1

2.3 การจดบันทึก
เจาของอาคารตองจัดเตรียมสิ่งตาง ๆ ดังนี้
ก. แบบแสดงการติดตั้งจริงของระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน แบบดังกลาวตองมีการแกไขเพื่อใหทันสมัย
ตลอดเวลา เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระบบ
ข. สมุดบันทึกที่บันทึกผลการตรวจสอบประจํา การทดสอบ การเปลี่ยนแปลง และขอบกพรองที่เกิดขึน้
ค. คูมือของการทํางานและการบํารุงรักษา

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 17
3. การใหแสงสวางฉุกเฉิน
3.1 ทั่วไป
การใหแสงสวางฉุกเฉิน ใชเมื่อแหลงจายไฟฟาปกติลมเหลว มาตรฐานนี้เมื่อกลาวถึงไฟฟาแสง
สวางฉุกเฉิน หมายถึงการใหแสงสวางเพื่อการหนีภัยโดยเฉพาะ รวมถึงองคประกอบอื่น ๆ ของการให
แสงสวางสํารองซึ่งอาจใชสําหรับการหนีภัยดวย

3.2 การใหแสงสวางเพื่อการหนีภัย
การใหแสงสวางเพื่อการหนีภัยสําหรับอาคารที่มีผูอยูอาศัยตองเปนไปตามขอกําหนดตาง ๆ ดังนี้
ก. เพื่อใหเห็นทางหนีภัยชัดเจน และหนีภัยไดอยางปลอดภัย
ข. เพื่อใหเห็นอุปกรณแจงเหตุดวยมือ และอุปกรณผจญเพลิงที่ติดตั้งตามเสนทางหนีไฟไดอยางชัดเจน

การใหแสงสวางเพื่อการหนีภัย ไมไดมีไวเพื่อใหแสงสวางเฉพาะเมื่อระบบจายไฟฟาปกติทั้งระบบ
ลมเหลวแตเพียงอยางเดียว แตมไี วใหแสงสวางเมื่อมีความลมเหลวของการจายไฟฟาปกติในพื้นที่
บางสวนที่อาจนําไปสูการเกิดอันตรายขึ้นได เชน เมื่อวงจรไฟแสงสวางบริเวณบันไดเสีย ไฟฟาแสงสวาง
ฉุกเฉินเพื่อการหนีภัยตองทํางาน

3.3 การใหแสงสวางสํารอง
สําหรับพื้นที่ที่ตองมีกิจกรรมตอเนื่องเมื่อไฟฟาปกติลมเหลว ควรติดตั้งไฟฟาสํารองเพื่อใหมีความ
สองสวางเหมาะสมสําหรับกิจกรรมนั้นๆ ในบางกรณีอาจตองใหความสองสวางไฟฟาสํารองเทากับความ
สองสวางในสภาพจายจากไฟฟาปกติ
ในกรณีที่การใหแสงสวางสํารองนั้นเปนสวนหนึ่งของการใหแสงสวางเพื่อการหนีภัย ตองแยก
สวนของการใหแสงสวางเพื่อการหนีภัยจากวงจรการใหแสงสวางสํารองทั่วไป และใหเปนไปตาม
มาตรฐานนี้
ในกรณีที่การใหแสงสวางสํารองทั้งหมดใชสําหรับการใหแสงสวางเพื่อการหนีภัยดวย การติดตั้ง
ระบบการใหแสงสวางตองใหเปนไปตามมาตรฐานนี้

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 18
4. ความสองสวางเพื่อการหนีภัย
4.1 ทั่วไป
การหนีภัยตามทางเพื่อไปออกที่ทางออกสุดทายไดอยางปลอดภัย ตองอาศัยความสองสวางที่
เหมาะสม เพื่อใหสามารถมองเห็นอันตราย หรือมองเห็นการเปลี่ยนระดับพื้น และการเปลี่ยนทิศทางของ
เสนทางการหนีภัย

4.2 ความสองสวางขั้นต่ําและการปรับตา
ในกรณีที่ไฟฟาปกติลมเหลว ไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินตองใหมีความสองสวางเพื่อใหหาทางออกได
อยางปลอดภัย
4.2.1 ทางหนีภัย ความสองสวางในแนวระดับที่พื้น ที่เสนกึ่งกลางของทางหนีภัยตองไมนอยกวา 1 ลักซ
และความสองสวางที่จุดใดๆ ในระยะหางจากไมเกิน 1 เมตร จากเสนกึ่งกลางของทางหนีภัย ตอง
ไมนอยกวา 0.5 ลักซ

4.2.2 พื้นที่โลงใหญ ที่ไมมีทางหนีภัยที่ชัดเจน ความสองสวางในแนวระดับที่พื้นทั่วพื้นที่ที่ไมมีสิ่งกีด


ขวาง ตองไมนอยกวา 0.5 ลักซ ยกเวนพื้นที่ที่หางจากผนังในระยะ 50 เซนติเมตร โดยรอบ

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 19
4.2.3 พื้นที่งานอันตราย ความสองสวางที่พื้นที่ทํางานตองไมนอยกวา 15 ลักซ ความสองสวางนี้ตองไม
มีการขาดชวง และอาจใชสําหรับระยะเวลาอันสั้นๆ
4.2.4 พื้นที่เตรียมการหนีภัย ขนาดของพื้นที่ตามที่ระบุในแบบและแผนการอพยพของอาคาร ความสอง
สวางในแนวระดับที่พื้น ตองไมนอยกวา 15 ลักซ
4.2.5 พื้นที่เก็บอุปกรณดับเพลิง อุปกรณแจงเหตุ และอุปกรณปฐมพยาบาล ความสองสวางในแนวระดับที่
พื้น ตองไมนอยกวา 15 ลักซ ในรัศมี 1 เมตรจากตําแหนงติดตั้งอุปกรณ

4.3 ชวงเวลาการสองสวาง
ความสองสวางเพื่อการเคลื่อนไหวที่ปลอดภัยตองมีความสองสวางตามพิกัดที่กําหนดในขอ 4.2 ได
ติดตอกันนานไมนอยกวา 90 นาที โดยอนุโลมใหระดับความสองสวางสามารถลดลงได โดยใหเหลือไม
นอยกวารอยละ 60 ของระดับความสองสวางเริ่มแรก

4.4 ความสม่ําเสมอของการสองสวาง
ความสม่ําเสมอของการสองสวางใหเปนดังนี้
ก. อัตราสวนระหวางความสองสวางเฉลี่ยกับความสองสวางต่ําสุด ตองไมเกิน 10 ตอ 1
ข. อัตราสวนระหวางความสองสวางสูงสุดกับความสองสวางต่ําสุด ตองไมเกิน 40 ตอ 1

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 20
5. การออกแบบการใหแสงสวางฉุกเฉิน
5.1 ทั่วไป
การใหแสงสวางฉุกเฉินใชเมื่อแสงสวางจากแหลงจายไฟฟาปกติลมเหลว ดังนั้นตองมีแหลงจายไฟ
อิสระที่ไมขึ้นกับแหลงจายไฟแสงสวางปกติ

