You are on page 1of 48

รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมาย

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

จัดทาโดย
สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(องค์การมหาชน)

กระทรวงแรงงาน
ชื่ อ หนั ง สื อ : รายการชี้ บ่ ง และตรวจสอบตามข้ อ ก าหนดของกฎหมายความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
The Occupational Health and Safety Act. Checklist

ชื่อผู้แต่ง : คณะทางานจัดทารายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย


และสภาพแวดล้อมในการทางาน

จัดทาโดย : สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

ปีที่พิมพ์ : พ.ศ. 2563

ครั้งที่พิมพ์ : E-Book

โรงพิมพ์ : E-Book

ISBN (E-book)
ISBN : E-Book : 978-616-8026-21-2
รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย ก
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

คณะอนุกรรมการวิชาการ
1. นางสาวสุดธิดา กรุงไกรวงศ์ ประธานคณะอนุกรรมการ
2. นายกฤษฎา ชัยกุล อนุกรรมการ
3. นายวิเลิศ เจติยานุวัตร อนุกรรมการ
4. นายเกียรติศักดิ์ บุญสนอง อนุกรรมการ
5. นางลัดดา ตั้งจินตนา อนุกรรมการ
6. นายสืบศักดิ์ นันทวานิช อนุกรรมการ
7. นายประมุข โอศิริ อนุกรรมการ
8. นายธนูศิลป์ สลีอ่อน เลขานุการ

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย ข
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

คณะทางาน
จัดทารายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

1. นางสาวสุดธิดา กรุงไกรวงศ์ ประธานคณะทางาน


2. นายวิเลิศ เจติยานุวัตร คณะทางาน
3. นางลัดดา ตั้งจินตนา คณะทางาน
4. นายโสภณ พงษ์โสภณ คณะทางาน
5. นางพรทิพย์ ทองเอี่ยม คณะทางาน
6. นายธนูศิลป์ สลีอ่อน คณะทางาน
7. นางสาวธนวรรณ ฤทธิชัย คณะทางาน
8. นางสาวกฤตติกา เหล่าวัฒนโรจน์ คณะทางาน
9. นางสาวปัญชลิกา ชันขุนทด คณะทางาน
10. นางสาวเปรมยุดา นวลศรี คณะทางาน
11. นางสาวพัชพร ศรีสงวน คณะทางานและเลขานุการ
12. นางสาวสุภารัตน์ คะตา คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ
13. นายพฤทธิพงศ์ สามสังข์ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานุการ

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย ค
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

คานา
สถาบั น ส่ งเสริ มความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้ อมในการท างาน (องค์ การมหาชน)
เป็ น หน่ ว ยงานภายใต้ ก ารก ากั บ ดู แ ลของรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงแรงงาน มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และมีอานาจหน้าที่หนึ่ง คือ การพัฒนาและ
สนับสนุนการจัดทามาตรฐาน คู่มือ และแนวปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการท างาน โดยสถาบั น ส่ ง เสริ ม ความปลอดภั ย ฯ ได้ จั ด ท าและพั ฒ นามาตรฐานระบบการจั ด การด้ า น
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ส ถานประกอบกิจการได้
นาไปใช้ปฏิบัติในการดาเนินการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในองค์กรอย่างเป็นระบบและยั่งยืน
โดยการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมาย เป็นส่วนหนึ่งของข้อกาหนดเกี่ยวกับแผนงานด้านความ
ปลอดภัยฯ และการนาไปปฏิบัติที่เป็นองค์ประกอบในมาตรฐานระบบการจัดการด้านความปลอดภัยฯ ดังกล่าว

การใช้ ร ายการชี้ บ่ ง และตรวจสอบตามข้ อ ก าหนดของกฎหมายความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย


และสภาพแวดล้อมในการทางาน เป็นวิธีพื้นฐานที่จะให้สถานประกอบกิจการมั่นใจว่าได้ทราบและปฏิบัติ ตาม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง หลังจากการชี้บ่งและตรวจสอบ สถานประกอบกิจการจะทราบถึงสถานภาพ
ของตนเองว่า มีข้อ บกพร่ อ งที่ ต้ อ งได้ รั บ การแก้ ไขหรือ ปรั บปรุ ง จึงได้จั ดทารายการชี้ บ่ง และตรวจสอบตาม
ข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานฉบับนี้ขึ้น ภายใต้หลักการ
และข้อเท็จ จริ งที่ว่ามาตรการความปลอดภัยฯ ที่ถูกกาหนดขึ้นเป็นกฎหมายหรือมาตรฐานนั้นเป็นสิ่ งที่ต้อง
ดาเนิ นการ ดังนั้ น เมื่อสถานประกอบกิจการมีการชี้บ่งและตรวจสอบพบว่ามีกิจกรรมที่ไม่มีการปฏิบัติตาม
ข้อกาหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ต้องนาไปบรรจุในแผนการจัดการความเสี่ยงทุกกรณี

ทั้งนี้ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ ขอขอบคุณอาจารย์โสภณ พงษ์โสภณ และคณะทางาน ที่ได้เสนอ


แนวทางนี้เพื่อเป็นกลไกให้การนามาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางานของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ ไปใช้บรรลุตามเจตนารมณ์ของสถาบันความปลอดภัยฯ ในการ
ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการมีวิธีการปฏิบัติตามกฎหมายด้วยความเข้าใจ ถูกต้อง และเป็นไปโดย
สมัครใจ

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

สารบัญ

หน้า
คณะอนุกรรมการวิชาการ ก
คณะทางานจัดทารายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย ข
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
คานา ค
รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย 1
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.1 วัตถุประสงค์ 1
1.2 ขอบเขต 2
1.3 ขั้นตอนการทารายการชี้บ่งและตรวจสอบ 2
1.4 ตัวอย่างการใช้รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 18
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ตัวอย่างที่ 1 แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับความร้อน 18
แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559
ตัวอย่างที่ 2 แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับความร้อน 20
แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559
ตัวอย่างที่ 3 แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับความร้อน 22
แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559
ตัวอย่างที่ 4 แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. 2558 25
ตัวอย่างที่ 5 แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น 38
และหม้อน้า พ.ศ. 2552
บรรณานุกรม 41

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 1
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
รายการชี้ บ่ ง และตรวจสอบตามข้ อ ก าหนดของกฎหมายความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน เป็นการรวบรวมข้อกาหนดของกฎหมายมาดาเนินการตรวจสอบว่าได้มีการ
ดาเนินการถูกต้อง ครบถ้วนหรือไม่ ถ้าไม่มีการดาเนินการตามข้อกาหนดอย่างใดอย่างหนึ่งให้นาผลที่ได้จาก
รายการชี้บ่งและตรวจสอบไปจัดทาแผนจัดการความเสี่ยงต่อไป
ทั้งนี้ เป็นไปตามหลักการและข้อเท็จจริงของการได้มาซึ่ง ข้อกาหนดของกฎหมายที่นาอันตรายจาก
การสังเคราะห์มากาหนดมาตรการความปลอดภัยฯ แล้วจึงนามาตรการที่จาเป็นซึ่งถือเป็นมาตรฐานขั้นต่า
ใน การควบคุมป้องกันอันตราย มาจัดทาเป็นข้อกาหนดของกฎหมาย
รายการชี้บ่งและตรวจสอบ มีประโยชน์หลายประการดังนี้
(1) เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัย ในการทางานหลั ก (จป.หลั ก) หรือผู้ รับผิ ดชอบสามารถชี้บ่งและ
ตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายแทนนายจ้างได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
(2) จป.หลัก หรือผู้รับผิดชอบสามารถนาเสนอผลการชี้บ่งอันตรายต่อคณะกรรมการความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องร่วมกันพิจารณาลงมติเห็นชอบเพื่อนาเสนอ
นายจ้าง ซึ่งจะทาให้เกิดความเชื่อมั่นในการดาเนินการตามกฎหมายได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
(3) จป.หลัก หรือผู้รับผิดชอบสามารถนาผลการดาเนินการตามกฎหมายไปวัดผลและประเมินผลได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
(4) จป.หลัก หรือผู้รับผิดชอบสามารถนามาตรการที่ได้จากการชี้บ่งและตรวจสอบไปใช้ในการจัดทา
แผนจัดการความเสี่ยง

หมายเหตุ จป.หลัก หมายถึง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค เทคนิคขั้นสูง หรือวิชาชีพ


1.1 วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นการชี้บ่งจุดบกพร่องในการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางานของสถานประกอบกิจการที่เกิ ดจากการไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ซึ่งถือเป็นมาตรฐานขั้นต่าในการควบคุมป้องกันอันตราย
จากการทางาน
2. เพื่อการชี้บ่งและติดตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ที่เกีย่ วข้องกับสถานประกอบกิจการให้เป็นปัจจุบัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 2
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.2 ขอบเขต
1. ใช้เป็นเครื่องมือหนึ่งในการชี้บ่งและตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายด้านความปลอดภัยฯ ของ
สถานประกอบกิจการ และนาเข้าสู่แผนการจัดการความเสี่ยงโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการจัดระดับของ
อันตรายตามมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของ
สถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ
2. ใช้เป็นเครื่องมือสาหรับนายจ้างในการประเมินและทบทวนประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานอย่างเป็นระบบ

1.3 ขั้นตอนการทารายการชี้บ่งและตรวจสอบ
การทารายการชี้บ่งและตรวจสอบ มีขั้นตอนหลัก ๆ ดังนี้
1. จป.หลัก หรือผู้รับผิดชอบตรวจสอบว่าสถานประกอบกิจการเกี่ยวข้องกับด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของกระทรวงแรงงานและหน่วยงานอื่น ๆ ใดบ้าง โดยให้ระบุ
ชื่อกฎหมาย
2. ระบุชื่อกฎหมายที่เป็นลักษณะอันตรายโดยตรงที่เกี่ยวข้องกับสถานประกอบกิจการไว้บนหัว
แบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ
ในที่นี้จะยกตัวอย่างกฎหมายที่เป็นลักษณะอันตรายโดยตรง คือกฎกระทรวงตามมาตรา 8 และ
บทเฉพาะกาล มาตรา 74 ตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน พ.ศ. 2554 ได้แก่
(1) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับรังสีชนิดก่อไอออน พ.ศ. 2547
(2) กฎกระทรวงก าหนดหลั ก เกณฑ์ และวิ ธี ก ารตรวจสุ ข ภาพของลู ก จ้ า ง และส่ ง ผล
การตรวจให้พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547
(3) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับงานประดาน้า พ.ศ. 2563
(4) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2551
(5) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้า พ.ศ. 2552
(6) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และการดาเนินการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย
พ.ศ. 2555

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 3
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(7) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และการดาเนินการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556
(8) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และการดาเนินการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. 2558
(9) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และการดาเนินการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับ ความร้อน แสงสว่าง และเสียง
พ.ศ. 2559
(10) กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และการดาเนินการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2562

แบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง

3. จป.หลัก หรือผู้รับผิดชอบต้องพิจารณาว่าสถานประกอบกิจการเกี่ยวข้องกับกฎกระทรวงฉบับ
ใดบ้าง แต่ละฉบับเกี่ยวข้องกับหมวดใดบ้าง แต่ละหมวดเกี่ยวข้องกับส่วนใดบ้าง (ถ้ามี)
4. ให้คัดลอกข้อความทั้งหมดในแต่ละข้อทุกข้อของหมวดและส่วนตามข้อ 3 ซึ่งข้อความจะกาหนด
ว่าให้นายจ้าง… หรือนายจ้างต้อง… หรือห้ามมิให้นายจ้าง… ใส่ลงในช่องที่ 2 “รายการ” พร้อมใส่เลขข้อของ
กฎกระทรวงลงในช่องที่ 1 “ข้อ” ของแบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ
5. จป.หลักพิจารณาข้อความในแบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ ในช่อง “รายการ” ทุกข้อ
ของกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องแล้วดาเนินการ ดังนี้
5.1 รายการในข้อใดแน่ใจว่าได้ดาเนินการแล้วทาเครื่องหมาย “” ลงในช่อง “ใช่” และระบุ
เอกสารหรือหลักฐานแสดงลงในช่อง “บันทึกผลที่สาคัญ” (ถ้ามี) กรณีข้อใดมีข้อย่อย ต้องทาข้อย่อยก่อน
ถ้าข้อย่อยมีข้อใดข้อหนึ่งมีเครื่องหมาย “” ในช่อง “ไม่ใช่” แสดงว่าข้อหลักยังดาเนินการไม่ครบถ้วน ข้อ
หลักต้องทาเครื่องหมาย “” ในช่อง “ไม่ใช่” ด้วย
5.2 รายการในข้อใดแน่ใจว่ายังไม่ได้ดาเนินการ หรือดาเนินการแล้ว แต่ไม่แน่ใจว่าถูกต้องและ
ครบถ้วน ให้ทาเครื่องหมาย “” ในช่อง “ไม่ใช่”
5.3 รายการในข้อใดยังไม่สามารถดาเนินการได้ เพราะกฎหมายยังไม่ได้กาหนดรายละเอียดการ
ดาเนินการตามข้อกาหนด ให้ทาเครื่องหมาย “” ลงในช่อง “ไม่เกี่ยวข้อง” พร้อมระบุเหตุผลลงในช่อง

