You are on page 1of 798

เอกสารประกอบคาสอน

วิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุรชั นี เคนสุโพธิ ์


ปรด.(การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์)

คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
2560
คานา

การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม เป็ นการกาหนดขึน้ โดยรัฐบาล


ให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากลขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ และให้สถานประกอบกิจการ
ทีน่ ายจ้างมีการดาเนินธุรกิจด้วยการทางานกับเครือ่ งจักร เครือ่ งมือ อุปกรณ์และเทคโนโลยี และ
ลูกจ้างที่ต้องปฏิบตั เิ กี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ในสถานประกอบการ ซึ่งการ
ออกพระราชบัญ ญัติค วามปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างาน พ.ศ.
๒๕๕๔ ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของแรงงานที่ต้องได้รบั ความคุ้มครองในด้านการทางานใน
สถานประกอบการ ดังนัน้ เอกสารประกอบคาสอนรายวิชา การจัดการความปลอดภัย
อาชีว อนามัย และสิ่ง แวดล้อ ม เป็ นรายวิช าที่ก าหนดไว้ใ นการเรีย นการสอนระดับ
ปริญญาตรีหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุ ษย์ คณะวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
ได้มกี ารก าหนดเนื้อ หาที่ใ ช้ใ นการเรียนการสอนโดยมีเ นื้อ หาประกอบด้ว ย ความรู้เ บื้อ งต้น
เกีย่ วกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัย การบริหารจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยใน
การทางาน การสอบสวน และวิเ คราะห์อุ บตั ิเ หตุ สุ ขภาพอนามัย และความปลอดภัยในการ
ทางาน การบริหารกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน วิศวกรรมความปลอดภัยเบือ้ งต้น การจัดการความเสีย่ งด้านความปลอดภัยในการ
ทางาน พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน องค์การอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ระบบ
การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม เพื่อให้การจัดการ
เรียนสอนเป็ นไปมาตรฐานกรอบประกันคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพของการเรียนการ
สอนเนื้อหารายวิชาในแต่ ละบทจึงมีความครอบคลุมถึงประโยชน์ต่อนักศึกษา นายจ้าง ลูกจ้าง
ทีจ่ ะนามาประกอบการเรียนรู้ ทัง้ เนื้อหา ทฤษฎี หลักการ ข้อกาหนด กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมในการทางาน
ข้าพเจ้าหวังว่าเอกสารประกอบคาสอน วิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสิง่ แวดล้อม จะเป็ นประโยชน์ อย่างยิง่ หากเอกสารคาสอนนี้มขี ้อผิดพลาดบกพร่องสิง่ ใด
ผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับ และจะนาไปปรับปรุงต่อไป

สุรชั นี เคนสุโพธิ ์
ธันวาคม 2560
(2)

แผนบริหารการสอนประจาวิชา

รหัสวิ ชา HR 11204

ชื่อรายวิ ชา การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อม 3(2-2-5)

คาอธิ บายรายวิ ชา
ศึ ก ษ าโ คร งส ร้ า งก าร บริ ห า รจั ด ก าร หน่ ว ย งา นค ว า มป ล อ ดภั ย ใ นโ รง งา น
และสภาพแวดล้อมของการทางานภายในอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ การจัดการความ
ปลอดภัย อาชีว อนามัย และสิ่งแวดล้อมในการทางาน มาตรการป้ อ งกันภัย บทบาท หน้ าที่
และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในโรงงานตามกฎหมายกาหนด ความสาคัญ
ของอุบตั เิ หตุ การประเมินความเสี่ยง การรายงานและสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุในการทางาน
การจัดทาตัวอย่างแผนการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมประจาปี ของ
โรงงานอุตสาหกรรม

วัตถุประสงค์ทวไป
ั่
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างการบริหารจัดการหน่ วยงาน
ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมของการทางานภายในอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ การ
จัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมในการทางาน
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ และเข้าใจถึงมาตรการป้ องกันภัย บทบาท หน้ าที่ และ
ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในโรงงานตามกฎหมาย และกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง
กับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
3. เพื่อให้นกั ศึกษามีความรู้ และเข้าใจเกีย่ วกับองค์กรด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสิง่ แวดล้อมในการทางาน
4. เพื่อให้นกั ศึกษามีความรู้ และเข้าใจถึงการเกิดอุบตั เิ หตุ การประเมินความเสีย่ ง การ
รายงานและสอบสวนการเกิด อุ บ ัติเ หตุ ใ นการท างาน และการจัด ท าแผนการจัด การความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมประจาปี ของโรงงานอุตสาหกรรมรวมทัง้ การศึกษาดูงาน
เกีย่ วกับความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรม
(3)

เนื้ อหา

บทที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัย 4 ชัวโมง



แนวคิด ความเป็ นมา เกีย่ วกับความปลอดภัย และ อาชีวอนามัย
ความหมาย และความสาคัญของความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
ขอบเขต และเป้ าหมายของงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
บุคลากรทีเ่ กี่ยวข้องกับงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องกับงานความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
หน่วยงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยระหว่างประเทศ
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง
บทที่ 2 การบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน 4 ชัวโมง

แนวคิด ความหมาย ความสาคัญ กระบวนการ หลักการ และวัตถุประสงค์ของ
การบริหารจัดการ
หลักการ และแนวคิดในการบริหารจัดการงานความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
หลักการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
รูปแบบความปลอดภัยในองค์การ
รูปแบบของผูน้ าด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
โครงสร้างการบริหารจัดการหน่วยงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
นโยบายในด้านการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ปั จจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
แผนงานและกิจกรรมในด้านการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

บทที่ 3 การสอบสวน และวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ 4 ชัวโมง



แนวคิดเกีย่ วกับการเกิดอุบตั เิ หตุ
ความหมาย และความสาคัญของอุบตั เิ หตุ
ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้องกับอุบตั เิ หตุ
(4)

บทที่ 3 การสอบสวน และวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ(ต่อ)


การสอบสวนอุบตั เิ หตุ
ความสาคัญ วัตถุประสงค์ และการสอบสวนอุบตั เิ หตุ
หลักและวิธกี ารสอบสวนอุบตั เิ หตุ
บันทึกการรายงานการสอบสวนอุบตั เิ หตุ
การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ
แนวทางการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ
การประเมินค่าทางสถิตขิ องอุบตั เิ หตุ
ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของการการประเมินค่าของอุบตั เิ หตุ
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

บทที่ 4 สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน 4 ชัวโมง



แนวคิดเกีย่ วกับสุขภาพและความปลอดภัยในการทางาน
ความหมาย และความสาคัญของสุขภาพและความปลอดภัย
ระบบการคุม้ ครองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน
สภาพและสาเหตุของสุขภาพและความไม่ปลอดภัยในการทางาน
อันตรายและการป้ องกันอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทางาน
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายในการทางานส่วนบุคคล
โรคทีเ่ กิดจากการทางานทีม่ ผี ลต่อสุขภาพ
การเสริมสร้างสุขภาพและความปลอดภัยในการทางาน
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

บทที่ 5 การบริหารกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย 4 ชัวโมง



และสภาพแวดล้อมในการทางาน
พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน
การบริหารกฎหมายเกีย่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
ขอบเขตของการบังคับใช้กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
(5)

บทที่ 5 การบริหารกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย(ต่อ)


กองทุนเงินทดแทน
หน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
หน่วยงาน สมาคม และองค์กรอื่น ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

บทที่ 6 วิศวกรรมความปลอดภัยเบือ้ งต้น 4 ชัวโมง



แนวคิดของวิศวกรรมความปลอดภัย ความหมาย และความสาคัญของ
วิศวกรรมความปลอดภัย
ความหมาย ความสาคัญ วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการวางผังโรงงาน
ประเภทของการวางผังโรงงานเพื่อความปลอดภัย
ปั จจัยในการวางผังโรงงาน
ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับการเกิดอัคคีภยั
องค์ประกอบของการเกิดอัคคีภยั
หลักการและแนวทางการระงับอัคคีภยั
ระบบและอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้องในการระงับอัคคีภยั
ชนิดและประเภทของเครือ่ งและอุปกรณ์ในการดับเพลิง
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

บทที่ 7 การจัดการความเสีย่ งด้านความปลอดภัยในการทางาน 4 ชัวโมง



แนวคิด ความหมายของการจัดการความเสีย่ ง
กรอบของการจัดการความเสีย่ ง
ข้อกาหนดและกระบวนการในการบริหารความเสีย่ ง
การรับรูส้ มั ผัสความเสีย่ ง
การบ่งชีอ้ นั ตรายและการประเมินความเสีย่ ง
ประเภทความเสีย่ ง
การวิเคราะห์ความเสีย่ ง
(6)

บทที่ 7 การจัดการความเสีย่ งด้านความปลอดภัยในการทางาน (ต่อ)


หลักเกณฑ์ทใ่ี ช้ในการประเมิน และการพิจารณาตอบสนองต่อความเสีย่ งอันตราย
กระบวนการจัดการความเสีย่ ง
การบาบัดความเสีย่ ง การเฝ้ าระวัง และการทบทวน
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

บทที่ 8 พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน 4 ชัวโมง



แนวคิดเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
พืน้ ฐานการเกิดพฤติกรรมมนุษย์
ทฤษฎีเกีย่ วข้องในการพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อความปลอดภัยในการทางาน
รูปแบบผูน้ าด้านความปลอดภัยและวัฒนธรรม บรรยากาศในการทางาน
รูปแบบทีมงานความปลอดภัยในสถานประกอบการ
รูปแบบการทางานเป็ นทีมทีม่ ผี ลต่อความปลอดภัยในการทางาน
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

บทที่ 9 กิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยในการทางาน 4 ชัวโมง



แนวคิดและความหมายเกีย่ วกับกิจกรรม 5ส.
วัตถุประสงค์ของการทากิจกรรม 5ส.
เป้ าหมายองค์การในการจัดดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
ความสาคัญของการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
ปั จจัยสาคัญทีม่ ผี ลต่อความสาเร็จในการทากิจกรรม 5ส.
ขัน้ ตอนการดาเนินการกิจกรรม 5ส.
องค์ประกอบของกิจกรรม 5ส.
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง
(7)

บทที่ 10 องค์การอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4 ชัวโมง



บทบาทของผูท้ เ่ี กีย่ วข้องในงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
หน้าทีข่ องผูท้ เ่ี กีย่ วข้องในงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การจัดองค์กรความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
รูปแบบการจัดตัง้ องค์กรความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
คณะกรรมการความปลอดภัยในการทางาน
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

บทที่ 11 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4 ชัวโมง



ความรูท้ วไปเกี
ั่ ย่ วกับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ข้อกาหนดทัวไปว่
่ าด้วยหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขในการรับรองระบบการบริหารจัดการ-
อนุกรมมาตรฐาน มอก.18000
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน มอก.18001
ขัน้ ตอนการจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก.18001)
การประยุกต์ใช้มาตรฐานมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากมาตรฐานมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตาม ILO-OSH 2001
สรุป
แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

บทที่ 12 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม 4 ชัวโมง



ความรูท้ วไปเกี
ั่ ย่ วกับการจัดการระบบสิง่ แวดล้อม
ระบบ Eco-Management and Audit Scheme (EMAS)
อนุกรมมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14000
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001 ฉบับ พ.ศ. 2547
กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการระบบสิง่ แวดล้อม
สรุป
(8)

บทที่ 12 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม(ต่อ)


แบบฝึกหัด
เอกสารอ้างอิง

วิ ธีสอนและกิ จกรรม
1. การบรรยายในชัน้ เรียน
2. ผูเ้ รียนนาเสนอกิจกรรมปฏิบตั จิ ริง (สถานการณ์จาลอง)
3. แบ่งกลุ่มปฏิบตั แิ ละอภิปราย
4. การค้นคว้าเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
5. วิเคราะห์กรณีศกึ ษา
6. แบบฝึกปฏิบตั ิ

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารคาสอนวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. หนังสือ/ตารา
3. ภาพนิ่ง (power-point)
4. วิดที ศั น์

การวัดและประเมิ นผล
การวัดผล
1. ฝึกปฏิบตั จิ ริง (สถานการณ์จาลอง) 20 คะแนน
2. แบบฝึกปฏิบตั แิ ละวิเคราะห์กรณีศกึ ษา 10 คะแนน
3. ทดสอบย่อย 10 คะแนน
4. สอบกลางภาค 30 คะแนน
5. สอบปลายภาค 30 คะแนน
(9)

การประเมิ นผล
คะแนนระหว่าง ความหมายของผลการเรียน ระดับคะแนน
80 - 100 ดีเยีย่ ม A
75 - 79 ดีมาก B+
70 - 74 ดี B
65 - 69 ดีพอใช้ C+
60 - 64 พอใช้ C
55 - 59 อ่อน D+
50 - 54 อ่อนมาก D
0 - 49 ไม่ผา่ น F
(10)
(11)

สารบัญ
หน้ า
คานา……………………………………………………………………………………………. (1)
แผนบริหารการสอนประจาวิชา………………………………………………………………… (2)
สารบัญ…………………………………………………………………………………………. (11)
สารบัญภาพ…………………………………………………………………………………..... (19)
สารบัญตาราง ………………………………………………………………………………... (23)

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 1……………………………………………………………..… 1
บทที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัย…………………………….. 3
แนวคิดเกีย่ วกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัย …………………………………….. 4
ความเป็ นมาเกีย่ วกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัย………………………………... 5
ความหมายของความปลอดภัย และอาชีวอนามัย…………………………………….. 15
ความสาคัญของความปลอดภัย และอาชีวอนามัย…………………………………… . 22
วัตถุประสงค์ของความปลอดภัย และอาชีวอนามัย…………………………………… 24
ประโยชน์ของความปลอดภัย และอาชีวอนามัย………………………………………. 25
เป้ าหมายของงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย……………………………... 27
ขอบเขตของงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย………………………………. 28
บุคลากรทีเ่ กี่ยวข้องกับงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย…………………… 30
หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องกับงานความปลอดภัย และอาชีวอนามัย………………………. 32
หน่วยงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยระหว่างประเทศ……………………. 49
สรุป………….…………………………………………………………………………. . 54
แบบฝึกหัด................…………………………………………………………………. 56
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………... 57

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2……………………………………………………………… 59
บทที่ 2 การบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน……………………. 61
แนวคิดในการบริหารจัดการ…………………………………………………………… 61
ความหมายของการบริหารจัดการ…………………………………………………...... 63
ความสาคัญของการบริหารจัดการ…………………………………………………….. 69
(12)

สารบัญ (ต่อ)
หน้ า
บทที่ 2 การบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน (ต่อ)
หลักการในการบริหารจัดการ………………………………………………………….. 70
กระบวนการในการบริหารจัดการ ……………………………………………………… 76
แนวคิดในการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย………………. 79
ความหมายของการบริหารจัดการงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย…………….. 82
แนวคิดพืน้ ฐานของการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย……………… 82
การเปลีย่ นแปลงกับการบริหารจัดการงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ……….. 84
หลักการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย……………………. 88
โครงสร้างหน่วยงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย…………………………… 97
นโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย……………………………………………. 104
แผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย……………………………………………. 114
กระบวนการบริหารจัดการแผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย………………. 117
กิจกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย………………................................. 120
สรุป……….…………………………………………………………………………… 128
แบบฝึกหัด……………………………………………………………………………. 130
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………. 131

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3…………………………………………………………….. 133


บทที่ 3 การสอบสวน และวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ………………………………………………….. 135
แนวคิดของการเกิดอุบตั เิ หตุ………………………………………………………….. 135
ความหมายของอุบตั เิ หตุ ……………………………………………………………… 136
ความสาคัญของอุบตั เิ หตุ……………………………………………………………… 139
ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้องกับการเกิดอุบตั เิ หตุ……………………………………………….. 144
สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุของมนุษย์……………………………………………... 147
การสอบสวนอุบตั เิ หตุ…………………………………………………………………. 167
ความสาคัญของการสอบสวนอุบตั เิ หตุ……………………………………………….. 167
วัตถุประสงค์ของการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุ……………………………………… 168
หลักและวิธกี ารสอบสวนอุบตั เิ หตุ…………………………………………………….. 169
(13)

สารบัญ (ต่อ)
หน้ า
บทที่ 3 การสอบสวน และวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ (ต่อ)
บันทึกการรายงานการสอบสวนอุบตั เิ หตุ……………………………………………. 181
การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ………………………………………………………………… 182
ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ…………………………… 187
แนวทางการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ……………………………………………………….. 188
การประเมินค่าทางสถิตขิ องอุบตั เิ หตุ………………………………………………… 196
สรุป…………………………………………………………………..……………….. 200
แบบฝึกหัด……………………………………………………………………………. 202
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………. 203

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4……………………………………………………………. 205


บทที่ 4 สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน…………………………………… 207
แนวคิดเกีย่ วกับสุขภาพและความปลอดภัยในการทางาน………………………….. 208
ความหมายของสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย………………………………… 208
ความสาคัญของสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย………………………………… 212
ระบบการคุม้ ครองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน ………………. 213
ปั ญหาสุขภาพจากการทางาน………………………………………………………… 217
โรคทีเ่ กิดจากการทางานทีม่ ผี ลต่อสุขภาพ…………………………………………… 220
อันตรายและการป้ องกันอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทางาน………………… 227
ความหมายและความสาคัญของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ……………… 241
การเสริมสร้างสุขภาพและความปลอดภัยในการทางาน……………………………. 264
สรุป……………………………………………………………………………………. 267
แบบฝึกหัด………………………………………………………………................... 269
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………. 270

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5……………………………………………………………. 273


บทที่ 5 การบริหารงานกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทางาน…. 275
พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541………………………………….…….. 279
การบริหารงานกฎหมายความปลอดภัยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน…………………………………………………………. 297
(14)

สารบัญ (ต่อ)
หน้ า
บทที่ 5 การบริหารงานกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทางาน (ต่อ)
พระราชบัญญัติ เงินทดแทน พ.ศ. 2537……………………………………………. 319
หน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางาน………………………………………………………………………….. 324
หน่วยงาน สมาคม และองค์กรอื่นทีเ่ กีย่ วข้องกับงานความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย……………………………………………………………………… 327
สรุป…………….……………………………………………………………………… 330
แบบฝึกหัด……………………………………………………………………………. 332
เอกสารอ้างอิง………………………………………………………………………… 333

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 6……………………………………………………………. 335


บทที่ 6 วิศวกรรมความปลอดภัยเบือ้ งต้น……………………………………………………. 336
แนวคิดของวิศวกรรมความปลอดภัย………………………………………………… 338
ความหมายของวิศวกรรมความปลอดภัย …………………………………………… 339
ความสาคัญของวิศวกรรมความปลอดภัย………………………………………….... 339
ความหมายของการวางผังโรงงาน…………………………………………………… 342
ความสาคัญของการวางผังโรงงาน…………………………………………………… 345
วัตถุประสงค์ของการวางผังโรงงาน………………………………………………….. 346
ประโยชน์ของการวางผังโรงงาน…………………………………………………….. 349
ขัน้ ตอนการวางผังโรงงาน……………………………………………………………. 363
ระบบการวางผังโรงงาน ……………………………………………………………. 369
ความหมายของอัคคีภยั ………………………………………………………………. 373
องค์ประกอบของการเกิดอัคคีภยั ……………………………………………………. 374
สาเหตุและผลกระทบจากอัคคีภยั ……………………………………………………. 377
แหล่งกาเนิดของอัคคีภยั …………………………………………………………….. 377
หลักการและแนวทางป้ องกันอัคคีภยั ………………………………………………... 380
แผนป้ องกันและระงับอัคคีภยั ………………………………………………………… 401
บทสรุป………………………………………………………………………………… 411
แบบฝึกหัด…………………………………………………………………………….. 413
(15)

สารบัญ (ต่อ)
หน้ า
บทที่ 6 วิศวกรรมความปลอดภัยเบือ้ งต้น (ต่อ)
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………. 414

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 7…………………………………………………………….. 417


บทที่ 7 การจัดการความเสีย่ งด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย………………………... 419
แนวคิดเกีย่ วกับการจัดการความเสีย่ ง………………………………………………. 419
ความหมายของการจัดการความเสีย่ ง……………………………………………….. 421
การรับรูส้ มั ผัสความเสีย่ ง…………………………………………………………….. 423
องค์ประกอบรายงานการบริหารจัดการความเสีย่ ง…………………………………. 439
กระบวนการประเมินความเสีย่ ง……………………………………………………… 441
การพัฒนาระบบและข้อกาหนดการจัดการความเสีย่ ง……………………………... 443
ข้อกาหนดและกระบวนการจัดการความเสีย่ ง………………………………………. 448
การบ่งชีอ้ นั ตรายและการประเมินความเสีย่ ง………………………………………... 455
หลักเกณฑ์ทใ่ี ช้ในการประเมิน และการพิจารณาตอบสนองต่อความเสีย่ งอันตราย.. 462
กระบวนการจัดการความเสีย่ ง……………………………………………………….. 474
การบาบัดความเสีย่ ง การเฝ้ าระวัง และการทบทวน………………………………… 476
บทสรุป………………………………………………………………………………… 480
แบบฝึกหัด…………………………………………………………………………….. 482
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………. 483

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 8……………………………………………………………. 485


บทที่ 8 พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน……………………………………………… 487
แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน…………………………... 487
ความหมายของพฤติกรรม…………………………………………………………… 488
เป้ าหมายและความสาคัญของการศึกษาพฤติกรรม………………………………… 490
วิธกี ารศึกษาพฤติกรรม………………………………………………………………. 491
องค์ประกอบของพฤติกรรม………………………………………………………….. 492
ประเภทของพฤติกรรม………………………………………………………………. 493
(16)

สารบัญ (ต่อ)
หน้ า
บทที่ 8 พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน (ต่อ)
สิง่ ทีก่ าหนดพฤติกรรมมนุษย์………………………………………………………… 499
ระดับพฤติกรรมและการวัดพฤติกรรม……………………………………………….. 501
ทฤษฎีเกีย่ วข้องในการพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์…………………………………….. 503
ความหมายของพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน…………………………… 511
พฤติกรรมมนุ ษย์เพื่อความปลอดภัยในการทางาน…………………………………. 514
หลักการทางพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทางาน………………. 515
การส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัย……………………………………………….. 518
รูปแบบการทางานเป็ นทีมทีม่ ผี ลต่อความปลอดภัยในการทางาน………………….. 527
สีและเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย……………………………………………….. 529
บทสรุป………………………………………………………………………………… 536
แบบฝึกหัด…………………………………………………………………………….. 538
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………. 539

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 9 …………………………………………………………... 541


บทที่ 9 กิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยในการทางาน ................................................... 543
แนวคิด และความหมายเกี่ยวกับกิจกรรม .......................................................... 544
วัตถุประสงค์ของการทากิจกรรม 5ส. …………………………………………….. 545
เป้ าหมายองค์การในการจัดดาเนินงานกิจกรรม 5ส. ………………………………. 546
ความสาคัญของการดาเนินงานกิจกรรม 5ส. ....................................................... 547
ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการดาเนินงานกิจกรรม 5ส. .................................................... 547
ปั จจัยสาคัญทีม่ ผี ลต่อความสาเร็จในการทากิจกรรม 5ส. .................................... 549
ขัน้ ตอนการดาเนินการกิจกรรม 5ส. ……………………………………………….. 551
องค์ประกอบของกิจกรรม 5ส. ……………………………………………………… 554
สรุป .................................................................................................................. 578
แบบฝึกหัด.......................................................................................................... 579
เอกสารอ้างอิง ..................................................................................................... 580
(17)

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 10………………………………………………………….. 581


บทที่ 10 องค์การอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ……………………………….............. 583
หน่วยงานทีม่ หี น้าที่ และรับผิดชอบเกีย่ วกับความความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย…………………………………………………………………….... 584
บทบาทของผูท้ เ่ี กีย่ วข้องงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ………………… 590
รูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การ…………………………………………………….. 601
หน่วยงานหลัก และหน่วยงานสนับสนุ น …………………………………………….. 605
คณะกรรมการความปลอดภัยในการทางาน…………………………………………. 607
การสื่อสารเพื่อความปลอดภัยในการทางาน…………………………………………. 614
ความหมายของการสื่อสารเพื่อความปลอดภัย………………………………………. 615
วัตถุประสงค์ของการสื่อสารเพื่อความปลอดภัย……………………………………... 615
ความสาคัญของการสื่อสารเพื่อความปลอดภัย…………………………………….... 616
อุปสรรคในการสื่อสารเพื่อความปลอดภัย ………………………………………….. 616
สรุป……………………………………………………………………………………. 617
แบบฝึกหัด……………………………………………………………………………. 619
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………. 620

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 11…………………………………………………………… 621


บทที่ 11 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย………………………………….. 623
วัตถุประสงค์ของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย .……………….. 624
ความสาคัญของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย…………………. 625
แนวคิดมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ……………….. 627
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน มอก.18001…….. 630
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตาม ILO – OSH 2001………… 640
สรุป……………………………………………………………………………………. 644
แบบฝึกหัด……………………………………………………………………………. 646
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………. 647
(18)

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 12…………………………………………………………… 649


บทที่ 12 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม………………………………………………………… 651
ความหมายของการจัดการเชิงระบบ…………………………………………………. 653
ระบบ Eco-Management and Audit Scheme (EMAS)…………………………… 655
มาตรฐานในอนุกรมมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14000…………………. 661
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001……………………… 670
การจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001…………………………………. 672
แนวคิดและสาระสาคัญของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐาน
ISO 14001: 2015……………………………………………………………………..680
สรุป……………………………………………………………………………………. 686
แบบฝึกหัด…………………………………………………………………………….. 688
เอกสารอ้างอิง………………………………………………………………………… 689
เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………………. 691
ภาคผนวก…………………………………………………………………………………….. 703
ภาคผนวก ก .................................................................................................................. 704
ภาคผนวก ข ................................................................................................................. 725
ภาคผนวก ค ................................................................................................................. 744
ภาคผนวก ง .................................................................................................................. 762
(19)

สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้ า
1.1 องค์ประกอบของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย……………………………… 20
1.2 ขอบเขตความสัมพันธ์ของงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย……………… 30
2.1 บทบาทหน้าทีข่ นั ้ พืน้ ฐานของผูบ้ ริหารหรือผูจ้ ดั การในการบริหารจัดการ………….. 69
2.2 ระดับของผูบ้ ริหาร…………………………………………………………………….. 74
2.3 ทักษะของผูบ้ ริหาร……………………………………………………………………. 76
2.4 กระบวนการบริหารจัดการ ตามแนวคิดของ Luther Gulick และ Lymdall Urwick.. 78
2.5 รูปแบบความปลอดภัยในองค์การ……………………….…………………………... 95
2.6 โครงสร้างหน่วยงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย………………………………. 103
2.7 วงจร PDCA ในการพัฒนาแผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย……………… 120
3.1 ภาพจาลองการเกิดอุบตั เิ หตุตามทฤษฎีโดมิโน ของ Heinrich……………………… 146
3.2 ปั จจัยทีเ่ กิดความผิดพลาดของมนุษย์…………………………………………………147
3.3 ทฤษฎีปัจจัยมนุษย์……………………………………………………………………. 148
3.4 แบบจาลองของทฤษฎีอุบตั เิ หตุ/อุบตั กิ ารณ์ของปี เตอร์เซน…………………………. 150
3.5 แบบจาลองของทฤษฎีระบาดวิทยา………………………………………………….. 152
3.6 แบบจาลองของทฤษฎีระบบ………………………………………………………….. 154
3.7 การเกิดอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดจากสาเหตุพน้ื ฐาน………………….………………………… 158
3.8 การเกิดอุบตั เิ หตุอนั เนื่องจากการกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย……………………………… 159
3.9 การเกิดอุบตั เิ หตุอนั เนื่องจากสภาพการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภัย……………………………. 160
3.10 ตัวอย่างแบบฟอร์มการบันทึกคาให้สมั ภาษณ์ของพยานในการสอบสวนอุบตั เิ หตุ .. 178
3.11 ตัวอย่างแบบบันทึกข้อมูลการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ …………………………………… 194
3.12 แบบบันทึกข้อมูลการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ……………………………………………. 195
4.1 โรคทีเ่ กิดจากการทางานในสถานประกอบการ………………….………………….. 222
4.2 หมวกนิรภัยสาหรับสวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล……….…………………….. 244
4.3 อุปกรณ์ป้องกันตา…………………………………………………………………..... 246
4.4 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนใบหน้า…………………………………………………. 248
4.5 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนหู…………..…………………………………………… 249
(20)

สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้ า
4.6 อุปกรณ์ป้องกันมือ นิ้วมือ และแขน………………………………………………….. 251
4.7 อุปกรณ์ป้องกันเท้าและขา……………………………………………………………. 254
4.8 ชนิดของหน้ากากครอบป้ องกันส่วนใบหน้า…………………………………………. 259
4.9 อุปกรณ์ป้องกันพิเศษทีใ่ ช้งานเฉพาะ………………………………………………… 262
6.1 ทฤษฎีภเู ขาน้าแข็งเกีย่ วกับค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดจากการเกิดอุบตั เิ หตุ……..……………. 341
6.2 เหตุการณ์การเกิดอุบตั เิ หตุเนื่องจากวิศวกรรมการก่อสร้าง………………………… 342
6.3 ทางหนีไฟ และไฟฉุกเฉินทางเดินช่องหนีไฟ…………..……………………………. 353
6.4 ตัวอย่างการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม………………………………………….. 355
6.5 องค์ประกอบสาคัญของการขนถ่ายวัสดุ……………………………………………... 356
6.6 หลักการจัดวางผังโรงงานเพื่อความปลอดภัยในโรงงาน…………………………..... 359
6.7 การติดตัง้ ไฟฉุกเฉินในสถานประกอบการ…………………………………………… 362
6.8 การวางผังโรงงานแบบตามกระบวนการผลิต……………………………………….. 370
6.9 การวางผังโรงงานตามชนิดของผลิตภัณฑ์………………………………………….. 371
6.10 แสดงลักษณะการแปรสภาพการผลิตสินค้าแบบผสม……………………………… 372
6.11 แสดงการวางผังโรงงานแบบชิน้ งานอยูก่ บั ที่………………………………………. 373
6.12 องค์ประกอบของการเกิดไฟ………………………………………………………… 375
6.13 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภทเอ………………………………………………….. 382
6.14 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภทบี…………………………………………………... 383
6.15 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภทซี………………………………………………….. 383
6.16 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภทดี………………………………………………….. 384
6.17 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภทเค…………………………………………………. 384
6.18 เครือ่ งดับเพลิงชนิดกรดโซดา………………………………………………………. 385
6.19 เครือ่ งดับเพลิงชนิดฟองโฟม……………………………………………………….. 386
6.20 เครือ่ งดับเพลิงชนิดฟองโฟม……………………………………………………….. 386
6.21 เครือ่ งดับเพลิงชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หรือซีโอทู…………………………… 387
6.22 เครือ่ งดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง……………………………………………………… 388
(21)

สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้ า
6.23 เครือ่ งดับเพลิงชนิดน้ายาเหลวระเหยฮาโลตรอน………………………………….. 388
6.24 ถังดับเพลิงเอนกประสงค์แห้ง………………………………………………………. 389
6.25 มาตรวัดเครือ่ งดับเพลิง……………………………………………………………… 393
6.26 การติดตัง้ เครือ่ งดับเพลิง……………………………………………………………. 394
6.27 การออกแบบทางด้านสถาปั ตยกรรมกับการป้ องกันอัคคีภยั ……………………… 397
6.28 ขัน้ ตอนการเกิดไฟซึง่ จะเป็ นตัวกาหนดอุปกรณ์ตรวจจับของไฟ………………….. 398
6.29 แสดงอุปกรณ์ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้……………………………………. 401
7.1 กระบวนการรับรู… ้ …………………………………………………………………… 425
7.2 องค์ประกอบของการสื่อสารความเสีย่ ง……………………………………………… 429
7.3 ขัน้ ตอนพืน้ ฐานของการประเมินความเสีย่ ง…………………………………………. 443
7.4 ภาพรวมระบบการจัดการความเสีย่ ง………………………………………………… 448
7.5 กรอบการบริหารความเสีย่ ง………………………………………………………….. 451
7.6 กระบวนการจัดการความเสีย่ ง……………………………………………………….. 475
7.7 กระบวนการบาบัดความเสีย่ ง………………………………………………………… 477
8.1 ปิ รามิดแสดงลาดับขัน้ ความต้องการของมาสโลว์…………………………………… 498
8.2 การวิเคราะห์พฤติกรรมความปลอดภัยตามแนวคิดของสกินเนอร์……………….... 505
8.3 ตัวอย่างการแสดงเครือ่ งหมายเสริมเพื่อความปลอดภัย……………………………. 533
8.4 แสดงเครือ่ งหมายเสริมไว้ใต้เครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย………………………. 534
9.1 ขัน้ ตอนการดาเนินการกิจกรรม 5 ส. ................................................................... 553
9.2 หลักการของสะสาง ............................................................................................ 556
9.3 การขจัดสิง่ ของทีไ่ ม่ใช้แล้วมาจัดให้เป็ นหมวดหมูแ่ ละมีระเบียบเรียบร้อย ............... 557
9.4 ส. สะดวกง่ายต่อการใช้งานเกีย่ วกับเอกสารต่าง ๆ .............................................. 559
9.5 ส. สะอาดดูงามตาเป็ นระเบียบเรียบร้อย .............................................................. 560
9.6 ส. สุขลักษณะสถานทีท่ างานหน้าอยู่ .................................................................... 592
9.7 การทากิจกรรม 5ส ให้ประสบความสาเร็จ…………………………………………… 575
10.1 รูปแบบการจัดโครงสร้างองค์กรตามแนวดิง่ ………………………………………... 602
(22)

10.2 รูปแบบการจัดโครงสร้างองค์กรตามแนวนอน……………………………………... 603


10.3 การจัดรูปแบบโครงสร้างองค์การแบบผสมผสาน…………………………............. 604
11.1 รูปแบบมาตรฐานอุตสาหกรรม 18001 – 2542……………………………………. 632
11.2 ขัน้ ตอนการพัฒนาระบบ มอก.18001…………………………………………….... 635
12.1 วงจรของการจัดการเชิงระบบของ Deming………………………………………… 654
12.2 วงจรของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001………………………………… 660
12.3 สัญลักษณ์ของฉลากผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ……………………………………… 667
12.4 ตัวอย่างฉลากสิง่ แวดล้อมประเภทที่ 2 ทีม่ ใี ช้ในประเทศไทย……………………… 667
12.5 ตัวอย่างฉลากเขียวทีม่ ใี ช้ในประเทศไทย…………………………………………… 668
12.6 วงจรของข้อกาหนดของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001………………... 672
12.7 ความสัมพันธ์ระหว่างวงจร PDCA กับข้อกาหนดมาตรฐาน ISO 14001: 2015…. 682
(23)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้ า
2.1 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของหน่วยงานการจัดองค์การบริหารงาน
ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ..………………………………………………. 99
3.1 จานวนลูกจ้างทีป่ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางานจาแนกตาม
ความรุนแรง ปี 2549 - 2558 ………………………………………………………... 143
3.2 จังหวัดทีม่ อี ตั ราการประสบอันตรายในการทางานของลูกจ้าง..…………...………… 144
3.3 จานวนการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางาน จาแนกตามสาเหตุท่ี
ประสบอันตราย ..…………………………………………………………………….. 162
3.4 จานวนการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน จาแนกตามสิง่ ทีท่ า
ให้ประสบอันตราย.……………………………………………………...................... 163
3.5 จานวนการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน จาแนกตาม
อวัยวะทีไ่ ด้รบั อันตราย......................................................................................... 164
3.5 การประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน จาแนกตามผลของการ
ประสบอันตราย................................................................................................... 165
3.6 สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ………………………………………………………….. 183
3.7 แสดงจานวนวันทางานสูญเสีย……………………………………………………….. 198
4.1 การกาหนดมาตรฐานความดังของเสียง…………………………………………….. 229
4.2 ชนิดของรองเท้านิรภัยตามความสามารถในการรับแรงอัดและแรงกระแทก..……… 252
4.3 ส่วนกรองอากาศสาหรับกรองก๊าซ และไอระเหยตามมาตรฐาน..………….............. 258
6.1 การเปรียบเทียบข้อดี และข้อเสียของการวางผังโรงงานแบบตามกระบวนการผลิต.. 370
6.2 การเปรียบเทียบข้อดี และข้อเสียของการวางผังโรงงานแบบตามชนิดผลิตภัณฑ์.... 372
6.3 การเปรียบเทียบข้อดี และข้อเสียของการวางผังโรงงานแบบชิน้ งานอยูก่ บั ที่..…….. 373
6.4 แหล่งเกิดเพลิงไหม้..………………………………………………………………….. 380
6.5 การสังเกตสีของกลุ่มควันทีบ่ ่งบอกถึงประเภทและชนิดของเชือ้ เพลิงทีล่ ุกไหม้..…... 382
6.6 การแสดงชนิด/ประเภทของถังดับเพลิง.……………………………………………... 389
6.7 วิธใี ช้เครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือ..…………………………………………………….. 392
(24)