5.2 แหลงจายไฟฟาแสงสวาง
5.2.1 ในสภาวะปกติ แสงสวางที่ทางออกควรมาจากแหลงจายไฟที่มีความเชื่อถือไดสูง เชนจากการไฟฟา
5.2.2 ในสภาวะฉุกเฉิน ใหใชโคมที่จายไฟฟาจากแบตเตอรี่ ซึ่งตองเปนชนิดที่มีความเชื่อถือไดสูง
สามารถประจุกลับเขาไปใหมไดเองโดยอัตโนมัติ ไมอนุญาตใหใชเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนแหลง
จายไฟใหกับโคมไฟฟาฉุกเฉิน

5.3 การทํางานของแหลงจายไฟฟาฉุกเฉิน
5.3.1 แหลงจายไฟฟาฉุกเฉินตองสามารถทํางานไดเมื่อแหลงจายไฟฟาปกติลม เหลว หรือ เมื่อเครื่อง
ปองกันกระแสเกิน เปดวงจร
5.3.2 การเปลี่ยนจากแหลงจายไฟฟาปกติมาเปนแหลงจายไฟฟาฉุกเฉิน ตองทําไดสมบูรณภายในเวลา 5
วินาที
5.3.3 แหลงจายไฟฟาฉุกเฉินตองทํางานไดอยางตอเนื่องและทํางานอีกครั้งไดโดยอัตโนมัติ

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 21
5.4 ความลมเหลวของโคมไฟฟาฉุกเฉิน
การใหแสงสวางฉุกเฉินแบบโคมไฟฟาตอพวง เมื่อโคมไฟฟาใดเสียหรือไมทํางานจะตองไมทําให
เกิดการกระทบตอการทํางานของระบบโดยรวม

5.5 โคมไฟฟาแสงสวางหนีภัย
5.5.1 โครงสราง โคมไฟฟาฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จหรือโคมไฟฟาตอพวง ตองเลือกใชชนิดที่มีระดับการ
ปองกันความชื้นและฝุนใหเหมาะสมกับสถานที่ใชงาน กรณีที่ใชในสถานที่อันตราย (hazardous
area) ตองใชโคมกันระเบิด
5.5.2 การติดไฟ โคมไฟฟาฉุกเฉินที่ใชกับทางหนีภัยควรเปนชนิดตานทานตอเปลวไฟและการติดไฟ
5.5.3 ขอกําหนดทั่วไป
ก. โคมไฟฟาฉุกเฉิน ที่ใชหลอดฟลูออเรสเซนตสําหรับใหแสงสวาง ตองเปนชนิดที่ไมใชสตารต
เตอร
ข. โคมไฟฟาฉุกเฉิน ตองใหปริมาณแสงของโคมไฟฟาออกมาเต็มพิกัดตามที่ผูผลิตแจงภายใน 60
วินาที หลังจากที่แหลงจายไฟปกติลมเหลว
ค. โคมไฟฟาฉุกเฉินที่ใชสําหรับพื้นที่งานความเสี่ยงสูง ตองใหปริมาณแสงของโคมไฟฟาออกมา
ไดพิกัดตามที่ผูผลิตแจงภายใน 0.25 วินาที หลังจากที่แหลงจายไฟปกติลมเหลว
ง. โคมไฟฟาฉุกเฉินตองสามารถทํางานไดในภาวะฉุกเฉินที่อุณหภูมิแวดลอมที่ 70 องศาเซลเซียส
โดยชวงเวลาการสองสวางไมนอยกวา 45 นาที
จ. อุปกรณประจุแบตเตอรี่ตองสามารถอัดประจุไดเต็มภายในเวลา 24 ชั่วโมง
ฉ. โคมไฟฟาฉุกเฉินชนิดตอพวงตองมีอุปกรณสําหรับการทดสอบระบบ เพื่อจําลองความลมเหลว
ของแหลงจายไฟปกติ โคมไฟฟาฉุกเฉินตองสองสวางนานไมนอยกวา 30 นาที และกลับสู
สภาพปกติโดยอัตโนมัติ ในกรณีที่แบตเตอรี่ ไมสามารถจายไฟไดนาน 30 นาที ในระหวางการ
ทดสอบ ระบบตองมีสัญญาณแสดงความลมเหลวของแบตเตอรี่

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 22
5.6 การทําเครื่องหมายและฉลาก
โคมไฟฟาฉุกเฉินตองมีการทําเครื่องหมายและฉลาก ใหเห็นไดงาย ชัดเจนและคงทน เพื่อแจง
รายละเอียดอยางนอยตอไปนี้
ก. คําวา "โคมไฟฟาฉุกเฉิน"
ข. หมายเลขแบบหรือรุน ของผูผลิต
ค. รายละเอียดเกี่ยวกับหลอดไฟฟา
ค.1 ชนิดของหลอดวาเปน หลอดอินแคนเดสเซนต หลอดฟลูออเรสเซนต หรือหลอดแบบอื่น ๆ
ค.2 แรงดันไฟฟาเปน โวลต
ค.3 จํานวนหลอดและกําลังไฟฟาที่กําหนดของหลอดเปน วัตต
ค.4 ฟลักซการสองสวางเปน ลูเมน ของหลอดไฟฟาในสภาพการใชงานจริง (ดูขอ 5.5.3 ประกอบ)
ง.รายละเอียดเกี่ยวกับแบตเตอรี่
ง.1 ชนิดของแบตเตอรี่
ง.2 แรงดันไฟฟาเปน โวลต
ง.3 ความจุเปน แอมแปรชั่วโมง
จ.ชวงเวลาการสองสวางเปน นาที หรือ ชั่วโมง (ดูขอ 4.3 ประกอบ)
ฉ.วันที่ผลิต
ในกรณีใชภาษาตางประเทศ ตองเปนภาษาอังกฤษและมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กําหนดไว
ขางตน เห็นไดงาย ชัดเจนและคงทน

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 23
6. การติดตั้งโคมไฟฟาฉุกเฉิน
6.1 ตําแหนงติดตั้ง
โคมไฟฟาฉุกเฉินตองติดตั้งจากพื้นไมนอยกวา 2 เมตร โดยวัดจากพื้นถึงดานลางของโคมไฟฟา
ฉุกเฉิน กรณีติดตั้งต่ํากวา 2 เมตร จะตองไมกีดขวางเสนทางหนีภัย
บริเวณที่ควรติดตั้งโคมไฟฟาฉุกเฉิน เพิ่มเติมจากที่ไดกําหนดไวในขอ 4 คือ
6.1.1 หนาปายทางออกชนิดสองสวางจากภายนอกหรือบริเวณทางออก
6.1.2 บริเวณภายนอกหลังจากออกจากอาคารแลว ควรมีความสองสวางอยางต่ําอยูในระดับเดียวกันกับ
ความสองสวางกอนออกจากอาคาร เพื่อใหสามารถเคลื่อนไหวไดอยางปลอดภัย
6.1.3 ทางแยก ใหติดตั้งโคมไฟฟาฉุกเฉินหางจากทางแยกไมเกิน 2 เมตรในแนวระดับ
6.1.4 ทางเลี้ยว ใหติดตั้งโคมไฟฟาฉุกเฉินหางไมเกิน 2 เมตรในแนวระดับจากจุดเปลี่ยนทิศทาง หรือทาง
เลี้ยว
6.1.5 พื้นเปลี่ยนระดับ ใหติดตั้งโคมไฟฟาฉุกเฉินหางไมเกิน 2 เมตรในแนวระดับจากพื้นเปลี่ยนระดับ
6.1.6 ที่จุดแจงเหตุเพลิงไหม จุดติดตั้งอุปกรณดับเพลิง พื้นที่เตรียมการหนีภัย และอุปกรณปฐมพยาบาล
6.1.7 ในหองเครื่อง หองควบคุม หองตนกําลัง หองสวิตช และบริเวณใกลกับอุปกรณควบคุมการจายไฟ
แสงสวางปกติและไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน
6.1.8 หองน้ํา ใหติดตั้งในหองน้ําทั่วไปที่มีพื้นที่มากกวา 8 ตารางเมตร และหองน้ําสําหรับคนพิการ
6.1.9 บันไดเลื่อนและทางเลื่อน ในกรณีที่ถือวาเปนสวนหนึ่งของทางหนีภัย