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 4
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
“บั น ทึ ก ผลที่ ส าคั ญ ” รายการนี้ ไ ม่ ต้ อ งน ามาพิ จ ารณาเพื่ อ วั ด ผลในขณะนี้ แต่ ต้ อ งด าเนิ น การติ ด ตาม
รายละเอียด ที่กฎหมายจะกาหนดต่อไป
5.4 รายการในข้อใดไม่ตรงกับสภาพหรือลักษณะการทางานของสถานประกอบกิจการ ให้ทา
เครื่องหมาย “” ในช่อง “ไม่เกี่ยวข้อง” ดังนั้นในรายการนี้ไม่ต้องนามาพิจารณาเพื่อวัดผลแต่อย่างใด

ตัวอย่างการใช้แบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ ตามข้อ 3 ถึงข้อ 5


แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้า พ.ศ. 2552
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 1
เครื่องจักร
ส่วนที่ 1
บททั่วไป
3 นายจ้างต้องดูแลให้ลูกจ้างซึ่งทางานเกี่ยวกับ  ยั งไม่ ได้ จั ดท าเป็ น
เครื่องจักรปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ ข้อบังคับ 2 ข้อ

(1) สวมใส่เครื่องนุ่งห่มให้เรียบร้อย รัดกุม และ 


ไม่รุ่งริ่ง
(2) ไม่สวมใส่เครื่องประดับที่อาจเกี่ยวโยงกับ 
สิ่งหนึ่งสิ่งใดได้
(3) รวบผมที่ปล่อยยาวเกินสมควรหรือทาอย่าง 
หนึ่งอย่างใดให้อยู่ในลักษณะที่ปลอดภัย
4 ในบริเวณที่มีการติดตั้ง การซ่อมแซม หรือการ 
ตรวจสอบเครื่ อ งจั ก ร หรื อ เครื่ อ งป้ อ งกั น
อันตรายจากเครื่ องจั กร นายจ้ างต้องติดป้าย
แสดงการดาเนินการดังกล่าวโดยใช้เครื่องหมาย
หรื อ ข้ อ ความที่ เ ข้ า ใจง่ า ยและเห็ น ได้ ชั ด เจน
รวมทั้ ง จั ด ให้ มี ร ะบบ วิ ธี ก าร หรื อ อุ ป กรณ์
ป้องกันมิให้เครื่องจักรนั้นทางาน และให้แขวน
ป้ายแสดงเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ห้ามเปิด
สวิตช์ไว้ที่สวิตช์ของเครื่องจักรด้วย

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 5
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
5 การประกอบ การติดตั้ง การซ่อมแซม และการ  อธิบดียังไม่ได้กาหนด
ใช้งานเครื่องจักร นายจ้างต้องจัดให้มีวิศวกร
เป็นผู้รับรองตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดี
ประกาศกาหนด และเก็บหลักฐาน ให้พนักงาน
ตรวจแรงงานตรวจสอบได้
6 นายจ้างต้องดูแลให้ลูกจ้างซึ่งทางานเกี่ยวกับ  อธิบดียังไม่ได้กาหนด
เครื่องจักร ตรวจสอบเครื่องจักรนั้น ให้อยู่ใน
สภาพใช้การได้ดีและปลอดภัย ตามระยะเวลา
การใช้งานที่เหมาะสม และจั ดให้มีการตรวจ
รับรองประจาปีตามชนิดและประเภทที่อธิบดี
ประกาศกาหนด
7 ห้ า มมิ ใ ห้ น ายจ้ า งใช้ ห รื อ ยอมให้ ลู ก จ้ า งใช้  จั ด ท าเป็ น ข้ อ บั ง คั บ
เ ค รื่ อ ง จั ก ร ท า ง า น เ กิ น พิ กั ด ห รื อ ขี ด ในขั้นตอนงานแล้ว
ความสามารถที่ผู้ผลิตกาหนด
8 เครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเจีย เครื่องตัด เครื่องไส  ยั ง ไม่ มี ก ารก าหนด
หรือเครื่องจักรที่อาจก่อให้เกิด อันตรายได้โดย วิ ธี ก า ร ท า ง า น ที่
สภาพ นายจ้ างต้ อ งประกาศก าหนดวิ ธี ก าร เกี่ ย วกั บ เครื่ อ งปั๊ ม
ทางานของลูกจ้าง ติดไว้บริเวณที่ลูกจ้างทางาน โลหะ
* ในกรณี ที่ ร ายการ
ข้ อ ก า ห น ด มี
รายละเอี ย ดที่ ต้ อ ง
พิ จ า ร ณ า ห ล า ย
ประเด็น อาจจาแนก
รายการตามประเด็น
เพื่ อ ง่ า ยต่ อ การชี้ บ่ ง
และ ตรว จสอ บ ดู
ตัวอย่างดังแนบท้าย
ตารางนี้

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 6
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
9 ในกรณีที่ ให้ ลู กจ้ า งทางานเกี่ย วกับ เครื่องปั๊ ม  อธิบดียังไม่ได้
โลหะ เครื่องเชื่อมไฟฟ้า เครื่องเชื่อมก๊าซ รถยก กาหนด
หรือเครื่องจักรที่อาจก่อให้เกิดอันตรายได้โดย
สภาพตามที่อธิบดีประกาศกาหนด นายจ้างต้อง
ใช้ลูกจ้างที่มีความชานาญในการใช้เครื่องจักรนั้น
และผ่านการอบรมตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
อธิบดีประกาศกาหนด
10 นายจ้างต้องดูแลให้พื้นบริเวณรอบเครื่องจักร  จัด ทาเป็น ข้อ บัง คับ
อยู่ในลักษณะที่ปลอดภัย ในขั้นตอนงานแล้ว
11 นายจ้ า งต้ อ งจั ด ให้ มี วิ ธี ก ารด าเนิ น การเพื่ อ  รอด าเนิ น การตาม
ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ ลู ก จ้ า งได้ รั บ อั น ตรายจากการ (6)
ทางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ดังต่อไปนี้
(1) เครื่ องจั กรที่ใช้ พลั งงานไฟฟ้ าต้ องมี ระบบ 
หรือวิธีการป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วเข้าตัวบุคคล
ที่เกี่ยวข้องหรือเครื่องจักร และต้องต่อสายดิน
ทั้ งนี้ การติ ดตั้ งระบบป้ องกั นกระแสไฟฟ้ ารั่ ว
ดังกล่าว ให้เป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้า
ในท้องถิ่นนั้น กรณีที่ไม่มีมาตรฐานดังกล่าว ให้
ปฏิบัติตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถาน
แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
(2) เครื่องจักรที่ใช้พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเข้า 
เครื่องจักรต้องเดินลงมาจากที่สูง กรณีเดินบน
พื้ น ดิ น หรื อฝั งดิ น ต้ องใช้ ท่ อร้ อยสายไฟฟ้ าที่
แข็งแรงและปลอดภัย
(3) เครื่องจักรชนิดอัตโนมัติ ต้องมีสีเครื่องหมาย 
ปิด - เปิดที่สวิตช์อัตโนมัติตามหลักสากล และมี
เครื่ องป้ องกั นมิ ให้ สิ่ งหนึ่ งสิ่ งใดกระทบสวิ ตช์
อันเป็นเหตุให้เครื่องจักรทางาน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 7
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
(4) เครื่องจั กรที่มีการถ่ายทอดพลังงานโดยใช้ 
เพลา สายพาน รอก เครื่องอุปกรณ์ ล้อตุนกาลัง
ต้องมีตะแกรงหรือที่ครอบปิดคลุมส่วนที่หมุนได้
และส่วนส่งถ่ายกาลังให้มิดชิด ถ้าส่วนที่หมุนได้
หรือส่วนส่งถ่ายกาลังสูงกว่าสองเมตร ต้องมีรั้ว
หรือตะแกรงสูงไม่น้อยกว่าสองเมตรกั้นล้อมมิให้
บุคคล เข้าไปได้ในขณะเครื่องจักรกาลังทางาน
สาหรั บสายพานแขวนลอยที่มีความเร็วไม่
น้อยกว่าห้าร้อยสี่สิบเมตรต่อนาที หรือสายพาน
ที่มีช่วงยาวเกิ นกว่ าสามเมตร หรือสายพานที่
กว้างกว่ายี่สิบเซนติเมตร หรือ
สายพานโซ่ ต้องมีเครื่องป้องกันอันตรายจาก
เครื่องจักรนั้น
(5) เครื่องจักรที่มีใบเลื่อยวงเดือนต้องจัดให้มี  ไม่มี
เครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรนั้น
(6) เครื่องจักรที่ใช้เป็นเครื่องลับ ฝน หรือแต่ง  ไม่ แ น่ ใจ ยั งไ ม่ ไ ด้
ผิว โลหะ ต้องมีเครื่ องปิ ดบั งประกายไฟ หรือ สารวจตรวจสอบ
เศษวัตถุในขณะใช้งาน
(7) เครื่องจักรที่ใช้ในการขึ้นรูปพลาสติกหรือ  ไม่มี
วัส ดุอื่ น โดยลั ก ษณะ ฉีด เป่ า หรือ วิธีก ารอื่ น
ต้องมีเครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรนั้น
กรณีที่ น ายจ้ างไม่ ส ามารถจัด ให้ มีวิ ธีการ
ด าเนิ น การเพื่ อ ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ ลู ก จ้ า งได้ รั บ
อั น ตรายตามวรรคหนึ่ ง ได้ นายจ้ า งต้ อ ง
ออกแบบอุ ป กรณ์ ช่ ว ยเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ
ปลอดภัย หรื อกาหนดขั้น ตอนการทางานให้
ปลอดภัยได้ และแจ้งให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดี
มอบหมายทราบโดยไม่ชักช้า
12 นายจ้างต้องบารุงรักษาและดูแลเครื่ องป้องกัน  จั ด ท าเป็ น ข้ อ บั ง คั บ
อั น ตรายจากเครื่ อ งจั ก รให้ อ ยู่ ใ นสภาพที่ ของช่ า งซ่ อ มบ ารุ ง
สามารถป้องกันอันตรายได้ แล้ว

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 8
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
13 นายจ้ างต้ องจั ดให้ ทางเดิ น เข้ าออกจากพื้ นที่  ยังไม่ได้สารวจ
สาหรั บปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่ องจักร มีความ ตรวจสอบ
กว้างไม่น้อยกว่าแปดสิบเซนติเมตร
14 นายจ้างต้องจัดทารั้ว คอกกั้น หรือเส้นแสดง 
เขตอั น ตราย ณ บริ เ วณที่ ตั้ ง ของเครื่ อ งจั ก ร
ให้ ลู ก จ้ า งเห็ น ได้ ชั ด เจน และต้ อ งดู แ ลไม่ ใ ห้
ลูกจ้างซึ่งไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในบริเวณดังกล่าว
15 นายจ้างต้องติดตั้งเครื่องป้องกันวัสดุตกหล่ น  ไม่มี
บริ เ วณสายพานล าเลี ย ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ
ปลอดภัยแก่ลูกจ้าง และต้องมีสวิตช์ฉุกเฉิน ที่
สามารถหยุดการทางานของสายพานได้ทันที
ติดตั้งไว้ในตาแหน่งที่เห็นชัดเจน
16 นายจ้างต้องไม่ยินยอมให้บุคคลซึ่งไม่เกี่ยวข้อง  ไม่มี
เข้าไปในบริเวณเส้นทางสายพานลาเลียง
17 นายจ้างต้องไม่ติดตั้ งเครื่องจักรที่ควบคุมโดย  ไม่มี
ระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ คอมพิ ว เตอร์ ใ น
บริเวณพื้นที่ที่มีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาจนอาจ
มีผ ลทาให้ การทางานของเครื่ องจักรผิ ดปกติ
และก่อให้เกิดอันตรายต่อลูกจ้าง