สารบัญตาราง (ต่อ)

7.1 ลักษณะ (Characteristics) หรือ พารามิเตอร์ (Parameter) ทีส่ มั พันธ์กบั ปั จจัยการ


ยอมรับความเสีย่ ง “กลัว/ไม่กลัว” และ “รู/้ ไม่ร”ู้ ……………………………………… 428
7.2 บัญชีทา้ ยประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542) เรือ่ ง มาตรการ
คุม้ ครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน.............................................................. 438
7.3 การจัดทาบัญชีรายการสิง่ ทีเ่ ป็ นความเสีย่ งและอันตราย……………………………. 440
7.4 ความรุนแรงของเหตุการณ์ ทีส่ ่งผลกระทบต่อบุคคล ชุมชน ทรัพย์สนิ
และสิง่ แวดล้อม ………………………………………………………………………. 457
7.5 ระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่างๆ ทีส่ ่งผลกระทบต่อชุมชน…………………….457
7.6 ระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่างๆ ทีส่ ่งผลกระทบต่อทีส่ ่งผลกระทบ
ต่อสิง่ แวดล้อม .………………………………………………………………………. 458
7.7 ระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่างๆ ทีส่ ่งผลกระทบต่อทีส่ ่งผลกระทบ
ต่อทรัพย์สนิ …………………………………………………………………………. 458
7.8 จัดระดับความเสีย่ ง 4 ระดับ ..……………………………………………………….. 459
7.9 หลักเกณฑ์ประเมินระดับความเสีย่ งในการทางาน .………………………………... 462
7.10 พิจารณาจากโอกาสในการเกิดอันตราย .…………………………………………. 462
7.11 การพิจารณาจากระดับความรุนแรงของการเกิดอันตราย ..………………………. 463
7.12 หลักเกณฑ์ในการตอบสนองต่อความเสีย่ งระดับต่าง ๆ .…………………………. 463
7.13 แบบฟอร์มการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งด้วยวิธกี าร Checklist.….. 466
7.14 แบบฟอร์มการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งด้วยวิธ ี What if Analysis.. 467
7.15 แบบฟอร์มการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งด้วยวิธ ี FMEA………….. 468
7.16 แบบฟอร์มการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งด้วยวิธ ี HAZOP………… 469
7.17 แบบฟอร์มการจัดทาแผนงานควบคุมความเสีย่ ง………………………………….. 471
7.18 แบบฟอร์มการจัดทาแผนงานลดความเสีย่ ง……………………………………….. 472
8.1 การกระตุน้ ด้วยการเสริมแรงและการลงโทษ .……………………………………… 507
8.2 ปั จจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการรับรูถ้ งึ ความปลอดภัยในการทางาน …………………... 527
8.3 รูปแบบของผูน้ าด้านความปลอดภัยในการทางาน.………………………………..... 529
(25)

สารบัญตาราง (ต่อ)

8.4 แสดงสีและเครือ่ งหมายแสดงความปลอดภัย..……………………………………… 530


8.5 รูปแบบของผูน้ าด้านความปลอดภัยในการทางาน.…………………………………. 531
8.6 ตัวอย่างเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัยและความหมาย..…………………………. 535
9.1 สรุปความหมายและกิจกรรม 5ส.เพื่อความปลอดภัยในการทางาน ……………….. 555
10.1 บทบาทของผูบ้ ริหารในงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย……………….... 592
10.2 การเปรียบเทียบข้อดีและข้อด้อยของการจัดองค์กรในรูปแบบแนวดิง่
และแนวนอน...................................................................................................... 604
10.3 องค์ประกอบของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ..……………………… 608
10.4 สรุปวิธกี ารเลือกตัง้ กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างในการจัดตัง้ คณะกรรมการ -
ความปลอดภัย..……………………………………………………………………… 612
11.1 มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย..……………………. 626
1

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 1
ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

หัวข้อเนื้ อหา
1. แนวคิดเกีย่ วกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
2. ความเป็ นมา ของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
3. ความหมาย และความสาคัญของความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
3. วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
4. เป้ าหมาย และขอบเขตของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
5. บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6. หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในประเทศไทย
7. หน่วยงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยระหว่างประเทศ
8. สรุป
9. แบบฝึกหัด
10. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ เรียนบทเรียนนี้แล้วนักศึกษาสามารถ
1. อธิบายแนวคิด ความเป็ นมา พัฒนาการ ความหมาย และความสาคัญของความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยได้
2. อธิบายถึงหลักการ วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ และประโยชน์ของความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัยได้
3. อธิบายถึงเป้ าหมาย และขอบเขตงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยได้
4. บอกถึงหน่ วยงานในประเทศและระหว่างประเทศ รวมทัง้ บุคลากรทีเ่ กี่ยวข้องกับงาน
ด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยได้

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ
2

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารคาสอนรายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
3. กรณีศกึ ษา/ใบงาน
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดทิ ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. แบบสังเกต
5. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
3

บทที่ 1
ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัย

มนุษย์เราทุกคนเกิดมาย่อมต้องการความปลอดภัยทัง้ ทางร่างกาย จิตใจ และสังคม การ


ประกอบอาชีพของมนุ ษย์ทุกอาชีพ ทุกระดับตาแหน่ งงาน บุคคลส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพใน
ลักษณะกิจกรรมมากมายจากทีง่ า่ ย ๆ ไปจนถึงกิจกรรมทีย่ ากลาบาก ซับซ้อนหลายขัน้ ตอน ซึง่
โดยเฉลี่ยจะทางานในสถานที่ทางานมากกว่าการปฏิบตั กิ ิจกรรมอื่น ๆ ในแต่ละวันอย่างน้ อย
แปดชัว่ โมงต่ อ วัน โอกาสในการที่จ ะสัมผัส กับ สิ่ง แวดล้อ มในการท างานทางกายภาพ และ
ชีวภาพ ทีแ่ ตกต่างกัน มีความมากน้อยไม่เท่ากัน ซึง่ อาจเป็ นปั จจัยพืน้ ฐานของการเกิดความไม่
ปลอดภัยทัง้ อุบตั เิ หตุ และเจ็บป่ วยอันเกิดจากการทางาน ไม่ว่าจะเป็ นเครื่องมือ เครื่องจักร และ
อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการทางาน ระบบไฟฟ้ า การขนส่ง หรือขนถ่ายสินค้า แสงสว่าง เสียงดัง ความ
ร้อน ความเย็น ฝุ่ นละออง กลิ่น สี สารเคมี รังสี โรคต่าง ๆ ที่เกิดจากการทางาน ตลอดจน
ความเกี่ ย วข้ อ งสัม พัน ธ์ ก ั น ระหว่ า งผู้ บ ัง คับ บัญ ชา เพื่ อ นร่ ว มงาน และลู ก ค้ า เป็ นต้ น
สภาพแวดล้อมในการทางานเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ทาให้เ กิดผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของผู้
ประกอบอาชีพทัง้ สิน้ ซึง่ หลายอุตสาหกรรมการผลิตทัง้ อุตสาหกรรมหนัก ไปจนถึงอุตสาหกรรม
เบา ทีม่ รี ะบบเครือ่ งจักรกลในการผลิตสินค้าและบริการย่อมอาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย ทัง้
ด้านเครือ่ งจักร และสุขภาพอนามัยทัง้ สิน้
หน่ ว ยงานที่เ กี่ยวข้อ งกับระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีว อนามัยในสถาน
ประกอบการหากไม่จดั ระบบการป้ องกันให้ถู กต้องตามมาตรฐาน และไม่ตระหนักถึงผลกระทบ
เกีย่ วกับอันตรายจากการทางานที่จะเกิดต่อชีวติ ของบุคลากรในหน่ วยงาน และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
ที่จะเกิดขึ้น ก็จะทาให้เกิดความเสียหาย ดังจะเห็นได้จากตัวอย่าง โรงงานผลิตและประกอบ
ชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิคส์ ซึ่งมีผลกระทบอย่างชัดเจนที่มลี ูกจ้างในโรงงานที่มลี ูกจ้างไม่ได้รบั การ
อบรมเกี่ยวกับเครื่อ งจัก ร เครื่อ งมือ ในการท างานที่ถู กต้อ ง ประกอบกับเครื่อ งจักรไม่มกี าร
ควบคุ มจากผู้ท่มี คี วามรู้โดยตรง และเครื่อ งจักรมีอุ ปกรณ์ ป้อ งกันที่ไม่ถูกต้อ งตามมาตรฐาน
ความปลอดภัย ทาให้มคี วามเสี่ยงที่จะเกิดอุบตั เิ หตุได้ เช่น เครื่องจักรหนีบ หมุน ตัด และทับ
ทาให้ได้รบั บาดเจ็บสูญเสียอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ได้แก่ นิ้ว แขน ขา เท้า และดวงตา เป็ น
ต้น ยังมีอกี กรณีของโรงงานผลิตหลอดไฟคริสต์มาสซึ่งใช้เม็ดพลาสติกหลอมในการผลิตขึน้ รูป
พลาสติกเป็ นการ์ตูนต่าง ๆ จะมีกลิน่ สีเม็ดพลาสติกเมื่อลูกจ้างสูดดมเข้าไปมากจะทาให้เยื่อบุ
จมูกอักเสบ กลายเป็ นโรคภูมแิ พ้ ประกอบกับมีฝนละอองฟุ ุ่ ้ งกระจายทาให้พนักงานไอคอแห้ง
ระคายเคือ งมีผ ลถึงปอดมีปั ญ หา รวมทัง้ สารตะกัว่ ที่เ กิดขึ้น ในกรณีท่ีมกี ารเชื่อ มแผ่ น วงจร
อิเล็กทรอนิคส์ ถึงแม้ว่าปั จจุบนั ได้มกี ฎหมายในการควบคุมตัง้ แต่ผู้ผลิต วัส ดุอุปกรณ์ต้นทาง
เกี่ยวกับการห้ามใช้สารเคมีทเ่ี ป็ นอันตรายต่อมนุ ษย์กต็ ามเมื่อระยะ เวลาไม่นานอาการก็รุนแรง
4

มากขึน้ หากยังมีการกระทาในลักษณะดังกล่าวซึ่งถือว่าเป็ นโรคอันเนื่องมาจากการทางานที่


เรือ้ รังจนไม่สามารถรักษาได้อาจถึงแก่ชวี ติ ได้ในที่สุด ระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีว -
อนามัยในโรงหรือ สถานปะกอบการไม่เพียงแต่จดั เตรียมอุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ หรือ
สภาพแวดล้อมให้พนักงานเท่านัน้ แต่จะต้องให้การอบรมพัฒ นาปรับเปลีย่ นทัศนคติให้มคี วาม
ตระหนักรูเ้ กีย่ วกับอันตรายทีจ่ ะเกิดในการทางานด้วย

แนวคิ ดเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

การจัดสภาพแวดล้อม ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทางาน ผูบ้ ริหารระดับสูง


ต้องให้ความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ โดยมีการกาหนดนโยบาย ผู้รบั ผิดชอบอย่างชัดเจน เพื่อให้
ผูบ้ ริหารทุกระดับ หัวหน้างาน และพนักงานแต่ละแผนก แต่ละฝ่ ายได้มแี นวทางปฏิบตั ริ ่วมกัน
ให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ ให้เกิดสุขภาพแข็งแรง และอนามัยทีด่ ใี นการทางาน
ให้สามารถสร้างผลผลิตที่ได้คุณภาพต่ อองค์การ โดยเริม่ ตัง้ แต่ระดับผู้อานวยการ ผู้จดั การ
และ หัวหน้ างาน ให้มหี น้ าที่ก ากับ ดูแล ดาเนินการวางแผน จัดหน่ ว ยงาน กาหนดบทบาท
หน้าที่ความรับผิดชอบให้เหมาะสม เปิ ดโอกาสให้ลูกจ้างหรือพนักงานมีส่วนร่วมในการแสดง
ความคิดเห็นผ่านตัวแทนลูกจ้าง รวมทัง้ การสื่อสารให้กบั ลูกจ้างทุกคนได้เข้าใจ เพื่อให้เกิดความ
ร่ ว มแรงร่ ว มใจในการปฏิบ ัติง านให้เ กิด ความปลอดภัย และอาชีว อนามัย ของทัง้ ลู ก จ้า ง
ผูป้ ฏิบตั งิ านและฝ่ ายบริหาร ให้สอดคล้องเป็ นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของกฎหมายในการ
ท างานของสถานประกอบการ ภายใต้พ ระราชบัญ ญัติ ค วามปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้ อ มในการท างาน และมี ก ารด าเนิ น การปรับ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง หากสถาน
ประกอบการมีระบบความปลอดภัย และอาชีวอนามัยที่ดี แสดงให้เห็นถึงลักษณะของงานมีผล
ต่อสุขภาพ ร่างกาย และจิตใจของผูป้ ฏิบตั งิ านทีจ่ ะสร้างขวัญกาลังใจ ในทางตรงกันข้าม สุขภาพ
ร่างกาย และจิตใจของลูกจ้างผูป้ ฏิบตั งิ านก็มผี ลต่อการทางานเช่นเดียวกัน ดังนัน้ ผูท้ ม่ี สี ุขภาพ
ร่างกาย และจิตใจที่สมบูรณ์ ย่อมสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าผู้ท่สี ุขภาพ
ร่างกายทีอ่ ่อนแอ
ทัง้ นี้ ให้เป็ นไปตาม มาตรา 6 ให้นายจ้างมีหน้าทีจ่ ดั และดูแลสถานประกอบกิจการและ
ลูก จ้า งให้ม ีส ภาพการปฏิบ ัติง าน และสภาพแวดล้อ มในการปฏิบ ัติง านที่ป ลอดภัย และถู ก
สุขลักษณะ รวมทัง้ ส่งเสริมสนับสนุน การปฏิบตั งิ านของลูกจ้างมิให้ลูกจ้างได้รบั อันตรายต่อชีวติ
ร่างกาย จิต ใจ และสุ ขภาพอนามัย ให้ลูกจ้างมีห น้ า ที่ใ ห้ค วามร่ว มมือ กับนายจ้างในการ
ดาเนินการและส่งเสริมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการปฏิบตั งิ าน
เพื่อ ให้เ กิดความปลอดภัยแก่ ลูก จ้า งและสถานประกอบกิจการ แนวคิดของงานด้านความ
ปลอดภัย และ อาชีวอนามัยจึงมีลกั ษณะต่าง ๆ ดังนี้
5

1. เพื่อ ให้บุ ค ลากรผู้ป ฏิบ ัติง านปราศจากอุ บ ัติเ หตุ อ ัน ตราย บาดเจ็บ และเจ็บ ป่ วย
อันเนื่องจากการทางาน ด้วยการจัดระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการ
ทางานทีเ่ ป็ นระบบตามมาตรฐานความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
2. ระบบมาตรฐานความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเป็ น
สิ่ง ที่ช่ ว ยให้อ งค์ก ารสามารถลดอุ บ ัติเ หตุ และการเจ็บ ป่ วยอัน เนื่ อ งมาจากการท างานของ
บุคลากรในองค์การ และเกิดความปลอดภัยเชิงระบบนาไปสู่การจัดการความเสี่ยงในการเกิด
อุบตั เิ หตุ รวมทัง้ สามารถทาให้องค์การได้มรี ะบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานทีไ่ ด้มาตรฐานสากลเป็ นทีย่ อมรับขององค์การภายนอกได้
3. การให้ค วามส าคัญ กับ คุ ณ ค่ า ของทรัพ ยากรมนุ ษ ย์ ซึ่ง นั บ ว่ า เป็ น ทรัพ ยากรอัน
ก่อให้เกิดมูลค่าทีม่ คี วามสาคัญที่สุดทางการบริหารองค์การในด้านการบริหารจัดการด้านความ
ปลอดภัยอาชีวอนามัยของพนักงาน จึงต้องมีการจัดระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอ
นามัยในการทางานเพื่อให้พนักงานมีสุขภาพทีด่ เี พื่อสร้างมูลค่าในการเพิม่ ผลผลิตให้กบั องค์การ
4. ให้เป็ นไปตามกฎหมายคุม้ ครองแรงงานและกฎหมายความปลอดภัย และอาชีวอนา-
มัยในการทางาน และให้เ ป็ นไปข้อ ตกลงขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ และองค์การ
อนามัยโลก รวมทัง้ ทาให้เกิดหลักความเป็ นธรรมและมนุษยธรรม
5. เป็ นความรับผิดชอบของนายจ้างหรือ ฝ่ ายจัดการของสถานประกอบการที่ต้อ งมี
ดาเนินธุรกิจภายใต้ความมีคุณธรรม จริยธรรมต่อเพื่อนมนุ ษย์และเห็นถึงความเป็ นมนุ ษยชาติ
และให้เป็ นทีย่ อมรับอย่างสากล
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเป็ นสิง่ ทีน่ ายจ้างต้องตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากร-
มนุ ษย์ ผู้มสี ุขภาพอนามัยที่แข็งแรง ปราศจากการบาดเจ็บ หรือเจ็บป่ วย ย่อมเป็ นความโชคดี
ของผู้ปฏิบตั ิงานและรวมถึงการสะท้อ นถึงการบริหารจัดการองค์การโดยองค์รวมที่ส ามารถ
ดาเนินงานได้ดว้ ยความราบรื่น และเป็ นทีย่ อมรับของบุคคลภายนอกได้

ความเป็ นมาของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

งานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุบนั มีพฒ ั นาการมาเป็ นลาดับ


ตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนับตัง้ แต่ ยุคก่อนการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ในขณะนัน้ ไม่ค่อยมี
เครื่องจักรกลที่ทนั สมัย และกระบวนการผลิตไม่ซบั ซ้อน รวมทัง้ การใช้สารเคมีอนั ตรายต่าง ๆ
ก็ยงั มีไม่มากนัก การผลิตส่วนใหญ่จะเป็ นการใช้แรงงานคนในครัวเรือนมากกว่าจึงทาให้การ
บาดเจ็บพิก ารหรือการเจ็บป่ วยที่ไม่รุนแรงนัก แต่ ในปั จจุบนั มีการนาเทคโนโลยีเ ข้ามาใช้ใ น
อุตสาหกรรมการผลิตและบริการ พาณิชยกรรม และเกษตรกรรม ด้วยรูปแบบการผลิตทีใ่ หม่ ๆ
มีก ารสร้า ง ประดิษ ฐ์ ค ิด ค้น เครื่อ งจัก รกลที่ส ามารถน ามาใช้ใ นอุ ต สาหกรรมการผลิต ที่ม ี
6

ประสิทธิภาพสูงมาก ท าให้ง านความปลอดภัยและอาชีว อนามัยมีก ารพัฒ นาอย่างต่ อ เนื่อ ง


เพื่อ ให้ท ัน ต่ อ การพัฒ นาเปลี่ย นแปลงที่เ กิด ขึ้น ซึ่ง จะกล่ า วถึง ความเป็ น มาของงานความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยทีม่ พี ฒ ั นาการมาเรื่อย ๆ ทัง้ ในต่างประเทศและในประเทศไทยตัง้ แต่
อดีตจนถึงปั จจุบนั World Health Organization Geneva. (1998) ดังนี้
1. ความเป็ นมาของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในต่างประเทศ
แรกเริม่ ในงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในต่างประเทศนัน้ เริม่ ขึน้ มานาน
นับเป็ นศตวรรษแล้ว ในยุคก่อนการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมใน ค.ศ.1800 นัน้ การเกิดอันตราย ต่าง ๆ
จากการทางานของคนงานมีน้อย เนื่องจากการประกอบอาชีพการทางานจะมีลกั ษณะงานที่
อาศัยทรัพยากรธรรมชาติเป็ นส่วนใหญ่ เช่น เกษตรกรรม เลีย้ งสัตว์ และงานด้านอุตสาหกรรม
การผลิต ยัง มีน้ อ ยที่เ ป็ นอุ ต สาหกรรมในครัว เรือ นเป็ นส่ ว นใหญ่ ซึ่ง ลัก ษณะการท างาน
กระบวนการผลิต อุปกรณ์ เครือ่ งมือ ทีใ่ ช้ในการผลิตไม่ซบั ซ้อนมากนัก ส่วนงานในอุตสาหกรรม
หนักที่มอี นั ตราย เช่น เหมืองแร่ ก็จะใช้แรงงานจาพวกทาสและนักโทษ จึงทาให้นายจ้างไม่ได้
สนใจเกี่ยวกับเรื่องการดูแลความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทางานของคนงาน ถึงจะ
ได้รบั บาดเจ็บและเจ็บป่ วย ก็ถอื ว่าเป็ นการลงโทษแรงงาน ในขณะนัน้ เนื่องจากการบริการทาง
แพทย์และการรักษาพยาบาลในสมัยนัน้ ยังไม่มคี วามเจริญ ทาให้การบาดเจ็บ และเจ็บป่ วยด้วย
โรคจากการทางานต่าง ๆ ถึงแม้ว่าจะไม่รุนแรง หากแต่ ไม่ได้รบั การวินิ จฉัยและรักษาอย่าง
ถูกต้อง จะนาไปสู่การเจ็บป่ วยที่เรือ้ รังและรุนแรงยิง่ ขึน้ จะเห็น ในระยะต่อมาภายหลังได้มกี าร
ปฏิวตั ิอุตสาหกรรม จึงมีการพัฒนางานทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมาเรื่อยเป็ น
ลาดับ โดยมีความเป็ นมาสาคัญโดยสังเขป ดังนี้
1.1 ประเทศอังกฤษ
งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในยุคก่อนการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมอังกฤษเป็ น
ผูน้ าในการปฏิวตั เิ กษตรกรรม (Agricultural Revolution) โดยนาความรูท้ าง วิทยาศาสตร์มา
ปรับปรุงการเกษตรให้พฒ ั นาขึน้ โดยในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ประมาณ
ก่อนคริสตศักราช จะเห็นได้ว่างานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ได้เริม่ ขึน้ โดย ฮิปโปรเครติส
(Hippocrates) ได้ศกึ ษาและบันทึกเกีย่ วกับโรคต่าง ๆ รวมทัง้ โรคทีเ่ กิดจากการทางาน เช่น โรค
พิษตะกัวในกลุ
่ ่มผูป้ ฏิบตั งิ านเหมืองแร่
ในปี ค.ศ. 1700 เบอร์นาดิโน แรมมัสซินี (Bernadino Ramazzini) แพทย์ชาวอิตา-
เลียน ได้รบั การยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่งวงการอาชีวเวชศาสตร์ ได้พมิ พ์หนังสือโรคทีเ่ กิดจากการ
ทางาน ขึน้ ซึง่ ได้อธิบายเกี่ยวกับโรคทีเ่ กิดจากการทางานทีค่ นงานแทบทุกอาชีพทีม่ ใี นสมัยนัน้
รวมทัง้ ได้ เ สนอแนะมาตรการในการป้ องกัน อัน ตรายที่เ กิด จากการท างานอุ ต สาหกรรม
(Industrial Hazard)
7

ใน ค.ศ. 1714 - ค.ศ. 1788 : เพอซิวลั พอท (Percivall Pott) ศัลยแพทย์


โรงพยาบาลเซนต์มาโซโลบัว ในกรุงลอนดอน ได้คน้ พบปั ญหาเกี่ยวกับความไม่ปลอดภัยในการ
ทางาน เช่น ไส้เลื่อน การบวมน้าทีถ่ ุงอัณฑะ การบาดเจ็บทีศ่ รี ษะ และอัมพาต ซึง่ เกิดจากความ
ผิดปกติของกระดูกสันหลัง เป็ นต้น และได้อธิบายถึงโรคมะเร็งที่เกิดจากการทางาน ในปี ค.ศ.
1775 เขาได้พบว่า คนงานทีท่ าความสะอาดปล่องไฟเป็ นมะเร็งทีอ่ ณ ั ฑะกันมาก และได้ระบุว่ามี
สาเหตุเกิดจากเขม่า (Soot) ที่คนงานสัมผัสขณะปฏิบตั งิ าน ดังนัน้ ในปี ค.ศ. 1788 รัฐบาล
ประเทศอังกฤษได้ออกพระราชบัญญัตผิ ทู้ ท่ี าอาชีพทาความสะอาดปล่องไฟ
ค.ศ. 1795 – ค.ศ. 1833 : ชาร์ลส์ เทอเนอร์ แทคร่า (Charles Turner Thackrah)
แพทย์ช าวอังกฤษได้อุ ทิศ ชีว ิต ให้กับ งานศึก ษาและป้ อ งกัน อัน ตรายและโรคที่เ กิด จากการ
ทางาน ซึง่ ต่อมาชาร์ลส์ เทอเนอร์ แทคร่า (Charles Turner Thackrah)ได้เขียนบทความพิมพ์
ลงในหนังสือเกีย่ วกับเวชศาสตร์อุตสาหกรรม ซึง่ มีความหนา 280 หน้า บุคคลสาขาอาชีพต่างๆ
ทัง้ นักการเมืองและแพทย์ได้ให้ความสนใจงานเขียนของเขาทาให้ปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการ
ทางานได้รบั ความสนใจเป็ นอย่างมาก และได้ถูกกระตุ้นจนได้ออกมาเป็ นกฎหมายรับรองในการ
แก้ไขปั ญหาโรคจากการทางาน
ในศตวรรษที่ 18 อุตสาหกรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยโรงงานปั น่ ด้าย และทอผ้า
ขนาดใหญ่พฒ ั นามาจากอุตสาหกรรมระดับครัวเรือน ทาให้ต้องการใช้แรงงานจานวนมาก จึงทา
ให้เด็กยากจนและเด็กกาพร้าต้องมาทางานเป็ นแรงงานทีไ่ ม่ถูกต้องนัก
ค.ศ. 1878 ประเทศอังกฤษได้ตราพระราชบัญญัตโิ รงงานทีส่ มบูรณ์แบบฉบับแรก
ขึน้ และประเทศอื่นๆ ก็ได้ตราและพัฒนากฎหมายคุ้มครองแรงงานโดยอาศัยพระราช บัญญัติ
ของอังกฤษเป็ นหลัก
ค.ศ. 1897 รัฐสภาอังกฤษได้ผ่านพระราชบัญญัตกิ องทุนทดแทนฉบับแรก และในปี
ค.ศ. 1907 ได้มกี ารพัฒนาปรับปรุงพระราชบัญญัติให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ รวมทัง้ ค.ศ.1974 รัฐบาล
อังกฤษได้ออกพระราชบัญญัตสิ ุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน (The Health
and Safety at Work) เพื่อคุม้ ครอง ดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของคนงาน
1.2 ประเทศฝรังเศส ่
ค.ศ. 1713 - ค.ศ. 1784 เดนิส ดิเดอรอท (Denis Diderot) นักปรัชญาและนักเขียน
บทความชาวฝรังเศส ่ ได้ชใ้ี ห้เห็นถึงอันตรายจากการประกอบอาชีพต่างๆ เช่น อันตรายจากการ
ตกแต่ง โลหะ ชุบโลหะ หรือทางานในโรงงานตัดหินอ่อ นโรงงานขัดแต่งหิน โรงงานย้อ มผ้า
โรงงานสกัดกามะถัน โรงงานทากระจกฉาบปรอท หรือโรงงานเป่ าแก้ว เป็ นต้น คนงานเหล่านี้
ล้วนทางานเสีย่ งต่อการรับสารเคมี เช่น หายใจเอาสารพิษ เช่น กรด ปรอท และฝุ่ นละอองเข้าสู่
ร่างกาย โดยปราศจากการป้ องกัน ซึง่ ทาให้เกิดโรคจากการทางานได้
8

ค.ศ. 1867 Engel Dollfus จึงได้ก่อ ตัง้ สมาคมป้ องกันอุ บตั ิเหตุใ นโรงงาน
อุตสาหกรรมขึน้ ทีเ่ มือง Mulhouse อันที่จริงในฝรังเศส ่ ได้มกี ารออกกฎหมายเกี่ยวกับการจ้าง
แรงงานเด็ก การทางานในโรงงานทีม่ กี ระบวนการผลิตตลอด 24 ชัวโมง ่
1.3 ประเทศเยอรมัน
ค.ศ. 1494 – ค.ศ. 1553 Georg Bouur หรือทีร่ จู้ กั กันในนามของ จอเจียส อะกริ-
โคล่า (Georgius Agricola) เป็ นนักโลหะวิทยาชาวเยอรมัน ค.ศ. 1526 หลังจากทีศ่ กึ ษาแพทย์
และภาษาศาสตร์ธรรมชาติจากประเทศอิต าลีแล้ว อะกริโคล่า ได้ทางานในฐานะเป็ นแพทย์
ประจาเหมืองแร่ในเมืองแห่งหนึ่ง ค.ศ. 1556 เขาได้เขียนบทความตีพมิ พ์ลงในหนังสือ De Re
Metallica ซึง่ เป็ นหนังสือทีม่ ชี ่อื เสียงมากทางด้านโลหะวิทยา
ประเทศเยอรมันความตื่นตัวในเรื่องของความปลอดภัยสูงกว่าประเทศอื่น โดยในปี
ค.ศ. 1839 ได้มกี ฎหมายเกี่ยวกับการจ้างแรงงานเด็ก และในปี ค.ศ. 1845 ได้มกี ฎหมาย
เกีย่ วกับการต้องมีแพทย์เพื่อตรวจสอบโรงงาน ในปี ค.ศ. 1853 ได้มกี ฎหมายเกี่ยวกับพนักงาน
ตรวจสอบโรงงานโดยรัฐบาลสาหรับเมืองศูนย์กลางอุตสาหกรรม อาทิ Dusseldorf, Aachen
และ Arnsberge และในปี ค.ศ.1869 ได้ออกกฎหมายว่าด้วยการป้ องกันคนงานให้ปลอดภัยจาก
โรคทางอุตสาหกรรม และกฎหมาย The Imperial Act ในปี ค.ศ. 1878 ซึ่งได้บงั คับให้ทุก
โรงงานต้องมีผู้ตรวจสอบประจานัน้ ได้ออกบังคับ ใช้ตลอดทัง้ ประเทศ และนับแต่ปี ค.ศ. 1884
เป็ นต้นมาได้มกี ฎหมายเกี่ยวกับการประกันภัยในโรงงานและกฎหมายที่ว่าด้วยการร่วมเสียค่า
รักษาพยาบาลได้นาออกใช้ในปั จจุบนั
1.4 ประเทศสหรัฐอเมริ กา
ค.ศ. 1877 รัฐแมสซาซูเสทส์ (Massachusetts) เป็ นรัฐแรกที่ผ่านกฎหมายว่าด้วย
การป้ องกันอุบตั เิ หตุในโรงงานตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1877 สาระสาคัญในกฎหมายฉบับนี้คอื กาหนดทาง
หนีไฟที่เหมาะสม การทาฝาครอบเครื่องจักรกลสายพาน เพลาส่งกาลังและชุดเฟื องขับต่างๆ
การห้ามทาความสะอาดเครื่องจักรกลขณะเครื่องกาลังทางาน และในปี ค.ศ. 1886 ก็ได้ออก
กฎหมายบังคับให้ต้องรายงานแจ้งอุบตั เิ หตุต่อรัฐ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวนี้ก็ได้รบั การประกาศใช้
อีกหลายรัฐต่อมา ในขณะนัน้ สหรัฐอเมริกาก็มสี ภาพคล้ายกันกับยุโรป กล่าวคือ กฎหมายทีอ่ อก
มาแล้วไม่ได้รบั การปฏิบตั เิ ท่าทีค่ วร โดยเกิดจากสาเหตุสาคัญคือ คนงานทีไ่ ด้รบั อันตรายไม่กล้า
เรียกร้องสิทธิในค่าชดเชยต่างๆ จากนายจ้างเพราะเกรงว่าจะถูกไล่ออก ทาให้ในปี ค.ศ. 1860
รัฐแมสซาซูเ สทส์ ได้อ อกกฎหมายว่าด้ว ยการมีเจ้าหน้ าที่ตรวจโรงงานจากทางรัฐบาล ซึ่งมี
หน้าทีต่ รวจสภาพโรงงานโดยไม่จาเป็ นต้องได้รบั คาร้องเรียนจากคนงานก่อน ซึง่ ทาให้กฎหมาย
มีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ และอีกหลายรัฐก็ได้ออกกฎหมายทานองเดียวกันนี้ออกมาในระยะเวลาถัด
มา ในระยะต่อมาได้มกี ารทางานเป็ นทีมมีผเู้ ชีย่ วชาญหลายสาขามาร่วมกัน ทาให้พนักงานตรวจ
โรงงานสามารถเป็ นทีป่ รึกษาแก่คนงานและนายจ้างเกี่ยวกับความปลอดภัยได้อย่างกว้างขวาง
นอกเหนือจากเจ้าหน้าทีเ่ ดิมแต่เริม่ แรกซึง่ เป็ นเพียงผูร้ กั ษากฎหมายเท่านัน้
9

ค.ศ. 1908 สหรัฐอเมริกาได้ใช้พระราชบัญญัตเิ งินทดแทนของอังกฤษ (ค.ศ.1907)


มาเป็ นรูปแบบในการตรากฎหมายเงินทดแทนฉบับแรกของสหรัฐอเมริกา และต่อมาในปี ค.ศ.
1948 ในสหรัฐอเมริกาได้ใช้กฎหมายเงินทดแทนครบทุกรัฐ
ค.ศ. 1913 ในสหรัฐอเมริกาได้มกี ารจัดตัง้ สภาแห่งชาติทางด้านความปลอดภัยใน
งานอุตสาหกรรม(National Council for Industrial Safety) และต่อมาได้เปลีย่ นชื่อเป็ นสภา
ความปลอดภัยแห่งชาติ (National Safety Council)
ค.ศ. 1970 รัฐสภาสหรัฐอเมริกาได้ผ่านกฎหมายความปลอดภัยที่รจู้ กั กันในนาม
พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Occupational Safety and Health Act of
1970) ซึง่ เป็ นพระราชบัญญัตทิ ใ่ี ห้การคุม้ ครองคนงานให้ทางานในสภาพการทางานทีป่ ลอดภัย
และถูกสุขลักษณะ เพื่อเป็ นการอนุรกั ษ์ทรัพยากรมนุษย์ของชาติดว้ ย โดยพระราชบัญญัตฉิ บับนี้
ได้กาเนิดองค์กรสาคัญขึ้น 2 องค์กร คือ สานักงานบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
(Occupational Safety and Health Administration : OSHA) มีหน้าทีบ่ ริหารงานให้เป็ นไปตาม
พระราชบัญญัตฉิ บับนี้ และสถาบันความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแห่งชาติ (National Institute
for Occupational Safety and Health : NIOSH) มีหน้าทีใ่ นการศึกษา วิจยั ค้นคว้า และ
เสนอแนะมาตรฐาน ตลอดจนให้การศึกษาและฝึกอบรมบริการวิชาการ การตรวจ ประเมินเสนอ
แนวทางในการป้ องกันควบคุมอันตรายอีกด้วย
ค.ศ. 1971 สหรัฐอเมริกาได้ออกกฎหมายอีกฉบับหนึ่งเรียกว่า “Willams – Steiger
Act 1971” โดยมีจดุ มุง่ หมายให้มกี ารเตรียมการป้ องกันสภาพแวดล้อมในระยะยาว
เพื่อเป็ นการป้ องกันเหตุการณ์ทอ่ี าจเกิดขึน้ ในอนาคตไว้ล่วงหน้า
1.5 ประเทศยุโรปตะวันตกอื่นๆ
เมือ่ 370 ปี ก่อนคริสต์ศกั ราช ฮิปโปเครติส (Hippocrates) ได้เขียนบันทึกโรคต่างๆ
หลายโรค ซึ่งอาจเป็ นโรคที่เกิดขึน้ เนื่องจากการทางาน เช่น ปั ญหาพิษตะกัวในการท
่ าเหมือง
เป็ นต้น
ค.ศ. 100 ไพลนีส ซีคนั ดัส (Plinius Secundus)นักปราชญ์ชาวโรมัน ซึง่ เป็ นผูเ้ ขียน
สารานุ กรมทางด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติช่อื ฮิสโตเรีย เนทุราลิส (Historical Naturalis) ได้
กล่าวถึงอันตรายจากการทางานที่ต้องสัมผัสกับละออง ไป หรือควัน ของกามะถัน สังกะสี เงิน
และตะกัว่ โดยได้สงั เกตเห็นตะกัวที ่ ่ปนเปื้ อนบนในหน้าคนงาน จึงได้เสนอแนะการใช้หน้ากาก
ป้ องกันมลพิษซึ่งหน้ ากากนี้ทาจากกระเพาะสัตว์ มาให้กบั ผู้ปฏิบตั งิ าน เพื่อป้ องกันฝุ่ นหรือไอ
ของตะกัวเข้
่ าสู่รา่ งกายทางลมหายใจและผิวหน้า
ค.ศ. 200 แพทย์ชาวกรีกชื่อ กาเลน (Galen) ได้เขียนทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับกาย
วิภาคศาสตร์และพยาธิว ิทยา รวมทัง้ โรคอันเนื่อ งมาจากการประกอบอาชีพ (Occupational
Diseases) โดยได้อธิบายถึงอันตรายทีเ่ กิดจากละอองกรดทีท่ าอันตรายต่อคนงานในเหมืองถลุง
ทองแดง
10