6.2 แสงบาดตา (glare)


คอนทราสตระหวางโคมไฟฟาและสภาพแวดลอมที่สูงทําใหเกิดแสงบาดตา ในทางหนีภัยแสงบาด
ตาเปนอุปสรรคมากตอการหนีภัย เพราะทําใหมองสิ่งกีดขวางในเสนทางหนีภัยไมชัด ดังนั้นการติดตั้ง
โคมแตละชุดควรใหระวังและจํากัดความเขมแสงในชวง 0-20 องศาที่ต่ํากวาแนวระดับของโคมลงมา

7. แบตเตอรี่
แบตเตอรี่ที่ใชสําหรับจายไฟใหระบบจายไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินสวนกลาง ตองเปนชนิดที่ไมตอง
บํารุงรักษา (maintenance free) รายละเอียดและขอแนะนําเกี่ยวกับแบตเตอรี่ ดูในภาคผนวก ข.

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 24
8. ระบบการเดินสายและขอกําหนดของวงจร
8.1 ทั่วไป
การเดินสายและติดตั้งโคมไฟฟาฉุกเฉิน ตองเปนไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับ
ประเทศไทย และเพิ่มเติมตามขอ 8.2 และ 8.3

8.2 การเดินสายไฟฟาสําหรับโคมไฟตอพวง
8.2.1 วงจรไฟฟาแยกจากระบบอื่น
วงจรไฟฟาที่จายใหโคมไฟฟาฉุกเฉิน จะตองแยกอิสระจากอุปกรณไฟฟาอื่น ๆ
8.2.2 ชนิดของสายไฟฟา
สายไฟฟาที่ใชสําหรับเดินจากโคมไฟฟาตอพวงไปยังแหลงจายไฟฟาฉุกเฉินสวนกลาง ตอง
เปนชนิดทนไฟ และตองมีการปองกันความเสียหายทางกายภาพ เชน รอยในทอ หรือชองเดินสาย
อื่น ยกเวนในสวนปดลอมทนไฟไมนอยกวา 1 ชั่วโมง หรือใชระบบการเดินสายอื่นที่ใหผลการ
ปองกันเทียบเทากัน
8.2.3 ขนาดสายไฟฟา
สายไฟฟาตองมีขนาดเพียงพอที่จะรับกระแสที่ไหลในวงจรได แตตองมีขนาดไมนอยกวา 1
ตารางมิลลิเมตร และแรงดันตกไมเกินรอยละ 10
8.2.4 การเดินสายแยกจากระบบอื่น
การเดินสายระบบสําหรับโคมไฟฟาตอพวง ตองแยกจากการเดินสายวงจรอื่น โดยการติดตั้ง
ทอ หรือชองเดินสายแยกจากกัน หรือแยกตัวนําจากตัวนําอื่นโดยมีที่กั้นตอเนื่องที่ทําดวยวัสดุที่ไม
ติดไฟ
ชองเดินสายหรือเครื่องหมายอื่น ๆ ตองมีเครื่องหมายกํากับที่ถาวรและเห็นไดชัดเจน
8.2.5 จุดตอสาย
จุดตอสายตองอยูในกลองตอสายที่มีเครื่องหมายกํากับที่ถาวรและชัดเจน จุดตอสายดังกลาว
ตองไมทําใหความทนไฟของสายลดลง
ยกเวนในโคมไฟฟาฉุกเฉิน หรือชุดควบคุม
8.2.6 สวิตช และอุปกรณปองกันสําหรับโคมไฟฟาฉุกเฉิน
สวิตช และอุปกรณปองกันสําหรับระบบโคมไฟฟาฉุกเฉิน ควรติดตั้งในที่ซึ่งบุคคล ทั่วไปไม
สามารถเขาถึงได และแตละสวิตชตัดตอน สวิตช หรืออุปกรณปองกันควรมีปายบอกพื้นที่ใชงาน

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 25
สวิตช และอุปกรณปองกัน ตองมีพิกัดไมนอยกวา 2 เทา ของกระแสในวงจร และไมเกิน 50
แอมแปร

9. ใบรับรองและสมุดบันทึก
9.1 ใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ
เมื่อติดตั้งงานใหมหรืองานเปลี่ยนแปลงของระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินแลวเสร็จ ตองมีการ
ตรวจสอบและทดสอบพรอมออกใบรับรองใหกับเจาของสถานที่ ตัวอยางใบรับรองและขอแนะนําในการ
วัดความสองสวางฉุกเฉินไดแสดงไวในภาคผนวก ค

9.2 ใบรับรองการตรวจสอบและการทดสอบ
เมื่อไดตรวจสอบและทดสอบตามกําหนดระยะเวลา ผูตรวจสอบและผูทดสอบตองออกใบรับรอง
การตรวจสอบและการทดสอบใหกับเจาของสถานที่ทุกครั้งที่มีการตรวจสอบและการทดสอบ ตัวอยาง
ใบรับรองการตรวจสอบและการทดสอบไดแสดงในภาคผนวก ง

9.3 สมุดบันทึก
สมุดบันทึกตองจัดเก็บไวภายใตการควบคุมดูแลของผูรับผิดชอบที่แตงตั้งโดยเจาของและพรอม
สําหรับการตรวจสอบและทดสอบ
สมุดบันทึกอยางนอยตองมีรายละเอียด ดังนี้
ก. วันที่ออกใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ ของงานติดตั้งใหมและงานเปลี่ยนแปลงในแตละครั้ง
ข. วันที่ออกใบรับรองการตรวจสอบและการทดสอบตามกําหนดระยะเวลาในแตละครั้ง
ค. วันที่และรายละเอียดของการบริการ การตรวจสอบ และการทดสอบในแตละครั้ง
ง. วันที่และรายละเอียดของขอบกพรองและการแกไขที่ไดดําเนินการ
จ. วันที่และรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงการติดตั้งระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน
ฉ. คูมือการใชงานและรายละเอียดของอุปกรณของโคมที่ตองเปลี่ยน เชน ชนิด หลอด แบตเตอรี่
และฟวส