* หมายเหตุ ในกรณีที่รายการข้อกาหนดมีรายละเอียดที่ต้องพิจารณาหลายประเด็น ควรจาแนกประเด็นใน


การบันทึก ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
8 นายจ้างต้องประกาศกาหนดวิธีการทางานของ ยั ง ไ ม่ มี ก า ร ก า ห น ด
ลู กจ้ างที่ เกี่ ย วกั บ เครื่ องจั กรที่ อ าจก่ อให้ เกิ ด วิธีการทางานที่เกี่ยวกับ
อั น ตรายได้ โ ดยสภาพ ติ ดไว้ บ ริ เวณที่ ลู กจ้ าง เครื่องปั๊มโลหะ
ทางาน เกี่ยวกับ
- เครื่องปั๊มโลหะ 
- เครื่องเจีย 

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 9
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
- เครื่องตัด 
- เครื่องไส 
อื่น ๆ 

6. ข้อกาหนดที่ระบุให้ “นายจ้างดูแล” “นายจ้างควบคุม ” “นายจ้างกาหนด” “นายจ้างห้าม”


ผู้ปฏิบัติงานที่อยู่หน้างานเป็นผู้ดาเนินการ ในทางปฏิบัติข้อกาหนดเหล่านี้ต้องนาไปจัดทาเป็นข้อบังคับหรือ
กฎระเบียบว่าด้วยความปลอดภัยในการทางาน เพื่อให้หัวหน้างานกากับ ดูแล ให้ลูกจ้างในหน่วยงานที่
รับผิดชอบปฏิบัติตาม
ข้อบังคับว่าด้วยความปลอดภัยในการทางาน หมายถึงวิธีปฏิบัติงานที่ปลอดภัยในขั้นตอนงาน
สาหรับใช้เฉพาะผู้ปฏิบัติงานในขั้นตอนนั้น ส่วนกฎระเบียบว่าด้วยความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง
ข้อกาหนดที่ให้ปฏิบัติหรือห้ามปฏิบัติในเรื่องใด ๆ ที่ใช้กับทุกคน

ตัวอย่างการใช้แบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ ตามข้อ 6
แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้า พ.ศ. 2552

ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 1
เครื่องจักร
ส่วนที่ 3
เครื่องเชื่อมไฟฟ้าและเครื่องเชื่อมก๊าซ

24 นายจ้ า งต้ อ งจั ด ให้ มี ม าตรการด้ า นความ  มอบจป.หลักประสาน


ปลอดภั ย และควบคุ ม ดู แ ลให้ ลู ก จ้ า งปฏิ บั ติ หัวหน้างานเชื่อม
โดยเคร่ ง ครั ด เมื่ อ ใช้ เ ครื่ อ งเชื่ อ มไฟฟ้ า หรื อ - ตรวจสอบการเชื่อมใน
เครื่องเชื่อมก๊าซในบริเวณที่อาจจะก่อให้เกิด บริ เวณที่ อาจจะก่ อให้
เกิ ด อั น ตรายจากการ
ระเบิ ด เพลิ งไหม้ หรื อ

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 10
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

อันตรายจากการระเบิด เพลิงไหม้ หรือไฟลาม ไฟลามจากก๊าซ น้ามั น


จากก๊าซ น้ามัน หรือวัตถุไวไฟอื่น หรือวัตถุไวไฟอื่น
- จัดทามาตรการความ
ปลอดภัย
- จัดทาข้อบังคับ
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
- แล้วเสร็จภายใน....วัน

7. ให้จป.หลักพิจารณาข้อความจากช่อง “รายการ” เฉพาะข้อที่ทาเครื่องหมาย “” ในช่อง


“ไม่ ใ ช่ ” ในแบบตารางรายการชี้ บ่ ง และตรวจสอบที ล ะข้ อ แล้ ว พิ จ ารณาระบุ บุ ค คลหรื อ หน่ ว ยงานที่
เหมาะสมมาดาเนินการแทนนายจ้าง โดยให้ระบุชื่อบุคคล หรือชื่อตาแหน่ง หรือชื่อหน่วยงาน ซึ่งอาจเป็น
บุคคลภายในหรือภายนอกก็ได้ และมอบให้ดาเนินการตามข้อกาหนด มีการประมาณการค่าใช้จ่าย กาหนด
ระยะเวลาแล้วเสร็จ พร้อมบันทึกลงในช่อง “บันทึกผลที่สาคัญ” ทั้งนี้จะต้องนาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (คปอ.) เพื่อพิจารณาเห็นชอบก่อนนาเสนอ
นายจ้าง (กรณีไม่มี คปอ. ให้เสนอนายจ้างหรือผู้ได้รับมอบอานาจพิจารณาเห็นชอบ)
บุคคลหรือหน่วยงานที่เหมาะสม ได้แก่
7.1 จป.หลัก
7.2 ช่าง ได้แก่ ช่างซ่อมบารุง ช่างทั่วไป
7.3 หน่วยงาน/ผู้ชานาญการเฉพาะ (ไม่ระบุคุณวุฒิวิชาชีพ) ได้แก่ ผู้ควบคุมปั้นจั่น พนักงาน
ดับเพลิง เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ (Lab)
7.4 ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ (ระบุคุณวุฒิวิชาชีพ) ได้แก่ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรไฟฟ้า แพทย์อาชีวเวชศาสตร์
7.5 หน่วยงาน/ผู้มีคุณสมบัติขึ้นทะเบียนตามกฎหมาย ได้แก่ หน่วยฝึกอบรม หน่วยตรวจวิเคราะห์
วิทยากร
7.6 ผู้ปฏิบัติงานอยู่หน้างาน ได้แก่ พนักงานปฏิบัติงาน พนักงานควบคุมงาน หัวหน้างาน ช่าง
หัวหน้าช่าง
หมายเหตุ : ในแต่ละข้อกาหนดอาจต้องใช้บุคคลที่เหมาะสมหลายคนมาร่วมดาเนินการ
8. หลักการบันทึกข้อความลงในช่อง “บันทึกผลที่สาคัญ” มีดังนี้
8.1 ทุ ก ข้ อ ให้ เ ริ่ ม ต้ น บั น ทึ ก ด้ ว ยข้ อ ความว่ า “มอบจป.หลั ก ” แล้ ว ต่ อ ด้ ว ยข้ อ ความการ
ประสานงานกับบุคคลหรือหน่วยงานที่ เหมาะสมดาเนินการตามข้อกาหนด เนื่องจากเมื่อที่ประชุมคปอ.ลง
มติเห็นชอบ แล้วนาเสนอนายจ้าง หรือผู้รับมอบอานาจลงนามอนุมัติ ก็จะทาให้ จป.หลัก มีอานาจหน้าที่ใน
การประสานงานในทุกระดับตามที่ระบุไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 11
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
8.2 ข้อกาหนดซึ่งอยู่ในช่อง “รายการ” หนึ่งข้อที่กาหนดให้นายจ้างดาเนินการอาจมีหลายเรื่อง
ซึ่งจป.หลักต้องประสานบุคคลหรือหน่วยงานที่เหมาะสมหลายคน หรือหลายหน่วยงานมาดาเนินการแทน
นายจ้าง
8.3 ข้อกาหนดในแต่ละข้อ ที่มอบหมายบุคคลหรือหน่วยงาน ดาเนินการแล้ว ควรระบุประมาณ
การค่าใช้จ่าย และระยะเวลาแล้วเสร็จ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของคปอ. หรือผู้อนุมัติ
8.4 ข้อกาหนดที่ไม่สามารถดาเนินการได้ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับข้อกาหนดอื่นที่อยู่ระหว่าง
ดาเนินการหรือยังไม่ได้ดาเนินการ ต้องดาเนินการข้อที่เกี่ยวข้องนั้นให้แล้วเสร็จก่อน แล้วนาผลที่ได้มา
ดาเนินการต่อไป ซึ่งข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องนั้นอาจอยู่ต่างหมวด หรือต่างส่วน ของกฎกระทรวงฉบับเดียวกัน
หรือต่างฉบับก็ได้
ส าหรั บ ข้ อ ก าหนด ข้ อ 2 ของกฎกระทรวงก าหนดมาตรฐานในการบริ ห าร จั ด การ และ
ดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับ
อัคคีภัย พ.ศ. 2555 “ให้ น ายจ้ างจั ดให้ มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการตาม
กฎกระทรวงนี้ และต้ อ งดู แ ลระบบป้ อ งกั น และระงั บ อั ค คี ภั ย ให้ อ ยู่ ใ นสภาพพร้ อ มใช้ ง านได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพและปลอดภัย ” ทั้งนี้ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยของกฎกระทรวงฉบับนี้ ประกอบด้วย
6 เรื่อง ได้แก่ (1) การจัดหาอุปกรณ์ดับเพลิง (2) การติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเหตุ (3) การจัดทาทางหนีไฟ
(4) การกาจัดของเสี ยที่ติดไฟง่าย (5) การเก็บรักษาวัตถุไวไฟและวัตถุระเบิด (6) การป้องกันฟ้าผ่า ซึ่ง
ครอบคลุ มหลายหมวด หลายส่ ว นของกฎกระทรวงฉบั บนี้ ดั ง นั้ นส าหรั บ ข้อ 2 นี้ ต้ อ งด าเนิ น การทุ ก
ข้อกาหนดของแต่ละเรื่ องที่กาหนดในกฎกระทรวงให้ แล้ วเสร็จก่อน หากมีการดาเนินการยังไม่ถูกต้อง
ทั้งหมดทุกข้อ ต้องทาเครื่องหมาย “” ในช่อง “ไม่ใช่” จนกว่าจะมีการดาเนินการถูกต้องครบถ้ว น
ทั้งหมด จึงทาเครื่องหมาย “” ในช่อง “ใช่” ได้

ตัวอย่างการใช้แบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ ตามข้อ 7 และ ข้อ 8


แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้า พ.ศ. 2552
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 1
เครื่องจักร
ส่วนที่ 1
บททั่วไป

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 12
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
3 นายจ้างต้องดูแลให้ลูกจ้างซึ่งทางานเกี่ยวกับ  ส ารวจตรวจสอบแล้ ว
เครื่องจักรปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ พบว่า (1) ได้จัดทาเป็น
ข้ อ บั ง คั บ แล้ ว แต่ (2)
และ (3) ยังไม่ได้จัดทา
(1) สวมใส่เครื่องนุ่งห่มให้เรียบร้อย รัดกุม และ 
ไม่รุ่งริ่ง
(2) ไม่สวมใส่เครื่องประดับที่อาจเกี่ยวโยงกับ  มอบจป.หลักประสาน
สิ่งหนึ่งสิ่งใดได้ แผนกที่มีเครื่องจักร
(3) รวบผมที่ปล่อยยาวเกินสมควรหรือทาอย่าง - จั ดท าเป็ นข้ อบั งคั บ
 ก า ร ท า ง า น กั บ
หนึ่งอย่างใดให้อยู่ในลักษณะที่ปลอดภัย
เครื่องจักรเพิ่มอีก 2 ข้อ
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
- แล้วเสร็จภายใน...วัน