ค.ศ. 200 กาเลน (Galen) แพทย์ชาวกรีกซึง่ อาศัยและทางานอยู่ในกรุงโรม ได้อุทศิ


ชีวติ ส่วนหนึ่งให้กบั งานอาชีวเวชศาสตร์ เขาได้เขียนเรื่องอันตรายจากการประกอบอาชีพหลาย
อาชีพ และได้ให้ความสาคัญกับอันตรายทีเ่ กิดจากละอองกรดที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อคนงานที่
ทางานในเหมืองถลุงทองแดง
ค.ศ. 1472 เออร์รชิ เอลเลนบอก (Ulrich Ellenbog) ได้ตพี มิ พ์เอกสารเกี่ยวกับไอ
และควัน ที่เ ป็ นพิษ เขาได้ เ สนอมาตรการส าหรับ ป้ องกัน พิษ จากปรอท ตะกัว่ และก๊ า ซ
คาร์บอนมอนอกไซด์ทค่ี นงานช่างทองได้รบั เข้าไป
ค.ศ. 1493- ค.ศ. 1541 พาราเซลซัส (Paracelsus) หรือ มีช่ ือ เต็ม ว่ า
Aureolus Philippus Theophrastus Bombastus von Hohrenheim พาราเซลซัสเป็ นบุตรของ
แพทย์ชาวสวิส เขาเคยใช้ชวี ติ ในโรงงานหลอมโลหะเป็ นเวลา 5 ปี ได้สงั เกตเห็นอันตรายจาก
การหลอมโลหะและการทาเหมือง ได้เขียนบทความตีพมิ พ์ลงในหนังสือ Von der Bergsucht
Und Anderen Berkrankheiten พาราเซลซัสได้อธิบายถึงโรคทางเดินหายใจ และโรคปอดที่
เกิดขึน้ เนื่องจากคนงานหายใจเอาไอของสารทาร์ทารัส (Tartarous) เข้าไป ซึง่ สารนี้มสี ่วนผสม
ของปรอท กามะถัน และเกลือ หนังสือเล่มนี้ทาให้ชาวยุโรปได้ตระหนักถึงพิษของปรอท และ
รวมถึงพิษของโลหะอื่นๆ ด้วย
ค.ศ. 1633 - ค.ศ. 1714 เบอร์นาดิโน รามัสซิน่ี (Bernardino Ramazzini) ได้รบั การ
ยกย่องว่าเป็ นบิดาแห่งวงการเวชศาสตร์อุตสาหกรรม (Occupational Medicine) ปี ค.ศ. 1700
ได้เขียนบทความพิมพ์ลงในหนังสือ De Morbis Artifcum Diatriba ซึง่ ในขณะนัน้ เขาได้ศกึ ษา
ค้นคว้าอยูท่ ม่ี หาวิทยาลัยโมเดนา และปาดัวในประเทศอิตาลี รามัสซิน่ไี ด้เข้าไปสารวจสภาพการ
ทางานและโรคทีเ่ กิดขึน้ จากการประกอบอาชีพต่างๆ อีกทัง้ ได้เสนอแนะการกาหนดมาตรการใน
การป้ องกันและควบคุมโรคจากการรักษาคนด้วย
ค.ศ. 1885 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และประเทศเยอรมันได้ตรากฎหมายค่าทดแทน
ขึน้ เพราะเกิดปั ญหาเมื่อคนงานประสบอุบตั เิ หตุจะต้องมีการฟ้ องร้อง และจะต้องพิสูจน์ว่าการ
บาดเจ็บนัน้ เกิดจากการทางานหรือ ไม่ ถ้าเกิดจากการขาดความระมัด ระวังของคนงานเอง
คนงานนัน้ อาจจะไม่ไ ด้รบั ค่ าทดแทน ทัง้ ๆที่สภาพการทางานนัน้ ไม่มคี วามปลอดภัย หรือ มี
ความเสีย่ งมากก็ตาม ดังนัน้ ประเทศทัง้ สองจึงได้ตรากฎหมายค่าทดแทนขึน้ ใช้ และอีก 25 ปี
ต่อมา ประเทศต่างๆ ในยุโรปก็ได้ตรากฎหมายค่าทดแทนขึน้ ใช้จนครบทุกประเทศ
ค.ศ. 1976 ประเทศสวีเ ดนถึงแม้ว่าจะจัดให้มกี ารบริการอาชีว อนามัย ตัง้ แต่
ศตวรรษที่ 16 ในโครงการทีเ่ กี่ยวกับเหมืองแร่และอุตสาหกรรมหนัก แต่ได้ออกกฎหมายบังคับ
ใช้ ใ นปี ค.ศ. 1976 เรีย กว่ า พระราชบัญ ญัติค วามปลอดภัย และอาชีว อนามัย 1976
(Occupational Safety and Health Act 1976)
11

ค.ศ. 1977 ประเทศนอร์เวย์ ได้ออกพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการคุม้ ครองแรงงานคน


และสิง่ แวดล้อมในการทางาน (The Worker Protection and Working Environment Act
1977) โดยกาหนดเรื่อ งการให้อานาจผู้แทนฝ่ ายลูกจ้างในการประเมินสภาพอันตรายจาก
สิง่ แวดล้อมการทางานรวมถึงการปรับปรุงแก้ไขด้วย
ค.ศ. 1978 ประเทศแคนาดาได้ประกาศใช้กฎหมายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
เรียกว่า “The Ontario Occupational Health and Safety Act 1978” เนื้อหาหลักได้แก่ เรื่อง
การให้อานาจเจ้าหน้ าที่ของรัฐในการควบคุมสารพิษในสถานประกอบการ ให้นายจ้างจัดตัง้
คณะกรรมการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และลูกจ้างสามารถปฏิเสธการทางาน ถ้ าพบว่า
งานนัน้ อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยได้
2. ความเป็ นมาของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในประเทศไทย
ประเทศไทยได้ร่ว มเป็ น สมาชิกก่ อ ตัง้ องค์ก ารกรรมการระหว่ างประเทศ (ILO :
International Labour Organization) ซึง่ ตัง้ ขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2462 ด้วยประเทศหนึ่งทาให้รฐั บาล
ต้องดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยในการทางานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
รัฐบาลไทย จึงได้มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการขึ้นพิจารณากฎหมายอุตสาหกรรม เพื่อคุ้มครอง
ความปลอดภัยของคนงานในปี พ.ศ. 2470 แต่ไม่ได้ดาเนินการหรือประกาศใช้แต่อย่างใด
พ.ศ. 2471 ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตคิ วบคุมกิจการขายอันกระทบถึงความปลอดภัย
หรือผาสุกแห่งสาธารณชน”
พ.ศ. 2477 ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตสิ าธารณสุข พุทธศักราช 2477”
พ.ศ. 2482 หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มีการตื่นตัวในเรื่อง
แรงงานและความปลอดภัย ในการท างานในโรงงานอุ ต สาหกรรมอย่ า งมาก จึง ได้ ม ีก าร
ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2482” ขึน้ ซึ่งกาหนดมาตรฐานของการทางานใน
โรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอย่างยิง่ เกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของลูกจ้าง
พระราชบัญญัติโรงงานฉบับนี้ไ ด้ก าหนดเงื่อ นไขในการขอตัง้ และประกอบกิจการโรงงานว่า
จะต้องปฏิบตั ติ ามบทบัญญัตเิ กีย่ วกับการรักษาความสะอาดและความปลอดภัยในสถานทีท่ างาน
ความปลอดภัยในการติดตัง้ เครือ่ งจักรกล อุปกรณ์ตลอดจนระบบไฟฟ้ า การป้ องกันอันตรายจาก
วัตถุมพี ษิ วัตถุระเบิด เป็ นต้น กฎหมายนี้ยงั บังคับแก่ “เจ้าของโรงงาน” หรือ “ผูป้ ระกอบกิจการ
โรงงาน” ต้องทารายงานการเกิดอุบตั เิ หตุในโรงงานทุกครัง้ และแจ้งให้กระทรวงอุตสาหกรรม
ทราบด้วย
พ.ศ. 2484 ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตสิ าธารณสุข” ซึง่ มีบทบัญญัตเิ กี่ยวกับแสงสว่าง
การระบายอากาศ น้ าดื่ม ห้องน้ า และสุขภัณฑ์ การกาจัดขยะมูลฝอยและการป้ องกันอันตราย
จากวัตถุมพี ษิ
พ.ศ. 2499 ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตคิ วบคุมการก่อสร้างอาคาร”
12

พ.ศ. 2501 กรมอนามัย ได้ส่งเจ้าหน้ าที่ไปศึกษาดูงานด้านอาชีวอนามัยที่ประเทศ


อินเดีย ประเทศอังกฤษ และประเทศอื่นๆ ในยุโรป
พ.ศ. 2503 ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตโิ รงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2503” แก้ไขเพิม่ เติม
“พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2482” (ปั จจุบนั พระราชบัญญัตโิ รงงานทัง้ สองฉบับคือ ฉบับ
พ.ศ. 2482 และ 2503 ได้ถูกยกเลิกทัง้ หมดแล้วโดย “พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2512” ซึง่
กระทรวงอุตสาหกรรมเป็ นผูถ้ อื ใช้ในปั จจุบนั นี้ โดยมีฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2518) และฉบับที่ 3 (พ.ศ.
2522) แก้ไขเพิม่ เติมต่อมาเป็ นลาดับ
พ.ศ. 2507 กรมอนามัยได้รายงานเหตุการณ์ การแพ้พษิ สารแมงกานีสในโรงงาน
ถ่านไฟฉายแห่งหนึ่ง คนงานแพ้พษิ แมงกานีสในระดับความรุนแรงต่างๆ 41 ราย
พ.ศ. 2508 กรมอนามัยได้เสนอร่างแก้ไขพระราชบัญญัตสิ าธารณสุขเพื่อให้เหมาะสม
กับงานด้านอาชีวอนามัย และเพื่อให้อานาจแก่เจ้าหน้าที่อนามัย ในการให้คาแนะนาแก่โรงงาน
อุตสาหกรรมคณะรัฐมนตรีมมี ติให้กระทรวงสาธารณสุขหาทางให้เจ้าหน้ าที่อนามัยมีสทิ ธิเข้า
ตรวจ แนะนาการปฏิบตั งิ านตามโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อให้ผลดีต่อสุขภาพอนามัยของ
คนงานและกรรมกร
พ.ศ. 2509 สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เริม่ บรรจุโครงการอาชีวอนามัย
เข้าไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514)
พ.ศ. 2510 โครงการอาชีวอนามัยได้เข้ารวมอยู่กบั กองช่างสุขาภิบาล และได้จดั ตัง้ ศูนย์
อาชีวอนามัยภาคกลางขึน้ ที่ตาบลสาโรงใต้ อาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการเป็ นศูนย์
ปฏิบตั งิ าน ดาเนินงานตามแผนพัฒนาในการสารวจวิจยั ภาวะแวดล้อมในโรงงาน ให้บริการอาชี
วอนามัย ให้การศึกษาและฝึกอบรมคนงาน กรรมกร เจ้าของโรงงานต่างๆ
พ.ศ. 2510 ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตวิ ตั ถุมพี ษิ พ.ศ.2510” และมีการแก้ไขเพิม่ เติม
โดย “พระราชบัญญัตวิ ตั ถุมพี ษิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516” บัญญัตเิ กี่ยวกับการเก็บรักษาการขน
ย้ายตลอดจนการใช้วตั ถุมพี ษิ ต่างๆ
พ.ศ. 2511 คณะรัฐมนตรีได้มมี ติให้แต่งตัง้ คณะกรรมการประสานงานอาชีวอนามัย
แห่งชาติข้นึ เพื่อให้หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องได้มกี ารร่วมมือและประสานงานกัน เช่น กระทรวง
อุ ต สาหกรรม กระทรวงมหาดไ ทย กระทรวงสาธารณสุ ข กระทรวงเกษตร และ
ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ เป็ นต้น
พ.ศ. 2512 ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2512” โดยกระทรวงอุตสาหกรรม
(กรมโรงงานอุตสาหกรรม) เป็ นผูป้ ฏิบตั แิ ละบังคับใช้ “พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2512” และ
ฉบับแก้ไขเพิม่ เติมในพ.ศ.2518 (ฉบับที่ 2) ได้บญ ั ญัตถิ งึ การรายงานการเกิดอุบตั ิเหตุในโรงงาน
หน้ าที่ของผู้รบั ใบอนุ ญาตประกอบกิจการโรงงานในการป้ องกันอุ บตั ิเหตุอนั ตรายต่อคนงาน
หลักเกณฑ์และมาตรฐานความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล ไฟฟ้ า แสงสว่าง
13

อาคารโรงงาน สถานที่ทางาน การระบายอากาศ การกาจัดน้ าทิ้ง การป้ องกันอัคคีภยั ตลอด


จนการให้คนงานใช้เ ครื่อ งป้ อ งกันอันตรายส่ว นบุค คลชนิดต่ างๆ ด้วย เป็ นต้น ต่อมาได้ออก
“พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2512” (ฉบับที่ 3) เมือ่ พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2515 ได้มกี ารประกาศใช้ “ประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม
2515” เพื่อเป็ นกฎหมายคุม้ ครองสุขภาพอนามัยลูกจ้าง โดยมีประกาศกระทรวงมหาดไทยต่อมา
หลายฉบับ ได้ประกาศโดยอาศัยอานาจของประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 103 ได้แก่ ความ
ปลอดภัยในการทางานก่อสร้าง เครื่องจักร สภาพแวดล้อม ไฟฟ้ า เป็ นต้น และฉบับล่าสุด ก็คอื
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อ ง ความปลอดภัย ในการท างานของลู ก จ้า ง ลงวัน ที่ 6
พฤษภาคม 2528 ซึง่ กาหนดให้สถานประกอบการบางประเภทต้องมี “เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย
ในการทางาน”
พ.ศ. 2525 รัฐบาลได้จดั ตัง้ “คณะกรรมการป้ องกันอุบตั ภิ ยั แห่งชาติ (กปอ.)” ขึน้ สังกัด
สานัก นายกรัฐมนตรี โดยรัฐบาลได้ต ระหนัก ถึงความรุนแรงของอุ บตั ิภยั ซึ่ง ก่ อ ให้เ กิดความ
เสียหายต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชนคนไทยอย่างมากในปั จจุบนั และมีแนวโน้มว่าจะทวี
ความรุนแรงเพิม่ ขึ้นตามลาดับในอนาคต คณะกรรมการป้ องกันอุบตั ภิ ยั แห่งชาติ (กปอ.) นี้ มี
นายกรัฐมนตรีเ ป็ นประธานและมีผู้บริห ารระดับสูงของหน่ ว ยงานที่เ กี่ยวข้อ งเป็ นกรรมการ
วัตถุประสงค์หลักคือ การกาหนดนโยบายระดับชาติในเรือ่ งนี้ และเป็ นองค์กรกลางในการร่วมมือ
ประสานงานของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
พ.ศ. 2526 กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทยได้รบั ความช่วยเหลือและร่วมมือจาก
องค์การแรงงานระหว่างประเทศในการจัดตัง้ “สถาบันความปลอดภัย”
พ.ศ. 2528 กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทยได้ออกประกาศของกระทรวงมหาดไทย
เรื่องความปลอดภัยในการทางาน ซึ่งระบุว่า นายจ้างที่มลี ูกจ้างในสถานประกอบการของตน
ตัง้ แต่ 100 คนขึน้ ไป จะต้องมีเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน (Safety Officer) เพื่อทา
หน้าที่เกี่ยวกับอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน นับว่าเป็ นกฎหมายทีไ่ ด้รบั ความสนใจ
อย่างกว้างขวาง และมีผลทางปฏิบตั ทิ ม่ี คี วามสาคัญมากฉบับหนึ่ง พ.ศ. 2533 มีการจัดตัง้ สานัก
ประกันสังคมขึน้ ตามพระราชบัญญัตปิ ระกันสังคม พ.ศ. 2533 ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ซึ่ง
ต่อมาสานักประกันสังคมได้โอนไปสังกัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมใน พ.ศ. 2536
พ.ศ. 2535-2537 ได้มกี ารปรับปรุงแก้ไขและออกกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องด้านอาชีวอนามัย
โดยรัฐ บาลได้อ อกกฎหมาย 4 ฉบับ คือ พระราชบัญ ญัติโ รงงาน พ.ศ. 2535 กระทรวง
อุตสาหกรรมได้ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535” โดยยกเลิก “พระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. 2512” ทัง้ หมด กฎหมายว่าด้วยโรงงานฉบับใหม่น้ีมสี าระสาคัญเกี่ยวกับการ
อนุ ญาตโรงงาน การกากับดูแลโรงงาน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มลพิษและสิง่ แวดล้อม
14

และบทลงโทษ พระราชบัญ ญัติว ัต ถุ อ ัน ตราย พ.ศ. 2535 พระราชบัญ ญัติก ารสาธารณสุ ข


พ.ศ.2535 และพระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม พ.ศ. 2535
พ.ศ. 2538 ได้ ม ีก ารออกประกาศกระทรวงแรงงานและสวัส ดิ ก ารสัง คม เรื่อ ง
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างานเพื่อ ให้ก าร
บริหารงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเป็ นทีย่ อมรับและถือ
ปฏิบตั ริ ่วมกันทัง้ ฝ่ ายบริหารและฝ่ ายปฏิบตั กิ าร เป็ นการบริหารจัดการโดยระบบทวิภาคีภายใน
สถานประกอบการ
พ . ศ . 2540 มี ก า ร อ อ ก ป ร ะ ก า ศ ก ร ะ ท ร ว ง แ ร ง ง า น แ ล ะ ส วั ส ดิ ก า ร สั ง ค ม
เรื่อ ง ความปลอดภัย ในการท างานของลูก จ้า ง ก าหนดให้น ายจ้า งจัด ให้ม ีเ จ้า หน้ า ที่ค วาม
ปลอดภัย ในการท างาน (จป.) ในระดับ ต่ า ง ๆ ตามขนาดของสถานประกอบกิจ การ ได้แ ก่
เจ้า หน้ า ที่ค วามปลอดภัย ในการท างานระดับ พื้นฐาน ระดับหัว หน้ า งาน ระดับ บริห าร และ
วิชาชีพ
พ.ศ. 2541 มีการออกกฎหมายสาคัญ คือ พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541
เพื่อปรับปรุงบทบัญญัตติ ่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้แรงงานให้เหมาะสมกับสภาพการทีเ่ ปลี่ยนแปลง
พ.ศ. 2549 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานได้ออกกฎกระทรวงทีส่ าคัญ 2 เรื่อง คือ (1)
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เกี่ยวกับ ความร้อน แสงสว่าง และเสียง (2)
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 กระทรวงแรงงานเตรี ย มออกพระราชบั ญ ญั ติ อาชี ว อนามัย และ
สภาพแวดล้อ มในการท างานเป็ น กฎหมายฉบับ ใหม่เ พื่อ แยกกับ พระราชบัญ ญัติคุ้ม ครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541
พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 16 กรกฎาคม
พ.ศ. 2554 เป็ นต้นมา มีสาระสาคัญ ทีท่ าให้เกิดภารกิจทีต่ ้องเร่งดาเนินการให้เกิดขึน้ และการ
สร้างระบบเพื่อรองรับข้อกาหนดต่างๆ โดยเฉพาะมาตรา 52 ที่กาหนดให้มสี ถาบันส่งเสริม
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ภายในหนึ่งปี นับแต่ วันที่
พระราชบัญ ญั ติ น้ี ใ ช้ บ ัง คับ และอยู่ ภ ายใต้ ก ารก ากั บ ดู แ ลของ กระทรวงแรงงาน โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ซึ่ง
พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัยฯ ดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมให้งานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานในภาพรวมของประเทศดาเนินการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
เกิดผลลัพธ์ทม่ี ปี ระสิทธิผล
15

พ.ศ. 2559 ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่องเกณฑ์การป้ องกันการสะสมของประจุ


ไฟฟ้ าสถิต พ.ศ. 2559 อาศัยอานาจตามความในข้อ 6 แห่งกฎกระทรวงระบบไฟฟ้ าและระบบ
ป้ อ งกันอันตรายจากฟ้ าผ่ า ของสถานที่ประกอบกิจการน้ า มัน พ.ศ. 2556ออกตามความใน
พระราชบัญญัตคิ วบคุมน้ามันเชือ้ เพลิง พ.ศ. 2542 ซึง่ แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตคิ วบคุม
น้ามันเชือ้ เพลิง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2550
พัฒ นาการทางด้า นความปลอดภัย และอาชีว อนามัย มีค วามก้ า วหน้ า มาเรื่อ ย ๆ
เนื่องจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมทัง้ การศึกษามีความกว้างไกลทา
ให้มนุษย์ทุกคนได้รบั ความรู้ ประกอบกับกฎหมายแรงงานทีเ่ ข้มงวดในการดูแล ปกป้ องแรงงาน
หรือลูกจ้างทีท่ างานในสถานประกอบการอย่างเข้มงวด ทาให้พฒ ั นาการงานด้านความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยได้มกี ารออกกฎหมายใหม่ ๆ และคุ้มครองแรงงานให้มคี วามปลอดภัยและ
สุขภาพอนามัยทีด่ ี และให้ความรูเ้ กีย่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัยในการทางานทุกช่องทาง
ทีท่ าให้พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านได้รบั ความรู้ และจัดดาเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิด
ความปลอดภัยและอาชีอนามัยตามกฎหมายและเป็ นความตระหนักของนายจ้าง

ความหมายของความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ในสถานประกอบการเมื่อกล่าวถึงความปลอดภัย และอาชีวอนามัย มักมีความเข้าใจ
ตรงกันว่าเป็ นการกระทา ที่ป ราศจากอันตราย ภัยคุ ก คาม และความไม่มโี รคภัย ด้ว ยความมี
สภาวะสมบูรณ์ทงั ้ ทางร่างกาย จิตใจ และสังคม ดังนัน้ หากสถานทีท่ างานมีการสร้างระบบความ
ปลอดภัย และอาชีวอนามัยที่ดตี ่ อบุคลากรในหน่ วยงาน ย่อมหมายถึง พนักงานผู้ปฏิบตั งิ านมี
สภาวะที่ปราศจากภัยอันตราย บาดเจ็บ และ เจ็บป่ วยทางร่างกาย จิตใจ และสังคมอันเกิดจาก
การประกอบอาชีพ หรือ พ้น จากภัย ที่เ ป็ น ภาวะที่ไ ม่ ป ลอดภัย จากการบาดเจ็บ เจ็บ ป่ วย
ทรัพย์ส ินเสียหายอัน เกิดจากกระบวนการผลิต และการไม่ม ีโรคภัยต่ า ง ๆ จากการท างาน
เป็ นต้น ดังนัน้ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการปฏิบตั ิงานจึงเป็ นสภาพที่ปราศจาก
อุบตั เิ หตุ อันตราย บาดเจ็บ เจ็บป่ วยอันเกิดจากการทางานทัง้ หลายทัง้ ปวง ซึง่ หน่ วยงานต้อง
สร้างระบบและมาตรฐานทีด่ เี พื่อให้บุคลากรผูป้ ฏิบตั งิ านมีความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จึงให้
ความหมายของคาว่า ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตามคานิยามของนักวิชาการ ซึง่ จะแยก
ประเด็นในการอธิบายดังนี้
1. ความหมายของความปลอดภัย ได้มนี กั วิชาการหลายท่านให้ความหมายของคาว่า
“ความปลอดภัย” (Safety) ไว้ดงั นี้
เสนาะ ติเ ยาว์ และ จีร ะ ประทีป (2548, หน้ า 5) ได้ ใ ห้ ค วามหมายค าว่ า
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง การปราศจากภัย หรือสภาพการณ์อนั ปราศจากการประสบ
16

อันตรายอันเนื่องมาจากการอุบตั เิ หตุ และโรคทีเ่ กีย่ วเนื่องมาจากการทางาน ซึง่ ฝ่ ายนายจ้างและ


ลูกจ้างร่วมมือกันดาเนินการให้เกิดความปลอดภัยในสถานประกอบการ
ฉันทนา ผดุงทศ (2549 หน้ า 18) ได้ใ ห้ค วามหมายค าว่ า ความปลอดภัย (Safety)
หมายถึง การกระทาหรือสภาพแวดล้อมในการทางานซึ่งปราศจากภัยอันตราย ประสบเหตุ
อันตราย เจ็บป่ วย หรือความราคาญอันเกิดจากการปฏิบตั งิ าน
องค์การอนามัยโลก (1948) ได้ให้ความหมายคาว่า ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง
สภาพทีป่ ลอดภัยจากอุบตั ภิ ยั ต่าง ๆ อันจะเกิดแก่รา่ งกายชีวติ หรือ ทรัพย์สนิ ในขณะปฏิบตั งิ าน
ในโรงงาน ซึง่ ก็คอื สภาพการทางานทีถ่ ูกต้องโดยปราศจาก “อุบตั เิ หตุ” ในขณะทางาน
อุดมวิทย์ กาญจนวรงค์ (2551, หน้ า 9) ได้ใ ห้ค วามหมายคาว่ า ความปลอดภัย
(Safety) หมายถึง สภาวะที่ปราศจากอุ บตั ิเหตุ ในโรงงาน หรือ สภาวะที่ปลอดภัยจากความ
เจ็บปวด การบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทรัพย์สนิ เสียหาย และความสูญเสียอันเนื่องมาจากกระบวนการ
ผลิตซึง่ การควบคุมจะรวมถึงการป้ องกันไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุในการทางาน และการดาเนินการให้
เกิดการสูญเสียน้อยทีส่ ุดเมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุขน้ึ ในการปฏิบตั งิ าน
กรมสวัส ดิก ารและคุ้ม ครองแรงงาน (2548, หน้ า 2) ได้ใ ห้ค วามหมายค าว่ า ความ
ปลอดภัย (Safety) หมายถึง การปราศจากโอกาสที่จะเกิดภัย โดยเฉพาะภัยที่เกิดจากการ
ทางานหรือการประกอบอาชีพต่าง ๆ
กันยรัตน์ โหละสุต (2555, หน้ า 4) ได้ให้ความหมายคาว่า ความปลอดภัย (Safety)
หมายถึง การกระทาที่ป้อ งกันหรือไม่ทาให้เ กิดความเสีย และเป็ นอันตรายต่ อ สุขภาพ ชีว ิต
ทรัพย์สนิ และสิง่ แวดล้อม
เลิศศักดิ ์ สืบทรัพย์ (2555, หน้า 23) กาหนดว่า ความปลอดภัย หมายถึง การปราศจาก
ภัยหรือพ้นจากอันตรายต่าง ๆ ทัง้ จากโรคต่าง ๆ และอุบตั ภิ ยั อันเกิดจากการทางาน และรวมถึง
ปราศจากอันตรายทีม่ โี อกาสจะเกิดขึน้ ได้ขณะปฏิบตั งิ านในหน้าที่
Fred A Manuele (2003, p.39) ได้ให้ความหมายคาว่า ความปลอดภัย (Safety)
หมายถึง สภาวะที่ปราศจากภัย หรือ พ้นภัย รวมถึงปราศจากอัน ตราย บาดเจ็บ หรือ การ
สูญเสีย และเสียหายทัง้ ทรัพย์สนิ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม
Gary Dessler (2015, p.522) ได้ให้ความหมายคาว่า ความปลอดภัย (Safety)
หมายถึง สภาวะ หรือสภาพทีป่ ราศจากภยันตรายคุกคาม การไม่มอี นั ตราย (Danger) อุบตั เิ หตุ
(Accident) บาดเจ็บ (Injury) สูญเสีย (Loss) และความเสีย่ ง (Risk) ใด ๆ
จากความหมายข้างต้นทีม่ นี กั วิชาการได้ให้ความหมายนัน้ จะเห็นได้ว่า ความปลอดภัย
นัน้ เป็ นเรือ่ งของผูป้ ฏิบตั งิ านจะต้องกระทาให้ตนเองปราศจากภัย อันตราย และการเกิดโรคต่าง ๆ
ทีป่ ฏิบตั งิ านประจา จึงสามารถสรุปได้ว่า ความปลอดภัย หมายถึง การกระทาทีป่ ราศจากความ
เสี่ยงภัยอันตรายใด ๆ จากการทางาน หรือหมายถึง สภาพการทางานที่ปราศจากภัยอันตราย
อุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพลภาพ และเสียชีวติ อันเนื่องมาจากการทางาน
17

2. ความหมายของอาชีวอนามัย การประกอบอาชีพต่าง ๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม


การผลิต และบริการ ล้วนแต่ได้มกี ารนาเทคโนโลยี และความรูใ้ หม่มาใช้เพื่อให้การดาเนินการ
ในกระบวนการผลิตเกิดประสิทธิภาพสูงสุด คือ ได้ผลผลิตทัง้ ปริมาณและคุณภาพให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการของลูกค้า จึงทาให้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร สารเคมี และวัสดุทใ่ี ช้
ในการผลิตมีความรวดเร็ว สะดวก ประสิทธิภาพสูง ทาให้พนักงานผูผ้ ลิตในสถานทีท่ างานในแต่
ละอาชีพนัน้ ในการปฏิบตั ิงานจึงต้อ งมีการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อ มที่เ ป็ นอันตรายลักษณะการ
ปนเปื้ อน สัมผัสโดยตรงจนอาจก่อให้เกิดโรคหรือปั ญหาสุขภาพจากการทางาน ดังนัน้ ปั ญหา
สุขภาพหรือโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพแต่ละหน้ าที่ ผู้ท่ที าหน้าที่ในโรงงาน และรวมถึง
ผูป้ ฏิบตั งิ านเองจาเป็ นต้องตระหนัก เอาใจใส่ และให้ความสาคัญในการดูแลสุขภาพอนามัยใน
การทางาน รวมทัง้ ให้ความร่วมมือร่วมใจในการสร้างความปลอดภัย และอาชีวอนามัยที่ดี ให้ม ี
การป้ องกัน ส่งเสริมให้ผปู้ ฏิบตั งิ านมีสภาวะทีด่ ี ทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
คาว่า “อาชีวอนามัย” จึงมีความหมายในภาษาอังกฤษว่า “Occupational Health” ซึง่ ใน
ภาษาไทยเป็ นคาสมาสระหว่างคาสองคา คือ “อาชีวะ” กับคาว่า “อนามัย” การให้ความหมาย
ของอนามัยนัน้ ก็มคี วามหมายเดียวกันกับคาว่า สุขภาพ หรืออาจรวมเรียกกันว่า สุขภาพอนามัย
ซึง่ ก็หมายถึง สภาวะที่สมบูรณ์ดที งั ้ ร่างกาย ทางจิตใจ และทางสังคมของมนุ ษย์ในปั จจุบนั จึงมี
ค าที่เ กี่ย วข้อ งกับ สุ ข ภาพอนามัย ในทางการจัด การทรัพ ยากรมนุ ษ ย์ เนื่ อ งจากเป็ น หน้ า ที่
รับผิดชอบโดยตรงของฝ่ ายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ ดังนัน้ สามารถ
สรุปคานิยามในแต่ละความหมายได้ดงั นี้
สุ ด าว เลิศ วิสุ ท ธิไ พบู ล ย์ (2553, หน้ า 6) ได้ใ ห้ค วามหมายของค าว่ า อาชีว ะ
(Occupational) หมายถึง อาชีพ การเลี้ย งชีว ิต การท ามาหากิน งานที่ท าเป็ น ประจ าเพื่อ
เลีย้ งชีพ
องค์ก ารอนามัย โลก (1948) ได้ใ ห้ค วามหมายของค าว่ า “อาชีว ะ” (Occupational)
หมายถึง งานที่เ กี่ยวข้อ งกับการควบคุ มดูแ ล สุ ข ภาพอนามัย ของผู้ประกอบอาชีพ ทัง้ หมด
เป็ นงานที่เกี่ยวข้องกับการป้ องกันและส่งเสริมสุขภาพอนามัย รวมทัง้ การดารงคงไว้ซ่งึ สภาพ
ร่างกาย และจิตใจทีส่ มบูรณ์ของผูป้ ระกอบอาชีพทุกอาชีพ
องค์การอนามัยโลก (2015) ได้ให้ความหมายของคาว่า “อนามัย” (Health) หมายถึง
ความไม่มโี รค สภาวะที่พร้อ มหรือสมบูรณ์ ดที งั ้ ทางร่างกาย (Physical Health) ทางจิตใจ
(Mental Health) ทางสังคม (Social Health) และ จิตวิญญาณ (Spirit Health)
จากความหมายของค าดังกล่ าวข้างต้ น เมื่อ นามารวมกันระหว่าง“อาชีว ะ” กับค าว่า
“อนามัย” มารวมกันเป็ นคาว่า “อาชีวอนามัย” (Occupational Health) ซึ่งมีนักวิชาการของ
องค์การอนามัยโลก ได้ให้ความหมายของคาว่า “อาชีวอนามัย ” หมายถึง งานที่เกี่ยวกับการ
ส่งเสริม ควบคุม ดูแล การป้ องกันโรค ตลอดจนอุบตั เิ หตุ และดารงชีพรักษาสุขภาพอนามัยทัง้
18

มวลของผู้ประกอบอาชีพ ให้มคี วามปลอดภัย มีส ภาพร่างกายที่ส มบูรณ์ แข็งแรง และจิตใจที่


สมบูรณ์แข็งแรง รวมทัง้ มีสภาพทางสังคมทีด่ ดี ว้ ย
รวมทัง้ ยังมีนักวิชาการได้สรุปความหมายของคา 2 คารวมกันอีกว่า อาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย (Occupational Health and Safety) สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์ (2553, หน้า 6)
ได้สรุป ไว้ว่า อาชีวอนามัยและความปลอดภัย หมายถึง การดูแลสุขภาพอนามัย และความ
ปลอดภัย ของผู้ป ระกอบอาชีพ ซึ่ง รวมถึง การป้ อ งกัน อัน ตรายและส่ ง เสริม สุ ข ภาพอนามัย
เพื่อคงไว้ซ่งึ สภาพร่างกายและจิตใจทีส่ มบูรณ์ ตลอดจนสถานะความเป็ นอยู่ทด่ี ขี องผู้ประกอบ
อาชีพทัง้ มวล
พระราชบัญ ญัติ ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทางาน
พ.ศ. 2554 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตนิ ้ี “ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน” ได้ให้หมายความไว้ว่า การกระทา หรือสภาพการทางาน ซึง่ ปลอดจากเหตุอนั จะทา
ให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวติ ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัยอันเนื่องจากการทางาน
หรือเกีย่ วกับการทางาน
จากความหมายดังกล่าวล้วนแต่ อ ธิบายถึงอาชีวอนามัย ว่าเป็ นสภาวะที่ส มบูรณ์ ทงั ้
ร่ า งกาย จิต ใจ อารมณ์ และสัง คมดี อัน เป็ นผลจากการท างาน ในหน้ า ที่ หากพนั ก งาน
ผูป้ ฏิบตั งิ านในองค์การมีสุขภาวะทีด่ ี ย่อมสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลมาจาก
องค์การมีความตระหนักเอาใจใส่ในการดูแล ป้ องกันก่อนที่เกิดการเจ็บป่ วยหรือบาดเจ็บ โดย
ไม่ได้คานึงถึงข้อบังคับของกฎหมายใด ๆ แต่ปฏิบตั ติ ่อพนักงานในองค์การด้ วยความหวงแหน
และเห็นคุณค่าของทรัพยากรมนุษย์ขององค์การเป็ นสาคัญนันเอง ่ จึงสรุปได้ว่า
อาชีวอนามัย หมายถึง งานทีเ่ กี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้
ประกอบอาชีพ หรือ การส่งเสริม ควบคุมดูแล ป้ องกันโรค และการกระทาให้ผปู้ ระกอบอาชีพใน
ตาแหน่ งต่าง ๆ ให้ปราศจากเหตุทจ่ี ะก่อให้เกิดอันตรายเจ็บป่ วยบาดเจ็บต่อร่างกาย จิตใจ และ
สังคม จากการประกอบอาชีพในหน่วยงานนัน้ ๆ
3. องค์ประกอบของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การผลิต สิน ค้า และบริก าร ในองค์ก ารทัง้ ภาคอุ ต สาหกรรมการผลิต พาณิช ยกรรม
บริการ และการเกษตร นับว่า งานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มีความสาคัญเป็ นอย่าง
มาก เนื่องจากมีองค์ประกอบในการดาเนินงานที่มคี วามซับซ้อน และหลากหลาย เริม่ ตัง้ แต่ม ี
การเตรียมคน วัตถุดบิ เครื่องมือ เครื่องจักร การจัดการ เพื่อนามาเข้าสู่กระบวนการผลิต และ
สิง่ ทีห่ ลีกไม่ได้คอื สิง่ แวดล้อมในการทางาน เป็ นต้น สามารถสรุปองค์ประกอบทีส่ าคัญ ดังนี้
3.1 คน นับว่าเป็ นปั จจัยทางการผลิตทีส่ าคัญ เนื่องจากคนเป็ นทรัพยากรมนุ ษย์ทม่ี ี
คุ ณ ค่ า ของโลก คนมีค วามคิ ด ริเ ริ่ม สร้ า งสรรค์ ส ิ่ง ใหม่ ๆ คนมีชี ว ิ ต จิต ใจ ดัง นั ้น ผู้ ท่ี ม ี
ความสามารถในการปฏิบตั งิ านที่แตกต่างกันตามความถนัด ความชอบ และสนใจในงานทีต่ ้อง
19