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 26
10. การตรวจสอบและการทดสอบ
การลมเหลวของระบบจายไฟแสงสวางปกติอาจเกิดขึ้นไดทุกเวลา ดังนั้นตองมีการตรวจสอบและ
ทดสอบระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินตามระยะเวลาที่ไดกําหนดดังนี้
ก. ราย 3 เดือน
ข. ราย 1 ป
10.1 การตรวจสอบราย 3 เดือน
ตองทําทุก 3 เดือน ตามตารางตัวอยางที่แสดงไวในภาคผนวก ง.
โคมไฟฟาชุดเบ็ดเสร็จหรือชนิดตอพวงแตละชุดควรไดรับการปอนไฟจากแบตเตอรี่ เพื่อจําลอง
ความลมเหลวของการจายไฟแสงสวางปกติสักระยะหนึ่งเพื่อใหแนใจวาหลอดสวาง ระยะเวลาการ
ทดสอบตองไมต่ํากวา 30 นาที ระหวางชวงเวลานี้ตองตรวจสอบโคมทุกชุดดวยตาเปลา เพื่อใหแนใจวา
ทํางานถูกตอง
ในกรณีของโคมไฟฟาชนิดตอพวง ถาเปนไปไดที่จะตรวจสอบดวยตาเปลาทุกโคมในชวงเวลา
ดังกลาว ตองมีการทดสอบเพิ่มเติมหลังจากไดมีการประจุแบตเตอรี่เต็ม

10.2 การตรวจสอบราย 1 ป
ใหมีการทดสอบโดยโคมไฟฟาชุดเบ็ดเสร็จหรือชนิดตอพวงแตละชุดตองปอนไฟจากแบตเตอรี่
เปนชวงเวลาตอเนื่อง 60 นาที เพื่อจําลองความลมเหลวของแหลงจายไฟฟาแสงสวางปกติ ระหวาง
ชวงเวลานี้ตองตรวจสอบโคมทุกชุดดวยตาเปลาเพื่อใหแนใจวาทํางานถูกตอง เมื่อสิ้นสุดการทดสอบ ให
ปอนแหลง จายไฟฟาปกติเขาโคมไฟฟาและตรวจสอบไฟแสดงหรืออุปกรณ เพื่อใหแนใจวาไดมีการปอน
ไฟฟาปกติเขาระบบ
ในกรณีของโคมไฟฟาชนิดตอพวง ถาเปนไปไมไดที่จะตรวจสอบดวยตาเปลาทุกโคมในพิกัดชวง
เวลาที่ทํางานฉุกเฉินดังกลาว ตองมีการทดสอบเพิ่มหลังจากไดมีการประจุแบตเตอรี่เต็ม

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 27
11. การจัดเก็บเอกสารของระบบไฟฟาฉุกเฉิน
การเก็บเอกสารของระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน ตองมีเอกสารตาง ๆ ดังตอไปนี้
ก. แบบติดตั้งจริงของระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน ที่แสดงรายละเอียดดังนี้
ก.1 ตําแหนงที่ติดตั้ง โดยแสดงหมายเลขโคมไฟกํากับ
ก.2 วงจรการเดินสายของระบบ
ก.3 ทางเขาไปยังพื้นที่ปด ที่ทําการติดตั้งอุปกรณไว
ข. ใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ
ค. ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ
ง. สมุดบันทึก

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 28
ภาคที่ 3
โคมไฟปายทางออก
ฉุกเฉิน

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 29
ภาคที่ 3
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน

1. ขอบเขต
มาตรฐานโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินฉบับนี้ครอบคลุมคุณลักษณะที่ตองการของโคมไฟปายทาง
ออกฉุกเฉิน ชนิดสองสวางจากภายใน (internally illuminated exit sign luminaire) สําหรับใชภายใน
อาคาร โดยครอบคลุมการออกแบบ การทํา คุณสมบัติ สมรรถนะ และการทดสอบของโคมไฟปาย
ทางออกฉุกเฉิน (exit sign luminaire)
มาตรฐานนี้ ไมครอบคลุมถึงโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินชนิดสองสวางต่ํา (low illuminance area
internally illuminated exit sign luminaire) โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินชนิดสองสวางจากภายนอก
(externally illuminated exit sign) โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินในหองเย็น พื้นที่อันตราย

2. บทนิยาม
2.1 ขอบปาย (border) หมายถึง พื้นที่บนผิวปายทางออก ที่นอกเหนือจากพื้นที่องคประกอบภาพ และ
พื้นที่ปายเพิ่มเติมเปนพื้นที่ที่ยอมใหมีได ดังตัวอยางในรูปที่ 1
2.2 โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน (emergency exit sign luminaire) หมายถึง โคมไฟฟาที่มีแหลงจาย
ไฟฟาสํารองจากแบตเตอรีเ่ พื่อใหความสวางกับปายทางออก
2.3 โคมไฟฟาตอพวง (slave luminaire) หมายถึง โคมไฟฟารับไฟจากระบบแหลงจายไฟฟาฉุกเฉิน
สวนกลาง และไมมีแหลงจายไฟฟาภายในโคม
2.4 ปายทางออก (exit sign) หมายถึง ปายที่ใชแสดงทางออกฉุกเฉิน หรือทางหนีภัย
2.5 ปายทางออกสวางในตัว (internally illuminated exit sign) หมายถึง ปายที่มีองคประกอบภาพตาม
มาตรฐานโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน เชน ตัวอยางรูปที่ 1 โดยมีการเปลงแสงสวางออกจากปายจาก
แหลงกําเนิดแสงภายในตัวเอง
2.6 ปายสวางในตัว (internally illuminated sign) หมายถึง ปายทั่วไปที่มีแสงสวางในตัว โดยไมตอง
อาศัยแหลงกําเนิดแสง (light source) จากภายนอก โดยมีการเปลงแสงสวางออกจากปายจาก
แหลงกําเนิดแสงภายในตัวเอง

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 30
องคประกอบภาพ
องคประกอบภาพ พื้นที่ปายเพิ่มเติม

ขอบปาย

หมายเหตุ : เสนตารางและเสนประในรูปใชแสดงสวนขององคประกอบภาพ ในการอธิบายความหมายเทานั้น


โดยจะไมปรากฎใหเห็นในปายทางออกจริง

รูปที่ 1 ตัวอยางองคประกอบของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
2.7 พื้นที่ปายเพิ่มเติม (additional background) หมายถึง พื้นที่บนผิวปายทางออกที่ไมใชสวนของ
องคประกอบภาพ ที่มีสีเดียวกับสีพื้นขององคประกอบภาพ ดังตัวอยางในรูปที่ 1
2.8 องคประกอบภาพ (pictorial element) หมายถึง ภาพที่ประกอบดวยสัญลักษณ เชน ลูกศร คนวิ่ง
ผานประตู ตัดกับฉากหลัง ประกอบกันขึ้นเพื่อใชสื่อความหมาย สามารถใชองคประกอบภาพ 1 ชิ้น
หรือหลายชิ้นรวมกันเพื่อสรางปายทางออก ดังตัวอยางในรูปที่ 1