4 ในบริเวณที่มีการติดตั้ง การซ่อมแซม หรือการ  มอบจป.หลักประสาน


ตรวจสอบเครื่ อ งจั ก ร หรื อ เครื่ อ งป้ อ งกั น ฝ่ายซ่อมบารุง
อันตรายจากเครื่องจักร นายจ้ างต้องติดป้าย - สารวจตรวจสอบงาน
แสดงการดาเนินการดังกล่าวโดยใช้เครื่องหมาย และกิจกรรม
หรื อ ข้ อ ความที่ เ ข้ า ใจง่ า ยและเห็ น ได้ ชั ด เจน - จัดทาป้ายแสดง
รวมทั้ ง จั ด ให้ มี ร ะบบ วิ ธี ก าร หรื อ อุ ป กรณ์ อุปกรณ์ป้องกัน
ป้องกันมิให้เครื่องจักรนั้นทางาน และให้แขวน เครื่องหมายห้ามเปิด
ป้ายแสดงเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ห้ามเปิด สวิตช์
สวิตช์ไว้ที่สวิตช์ของเครื่องจักรด้วย - จัดทาข้อบังคับของ
ฝ่ายซ่อมบารุง
- ค่ า ใช้ จ่ า ยไม่ เ กิ น ...
บาท
- แล้ ว เสร็ จ ภายใน....
วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 13
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
5 การประกอบ การติดตั้ง การซ่อมแซม และการ  อธิบดียังไม่ได้กาหนด
ใช้งานเครื่องจักร นายจ้างต้องจัดให้มีวิศวกร
เป็นผู้รับรองตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดี
ประกาศกาหนด และเก็บหลักฐาน ให้พนักงาน
ตรวจแรงงานตรวจสอบได้
6 นายจ้ างต้ องดูแลให้ ลู กจ้ างซึ่งทางานเกี่ยวกั บ  อธิบดียังไม่ได้กาหนด
เครื่ องจั กร ตรวจสอบเครื่ องจั กรนั้น ให้ อยู่ใน
สภาพใช้การได้ดีและปลอดภัย ตามระยะเวลา
การใช้ งานที่ เหมาะสม และจั ดให้ มี การตรวจ
รับรองประจ าปี ตามชนิดและประเภทที่อธิบดี
ประกาศกาหนด
7 ห้ า มมิ ใ ห้ น ายจ้ า งใช้ ห รื อ ยอมให้ ลู ก จ้ า งใช้  จัด ท าเป็น ข้อ บัง คับ
เ ค รื่ อ ง จั ก ร ท า ง า น เ กิ น พิ กั ด ห รื อ ขี ด ในขั้นตอนงานแล้ว
ความสามารถที่ผู้ผลิตกาหนด

8 เครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเจีย เครื่องตัด เครื่องไส  มอบจป.หลักประสาน


หรือเครื่องจักรที่อาจก่อให้เกิด อั นตรายได้โดย แผนกผลิต
สภาพ นายจ้ า งต้ อ งประกาศก าหนดวิ ธี ก าร - ส ารวจตรวจสอบ
ทางานของลูกจ้าง ติดไว้บริเวณที่ลูกจ้างทางาน เครื่องจักร
- จัดทาวิธีการทางาน
- จั ด ท า ป้ า ย ติ ด
ประกาศ
- จัดทาข้อบังคับ
- ค่ าใช้ จ่ ายไม่ เกิ น.....
บาท
- แล้วเสร็จภายใน......
วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 14
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
8 เครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเจีย เครื่องตัด เครื่องไส  มอบจป.หลักประสาน
หรือเครื่องจักรที่อาจก่อให้เกิด อันตรายได้โดย แผนกผลิต
สภาพ นายจ้ า งต้ อ งประกาศก าหนดวิ ธี ก าร - ส ารวจตรวจสอบ
ทางานของลูกจ้าง ติดไว้บริเวณที่ลูกจ้างทางาน เครื่องจักร
- จัดทาวิธีการทางาน
- จั ด ท า ป้ า ย ติ ด
ประกาศ
- จัดทาข้อบังคับ
- ค่ าใช้ จ่ ายไม่ เกิ น.....
บาท
- แล้วเสร็จภายใน......
วัน
9 ในกรณีที่ ให้ ลู กจ้ า งทางานเกี่ย วกับ เครื่องปั๊ ม  อธิบดียังไม่ได้กาหนด
โลหะ เครื่องเชื่อมไฟฟ้า เครื่องเชื่อมก๊าซ รถยก
หรือเครื่องจักรที่อาจก่อให้เกิดอันตรายได้โดย
สภาพตามที่อ ธิ บ ดีป ระกาศก าหนด นายจ้าง
ต้ อ งใช้ ลู ก จ้ า งที่ มี ค วามช านาญในการใช้
เครื่องจักรนั้น และผ่านการอบรมตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่อธิบดีประกาศกาหนด
10 นายจ้างต้องดูแลให้พื้นบริเวณรอบเครื่องจักร  จัดทาเป็นข้อบังคับใน
อยู่ในลักษณะที่ปลอดภัย ขั้นตอนงานแล้ว
11 นายจ้ า งต้ อ งจั ด ให้ มี วิ ธี ก ารด าเนิ น การเพื่ อ  รอดาเนินการข้อ (6)
ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ ลู ก จ้ า งได้ รั บ อั น ตรายจากการ
ทางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ดังต่อไปนี้
(1) เครื่ องจักรที่ใช้พลังงานไฟฟ้าต้องมีระบบ 
หรือวิธีการป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วเข้าตัวบุคคล
ที่เกี่ยวข้องหรือเครื่องจักร และต้องต่อสายดิน
ทั้งนี้ การติดตั้งระบบป้องกัน กระแสไฟฟ้ารั่ว
ดังกล่าว ให้เป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้า
ในท้องถิ่นนั้น

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 15
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
กรณี ที่ ไ ม่ มี ม าตรฐานดั ง กล่ า ว ให้ ป ฏิ บั ติ
ตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
(2) เครื่องจักรที่ใช้พลังงานไฟฟ้า สายไฟฟ้าเข้า 
เครื่องจักรต้องเดินลงมาจากที่สูง กรณีเดินบน
พื้น ดิ น หรื อฝั ง ดิน ต้องใช้ท่ อร้ อ ยสายไฟฟ้า ที่
แข็งแรงและปลอดภัย
(3) เครื่องจักรชนิดอัตโนมัติ ต้องมีสีเครื่องหมาย 
ปิด - เปิดที่สวิตช์อัตโนมัติตามหลักสากล และ
มีเครื่องป้องกันมิให้สิ่งหนึ่งสิ่งใดกระทบสวิตช์
อันเป็นเหตุให้เครื่องจักรทางาน
(4) เครื่ องจั กรที่มีการถ่ายทอดพลังงานโดยใช้  ไม่มี
เพลา สายพาน รอก เครื่องอุปกรณ์ ล้อตุนกาลัง
ต้องมีตะแกรงหรือที่ครอบปิดคลุมส่วน ที่หมุน
ได้ และส่วนส่งถ่ายกาลังให้มิดชิด ถ้าส่วนที่หมุน
ได้ หรือส่วนส่งถ่ายกาลังสูงกว่าสองเมตร ต้องมี
รั้วหรือตะแกรงสูงไม่น้อยกว่าสองเมตรกั้นล้อมมิ
ให้บุคคลเข้าไปได้ในขณะเครื่องจักรกาลังทางาน
สาหรับสายพานแขวนลอยที่มีความเร็วไม่
น้ อ ยกว่ า ห้ า ร้ อ ยสี่ สิ บ เมตรต่ อ นาที หรื อ
สายพาน ที่มีช่วงยาวเกิน กว่าสามเมตร หรือ
สายพานที่ ก ว้ า งกว่ า ยี่ สิ บ เซนติ เ มตร หรื อ
สายพานโซ่ ต้องมีเครื่องป้องกันอันตรายจาก
เครื่องจักรนั้น
(5) เครื่ องจั กรที่มีใ บเลื่ อยวงเดื อนต้ องจั ดให้  ไม่มี
มีเครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรนั้น

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 16
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
(6) เครื่องจักรที่ใช้เป็นเครื่องลับ ฝน หรือแต่ง  มอบจป.หลักประสาน
ผิว โลหะ ต้องมีเครื่ องปิดบั งประกายไฟ หรือ แผนกที่เกี่ยวข้อง
เศษวัตถุในขณะใช้งาน - ส ารวจตรวจสอบ
เครื่ อ ง ลั บ ฝน แต่ ง
โลหะ
- จัดทาเครื่องปิดบัง
- ค่ าใช้ จ่ ายไม่ เกิ น.....
บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......
วัน
(7) เครื่องจักรที่ใช้ในการขึ้นรูปพลาสติกหรื อ  ไม่มี
วัส ดุอื่ น โดยลั ก ษณะ ฉีด เป่ า หรือ วิธีก ารอื่ น
ต้องมีเครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรนั้น
กรณี ที่ น ายจ้ างไม่ สามารถจั ดให้ มี วิ ธี การ
ดาเนินการเพื่อป้องกันมิให้ลูกจ้างได้รับอันตราย
ตามวรรคหนึ่งได้ นายจ้างต้องออกแบบอุปกรณ์
ช่ ว ยเพื่ อให้ เ กิ ดความปลอดภั ย หรื อ ก าหนด
ขั้นตอนการทางานให้ ปลอดภัยได้ และแจ้งให้
อธิ บ ดี ห รื อผู้ ซึ่ งอธิ บ ดี มอบหมายทราบโดยไม่
ชักช้า
12 นายจ้างต้องบารุงรักษาและดูแลเครื่องป้องกัน  จั ด ท าเป็ น ข้ อ บั ง คั บ
อันตรายจากเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพที่สามารถ ของช่างซ่อมบารุงเซฟ
ป้องกันอันตรายได้ การ์ดแล้ว
13 นายจ้ างต้ องจั ดให้ ทางเดิ น เข้ าออกจากพื้ นที่  ย ัง ไ ม ่ไ ด ้ส า ร ว จ
สาหรั บปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่ องจักร มีความ ตรวจสอบ
กว้างไม่น้อยกว่าแปดสิบเซนติเมตร - นาเสนอในโอกาส
ต่อไป

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 17
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
14 นายจ้างต้องจัดทารั้ว คอกกั้น หรือเส้นแสดง  มอบจป.หลักประสาน
เขตอั น ตราย ณ บริ เ วณที่ ตั้ ง ของเครื่ อ งจั ก ร แผนกที่มีเครื่องจักร
ให้ ลู ก จ้ า งเห็ น ได้ ชั ด เจน และต้ อ งดู แ ลไม่ ใ ห้ - ส ารวจตรวจสอบ
ลูกจ้างซึ่งไม่เกี่ยวข้องเข้าไปในบริเวณดังกล่าว บริเวณเครื่องจักร
- จั ด ท ารั้ ว คอก หรื อ
เส้น
- จั ด ท ากฎระเบี ย บ
ห้ามเข้า
- ค่ าใช้ จ่ ายไม่ เกิ น.....
บาท
- แล้วเสร็จภายใน......
วัน
15 นายจ้างต้องติดตั้งเครื่องป้องกันวัสดุตกหล่ น  ไม่มี
บริ เ วณสายพานล าเลี ย ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ
ปลอดภัยแก่ลูกจ้าง และต้องมีสวิตช์ฉุกเฉิน ที่
สามารถหยุดการทางานของสายพานได้ทันที
ติดตั้งไว้ในตาแหน่งที่เห็นชัดเจน
16 นายจ้างต้องไม่ยินยอมให้บุคคลซึ่งไม่เกี่ยวข้อง  ไม่มี
เข้าไปในบริเวณเส้นทางสายพานลาเลียง
17 นายจ้ างต้องไม่ติ ดตั้งเครื่ องจั กรที่ ควบคุมโดย  ไม่มี
ระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ คอมพิ ว เตอร์ ใ น
บริเวณพื้นที่ที่มีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา จนอาจมี
ผลทาให้การทางานของเครื่องจักรผิดปกติ และ
ก่อให้เกิดอันตรายต่อลูกจ้าง

ตัวอย่างการใช้แบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ ตามข้อ 8.4 ข้อกาหนดบางข้อยังไม่สามารถ


ดาเนินการได้เนื่องจากเกี่ยวข้องกับข้อกาหนดข้ออื่นที่อยู่ระหว่างดาเนินการหรือยังไม่ได้ดาเนินการ ดังนั้น
ต้องดาเนินการข้ออื่นที่เกี่ยวข้องนั้นให้แล้วเสร็จก่อน แล้วจึงนาผลที่ได้มาดาเนินการในข้อกาหนดข้างต้น
ต่อไป ซึ่งข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องนั้นอาจอยู่ต่างหมวด หรือต่างส่วน ของกฎกระทรวงฉบับเดียวกันหรือต่าง
ฉบั บ ก็ ไ ด้ ดั ง ตั ว อย่ า งของข้ อ ก าหนดที่ ใ ห้ น ายจ้ า งจั ด ให้ มี ก ารตรวจวั ด ตรวจวิ เ คราะห์ ตรวจทดสอบ