ทา จึงทาให้หน้าที่ท่ปี ฏิบตั งิ านทัง้ หลายมีความแตกต่างกัน เช่น ความรู้ ทักษะ ความสามารถ


ลักษณะ (สภาพ) ร่างกาย พันธุกรรม เชือ้ ชาติ ศาสนา ความเชื่อ อารมณ์ และทัศนคติ เป็ นต้น
3.2 กระบวนการผลิ ต ในอุตสาหกรรมการผลิต กระบวนการผลิตมีความสาคัญที่
เกี่ยวกับงานความปลอดภัยและอาชีว อนามัย เนื่อ งจาก มีค วามซับซ้อนในขัน้ ตอนการผลิต
ตัง้ แต่การเตรียมวัตถุดบิ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร การติดตัง้ อุปกรณ์ทท่ี นั สมัย พร้อม
ทัง้ ความปลอดภัยทัง้ เครื่องจักร สารเคมี ดังนัน้ ในกระบวนการผลิตมีความเกี่ยวข้องกัน 2 ส่วน
คือ
3.2.1 วัตถุดบิ ที่ใช้ในการผลิต โดยเฉพาะในปั จจุบนั วัตถุดบิ ที่นามาใช้มคี วาม
ทันสมัยทาให้อ าจจะเป็ นพิษต่ อสุ ขภาพได้ ถึงแม้ว่าคนมีค วามรู้มากขึ้นเพียงใดก็ต ามและ
กฎหมายมีการควบคุมตรวจสอบเป็ นอย่างดีก็ตาม หากแต่ผู้ปฏิบตั งิ านขาดการตระหนักใส่ใจก็
ยิง่ อาจทาให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน
3.2.2 วิธกี ารผลิต การดาเนินการผลิตอาจมีอนั ตรายในการทางานเกิดขึน้ ได้ใน
วิธกี ารทีผ่ ปู้ ฏิบตั เิ ร่งรีบให้ทนั เวลา รวมทัง้ ความต้องการให้ตนเองง่าย สะดวก สบายจึงทาให้เกิด
ความผิดพลาดในการผลิตเป็ นอันตรายบาดเจ็บ และเจ็บป่ วยได้
3.3 อุปกรณ์ เครื่องมือ และเครื่องจักร สิง่ เหล่านี้มคี วามจาเป็ นในกระบวนการ
ผลิตยิง่ อุต สาหกรรมการผลิต หนักยิง่ ต้องมีเครื่องจักรที่ทนั สมัยและก าลังการผลิต สูง ดังนัน้
ระบบการติดตัง้ การซ่อมบารุง การรักษา และการใช้ต้องอาศัยความรู้ทางเทคนิคเฉพาะด้าน
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานของผูป้ ฏิบตั งิ าน ส่วนผูป้ ฏิบตั งิ านก็ต้องมีความรู้ ทักษะ
ในการใช้อุปกรณ์เครือ่ งมือ เครือ่ งจักรด้วย
3.4 สิ่ งแวดล้อมในการทางาน สภาพแวดล้อมในการทางานเป็ นส่วนหนึ่งที่
ทาให้ผู้ปฏิบตั งิ านมีความปลอดภัยในการทางาน ในขณะเดียวกัน อุบตั เิ หตุ และการเจ็บป่ วยใน
การท างานส่ ว นหนึ่ ง ก็ ม าจากสภาพแวดล้ อ มในการท างานที่ไ ม่ เ หมาะสม ไม่ คุ้น เคยกับ
สภาพแวดล้ อ ม ดัง นั ้น สภาพแวดล้ อ มในการท างานจึง มี อ งค์ ป ระกอบที่ ส าคัญ ดัง นี้
3.4.1 สภาพแวดล้อมทางเคมี ซึ่งเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวติ ประจาวันในการ
ทางานของผูป้ ฏิบตั งิ านทีม่ กี ารสัมผัสโดยตรง และโดยอ้อม ได้แก่ ฝุ่ นละออง ฟูม เส้นใย สารไอ
ระเหย ก๊าซ หมอกควัน เป็ นต้น
3.4.2 สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ ซึ่งผู้ปฏิบตั งิ านเกิดการสัมผัสกับสิง่ ที่
ก่ อ ให้เ กิด ความผิด ปกติข องร่า งกาย หรือ ท าให้ม ีอ าการเจ็บ ป่ วยเกิด ขึ้น ความรุ นแรงของ
อันตรายขึน้ อยูก่ บั เชือ้ โรค วิธที ส่ี มั ผัส ความรุนแรงของเชือ้ เวลาในการสัมผัส เช่น เชือ้ ไวรัส เชือ้
แบคทีเรีย เชือ้ รา เชือ้ โรคจากหนูเป็ นพาหะ แมลงต่างๆ เป็ นต้น
3.4.3 สภาพแวดล้อมด้านจิตใจ พัฒนาการทางจิตใจเป็ นขบวนการทีส่ าคัญยิง่
ในชีวติ มนุษย์ ทีค่ วบคู่มากับการพัฒนาการทางร่างกาย มนุ ษย์แต่ละคนทีเ่ กิดขึน้ มาควรมีโอกาส
20

ได้พฒ ั นาทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ ให้เต็มศักยภาพที่ได้รบั มาตามธรรมชาติ ในการประกอบ


อาชีพ ต่ า ง ๆ สภาพแวดล้อ มทางจิต ใจ เราทุ ก คนได้ ร ับ ทัง้ ด้ า นดีแ ละไม่ ดี หากได้ อ ยู่ ใ น
สภาพแวดล้อมทีด่ กี ็จะทาให้จติ ใจได้รบั การ เช่น ความเอื้ออาทร ความรักห่วงใย ความมีน้ าใจ
ความสวยงาม ทัศนียภาพ เป็ นต้น
3.4.4 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ ดิน น้า ภูมอิ ากาศ เป็ นตัวกาหนด
ชนิดของอาหารทีจ่ ะสามารถผลิต เช่น มลพิษเสียง ความร้อน รังสี ฯลฯ
จากองค์ ป ระกอบของความปลอดภัย และอาชีว อนามัย ในการท างานของสถาน
ประกอบการจะมีอ งค์ ป ระกอบที่ส าคัญ มีค วามเกี่ย วข้อ งกัน โดยลัก ษณะของการท างาน
ผูป้ ฏิบตั งิ าน งานในหน้าทีท่ ต่ี อ้ งปฏิบตั ิ อุปกรณ์ เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร และสภาพสิง่ แวดล้อม
ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ดังมีองค์ประกอบเกีย่ วข้องกัน ดังภาพที่ 1.1

วัสดุอปุ กรณ์ เครื่องมือ


เครื่องจักร

กระบวน
การผลิ ต
ความปลอดภัย
อาชีวอนามัย

คน

สิ่ งแวดล้อมใน
การทางาน

ภาพที่ 1.1 องค์ประกอบของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย


21

จากความหมายดังกล่าวข้างต้น ให้ความเห็นว่า เป็ นสภาพการณ์ท่ปี ราศจากความไม่


เจ็บป่ วย หรืออันตรายใด ๆ จากการปฏิบตั งิ าน จึงสรุปได้ว่า ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
(Safety and Occupational Health) หมายถึง สภาพการณ์ทป่ี ราศจากภัยอันตรายใด ๆ ทีเ่ กิด
จากการปฏิบตั ิงานไม่ว่าจะเป็ นบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพลภาพ และเสียชีว ิต รวมทัง้ ดูแลรักษา
สุขภาพหรือสภาวะร่างกายของผูป้ ระกอบอาชีพให้มคี วามปลอดภัยมีร่างกายทีส่ มบูรณ์ มีจติ ใจที่
เข้มแข็ง และมีสภาพสังคมทีม่ คี วามสุขในการดารงชีวติ
ดังนัน้ การที่จะสร้างระบบความปลอดภัยขึ้นได้จาเป็ นที่จะต้องเข้าใจเกี่ยวกับความ
ปลอดภัย และอาชีว อนามัย เพื่อ ให้ผู้บ ริห ารในสถานประกอบการได้ห าแนวทางวิธ ีการที่ดี
ทันสมัยมาดาเนินงานในการป้ องกัน ส่งเสริมสนับสนุ นให้เกิ ดความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ให้ ก ับ ผู้ ป ฏิบ ัติ ง าน ดัง นั ้น ผู้ ป ฏิบ ัติ ง านหรือ ผู้ ป ระกอบอาชีพ ในต าแหน่ ง ต่ า ง ๆ ในทุ ก
อุตสาหกรรมทัง้ การผลิต และบริการ พาณิชยกรรม ก่อสร้าง รวมทัง้ อาชีพอื่น ๆ ย่อมได้รบั การ
เอาใจใส่ดูแลเป็ นอย่างดี เนื่องจากการจัดการทรัพยากรมนุ ษย์เป็ นหน้าที่สาคัญทีผ่ ู้บริหารต้อง
ก าหนดนโยบายอย่ า งชัด เจน โดยเฉพาะความปลอดภัย และอาชีว อนามัย ในการท างาน
ผูเ้ กี่ยวข้องจาเป็ นต้องรูจ้ กั ความหมายและเข้าใจกับความหมายเหล่านี้ ซึง่ เสนาะ ติเยาว์ และ
จีระ ประทีป (2548, หน้า 5) ได้สรุปไว้ดงั นี้
ภัย (Hazard) หมายถึง สภาพการณ์ซง่ึ มีแนวโน้มทีจ่ ะก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรือสูญเสีย
ต่อร่างกาย หรือทรัพย์สนิ หรือกระทบกระเทือนต่อขีดความสามารถในการปฏิบตั งิ านความปกติ
ของบุคคล
อันตราย (Danger) หมายถึง ระดับความรุนแรงที่เป็ นผลเนื่องมาจากภัย ความรุนแรง
ของภัยจะมีมากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั มาตรการและเครือ่ งมือในการป้ องกัน
ความเสียหาย (Damage) หมายถึง ความสูญเสียและบาดเจ็บทางด้านร่างกาย ด้าน
จิตใจ ด้านสังคม และทรัพย์สนิ ซึง่ จะมีมากถ้าหากมีการควบคุมภัยน้อย
อุบตั ิเหตุ (Accident) หมายถึง เหตุ การณ์ ท่เี กิดขึ้นโดยมิได้คาดการณ์ ไว้ล่วง ซึ่งเมื่อ
เกิดขึน้ แล้ว จะก่อให้เกิดความเสียหาย และเป็ นอันตรายทัง้ ทางทรัพย์สนิ และชีวติ ได้ รวมทัง้
หากเกิดเหตุการณ์น้ขี น้ึ จะทาให้การดาเนินการหยุดชะงักลงทันที
อุบตั กิ ารณ์ (Incident) หมายถึง เหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ โดยไม่คาดคิดเป็ นเหตุนาไปสู่การ
เกิดอุบตั เิ หตุ (Accident) หรือเกือบเกิดอุบตั เิ หตุ (Near Miss)
เหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั ิเหตุ (Near Miss) หมายถึง เหตุการณ์ไม่พงึ ประสงค์เมื่อ
เกิดขึ้นแล้วมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดเป็ นอุบตั ิเหตุ หรือเกือบได้รบั บาดเจ็บ เจ็บป่ วย เสียชีวติ
หรือความสูญเสียต่อทรัพย์สนิ สภาพแวดล้อมทางชีวภาพและกายภาพ
จากความหมายข้า งต้น ที่ม ีนัก วิช าการได้ส รุป ไว้นั ้ น ล้ว นแล้ว แต่ เ ป็ น เหตุ ก ารณ์ อ ัน
ก่ อ ให้ เ กิ ด การกระท าที่ไ ม่ ป ลอดภัย ในการท างานอัน เกิ ด จากการกระท าที่ไ ม่ ป ลอดภัย
22

สภาพแวดล้อมของงาน และบุคคล ด้วยกันทัง้ สิน้ บุคคลจึงต้องให้ความสนใจในอันตรายอันที่


เกิดขึน้ จากการทางานเป็ นอย่างดี

ความสาคัญของความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยนับว่ามีความสาคัญต่อชีวติ มนุ ษย์ในแต่ละสาขาอาชีพ
ทุกตาแหน่ งงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาคอุตสาหกรรมการผลิต พาณิชยกรรม งานบริการ และ
งานประมง เกษตรกรรม กสิกรรม ซึง่ มีการใช้เครื่องจักรกล เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้ า และเครื่อง
ทุ่นแรงต่าง ๆ จานวนเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ ดังนัน้ แรงงานคนซึ่งต้องสัมผัสกับลักษณะการทางาน
เหล่านัน้ อย่างใกล้ชดิ และตลอดเวลา โอกาสในการเกิดอันตราย บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยในการ
ทางานก็ย่อมเกิดขึน้ ได้เสมอ ซึ่งผลสถิตทิ ่รี วบรวมโดยสานักงานประกันสังคม กองทุนทดแทน
พบว่า ผูป้ ระสบอันตราย และเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางานเป็ นจานวนมากในแต่ละปี ซึง่ มี
การเปิ ดเผยจากปลัดกระทรวงอุ ต สาหกรรม ได้รบั ข้อ ร้อ งเรียนที่จงั หวัดระยองซึ่งเป็ นพื้น ที่
ที่มอี ุ ต สาหกรรมการผลิต จ านวนมาก ได้มรี ายงานเกิด เหตุ ฉุ ก เฉิ นจากการประกอบกิจ การ
โรงงาน มีจานวน 197 เรื่อง จาก 42 จังหวัด หรือเฉลี่ย 16 เรื่องต่อเดือนโดยเกิดจากปั ญหา
เพลิงไหม้มากทีส่ ุด รองลงมาคือ อุบตั เิ หตุจากการทางานสารเคมีรวไหล ั่ การชุมนุ มคัดค้านการ
ตัง้ โรงงาน เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ระเบิด เป็ นต้น จากผลการรายงานใน ปี 2558 มีเหตุฉุกเฉิน
โรงงานปี น้ียงั ทาให้มผี ู้เสียชีวติ รวมทัง้ สิ้น 27 คน บาดเจ็บ 81 คน คิดเป็ นมูลค่าความเสียหาย
ของทรัพย์สนิ ราว 992 ล้านบาท โดยสาเหตุหลักเกิดเพราะอุบตั เิ หตุจากการทางาน เครื่องจักร
และอุปกรณ์ระเบิด และเพลิงไหม้ ซึ่งจังหวัดที่มกี ารเกิดเหตุฉุกเฉินสูงที่สุด คือ จังหวัดระยอง
19 เรื่อ ง กรุงเทพฯ ชลบุร ี และสมุ ทรปราการ จังหวัดละ 17 เรื่อง และ นครปฐม 15 เรื่อ ง
สาหรับจังหวัดทีไ่ ม่มเี หตุฉุกเฉินเลย มีทงั ้ สิน้ 35 จังหวัด หรือคิดเป็ นร้อยละ 45 ของทัง้ หมดของ
ประเทศ (กรุงเทพธุรกิจ, 2558, หน้ า 6) จากเหตุการณ์รายงานดังกล่าว ทาให้นายจ้างต้อง
ตระหนักและเห็นความสาคัญของการจัด ระบบความปลอดภัยและอาชีอนามัยในการทางานที่ดี
มีวธิ กี ารป้ องกัน กากับ ดูแล และส่งเสริมให้เหมาะสมอาจจะทาให้การดาเนินธุรกิจเป็ นไปอย่าง
ราบรื่น ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ทาให้เกิดกาไรมากขึน้ สร้างความเป็ นธรรมให้กบั
พนักงาน และสร้างภาพลักษณ์ท่ดี ตี ่อองค์การในสายตาลูกค้า จึงสามารถสรุปความสาคัญของ
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ดังนี้
1. ช่วยส่งเสริ มให้ผลผลิ ตเพิ่ มสูงขึ้น และสร้างประโยชน์ ให้ เศรษฐกิ จของประเทศ
ช่วยส่งผลให้ต้นทุนทางการผลิตสินค้าและบริการลดลง หรือช่วยลดความสูญเสียกิจการของ
นายจ้างอันเนื่องจากการเกิดอุบตั เิ หตุ หากองค์การมีระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีว -
อนามัยที่ดี ก็ย่อมทาให้ การเกิดอุบตั ิเ หตุ ลดลง หรือ แทบจะไม่เ กิดขึ้นเลย ความสูญ เสียหรือ
ค่าใช้จา่ ยสาหรับการเกิดอุบตั เิ หตุกน็ ้อยลงตามลาดับ สถานประกอบการสามารถประหยัดเงินค่า
23

รัก ษาพยาบาล การสมทบกองทุ น ทดแทนก็จ ะได้ล ดลงในปี ถ ัด ไปได้ รวมทัง้ เป็ นผลดีใ น
ภาพลักษณ์ขององค์การด้านการบริหารจัดการควบคุมความปลอดและอาชีวอนามัยได้ และการ
ทางานของพนักงานมีความปลอดภัยมากเท่าไหร่ก็ย่อมส่งผลให้เกิดขวัญกาลังใจดี ส่งผลผลิต
โดยรวมให้สงู ขึน้ ได้
2. ช่วยทาให้เกิ ดกาไรมากขึ้น เนื่องจากต้นทุนลดลงย่อมส่งผลให้ผลผลิตเพิม่ ขึน้ เป็ น
เหตุให้ผลการดาเนินกิจการได้กาไรมากขึน้ เนื่องจาก กาไร = รายได้ – รายจ่าย ทาให้สถาน
ประกอบการสามารถให้ผลตอบแทน และเพิม่ สวัสดิการต่าง ๆ ให้กบั พนักงานได้เป็ นการกระตุ้น
และจูงใจให้พนักงานเกิดความตระหนักในการทางานให้เกิดความปลอดภัยอย่ างสม่าเสมอและ
ต่อเนื่อง
3. ช่ วยป้ องกันและควบคุมให้ เกิ ดสภาพความปลอดภัยในการทางาน หากสภาพ
การทางานมีความปลอดภัยโดยการจัดสถานที่เหมาะสม ติดตัง้ เครื่องมือเครื่องจักรที่มคี วาม
ปลอดภัย มีการตรวจสอบเป็ นระยะ ๆ ตามกาหนด พร้อมทัง้ การฝึ กอบรมพนักงานเป็ นประจา
สม่ าเสมอไม่ว่าจะเริม่ งานใหม่ หรือพนักงานเก่าที่ปฏิบตั ิงานอยู่แล้ว ก็ย่อมหมายถึงการช่วย
ป้ องกัน และควบคุมให้สภาพการทางานมีความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่ดใี ห้กบั บุคลากร
4. ช่วยลดผลกระทบทางสังคมที่ตามมาหลังจากการประสบอันตรายและเจ็บป่ วย
อันเกิ ดจากการทางาน ในกรณีท่หี วั หน้าครอบครัวประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยจนเสียชีวติ
ทุพ ลภาพ ไม่สามารถปฏิบตั ิงานได้ก็ทาให้ขาดรายได้ใ นการดูแลครอบครัว ขาดเสาหลักใน
ครอบครัว บันทอนสุ่ ขภาพจิตใจของคนในครอบครัวขาดกาลังใจ ลูกหลานต้องเสียโอกาสที่จะ
ศึก ษาเล่ าเรียน ทาให้ครอบครัว ประสบปั ญหาต่ าง ๆ ตามมา หากให้ค วามสาคัญ ด้านความ
ปลอดภั ย และอาชี ว อนามั ย ในการท างานกั บ ผู้ ป ฏิ บ ั ติ ง านก็ จ ะช่ ว ยลดผลกระทบได้
5. ช่ วยธารงรักษา และสงวนรักษาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ สภาพแวดล้อม
การทางานทีม่ คี วามปลอดภัย ส่งผลต่อการลดอุบตั เิ หตุในการทางาน พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านก็จะ
มีค วามปลอดภัย และสุ ข ภาพที่ดีใ นการด ารงชีว ิต ท าให้จูง ใจ และสร้า งขวัญ ก าลัง ใจให้
ผู้ป ฏิบ ัติง านต้อ งการท างานอยู่อ งค์ก ารไปนานเท่ า นาน เนื่ อ งจากระบบการจัด การความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยดี ผู้ปฏิบตั ิงานก็ทาให้ บาดเจ็บ หรือตายน้ อยลง จึงเป็ นการสงวน
รักษาทรัพยากรมนุษย์ทส่ี าคัญของชาติไว้ได้
6. ช่ วยในการสร้างความเป็ นธรรมให้ กบั พนักงานในการจ้างงาน ไม่ขดั ต่ อหลัก
มนุษยธรรมในการประกอบธุรกิ จ การดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็ น
เรื่องที่นายจ้างต้องกระทาให้ผู้ปฏิบตั งิ านมีความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย เพื่อเป็ นไปตาม
หลักมนุษยธรรม คุณธรรมสาหรับการประกอบการของนายจ้างด้วย ดังนัน้ นายจ้างต้องมีหน้าที่
ดูแล กากับ ควบคุมและปกป้ องคุ้มครองลูกจ้าง โดยมีการกากับดูแลสถานที่ทางานให้มคี วาม
ปลอดภัยและป้ องกันอันตรายในการทางาน เช่น อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายในการทางาน
24

การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย จัดสถานที่ เครื่องมือ เครื่องจักร ให้ถูกต้อง และ


สภาพแวดล้อมในการทางานทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ นายจ้างต้องมุง่ คานึงถึงคนไปด้วยกันกับผลผลิต
และผลก าไรไปพร้อ มๆ กัน เพื่อ สร้างภาพลักษณ์ ใ ห้ส ินค้าและบริการเป็ นที่ยอมรับ และลด
ปั ญหาการถูกกีดกันทางการค้าจากนานาประเทศ
7. เป็ นการสร้างแรงจูงใจในการทางานให้กบั พนักงาน นับเป็ นปั จจัยในการจูงใจที่
สาคัญของมนุ ษย์ด้านความปลอดภัยในการดารงชีวติ และการทางานเป็ นไปตามพื้นฐานของ
มนุ ษ ย์ต ามแนวคิด นัก จิต วิท ยา โดยมาสโลว์ นัก จิต วิท ยาที่เ ป็ น เจ้า ของทฤษฎีล าดับ ความ
ต้องการมนุ ษย์ (Maslow’s Hierarchy of Needs Theory) คนงานจะมุ่งการตอบสนองความ
ต้องการสภาพแวดล้อมการทางานที่ปลอดภัยก่อน ก่อนที่จะถูกจูงใจให้มุ่งไปสู่การตอบสนอง
ความต้องการที่สูงขึ้นต่อไป ดังนัน้ การจัดสภาพแวดล้อมในการทางานที่ดี จึงเป็ นเครื่องมือ
ทางการบริหารงานหนึ่งทีเ่ ป็ นการจูงใจให้มคี วามอยากทางานในองค์การนัน้ ๆ ซึง่ ความต้องการ
ความปลอดภัยจะหมายถึงความต้อ งการสภาพแวดล้อ มที่ปลอดภัย ปราศจากอันตรายทาง
ร่างกายและจิตใจด้วย
ผลกาไรของธุรกิจจะเกิดขึ้นได้จากปั จจัยหลายอย่างโดยเฉพาะอย่างยิง่ หากพนักงาน
ปฏิบตั ิงานด้ว ยความปลอดภัย และมีสุ ขภาพอนามัย ที่ดีท งั ้ ร่า งกาย จิต ใจ สัง คม เนื่อ งจาก
พนักงานจะมีพลัง แรงจูงใจ ขวัญกาลังใจ และสติปัญญาในการสร้างสรรค์คดิ นวัตกรรมใหม่ ๆ
ให้องค์การ ในขณะเดียวกันองค์การได้มกี ารจัดสภาพแวดล้อม เครื่องมือ เครื่องจักรที่มคี วาม
ปลอดภัยให้กบั พนักงานก็ยงิ่ ทาให้ช่วยเพิม่ ผลิตในการทางาน ลดต้นทุนด้านการบาดเจ็บหรือ
เจ็บป่ วยจากการทางาน หน่วยงานทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยจาต้อง
ให้ความสาคัญเป็ นอย่างยิง่

วัตถุประสงค์ของความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

การประกอบกิจการงานใด ๆ ในสถานประกอบการไม่ว่าจะเป็ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่


ขนาดกลาง และขนาดย่อ ม รวมกระทังการมี ่ บุค ลากรตัง้ แต่ 1 คนขึ้นไปกฎหมายย่อ มมีข้อ
กาหนดให้ดูแลควบคุ มก ากับ งานด้านความปลอดภัยและอาชีว อนามัย ให้เ ป็ นไปด้วยความ
เรียบร้อยปลอดภัยแก่บุคลากรผูป้ ฏิบตั งิ าน ดังนัน้ การจัดการทรัพยากรมนุ ษย์ซ่งึ มีหน้าที่ดูแล
ส่งเสริม สนับสนุ น และรักษาไว้ซ่งึ ทรัพยากรมนุ ษย์ท่มี คี ุณค่า ต้อ งอาศัยกลยุทธ์ใ นการปรับ
สภาพงานให้เหมาะสมกับมนุ ษย์และจัดบุคคลให้เหมาะสมกับงานที่ตนถนัดและรับผิดชอบ ซึ่ง
งานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมีวตั ถุประสงค์ทส่ี าคัญดังนี้
1. เพื่อส่งเสริมและรักษาสุขภาพทางกาย ทางใจ และการมีชวี ติ เป็ นปกติในสังคมของ
คนงานทุกอาชีพ ให้สามารถดารงชีวติ ทีจ่ ะปฏิบตั งิ านให้เกิดผลผลิตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ รวมทัง้ เป็ นการ
25

รักษาให้บุคลากรหรือพนักงานของตนเองเป็ นผู้ทต่ี ระหนักถึงความปลอดภัยตลอดเวลาในการ


ปฏิบตั ิงานในหน้ าที่ และผู้ท่มี ีห น้ าที่ดูแลก ากับ ควบคุ มพนัก งานมีการอ านวยความสะดว ก
จัด หา ให้ ค าแนะน า ให้ ค วามรู้ และช่ ว ยเหลือ ให้ ม ีค วามปลอดภัย และอาชีว อนามัย ที่ดี
2. เพื่อป้ องกันความเสีย่ งต่อปั จจัยที่อาจจะทาให้เกิดปั ญหาสุขภาพของคนงาน การ
ทางานในปั จจุบนั พนักงานต้องเสี่ยงต่อสุขภาพในการทางานสูงเนื่องจาก ความก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์ค่อนข้างเจริญอย่างรวดเร็วเพื่อให้การผลิตสินค้าและบริการเกิดความรวดเร็วทันกับ
ความต้อ งการจนลืม นึ ก ถึง สุ ข ภาพอนามัย ที่ดี ดัง นัน้ ผู้บ ริห ารมีแ นวทาง หรือ การก าหนด
แนวทางในการป้ องกันความเสีย่ งต่อโรคภัยต่าง ๆ ที่เกิดจากการทางาน ซึง่ เป็ นปั จจัยส่งผลต่อ
ปั ญหาสุขภาพอนามัยของพนักงาน เช่น มีการจัดฝึ กอบรมให้พนักงานใหม่และพนักงานเก่า
ได้รบั ความรูเ้ กี่ยวกับการป้ องกัน วิธกี ารควบคุมมิให้เกิดการเจ็บป่ วยอันเกิดจากการทางาน จัด
ให้มกี ารดูแลสุขภาพให้เป็ นผูท้ แ่ี ข็งแรง เป็ นต้น
3. เพื่อป้ อ งกันการเกิดปั ญ หาสุ ขภาพทัวไปจากสภาพแวดล้
่ อ มในการทางานของ
พนักงาน หรือลูกจ้าง สภาพแวดล้อมในการทางานเป็ นสิง่ สาคัญต่อสภาพการทางาน หน้าทีข่ อง
พนักงานทีป่ ฏิบตั งิ าน หากจัดให้มสี ภาพแวดล้อมทีด่ เี หมาะสมในการปฏิบตั งิ าน ก็ย่อมแสดงให้
เห็น ว่ า หน่ ว ยงานมีก ารป้ อ งกัน ไม่ ใ ห้พ นั ก งานเกิด อัน ตราย บาดเจ็บ และเจ็บ ป่ วยในการ
ปฏิบตั งิ าน
4. เพื่อปรับปรุงสิง่ แวดล้อมในการทางานที่เหมาะสมเอื้อต่อการทางานทัง้ ร่างกายและ
จิตใจของคนงาน พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านในตาแหน่งต่าง ๆ ในสถานประกอบการใดมีบุคลิกภาพที่
มันใจ
่ มีอารมณ์ทด่ี ี และสุขภาพทีแ่ ข็งแรง แสดงว่าหน่ วยงานนัน้ มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสมต่อการทางานของลูกจ้างเป็ นอย่างดี เช่น มีระบบควบคุมเครื่องจักรทีถ่ ูกต้องตามหลัก
สากล จัดให้มกี ารประชุมร่วมกันในการป้ องกันอันตรายทีเ่ กิดจากการทางานโดยให้ทุกคนเข้ามา
มีส่ ว นร่ว ม จัด นิ ท รรศการเพื่อ ให้พ นั ก งานมีส่ ว นร่ว มในการวางแผนจัด การงานด้า นความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยสม่าเสมอ เป็ นต้น
การจัด การความปลอดภัย และอาชีว อนามัย มีว ตั ถุ ป ระสงค์โ ดยส่ ว นต้อ งการทาให้
พนั ก งานผู้ ป ฏิ บ ัติ ง านมีสุ ข ภาพอนามัย และมี ค วามปลอดภั ย ทั ง้ ร่ า งกาย จิ ต ใจ และ
สภาพแวดล้อมที่ดี จึงต้องมีการส่งเสริม ดูแลรักษา ป้ องกันความเสี่ยง และอุบตั เิ หตุต่าง ๆ ใน
การทางานไม่ให้เกิดขึน้ ในการทางาน

ประโยชน์ ของความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ทรัพยากรมนุษย์เป็ นปั จจัยทางการผลิตทีส่ าคัญทางการบริหาร หากสถานประกอบการ
ทีด่ าเนินกิจการมีผลประกอบการที่ดไี ด้กาไรสูงสุด ก็ย่อมแสดงให้เห็นว่าสถานประกอบการนัน้
ให้ความสาคัญกับสภาพการทางานของบุคลากรให้ม ีความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการ
26

ทางาน ซึง่ นับว่าเป็ นกาไรทีส่ ูงสุดมากสาหรับองค์การ เนื่องจากมนุ ษย์มสี าคัญยิง่ กว่าเครื่องมือ


เครื่องจัก ร ดังนัน้ การจัดให้มกี ารควบคุ มดูแลให้พนักงานหรือบุค ลากรที่ปฏิบตั ิงานมีค วาม
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยทีด่ ยี อ่ มส่งผลให้เกิดประโยชน์ ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ช่วยป้ องกันและควบคุมให้เกิดสภาพความปลอดภัยในการทางาน ระบบความ
ปลอดภัย และอาชีว อนามัยในองค์การ หากองค์ก ารได้ม ีการติด ตัง้ เครื่อ งจักรให้ถู ก ต้อ ง
และเหมาะสมในการทางาน และมีการควบคุม ดูแล ด้วยเจ้าหน้าที่ท่มี คี วามรู้ ความเชี่ยวชาญ
และมีการฝึ กอบรมพนักงานเป็ นประจาสม่ าเสมอก็จะป้ องกัน และควบคุมให้พนักงานมีความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานสูงด้วย
2. ช่วยลดความสูญเสียบันทอนกิ ่ จการของนายจ้าง อันเป็ นสาเหตุมาจากบุคลากร
ประสบอันตรายและเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางาน
3. ช่วยให้ประเทศชาติมบี ุคลากรทีม่ สี ุขภาพแข็งแรง สามารถดารงอยู่ในสังคมได้อย่างมี
คุณภาพในลักษณะของแรงงานตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลกกาหนด และสามารถแข่งขัน
กับประเทศอื่น ๆ ได้ท่ามกลางสภาพการทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป
4. ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจและอานวยผลต่อรายได้ของประเทศโดยรวม ทาให้ประเทศ
มีภาพลักษณ์ท่ดี ใี นสายตานานาประเทศได้ รวมทัง้ ส่งผลถึงความอยู่ดกี นิ ดีของคนในประเทศ
และประชาชนในประเทศมีสภาพคล่องในสภาพด้านการเงิน
5. ทาให้บุค ลากรได้รบั ความเป็ นธรรม ไม่ขดั ต่ อ กฎเกณฑ์ และกฎหมายด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัย ส่งผลให้บุคลากรมีสภาพจิตใจทีด่ กี ่อให้เกิดความสุขในการทางาน
6. สร้างชื่อเสียงให้องค์การหรือการดาเนินธุรกิจ ในภาพลักษณ์ในความรับผิดชอบต่อ
สังคม (Corporate Social Responsibility) และช่วยเสริมภาพลักษณ์ให้ผลิตภัณฑ์หรือสินค้า
ลดปั ญหาการถูกกีดกันทางการค้ากับนานาประเทศ
7. ช่ ว ยเสริม สร้า งความมัน่ ใจในความปลอดภัย ของชีว ิต และทรัพ ย์ส ิน ของลู ก จ้า ง
และนายจ้างเป็ นการแสดงออกถึงความห่วงใยของนายจ้างทีม่ ตี ่อพนักงาน
8. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลพนักงานที่ประสบอันตรายและเจ็บป่ วยอัน
เนื่องจากการทางาน ซึง่ สามารถส่งผลให้ธุรกิจมีกาไรมากขึน้ ทีจ่ ะนามาพัฒนาทัง้ คน และงานให้
เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
องค์การหรือ หน่ วยงานที่รบั ผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการ
ทางานได้เห็นว่าหากองค์การได้มกี ารบริหารงานด้านปลอดภัยและอาชีอนามัยจะต้องเอาใจใส่
ดูแลพนักงานเพื่อให้ปฏิบตั งิ านได้โดยปราศจากอันตราย ซึง่ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์การและ
พนักงานเป็ นอย่างยิง่ โดยเฉพาะทาให้ลดอุบตั เิ หตุ ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล พนักงาน
มีสุขภาพที่ดี เสริมสร้างความมันใจให้
่ กบั ผู้ปฏิบตั งิ าน เกิดความเป็ นธรรมแก่ลูกจ้าง และช่วย
สร้างภาพลักษณ์ทด่ี ใี ห้กบั องค์การ
27

เป้ าหมายของงานความปลอดภัยและอาชี วอนามัย


ความปลอดภัยในการทางานของบุคลากรเป็ นเรือ่ งทีม่ คี วามสาคัญ สาหรับนายจ้าง หรือ
ฝ่ ายปฏิบตั กิ าร ได้ดาเนินงานเกี่ยวกับการดูแลผูป้ ฏิบตั ิงานทุกตาแหน่ ง ทุกอาชีพ ดังนัน้ ผู้ท่มี ี
หน้าที่ในการกาหนดนโยบายต้องให้ความสาคัญ โดยมีการมอบหมายความรับผิดชอบ ให้ผู้ม ี
หน้าทีใ่ นการจัดการ กากับ ดูแล ควบคุมดาเนินงานให้บุคลากรมีความปลอดภัยขณะปฏิบตั งิ าน
ซึง่ เป็ นไปตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ส่ว นงานด้านอาชีว อนามัย เป็ นงานสาธารณสุ ขแขนงหนึ่ง ที่ทาหน้ าที่ใ นการดาเนินงานดูแล
สุขภาพอนามัยของผู้ปฏิบตั งิ านทุกสาขาอาชีพโดยมีเป้ าหมายเพื่อให้มเี กิดความปลอดภัยดังนี้
1. ป้ องกันและควบคุมการบาดเจ็บหรืออุบตั ภิ ยั อันเนื่องมาจากการประกอบอาชีพมุ่งที่
จะหาแนวทางและวิธกี ารในการลดการเกิดอันตรายในการปฏิบตั งิ าน ตัง้ แต่บาดเจ็บเล็กน้ อย
ปานกลาง ไปจนถึง ขัน้ รุนแรง ทุพ ลภาพ และเสีย ชีว ิต ดังนัน้ จ าเป็ น ต้อ งใช้ม าตรการด้า น
กฎระเบียบข้อบังคับ โดยมีการกากับ ควบคุม ดูแล และติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
2. ป้ องกันและควบคุมโรคอันเนื่องมาจากการประกอบอาชีพ ดาเนินการวางแผนระบบ
การควบคุ ม และป้ อ งกัน เริ่ม ตัง้ แต่ ก ารให้ก ารปฐมนิ เ ทศพนั ก งานใหม่ ใ ห้ม ีค วามรู้ใ นการ
ปฏิบตั ิงานที่เ กี่ยวกับสารเคมี เครื่อ งมือ เครื่องจักร และอุ ปกรณ์ใ นการทางาน ให้เ ข้าใจทุก
ขัน้ ตอน รวมทัง้ มีการติดตามประเมินผลอยูต่ ลอดเวลา
3. ส่งเสริมและจัดบริการสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพให้มคี วามสมบูรณ์ทงั ้
ร่างกาย จิตใจ และสังคม งานส่งเสริมและการจัดการเป็ นลักษณะของงานที่ให้ความช่วยเหลือ
สนับสนุ น จัดหา และอานวยความสะดวกให้ผปู้ ฏิบตั งิ านสามารถทางานได้ดว้ ยความปลอดภัย
และมีสุขภาพอนามัยทีด่ ี
4. ส่งเสริมสุขภาพจิตในการทางาน เป็ นการช่วยให้พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านได้มสี ุขภาวะที่
ดีในการทางานทางด้านจิตใจ ได้แก่ สภาพอารมณ์ท่พี ร้อมจะปฏิบตั ิงานให้สาเร็จลุล่วง โดยมี
การจัด กิ จ กรรมส่ ง เสริม ให้ เ กิ ด ความสุ ข ในการท างานมากกว่ า การแข่ ง ขัน กั น ท างาน
5. จัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการทางานเพื่อป้ องกันอันตรายที่จะเกิดขึน้ กับ
ผู้ปฏิบตั ิงาน เป็ นหน้ าที่ของผู้บริห ารในการดาเนินงานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อ มทางกายภาพ
ทางชีวภาพ ให้เหมาะสมกับลักษณะของการติดตัง้ เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในการ
ทางานให้ถูกต้องตามหลักอุตสาหกรรมโรงงาน จัดบุคคลให้ปฏิบตั งิ านให้เหมาะสมกับความถนัด
และตรงกับความรู้ ความสามารถ
6. ฟื้ นฟูสุขภาพผู้ท่ไี ด้รบั บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางาน หน้าทีข่ อง
ฝ่ ายการจัด การทรัพยากรมนุ ษ ย์ ด้า นความปลอดภัยและอาชีว อนามัย เมื่อ พนักงานได้ร บั
อันตรายบาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางาน หลังจากทีไ่ ด้รบั การรักษาพยาบาลทีด่ ี
28