3. ขอกําหนดทั่วไป
3.1 ขอกําหนดของปาย
3.1.1 องคประกอบภาพและรูปราง
องคประกอบภาพที่ปรากฎบนโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินตองมีขนาดและรูปราง เปน
สัดสวนโดยตรงกับองคประกอบภาพตัวอยางที่ระบุในรูปที่ 2

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 31
ก. สัญลักษณรูปคนวิ่งผานประตูไปทางซาย ข. สัญลักษณรูปคนวิ่งผานประตูไปทางขวา

ค. สัญลักษณลูกศรชี้ไปทางซาย ง. สัญลักษณลูกศรชี้ไปทางขวา

จ. สัญลักษณลูกศรชี้ตรงไป
หมายเหตุ : เสนกริดที่ตีไวจะไมปรากฎใหเห็นในโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินจริง

รูปที่ 2 องคประกอบภาพที่กําหนด

• โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินตองมีองคประกอบภาพ 1 ชิ้น หรือ 2 ชิ้น ประกอบรวมกันให


เปนไปตามรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งที่ระบุในรูปที่ 3 และรูปที่ 4 เทานั้น
• โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินตองมีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผาหรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส
• ปายตัวอักษร ไมอนุญาตใหใชเปนโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน แตสามารถใชเสริมประกอบ
กับโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินได โดยใหทําเปนปายแยกอิสระออกจากกัน

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 32
ก. โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินที่ใชองคประกอบภาพสัญลักษณรูปคนวิ่งผานประตูไปทางซาย

ข. โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินที่ใชองคประกอบภาพสัญลักษณรูปคนวิ่งผานประตูไปทางขวา

หมายเหตุ : เสนกริดที่ตีไวจะไมปรากฎใหเห็นในโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินจริง

รูปที่ 3 โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินที่ใชองคประกอบภาพ 1 ชิ้น


(เปนตัวอยางเฉพาะองคประกอบภาพขนาด 10 เซนติเมตร)

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 33
ก. ตรงไปขางหนาจากตรงจุดนี้

ข. ตรงไปขางหนาจากตรงจุดนี้

ค. ไปทางซายจากตรงจุดนี้

ง. ไปทางขวาจากตรงจุดนี้
หมายเหตุ : เสนกริดที่ตีไวจะไมปรากฎใหเห็นในโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินจริง
รูปที่ 4 โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินที่ใชองคประกอบภาพ 2 ชิ้น
(เปนตัวอยางเฉพาะองคประกอบภาพขนาด 10 เซนติเมตร)

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 34
3.1.2 ตําแหนงขององคประกอบภาพ
กรณีโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินใชองคประกอบภาพ 1 ชิ้น ใหวางองคประกอบภาพที่
ตําแหนงศูนยกลางของปายทางออก (รูปที่ 3)
กรณีโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินใชองคประกอบภาพ 2 ชิ้น ใหวางองคประกอบภาพชิด
กันโดยคั่นดวยชองแบงกลาง โดยใหองคประกอบภาพรวมทั้งหมดอยูที่ตําแหนงศูนยกลางของ
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน (รูปที่ 4)

3.1.3 พื้นที่ปายเพิ่มเติม
พื้นที่ปายเพิ่มเติมตองมีสีเดียวกับสีของฉากหลังขององคประกอบภาพ

กรณีโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินใชองคประกอบภาพ 1 ชิ้น ตองมีพื้นที่ปายเพิ่มเติมไมนอยกวา


พื้นที่ขององคประกอบภาพ

กรณีโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินใชองคประกอบภาพ 2 ชิ้น ตองมีพื้นที่ปายเพิ่มเติมไมนอยกวา


รอยละ 50 ของพื้นที่รวมขององคประกอบภาพ

3.1.4 ขอบปาย (ถามี)


ขอบปายตองเปนสีขาวโปรงแสง ที่เปนไปตามขอกําหนดขอใดขอหนึ่งดังตอไปนี้

ก. เปนขอบตอเนื่องทั้ง 4 ดานของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
ข. เปนขอบบนและขอบลางของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
ค. เปนขอบซายและขอบขวาของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
ง. มีขนาดพื้นที่รวมไมเกินรอยละ 20 ของขนาดโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินที่ไมรวมพื้นที่
ของขอบปาย

3.1.5 สี
สัญลักษณลูกศร และประตูขององคประกอบภาพตองเปนสีขาว ฉากหลังขององคประ-
กอบภาพ และพื้นที่เพิ่มเติมของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินตองเปนสีเขียว

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 35
สีดังกลาวตองเปนไปตามขอกําหนดในตารางที่ 1 และรูปที่ 5

ตารางที่ 1 โคออรดิเนตสีของวัสดุโปรงแสง
โคออรดิเนตสีของจุดหัวมุมที่ใชระบุพื้นที่ของสีที่ยอมใหใชสําหรับแหลงกําเนิดแสง
สี มาตรฐาน D65 และผูสังเกตการณมาตรฐาน มุมมอง 2 องศา ของ CIE
1 2 3 4
เขียว x 0.201 0.285 0.170 0.026
y 0.776 0.441 0.364 0.399
ขาว x 0.350 0.305 0.295 0.340
y 0.360 0.315 0.325 0.370

3.1.6 ขนาดขององคประกอบภาพ
องคประกอบภาพที่ปรากฎบนโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินใด ๆ ตองมีขนาด 10
เซนติเมตร 15 เซนติเมตร 20 เซนติเมตร หรือใหญกวา และตองมีขนาดเปนสัดสวนโดยตรงที่
สมนัยกับองคประกอบภาพที่กําหนดในรูปที่ 2

3.1.7 ขนาดของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
ขนาดของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินที่ใชองคประกอบภาพตามขนาดที่กําหนดใน
มาตรฐานนี้ใหเปนไปตามตารางที่ 2

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 36
ตารางที่ 2 ขนาดของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
ขนาดของ ความสูงขั้นต่ํา ความกวางขั้นต่ํา ความกวางขั้น ขนาดขั้นต่ําของโคมไฟปาย
องคประกอบ ของพื้นที่ปาย ของพื้นที่ปาย ต่ําของพื้นที่ ทางออกฉุกเฉินที่แนะนํา
ภาพ เพิ่มเติมดานบน เพิ่มเติมดานขาง เพิ่มเติมของชอง (สูง x ยาว)
a และดานลาง ซายและขวา แบงกลาง (เซนติเมตรxเซนติเมตร)
(เซนติเมตร) (เซนติเมตร) (เซนติเมตร) (เซนติเมตร) ใชองคประกอบ ใชองคประกอบ
ภาพ 1 ชิ้น ภาพ 2 ชิ้น
10 2.5 4 5 15 x 18 15 x 33
15 3 5 6 21 x 25 21 x 46
20 4 6 8 28 x 32 28 x 60
>20 0.2a 0.2a+2 0.4a (1.4a) x (1.4a +4 ) (1.4a) x (2.8a +4 )