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 18
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ตรวจสุขภาพ หรือตรวจรับรองสภาวะการทางาน โดยผู้มีคุณสมบัติหรือหน่วยงานตามกฎหมาย ซึ่งผลจาก
การตรวจวัดที่ได้แตกต่างกัน ทาให้การดาเนินการในข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องแตกต่างกันไปด้วย ดังตัวอย่าง
จานวน 3 ตัวอย่าง ต่อไปนี้

1.4 ตั วอย่างรายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อ กาหนดของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย


และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ตัวอย่างที่ 1
แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 3
เสียง

8 นายจ้ า งต้ อ งควบคุ ม ระดั บ เสี ย งที่ ลู ก จ้ า ง  มอบจป.หลัก


ได้รับเฉลี่ยตลอดเวลาการทางานในแต่ละวัน - ส ารวจจุ ด บริ เ วณ
( Time Weighted Average - TWA) มิ ใ ห้ การท างานกั บ แหล่ ง
เกินมาตรฐานตามที่อธิบดีประกาศกาหนด กาเนิดเสียง
- ประสานหน่วยตรวจ
วัดเสียงที่ขึ้นทะเบียน
ตามข้อ 14
- นาผลที่ได้จากข้อ 14
มาดาเนินการต่อไป

11 ในกรณีที่สภาวะการทางานในสถานประกอบ  ต้องรอผลการตรวจวัด
กิจการมีระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับเฉลี่ย ตลอด เสี ย ง ตามหมวด 5
ระยะเวลาการท างานแปดชั่ วโมงตั้ งแต่ 85 ข้ อ 14 การตรวจวั ด
เดซิเบล เอขึ้นไป ให้นายจ้างจัดให้มีมาตรการ และวิ เคราะห์ สภาวะ
อนุ รั กษ์ การได้ ยิ น ในสถานประกอบกิ จการ การท างาน และการ
ตามหลั กเกณฑ์ และวิธีการที่ อธิบดีประกาศ รายงานผล
กาหนด

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 19
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 5
การตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการ
ทางาน และการรายงานผล

14 นายจ้ า งต้ อ งจั ด ให้ มี ก ารตรวจวั ด และ  มอบจป.หลัก


วิเคราะห์ ส ภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับ - ส ารวจจุ ด บริ เ วณ
ความร้อน แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถาน การท างานกั บ แหล่ ง
ประกอบกิจการ กาเนิดเสียง
หลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก ารตรวจวั ด และการ - ประสานหน่วยตรวจ
วิเคราะห์สภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับความ วัดเสียงที่ขึ้นทะเบียน
ร้อน แสงสว่าง หรือเสียง รวมทั้งระยะเวลาและ มาดาเนิ น การตาม
ประเภทกิ จการที่ ต้ องด าเนิ นการให้ เป็ นไป ประกาศกรมกรม
ตามที่อธิบดีประกาศกาหนด สวั ส ดิ ก ารและ
ในกรณีที่นายจ้างไม่สามารถตรวจวัดและ คุ้ ม ครองแรงงาน
วิเคราะห์สภาวะการทางานตามวรรคหนึ่งได้ - รั บ ทราบผล และ
ต้องให้ผู้ที่ขึ้นทะเบียนตามมาตรา 9 หรือนิติ ข้อแนะนา
บุคคลที่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา 11 แห่ง - จัดเก็บผล
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554
เพื่ อ เป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารในการตรวจวั ด และ
วิ เคราะห์ สภาวะการท างานเกี่ ยวกั บระดั บ
ความร้ อน แสงสว่าง หรื อเสียงภายในสถาน
ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร แ ล้ ว แ ต่ ก ร ณี เ ป็ น
ผู้ดาเนินการแทน
ให้ น ายจ้ า งเก็ บ ผลการตรวจวั ด และ
วิเ คราะห์ ส ภาวะการท างานดั งกล่ า วไว้ ณ
สถานประกอบกิจการ เพื่อให้พนักงานตรวจ
ความปลอดภัยสามารถตรวจสอบได้

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 20
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ตัวอย่างที่ 2
แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 3
เสียง
8 นายจ้ า งต้ อ งควบคุ ม ระดั บ เสี ย งที่ ลู ก จ้ า ง  มอบจป.หลัก
ได้รับเฉลี่ยตลอดเวลาการทางานในแต่ละวัน - ส ารวจจุ ด บริ เ วณ
( Time Weighted Average - TWA) มิ ใ ห้ การท างานกั บ แหล่ ง
เกินมาตรฐานตามที่อธิบดีประกาศกาหนด กาเนิดเสียง
- ประสานหน่วยตรวจ
วัดเสียงที่ขึ้นทะเบียน
ตามข้อ 14
- นาผลที่ได้จากข้อ 14
มาดาเนินการต่อไป
11 ในกรณี ที่ ส ภ าว ะการท างานในสถาน  มอบจป.หลัก
ประกอบกิจการมีระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับ - ประสานผู้เกี่ยวข้อง
เฉลี่ย ตลอดระยะเวลาการทางานแปดชั่วโมง ดาเนินการตาม
ตั้งแต่ 85 เดซิเบล เอขึ้นไป ให้นายจ้างจัดให้ ประกาศกรมกรม
มี ม าตรการอนุ รั ก ษ์ ก ารได้ ยิ น ในสถาน สวัสดิการและ
ประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คุ้มครองแรงงาน
อธิบดีประกาศกาหนด เรื่องมาตรการ
อนุรักษ์การได้ยิน
โดยให้นาเสนอเป็น
แบบตาราง
ตรวจสอบ (Check
Sheet)

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 21
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 5
การตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการ
ทางาน และการรายงานผล
14 นายจ้ า งต้ อ งจั ด ให้ มี ก ารตรวจวั ด และ  ผลการตรวจวัดระดับ
วิเคราะห์ ส ภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับ ความดั ง เฉลี่ ย ตลอด
ความร้อน แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถาน ระยะเวลาการทางาน
ประกอบกิจการ แปดชั่ ว โมงเกิ น 85
หลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก ารตรวจวั ด และการ เดซิเบล เอ
วิเคราะห์ ส ภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับ
ความร้ อ น แสงสว่ า ง หรื อ เสี ย ง รวมทั้ ง
ระยะเวลาและประเภทกิ จ การที่ ต้ อ ง
ดาเนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามที่อ ธิ บ ดี ประกาศ
กาหนด
ในกรณี ที่ น ายจ้ า งไม่ ส ามารถตรวจวั ด
และวิเคราะห์ ส ภาวะการทางานตามวรรค
หนึ่งได้ ต้องให้ผู้ที่ขึ้นทะเบียนตามมาตรา 9
หรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ ได้ รั บ ใบอนุ ญ าตตา ม
มาตรา 11 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ค วาม
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ใน กา รท าง าน พ . ศ . 25 54 เ พื่ อ เป็ น
ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารในการตรวจวั ด และวิ เ คราะห์
สภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับความร้อน
แสงสว่ าง หรื อเสี ย งภายในสถานประกอบ
กิจการ แล้วแต่กรณี เป็นผู้ดาเนินการแทน
ให้ น ายจ้ า งเก็ บ ผลการตรวจวั ด และ
วิเ คราะห์ ส ภาวะการท างานดั งกล่ า วไว้ ณ
สถานประกอบกิจการ เพื่อให้พนักงานตรวจ
ความปลอดภัยสามารถตรวจสอบได้

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 22
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ตัวอย่างที่ 3
แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 3
เสียง
8 นายจ้ า งต้ อ งควบคุ ม ระดั บ เสี ย งที่ ลู ก จ้ า ง  มอบจป.หลัก
ได้รับเฉลี่ยตลอดเวลาการทางานในแต่ละวัน - ส ารวจจุ ด บริ เ วณ
( Time Weighted Average - TWA) มิ ใ ห้ การท างานกั บ แหล่ ง
เกินมาตรฐานตามที่อธิบดีประกาศกาหนด กาเนิดเสียง
- ป ร ะ ส า น ห น่ ว ย
ตรวจวั ด เสี ย งที่ ขึ้ น
ทะเบียนตามข้อ 14
- นาผลที่ได้จากข้อ 14
มาดาเนินการต่อไป
11 ในกรณี ที่ ส ภ าว ะการท างานในสถาน  ผลการตรวจวัดระดับ
ประกอบกิจการมีระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับ ความดั ง เฉลี่ ย ตลอด
เฉลี่ย ตลอดระยะเวลาการทางานแปดชั่วโมง ระยะเวลาการทางาน
ตั้งแต่ 85 เดซิเบล เอขึ้นไป ให้นายจ้างจัดให้ แปดชั่ ว โมงไม่ เ กิ น
มี ม าตรการอนุ รั ก ษ์ ก ารได้ ยิ น ในสถาน ๘๕ เดซิเบล เอ
ประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
อธิบดีประกาศกาหนด
หมวด 5
การตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการ
ทางาน และการรายงานผล
14 นายจ้ า งต้ อ งจั ด ให้ มี ก ารตรวจวั ด และ  ด าเนิ น การตรวจวั ด
วิเคราะห์ ส ภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับ แล้ว
ความร้อน แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถาน
ประกอบกิจการ

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 23
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก ารตรวจวั ด และการ
วิเคราะห์ ส ภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับ
ความร้ อ น แสงสว่ า ง หรื อ เสี ย ง รวมทั้ ง
ระยะเวลาและประเภทกิ จ การที่ ต้ อ ง
ดาเนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามที่อ ธิ บ ดี ประกาศ
กาหนด
ในกรณี ที่ น ายจ้ า งไม่ ส ามารถตรวจวั ด
และวิเคราะห์ ส ภาวะการทางานตามวรรค
หนึ่งได้ ต้องให้ผู้ที่ขึ้นทะเบียนตามมาตรา 9
หรื อ นิ ติ บุ ค คลที่ ได้ รั บ ใบอนุ ญ าตตา ม
มาตรา 11 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ค วาม
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ใน กา รท าง าน พ . ศ . 25 54 เ พื่ อ เป็ น
ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารในการตรวจวั ด และวิ เ คราะห์
สภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับความร้อน
แสงสว่าง หรื อเสี ย งภายในสถานประกอบ
กิจการ แล้วแต่กรณี เป็นผู้ดาเนินการแทน
ให้ น ายจ้ า งเก็ บ ผลการตรวจวั ด และ
วิเ คราะห์ ส ภาวะการท างานดั งกล่ า วไว้ ณ
สถานประกอบกิจการ เพื่อให้พนักงานตรวจ
ความปลอดภัยสามารถตรวจสอบได้

9. จป.หลักจัดลาดับความสาคัญในการนาแบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ เข้าพิจารณาใน
การประชุมคปอ.ประจาเดือน เพื่อที่ประชุมคปอ.พิจารณาลงมติเห็นชอบ (กรณีไม่มีคปอ.ให้เสนอนายจ้าง
หรือผู้รับมอบอานาจโดยตรง) เพื่อรายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตาม
กฎหมายต่อนายจ้าง ตามหน้าที่คปอ.ซึ่งจะทาให้นายจ้างหรือผู้รับมอบอานาจมีความเชื่อมั่นในการพิจารณา
อนุมัติตามที่เสนอ เพราะผ่านการพิจารณาลงมติเห็นชอบจากคปอ.ซึ่งเป็นทวิภาคี นอกจากนั้นกฎหมายยัง
กาหนดให้นายจ้างต้องดาเนินการตามมติคปอ.โดยมิชักช้า