แล้ว จาเป็ นต้องได้รบั การฟื้ นฟูทงั ้ ทางร่างกาย และจิตใจ ให้พนักงานได้มคี วามมันใจในการ ่


ปฏิบตั งิ านต่อไปได้
7. ป้ องกันการเจ็บป่ วยและส่งเสริมสุขภาพของผูป้ ฏิบตั งิ านโดยรวม งานป้ องกันจะช่วย
ให้ล ดการได้รบั อัน ตรายจากการทางาน องค์ก ารจึงต้อ งมีการวางแผนเพื่อ การป้ อ งกัน และ
ส่ ง เสริม ให้ผู้ป ฏิบ ัติง านได้ท ราบถึง บทบาท หน้ า ที่ใ นการปฏิบ ัติง านที่ถู ก ต้อ ง และชัด เจน
ด้วยการให้ความรู้ ฝึกอบรมให้เข้าใจ และรวมทัง้ การวางแผนด้านงบประมาณในการดาเนินการ
ติดตัง้ เครือ่ งจักรให้ถูกต้อง เพื่อลดการเกิดอันตรายต่าง ๆ จากการปฏิบตั งิ าน
เป้ าหมายสาคัญของงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย ผู้ท่มี หี น้าที่ ในความรับผิดชอบ
โดยตรงต้องดาเนินการตัง้ แต่การป้ องกันและควบคุมไม่ให้มกี ารเกิดอุบตั เิ หตุและโรคอันเกิดขึน้
จากการทางาน ส่งเสริมให้การสนับสนุ นทัง้ ด้านงบประมาณ การพัฒนาฝึ กอบรมอย่างต่อเนื่อง
จัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับลักษณะงาน และเมื่อพนักงานได้รบั บาดเจ็บหรือเจ็บป่ วยอัน
เนื่องจากการทางานก็จาเป็ นต้องดาเนินการฟื้ นฟูดแู ลให้เป็ นปกติโดยเร็ว

ขอบเขตของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้ประชุม
ร่ว มกันในลัก ษณะงานด้านความปลอดภัยและอาชีว อนามัย ในการทางาน ซึ่ง ประกอบด้ว ย
ลักษณะงาน 5 ประการสาคัญ David L.Goetsch. (2005, p.16) ดังนี้
1. การส่งเสริ ม (Promotion) หมายถึง การส่งเสริมและธารงรักษาไว้ เพื่อให้พนักงาน
หรือผูป้ ฏิบตั งิ านทุกอาชีพมีสุขภาพร่างกายทีแ่ ข็งแรง มีจติ ใจทีส่ มบูรณ์ทส่ี ุด และมีความเป็ นอยู่
ในสังคมทีด่ ตี ามสถานะทีพ่ งึ มีได้
2. การป้ องกัน (Prevention) หมายถึง งานด้านป้ องกันผูป้ ฏิบตั งิ านไม่ให้มสี ุขภาพ
อนามัยทีเ่ สื่อมโทรม อ่อนแอ ทุพลภาพ หรือผิดปกติอนั มีสาเหตุอนั เนื่องมาจากสภาพแวดล้อม
การทางานทีผ่ ดิ ปกติ หรือ เป็ นการวางแผนการดาเนินงานไว้ล่วงหน้าเกี่ยวกับ การป้ องกันไม่ให้
ผู้ปฏิบตั ิงานได้รบั อันตราย บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางานไม่ว่าจะเกิดจาก
สภาพแวดล้อม หรือ การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัยก็ตาม
3. การปกป้ องคุ้มครอง (Protection) หมายถึง การปกป้ องดูแลผูป้ ฏิบตั งิ านในสถาน
ประกอบการ หรือลูกจ้างไม่ให้ทางานทีเ่ สีย่ งต่อสภาพแวดล้อมในการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็ นอันตราย
จนเป็ นสาเหตุ ส าคัญ ที่ท าให้เ กิดปั ญ หาอุ บตั ิเ หตุ การบาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอันเกิด จากการ
ปฏิบตั ิงาน ซึ่งการควบคุมดูแลจะเป็ นส่ว นหนึ่งของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน และกฎหมาย
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
29

4. การจัดหน้ าที่ การงาน (Placing) หมายถึง การจัดตาแหน่ งหน้าที่งานเป็ นการจัด


สภาพต่างๆ ของการทางาน และปรับ สภาพ พฤติกรรมผู้ปฏิบตั งิ าน ให้ทางานในสิง่ แวดล้อม
ของการทางานทีเ่ หมาะสมกับความรู้ ความสามารถ และความถนัดของร่างกายแต่ละคน รวมทัง้
สภาพจิตใจของผูป้ ฏิบตั งิ านแต่ละคนให้เหมาะสมมากทีส่ ุด โดยคานึงถึงความคุม้ ค่าในการลุงทุน
อันจะนาผลให้เกิดผลตอบแทนทีด่ ี
5. การปรับงานและคนให้มีความเหมาะสมกัน (Adaptation) หมายถึง การปรับ
สภาพของงานและของคนให้สามารถทางานได้อย่างเหมาะสม คานึงถึงสภาพทางสรีระวิทยา
กายศาสตร์ ของผูป้ ฏิบตั งิ านให้มากทีส่ ุด อยู่ในพื้นฐานของความแตกต่างกันของสภาพร่า งกาย
และจิต ใจ พยายามหาวิธกี าร การออกแบบอุ ปกรณ์ เครื่องมือ ในการทางานให้เหมาะสมกับ
สภาพร่างกายของผูป้ ฏิบตั งิ านให้เกิดความถนัดเหมาะสม เพื่อประสิทธิภาพของงาน และให้เกิด
ความปลอดภัยในทางาน เพื่อส่งผลต่อประสิทธิผลสูงสุด
6. การสนั บสนุ นและช่ วยเหลื อ (Supporting) หมายถึง การจัดหา อานวยความ
สะดวก และช่วยเหลือให้ผู้ปฏิบตั งิ านได้มคี วามปลอดภัย และสุขภาพอนามัยที่ดใี นการทางาน
ได้แก่ การจัดโครงการสุขภาพอนามัย เพื่อให้ส่งผลประโยชน์ ในการช่วยลดค่าใช้จ่ายในการ
รักษาพยาบาล การตรวจสุขภาพประจาปี และการจัดให้มแี พทย์เฉพาะทางมาประจาในการให้
การตรวจรัก ษา และมีอุ ป กรณ์ ใ นการตรวจรัก ษาพยาบาลช่ ว ยเหลือ ผู้ป ระสบอัน ตรายและ
เจ็บป่ วย รวมทัง้ แนะนาให้ความรูท้ างด้านสุขภาพแก่ผปู้ ฏิบตั งิ านเป็ นประจาสม่าเสมอ
จากขอบเขตของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจะป้ องกันอุบตั เิ หตุและโรคอัน
เนื่องมาจากการทางาน เป็ นงานส่งเสริมสุขภาพให้มที งั ้ สุขภาพกาย และสุขภาพจิตทีด่ ี จึงเป็ น
งานที่มลี กั ษณะการทาให้ก ารทางานของพนักงานผู้ปฏิบตั ิงานให้เ กิดความปลอดภัย และมี
สุขภาพอนามัยทีด่ ที งั ้ ทางร่างกาย จิตใจ และสังคม ดังจะแสดงให้เห็นในภาพที่ 1.2
30

Promotion

Prevention
Protection

ขอบเขตของงาน
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

Placing
Adaptation

Supporting

ภาพที่ 1.2 ขอบเขตความสัมพันธ์ของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
งานด้า นความปลอดภัยและอาชีว อนามัย เป็ น ลัก ษณะการดาเนิ น งานที่เ ป็ น ศาสตร์
ทางการประยุก ต์ห รือ วิช าการความรู้แ ขนงต่ า ง ๆ ไม่ว่ า จะเป็ นความรู้พ้ืน ฐานทางด้า น
วิทยาศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านอาชีวอนามัยจะมีการ
ผสมผสานและอาศัยความร่วมมือของบุคลากรที่มสี ่วนเกี่ยวข้องในด้านต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือ
ป้ องกัน คุ้มครอง รักษา และส่งเสริมสนับ สนุ นให้งานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมี
ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ใน 7 ด้าน (วิภารัตน์ โพธิ ์ขี, 2557, หน้า 11-12) ด้วยกันมีดงั นี้
1. ด้านความปลอดภัย (Safety) ได้แก่ ลูกจ้าง ทีน่ ายจ้างแต่งตัง้ ให้เป็ นเจ้าหน้าที่ความ
ปลอดภัยตามกฎหมายพระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อ ม พ.ศ.
2549 กฎกระทรวง หรือสหภาพแรงงาน ทีม่ หี น้าทีป่ กป้ อง ส่งเสริมสนับสนุ นลูกจ้างด้วยกันให้ม ี
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน
2. ด้านอาชี วสุขศาสตร์ (Occupational Medicine) หรือ เวชศาสตร์อุตสาหกรรม
(Industrial Medicine) มีหน้าทีศ่ กึ ษาในด้านการตรวจวินิจฉัย และรักษาโรคอันเนื่องมาจากการ
31

ประกอบอาชีพ ซึ่งมีหน้ าที่สบื ค้น ตรวจสอบ ประเมินอันตรายจากสิง่ แวดล้อมความร้อน รังสี


เสียงดัง ความสันสะเทื
่ อน ฝุ่ นละออง เพื่อป้ องกันโรคจากการทางาน
3. ด้ านอาชี วนิ รภัย (Occupational Safety) นักวิทยาศาสตร์ความปลอดภัย และ
วิศวกรความปลอดภัย ทาหน้าที่ป้องกันอุบตั ิเหตุจากการทางาน ออกแบบ พัฒนา หรือแก้ไข
อุปกรณ์ เครือ่ งจักร เพื่อให้เกิดปลอดภัยในการทางาน
4. ด้านการยศาสตร์ (Ergonomic) เป็ นศาสตร์ทม่ี งุ่ เน้นการจัด ออกแบบ และปรับปรุง
สภาพการทางานให้เหมาะสมกับกายและสรีระของคนงาน รวมทัง้ สภาพจิตใจของคนทางาน
เครือ่ งมือ ท่าทางหรือวิธกี ารทางานให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้เกิดความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการ
ทางาน
5. ด้านจิ ตวิ ทยาอุตสาหกรรม (Industrial Psychology) ทาหน้าทีใ่ นการแก้ปัญหา
ในการทางานโดยใช้หลักการทางจิตวิทยา การกระตุ้น ให้เกิดสิง่ จูงใจ และสร้างบรรยากาศใน
การทางานทีด่ ี
6. ด้านอาชี วเวชศาสตร์ (Occupational Medicine) หรือเวชศาสตร์อุตสาหกรรม
บุ ค ลากรด้า นอาชีว เวชศาสตร์ มีห น้ า ที่ศึก ษาในด้า นการตรวจวินิ จ ฉั ย และรัก ษาโรคอัน
เนื่ อ งมาจากการท างาน (Occupational Diseases) เป็ น การดูแ ลสุ ข ภาพของคนท างาน
ครอบคลุมตัง้ แต่การป้ องกันโรค การรักษาโรค และการฟื้ นฟูสุขภาพของคนทางาน แต่เนื่องจาก
ปั ญหาโรคจากการทางานส่วนใหญ่จะเป็ นปั ญหาที่ป้องกันได้ เน้นหนักไปทางการป้ องกันโรค
เป็ นหลักตลอดจนการบาดเจ็บต่าง ๆ และสุขภาพของคนงาน ได้แก่ แพทย์อาชีวเวชศาสตร์
แพทย์อ าชีว อนามัย ซึ่ง จะมีผู้ช่ ว ยในการให้ ค วามรู้แ นะน า และปฏิบ ัติง านด้า นนี้ อีก เช่ น
พยาบาล อาชีวอนามัย ผูช้ ่วยพยาบาล
7. ด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู (Rehabilitation Medicine) บุคลากรทีส่ าคัญทีด่ ูแลด้านนี้ มี
หน้าที่ ได้แก่ แพทย์เวชศาสตร์ฟ้ื นฟู นักกายภาพบาบัด นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นัก
อาชีวบาบัด นักกิจกรรมบาบัด นักกายภาพบาบัด นักจิตบาบัด มีหน้าทีฟ่ ้ื นฟูสภาพกาย รวมทัง้
จิตใจของผูป้ ระกอบอาชีพทีไ่ ด้รบั การบาดเจ็บ หรือพิการจากอุบตั เิ หตุ หรือไม่สามารถทางานได้
เนื่องจากเป็ นโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ ให้สามารถกลับเข้ามาทงานได้ตามปกติ หรือ
ทางานชนิดใหม่ ทีเ่ หมาะสมกับสภาพร่างกาย
นอกจากศาสตร์ทเ่ี กี่ยวข้องทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ยัง ต้ อ งอาศัย วิช าการอื่ น ๆ ร่ ว มด้ ว ย เช่ น วิท ยาการระบาด ( Epidemiology) พิษ วิท ยา
(Toxicology) และจิต วิท ยาอุ ต สาหกรรม (Industrial Psychology) อาชีว ะเวชศาสตร์
(Occupational medicine) เวชศาสตร์ฟ้ื นฟู (Rehabilitation medicine) จะต้องมีบุคลากรที่ม ี
ความเชี่ยวชาญและให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการให้ความรู้ แนะนา พัฒนา และส่งเสริมให้
ผูป้ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบการให้ปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภัยปราศจากการเกิดอุบตั เิ หตุ
32

บาดเจ็บ และเจ็บ ป่ วยอัน เกิด จากการท างานรวมทัง้ ให้ค วามเห็น และแนะน าผู้บ ริห ารให้
ดาเนินการตามหลักการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทีถ่ ูกต้อง

หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในประเทศไทย


ประเทศไทยได้มกี ารจัดตัง้ หน่ วยงานทีร่ บั ผิดชอบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ขึน้ ตามบทบาท ภาระ หน้าที่ และความรับผิดชอบตามลักษณะทีเ่ กี่ยวข้องกับหน่ วยงานต่าง ๆ
ให้มคี วามชัดเจน และกาหนดให้กระทรวงต่าง ๆ ได้มเี ป็ นผู้ดูแล รับผิดชอบตามภารกิจสาคัญ
และได้มกี ารดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยโดยมีหน่ วยงานทีร่ บั ผิดชอบทีเ่ ป็ น
ส่วนงานที่ทาหน้ าทีก่ าหนด กากับ ดูแล ควบคุมและประสานงานมีการดาเนินการทัง้ ในรูปแบบ
ภาครัฐและเอกชน มีจดุ มุง่ หมายเพื่อให้ผปู้ ระกอบอาชีพมีสุขภาพอนามัยทีด่ ี ปราศจากอุบตั เิ หตุ
บาดเจ็บ เจ็บป่ วย และเป็ น โรคอันเนื่อ งมาจากการทางาน ให้ส ามารถปฏิบตั ิง านได้อ ย่างมี
ประสิทธิภาพในสภาพการทางานที่มสี ภาพแวดล้อมที่ดปี ลอดภัยจากภยันตรายใด ๆ ทัง้ ปวง
รวมทัง้ ให้ม ีสุ ข ภาพจิต ที่ดี ดัง นั น้ การที่จ ะบรรลุ ต ามวัต ถุ ป ระสงค์ใ นการด าเนิ น งานของ
หน่ วยงานที่มหี น้ าที่เกี่ยวข้องเหล่านัน้ ได้นัน้ จาเป็ นต้องมีการดาเนินการและการประสานงาน
ของหน่ ว ยงานที่เ กี่ย วข้อ งทัง้ ภาครัฐ และเอกชนร่ ว มกัน ในการด าเนิ น งาน อย่ า งไรก็ต าม
หน่ วยงานที่มหี น้าที่ บทบาทสาคัญที่สุด คือ หน่ วยงานภาครัฐ โดยอาศัยกฎหมายด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ซึง่ จัดตัง้ ขึน้ เป็ นพระราชบัญญัติ ความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 ที่มดี ้วยกันหลายฉบับ
หน่ วยงานดังกล่าวสังกัดสานักงานความปลอดภัยแรงงาน กระทรวงแรงงาน เป็ นการกาหนด
กรอบทิศทางให้สถานประกอบการดาเนินการอย่างเคร่งครัด เพื่อความปลอดภัย และอาชีวอนา
มัยในการทางาน
ในปั จจุบนั ประเทศไทยมีหน่ วยงานภาครัฐที่มบี ทบาทโดยตรงในการดาเนินงานความ
ปลอดภัย และอาชีวอนามัยหลายหน่วยงาน และแต่ละหน่ วยงานก็จะมีแต่ละกระทรวงทีด่ ูแลและ
เกีย่ วข้อง โดยเฉพาะราชการส่วนกลาง เช่น กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง
สาธารณสุข และส่วนหน่วยงานอื่น ๆ ทีม่ สี ่วนเกีย่ วข้อง ได้แก่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงกลาโหม และกระทรวง
คมนาคม นอกจากนี้ยงั มีราชการส่วนท้องถิน่ ทีม่ บี ทบาทเกี่ยวข้องได้แก่ กรุงเทพมหานคร และ
เมืองพัทยา เป็ นต้น
บทบาทหน้าทีข่ องหน่วยงานทีม่ สี ่วนเกีย่ วข้องสาคัญ มีดงั นี้
1. กระทรวงแรงงาน เป็ นองค์กรหลักในการบริหารแรงงาน พัฒนาประชากรให้มงี าน
ทา มีศกั ยภาพ สนับสนุ นขีดความสามารถในการแข่งขัน มีหลักประกันมันคง ่ ดูแลให้แรงงานมี
ความมันคง ่ มีค วามปลอดภัยและสุ ขภาพที่ดี ได้รบั ค่ าตอบแทนการทางานที่เป็ นธรรม และ
33

คุณภาพชีว ิต ที่ดี นอกจากนี้ยงั มีห น้ าที่โดยตรงในการดูแลความปลอดภัยในการทางานของ


ลูกจ้างในทุกสถานประกอบการ ทุกตาแหน่ง อาชีพ และให้ความคุม้ ครองเกีย่ วกับการใช้แรงงาน
ซึ่ง หน่ ว ยงานหลัก ที่รบั ผิด ชอบ คือ กรมสวัส ดิการและคุ้ม ครองแรงงาน ซึ่ง เน้ น ในด้า นการ
คุม้ ครองแรงงานส่วนของการป้ องกันอันตรายจากการทางาน ซึ่งมีสานักงานความปลอดภัยทา
หน้าทีก่ ากับดูและรับผิดชอบ และสานักงานประกันสังคม ซึง่ มีหน้าทีใ่ นการจ่ายค่าทดแทน การ
รักษาพยาบาลและฟื้ นฟูสมรรถภาพแก่ผปู้ ฏิบตั งิ านทีป่ ระสบอันตรายอันเนื่องมาจากการทางาน
1.1 กรมสวัส ดิ การและคุ้มครองแรงงาน มีภารกิจก าหนดและพัฒนามาตรฐาน
แรงงานให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล กากับดูแลการคุม้ ครองแรงงานให้เป็ นไปตามกฎหมาย
ส่งเสริมและพัฒนาการคุม้ ครองแรงงาน ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน แรงงานสัมพันธ์ สวัส ดิก ารแรงงาน และมาตรฐานแรงงานไทย พัฒนาระบบบริห าร
จัดการของกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน โดยพัฒนามาตรฐาน ระบบ กลไก มาตรการ กล
ยุทธ์ในการส่งเสริม สนับสนุ นร่วมมือ และแก้ไขปั ญหาในการเพิม่ โอกาสในการสร้างการแข่งขัน
ทางการค้าและการลงทุน ของภาคธุ รกิจและอุ ต สาหกรรมการผลิต และพัฒนาแรงงานให้ม ี
คุณภาพชีวติ ที่ดี กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานมีส่วนราชการในสังกัดที่มบี ทบาทสาคัญ
ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ได้แก่ กองความปลอดภัย ศูนย์ความปลอดภัยเขต จานวน
12 แห่ง สานักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานพื้นที่ 10 พื้นที่ และ สานักงานสวัสดิการและ
คุม้ ครองแรงงานจังหวัด 76 จังหวัด แต่ละหน่วยงานมีบทบาทหน้าที่ ดังนี้
1.1.1 กองความปลอดภัย เพื่อให้การบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพ และเป็ นการทางาน
เชิงรุก เพิม่ ขีดความสามารถในการทางานที่คล่องตัวในการให้บริการ โดยกระจายภารกิจลงสู่
ศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพืน้ ที่ ลดความซ้าซ้อนในการทางาน จึงเปลี่ ยนจากหน่ วยงาน “กอง
ตรวจความปลอดภัย” มาเป็ น “กองความปลอดภัย” เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2559 ซึง่ มีบทบาท
หน้าทีด่ งั นี้
1.1.1.1 กาหนดและพัฒนามาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานทัง้ แรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ รวมทัง้ แรงงานทางทะเล
1.1.1.2 ควบคุมดูแลนายจ้าง ลูกจ้าง และพนักงาน รวมทัง้ บุคคล นิติ -
บุคคลหรือหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน และกฎหมายอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง
1.1.1.3 ควบคุมดูแลคนประจาเรือ เจ้าของเรือ และนายเรือให้ปฏิบตั ติ าม
กฎหมายว่าด้วยแรงงานทางทะเล และกฎหมายอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง
1.1.1.4 ดาเนินการเกี่ยวกับการอนุ ญาต การขึน้ ทะเบียน และกากับดูแล
มาตรฐานการให้บริการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ตาม
กฎหมายเกีย่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
34

1.1.1.5 พัฒนาระบบการคุม้ ครองความปลอดภัยในการทางาน มาตรการ


และวิธปี ฏิบตั ดิ า้ นการตรวจความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.1.1.6 พัฒนาองค์ความรูแ้ ละระบบสารสนเทศความปลอดภัย อาชีว -
อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.1.1.7 สร้างเสริมและพัฒนาเครือข่ายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
1.1.1.8 บริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
1.1.1.9 ปฏิบตั งิ านร่วมกันหรือสนับสนุ นการปฏิบตั งิ านของหน่ วยงานอื่น
ทีเ่ กีย่ วข้องหรือทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ภารกิจหลักทีส่ าคัญของกองความปลอดภัย ได้แก่
1.1.1.10 พัฒ นามาตรฐานความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
1.1.1.11 ส่งเสริม พัฒนา และกากับดูแลด้านความปลอดภัย อาชีวอนา-
มัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.1.1.12 พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของเครือข่ายด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานในทุกภาคส่วน
1.1.1.13 ส่งเสริมและพัฒนาระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีว-
อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.1.2 สถาบันความปลอดภัยในการทางาน เป็ นหน่ วยงานที่สนับสนุ นการปฏิบตั ิ
ภารกิจของกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานทางด้านวิชาการ ประกอบด้วยฝ่ ายต่าง ๆ ได้แก่
ฝ่ ายพัฒ นาความปลอดภัย ฝ่ ายส่ ง เสริม ความปลอดภัย และฝ่ ายรับ รองการบริก ารความ
ปลอดภัย ซึง่ ฝ่ ายพัฒนาความปลอดภัยนัน้ แบ่งออกเป็ นสาขาสุขศาสตร์แรงงาน สาขาพิษวิทยา
อุ ต สาหกรรม สาขาความปลอดภัยเคมี และการป้ อ งกันอุ บตั ิภยั ร้ายแรง สาขาการยศาสตร์
แรงงาน สาขาวิศวกรรมความปลอดภัย สาขาความปลอดภัยก่อสร้าง สาขาเวชศาสตร์แรงงาน
สาขาความปลอดภัยเครือ่ งจักร และสาขาความปลอดภัยไฟฟ้ า
สถาบันความปลอดภัยในการทางาน มีอานาจหน้าที่ ดังนี้
1.1.2.1 ส่งเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
1.2.1.2 ดาเนินการเกี่ยวกับการรับรองบริการความปลอดภัย อาชีวอนา-
มัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.2.1.3 ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
35

1.2.1.4 ปฏิบตั งิ านร่วมกันหรือสนับสนุ นการปฏิบตั งิ านของหน่ วยงานอื่น


ทีเ่ กีย่ วข้องหรือทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ภารกิจทีส่ าคัญของสถาบันความปลอดภัยในการทางาน มีดงั นี้
1.2.1.5 รณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัยในการทางานทัว่ ประเทศ โดยการ
จัดสัปดาห์ความปลอดภัยในการทางานแห่งชาติประจาทุกปี ทัง้ ในส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค 76
จัง หวัด โดยปกติจ ะมีก ารหมุน เวีย นไปตามจัง หวัด ต่ า ง ๆ ในภาคนัน้ ๆ เพื่อ ให้ส ถาน
ประกอบการได้มกี ารนาเสนอเกีย่ วกับกิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย
1.2.1.6 สนับสนุนองค์ความรูแ้ ก่นายจ้าง ลูกจ้าง องค์กรด้านแรงงาน และ
หน่ วยงานต่าง ๆ ด้วยการจัดฝึ กอบรม สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงาน
ต้นแบบ และประชาสัมพันธ์วชิ าการความปลอดภัย
1.2.1.7 วิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทางานทางวิศวกรรมความ
ปลอดภัยในสถานประกอบการ โดยทาหน้าทีศ่ กึ ษาค้นคว้า ทดสอบ และพัฒนามาตรการป้ องกัน
อันตรายอันเกิดจากเครือ่ งจักร เครือ่ งกล หม้อน้า ไฟฟ้ า และงานก่อสร้างต่าง ๆ
1.2.1.8 ตรวจสอบวินิ จ ฉัย สภาพแวดล้อ มในการท างานแก่ ส ถาน
ประกอบการ โดยตรวจสอบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ตรวจเก็บสภาพแวดล้อมด้านสารเคมี
ต่าง ๆ นามาประเมินอันตรายของสิง่ แวดล้อมในการทางานทีด่ ี
1.2.1.9 ทดสอบและวิเคราะห์การเปลีย่ นแปลงด้านสมรรถภาพและสรีระ
การทางานของลูกจ้างเพื่อควบคุมและป้ องกันโรคจากการทางานและส่งเสริมสุขภาพแรงงาน
รวมทัง้ ปฏิบตั กิ ารติดตามเฝ้ าระวังโรคจากการทางาน
1.2.1.10 ส่งเสริมและพัฒนาระบบความปลอดภัยในสถานประกอบการ
ด้วยการสารวจ ศึกษา วิเคราะห์ และแนะนาสถานประกอบการที่มคี วามเสี่ยงให้มรี ะบบการ
จัดการความปลอดภัยในสถานประกอบการ
1.2.1.11 เผยแพร่เอกสาร ข่าวสาร คู่มอื วีดีทศั น์ ด้านความปลอดภัยใน
การทางานแก่กลุ่มเป้ าหมายต่าง ๆ
1.2.1.12 ให้บริการตอบปั ญหาความปลอดภัยในการทางาน ทีถ่ ูกต้อง
และสามารถนามาปฏิบตั ไิ ด้ง่ายในบริบทของสถานประกอบการ และบุคคล
1.2.1.13 ให้ค าปรึก ษาแนะน าและบรรยายทางวิช าการด้า นความ
ปลอดภัยในการทางาน
1.2.1.14 เป็ นศูนย์ข้อมูล วิชาการความปลอดภัยและสุ ขภาพในการ
ทางานของประเทศ และสื่อสารแลกเปลีย่ นข้อมูลกับต่างประเทศ
นอกจากบทบาทที่กล่า วมาแล้ว สถาบันความปลอดภัยในการทางาน ยังได้จดั ตัง้
ศูนย์ความปลอดภัยในการทางาน ขึน้ ในสังกัดมี 12 เขต ดังนี้
36

1. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 1 พระนครศรีอยุธยา
2. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 2 ชลบุร ี
3. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 3 นครราชสีมา
4. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 4 อุดรธานี
5. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 5 ลาปาง
6. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 6 นครสวรรค์
7. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 7 ราชบุร ี
8. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 8 สุราษฎร์ธานี
9. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 9 สงขลา
10. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 10 สมุทรปราการ
11. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 11 ตลิง่ ชัน
12. ศูนย์ความปลอดภัยเขต 12 ลาดกระบัง
ซึ่งศูนย์ความปลอดภัยในการทางาน มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบดังนี้
1) ศึกษา วิเคราะห์ สารวจ และเฝ้ าระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย และ
สุขภาพอนามัยในการทางานในพืน้ ทีท่ ร่ี บั ผิดชอบ
2) ส่งเสริมปรับปรุง และพัฒนาสภาพแวดล้อมความปลอดภัยในการ
ทางาน
3) ควบคุมและพัฒนาระบบป้ องกันอุบตั เิ หตุ และโรคซึง่ เกิดขึน้ เกี่ยวกับ
การทางาน
4) ตรวจวิเคราะห์สงิ่ แวดล้อมในการทางานและตัวอย่างชีวภาพ
5) ให้บริการงานด้านวิชาการ
6) เป็ น ศู น ย์ส ารสนเทศเกี่ย วกับ ความปลอดภัย ในการท างานและ
สุขภาพของแรงงาน
7) ส่ ง เสริม เผยแพร่ ค วามรู้ ความเข้า ใจเกี่ย วกับ ความปลอดภัย
ในการทางาน
8) สนับสนุนและประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ

1.1.3 สถาบันส่งเสริ มความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน


การทางาน (องค์การมหาชน) (Thailand Institute of Occupational Safety and Health)
หน่ วยงานในสังกัด กระทรวงแรงงาน มีวตั ถุประสงค์ในการจัดตัง้ เพื่อส่งเสริม ความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานจัดตัง้ ขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ สถาบัน
ส่ งเสริม ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทางาน (องค์การมหาชน )
37

พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 โดยโอนภารกิจมาจากสานักความปลอดภัย


แรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน บางส่วน มาจัดตัง้ เป็ นองค์การมหาชน การจัดตัง้
องค์การมหาชนดังกล่าว เกิดขึน้ ภายใต้หลักการที่ให้ความสาคัญในเรื่องการคุ้มครองแรงงาน
เพื่อ ให้เ กิดความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน มาตรา 52 แห่ ง
พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554
1.1.4 หน่ วยงานอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในสัง กัด กรมสวัส ดิ ก ารและคุ้ ม ครอง
แรงงาน ได้แก่ กลุ่มงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานพืน้ ที่ 10 พืน้ ที่ ซึง่ เป็ นหน่ วยงานในพืน้ ที่
กรุงเทพมหานคร และสานัก งานสวัส ดิก ารและคุ้มครองแรงงานจังหวัด 77 จังหวัด ซึ่งเป็ น
หน่ วยงานราชการบริหารส่วนภูมภิ าคทีม่ อี านาจหน้าทีใ่ นการปฏิบตั กิ ารและประสานงานต่าง ๆ
ในขอบเขตหน้ าที่ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานทัง้ 4 ด้าน คือ ด้านคุ้มครองแรงงาน
ด้านส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ ด้านส่งเสริมสวัสดิการแรงงาน และด้านวิชาการในเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัด
1.2 สานักงานประกันสังคม เป็ นหน่ วยงานระดับกรม ในสังกัดกระทรวงแรงงาน
จัดตัง้ ขึ้นตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 โดยให้มผี ลบังคับใช้ต งั ้ แต่ ว นั ที่ 2
กันยายน พ.ศ. 2533 เพื่อให้ประเทศไทยมีการประกันสังคมอย่างเต็มรูปแบบ โดยลูกจ้างจะ
ได้รบั ความคุ้มครอง ทัง้ ในเรื่องการประสบอันตราย หรือเจ็บป่ วยทุพพลภาพ และตาย และไม่
เนื่องจากการทางาน รวมไปถึงการคลอดบุตรสงเคราะห์บุตร ชราภาพ และการว่างงาน งาน
หลักของประกันสังคม คือ การบริหารงานในรูปแบบ 2 กองทุน ได้แก่ กองเงินทดแทนและ
กองทุนประกันสังคมมีห น้ าที่ความรับผิดชอบของส านักงานประกันสังคมที่เ กี่ยวข้อ งกับงาน
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มีดงั นี้
1. ให้ค วามคุ้มครองและหลักประกันแก่ลูกจ้างที่ประสบอันตราย เจ็บป่ วย
ทุพพลภาพหรือตาย อันเนื่องมาจากการทางานให้แก่นายจ้างตามกฎหมายเงินทดแทน
2. การดาเนินการเกีย่ วกับการจัดเก็บเงินสมทบ จ่ายเงินทดแทน และประโยชน์
ทดแทนตามกฎหมายเงินทดแทน และกฎหมายประกันสังคม
3. ตรวจสอบและดาเนินการให้ปฏิบตั ติ ามกฎหมายเงินทดแทน และกฎหมาย
ประกันสังคม
4. ดาเนินการฟื้ นฟูสมรรถภาพให้ลูกจ้างที่ประสบอันตรายจากการทางานที่
บาดเจ็บ พิการให้สามารถกลับเข้าทางานหรือสามารถประกอบอาชีพได้ตามความเหมาะสม
5. การดาเนินการจัดหาผลประโยชน์ ของกองทุนเงินทดแทนและกองทุน
ประกันสังคม
ดังนัน้ หน่ วยงานในสังกัดสานักงานประกันสังคมที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยจะต้องมีหน่ วยงานทีท่ าหน้าทีแ่ ละเกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบโดยตรงอีกซึ่ง
ประกอบด้วย
38

1.2.1 สานักงานกองทุนเงิ นทดแทน มีหน้าทีใ่ นการดาเนินการเกี่ยวกับการ


พิจารณาจ่ายเงินทดแทนให้แก่ลกู จ้างทีป่ ระสบอันตรายอันเนื่องมาจากการทางานให้แก่นายจ้าง
1.2.2 ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน เป็ นหน่ วยงานที่จดั ตัง้ ขึน้ เพื่อให้บริการ
ฟื้ นฟู ส มรรถภาพแก่ ลูก จ้างที่ประสบอันตราย หรือ เจ็บป่ วยอันเนื่อ งมาจากการท างาน และ
ผูป้ ระกันตนตามกฎหมายประกันสังคม การให้บริการฟื้ นฟูสมรรถภาพแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
คือ การฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ และการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
1.2.2.1 การฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ หลังจากที่ลูกจ้างทีป่ ระสบ
อัน ตราย หรือ เจ็บ ป่ วยอัน เนื่ อ งมาจากการท างาน และผู้ ป ระกัน ตนได้ร ับ การรัก ษาจาก
โรงพยาบาลและยังมีความจาเป็ นที่จะต้องรับการฟื้ นฟูสมรรถภาพทางด้า นการแพทย์เพื่อให้
สามารถใช้อวัยวะส่วนทีเ่ หลือทางานได้ต่อไป
1.2.2.2 การฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ มีการฝึกเตรียมเข้าทางานและ
ฝึ กอาชีพให้แก่ลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือ เจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางาน เพื่อให้ลูกจ้าง
และผู้ประกันตนเหล่านัน้ สามารถกลับเข้าทางานในสถานประกอบการหรือประกอบอาชีพอิสระ
เลีย้ งดูครอบครัวตนเองได้
1.2.3 สานักงานประกันสังคมจังหวัด มีหน้าที่ในการปฏิบตั งิ านร่วมกัน หรือ
สนับสนุ น และประสานงานของหน่ วยงานอื่นที่เ กี่ยวข้องหรือที่ได้ รบั มอบหมายโดยมีอ านาจ
หน้าทีด่ งั นี้
1.2.3.1 ฝ่ ายอานวยการ มีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบเกี่ยวกับงานสารบรรณ
พัส ดุ ครุภ ัณ ฑ์ ยานพาหนะ อาคารสถานที่ การจัด ท าแผนงาน โครงการและงบประมาณ
การจัดทา รายงานผลการปฏิบตั งิ าน งานเจ้าหน้าที่ งานประชุม งานด้านรับจ่ายเงิน การเก็บ
รัก ษาเงิน งานจัด นิ ท รรศการ และประชาสัม พัน ธ์เ ผยแพร่ข้อ มูล ข่า วสารงานประกั น สัง คม
การติด ต่ อ ประสานงานกับ หน่ ว ยงานอื่น เพื่อ การประชาสัม พัน ธ์เ ผยแพร่งานของสานัก งาน
การออกหน่วยให้บริการทางการแพทย์เคลื่อนที่ และงานอื่นๆ
1.2.3.2 กลุ่มงานประกันสังคม มีหน้ าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการ
ให้บริการขึน้ ทะเบียนนายจ้าง ผูป้ ระกันตน การจัดเก็บเงินสมทบ การวินิจฉัย สิทธิประโยชน์แก่
ลูกจ้างผู้ประกันตนหรือผู้มสี ทิ ธิ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมและกฎหมายว่าด้วยเงิน
ทดแทน การจัดทาบัญชีและงบการเงิน การตรวจสถานประกอบการ การตรวจสอบติดตามหนี้
และการดาเนินคดี การให้บริการข้อ มูล ด้านการประกันสังคม ให้ คาปรึกษา แนะนา ตอบข้อ
ซักถาม รับเรื่องร้องเรียน ประสานการตอบข้อร้องเรียน การดาเนินคดีต ามกฎหมายว่าด้วยการ
ประกันสังคม กฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และปฏิบตั งิ านอื่นๆ
ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย โดยมีการแบ่งออกเป็ น 4 ส่วนงาน ได้แก่ งานสิทธิประโยชน์ งานการเงินและ
บั ญ ชี งานเงิ น สมทบและการตรวจสอบ และ งานทะเบี ย นและประสานการ แพทย์
39