G เขียว Wh ขาว
ขอบเขตของตําแหนงสีที่ระบุในตารางที่ 1
รูปที่ 5 ขอบเขตตําแหนงสีของสีเขียว และสีขาวของวัสดุโปรงแสง

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 37
3.2 ขอกําหนดดานการสองสวาง
3.2.1 ขอกําหนดทั่วไป
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินตองเปนชนิดสองสวางจากภายในตัวเอง และสองสวาง
ตลอดเวลา และเปนไปตามขอกําหนดดานการสองสวางตามที่ระบุในขอ 3.2.2

การวัดคาความสวาง (luminance) บนระนาบ C0 ตองกระทําภายในมุม 5 องศา จาก


แนวตั้งฉากกับหนาของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน โดยใชเครื่องวัดความสวาง (luminance
meter) ที่มีพื้นที่วัดคาความสวางเปนวงกลมขนาดเสนผานศูนยกลางตามที่ระบุในตารางที่ 3
การวัดคาความสวางบนระนาบ C60 ใหวัดในแนวระดับที่มุมระหวาง 55 องศา กับ 65 องศา ใน
แนวนอนที่วัดจากแนวตั้งฉากกับหนาของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน

3.2.2 การสองสวาง
การสองสวางของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินตองเปนไปตามขอกําหนดดังนี้

ก. คาความสวางที่วัดไดบนระนาบ C0 ณ จุดวัดใด ๆ บนองคประกอบภาพที่เปนสีเขียว


ตามที่ระบุในตารางที่ 4 และรูปที่ 6 ตองมีคาไมต่ํากวา 8 cd/m2 ตลอดระยะเวลา 90 นาที
ของการทํางานของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินในสภาวะใชแหลงพลังงานในตัวเอง และ
คาความสวางที่วัดไดบนระนาบ C60 ตองมีคาไมต่ํากวารอยละ 10 ของคาที่วัดไดบน
ระนาบ C0

ตารางที่ 3 ขนาดของพื้นที่วัดความสวาง
ขนาดขององคประกอบภาพ a ขนาดเสนผานศูนยกลางของพื้นที่
(เซนติเมตร) วัดความสวาง
(เซนติเมตร)
10 1.0 + 0.1
15 1.5 + 0.2
20 2.0 + 0.2
a >20 0.1a + 0.2

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 38
ตารางที่ 4 ตําแหนงจุดวัดคาความสวางบนองคประกอบภาพสีเขียว
ขนาดของ ตําแหนงศูนยกลางของจุดวัดที่
สัญลักษณ องคประกอบ (เซนติเมตร)
ภาพ
(เซนติเมตร) 1 2 3 4 5 6 7 8
ลูกศร 10 x 0 5 10 -1.5 12 0 5 10
y 0 -1 0 5 5 10 11 10
15 x 0 7.5 15 -2.25 18 0 7.5 15
y 0 -1.5 0 7.5 7.5 15 16.5 15
20 x 0 10 20 -3 24 0 10 20
y 0 -2 0 10 10 20 22 20
คนวิ่งผาน 10 x -0.5 10 0 4.5 10 0 10 -
ประตู y -0.5 0 5 5.5 5 10 10
15 x -0.75 15 0 6.75 15 0 15 -
y -0.75 0 7.5 8.25 7.5 15 15
20 x -1 20 0 9 20 0 20 -
y -1 0 10 11 10 20 20

หมายเหตุ : 1) กรณีที่สัญลักษณชี้หรือหันไปในทิศทางที่ตางไปจากรูปที่ 6 ใหวัดคาความสวาง ณ จุดวัดที่


สมนัยกัน
2) ยอมใหคลาดเคลื่อนได 0.1 เซนติเมตร
3) กรณีที่องคประกอบภาพมีขนาดใหญกวา 20 เซนติเมตร ใหวัด ณ จุดวัดที่สมนัยกัน และเปน
สัดสวนโดยตรงกับคาที่ระบุในตารางที่ 4

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 39
7

6 8

4 5

1 3
x
2

ก. ตําแหนงจุดวัดความสวางบนองคประกอบภาพสีเขียวสัญลักษณลูกศรชี้ไปทางขวามือ
6 7

4
3 5

2
1 x

ข. ตําแหนงจุดวัดความสวางบนองคประกอบภาพสีเขียวสัญลักษณคนวิ่งผานประตูไปทางขวามือ
รูปที่ 6 ตําแหนงจุดวัดความสวางบนองคประกอบภาพสีเขียว

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 40
ข. อัตราสวนของคาความสวางที่วัดไดบนระนาบ C0 ณ จุดวัดใด ๆ ที่เปนสีขาว ตามที่ระบุ
ในตารางที่ 5 และรูปที่ 7 ตอคาความสวางที่วัดไดบนระนาบ C0 ณ จุดวัดที่เปนสีเขียวที่
ใกลที่สุด ตองมีคาไมต่ํากวา 4 ตอ 1
ค. อัตราสวนของคาความสวางสูงสุดตอคาความสวางต่ําสุด
ณ จุดวัดบนพื้นที่สีเขียว ตามที่ระบุในตารางที่ 4 และรูปที่ 6 ตองมีคาไมเกิน 5 ตอ 1
ณ จุดวัดบนพื้นที่สีขาวตามทีร่ ะบุในตารางที่ 5 และรูปที่ 7 ตองมีคาไมเกิน 5 ตอ 1

ตารางที่ 5 ตําแหนงจุดวัดคาความสวางบนองคประกอบภาพสีขาว
ขนาดของ ตําแหนงศูนยกลางของจุดวัดที่
สัญลักษณ องคประกอบภาพ (เซนติเมตร)
(เซนติเมตร) 1 2 3 4 5 6
ลูกศร 10 x 5 1.5 5 8 5 -
y 2 5 5 5 8
15 x 7.5 2.25 7.5 12 7.5 -
y 3 7.5 7.5 7.5 12
20 x 10 3 10 16 10 -
y 4 10 10 10 16
คนวิ่งผาน 10 x 2.5 7.5 2.5 7.5 2.5 7.5
ประตู y 1 3 5 5 9 9
15 x 3.75 11.25 3.75 11.25 3.75 11.25
y 1.5 4.5 7.5 7.5 13.5 13.5
20 x 5 15 5 15 5 15
y 2 6 10 10 18 18

หมายเหตุ : 1) กรณีที่สัญลักษณชี้หรือหันไปในทิศทางที่ตางไปจากรูปที่ 7 ใหวัดคาความสวาง ณ


จุดวัดที่สมนัยกัน
2) ยอมใหคลาดเคลื่อนได 0.1 เซนติเมตร
3) กรณีที่องคประกอบภาพมีขนาดใหญกวา 20 เซนติเมตร ใหวัดคาความสวาง ณ จุดวัดที่
สมนัยกัน และเปนสัดสวนโดยตรงกับคาที่ระบุในตารางที่ 5

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 41
5

2 3 4

1
y

x
ก. ตําแหนงจุดวัดคาความสวางบนองคประกอบภาพสีขาวสัญลักษณลูกศรชี้ไปทางขวามือ

5 6

3 4

y
1

x
ข. ตําแหนงจุดวัดคาความสวางบนองค ประกอบภาพสีขาวสัญลักษณคนวิ่งผานประตูไปทางขวามือ
รูปที่ 7 ตําแหนงจุดวัดคาความสวางบนองคประกอบภาพสีขาว