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 24
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
10. จป.หลักต้องนาแบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ เข้าวาระการประชุมคปอ.ประจาเดือน
เพื่อดาเนินการใน 3 กรณี ดังนี้
10.1 ในวาระเรื่องสืบเนื่อง แสดงมติที่ประชุมครั้งก่อน ๆ ที่เสนอนายจ้างไปแล้ว สถานะปัจจุบัน
ดาเนินการแล้วเสร็จ หรืออยู่ระหว่างดาเนินการ หรืออยู่ระหว่างประสานงาน หรือยังไม่ได้รับการอนุมัติ
10.2 ในวาระเรื่องสืบเนื่อง ต้องสรุปว่าสถานะปัจจุบัน แต่ละกฎกระทรวง แต่ละหมวด แต่ละ
ส่วนดาเนินการได้คิดเป็ นร้อยละเท่าไร เพื่อใช้กาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการจัดทาแผนงาน
ความปลอดภัยฯ ในส่วนของกฎหมาย และมาตรฐานต่อไป
การวัดผลให้คานวณเป็นร้อยละ โดยคานวณจากจานวนข้อหลักที่ทาเครื่องหมาย “” ลงใน
ช่อง “ใช่” หารด้วยจานวนข้อหลักทั้งหมดลบด้วยจานวนข้อหลักที่ทาเครื่องหมายในช่อง “ไม่เกี่ยวข้อง” ผล
ที่ได้ทั้งหมดคูณด้วย 100 จะได้ผลลัพธ์เป็นร้อยละ
10.3 ในวาระเรื่องเพื่อพิจารณา นาเสนอในข้อที่ทาเครื่องหมาย “” ลงในช่อง “ไม่ใช่” ให้
ที่ประชุมพิจารณาลงมติ เพื่อนาเสนอนายจ้างหรือผู้รับมอบอานาจต่อไป
11. บางข้อกาหนดมีรายละเอียดที่จาเป็นต้องจัดทาแบบตาราง Check Sheet เพิ่มเติม ซึ่งวิธีการ
ดาเนินการแบบตาราง Check Sheet คล้ายกับการดาเนินการตามแบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ
ต่างกันในช่องสุดท้าย โดยเปลี่ยนจาก “บันทึกผลที่สาคัญ” เป็น “หมายเหตุ” กรณีที่ต้องทา Check Sheet
มีดังต่อไปนี้
(1) กรณี ที่ ข้ อ ก าหนดใดในรายการแบบตารางรายการชี้ บ่ ง และตรวจสอบ ก าหนดว่ า ให้
ดาเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการที่อธิบดีประกาศกาหนด ให้นาข้อกาหนดแต่ละข้อที่อธิบดีประกาศกาหนด
มาใส่ใน แบบตาราง Check Sheet และให้ดาเนินการเหมือนกับการดาเนินการตามแบบตารางรายการชี้
บ่งและตรวจสอบ โดยอาจนาเข้าที่ประชุมคปอ. หากที่ประชุมต้องการ
(2) กรณีที่ข้อกาหนดในรายการแบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ กาหนดให้จัดทา หรือ
จัดให้มี หรือติดตั้งอุปกรณ์ และให้มีการตรวจสอบดูแล ซึ่งข้อกาหนดมิได้ระบุผู้เชี่ยวชาญเฉพาะที่มีคุณวุฒิ
เป็นผู้ตรวจรับรอง อาจให้ผู้มีความรู้เฉพาะด้านจัดทาแบบตาราง Check Sheet เพื่อไว้ใช้ตรวจสอบ
(3) กรณีที่ข้อกาหนดในรายการแบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ กาหนดให้ผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะที่มีคุณวุฒิ หรือผู้มีคุณสมบัติตามกฎหมายดาเนินการ โดยลงนามรับรองจป.หลักไม่จาเป็นต้องใช้แบบ
ตาราง Check Sheet
12. ข้อ กาหนดข้อ ใดในแบบตารางรายการชี้บ่ งและตรวจสอบ มีร ายละเอีย ดเป็นแบบตาราง
Check Sheet ต้องดาเนินการแบบตาราง Check Sheet ให้แล้วเสร็จทุกข้อก่อน จึงเปลี่ยนจาก “ไม่ใช่”
เป็น “ใช่”
13. ผลการดาเนินการด้วยแบบตารางรายการชี้บ่งและตรวจสอบ จะได้มาตรการที่เป็นข้อบังคับ
หรือกฎระเบียบด้านความปลอดภัยในการทางาน และมาตรการการตรวจสอบบารุงรักษาเชิงป้อ งกัน เพื่อ
นาไปจัดทาแผนจัดการความเสี่ยงของแต่ละแผนกและพื้นที่ต่อไป

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 25
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ตัวอย่างที่ 4
แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. 2558
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 1
บททั่วไป

3 ให้ น ายจ้ า งจั ด ให้ มี ข้ อ บั ง คั บ เกี่ ย วกั บ การ  มอบจป.หลั ก ประสาน


ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย ส่วนงานไฟฟ้า
และสภาพแวดล้ อ มในการท างานเกี่ ย วกั บ - ส า รว จต รว จส อ บผู้
ไฟฟ้า โดยให้มีมาตรฐานไม่ต่ากว่าที่กาหนดไว้ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
ในกฎกระทรวงนี้ เพื่อให้ลูกจ้างปฏิบัติตาม - วิเ คราะห์ ด้ ว ยวิธี Job
Safety Analysis (JSA)
- จัดทาข้อบังคับ
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน
4 ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมให้กับลูกจ้างซึ่ง  มอบจป.หลั ก ประสาน
ปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วกั บ ไฟฟ้ า ให้ มี ค วามรู้ ค วาม หน่ ว ยงานไฟฟ้ า และ
เข้าใจ และทักษะที่จาเป็นในการทางานอย่าง หน่วยงานอบรม
ปลอดภั ย ตามหน้ า ที่ ที่ไ ด้รั บ มอบหมาย ทั้ง นี้ - ติ ด ต่ อ วิ ท ยากรที่ ขึ้ น
ตามหลั ก เกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขที่ อธิบ ดี ท ะ เ บี ย น ม า ท า ก า ร
ประกาศกาหนด ฝึกอบรม
- ด า เ นิ น ก า ร ต า ม
ประกาศ กรมสวัส ดิการ
และคุ ้ม ครองแรงงาน
เรื ่อ งห ลัก เก ณฑ์ก า ร
อบรม

- จั ด เก็ บ เอกสารการ
อบรม
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 26
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
5 ให้ น ายจ้ า งจั ด ให้ มี แ ละเก็ บ รั ก ษาแผนผั ง  มอบจป.หลัก
วงจรไฟฟ้ า ที่ ติ ด ตั้ ง ภายในสถานประกอบ - ประสานวิศวกรไฟฟ้า
กิจการทั้งหมดซึ่งได้รับการรับรองจากวิศวกร ตรวจรับรอง
หรื อ การไฟฟ้ า ประจ าท้ อ งถิ่ น ไว้ ใ ห้ พ นั ก งาน - จั ด เก็ บ รั ก ษาแผนผั ง
ตรวจความปลอดภั ย ตรวจสอบ หากมีก าร วงจร
แก้ไ ขเพิ่ม เติม หรือ เปลี ่ย นแปลงไปจากเดิม - ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
ต้องดาเนินการแก้ไขแผนผั งนั้นให้ ถูกต้อง - แล้วเสร็จภายใน.......วัน
6 ให้ น ายจ้ างจั ด ให้ มีแผ่ น ป้ ายที่ มีตัว อักษรหรื อ  มอบจป.หลักประสานส่วน
สัญลักษณ์เตือนให้ระวังอันตราย จากไฟฟ้าที่ งานไฟฟ้า
มองเห็ น ได้ ชั ด เจนติ ด ตั้ ง ไว้ โ ดยเปิ ด เผยใน - สารวจตรวจสอบบริเวณ
บริ เ วณที่ อ าจเกิ ด อั น ตรายจากกระแสไฟฟ้ า อันตรายจากไฟฟ้า
ทั้ ง นี้ ให้ เ ป็ น ไปตามแบบที่ ก าหนดไว้ ใ น - กาหนดสัญลักษณ์เตือน
มา ตร ฐ า นผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ตส าห กร รม หรื อ - ประสานงานช่างจัดทา
มาตรฐานอื่นตามที่อธิบดีประกาศกาหนด ป้ายและติดตั้ง
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน
7 ห้ามนายจ้ างให้ลู กจ้ างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับ  ยั ง ไ ม่ ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร
ไฟฟ้าเข้าใกล้หรือนาสิ่งที่เป็นตัวนาไฟฟ้า ที่ไม่ ตาม (1) และ (2)
มี ที่ ถื อ หุ้ ม ด้ ว ยฉนวนไฟฟ้ า ที่ เ หมาะสมกั บ
แรงดั น ไฟฟ้ า เข้ า ใกล้ สิ่ ง ที่ มี ก ระแสไฟฟ้ า ใน
ระยะที่น้ อยกว่าระยะห่ างตามมาตรฐานของ
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ใน
พระบรมราชู ป ถั ม ภ์ หากยั ง ไม่ มี ม าตรฐาน
ดังกล่าวให้ใช้มาตรฐานตามที่การไฟฟ้าประจา
ท้องถิ่นกาหนด เว้นแต่นายจ้างจะได้ดาเนินการ
ดังต่อไปนี้

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 27
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
(1) ให้ ลู ก จ้ า งสวมใส่ อุ ป กรณ์ คุ้ ม ครองความ  มอบจป.หลัก ประสาน
ปลอดภั ย ส่ ว นบุ ค คลที่ เ ป็ น ฉนวนไฟฟ้ า ที่ หน่วยงานไฟฟ้า
เหมาะสม กับแรงดันไฟฟ้า หรือนาฉนวนไฟฟ้า - สารวจตรวจสอบ
ที่สามารถป้องกันแรงดันไฟฟ้านั้นได้มาหุ้มสิ่งที่ ผู้ปฏิบัติงานไฟฟ้า
มีกระแสไฟฟ้า และ - ก า ห น ด Personal
Protective Equipment
(PPE) ที่ เห ม าะ สม กั บ
แต่ละงานไฟฟ้า
- ประสานฝ่า ยจัด ซื ้อ
จัดซื้อ PPE
- จัดทาเป็นข้อบังคับให้
สวมใส่
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน
(2) จัดให้มีวิศวกร หรือกรณีการไฟฟ้าประจา 
ท้องถิ่น อาจจั ดให้ ผู้ ที่ไ ด้รั บ การรับรองเป็น ผู้
ควบคุ ม งานจากการไฟฟ้ า ประจ าท้ อ งถิ่ น
ดังกล่าว เพื่อควบคุมการปฏิบัติงานของลูกจ้าง
8 ห้ ามนายจ้ างให้ ลู กจ้ างซึ่ งปฏิ บั ติ งานอื่ นหรื อ  - ได้จัดทาบริเวณอันตราย
อนุ ญ าตให้ ผู้ ซึ่ ง ไม่ เ กี่ ย วข้ อ งเข้ า ใกล้ สิ่ ง ที่ มี จากไฟฟ้าแล้ว
กระแสไฟฟ้าในระยะที่น้ อยกว่าระยะห่า งตาม - ได้ จั ด ท าป้ า ยเตื อ น
มาตรฐานของสมาคมวิ ศ วกรรมสถานแห่ ง อันตรายห้ามเข้าแล้ว
ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ หากยังไม่มี - ต้ อ ง จั ด ท า เ ป็ น ก ฎ
มาตรฐานดั งกล่ า วให้ ใช้ มาตรฐานตามที่ การ ระเบียบห้ามเข้า เนื่องจาก
ไฟฟ้าประจาท้องถิ่นกาหนด ยังไม่ได้จัดทา

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 28
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
9 ให้นายจ้างดูแลมิให้ลูกจ้างสวมใส่เครื่องนุ่งห่มที่  จัดทาเป็นข้อบังคับ
เปียกหรือเป็นสื่อไฟฟ้าปฏิบัติงาน เกี่ยวกับสิ่งที่
มีกระแสไฟฟ้ าที่มี แรงดันไฟฟ้าเกินกว่าห้ าสิ บ
โวลต์ โดยไม่ มี ฉ นวนไฟฟ้ า ปิ ด กั้ น เว้ น แต่
นายจ้ า งจะได้ จั ด ให้ ลู ก จ้ า งสวมใส่ อุ ป กรณ์
คุ้ ม ครองความปลอดภั ย ส่ ว นบุ ค คลหรื อ ใช้
อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อั น ตรายที่ เ หมาะสมกั บ
แรงดันไฟฟ้าสาหรับการปฏิบัติงานของลูกจ้าง