1.3 คณะกรรมการความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ


ทางาน เป็ นองค์ก รสาคัญในเชิงเสนอแนะนโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยต่ อ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน คณะกรรมการประกอบด้วย
1.3.1 ประธานกรรมการ เป็ นนายจ้างหรือผูแ้ ทนนายจ้างระดับบริหาร
1.3.2 กรรมการผูแ้ ทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา แพทย์อาชีวเวชศาสตร์หรือ
พยาบาลอาชีวอนามัยประจาสถานประกอบกิจการ ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากนายจ้าง
1.3.3 กรรมการผู้ แ ทนลู ก จ้ า ง โดยให้ น ายจ้ า งจัด ให้ ม ีก ารเลือ กตั ง้
1.3.4 กรรมการและเลขานุ การ ซึ่งเป็ นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน
ระดับวิชาชีพ หรือ เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคขัน้ สูง หรือผู้แทน
นายจ้าง แล้วแต่กรณี
2. กระทรวงอุตสาหกรรม มีบทบาททีส่ าคัญในการดูแลด้านความปลอดภัย การจด
ทะเบีย น ออกใบอนุ ญ าตการด าเนิ น งานโรงงานตามพระราชบัญ ญัติโ รงงาน การติด ตัง้
ตรวจสอบเครื่อ งจัก ร รวมถึงการควบคุ มการนาเข้าและการใช้ส ารเคมีต ามพระราชบัญ ญัติ
ควบคุ ม วัต ถุ อ ัน ตราย และการออกกฎหมายควบคุ ม การประกอบการอุ ต สาหกรรม เช่ น
มาตรฐานด้ า นอากาศ มาตรฐานการบ าบั ด น้ า เสี ย เป็ นต้ น หน่ ว ยงานภายใต้ ส ัง กั ด
กระทรวงอุ ต สาหกรรมที่ม ีภารกิจ หลัก ดัง กล่ า ว ได้แ ก่ กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม ซึ่ง มีศู น ย์
สารสนเทศความปลอดภัยและศูนย์สารสนเทศต่างๆ เป็ นหน่ วยงานดูแลด้านข้อมูลดังกล่าวของ
กรมฯ โดยตรง เช่ น สารสนเทศโรงงาน สารสนเทศเครื่อ งจัก ร สารสนเทศวัต ถุ อ ัน ตราย
สารสนเทศสิ่ ง แวดล้ อ ม สารสนเทศความปลอดภั ย สารสนเทศก ฎหมาย เป็ นต้ น
กรมอุ ตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ เป็ นหน่ วยงานที่ดูแลด้านการออกมาตรการทาง
กฎหมายเพื่อ การควบคุ มด้านความปลอดภัยในการทางานที่เ กี่ยวข้อ งกับการดูแลด้านการ
ประกอบกิจ การเหมือ งแร่ร วมถึง การประกอบกิจ การโรงโม่ห ิน นอกจากนี้ ย งั มีห น่ ว ยงานที่
เกี่ยวข้องอีกหน่ วยงานหนึ่ง ได้แก่ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ซึง่ มีหน้าทีด่ ูแลด้าน
ความปลอดภัยในเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมต่างๆ ทัวประเทศ ่ หน่ วยงานดังกล่าวจะมีขอ้ มูล
สถานการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีเ่ ขตนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ
2.1 กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีบทบาทหน้าที่ในการควบคุมดูแลการประกอบ
กิจการของโรงงานอุตสาหกรรม ป้ องกันอันตราย เหตุเดือดร้อนราคาญ และความเสียหายทีจ่ ะมี
ผลกระทบต่อประชาชนหรือสิง่ แวดล้อม ซึง่ มีบทบาทหน้าทีด่ งั นี้
2.1.1 ส านัก ทะเบีย นโรงงาน มีห น้ าที่แ ละความรับผิด ชอบเกี่ย วกับ การ
ตรวจสอบและออกใบอนุ ญ าตตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน การพิจ ารณาค าขออนุ ญ าต
โรงงานผลิตอาหาร ยา เครือ่ งสาอาง วัตถุมพี ษิ อาหารสัตว์ และโรงงานแปรรูปไม้
40

2.1.2 สานักควบคุมและตรวจโรงงาน มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบเกี่ยวกับการ


ควบคุมก ากับดูแ ลตรวจสอบโรงงาน และการดาเนินการอื่น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน
กฎหมายว่าด้วยวัต ถุอนั ตราย กฎหมายว่าด้วยการป้ องกันการใช้สารระเหย และดาเนินการ
เกีย่ วกับการจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยการจดทะเบียนเครื่องจักร การให้คาปรึกษาแนะนา
เกี่ย วกับ การจดทะเบีย น การก ากับ ดู แ ลการปฏิบ ัติง านของเอกชนผู้ไ ด้ร ับ มอบหมายให้
ปฏิบตั งิ านแทนเจ้าหน้าทีท่ ใ่ี ห้เป็ นไปตามระเบียบทีห่ น่วยงานภาครัฐกาหนด
2.1.3 สานัก เทคโนโลยีส ิ่งแวดล้อ มโรงงาน มีหน้ าที่ และความรับผิดชอบ
เกี่ยวกับ การศึก ษา วิเ คราะห์ เพื่อ พัฒ นางานด้า นความปลอดภัย และสุ ข อนามัย ในโรงงาน
ส่ งเสริมให้มกี ารนาเทคโนโลยีส ิ่งแวดล้อ มที่ทนั สมัยมาใช้ใ นการให้บริการทางวิชาการด้า น
สิง่ แวดล้อม กากับดูแลเอกชนทีไ่ ด้รบั รองฐานะทีด่ าเนินการด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยใน
โรงงาน ทาหน้าที่เป็ นศูนย์กลางการประสานแผนเตรียมพร้อมกับภาวะฉุ กเฉิน ในระดับท้องถิน่
ประสานงานการดาเนิน งานกับ หน่ ว ยงานภายในและต่ า งประเทศ จัด ท าคู่มอื เอกสารท าง
วิชาการเกีย่ วกับความปลอดภัยในโรงงานและสุขอนามัย และปฏิบตั งิ านร่วมกับหน่วยงานอื่น
2.1.4 สานักควบคุมวัตถุอนั ตราย มีหน้ าที่รบั ผิดชอบเกี่ยวกับการดาเนินการ
ตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอนั ตราย กฎหมายว่าด้วยการป้ องกันการใช้สารระเหย การกาหนดและ
จัดทาหลักเกณฑ์มาตรการต่าง ๆ เพื่อป้ องกันอันตราย และผลกระทบจากเคมีภณ ั ฑ์ และการ
ดาเนินการในฐานะหน่วยงานกลางในการร่วมกาหนดข้อตกลงระหว่างประเทศทีเ่ กี่ยวกับ กิจการ
อุตสาหกรรม และประสานงานกับองค์การหรือหน่วยงานต่าง ๆ ในการดาเนินการให้เป็ นไปตาม
ข้อผูกพัน
2.1.5 สานักเทคโนโลยีความปลอดภัย มีหน้ าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับ
การควบคุมตรวจสอบ การศึกษาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาและกาหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานหรือข้อ
กฎหมาย และการให้คาแนะนาเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขอนามัยในการประกอบกิจการ
โรงงาน
2.1.6 ศู น ย์ส ารสนเทศโรงงานอุ ต สาหกรรม มีห น้ า ที่แ ละความรับ ผิด ชอบ
เกี่ยวกับการทาหน้ าที่เ ป็ นศูนย์ข้อ มูล โรงงานอุ ต สาหกรรมสิ่งแวดล้อ ม ความปลอดภัย และ
เครือ่ งจักรของประเทศ ตลอดจนการเป็ นศูนย์สารสนเทศด้านการบริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม
เพื่อกาหนดเป็ นนโยบายการวางแผน
2.2 การนิ คมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ซึง่ เป็ นหน่ วยงานภาครัฐวิสาหกิจใน
สัง กัด กระทรวงอุ ต สาหกรรมเป็ นหน่ ว ยงานในการปฏิบ ัติ ก ารสนองนโยบายการพัฒ นา
อุตสาหกรรม มีหน้ าที่ ความรับผิดชอบในการพัฒนาและจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมโดยจัดพื้นที่
สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมให้เข้าไปอยู่ร่วมกันอย่างมีระบบและระเบียบ กฎเกณฑ์ เป็ นไปตาม
กลไกของรัฐบาลในการกระจายการพัฒนาอุตสาหกรรมออกสู่ภูมภิ าคทัวประเทศ ่ โดยมี “นิคม
41

อุตสาหกรรม” เป็ นเครื่องมือดาเนินการ ภาระหน้าทีข่ องนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยมี


ดังนี้
2.2.1 จัดตัง้ นิคมอุต สาหกรรม ส่งเสริมและสนับสนุ นเอกชนหรือองค์กรรัฐ
จัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรม
2.2.2 จัดให้มแี ละให้บริการในระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
2.2.3 ส่ ง เสริม และสนับ สนุ น ให้เ อกชนมาลงทุ น และให้บ ริก ารในระบบ
สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ซึง่ จาเป็ นต่อการประกอบอุตสาหกรรม
2.2.3 จัดให้มรี ะบบและการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม การป้ องกันและบรรเทา
อุบตั ภิ ยั จากอุตสาหกรรม
2.2.4 อนุ ญาต อนุ มตั ิ การประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมและจัดให้ได้
เพิม่ เติมซึง่ สิทธิประโยชน์ สิง่ จูงใจ และการอานวยความสะดวกแก่การประกอบอุตสาหกรรม
3. กระทรวงสาธารณสุข มีภารกิจหน้าที่โดยตรงในการดูแลสุขภาพของประชาชน
อัน รวมถึง การวินิ จ ฉัย การให้ก ารรัก ษาพยาบาล การป้ อ งกันและควบคุ ม โรค การส่ ง เสริม
สุขภาพและการฟื้ นฟูสุขภาพหน่ วยงานทีม่ ภี ารกิจหลักทัง้ หน่ วยงานวิชาการ และหน่ วยบริการ
ภายใต้สงั กัดกระทรวงสาธารณสุขที่มขี ้อ มูลที่เกี่ยวกับสถานการณ์ด้านโรคจากการประกอบ
อาชีพและสิง่ แวดล้อม ได้แก่
3.1 กรมควบคุมโรค โดยสานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมและ
กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม สานักงานป้ องกันควบคุมโรค ที่ 1 - 12 เป็ น
หน่ วยงานวิชาการที่มหี น้าทีค่ วามรับผิดชอบโดยตรงในการดาเนินงานด้านการป้ องกันควบคุม
และการเฝ้ าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม โดยทัวไปแล้ ่ ว ข้อมูลสถานการณ์
ด้า นโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่ง แวดล้อ ม ที่ส านั ก โรคจากการประกอบอาชีพ และ
สิง่ แวดล้อม เป็ นข้อมูลจากการดาเนินงานเฝ้ าระวังโรคจากการประกอบอาชีพทีส่ าคัญเช่น โรค
พิษตะกัว่ โรคพิษสารทาละลาย โรคซิลโิ คสิส โรคบิสสิโนสิส โรคประสาทหูเสื่อมจากการทางาน
โรคแอสเบสโตสิส และการบาดเจ็บจากการทางาน และข้อมูลสถานการณ์โรคและการบาดเจ็บ
จากการทางาน และข้อมูลสถานการณ์ท่ไี ด้ จากการศึกษาวิจยั เช่นข้อมูลประชากรกลุ่มเสี่ยง
จากการประกอบอาชีพต่ างๆ รวมทัง้ ข้อมูลด้านสิง่ แวดล้อ มที่มผี ลกระทบต่อสุ ขภาพในพื้นที่
ต่างๆ ที่ไ ด้จากการดาเนินการสอบสวนโรคในกรณีต่างๆที่สาคัญ เช่น ปั ญ หาผลกระทบต่ อ
สุขภาพกรณีโรงไฟฟ้ าแม่เมาะ จังหวัดลาปาง การดาเนินงานสอบสวนโรคจากกรณีการปนเปื้ อน
ของ สารตะกัวจากการด่ าเนินงานเหมืองตะกัวที่ ห่ ว้ ยคลิต้ี จังหวัดกาญจนบุร ี เป็ นต้น
3.2 กรมอนามัย มีหน่ ว ยงานที่มขี ้อมูล สถานการณ์ ด้านโรคจากการประกอบ
อาชีพและ สิง่ แวดล้อมโดยมีการดาเนินงานและการพัฒนาด้านการอนามัยสิง่ แวดล้อมในสถาน
ประกอบการ คือ สานักอนามัยสิง่ แวดล้อมและศูนย์อนามัยที่ 1-12 ซึง่ เป็ นศูนย์วชิ าการภายใต้
42

สังกัดกรมอนามัยที่กระจายตัวอยู่ตามภูมภิ าคต่างๆ ลักษณะการดาเนินงานเน้ นด้านอนามัย


สิง่ แวดล้อมภายในและภายนอกสถานประกอบการ นอกจากนี้ยงั มีหน่ วยงานที่เพิม่ จัดตัง้ คือ
กองสุขาภิบาลชุมชนและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทีม่ กี ารดาเนินงานด้านการสุขาภิบาลและ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากโครงการต่างๆ
3.3 กรมการแพทย์ มีภารกิจที่เ กี่ยวข้องโดยตรงในด้านการวินิจฉัยและการ
รัก ษาพยาบาลโรคต่ า งๆ หน่ ว ยงานหลัก ที่เ กี่ย วข้อ งที่ส าคัญ คือ ศู น ย์อ าชีว เวชศาสตร์
โรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี ซึง่ มี บทบาทหน้าทีใ่ นการวินิจฉัยและรักษาพยาบาลผูเ้ จ็บป่ วยจาก
โรคจากการประกอบอาชีพรวมทัง้ การจัดบริการเชิงรุกได้แก่สถานประกอบการ ข้อมูลที่มกี าร
จัดเก็บเป็ นข้อมูลจากการให้บริการ เช่น ข้อมูลสภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสีย่ งในโรงงาน
และในนิค มอุต สาหกรรมต่างๆ และข้อ มูลการตรวจสุ ขภาพในกลุ่ มแรงงานต่ างด้าว เป็ นต้น
รวมทัง้ ยังมีขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการศึกษาวิจยั ของบุคลากรในหน่วยงาน
3.4 หน่ วยงานของกระทรวงสาธารณสุขในส่ วนภูมิภาคที่ เกี่ยวข้องกับงาน
อาชี วอนามัยและความปลอดภัย หน่ วยงานภายใต้สงั กัดกระทรวงสาธารณสุขทีม่ ี บทบาท
สาคัญในการให้บริก ารตรวจวินิจฉัย รักษาพยาบาล รวมถึ งมีบทบาทในการดาเนินงานด้าน
อาชีว เวชกรรม อันได้แ ก่ การวินิจฉัย รักษาพยาบาล การป้ อ งกันและควบคุ ม การส่ งเสริม
สุขภาพรวมถึงการบันทึกข้อมูลผูเ้ จ็บป่ วยทีม่ ารับบริการทางด้านโรคจากการประกอบอาชีพและ
สิง่ แวดล้อม ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทัวไป ่ โรงพยาบาลชุมชน สถานบริการสุขภาพ
ปฐมภู ม ิ โดยมีก ารรายงานโรคเข้า สู่ ร ะบบการเฝ้ า ระวัง โรคของกระทรวงสาธารณสุ ข ผ่ า น
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดต่างๆ เข้าสู่ส่ วนกลางโดยมีสานักนโยบายและยุทธศาสตร์และ
สานักระบาดวิทยาเป็ นหน่ วยงานที่รวบรวมวิเ คราะห์ข้อมูลทัง้ ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม
และภาคการท างานอื่ น ๆ ลั ก ษณะข้ อ มู ล ที่ ม ีก ารจัด เก็ บ เป็ นข้ อ มู ล จากการให้ บ ริ ก าร
เช่น ข้อมูลรายงานการเจ็บป่ วยหรือตายด้วยโรคต่างๆ สภาวะสุขภาพของ ประชากรกลุ่มเสีย่ ง
ในโรงงานต่างๆ ให้บริการเชิงรุก ข้อมูลสภาวะสุขภาพจากการตรวจสุขภาพในกลุ่ม แรงงานต่าง
ด้าวในพืน้ ที่ รวมถึงข้อมูลจากการสารวจและศึกษาวิจยั ของบุคลากรในหน่วยงานเป็ นต้น
3.5 สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สังกัดกระทรวงสาธารณสุข มี
หน้าทีใ่ นการศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี ส่งเสริม สนับสนุ น พัฒนา
ระบบและกลไก และดาเนินการปกป้ องและคุม้ ครองสุขภาพประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์
สุขภาพ โดยผลิตภัณฑ์สุ ขภาพเหล่านัน้ ต้องมีคุณภาพมาตรฐานและปลอดภัย มีการส่งเสริม
พฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องด้วยข้อมูลวิชาการที่มหี ลักฐานเชื่อถือได้และมีความเหมาะสม
เพื่อ ให้ผ ลิต ภัณ ฑ์สุ ขภาพมีคุ ณภาพปลอดภัย ผู้บริโภคมันใจ ่ ได้แก่ พระราชบัญ ญัติอ าหาร
พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัตยิ า พ.ศ. 2510 และแก้ไขเพิม่ เติมฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2518) ฉบับที่ 3
43

(พ.ศ. 2522) ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2528) และฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2530) พระราชบัญญัตเิ ครื่องสาอาง
พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัตวิ ตั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 เป็ นต้น
4. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม มีบทบาทหน้าทีโ่ ดยตรงเกี่ยวกับ
การดูแล ควบคุมและรายงานสถานการณ์มลพิษสิง่ แวดล้อมต่างๆโดยมีหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง
ได้แ ก่ สานัก นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อ ม ซึ่งเป็ นหน่ ว ยงานที่ดูแล
เกี่ยวกับการประเมินผลกระทบ สิง่ แวดล้อมจากการดาเนินการกิจการต่างๆที่กาหนดไว้ตาม
กฎหมายหรือ พระราชบัญ ญัติท่เี กี่ย วข้อ งและ กรมควบคุ มมลพิษ ซึ่ง มีห น้ าที่โดยตรงในการ
ควบคุ ม มลพิษ สิ่ง แวดล้อ มต่ า งๆ และกรมส่ งเสริม คุ ณ ภาพสิ่งแวดล้อ มที่มหี น้ า ที่ส่ งเสริมให้
ประชาชนในชุมชนดูแลสิง่ แวดล้อมให้ดใี ห้ปราศจากมลพิษจากอุตสาหกรรมและมลพิษอื่นๆ
เพื่อสิง่ แวดล้อมที่ยงยื
ั ่ น โดยทัวไปแล้
่ ว กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จะมีการ
รายงานสถานการณ์มลพิษสิง่ แวดล้อมและการประเมินผลกระทบที่ศกึ ษาจากการดาเนินงาน
กิจการต่างๆทีก่ าหนดไว้ตามพระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมเผยแพร่แก่
สาธารณชนรวมทัง้ มีศูนย์ขอ้ มูลวัตถุอนั ตรายและเคมีภณ ั ฑ์เพื่อเผยแพร่ขอ้ มูลเกีย่ วกับสารเคมี
5. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีบทบาทหน้ าที่เ กี่ยวกับการสนับสนุ นการ
ดาเนินงานทางด้านเกษตรกรรมของประเทศ ถึงแม้ว่าภารกิจของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จะไม่เ กี่ยวข้องกับสุ ขภาพของเกษตรกร โดยตรงแต่นโยบายและการดาเนินการบางอย่างมี
ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพของเกษตรกรได้ เช่น นโยบายทางด้า นควบคุ มการนาเข้า และการใช้
สารเคมีทางการเกษตร เป็ นต้น ในกรณีเ กี่ย วกับข้อ มูล ข่าวสารต่ างๆสามารถที่จะนาข้อ มูล
บางอย่างมาใช้เ พื่อ ประเมินสถานการณ์ ค วามเสี่ยงที่เ กี่ยวข้อ งกับสุ ขภาพเกษตรกรได้ เช่น
ระบบเครือ ข่า ย สารสนเทศการเกษตร ซึ่งมีข้อ มูล จ านวนเกษตรกรหรือ ผู้ป ระกอบอาชีพ
เกีย่ วข้องกับการเกษตร จานวนแผนงาน/โครงการ และกิจกรรมทีก่ าหนดขึน้ จากระบบการเตือน
ภัย และการบริหารจัดการความเสีย่ งภายใต้ระบบเครือข่ายสารสนเทศการเกษตรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ อีก
หน่ วยงานหนึ่ง คือ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร จะเป็ นแหล่งข้อมูลสถิติ เกี่ยวกับการเกษตร
ทุกชนิดทัง้ ในด้านผลผลิตของพืชและสัตว์ ภาวะเศรษฐกิจทางการเกษตร รายได้ รายจ่ายของ
เกษตรกร ภาวะหนี้สนิ ของเกษตรกร ภาวะตลาดของผลิตผลทางการเกษตร และข้อมูลอื่นๆ
ทางเศรษฐกิจการเกษตรที่จาเป็ นเพื่อใช้ในการวิเคราะห์นโยบายการเกษตร และแผนพัฒนา
การเกษตรและสหกรณ์ ยกเว้นข้อมูลทีเ่ ฉพาะเจาะจง เช่น ข้อมูลสารเคมีเพื่อใช้ในการเกษตรซึง่
ต้องมีการขออนุญาตการนาเข้าขอได้ทก่ี รมวิชาการเกษตร ข้อมูลสถิตปิ ระมงขอได้ทก่ี รมประมง
ข้อมูลด้านการเลีย้ งสัตว์ขอได้ทก่ี รมปศุสตั ว์ เป็ นต้น
6. กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย เป็ นหน่ วยงานทีม่ กี าร
จัดตัง้ ขึ้นภายหลังการปฏิรูประบบราชการ เพื่อให้มหี น้ าที่ในการจัดการบรรเทาสาธารณภัยที่
44

เกิดขึ้น ซึ่งหนึ่งในสาธารณภัยที่เกิดขึ้นบ่อย ได้แก่ การเกิดอุ บตั ิภยั จากสารเคมีท ัง้ จากการ


รัวไหล
่ การระเบิด การขนส่ง เป็ นต้น
7. กระทรวงศึ กษาธิ การ มีหน้าที่ท่สี าคัญในการให้การศึกษา การผลิตและพัฒนา
บุคลากรแก่ประเทศอันรวมไปถึงการผลิตบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทีจ่ ะทาหน้าที่
ในด้านการวินิจฉัย รักษาพยาบาล ป้ องกัน ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและการส่งเสริ ม
ดูแลสุขภาพของผูป้ ระกอบอาชีพ รวมไปถึงดาเนินการการศึกษาวิจยั และการบริการทางวิชาการ
ด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม การศึกษาวิจยั และการให้บริการทางวิชาการใน
ส่วนทีก่ ระทรวงศึกษาธิการโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระดับมหาวิทยาลัยดาเนินการนัน้ มีอยู่ 2 ส่วนที่
ส าคัญ คือ ส่ ว นที่ด าเนิ น การโดยคณาจารย์แ ละนั ก วิจ ัย ของสถานศึก ษานั น้ ๆ และส่ ว นที่
ดาเนินการโดยนักศึกษาของสถาบันที่ให้การศึกษา ซึ่งปั จจุบนั มีหน่ วยงานด้านการศึกษาทัง้
ภาครัฐและเอกชนทีใ่ ห้การศึกษาและดาเนินการศึกษาวิจยั และให้บริการทางวิชาการอันรวมถึง
การเผยแพร่ขอ้ มูลจากการให้บริการวิชาการและจากการศึกษาวิจยั ในประเด็นทีเ่ กี่ยวข้องกับโรค
จากการประกอบอาชีพ และสิ่ง แวดล้อ ม ได้ แ ก่ คณะแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์
คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ห รือ สาขาวิทยาศาสตร์สุ ขภาพ คณะวิศ วกรรม
โดยเฉพาะด้านวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์สงิ่ แวดล้อมในมหาวิทยาลัยต่างๆ
8. สานั กงานสถิ ติแห่ งชาติ เป็ นหน่ วยงานด้านข้อมูลและสถิติต่างๆ ของประเทศ
ซึง่ มีการดาเนินงานสารวจข้อมูลและสามะโนประชากรกลุ่มต่างๆ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับจานวน
ประชากรทีท่ างานในภาคอุตสาหกรรม จาแนกเป็ นจานวนผูท้ างานภาครัฐ ภาคเอกชน เป็ นต้น
9. กระทรวงพลัง งาน มีส านักงานนโยบายและแผนพลังงานที่เ ป็ นหน่ ว ยงานที่
เกี่ยวข้องด้านการลดการใช้พลังงานแล้วมีผลทาให้มกี ารใช้ส ารในกลุ่มน้ ามันและปิ โตรเลียม
ลดลง โดยส่งผลเชื่อมโยงต่อการลดมลพิษสิง่ แวดล้อมและมีผลดีต่อการลดโรคจากการประกอบ
อาชีพและสิง่ แวดล้อม
10. องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่ น เช่น กรุงเทพมหานคร องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(อบจ.) องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) และเทศบาลต่าง ๆ ซึ่งมี งานอนามัยสิง่ แวดล้อม
สานักอนามัยสิง่ แวดล้อมและ/หรือสานักงานสาธารณสุขของหน่ วยงาน มีบทบาทหน้าทีโ่ ดยตรง
เกี่ย วกับ การดูแ ลด้า นสุ ข ภาพและสิ่งแวดล้อ มของคนในชุ ม ชนต่ า งๆ ในพื้น ที่ป กครองของ
หน่ วยงาน จะมีขอ้ มูลสถานการณ์ดา้ นการเจ็บป่ วย มลพิษสิง่ แวดล้อมและการประกอบกิจการ
อุ ต สาหกรรมที่ต งั ้ อยู่ใ นพื้น ที่ปกครองของหน่ ว ยงาน รวมทัง้ ออกข้อ บัง คับ พระราชบัญ ญัติ
ท้องถิน่ และมาตรการความปลอดภัยในท้องถิน่
11. หน่ วยงานเอกชนที่ มีการศึกษาวิ จยั การพัฒนาข้อมูลสถานการณ์ การจัดทา
สถานการณ์ และข้อแนะนาทางวิชาการทีม่ ขี อ้ มูลเกีย่ วข้องหรือเชื่อมโยงกับโรคจากการประกอบ
อาชีพและ สิง่ แวดล้อม ได้แก่ สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ สถาบันวิจยั และพัฒนาแห่งประเทศไทย
45

(TDRI) สถาบันสิง่ แวดล้อมไทย สมาคมวิศวกรรมแห่งประเทศไทย และสถาบันปิ โตรเลียมแห่ง


ประเทศไทย
12. หน่ วยงานที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น การศึ ก ษาวิ จ ัย ด้ า นการพัฒ นาข้ อ มู ล
สถานการณ์ /การจัดทาสถานการณ์ ด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่ งแวดล้อม
นอกจากหน่ วยงานที่มภี ารกิจโดยตรงและเกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจยั ด้านโรคจากการ
ประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมแล้ว ยังมีหน่ วยงานทีม่ หี น้าทีใ่ นการสนับสนุ นการศึกษาวิจยั ด้าน
โรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมโดยให้การสนับสนุนงบประมาณในการศึกษาวิจยั และ
พัฒนาแก่หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งมีภารกิจในการศึกษาวิจยั การพัฒนาระบบข้อมูลและการ
ให้บริการข้อมูลจึงนับเป็ นหน่ วยงานที่มขี ้อมูลด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม
เช่นกัน ทีส่ าคัญได้แก่ สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) สานักงานกองทุนสนับสนุ นการ
วิจยั (สกว.) (มีฐานข้อมูลการจัดการความรู้ด้านความปลอดภัยจากสารเคมี ฐานข้อมูลการ
ศึก ษาวิจยั ด้า นอาชีว อนามัย และสิ่งแวดล้อ ม) ส านักงานกองทุ นเงินทดแทน สานักงาน
ประกันสังคม สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สานักงานคณะกรรมการ
วิจยั แห่งชาติ สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม ส านักงานมาตรฐานแรงงาน
รวมถึงมูลนิธติ ่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น มูลนิธอิ ารมณ์ พงศ์พงัน เป็ นต้น
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับงานด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยในการทางานจะเห็นว่า
เป็ นทัง้ หน่ วยงานด้านการส่งเสริม ป้ องกัน กากับดูแล และออกกฎหมายควบคุมการปฏิบตั งิ าน
ของสถานประกอบการเพื่อให้ผู้ปฏิบตั ิงานได้รบั ความปลอดภัยในการทางาน และยังให้ก าร
ช่วยเหลือสถานประกอบการให้มกี ารดาเนินงานได้อย่างถูกต้องไม่ขดั ต่อศีลธรรมอันดี รวมทัง้
ส่งเสริมให้สถานประกอบการดาเนินธุรกิจได้อย่างราบรื่นก่อให้เกิดความสงบสุขในการทางาน
และทาให้สร้างชื่อเสียงทีเ่ ป็ นภาพลักษณ์ทด่ี ใี ห้แก่ประเทศชาติ

หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และอาชีวอนามัยระหว่างประเทศ


งานความปลอดภัย อาชีวอนามัยเป็ นเรื่องสาคัญระดับโลกที่มหี น่ วยงานให้การกากับ
ควบคุม ช่วยเหลือ และพัฒนาให้มนุ ษย์ทุกคนได้รบั ความปลอดภัย และสุภาพอนามัยที่ดจี าก
การปฏิบตั งิ านในหน้าที่ ดังนัน้ จึงมีหน่ วยงานที่สาคัญในปั จจุบนั ที่ร่ วมมือกันในการทาหน้ าที่
กากับดูแลทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ดังนี้
1. องค์การอนามัยโลก(World Health Organization : WHO) ในสังกัด
สหประชาชาติ ทาหน้าทีด่ แู ลประสานงานงานด้านสาธารณสุข ก่อตัง้ เมื่อ 7 เมษายน พ.ศ. 2491
(ค.ศ.1948) มีสานักงานด้านอาชีวอนามัย (Office of Occupational Health) ตัง้ อยู่ในกรุงเจนิวา
ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ มีบทบาทหน้าที่ในการจัดโปรแกรมดาเนินงานอาชีวอนามัย จัดพิมพ์
เอกสารเผยแพร่เอกสารที่เกี่ยวข้อง ทาการศึกษาวิจยั การวิจยั และการแลกเปลี่ยน เพื่อค้นหา
46

และบ่งชีป้ ั ญหาด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน พัฒนากลวิธใี นการตรวจวัด


ประเมิน และควบคุมความเสีย่ งจากสิง่ คุกคามสุขภาพอนามัยของผูป้ ระกอบอาชีพ นอกจากนี้ยงั
ส่งบุคลากรผูเ้ ชีย่ วชาญไปยังประเทศต่าง ๆ เพื่อให้ความรู้ การศึกษา การฝึกอบรมในสาขาวิชา
การจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน และให้คาปรึกษา แนะนา ในการ
ดาเนินงาน และการแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ ในระยะสัน้ ด้วย ด้วยมีวตั ถุประสงค์เพื่อทีจ่ ะคุม้ ครองและ
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนทัวโลก ่ กล่าวคือ เพื่อดาเนินการยกระดับสุขภาพอนามัย
ในที่ทุก แห่ งในโลกและช่ว ยส่ งเสริม ความก้า วหน้ า ในการส่ งเสริมสุ ขภาพอนามัย และความ
ปลอดภัย
2. องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization : ILO)
ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2462 เกิดขึน้ พร้อมกับการก่อตัง้ สันนิบาตชาติ (The League of Nations)
ภายใต้สนธิสญ ั ญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 1 และประเทศไทยได้
เข้าเป็ นสมาชิกในปี พ.ศ. 2462 เริม่ ก่อตัง้ พร้อมกัน ขณะนี้มปี ระเทศสมาชิก 181 ประเทศ
(ข้อมูล ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2551) เป็ นหน่ วยงานระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและสังคม มี
ภารกิจหลักในการช่วยเหลือผู้ใช้แรงงานทัวโลกให้ ่ ได้ความยุติธรรมจากสั งคม ให้มชี วี ติ และ
สภาพการทางานที่ดขี ้นึ โดยยึดหลักการว่า สันติสุขแห่งโลกจะเกิดขึ้นได้และมีความต่อเนื่อง
มันคงก็
่ ด้วยการที่มคี วามยุติธรรมในสังคม ซึ่งมีรากฐาน คือ ความเคารพในสิทธิมนุ ษยชน มี
มาตรฐานความเป็ นอยู่ท่ดี ี มีส ภาพการทางานซึ่งเกื้อ กู ล ความผาสุ กของผู้ใ ช้แ รงงาน การมี
โอกาสทางานและมีความมันคงทางเศรษฐกิ
่ จ องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีวตั ถุประสงค์ใน
การดาเนินงานเพื่อ
2.1 ส่งเสริมความยุตธิ รรมในสังคม ให้การรับรองและเคารพสิทธิมนุษยชน
2.2 ส่งเสริม สนับสนุ นให้เกิดความเป็ นธรรมในการใช้แรงงาน การคุ้มครองผู้ใช้
แรงงาน และ การเพิม่ ผลผลิต การยกมาตรฐานความเป็ นอยูข่ องลูกจ้าง
2.3 ให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทัง้
ด้านประกันสังคมและการสหกรณ์
3. โครงสร้างขององค์การแรงงานระหว่ างประเทศ ( International Labour
Organization) องค์การแรงงานระหว่างประเทศ เป็ นองค์กรไตรภาคี ประกอบด้วยฝ่ ายรัฐบาล
ฝ่ ายนายจ้าง และฝ่ ายลูกจ้างของประเทศสมาชิก โดยสามารถแบ่งโครงสร้างการทางานหลักของ
องค์การได้ ดังนี้
3.1 คณะประศาสน์ การ (Governing Body) ในการบริหารองค์การนัน้ ILO มี
คณะประศาสน์ ก ารเป็ นคณะกรรมการบริห ารสูงสุ ดมีห น้ าที่ก าหนดนโยบายการบริห ารและ
ควบคุมการปฏิบตั งิ านขององค์การ และกาหนดโครงการงบประมาณเพื่อเสนอให้ทป่ี ระชุมใหญ่
47

แรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Conference: ILC) รับรอง คณะประศาสน์การมี