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 42
3.3 ขอกําหนดในการทํางาน
3.3.1 ชนิดของแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ที่ใชได ตองเปนชนิดตอไปนี้
1. แบตเตอรี่ชนิดนิเคิลแคดเมี่ยมแบบหุมปดมิดชิด (sealed nickel-cadmium)
2. แบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรดแบบหุมปดมิดชิด (sealed lead acid)

3.3.2 ความจุของแบตเตอรี่
แบตเตอรี่ตองจายไฟไดนานไมนอยกวา 90 นาที โดยมีแรงดันไฟฟาต่ําสุดไมนอยกวารอยละ
80 ของแรงดันพิกัดปกติ และมีระยะเวลาอัดประจุ (recharge time)นาน ไมเกิน 24 ชั่วโมง

3.3.3 สัญญานแสดงความลมเหลวของแบตเตอรี่
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินชนิดตอพวง ตองมีอุปกรณเพื่อจําลองความลมเหลวของแหลงจาย
ไฟปกติ โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินตองสองสวางนานไมนอยกวา 30 นาที และกลับสูสภาพ
ปกติโดยอัตโนมัติ ในกรณีที่แบตเตอรี่ไมสามารถจายไฟไดนาน 30 นาที ในระหวางการ
ทดสอบ ระบบตองมีสัญญาณแสดงความลมเหลวของแบตเตอรี่

4. ภาวะทั่วไปสําหรับการทดสอบ
4.1 ขอกําหนดทั่วไปในการทดสอบ
การทดสอบใหทําในหองที่มีอุณหภูมิโดยรอบ 25 องศาเซลเซียส ± 5 องศาเซลเซียส
4.2 การทดสอบดานการสองสวาง
กอนทําการทดสอบดานการสองสวางใหทําการอัดประจุและคลายประจุแบตเตอรี่ของโคมไฟปาย
ทางออกฉุกเฉิน จํานวน 3 รอบ ในการอัดประจุและคลายประจุแบตเตอรี่แตละรอบใหมีเวลาพักระหวางรอบได
ไมเกินครั้งละ 12 ชั่วโมง
ในการคลายประจุแบตเตอรี่รอบที่ 3 ใหตรวจวัดแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่อยางตอเนื่องตั้งแตเริ่มตน
คลายประจุและบันทึกคาที่วัดได ณ นาทีที่ 90
การตรวจวัดความสวางใหใชแหลงจายไฟตรงแรงดันเทากับแรงดันของแบตเตอรี่ ณ นาทีที่ 90 ± รอยละ
0.5 แทนแบตเตอรี่

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 43
การวัดความสวางบนระนาบ C60 ณ จุดวัดแตละจุด ตองวัดทั้ง 2 ดาน คือดานซายและดานขวา ใหใชคา
ต่ําสุดที่วัดไดเปนคาความสวางที่วัดได ณ จุดดังกลาว
การวัดความสวางใหใชเครื่องวัดความสวาง (luminance meter) ที่มีชั้นความแมนยํา (accuracy class) ไม
ดอยกวา ± รอยละ 2

5. การทําเครื่องหมายและฉลาก
5.1 ทีโ่ คมไฟปายทางออกฉุกเฉินทุกชุด อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียดตอไปนี้ให
เห็นไดงายชัดเจน และถาวร
(1) คําวา “โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน” หรือ “โคมไฟฟาตอพวง”
(2) หมายเลขแบบ (model) หรือแบบอางอิงของผูทํา
(3) ชนิดของหลอดไฟฟา กําลังไฟฟา แรงดันไฟฟา และแบบขนาดของขั้วรับหลอด
(4) ชนิดของแบตเตอรี่ แรงดันไฟฟา และความจุ เปนแอมแปร-ชั่วโมง
(5) ระยะเวลาการทํางานของโคมไฟฟา เปนนาที
(6) ขนาดขององคประกอบภาพเปนเซนติเมตร และระยะการมองเห็น สําหรับการใชงาน เปน เมตร
(7) รหัสรุนที่ทํา หรือ เดือน ป ที่ผลิต
(8) ชื่อผูทํา หรือโรงงานที่ทํา หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน
5.2 ทีภ่ าชนะบรรจุโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินทุกชุด อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจง
รายละเอียดตอไปนี้ใหเห็นไดงายชัดเจน
(1) คําวา “โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน” หรือ “โคมไฟฟาตอพวง”
(2) หมายเลขแบบ หรือแบบอางอิงของผูทํา
(3) ขนาดขององคประกอบภาพเปนเซนติเมตร และระยะการมองเห็น สําหรับการใชงาน เปน เมตร
(4) ชื่อผูทํา หรือโรงงานที่ทํา หรือเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน
5.3 ในกรณีใชภาษาตางประเทศ ตองเปนภาษาอังกฤษและมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กําหนดไวขางตน
เห็นไดงาย ชัดเจนและคงทน

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 44
6. การติดตั้งโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน และระยะหาง
6.1 ความสูงของการติดตั้ง
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินใหติดตั้งดานบนเพื่อสังเกตเห็นไดงาย กรณีที่คาดวาควันมีปญหาทําให
มองเห็นปายทางออกไมชัดเจน อาจเพิ่มโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินติดตั้งที่ดานลาง กรณีติดตั้งตามที่กําหนด
ไมไดใหปรึกษารวมกันกับผูที่เกี่ยวของ
6.1.1 ปายทางออกดานบน ขอบลางของปายสูงจากพื้นระหวาง 2-2.7 เมตร
6.1.2 ปายทางออกดานลาง ปายทางออกดานลางใหใชเปนปายเสริมเทานั้น โดยขอบลางของปายสูง
จากพื้นไมนอยกวา 15 เซนติเมตร แตตองไมเกิน 20 เซนติเมตร และขอบของปายอยูหางจาก
ขอบประตูไมนอยกวา 10 เซนติเมตร
6.1.3 ปายทางออกฝงพื้น ปายทางออกฝงพื้นใหใชเปนปายเสริมเทานั้น ตองเปนชนิดกันน้ําที่มีความ
แข็งแรง เหมาะสําหรับใชในเสนทางหนีภัย โดยไมกอใหเกิดการสะดุด หรือเปนอุปสรรคในขณะ
หนีภัย

6.2 ระยะหางระหวางปายทางออก
ระยะหางระหวางปายทางออกดานบนสําหรับสัญลักษณที่มีความสูง 10 เซนติเมตร ตองมีระยะไมเกิน 24
เมตร โดยติดตั้งตามเสนทางที่นําไปสูทางออก และใหติดตั้งปายทางออกดานบนเพิ่มเติมที่จุดทางเลี้ยวทางแยก
และเหนือประตูทางออกสุดทาย (final exit) ดวย
กรณีที่ใชระยะหางระหวางปายมากกวา 24 เมตร สามารถทําไดโดยใชปายทางออกที่มีสัญลักษณที่มีความ
สูงไมนอยกวาระยะทาง (หนวยเปนเซนติเมตร) หารดวย 240