10 ในกรณี ที่ น ายจ้ า งให้ ลู ก จ้ า งท างานโดยใช้  มอบจป.หลั ก ประสาน


อุปกรณ์ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้า ส่วนงานไฟฟ้า
ห รื อ อ ยู่ ใ น บ ริ เ ว ณ ใ ก ล้ เ คี ย ง กั บ สิ่ ง ที่ มี - สารวจตรวจสอบลูกจ้าง
กระแสไฟฟ้า ให้นายจ้ างจัดหาอุปกรณ์ชนิดที่ ที่ใช้อุปกรณ์ในการปฏิบัติ
เป็นฉนวนไฟฟ้า หรือหุ้มด้วยฉนวนไฟฟ้า หรือ งานเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้า
อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อั น ตรายที่ เ หมาะสมกั บ หรืออยู่ในบริเวณใกล้
แรงดันไฟฟ้าสาหรับการปฏิบัติงานของลูกจ้าง เคียงกับสิ่ งที่มีกระแส
ไฟฟ้า
- ก า ห น ด อุ ป ก ร ณ์
ป้องกันที่เหมาะสม
- จัดซื้อ
- จัดทาเป็นข้อบังคับ
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 29
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
11 ให้นายจ้างดูแลบริภัณฑ์ไฟฟ้าและสายไฟฟ้าให้  มอบจป.หลักประสาน
ใช้งานได้โดยปลอดภัย หากพบว่าชารุด หรือมี ส่วนงานไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้ารั่ว หรืออาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ - จัดทาเป็นกฎระเบียบ
ผู้ใช้งาน ให้ ซ่อมแซมหรือดาเนินการให้อยู่ใน ให้ทุกคนแจ้งข้อบกพร่อง
สภาพ ที่ใช้งานได้อย่างปลอดภัย และจัดให้มี เกี่ยวกับบริภัณฑ์ไฟฟ้า
หลั ก ฐานในการด าเนิ น การเพื่ อ ให้ พ นั ก งาน และสายไฟฟ้า
ตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ - จั ด ท าวิ ธี ก ารแจ้ ง ข้ อ
บกพร่อง
- จั ด ท าเป็ น ข้ อ บั ง คั บ
ของช่างซ่อมบารุงไฟฟ้า
- จั ด เ ก็ บ เ อ ก ส า ร ที่
เกี่ยวข้อง
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน
12 นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจสอบและจัดให้มี  มอบจป.หลั ก ประสาน
การบารุงรักษาระบบไฟฟ้าและบริภัณฑ์ ไฟฟ้า หน่วยงานไฟฟ้า
เพื่อให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัย และให้บุคคลที่ - สารวจตรวจสอบระบบ
ขึ้ น ทะเบี ย นตามมาตรา 9 หรื อ นิ ติ บุ ค คล ไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า
ที่ ไ ด้ รั บ ใบอนุ ญ าตตามมาตรา 1 1 แห่ ง - ติดต่อวิศวกรไฟฟ้ามา
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย ดาเนินการ
และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 - จั ด เก็ บ เอกสารที่
แล้ ว แต่ ก รณี เป็ น ผู้ จั ด ท าบั น ทึ ก ผลการ เกี่ยวข้อง
ตรวจสอบและรับรองไว้ เพื่อให้พนักงานตรวจ - ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
ความปลอดภัยตรวจสอบ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ - แล้วเสร็จภายใน.......วัน
วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกาหนด

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 30
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
13 ให้นายจ้างจัดให้มีแผ่นภาพพร้อมคาบรรยาย 
ติ ด ไว้ ใ นบริ เ วณที่ ท างานที่ ลู ก จ้ า งสามารถ
มองเห็นได้ชัดเจนในเรื่อง ดังต่อไปนี้

(1) วิธีปฏิบัติเมื่อประสบอันตรายจากไฟฟ้า  มอบจป.หลั ก ประสาน


(2) การปฐมพยาบาลและการช่ ว ยชี วิ ต ขั้ น หน่วยงานไฟฟ้า

พื้นฐานโดยการผายปอดด้วยวิธีปากเป่าอากาศ - กาหนดจุดที่เหมาะสม
เข้ า ทางปากหรื อ จมู ก ของผู้ ป ระสบอั น ตราย ติดแผ่นภาพ
และวิธีการนวดหัวใจจากภายนอก - จั ด ท าวิ ธี ป ฏิ บั ติ เ มื่ อ
ประสบอั น ตรายจาก
ไฟฟ้า
- จั ด ท า วิ ธี ก า ร ป ฐ ม
พยาบาล และการช่ ว ย
ชีวิตขั้นพื้นฐาน
- จัดทาและติดแผ่นภาพ
พร้อมคาบรรยาย
- สื่อสารให้ลูกจ้างทราบ
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน

หมวด 2
บริภัณฑ์ไฟฟ้าและเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

14 การติดตั้งบริภัณฑ์ไฟฟ้า ให้นายจ้างปฏิบัติตาม  จป.หลั กประสานหน่ว ย


มาตรฐานของสมาคมวิ ศ วกรรมสถานแห่ ง งานไฟฟ้า
ประเทศไทย ในพระบรมราชู ปถัมภ์ หากยังไม่ - จั ด ท าระเบี ย บปฏิ บั ติ
มีมาตรฐานดังกล่าวให้ใช้มาตรฐานตามที่การ ในการติ ด ตั้ ง บริ ภั ณ ฑ์
ไฟฟ้าประจาท้องถิ่นกาหนด ไฟฟ้า
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 31
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
15 ให้นายจ้างจัดให้มีการใช้กุญแจป้องกันการสับ  มอบจป.หลั ก ประสาน
สวิ ตช์ เชื่ อมต่อ วงจร หรื อ จั ด ให้ มีร ะบบระวั ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ เ กิ ด การสั บ สวิ ต ช์ เ ชื่ อ มต่ อ วงจร - จั ด ท าระเบี ย บปฏิ บั ติ
ตลอดเวลาที่ลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ใ น ก า ร Log Out/Tag
ทางาน ติดตั้ง ตรวจสอบ ซ่อมแซม หรือซ่อม Out (LO/TO) ส า ห รั บ
บารุงระบบไฟฟ้าหรือบริภัณฑ์ไฟฟ้า และให้ติด หน่วยงานไฟฟ้า
ป้ายแสดงเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ห้ามสับ - จัดทาข้อบังคับในการ
สวิตช์เชื่อมต่อวงจรไว้ด้วย LO/TO ในขั้ น ตอนงาน
ของผู้ปฏิบัติงานไฟฟ้า
- จัดทากฎระเบียบในการ
LO/TO สาหรับพนักงาน
ทุกคน
- จั ด ท าอุ ป กรณ์ ใ นการ
LO/TO พอเพียง
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน
16 ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างทาความสะอาดบริภัณฑ์  มอบจป.หลั ก ประสาน
ไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้า เว้นแต่มีมาตรการด้าน หน่วยงานไฟฟ้า
ความปลอดภัยรองรับไว้อย่างครบถ้วน - จัดทาเป็นกฎระเบียบ
ห้ามทาความสะอาด
บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่มีกระแส
ไฟฟ้า
- จัดทามาตรการความ
ปลอดภัยในการทาความ
สะอาดบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่มี
กระแสไฟฟ้ า พร้ อ มทั้ ง
จั ด ท ากฎระเบี ย บให้
ปฏิบัติตามมาตรการ
- จั ด ท าเป็ น ข้ อ บั ง คั บ
เพิ่มเติม
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 32
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
17 ในกรณีที่ส่ว นของบริภัณ ฑ์ไ ฟฟ้า ใช้ แ รงดัน  มอบจป.หลั ก ประสาน
ไฟฟ้าเกินกว่าห้าสิบโวลต์ให้นายจ้างจัดให้มีที่ หน่วยงานไฟฟ้า
ปิดกั้นอันตรายหรือจัดให้มีแผ่นฉนวนไฟฟ้าปู - สารวจตรวจสอบ
ไว้ที่พื้นเพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัส บริภัณฑ์ไฟฟ้าที่ใช้แรงดัน
ไฟฟ้าเกินห้าสิบโวลต์
- จั ด ท าที่ ปิ ด กั้ น หรื อ
แผ่นฉนวนไฟฟ้า
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน
18 ให้ น ายจ้ างติ ด ตั้ง เต้า รั บ สายไฟฟ้ า อุ ปกรณ์  มอบจป.หลั ก ประสาน
และเครื่องป้ องกัน กระแสไฟฟ้าเกินที่มีขนาด หน่วยงานไฟฟ้า
ชนิด และประเภทที่เหมาะสมไว้ให้เพียงพอแก่ - ติดต่อวิศวกรไฟฟ้าเป็น
การใช้งาน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามมาตรฐานของ ผู้ ต รวจสอบ ให้ เ ป็ น ไป
สมาคมวิศ วกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ใน ตามมาตรฐานของวสท.
พระบรมราชู ป ถั ม ภ์ หากยั ง ไม่ มี ม าตรฐาน หรื อ การไฟฟ้ า ประจ า
ดังกล่าว ให้ใช้มาตรฐานตามที่การไฟฟ้าประจา ท้องถิ่น
ท้องถิ่นกาหนด - ดาเนิ น การตามคา
แนะนาของวิศวกรไฟฟ้า
ให้ครบถ้วน
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน
19 การใช้เครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้า ให้ นายจ้างปฏิบัติ  มอบจป.หลั ก ประสาน
ดังต่อไปนี้ หน่วยงานไฟฟ้า
- ส ารวจตรวจสอบการ
ใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ว่า
เป็ น ไปตามข้ อ ปฏิ บั ติ
ทั้งหมดทุกข้อหรือไม่
- ด าเนิ น การให้ เ ป็ น ไป
ตามข้อปฏิบัติ
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 33
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
(1) ติ ด ตั้ ง ในบริ เ ว ณพื้ น ที่ ก ว้ า งพอที่ จ ะ  ไม่แน่ใจ
ปฏิบัติงานได้อย่างสะดวกและปลอดภัย
(2) จั ด ให้ มี ก ารระบายอากาศอย่ างเพีย งพอ  ไม่แน่ใจ
กรณี ติด ตั้ ง เครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ไว้ภ ายในห้ อ ง
หากมี ไ อเสี ย จากเครื่ อ งยนต์ ใ ห้ ต่ อ ท่ อ ไอเสี ย
ออกสู่ภายนอก
(3) จัดให้มีเครื่องป้องกันกระแสไฟฟ้าเกิน  ไม่แน่ใจ
(4) จัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงชนิดที่ใช้ดับเพลิงที่  ไม่แน่ใจ
เกิดจากไฟฟ้าและน้ามันในห้องเครื่องได้ ทั้งนี้
การ ออ กแบ บแ ละติ ดตั้ งให้ เป็ นไป ตา ม
มาตรฐานของสมาคมวิ ศ วกรรมสถานแห่ ง
ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ในกรณีการใช้เ ครื่ อ งกาเนิ ดไฟฟ้าส ารอง
นอกจากต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามว รรคหนึ่ ง แล้ ว
นายจ้ า งต้อ งจั ด ให้ มี เ ครื่ อ งป้ อ งกั น การใช้ ผิ ด
หรือสวิตช์สับโยกสองทาง หรืออุปกรณ์อย่าง
อื่น ที่มีคุณลักษณะเดีย วกัน เพื่อมิให้ มีโอกาส
ต่อขนานกับระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้าประจา
ท้องถิ่น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากการไฟฟ้า
ประจาท้องถิ่นนั้น

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 34
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 3
ระบบป้องกันฟ้าผ่า

20 ให้ น ายจ้ า งจั ด ให้ มี ร ะบบป้ อ งกั น ฟ้ า ผ่ า ตาม  มอบจป.หลัก


มาตรฐานการป้ อ งกั น ฟ้ า ผ่ า ของสมาคม - ติด ต่อ หน่ว ยงานภาย
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม นอกที่ มี ความเชี่ ยวชาญ
ราชู ป ถั ม ภ์ หรื อ มาตรฐานสมาคมป้ อ งกั น มาส า ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ
อัค คีภัย แห่ งชาติส หรั ฐ อเมริ กา (National ระบบป้องกัน ฟ้า ผ่า ว่า
Fire Protection Association : NFPA) เป็น ไป ตามมาตรฐาน
หรื อ มาตรฐานคณะกรรมาธิ ก ารระหว่ า ง หรือไม่
ประเทศว่าด้วยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอเทค - กรณีต้องปรับปรุงแก้ไข
นิกส์ (International Electrotechnical เพิ่มเติมให้ดาเนินการตาม
Commission : IEC) หรือมาตรฐานอื่นตามที่ ข้อแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ
อธิบดีประกาศกาหนด ไว้ที่สถานประกอบ โดยเร็ว
กิจการอาคาร ปล่องควัน รวมถึงบริเวณที่มี - ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
ถังเก็บของเหลวไวไฟหรือก๊าซไวไฟ - แล้วเสร็จภายใน.......วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 35
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 4
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า

21 ให้นายจ้างจัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย  มอบจป.หลั ก ประสาน


ส่ ว นบุ ค คลที่ เ หมาะสมกั บ ลั ก ษณะงาน เช่ น หน่วยงานไฟฟ้า
ถุงมือหนัง ถุงมือยาง แขนเสื้อยาง หมวกนิรภัย - จ ั ด ใ ห ้ ม ี PPE ที่
รองเท้าพื้นยางหุ้มข้อชนิดมีส้นหรือรองเท้าพื้น เ ห ม า ะ ส ม กั บ แ ต่ ล ะ
ยางหุ้ ม ส้ น ให้ ลู ก จ้ า งซึ่ ง ปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะงาน
ไฟฟ้าสวมใส่ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงานและจัดให้ - จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกัน
มี อุ ป ก รณ์ ป้ อ งกั น อั นต ร า ยจ า ก ไฟ ฟ้ า ที่ อั น ตรายจากไฟฟ้ า ที่
เหมาะสมกับลักษณะงาน เช่น แผ่นฉนวนไฟฟ้า เ ห ม า ะ ส ม กั บ แ ต่ ล ะ
ฉนวนหุ้มสาย ฉนวนครอบลูกถ้วยกรงฟาราเดย์ ลักษณะงาน
(Faraday Cage) ชุดตัวนาไฟฟ้า (Conductive - ตรวจสอบลู ก จ้ า งที่
Suit) ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า
ในกรณีที่ลูกจ้างต้องปฏิบัติงานในที่สูงกว่า ว่าได้ส วมใส่ PPE อย่าง
พื้นตั้งแต่สี่เมตรขึ้นไป ให้นายจ้างจัดให้มีการใช้ เหมาะสมและครบถ้วน
สายหรือเชือกช่วยชีวิตและเข็มขัดนิรภัยพร้อม - ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
อุปกรณ์ หรืออุปกรณ์ที่ป้องกันการตกจากที่ สูง - แล้วเสร็จภายใน.......วัน
ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และหมวกนิ ร ภั ย ที่
เหมาะสมตามมาตรฐานที่ กาหนดส าหรับ ให้
ลูกจ้างสวมใส่ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เว้นแต่
อุ ป กรณ์ ดั ง กล่ า วจะท าให้ ลู ก จ้ า งเสี่ ย งต่ อ
อัน ตรายมากขึ้ น ให้ น ายจ้ างจั ดให้ มี อุป กรณ์
เพื่ อความปลอดภั ย อื่ น ที่ ส ามารถใช้ คุ้ม ครอง
ความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพแทน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 36
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
22 อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลและ  มอบจป.หลั ก ประสาน
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าต้องเป็นไป หน่วยงานไฟฟ้า
ตามมาตรฐานที่กาหนดไว้และต้องมีคุณสมบัติ - ตรวจสอบ PPE และ
ดังต่อไปนี้ อุปกรณ์ป้องกันอันตราย
จ า ก ไ ฟ ฟ้ า ว่ า มี
คุณสมบัติตามที่กาหนด
ในแต่ละข้อหรือไม่
- ดาเนิ น การตาม
คุณสมบัติให้ ครบถ้ว น
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน
(1) อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล  ไม่แน่ใจ
และอุปกรณ์ที่ใช้ป้ องกัน กระแสไฟฟ้า ต้อง
เหมาะสมกั บ แรงดั น ไฟฟ้ า สู ง สุ ด ในบริ เ วณที่
ปฏิบัติงานหรือบริเวณใกล้เคียงที่อาจก่อให้เกิด
อันตรายได้
(2) ถุงมือยางป้องกันไฟฟ้า ต้องมีลักษณะสวม  ไม่แน่ใจ
กับนิ้วมือได้ทุกนิ้ว
(3) ถุ ง มื อ หนั ง ที่ ใ ช้ ส วมทั บ ถุ ง มื อ ยาง ต้ อ งมี  ไม่แน่ใจ
ความยาวหุ้มถึงข้อมือและมีความคงทนต่อการ
ฉีกขาดได้ดี การใช้ถุงมือยางต้ องใช้ร่วมกับถุง
มือหนังทุกครั้งที่ปฏิบัติงาน
23 การปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วกั บ ไฟฟ้ า ที่ อ ยู่ ใ กล้ ห รื อ  ไม่ มี ก ารท างานอยู่ ใ กล้
เหนือน้าซึ่งอาจทาให้ลูกจ้างเกิดอันตรายจาก หรือเหนือน้า
การจมน้า ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างสวมใส่ชูชีพ
กั น จมน้ า เว้ น แต่ ก ารสวมใส่ ชู ชี พ อาจท าให้
ลูกจ้างได้รับอันตรายมากกว่าเดิม ให้นายจ้าง
ใช้วิธีการอื่นที่สามารถคุ้มครองความปลอดภัย
ได้อย่างมีประสิทธิภาพแทน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 37
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
24 นายจ้ า งต้ อ งบ ารุ ง รั กษาและจั ด เก็ บ อุ ป กรณ์  มอบจป.หลั ก ประสาน
คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลและอุปกรณ์ หน่วยงานไฟฟ้า
ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพที่ใช้ - จั ด ท าระเบี ย บปฏิ บั ติ
งานได้อย่ างปลอดภัย รวมทั้งต้องตรวจสอบ ในการบ ารุ ง รั ก ษาและ
และทดสอบตามมาตรฐานและวิ ธี ที่ ผู้ ผ ลิ ต จัดเก็บอุปกรณ์
กาหนด - จั ด ท าระเบี ย บปฏิ บั ติ
ในการตรวจสอบและ
ทดสอบอุปกรณ์
- การจั ดเก็บ PPE และ
อุปกรณ์ป้องกันอันตราย
จากไฟฟ้า ให้จั ดทาเป็น
ข้อบังคับ
- ค่าใช้จ่ายไม่เกิน.....บาท
- แล้วเสร็จภายใน.......วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 38
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ตัวอย่างที่ 5
แบบตารางชี้บ่งและตรวจสอบตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้า พ.ศ. 2552
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 1
เครื่องจักร
ส่วนที่ 3
เครื่องเชื่อมไฟฟ้าและเครื่องเชื่อมก๊าซ

23 นายจ้างต้องควบคุมดูแลมิให้ลูกจ้างหรือผู้ซึ่ง  มอบจป.หลั ก ประสาน


ไม่ เ กี่ ย วข้ องเข้ า ไปในบริ เ วณที่ มีก ารท างาน หัวหน้างานเชื่อม
ด้วยเครื่องเชื่อมไฟฟ้าหรือเครื่องเชื่อมก๊าซ - ประสานงานหัวหนห้า
งานเชื่อม
- จั ด ท าข้ อ บั ง คั บ งาน
เชื่อม
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
- แล้วเสร็จภายใน 5 วัน
24 นายจ้ า งต้ อ งจั ด ให้ มี ม าตรการด้ า นความ  มอบจป.หลั ก ประสาน
ปลอดภั ย และควบคุ ม ดู แ ลให้ ลู ก จ้ า งปฏิ บั ติ หัวหน้างานเชื่อม
โดยเคร่ ง ครั ด เมื่ อ ใช้ เ ครื่ อ งเชื่ อ มไฟฟ้ า หรื อ - ตรวจสอบการเชื่อมใน
เครื่องเชื่อมก๊าซในบริเวณที่อาจจะก่อให้เกิด บริเวณอันตราย
อันตรายจากการระเบิด เพลิงไหม้ หรือไฟลาม - จัดทามาตรการความ
จากก๊าซ น้ามัน หรือวัตถุไวไฟอื่น ปลอดภัย
- จัดทาข้อบังคับ
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
- แล้วเสร็จภายใน......วัน

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 39
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
หมวด 2
ปั้นจั่น
ส่วนที่ 1
บททั่วไป
51 ในกรณีที่ น ายจ้ า งให้ ลู ก จ้ า งทางานเกี่ ย วกั บ 
ปั้นจั่น นายจ้างต้องดาเนินการดังต่อไปนี้
(1) ควบคุมให้มีสลิงเหลืออยู่ในม้วนลวดสลิง  - เ ส น อ ใ ห้ จ ป . ห ลั ก
ไม่ น้ อ ยกว่ า สองรอบ ตลอดเวลาที่ ปั้ น จั่ น ประสานหั ว หน้ า งาน
ทางาน จัดทาเป็นข้อบังคับฯ ให้
หัวหน้างานกากับดูแล
(2) จัดให้มีชุดล็ อกป้องกันลวดสลิ งหลุดจาก - ชุดล็อคมีแล้ว
ตะขอของปั้นจั่น และทาการตรวจสอบให้อยู่ - เ ส น อ ใ ห้ จ ป . ห ลั ก
ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างปลอดภัย ประสานฝ่ ายช่ า งจั ด ท า
แผน PM ชุดล็อค
- เ ส น อ ใ ห้ จ ป . ห ลั ก
ประสานหั ว หน้ า จั ด ท า
เ ป็ น ข้ อ บั ง คั บ ฯ ใ ห้
ตรวจสอบชุ ด ล็ อ คก่ อ น
และขณะใช้งาน
(3) จัดให้มีที่ครอบปิดหรือกั้นส่วนที่หมุนรอบ
ตัว เอง ส่ ว นที่เคลื่ อนไหวได้ หรื อส่ ว นที่อาจ
เป็นอันตรายของปั้นจั่น และให้ส่วนที่เคลื่อนที่
ของปั้นจั่นหรือส่วนที่หมุนได้ของปั้นจั่นอยู่ ให้
ห่ า งจากสิ่ ง ก่ อ สร้ า งหรื อ วั ต ถุ อื่ น ในระยะที่
ปลอดภัย
(4) จัดให้มีบันไดพร้อมราวจับและโครงโลหะ
กันตก สาหรับปั้นจั่นที่มีความสูงเกินสามเมตร
(5) จัดให้มีพื้นชนิดกันลื่น ราวกันตก และแผง
กัน ตกระดั บ พื้ น ส าหรั บ ปั้ น จั่ น ชนิ ด ที่ ต้ อ งมี
การจัดทาพื้น และทางเดิน
(6) จัดให้มีเครื่องดับเพลิงที่เหมาะสมกับชนิด
ของปั้ น จั่ น และใช้ก ารได้ที่ ห้ องบั งคั บ ปั้ น จั่ น

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 40
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ไม่
ข้อ รายการ ใช่ ไม่ใช่ บันทึกผลที่สาคัญ
เกี่ยวข้อง
ติดตั้งปั้นจั่นบนฐานที่มั่นคงโดยมีวิศวกรเป็นผู้
รับรอง

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)


รายการชี้บ่งและตรวจสอบตามข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัย 41
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

บรรณานุกรม
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ
CONTENTS
และการดาเนินการด้านความปลอดภั ย อาชี
No table วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับ
of contents
ความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559
entries found.

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการ


จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่องจักร
ปั้นจั่นและหม้อน้า พ.ศ. 2552
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ
และการดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับ
ไฟฟ้า พ.ศ. 2558
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน. คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
ในการทางาน ระดับหัวหน้างาน
สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน). มาตรฐาน
การจั ด การความเสี่ ย งด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการท างาน
สสปท.1-4-02-00-2562
โสภณ พงษ์โสภณ. เอกสารประกอบการบรรยายการชี้บ่งด้วยวิธี Checklist. 2563.

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)

You might also like