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 45
(ก) แสดงการติดตั้งปายทางออกในทางตรง

(ข) แสดงการติดตั้งปายทางออกในบริเวณทางเลี้ยวและทางแยก

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 46
ปายทางออกมองเห็นดานเดียว

ปายทางออกพรอมลูกศรสองดาน

ปายทางออกพรอมลูกศรดานเดียว

รูปที่ 8 แสดงการติดตั้งปายทางออก

6.3 ระยะมองเห็นไกลสุด
ระยะมองเห็นไกลสุดของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินใหเปนไปตามที่ระบุในตารางที่ 6

ตารางที่ 6 ระยะมองเห็นไกลสุดของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
ขนาดขององคประกอบภาพ (a) ระยะมองเห็นไกลสุด
(เซนติเมตร) (เมตร)
10 24
15 36
20 48
a >20 2.4a

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 47
รูปที่ 9 การติดตั้งปายทางออกใกลพื้นเสริมกับไฟทางออกดานบน

6.4 การเดินสายและขอกําหนดของอุปกรณโคมไฟปายทางออกฉุกเฉินแบบโคมไฟฟาตอพวง
6.4.1 ทั่วไป
การเดินสายและติดตั้งโคมไฟฟา ตองเปนไปตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศ
ไทย และเพิ่มเติมตามขอตอไปนี้

6.4.2 การเดินสายไฟฟาสําหรับโคมไฟฟาตอพวง
6.4.2.1 ชนิดของสายไฟฟา
สายไฟฟาที่ใชสําหรับเดินจากโคมไฟฟาตอพวงไปยังแหลงจายไฟฟาฉุกเฉิน
สวนกลาง ตองเปนชนิดทนไฟ และตองมีการปองกันความเสียหายทางกายภาพ เชน
รอยในทอ หรือชองเดินสายอื่น ยกเวนในสวนปดลอมทนไฟไมนอยกวา 1 ชั่วโมง
หรือใชระบบการเดินสายอื่นที่ใหผลการปองกันเทียบเทากัน
6.4.2.2 ขนาดสายไฟฟา
สายไฟฟาตองมีขนาดเพียงพอที่จะรับกระแสที่ไหลในวงจรได แตตองมีขนาดไมนอย
กวา 1 ตารางมิลลิเมตร และแรงดันตกไมเกินรอยละ 10

6.4.2.3 การเดินสายแยกจากระบบอื่น
การเดินสายระบบสําหรับโคมไฟฟาตอพวง ตองแยกจากการเดินสายวงจรอื่น โดย
การ ติดตั้งทอ หรือชองเดินสายแยกจากกัน หรือแยกตัวนําจากตัวนําอื่นโดยมีที่กั้น
ตอเนื่องที่ทําดวยวัสดุที่ไมติดไฟ
ชองเดินสายหรือเครื่องหมายอื่น ๆ ตองมีเครื่องหมายกํากับที่ถาวรและเห็นไดชัดเจน
6.4.2.4 จุดตอสาย
จุดตอสายตองอยูในกลองตอสายที่มีเครื่องหมายกํากับที่ถาวรและชัดเจน จุดตอสาย
ดังกลาวตองไมทําใหความทนไฟของสายลดลง
ยกเวนในโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน หรือชุดควบคุม

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 48
7. ใบรับรองและสมุดบันทึก
7.1 ใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ
เมื่อติดตั้งงานใหมหรืองานเปลี่ยนแปลงของระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินแลวเสร็จ ตองมีการตรวจสอบ
และทดสอบพรอมออกใบรับรองใหกับเจาของสถานที่ ตัวอยางใบรับรองและขอแนะนําในการวัดความสอง
สวางฉุกเฉินไดแสดงไวในภาคผนวก ค

7.2 ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ
เมื่อไดตรวจสอบและทดสอบตามกําหนดระยะเวลา ผูตรวจสอบและทดสอบตองออกใบรับรองการ
ตรวจสอบและทดสอบใหกับเจาของสถานที่ทุกครั้งที่มีการตรวจสอบและทดสอบ ตัวอยางใบรับรองการ
ตรวจสอบและทดสอบไดแสดงในภาคผนวก ง

7.3 สมุดบันทึก
สมุดบันทึกตองจัดเก็บไวภายใตการควบคุมดูแลของผูรับผิดชอบที่แตงตั้งโดยเจาของและพรอมสําหรับ
การตรวจสอบและทดสอบ
สมุดบันทึกอยางนอยตองมีรายละเอียด ดังนี้
ก. วันที่ออกใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ ของงานติดตั้งใหมและงานเปลี่ยนแปลงในแตละครั้ง
ข. วันที่ออกใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบตามกําหนดระยะเวลาในแตละครั้ง
ค. วันที่และรายละเอียดของการบริการ การตรวจสอบ และทดสอบในแตละครั้ง
ง. วันที่และรายละเอียดของขอบกพรองและการแกไขที่ไดดําเนินการ
จ. วันที่และรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงการติดตั้งระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน
ฉ. คูมือการใชงานและรายละเอียดของอุปกรณของโคมที่ตองเปลี่ยน เชน ชนิด หลอด แบตเตอรี่
และฟวส

8. การตรวจสอบและทดสอบ
การลมเหลวของระบบไฟฟาแสงสวางปกติอาจเกิดขึ้นไดทุกเวลา ดังนั้นตองมีการตรวจสอบและทดสอบ
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉินตามระยะเวลาที่ไดกําหนดดังนี้

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 49
ก. ราย 3 เดือน
ข. ราย 1 ป
8.1 การตรวจสอบราย 3 เดือน
ตองทําทุก 3 เดือน ตามตารางตัวอยางที่แสดงไวในภาคผนวก ง.
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน ตองไดรับการตรวจสอบโดยจําลองความลมเหลวของแหลงจายไฟฟาปกติ
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน ตองทํางานไดไมต่ํากวา 30 นาที
8.2 การตรวจสอบราย 1 ป
ตองทําทุก 1ป ตามตารางตัวอยางที่แสดงไวในภาคผนวก ง.
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน ตองไดรับการตรวจสอบโดยจําลองความลมเหลวของแหลงจายไฟฟาปกติ
โคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน ตองทํางานไดไมต่ํากวา 60 นาที

9. การจัดเก็บเอกสารของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน
การเก็บเอกสารของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน ตองมีเอกสารตาง ๆ ดังตอไปนี้
9.1 แบบติดตั้งจริงของโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน ที่แสดงรายละเอียดดังนี้
ก.1 ตําแหนงที่ติดตั้ง โดยแสดงหมายเลขโคมไฟกํากับ
ก.2 วงจรการเดินสายของระบบ
ก.3 ทางเขาไปยังพื้นที่ปด ที่ทําการติดตั้งอุปกรณไว
9.2 ใบรับรองการทํางานแลวเสร็จ
9.3 ใบรับรองการตรวจสอบและทดสอบ
9.4 สมุดบันทึก

1.มฐ.ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉินและโคมไฟปายทางออกฉุกเฉิน.doc 2/6/08 50

You might also like