การประชุมปี ละ 3 ครัง้ ในเดือนมีนาคม มิถุนายน และพฤศจิกายน
คณะประศาสน์การมีประธานคณะประศาสน์การ (Chairman of the Governing Body)
เป็ นผูร้ บั ผิดชอบสูงสุด สมาชิกของคณะประศาสน์ประกอบด้วยผูแ้ ทนฝ่ ายนายจ้าง 14 คน ฝ่ าย
ลูกจ้าง 14 คน และฝ่ ายรัฐบาล 28 คน รวมเป็ น 56 คน โดยเป็ นคณะกรรมการถาวรจากประเทศ
อุตสาหกรรมสาคัญ 10 ประเทศ ได้แก่ ประเทศบราซิล จีน ฝรังเศส ่ เยอรมนี อินเดีย อิตาลี
ญี่ป่ นุ รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา คณะประศาสน์การอยู่ในตาแหน่ งคราวละ 3
ปี โดยพิจ ารณาหมุน เวีย นไปตามภู ม ิภ าค ส่ ว นประธานคณะประศาสน์ ก ารมีก ารเลือ กตัง้
หมุนเวียนกันดารงตาแหน่งคราวละ 1 ปี
สานักงานแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Office) ทาหน้าทีด่ าเนินงาน
ต่าง ๆ หรือทาหน้าทีเ่ ป็ นเลขาธิการขององค์การ รวมทัง้ ทาหน้าทีป่ ระสานงานและกิจกรรมต่าง
ๆ ให้เป็ นไปตามนโยบายที่คณะประศาสน์การกาหนด และตามมติของที่ประชุมใหญ่แรงงาน
ระหว่างประเทศเปรียบเสมือนฝ่ ายอานวยการทีม่ พี นักงานประจาทางานตามหน้าทีใ่ นแผนกต่าง
ๆ มีผอู้ านวยการใหญ่ (Director-General) ซึง่ มาจากการเลือกตัง้ เป็ นผูร้ บั ผิดชอบสูงสุด และอยู่
ในตาแหน่งคราวละ 5 ปี
สานักงานใหญ่ท่นี ครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีเจ้าหน้าที่ประจาประมาณ
1,900 คน จากภูมภิ าคต่าง ๆ ทัว่ โลก และผู้เชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ หลายเชื้อชาติ ประมาณ
600 คน นอกจากนี้ยงั มีสานักงานภูมภิ าค ได้แก่
1. ส านั ก งานภู ม ิภ าคเอเชีย และแปซิฟิ ก ตัง้ อยู่ท่ีก รุ ง เทพมหานคร ประเทศ
ไทย สานักงานภูมภิ าคแอฟริกา ตัง้ อยูท่ ก่ี รุง Addis Ababa ประเทศเอธิโอเปี ย
2. สานักงานภูมภิ าคลาตินอเมริกาและแคริบเบียน ตัง้ อยูท่ ก่ี รุงลิมา ประเทศเปรู
3. สานักงานภูมภิ าคกลุ่มประเทศอาหรับ ตัง้ อยูท่ ก่ี รุงเบรุต ประเทศเลบานอน
4. สานักงานภูมภิ าคยุโรปและเอเชียกลาง ตัง้ อยูท่ น่ี ครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
5. สานักงานย่อยกระจายกันอยูท่ วโลกประมาณ
ั่ 40 แห่ง
3.2 ที่ประชุมใหญ่แรงงานระหว่างประเทศ การพิจารณาตัดสินใจกระทาการใด ๆ
ของ ILO มาจากการประชุมใหญ่แรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Conference :
ILC) ซึง่ จัดขึน้ ปี ละหนึ่งครัง้ ในเดือนมิถุนายน ณ นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดยให้
ประเทศสมาชิกส่งผูแ้ ทนไตรภาคี ได้แก่ ฝ่ ายรัฐบาล ฝ่ ายนายจ้าง และฝ่ ายลูกจ้าง พร้อมด้วยที่
ปรึกษาของแต่ละฝ่ ายเข้าร่วมการประชุม
ที่ประชุมมีหน้ าที่ในการพิจารณานโยบายและแนวทางการดาเนินงานในอนาคตของ
องค์การ กาหนดและรับรองมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ติดตามผลการปฏิบตั ิต าม
ปฏิญญาว่าด้วยหลักการและสิทธิขนั ้ พืน้ ฐานในการทางาน ติดตามผลการปฏิบตั ติ ามอนุ สญ ั ญาที่
ให้สตั ยาบันแล้ว และอภิปรายถึงปั ญหาแรงงานและสังคมในปั จจุบนั
48

บทบาท หน้ าที่ตามหัวข้อมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศขององค์การแรงงาน


ระหว่างประเทศ
เพื่อให้ประเทศสมาชิกคานึงถึงความยุ ตธิ รรมทางสังคม และเคารพในสิทธิขนั ้ พื้นฐาน
ของคนงาน ILO จึงได้กาหนดมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศขึน้ มา เพื่อให้ประเทศสมาชิกได้
นาไปปฏิบตั ิ เนื้อหามาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศของ ILO แบ่งออกเป็ น 22 หัวข้อ ได้แก่
1. เสรีภาพในการสมาคม การร่วมเจรจาต่อรอง และแรงงานสัมพันธ์ (Freedom of
association, collective bargaining, and industrial relations)
2. แรงงานบังคับ (Forced labour)
3. การขจัดการใช้แรงงานเด็ก และการคุม้ ครองเด็กและผูเ้ ยาว์ (Elimination of child
labour and protection of children and young persons)
4. โอกาสและการปฏิบตั ทิ เ่ี ท่าเทียมกัน (Equality of opportunity and treatment)
5. การร่วมปรึกษาหารือไตรภาคี (Tripartite consultation)
6. การตรวจแรงงานและการบริหารแรงงาน (Labour administration and inspection)
7. การส่งเสริมและนโยบายการจ้างงาน (Employment policy and promotion)
8. การฝึกอบรมและการแนะแนวอาชีพ (Vocational guidance and training)
9. ความมันคงในการจ้
่ างงาน (Employment security)
10. ค่าจ้าง (Wages)
11. เวลาการทางาน (Working time)
12. ความปลอดภัยและสุขอนามัยในการทางาน (Occupational safety and health)
13. ความมันคงทางสั
่ งคม (Social security)
14. การคุม้ ครองความเป็ นมารดา (Maternity protection)
15. นโยบายทางสังคม (Social policy)
16. คนงานอพยพ (Migrant workers)
17. คนประจาเรือ (Seafarers)
18. คนงานประมง (Fishermen)
19. คนงานท่าเรือ (Dockworkers)
20. ชนเผ่าและคนพืน้ เมือง (Indigenous and tribal peoples)
21. ประเภทเฉพาะของคนงาน (Specific categories of workers)
22. บทบัญญัตทิ า้ ยบทของอนุสญ ั ญา (Final Articles Conventions)
องค์การนี้ให้ความสาคัญกับความปลอดภัยในการทางาน
การส่งเสริมสิทธิมนุ ษยชนขัน้ พื้นฐาน การปรับปรุงสภาพการทางานและความเป็ นอยู่
ของคนงาน และการเสริมสร้างโอกาสในการจ้างงาน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ พันธกิจในการ
ปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องตามมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
49

ใน ค.ศ. 1948 อนุ สญ ั ญาฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุม้ ครองสิทธิ


ในการรวมตัว (Freedom of Association and Protection of the Right to Organize) และค.ศ.
1949 อนุ สญ ั ญาฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง (Right to
Organize and Collective Bargaining)
ใน ค.ศ. 1974 มีขอ้ แนะเรือ่ งมะเร็งทีเ่ กิดจากการประกอบอาชีพ และเริม่ จาก ค.ศ. 1977
ก็ได้มขี อ้ แนะเกีย่ วกับเรือ่ งสภาพแวดล้อมในการทางาน ตลอดจนมลภาวะทัง้ หลาย เช่น อากาศ
เป็ นพิษ เสียง การสันสะเทื
่ อนและอื่น ๆ
ค.ศ. 1981 ที่ประชุ มใหญ่ อ งค์การแรงงานระหว่างประเทศได้ก าหนดให้มอี นุ สญ ั ญา
ฉบับที่ 155 ว่าด้วยความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทางาน โดยข้อแนะที่ 164 เรื่อง
ความปลอดภัยและสุ ขภาพในการประกอบอาชีพ ซึ่งออกในปี เ ดียวกันยังได้ใ ห้รายละเอีย ด
เกีย่ วกับมาตรการในการออกแบบสถานทีท่ างาน การเก็บรักษาและการใช้สารอันตราย เป็ นต้น
ใน ค.ศ. 1985 ที่ประชุมใหญ่องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ได้กาหนดอนุ สญ ั ญาว่า
ด้ว ยการบริก ารด้า นอาชีว อนามัย ค.ศ. 1985 และมีม ติร บั รองข้อ แนะฉบับ ที่ 171 เรีย กว่ า
“ข้อแนะว่าด้วยการบริการอาชีวอนามัย ” โดยให้เป็ นเอกสารเสริมสาหรับอนุ สญ ั ญาองค์การ
แรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 161และ ค.ศ. 2002 แนบท้ายอนุ สญ ั ญาฉบับที่ 155 ว่าด้วย
ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทางาน (Protocol of 2002 to the Occupational
Safety and Health) ค.ศ. 1981 เป็ นต้น
ใน ค.ศ. 1990 มีอ นุ ส ญั ญาเกี่ย วกับ สารเคมี (ฉบับ ที่ 170) และข้อ แนะ ฉบับ ที่ 177
เกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้สารเคมีในการทางาน ซึ่งเป็ นข้อแนะที่ออกในปี เดียวกันนัน้
จากผลงานดังกล่าวขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ได้ส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ ทัวโลกให้ ่
ความสนใจในการริเริม่ มาตรการป้ องกันโดยออกเป็ นบทบัญญัตขิ องกฎหมาย และมีการปรับปรุง
โดยนาข้อแนะต่าง ๆ ของหน่วยงานนี้มาเป็ นแนวทางเรือ่ ยมาจนถึงปั จจุบนั

หน่ วยงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของต่างประเทศ
จากการปฏิว ตั ิอุ ต สาหกรรมครัง้ ที่ยงิ่ ใหญ่ ท่เี กิดจากสาเหตุ ค วามไม่พอใจของชนชัน้
แรงงานที่ทางานในโรงงานที่ไม่ได้รบั ความปลอดภัยในการทางานจึงทาให้มกี ารเปลี่ยนแปลง
ครัง้ สาคัญ ในประเทศแถบตะวันตกเพื่อให้นายจ้างในโรงงานอุต สาหกรรมได้ใ ห้ค วามสาคัญ
เกี่ยวกับการทางานของคนงานให้เกิดความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานให้มากขึน้
ซึง่ มีหน่วยงานของประเทศต่าง ๆ ดังนี้
1. หน่ วยงานของสหราชอาณาจักร การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 18 ทาให้
สังคมอุตสาหกรรมในสหราชอาณาจักรอังกฤษเปลี่ยนแปลงและขยายตัวอย่างรวดเร็ว จึงต้อง
อาศัยแรงงานทีม่ าทางานในอุตสาหกรรมเป็ นจานวนมาก ผูใ้ ช้แรงงานเหล่านัน้ ไม่ได้รบั การดูแล
50

ด้านความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย โรงงานทอผ้า ปั น่ ด้ายขนาดใหญ่ไม่ดูแ ลคนงาน ทาให้


เกิด อุ บตั ิเ หตุ และเจ็บ ป่ วยจากการท างาน ทาให้ม ีผู้พิก ารจากการท างานเพิ่ม สูง ขึ้นเรื่อ ยๆ
คนงานขาดขวัญกาลังใจ ดังนัน้ ใน ค.ศ. 1974 ได้มกี ารออกพระราชบัญญัตสิ ุขภาพและความ
ปลอดภัยในการทางานประเภทต่าง ๆ เรียกว่า Health and Safety at Work Act etc 1974
ขึน้ มาบังคับใช้ซง่ึ เป็ นกฎหมายทีส่ าคัญ เพราะได้รวบรวมกฎหมายต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องด้านอาชี
วอนามัย และความปลอดภัย รวมกัน ไว้ฉ บับ เดีย ว เพื่อ ลดความซ้ า ซ้อ นของกฎหมายและ
บทบาทของเจ้าหน้าที่ทเ่ี กี่ยวข้องในการบริหารกฎหมาย ต่อมาในปี ค.ศ. 1844 รัฐบาลอังกฤษ
ได้อ อกกฎหมายโรงงาน (Factory Act) ขึ้น และใน ค.ศ. 1878 ประเทศอัง กฤษ ได้ต รา
พระราชบัญญัตโิ รงงานทีส่ มบูรณ์แบบฉบับแรกขึน้ โดยมีบทบัญญัตทิ ว่ี ่าด้วยการคุม้ ครองแรงงาน
ต่ อ มาอีก ในปี ค.ศ. 1879 รัฐ สภาอัง กฤษได้ผ่ า นพระราชบัญ ญัติก องทุ น ทดแทนฉบับ แรก
นอกจากนี้ทาให้ส่งผลตามได้เกิดสองหน่ วยงานที่สาคัญของอังกฤษเกี่ยวกับสุขภาพและความ
ปลอดภัยในการทางาน คือ คณะกรรมการกรรมาธิการสุขภาพและความปลอดภัย (Health and
Safety Commission : HSC) และคณะกรรมการบริหารสุขภาพและความปลอดภัย (Health
and Safety Executive : HSE) ซึง่ มีบทบาทหน้าทีด่ งั นี้ (Gary Dessler, 2015, p.523)
1.1 คณะกรรมาธิการสุขภาพและความปลอดภัย (HSC) มีหน้าทีห่ ลักในการบริหาร
ให้การดาเนินการต่าง ๆ เป็ นไปตามพระราชบัญญัตทิ ก่ี าหนดไว้ มีหน้าทีด่ งั นี้
1.1.1 หน้าทีท่ วไป
ั ่ ได้แก่
1.1.1.1 สร้างความมันคงในเรื
่ ่องสุขภาพ ความปลอดภัย และสวัสดิการ
ให้แก่ผปู้ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ
1.1.1.2 ปกป้ องบุคคลอื่นให้ปลอดภัยจากอันตรายหรือ เจ็บป่ วย ความ
เสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ต่อสุขภาพและความปลอดภัยอันเนื่องมากจากการทางาน
1.1.1.3 ควบคุมการเก็บรักษาและการใช้สารไวไฟ วัตถุระเบิดต่าง ๆ
1.1.1.4 ควบคุมการปล่อยก๊าซพิษจากสถานประกอบการไปสู่บรรยากาศ
ภายนอก
1.1.2 หน้าทีเ่ ฉพาะ ได้แก่
1.1.2.1 ช่วยเหลือและจูงใจให้บุคลากรทีเ่ กี่ยวข้องด้านสุขภาพและความ
ปลอดภัยให้มกี ารดาเนินการตามความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ
1.1.2.2 ด าเนิ น การต่ า ง ๆ เพื่อ สนั บ สนุ น ให้ เ กิด การวิจ ัย การ
ประชาสัมพันธ์ผลการวิเคราะห์ การจัดให้มกี ารฝึ กอบรม และเตรียมเกี่ยวกับสารสนเทศความ
ปลอดภัยและสุขภาพอนามัย จูงใจให้มกี ารวิจยั และพัฒนารวมทัง้ การฝึ กอบรมเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยและสุขภาพอนามัย
51

1.1.2.3 ให้การสนับสนุ นหน่ ว ยงานที่เ กี่ยวข้อ งทัง้ หน่ ว ยงานภาครัฐ


องค์กรนายจ้าง องค์กรลูกจ้าง และหน่วยงานอื่นได้มกี ารให้ขอ้ มูลสารสนเทศและให้มกี ารบริการ
รับคาปรึกษาในรูปแบบส่วนกลางและอย่างทัวถึ ่ งเพียงพอกับความต้องการ
1.1.2.4 จัดทาข้อกาหนดต่าง ๆ ให้กบั องค์กรที่เกี่ยวข้องในรูปแบบการ
เสนอโครงร่าง โดยเสนอผ่านรัฐมนตรีผรู้ บั ผิดชอบองค์กรนัน้ ๆ
1.2 คณะกรรมการบริหารสุขภาพและความปลอดภัย (HSE) ทาหน้ าที่รบั ผิดชอบ
การบังคับใช้กฎหมายตามทีก่ าหนดไว้ และดาเนินงานต่าง ๆ ตามที่ HES ได้มอบหมายรวมทัง้
การสอดส่อง ดูแล ตรวจตราสถานประกอบการต่าง ๆ เพื่อให้มกี ารปฏิบตั ติ าม ข้อกาหนดของ
กฎหมายนัน้ อย่างเคร่งครัด หน่ วยงานต่าง ๆ ของรัฐทีข่ น้ึ อยูก่ บั HSE มีดงั นี้
1.2.1 หน่ วยงานตรวจตราโรงงาน (Factory Inspectorate) รับผิดชอบโรงงาน
งานก่อสร้างต่าง ๆ
1.2.2 หน่ วยงานตรวจตราวัตถุระเบิด (Explosive Inspectorate) รับผิดชอบ
ดูแลโรงงานผลิตวัตถุระเบิด โรงงานที่เกี่ยวข้องกับก๊าซ การขนส่ง ปิ โตรเลียม ก๊าซไวไฟ และ
วัตถุเปอร์ออกไซต์
1.2.3 หน่ วยงานตรวจตราเหมืองและการระเบิดหิน (Mines and Quarries
Inspectorate) รับผิดชอบดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของการทาเหมืองต่าง ๆ
1.2.4 หน่ วยงานตรวจตราเกี่ยวกับนิวเคลียร์ หิน (Nuclear Installations
Inspectorate) รับผิดชอบดูแลสุขภาพและความปลอดภัยโรงไฟฟ้ าปรมาณู และการทางาน
เกีย่ วกับรังสีต่าง ๆ
1.2.5 หน่ วยงานตรวจตราเกี่ยวกับอากาศสะอาด (Alkali and clean Air
Inspectorate) รับผิดชอบดูแลการปล่อยมลพิษทางอากาศจากโรงงานต่าง ๆ ออกสู่บรรยากาศ
ภายนอกโรงงาน
1.2.6 หน่ ว ยงานตรวจตราสุขภาพและความปลอดภัยในงานเกษตรกรรม
(Agriculture Health and Safety Inspectorate) รับผิดชอบดูแลสุขภาพและความปลอดภัยใน
งานเกษตรกรรมและกรมป่ าไม้ เช่น ฟาร์ม ป่ าไม้ สวนสัตว์ และสวนป่ าซาฟารี เป็ นต้น
1.2.7 หน่ วยบริการให้คาปรึกษาทางการแพทย์เกี่ยวกับปั ญหาอันเนื่องจากการ
ทางาน (Employment Medical Advisory Service) รับผิดชอบดูแลสุขภาพด้านสุขภาพ
โดยเฉพาะ มีหน้าทีท่ ส่ี าคัญได้แก่ การให้คาแนะนา และการเฝ้ าระวังสุขภาพของผูป้ ฏิบตั งิ านใน
อุตสาหกรรมทุกประเภท และตรวจสุขภาพผูป้ ฏิบตั งิ านทุกตาแหน่งงาน
2. หน่ วยงานของสหรัฐอเมริ กา มีการพัฒนางานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
มาอย่างต่อเนื่อง โดยในปี ค.ศ.1970 รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัยและอาชีวอนา
มัย ค.ศ. 1970 (Occupational Safety and Health Act 1970: OSH Act) ซึง่ เป็ นกฎหมายทีม่ ี
ลัก ษณะส าคัญ คือ การก าหนดอ านาจหน้ า ที่ข องหน่ ว ยงานรัฐ ที่ร ับ ผิด ชอบในการบริห าร
52

พระราชบัญญัติ การกาหนดสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง และกาหนดมาตรฐานด้าน


ความปลอดภัยและสุขภาพในการทางาน เพื่อให้แน่ใจว่าพนักงานทัง้ ชายและหญิง ปฏิบตั งิ านใน
สภาพการทางานที่มคี วามปลอดภัยและได้รบั การคุ้มครอง ตลอดจนการบันทึกข้อมูล ข่าวสาร
และการรายงานอุบตั เิ หตุรา้ ยแรงและการติดประกาศข่าวสารต่าง ๆ ซึง่ OSHA แห่ง กระทรวง
แรงงานของสหรัฐอเมริกาได้ออกกฎหมายที่เกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพมีวตั ถุประสงค์
ดังนี้
2.1 บารุงขวัญและสร้างขวัญ กาลังใจให้ทงั ้ นายจ้างและลูกจ้าง เพื่ อให้มกี ารลด
อันตรายในสภาพการทางาน และระบบปรังปรุงความปลอดภัยในสถานประกอบการ
2.2 วิจยั เกี่ยวกับ งานด้านความปลอดภัย และสุขภาพอาชีวอนามัย และพัฒนา
นวัตกรรม เพื่อแก้ไขปั ญหาดังกล่าว
2.3 สร้างกฎเกณฑ์ใ ห้มคี วามรับผิดชอบเป็ นสิง่ ผูกพันระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
เพื่อให้บรรลุเกีย่ วกับความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยในการทางาน
2.4 การรายงานและเฝ้ า ระวัง ตรวจสอบ และในสิ่ง ที่เ ป็ น อัน ตราย การบาดเจ็บ
เจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางานในสถานประกอบการ
2.5 จัดตัง้ หน่ ว ยงานฝ่ ายฝึ กอบรมเพื่อ ทาหน้ าที่ใ นการให้ค วามรู้ และมีเ จ้าหน้ าที่
ความปลอดภัยในสถานประกอบการ
2.6 จัดทาการวิเคราะห์งานเพื่อพัฒนางานเกีย่ วกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
2.7 จัด เตรีย มส าหรับ การพัฒ นา การวิเ คราะห์ การประเมิน ผล และการอนุ ม ัติ
โครงการความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทางาน
จากการออกพระราชบัญ ญัติฉ บับนี้ ส่งผลให้มกี ารจัดตัง้ หน่ ว ยงานที่ส าคัญและมี
บทบาทอย่างสูงทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทัง้ ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่น ๆ
ได้แก่ สานักงานบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Occupational Safety and Health
Administration: OSHA) และสถาบันความปลอดภัยและอาชีว อนามัยแห่ งชาติ (National
Institute for Occupational Safety and Health: NIOSH) แต่กย็ งั มีบทบาทสาคัญด้านอาชีวอนา
มัยและความปลอดภัย คือ สมาคมนักสุ ขศาสตร์อุ ต สาหกรรมภาครัฐบาลแห่งสหรัฐอเมริกา
(American Conference of Governmental Industrial Hygienists: ACGIH) (Ivancevich,
2007, p.533 ; Mondy, 2008, p. 528) มีดงั นี้
3. ส านั กงานบริ ห ารความปลอดภัย และอาชี วอนามัย (OSHA) เป็ นหน่ ว ยงานที่
จัดตัง้ ขึ้นมาสาหรับข้อกาหนดในด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้เป็ นมาตรฐานในการ
ปฏิบตั งิ านของประเทศสหรัฐอเมริกา
3.1 ออกกฎหมายและปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัยและมาตรฐานสิง่ แวดล้อมใน
การทางานต่าง ๆ
53

3.2 มีอานาจในการเข้าตรวจสอบ ตรวจตรา สืบค้น หรือการสอบสวนเกี่ยวกับความ


ปลอดภัยและสุขภาพในสถานประกอบการต่าง ๆ และมีอานาจในการออกหมายสังและก ่ าหนด
ค่าปรับ หากสถานประกอบการใดได้กระทาผิด
3.3 ลูก จ้า งหรือ ตัว แทนลูกจ้า งสามารถแจ้ง เกี่ย วกับการไม่ปฏิบตั ิต ามมาตรฐาน
ข้อกาหนดทางกฎหมาย
3.4 การยื่นคาร้อ งต่อศาลให้มกี ารควบคุมสถานการณ์ท่อี าจก่อให้ เ กิดอันตรายได้
ทันที
3.5 การปรึก ษากับ นายจ้า ง ลูก จ้า ง และองค์ก ารที่เ กี่ ย วข้อ งในการป้ อ งกัน การ
บาดเจ็บหรือเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางาน
3.6 กาหนดให้นายจ้างต้องเก็บข้อมูลระดับสารเคมีอนั ตรายในสถานที่ทางาน และ
แจ้งผลให้คนงานทราบ
3.7 การพัฒนาและจัดเก็บโปรแกรมสถิตติ ่าง ๆ เกี่ยวกับงานความปลอดภัยและอาชี
วอนามัยในการทางาน
4. สถาบัน ความปลอดภัย และอาชี ว อนามัย แห่ ง ชาติ (NIOSH) เป็ น สถาบัน ที่
บทบาทสาคัญทางด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มีหน้าที่หลักทางด้านการศึกษา วิจยั
และการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ดังนี้
4.1 การศึกษาวิจยั เพื่อกาหนดเกณฑ์มาตรฐานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
และมาตรฐานสิง่ แวดล้อมในการทางานต่าง ๆ แล้วนาเสนอเกณฑ์ดงั กล่าวให้กบั OSHA ทาการ
พิจารณากลันกรองก่ าหนดเป็ นมาตรฐานทางกฎหมายเหล่านัน้ ต่อไป
4.2 การจัดทาข้อมูลข่าวสารทางด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เช่น เอกสาร
เผยแพร่เ กี่ย วกับ สารเคมีท่ีเ ป็ น อัน ตราย และค่ า ความเข้มข้นที่ส ารเคมีนัน้ ๆ จะก่ อ ให้เ กิด
อันตรายต่อสุขภาพของผูป้ ฏิบตั งิ าน วิธกี ารใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย เป็ นต้น
4.3 การศึก ษาวิจ ยั เกี่ย วกับ สุ ขภาพของคนงาน เนื่ อ งจากการได้ร บั สารจาก
สิง่ แวดล้อมในการทางาน และทาการตรวจสอบอันตรายทางด้านต่าง ๆ ให้คาแนะนาในการออก
ข้อกาหนดกฎหมาย
4.4 มีหน้าทีใ่ นการทดสอบและออกใบรับรองอุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ
(Respiratory Protective Equipment) และการฝึ กอบรมพนักงานที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับสุขภาพ
อนามัยของคนงานเพื่อรับรอง OSHA Act.
4.5 ทาการวิจยั และโครงการเพื่อปรับปรุงการป้ องกันและรักษาสุขภาพของคนงาน
การตรวจสุขภาพ
4.6 การป้ องกันการเกิดอุบตั ิเหตุ ได้แก่ การให้คาแนะนา การประเมินและหาวิธกี าร
ป้ องกันอุบตั เิ หตุในการทางาน
54

4.7 การให้ค าแนะนาทางด้านสุ ขศาสตร์อุ ตสาหกรรม เช่น การประเมินปั ญ หา


สิง่ แวดล้อมในการทางาน และมาตรการควบคุมป้ องกันทีเ่ หมาะสม
4.8 การให้คาแนะนาเกี่ยวกับการให้บริการทางการแพทย์ เช่น การประเมินสุขภาพ
ปั ญหาทางการแพทย์และการพยาบาลในสถานประกอบการ
5. สมาคมนั กสุขศาสตร์อุตสาหกรรมภาครัฐบาลแห่ งสหรัฐอเมริ กา (ACGIH)
สมาคมนี้มคี วามสาคัญด้านการพัฒนามาตรฐานสุขศาสตร์อุตสาหกรรมเป็ นอย่างมาก ถึงแม้ว่า
จะไม่ได้เป็ นหน่ วยงานทีท่ าหน้าทีบ่ ริหารกฎหมาย แต่กม็ บี ทบาทในการเสนอแนะ “ค่าทีย่ อมรับ
ได้” (Threshold Limit Value: TLV) ซึ่งเป็ นค่าที่คาดว่าผู้ปฏิบตั งิ านจะสัมผัสกับสิง่ คุกคาม
สุขภาพอนามัยในการทางาน เช่น สารเคมีในอากาศ เสียง หรือความสันสะเทื ่ อน ฯลฯ เป็ นเวลา
ไม่ เ กิ น วัน ละ 8 ชัว่ โมง หรือ สัป ดาห์ ล ะไม่ เ กิ น 40 ชัว่ โมง ซึ่ง ในการออกกฎหมายของ
สหรัฐ อเมริก า หรือ ประเทศอื่น ๆ รวมทัง้ ประเทศ ได้น าแนวคิด และหลัก การของค่ า TLV
นาไปใช้ประกอบเป็ นแนวทางในการยกร่างเกณฑ์มาตรฐาน เกี่ยวกับการพิจารณาการออกเป็ น
มาตรฐานตามกฎหมาย

สรุป
ความปลอดภัยและอาชีว อนามัย หมายถึง สภาพการทางานที่ปราศจากภัยอันตราย
อุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพลภาพ และเสียชีวติ อันเนื่องมาจากการทางาน หรือ สภาพการ
ทางานทีไ่ ม่มอี นั ตรายใดๆ ด้วยสภาพทีม่ สี ุขภาพกาย สุขภาพจิตทีด่ สี ามารถอยู่ในสังคมได้อย่าง
มีความสุข ซึ่งมีขอบเขตของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ได้แก่ ส่งเสริม ป้ องกัน
ปกป้ องคุม้ ครอง จัดการงาน การปรับงานให้กบั คนและปรับคนให้กบั งาน และการสนับสนุ นให้
งานด าเนิ น ไปได้อ ย่ า งราบรื่น ซึ่ง ความส าคัญ ของงานความปลอดภัย และอาชีว อนามัย มี
ความสาคัญช่วยส่งเสริมให้องค์การมีผลผลิตสูงขึ้น ทาให้เกิดกาไรต่อธุรกิจ ช่วยป้ องกัน และ
ควบคุมให้เกิดสภาพการทางานทีป่ ลอดภัย ช่วยลดผลกระทบทางสังคมด้านการประสบอันตราย
และเจ็บป่ วยเนื่องมาจากการทางาน ช่วยธารงรัก ษา และสงวนพนักงานไว้ ช่วยสร้างความเป็ น
ธรรมให้ก ับพนั ก งานและเป็ นการสร้างแรงงจูงใจในการทางานให้กับพนักงาน รวมทัง้ ความ
ปลอดภัยและอาชีว อนามัยยังมีว ัต ถุ ป ระสงค์เ พื่อ ส่ ง เสริมและรัก ษาสุ ขภาพทางกาย ทางใจ
และการมีชวี ติ ที่ดขี องพนักงานในสังคม สามารถลดความเสี่ยง และป้ องกันอันตรายและการ
เจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน และทาให้ปรับปรุงสิ่งแวดล้อ มในการทางานที่เ หมาะสมได้
หากองค์การมีความปลอดภัยและอาชีวอนามัยยังก่อให้เกิดประโยชน์ในการช่วยป้ องกัน ควบคุม
ลดความสูญ เสีย ส่ ง ผลต่ อ สภาพเศรษฐกิจ สร้างความเป็ น ธรรม และมันใจให้ ่ กับพนักงาน
รวมทัง้ ลดค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาลด้านการเกิดอันตราย บาดเจ็บป่ วยจากการทางานด้วย
55

งานด้านความปลอดภัยและอาชีว อนามัยจาเป็ นต้อ งมีบุ ค ลากรที่เ กี่ยวข้อ งด้านการ


จัดการ ดูแล ป้ องกัน และส่งเสริมสนับสนุ นให้เกิดความปลอดภัย ต้องอาศัยความร่วมมือกับ
บุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ได้ แ ก่ ลู ก จ้ า ง นายจ้ า ง นั ก อาชี ว สุ ข ศาสตร์ นั ก อาชี ว อนามั ย
นักวิทยาศาสตร์ความปลอดภัย นักจิตวิทยา นักจิตบาบัด นักกายภาพบาบัด นักการยศาสตร์
เป็ น ต้ น และมีห น่ ว ยงานที่เ กี่ย วข้อ งในประเทศไทย ได้แ ก่ กระทรวงแรงงาน กระทรวง
อุ ต สาหกรรม กระทรวงสาธารณสุ ข กระทรวงทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม
กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพลังงาน และหน่ วยงานภาคเอกชน เป็ นต้น ส่วนหน่ วยงานที่
เกี่ ย วข้ อ งด้ า นงานความปลอดภั ย และอาชี ว อนามัย ที่ ส าคั ญ ของต่ า งประเทศ ได้ แ ก่
องค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO)
56

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามและอธิ บายให้ถกู ต้องที่สดุ


1. ให้อธิบายถึงความหมายของความปลอดภัย พร้อมยกตัวอย่าง
2. ให้อธิบายถึงความของอาชีวอนามัย พร้อมยกตัวอย่าง
3. ให้บอกถึงความสาคัญและวัตถุประสงค์ของความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
4. ให้บอกถึงความสาคัญและวัตถุประสงค์ของอาชีวอนามัยและอาชีอนามัย
5. ให้บอกถึงประโยชน์ของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมาอย่างน้อย 7 ข้อ
6. ให้อธิบายถึงประวัตคิ วามเป็ นมาของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของ
ต่างประเทศ มาโดยสังเขป
7. ให้อธิบายถึงประวัตคิ วามเป็ นมาของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศ
ไทยมาโดยสังเขป
8. ให้บอกและอธิบายถึงขอบเขตของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
9. ให้บอกและอธิบายถึงเป้ าหมายของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
10. ให้อธิบายถึงหน่วยงานทีเ่ กีย่ วกับงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
11. ให้อธิบายถึงบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับงานด้านด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
57

เอกสารอ้างอิ ง
กาญจนา นาถะพินธุ. (2551). อาชีวอนามัยและความปลอดภัย.(พิมพ์ครัง้ ที่ 2).ขอนแก่น:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กันยรัตน์ โหละสุต. (2555). การจัดการความปลอดภัยในอุตสาหกรรมเคมี.
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น: ขอนแก่น.
การบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย. (2553).หน่วยที่ 1-7 (พิมพ์ครัง้ ที่ 1)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (พิมพ์ครัง้ ที่ 4). กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
การบริหารจัดการด้านความมันคงปลอดภั
่ ย อาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อม, ค้นเมือ่ 20 ธันวาคม
2559, จ า ก http://www.pttplc.com/th/Sustainability/Sustainability/Governance/
Pages/sshe-management.
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน. (2548). คาชีแ้ จงกระทรวงแรงงาน เรือ่ งกฎกระทรวงว่าด้วย
การจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ., ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2560, ค้นจาก
http://www.labour.go.th/th%20/doc/law/desc_welfare_2548.pdf.
กรุงเทพธุรกิจ. (2558). พืน้ ทีร่ ะยองแชมป์ โรงงานเกิดอุบตั เิ หตุ, ปี ท่ี 30 ฉบับที่ 10301
วันจันทร์ท่ี 5 ธันวาคม 2559, หน้า 6.
ฉันทนา ผดุงทศ. (2546). อาชีวเวชศาสตร์ – อาชีวอนามัย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์หมอ
ชาวบ้าน.
ณัฏฐพันธ์ ขจรนันท์ .(2549). การจัดการทรัพยากรมนุษย์.ซีเอ็ดยูเคชัน: ่ กรุงเทพฯ.
พรพิมล กองทิพย์. (2554). สุขศาสตร์อุตสาหกรรม. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2) นาอักษรการพิมพ์ :
กรุงเทพฯ.
เลิศศักดิ ์ สืบทรัพย์. (2555). การจัดการความปลอดภัยพนักงานในอุตสาหกรรมเครือ่ งทาความ
เย็นไทย.กรุงเทพฯ:ปั ญญาชน.
วัฒนา วงศ์เกียรติรตั น์ และคณะ. (2550). การวางแผนกลยุทธ์ : ศิลปะการกาหนดแผนองค์การ
สู่ความเป็ นเลิศ. (พิมพ์ครัง้ ที่ 5). อินโนกราฟฟิ กส์ จากัด: กรุงเทพฯ.
วิภารัตน์ โพธิ ์ขี. (2557). การจัดการด้านวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น : ขอนแก่น.
สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์. (2553). เอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารงานอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย. หน่วยที่ 1-7, (ฉบับปรับปรุง ครัง้ ที่ 1).กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
องค์การอนามัยโลก. (1948). ค้นเมือ่ 28 สิงหาคม 2559, จาก https://th.wikipedia.org/wiki.
องค์การอนามัยโลก. (2015). รายงานสถานการณ์โลกด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
กรุงเทพฯ: บริษทั สแกนด์-มีเดีย คอร์ปอเรชัน่ จากัด
58

อังคณา เตชะโกเมนท์. (2556). ข้อมูลเบือ้ งต้นเกีย่ วกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศ.


กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ.สานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
กระทรวงแรงงาน, ค้นเมือ่ 26 ธันวาคม 2559, จาก http://www.mol.go.th/
content/page/.
อุดมวิทย์ กาญจนวรงค์. (2551). อาชีวอนามัยและความปลอดภัย. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส์.
Fred A Manuele. (2003). On the Practice of Safety. Third Edition. Hoboken,H.J.: John
Wiley & Sons.
Fred A Manuele. (2001). Innovations in Safety Management. New York.: John Wiley
and Sons, Inc.
Rosemary Colvin and Ray Colvin.(1999). “Management’s Role and Responsibilities in
an Effective Safety and Health Program”, in Handbook of Occupational Safety
and Health, 2nd Edition, Edited by Louis J. Diborardimis, New York.; John
Wiley & Sons, Inc.
Robbins, Stephen P. & Coulter Mary.(2009).Management.10ed Pearson
Education,Inc.,Upper Saddle River, New Jersey,: Prentice Hall.
59

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 2
การบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

หัวข้อเนื้ อหา
1. แนวคิดเกีย่ วกับการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
2. ความหมาย ความสาคัญ กระบวนการ และวัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการ
3. หลักการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
4. รูปแบบความปลอดภัยในองค์การ
5. รูปแบบของผูน้ าด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6. โครงสร้างการบริหารจัดการหน่วยงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
7. นโยบายในด้านการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
8. ปั จจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
9. แผนงานและกิจกรรมในด้านการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
10. สรุป
11. แบบฝึกหัด
12. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1. อธิบายหลักการ แนวคิด ความหมายความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของการบริหาร
จัดการ และการบริหารจัดการงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยได้
2. อธิบายโครงสร้างองค์การ นโยบาย แผนงาน กิจกรรมของหน่ วยงานความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย และเขียนแผนงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยได้
3. อธิบายปั จจัยที่มผี ลกระทบต่อการบริหารจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
รวมรูปแบบของผูน้ าด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยได้
4. อธิบายบทบาทหน้ าที่ของผู้บริหาร บทบาทหัวหน้ างานงานด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และบทบาทของพนักงานได้
60

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ

สื่อการเรียนการสอน
1.เอกสารคาสอนรายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดทิ ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
61

บทที่ 2
การบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

งานด้า นความปลอดภัย และอาชีว อนามัย ในการท างานมีค วามส าคัญ ต่ อ ชีว ิต และ
ทรัพย์สนิ ของพนักงาน และองค์การย่อมปราศจากภัยอันตรายทัง้ ปวง การบริหารจัดการจึงเป็ น
เครื่องมือสาคัญที่จะทาให้องค์การมีการดาเนินงานไปด้วยความปลอดภัยปราศจากอุบตั ิเหตุ
โรคอันเนื่องจากการทางาน และลดความสูญเสียทัง้ ต้นทุน ชื่อเสียง และความซ้าซ้อนต่าง ๆ
ในการด าเนิ น งานขององค์ก าร รวมทัง้ ปั จ จุบ ัน การแข่ง ขัน ที่ม ีผู้แ ข่ง ขัน จ านวนมากที่ท าให้
องค์การมีความอยู่รอดท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกแล้วนัน้ ต่างให้ความสนใจด้านการ
จัดการงานความปลอดภัย และอาชีวอนามัยเพื่อให้การผลิตสินค้าและบริการมีความเชื่อมันหรื ่ อ
เกิดความเชื่อถือและไว้วางใจต่อผูม้ ารับบริการต่าง ๆ
โดยทัว่ ไปแล้ว การบริห ารจัดการเป็ นการวางแผนการต่ าง ๆ ในการดาเนินงานไว้
ล่ว งหน้ าก่ อนที่มกี ารลงมือ กระทา และเป็ นกาหนดทิศ ทางต่ าง ๆ เพื่อ ให้นาไปสู่เป้ าหมายที่
ชัดเจน รวมทัง้ แนวทางในการดาเนินงานให้เกิดความเป็ นระบบ ระเบียบ ชัดเจนสามารถนาไปสู่
การบรรลุตามเป้ าหมายทีต่ ้องการหรือทีก่ าหนดไว้ได้ การบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัย
และอาชีว อนามัย ในการท างานเป็ นหน้ า ที่ข องผู้ บ ริห ารในทุ ก ระดับ ขององค์ ก ารต้ อ งให้
ความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูงขององค์การที่มวี สิ ยั ทัศน์ ในการกาหนด
นโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้ชดั เจน และให้เป็ นนโยบายองค์การควบคู่ไปกับ
วิสยั ทัศน์ขององค์การเพื่อทีจ่ ะให้องค์การมีการปฏิบตั งิ านทุกระดับหน้าทีใ่ ห้เกิดความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยให้มปี ระสิทธิภาพในการทางาน ดังนัน้ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
ของผู้บริหารจึงมีความสาคัญและเน้นให้เกิดขึน้ กับผู้บริหารทุกระดับ โดยกระตุ้น และส่งเสริม
สนับสนุนให้พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านมีพฤติกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
แนวคิ ดเกี่ยวกับการบริ หารจัดการ
พัฒนาการทางการบริห ารจัดการนัน้ เริม่ ต้นมาในช่ว งที่มกี ารปฏิว ตั อิ ุต สาหกรรมใน
ประเทศอังกฤษ ระหว่างศตวรรษที่ 18 และ 19 และมีการปรับปรุงจากแนวคิด หลักการ ทฤษฎี
ของนักวิชาการต่างๆ ซึ่งหลายแนวคิดทางการบริหารจัดการได้นามาประยุกต์ใช้ในยุคปั จจุบนั
จนสามารถทาให้ผบู้ ริหารในหน่ วยงาน และองค์การมากมายสามารถดาเนินกิจกรรม ไม่ว่าทาง
ราชการ ทางภาคการผลิต การตลาด และการเงิน จนสามารถส่งผลให้ เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
สังคม การเมืองของประเทศชาติและโลกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกสถานการณ์ และทุก
เงื่อนไขของสภาพแวดล้อมนัน้ ดังนัน้ การบริหารจัดการ โดยทัวไป
่ ผู้บริหารจาเป็ นต้องอาศัย
แนวคิดทีส่ าคัญ ดังนี้
62

1. การบริหารจัดการ ต้องมุ่งเน้นที่ งานเป็ นหลักสาคัญ โดยต้องมีการกาหนดวิสยั ทัศน์


ให้มคี วามชัดเจน เข้าใจ ทัวทั่ ง้ องค์การ เพื่อให้สามารถปฏิบตั ไิ ด้จริง ในการทีจ่ ะตอบสนองความ
ต้องการของพนักงาน ลูกค้า และผู้มสี ่วนเกี่ยวข้อง ดังนัน้ จึงต้องมีการดาเนินงานในกิจกรรม
ตัง้ แต่ดา้ นการบริหารคน ซึง่ จะต้องเริม่ ตัง้ แต่ กิจกรรมการสรรหาคน การใช้คน การจูงใจ พัฒนาคน
และการธารงรักษาดูแลคนให้สามารถอยู่กบั องค์การเพื่อสร้างผลงานให้นานทีส่ ุด รวมถึงการแก้
ปั ญหาเกีย่ วกับคนด้วย ซึง่ ในปั จจุบนั นัน้ ผูบ้ ริหารจาเป็ นต้องบริหารคนท่ามกลางความหลากหลาย
2. การบริหารจัดการ ต้องมุง่ เน้นทีจ่ ะทาให้การบริหารงานให้ได้ตามผลิตภาพสูงสุดตาม
ศักยภาพขององค์การที่มอี ยู่ ได้แก่ กาลังคนที่มศี กั ยภาพ ต้องมุ่งเน้นกระตุ้น จูงใจให้คนสร้าง
นวัตกรรมใหม่ๆ ให้มกี ารสร้างการทางานเป็ นทีม เพื่อให้องค์การสามารถแข่งขันได้ท่ามกลาง
การเปลีย่ นแปลง
3. การบริหารจัดการ ต้องมุ่งเน้นที่จะทาให้งานสาเร็จ โดยการบริหารให้ได้ผลงานตาม
เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ท่ไี ด้ร่วมกันต้องไว้ให้สมบูรณ์ครบถ้วน และก่อให้เกิดผลดี ในระสัน้
และระยะยาวรวมเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมอย่างยังยื ่ น
4. การบริหารจัดการ ต้องมุง่ เน้นทีจ่ ะทาให้ผลการดาเนินงานมีประสิทธิภาพสูงสุดคุม้ ค่ า
กับการลงทุนทางด้านทรัพยากรต่างๆ อย่างคุ้มค่า นัน่ คือ การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดแต่
เกิดผลคุม้ ค่ามากทีส่ ุด
5. การบริหารจัดการ ต้องมุ่งที่จะทาให้ ผลการดาเนินงานเกิดการพัฒนาให้ดยี งิ่ ขึน้ ไป
ด้วยการพัฒนาวิธกี ารทางานทีด่ ที ส่ี ุด โดยการหาแนวทาง วิธกี ารใหม่ๆ มาช่วยในการแก้ปัญหา
โดยการนาปั ญหามาสู่การพัฒนาวิธกี ารทางานซึง่ เป็ นหน้าที่ของผูบ้ ริหารที่จะทาหน้าทีผ่ ลักดัน
ให้เกิดการร่วมมือกันในการนาไปสู่การบรรลุหนทางทีด่ ที ส่ี ุดได้
การบริหารจัดการนับว่าเป็ นลักษณะที่สะท้อนให้เห็นกระบวนการที่จะมุ่งเน้ นถึงระดม
สรรพกาลังทรัพยากรทางการบริหารจัดการไม่ว่าจะเป็ นคน เงิน วัสดุอุปกรณ์ วิธกี าร เครื่องมือ
เครื่องจักร และการจัดการ โดยมีการดาเนินการด้วยการอาศัยหลักการทางการจัดการบริหาร
ตัง้ แต่การวางแผน การจัดการ การจัดคนเข้าทางาน การอานวยการหรือการชักจูงใจ และการ
ควบคุ ม เพื่อ ให้มกี ารด าเนินงานด้ว ยวัต ถุ ประสงค์ท่สี มาชิกในองค์ก ารได้ก าหนดเป้ าหมาย
ร่วมกันให้เกิดความสาเร็จและได้ตามเป้ าหมายทีก่ าหนดไว้
63

ความหมายของการบริ หารจัดการ
การบริหารจัดการเกิดขึน้ มาพร้อมกับมนุ ษย์ทม่ี กี ารรวมกลุ่ มกันเพื่อการดาเนินกิจกรรม
ต่างๆ ในกลุ่มให้เกิดความสาเร็จ จึงเห็นได้ว่านับตัง้ แต่ความเจริญก้าวหน้าและการเปลีย่ นแปลง
เกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว การบริหารจัดการจึงมีนักวิชาการต่างๆ มีการพัฒนาแนวคิด หลักการ ทฤษฎี
เพื่อนามาปรับใช้กบั องค์การทัง้ หลายไม่ว่าภาครัฐและธุรกิจเอกชน เพื่อให้เกิดความเหมาะสม
นาไปใช้จริงได้ในสถานการณ์แตกต่างกัน ดังนัน้ องค์การโดยส่วนใหญ่จะให้ประกอบกิจการหรือ
ดาเนินงานให้สาเร็จลุล่วงไปได้นนั ้ จาเป็ นต้องอาศัยการบริหารจัดการ เพื่อเป็ นแนวทางในการ
กาหนดทิศทางหรือแผนทีจ่ ะให้องค์การหน่ วยงานสามารถทีจ่ ะใช้ผบู้ ริหารทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ
ทักษะ และความกล้าหาญนาพาองค์ การไปได้ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
การเมือง การปกครอง และเทคโนโลยี เป็ นต้น ด้วยเหตุน้ีผู้บริหารจึงต้องอาศัยความรู้ ทักษะ
และความสามารถทางการบริหารจัดการมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินการเกี่ยวกับคน เงิน วัสดุ
อุปกรณ์ เครือ่ งมือเครือ่ งจักร ให้เกิดผลผลิตตามทีอ่ งค์การได้กาหนดไว้พร้อมกับ ให้องค์การเกิด
ความเป็ นระเบียบเรียบร้อย และตอบสนองความต้องการทัง้ ภายในและภายนอกองค์การ
คาว่า การบริ หาร และ การจัดการ มีความหมายที่เหมือนกัน หากแต่อาจะมีความ
แตกต่างกันในการนาไปใช้ จึงไม่สามารถแยกออกจากกันได้เปรียบเสมือนเหรียญที่มสี องด้าน
จึงมีความหมายสองด้านแต่กค็ ล้ายคลึงกันสามารถใช้แทนกันได้ จะเห็นได้ว่า คาสองคานี้อาจจะ
ใช้อธิยายความหมายย่อมขึน้ อยูก่ บั เจตนารมณ์ของผูต้ อ้ งการทีใ่ ห้ความหมาย การบริหารเป็ นทัง้
ศาสตร์ และศิลป์ การบริหารจึงเป็ นสาขาทีม่ กี ารจัดอย่างมีระบบ คือ หลักการ กฎเกณฑ์ และทฤษฎี
ที่มคี วามน่ าเชื่อได้ อันเกิดการจากการค้ นคว้าทดลองเชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อนามาใช้ประโยชน์
ทางการบริหารงาน จึงทาให้การบริหารนัน้ เป็ นศาสตร์ (sciences) ในขณะเดียวกันหากการพิจารณา
ลักษณะของการใช้การปฏิบตั ทิ อ่ี าศัยกลยุทธ์ ความสามารถ และทักษะของผูบ้ ริหารมาประยุกต์ใช้
ตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อให้การปฏิบตั งิ านบรรลุตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้จงึ
เป็ นการบริหารทีเ่ ป็ นศิลปะ (arts) อย่างหนึ่ง
ได้มนี กั วิชาการได้ให้ความหมายของคาว่า “การบริหาร” (administration) ได้ดงั นี้
ไซมอน (Herbert A. Simon, 1965, p.3) ได้ให้ความหมายของ การบริหาร ไว้ว่าการ
ทางานของบุคคลตัง้ แต่สองคนขึน้ ไปร่วมกันทากิจกรรมต่างๆ ด้วยความเห็นพ้องต้องกันเพื่อให้
บรรลุตามจุดประสงค์ทไ่ี ด้รว่ มกันกาหนดไว้
เฟรดเดอริค เทเลอร์ (Frederick W. Taylor, 1986, p.4) ได้ให้ความหมายของการบริหาร
ไว้ว่า งานบริหารทุกอย่างจาเป็ นต้องกระทาโดยมีหลักเกณฑ์ ซึง่ กาหนดจากการวิเคราะห์ศกึ ษา
โดยรอบคอบ ทัง้ นี้ เพื่อให้มวี ธิ ที ่ดี ที ส่ี ุดในอันที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการผลิตมากยิง่ ขึน้
เพื่อประโยชน์สาหรับทุกฝ่ ายทีเ่ กีย่ วข้องการบริหาร
64

ปี เตอร์ ดรักเกอร์ (Peter F. Drucker, 1989, p.12) ได้ให้ความหมายของ การบริหาร ไว้ว่า


เป็ นศิลปะในการทางานให้บรรลุเป้ าหมายร่วมกับผูอ้ ่นื การทางานต่างๆ ให้ลุล่วงไปโดยอาศัยคน
อื่นเป็ นผู้ทาภายในสภาพองค์การที่กล่าวนัน้ ทรัพยากรด้านบุคคลจะเป็ นทรัพยากรหลักของ
องค์ก ารที่เข้ามาร่ว มกันทางานในองค์การ ซึ่งคนเหล่านี้จะเป็ นผู้ใ ช้ทรัพยากรด้านวัต ถุอ่ ืน ๆ
เครื่อ งจัก ร อุ ปกรณ์ วัต ถุ ดิบ เงินทุน รวมทัง้ ข้อ มูล สนเทศต่ างๆ เพื่อ ผลิต สินค้าหรือ บริการ
ออกจาหน่ายและตอบสนองความพอใจให้กบั สังคม
ฟรี แมน (Freemen, 1992, p.3) ได้ให้ความหมายของ การบริหาร ไว้ว่า กระบวนการ
วางแผน การจัดองค์การ ภาวะผูน้ า และการควบคุมการทางานของสมาชิกขององค์การและการใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายขององค์การ
การบริหาร หมายถึง การกาหนดนโยบาย แผนงาน และกลยุทธ์ ในการดาเนินงาน เพื่อให้
ผูบ้ ริหารทีม่ หี น้าทีน่ าไปสู่การปฏิบตั ิ ซึง่ ส่วนใหญ่มกั ใช้กับ การบริหารภาครัฐ ทีเ่ รียกว่า การบริหาร
รัฐกิจ (Public Administrative) ส่วนการจัดการ หมายถึง การทีผ่ จู้ ดั การใช้ศลิ ปะในการนานโยบาย
ไปปฏิบตั ิโดยอาศัยความร่วมมือของสมาชิกในองค์การมาปฏิบตั ิงานให้ กิจกรรมนัน้ ๆ บรรลุ
เป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ มักเรียกว่า การจัดการ (Management) ส่วนใหญ่ใช้ในภาคธุรกิจเอกชน
จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า การบริหาร หมายถึง กระบวนการทีผ่ บู้ ริหารใช้ความรู้
ความสามารถ และ ทักษะ โดยอาศัยกระบวนการทางการบริหาร ได้แก่ การวางแผน การจัด
องค์การ การจัดคนเข้าทางาน การชักจูงใจโน้มน้าว และควบคุม ในระดมทรัพยากรต่างๆ ได้แก่
คน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และ การจัดการ ให้การดาเนินกิจกรรมให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ทีก่ าหนดไว้
จากความหมายของ การบริหารจะเห็นได้ว่ามีลกั ษณะเด่น ดังนี้
1. การบริหารต้องเป็ นกระบวนการ เพื่อการดาเนินงานทีม่ เี ป้ าหมาย
2. การบริหารต้องมีวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายที่ชดั เจนจึงจะสามารถนาไปสู่
ทิศทางทีก่ าหนดไว้ได้
3. การบริหารต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจของเหล่าสมาชิกเพื่อให้ทุกคน
สามารถนาพาองค์การไปสู่ความสาเร็จได้
4. การบริหารต้องมีการใช้ทรัพยากรทางการบริหารให้เหมาะสม ซึง่ ทรัพยากร
ดังกล่าวมักจะเรียกว่า 4Ms อันได้แก่ คน (man) เงิน (money) วัสดุอุปกรณ์ (materials) และ
การจัดการ (management) เช่น การนาเทคนิคใหม่มาใช้ทางการบริหาร ได้แก่ องค์การแห่งการ
เรียนรู้ (learning organizational) การจัดการความรู้ (knowledge management) และการ
ทางานเป็ นทีม (team management) เป็ นต้น
5. การบริห ารต้อ งมีการตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน (performance
appraisal) เพื่อให้ทราบว่าตรงกับวัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้หรือไม่ รวมทัง้ เพื่อให้เกิดความคุม้ ค่า
กับการลงทุน
65

ส่วนคาว่า การจัดการ (Management) ได้มนี กั วิชาการได้ให้ความหมายไว้ดงั นี้


Robbins and DeCenzo (2004; Certo, 2003) ได้ให้ความหมายของการจัดการ ไว้ว่า
การใช้กลยุทธ์หรือศิลปะในการปฏิบตั งิ านโดยอาศัยการใช้คนเพื่อมาดาเนินกิจกรรมให้บรรลุตาม
เป้ าหมายทีก่ าหนดไว้
Harold Koontz and Cyril (1972, p.7) ได้ให้ความหมายของ การจัดการ ไว้ว่า การ
ดาเนินงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ท่ตี งั ้ ไว้โดยอาศัยปั จจัย ทางการบริหารอัน ได้แก่ คน เงิน วัสดุ
สิง่ ของ เครือ่ งจักร เครือ่ งมือ และการจัดการ เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุตามเป้ าหมายทีก่ าหนด
ไว้
Dale (1968, p. 5) ได้ให้ความหมายของ การบริหาร ไว้ว่า กระบวนการจัดหน่ วยงานและ
การใช้ทรัพยากรต่างๆ ได้แก่ คน เงิน วัส ดุ และจัดการเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ท่กี าหนดไว้
ล่วงหน้า
Peter Drucker (1954, p.11) ได้ให้ความหมายของ การจัดการ ไว้ว่า ศิลปะของ
ผูบ้ ริหารทีอ่ าศัยการร่วมแรงร่วมใจกับผูอ้ ่นื เพื่อให้การทางานบรรลุเป้ าหมายทีต่ งั ้ ไว้
จากความหมายข้องต้นสรุปว่า การจัดการ หมายถึง กระบวนการในการดาเนินกิจกรรม
ร่วมกับสมาชิกในองค์การ โดยอาศัยกระบวนการในการจัดการเริม่ ตัง้ แต่การวางแผน การจัดองค์การ
การชักจูงใจหรือโน้มน้าว การอานวยการ และการควบคุม เป็ นเครื่องมือในการระดมสรรพกาลัง
และทรัพยากรต่างๆ ได้แก่ คน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และการจัดการซึ่งการดาเนินการ
ต่างๆ ต้องอาศัยผูจ้ ดั การทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ ในการร่วมมือให้สมาชิกปฏิบตั งิ านให้
สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้
จากความหมายทีก่ ล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่าการจัดการ มีคุณลักษณะทีส่ าคัญ ดังนี้
1. การจัดการเป็ นศิลปะในการทีผ่ บู้ ริหารต้องใช้คนมาปฏิบตั งิ านให้สาเร็จ
2. การจัดการต้องมีการอาศัยปั จจัยพืน้ ฐาน ได้แก่ คน เงิน วิธกี าร วัสดุ อุปกรณ์
และเครือ่ งมือ เครือ่ งจักร เพื่อให้เกิดความคุม้ ค่าให้มากทีส่ ุด
3. การจัดการเป็ นกิจกรรมทีต่ ้องมีการดาเนินงานของบุคคลตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป
โดยอาศัยความร่วมแรงร่วมใจกันให้กจิ กรรมนัน้ บรรลุตามเป้ าหมาย
4. การจัดการต้อ งอาศัยทัก ษะของผู้บริห ารในการขับเคลื่อ นองค์การให้ไปสู่
เป้ าหมายทีไ่ ด้กาหนดไว้
จากที่กล่าวมาข้างต้น นักวิชาการได้ให้ความหมายของ การบริ หาร และ การจัดการ
ซึง่ นามารวมกัน จึงเรียกว่า การบริหารจัดการ ดังนัน้ นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมาย
ของการบริหารจัดการ ไว้ดงั นี้
Bridqes and Roquemore (2001, p.27) ได้ให้ความหมายของการบริหารจัดการ ไว้ว่า
การประสานการใช้ทรัพยากรขององค์การ อันได้แก่ คน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และการ
จัดการ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ตามทีก่ าหนดไว้
66

Ricky W.Griffin (1999, p.4) ได้ให้ความหมายของ การบริหารจัดการ ไว้ว่า


กระบวนการของการมุง่ ไปสู่เป้ าหมายขององค์การในการทางานร่วมกันโดยใช้บุคคลและทรัพยากร
อื่นๆ เพื่อความสาเร็จของสมาชิกในองค์การ
Bovee & Others (1993, p.5) ได้ให้ความหมายของ การบริหารจัดการ ไว้ว่า เป็ น
กระบวนการที่อ งค์ก ารสามารถบรรลุ เ ป้ าหมายโดยประสิท ธิผ ล และประสิท ธิภ าพของการ
วางแผน การจัด องค์ ก าร ภาวะผู้น า และการควบคุ ม องค์ ก ารในด้า นบุ ค ลากร กายภาพ
งบประมาณ และแหล่งข้อมูล
Fesler & Kettl (1991, p.7) ได้ให้ความหมายของ การบริหารจัดการ ไว้ว่า เป็ น
กระบวนการทีท่ าให้เกิดความสาเร็จ และเห็นว่าการบริหารเป็ นการระดมให้บุคคลดาเนินการให้
ไปสู่เป้ าหมาย
George R.Terry (1989, p.11) ได้ให้ความหมายของ การบริหารจัดการ ไว้ว่า เป็ นเทคนิค
ในการท างานร่ว มกับ ผู้อ่ ืน โดยอาศัย ความร่ว มมือ ร่ ว มใจ และการประสานงานกัน ให้เ กิด
ความสาเร็จตามเป้ าหมาย
James A.F.Stoner (1989, p.11) ได้ให้ความหมายของ การบริหาร จัดการ ไว้ว่า การ
ดาเนินการตามขัน้ ตอนกระบวนการ (process) เริม่ ตัง้ การวางแผน (planning) การจัดองค์การ
(organizing) การสังการ
่ (leading) และการควบคุม (controlling) โดยการระดมสรรพกาลังของ
สมาชิกในองค์การและจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ทีม่ อี ยู่ในองค์การเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ี
องค์การกาหนดไว้
Carroll and Gillen (1987, p.23) ได้ให้ความหมายของ การบริหาร จัดการ ไว้ว่า เป็ น
กระบวนการในการดาเนินการกิจกรรมต่างๆ ในองค์การโดยอาศัยการบริหารจัดการที่สาคัญ
ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์การ การชักนา หรือจูงใจ และการควบคุม ให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่
กาหนดไว้
Clegg,S.,Komberger,M.,& Pitsis,T. (2005, p.5) ได้ให้ความหมายของ การบริหาร
จัดการ ไว้ว่า กระบวนการที่ผู้บริหารได้ใช้ความรู้ ความสามารถทักษะ และศิลปะในการระดม
สรรพกาลัง ทรัพยากรต่างๆ ขององค์การ ได้แก่ คน เงิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร
วิธกี าร และ การจัดการ นามาแปรสภาพเป็ นกิจกรรมต่างๆ โดยอาศัยกระบวนการทางการ
บริหารจัดการ ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์ การ การจัดคนเข้าทางาน การโน้มน้าวหรือจูงใจ
และการควบคุม ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล
จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า การบริห ารจัดการ หมายถึง กระบวนการในการ
ดาเนินงานของผู้บริหารที่ต้องใช้ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และกลยุทธ์ต่างๆ โดยอาศัย
ความร่วมมือร่วมแรงใจของสมาชิกในองค์การ ซึง่ อาศัยกระบวนการทางการบริหาร เริม่ จากการ
วางแผน การจัดองค์การ การบริหารทรัพยากรมนุ ษย์ การสร้างแรงจูงใจ การอานวยการ การควบคุม
และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ที่มอี ยู่ในองค์การได้แก่ คน เงิน
67

วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ และการจัดการ โดยการใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้เกิดความคุม้ ค่า เพื่อให้


การดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้
จากความหมายดังกล่าวจะแสดงให้เห็นถึงลักษณะเด่นของ การบริ หารจัดการ ซึ่งมี
ลักษณะเด่น ดังนี้
1. การบริหารจัดการต้องเป็ นกระบวนการทางสังคม ทีม่ กี ารดาเนินการร่วมกันระหว่าง
บุคคล 2 คนขึน้ ไปทีม่ าร่วมกันดาเนินงานให้บรรลุตามทีส่ มาชิกได้กาหนดร่วมกันไว้ให้เป็ นไป
ตามทีก่ าหนดไว้ให้สาเร็จร่วมกัน
2. การบริห ารจัดการต้องมีผู้นาที่ดีเป็ นผู้สามารถขับเคลื่อ นกระบวนการต่ างๆ ใน
องค์การไปสู่เป้ าหมาย ด้วยการร่วมมือ ร่วมใจกันของสมาชิกเนื่องจาก งานบริหารจัดการไม่ใช่
ภาระหน้าที่ของคนใดคนหนึ่ง แต่เป็ น ภาระหน้าที่ของทุกคนในองค์การบุคคลหนึ่งที่ปฏิบตั ติ น
เป็ นผูน้ าภายในองค์การ
3. การบริหารจัดการจาเป็ นต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจกับบุคคลอื่นจึงจะสามารถทา
ให้ภารกิจหรือกิจกรรมต่างๆ ที่กาหนดไว้ดาเนินไปได้ จึงหมายความว่า การร่วมมือทาให้เกิด
การประสานงานกับฝ่ ายต่างๆ อันนาไปสู่พลังของกลุ่มจนสามารถทาให้บรรลุวตั ถุประสงค์ได้
4. การบริหารจัดการเป็ นงานทีผ่ บู้ ริหารทุกระดับ และพนักงานทุกคน หมายถึง การต้อง
ทาให้งานต่างๆ สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีโดยการอาศัยบุคคลต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อการระดมสรรพ
ทรัพยากรต่างๆ ในองค์การ และการประสานกิจกรรมต่างๆ เข้าด้วยกัน
5. ต้องมีการบริหารจัดการทีม่ ลี กั ษณะการดาเนินการเป็ นกระบวนการทีผ่ บู้ ริหารต้องมี
การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทางาน การโน้มน้าว และการควบคุม เพื่อให้องค์การมี
ทิศทางในการดาเนินงานทีช่ ดั เจน
6. การบริหารจัดการต้องใช้ทรัพยากรทางการบริหารเป็ นองค์ประกอบพื้นฐาน เพื่อ
แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของงาน ผู้บริหาร และพนักงาน เนื่องจากการใช้ทรัพยากรที่ มอี ยู่
อย่างจากัดให้เกิดผลคุม้ ค่าและเกิดประโยชน์สงู สุด
7. การบริหารจัดการไม่มตี วั ตนจับต้องไม่ได้ แต่การบริหารจัดการมีอทิ ธิพลต่อผูบ้ ริหาร
และพนักงานทุกคนในองค์การทีส่ ามารถนาหลักการ แนวคิด และทฤษฎีต่างๆ มาปรับใช้ในการ
ดาเนินกิจกรรมขององค์การตามสถานการณ์ทแ่ี ตกต่างกัน และขึน้ อยูบ่ ริบทของแต่ละองค์การ
จากความหมายของการบริหารจัดการ จะเห็นได้ว่าเป็ นบทบาทหน้าทีส่ าคัญของผูบ้ ริหาร
หรือผู้จดั การ ต้องดาเนินการตามบทบาทหน้าที่ โดยการอาศัยความสามารถในการสร้างแรงจูงใจ
ให้บุคคลอื่นไปดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ แทนตนเองเพื่อให้เกิดความสาเร็จลุล่วงและมีประสิทธิภาพ
สูงสุด ดังนัน้ บทบาทหน้ าที ข่ นั ้ พื้นฐานของผู้บริ หารหรือผู้จดั การ ในทางการบริหารจัดการ
จึงต้องมีบทบาทตามหน้าทีใ่ นฐานะผูบ้ ริหารทีจ่ ะต้องกระทา มีดงั นี้
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง ผู้บริหาร หรือผู้จดั การ ต้องทราบว่าองค์การมี
สภาพบริบท และจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค รวมทัง้ สภาพแวดล้อมภายนอกเป็ นอย่างไร
68

เพื่อทีจ่ ะได้ทราบว่าจะต้องทาอะไร ต้องทาอย่างไร ต้องทาไปทางไหนบ้าง ต้องหาใครมาทางาน


เมือ่ ใดทีต่ อ้ งทาสิง่ เหล่านัน้ และต้องทาอย่างไร รวมทัง้ ต้องนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลต่างๆ
มาประกอบในการกาหนดสิง่ ทีต่ อ้ งทาในอนาคตเพื่อไม่ให้เสียเวลาในการดาเนินงานขององค์การ
2. การจัดองค์การ (Organizing) ผู้บริหาร หรือผู้จดั การต้องรู้ว่าในองค์การต้องมีการ
จัดระบบ และความสัมพันธ์ของงานภายในองค์การอย่างไร เพื่อให้เกิดการทางานทีไ่ ด้ประสิทธิภาพ
ทัง้ งาน คน และองค์การมากทีส่ ุด โดยเฉพาะในยุคปั จจุบนั นี้องค์การต้องนาระบบเทคโนโลยีมา
ช่วยในการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้รวดเร็วทันสมัย และสอดคล้องสัมพันธ์กนั กับงาน และคน
3. การจัดการทรัพยากรมนุ ษย์ (Human Resources Management) ผู้บริหาร หรือ
ผูจ้ ดั การ ต้องมอง “มนุษย์” เป็ นปั จจัยทีส่ าคัญของการดาเนินงาน จึงต้องเข้าใจถึงความต้องการ
ของมนุ ษย์ เพื่อจะสามารถให้บุคลากรดารงอยู่กบั องค์การได้นาน และมีศกั ยภาพสูงพร้อมทีจ่ ะ
ทางานทุกสถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลง
4. การจูงใจหรือชักนา (Leading) ผูบ้ ริหาร หรือผูจ้ ดั การต้องมีกลยุทธ์ วิธกี ารและเทคนิค
ในการโน้มน้าว จูงใจชักนา และประสานงาน สร้างบรรยากาศให้บุคลากรสามารถร่วมมือร่วมใจ
ในการทางาน และทุ่มเทแรงกายแรงใจทีจ่ ะปฏิบตั งิ านให้สาเร็จ รวมทัง้ มีบทบาทในการเป็ นผูน้ า
ในการเข้าช่วยเหลือพนักงาน
5. การควบคุม (Controlling) นับว่าเป็ นภาระหน้ าที่ของผู้บริหาร หรือผู้จดั การ ที่ต้อง
รวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลการดาเนินงาน เมื่อเปรียบเทียบกับผลการปฏิบตั งิ านทีผ่ ่านมาเป็ นไป
ตามเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้อย่างไร ในขณะเดียวกันถือเป็ นการควบคุมให้การดาเนินงานต่างๆ ภายใน
องค์การ เป็ นไปตามแผน หรือความคาดหวังทีไ่ ด้กาหนดไว้หรือไม่ รวมทัง้ มีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้
มากน้อยเพียง และวัดถึงคุณภาพความสุขในการทางานของพนักงานร่วมด้วย
69

ภาพที่ 2.1 บทบาทตามหน้าทีข่ นั ้ พืน้ ฐานของผูบ้ ริหารหรือผูจ้ ดั การในการบริหารจัดการ

จากบทบาทหน้ าที่ของผู้บริหารด้านการบริหารจัดการมีบทบาทหน้าที่สาคัญๆ ได้แก่


การวางแผน การจัดองค์การ การจัดการทรัพยากรมนุ ษย์ การจูงใจหรือชักนา และการควบคุม
ดังนัน้ บทบาทดังกล่าวจะทาให้ผตู้ ้องมีระดับของผู้บริหาร และทักษะของผูบ้ ริหารในการบริหาร
จัดการเพื่อให้เป็ นไปตามบทบาทหน้าที่ ระดับ และทักษะทีจ่ าเป็ นของผูบ้ ริหารแต่ละระดับ

ความสาคัญของการบริ หารจัดการ

การดาเนินการใดๆ ตัง้ แต่ในอดีตจนถึงปั จจุบนั มนุ ษย์มคี วามอยู่รอดในการร่วมกันใน


การทากิจกรรมต่างๆ ที่มนุ ษย์ร่วมกันคิด ร่ว มกันทาแสดงว่าธรรมชาติมนุ ษย์มกี ารรวมกลุ่ ม
เพื่อให้กลุ่มมีความสุขในการดารงชีวติ ให้อยู่รอดในสภาวการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ต่อมาเมือ่ มีการเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทาให้มนุ ษย์คดิ ค้นนวัตกรรมใหม่ๆ
ขึน้ มาเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองและผูอ้ ่นื ด้วยสภาพการณ์ทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงการ
บริหารจัดการจึงเป็ นสิง่ ทีจ่ าเป็ นสาหรับหน่ วยงานและองค์การภาครัฐ องค์การธุรกิจเอกชน และ
องค์การภาครัฐวิสาหกิจ รวมทัง้ งานทุกกิจกรรมทีม่ กี ารดาเนินงานต่างๆ เป็ นกลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่
ก็ตาม เนื่องจากดาเนินงานทุกขัน้ ตอนมีผลต่อความสาเร็จทีจ่ ะส่งผลให้เกิดกาไรและช่วยให้องค์การ
สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้เช่นเดียว นับว่าเป็ นความสาเร็จของหน่ วยงาน
นอกจากนี้กระบวนการบริหารจัดการยังเป็ นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ ทีต่ ้องรูจ้ กั นามาประยุกต์ ใช้ให้เกิด
70

ประโยชน์ เนื่องจากแต่ ละหน่ วยงาน อาจย่อมแตกต่างกันในด้านปั จจัยของความสาเร็จ ดังนัน้


การบริหารจัดการจึงมีความสาคัญพอจะสรุปได้ดงั นี้
1. การบริห ารจัด การวิธ กี ารที่ม หี ลัก เกณฑ์ มีเ หตุผ ลที่พ สิ ูจ น์ไ ด้ทาให้ช่ว ยให้บ รรลุ
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายของหน่วยงานและองค์การ
2. การบริห ารจัด การเป็ น การน าความรู้ และศิล ปะเพื่อ การน าเอาทรัพ ยากรต่ า งๆ
ขององค์การ มาดาเนินงานให้เกิดผลสาเร็จตามเป้ าหมายทีก่ าหนดไว้อย่างคุม้ ค่า
3. การบริหารจัดการช่ว ยในการเพิม่ ประสิทธิภาพและการบริห ารผลการปฏิบตั งิ าน
หน่วยงาน และองค์การโดยอาศัยความร่วมมือของบุคลากรในองค์การ
4. การบริหารจัดการช่วยให้การดาเนินงานทุกขัน้ ตอนได้มกี ารตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ าน
ให้ตรงกับวัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้ ซึง่ จะสร้างประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดาเนินงาน
5. การบริหารจัดการเป็ นความร่วมมือร่วมใจของบุคลหรือกลุ่มคน ทีเ่ กิดความร่วมใจกัน
ทีจ่ ะก่อให้เกิดความร่วมมือของกลุ่ม อันจะนาไปสู่พลังของกลุ่มทีจ่ ะทาให้บรรลุวตั ถุประสงค์
6. การบริหารจัดการช่วยให้องค์การสามารถเกิดการพัฒนาคน งาน องค์การ และสังคม
โดยส่วนรวม ทาให้ประเทศพัฒนาไปได้อย่างยังยื ่ นและมันคง
่ รวมทัง้ ประชาชนมีความสุข

หลักการในการบริ หารจัดการ

สภาพการณ์ในปั จจุบนั ทีอ่ งค์การมีการเปลีย่ นแปลงไปตามความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์


เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ มีการพัฒนาการบริหารจัดการ
ไปสู่นวัตกรรม เทคโนโลยี และการวิจยั ที่จะนาไปสู่การบริหารคน งาน และองค์การให้มคี วาม
รวดเร็ว ประหยัดทรัพยากร และประสิทธิภาพสูง ทันกับความต้องการของผู้ใช้บริการ ซึ่งการ
บริหารจัดการในยุคปั จจุบนั ก็ยงั คงต้องอาศัยหลักการบริหารจัดการเป็ นแนวทางในการนาไป
ประยุกต์ใช้ โดยให้ผบู้ ริหารสามารถนาไปดาเนินกิจกรรมในองค์การได้ มีหลักการสาคัญที่ ฟาโยล
(Fayol, 1964) ได้เสนอแนวคิดหลักการบริหารจัดการสาหรับหน่วยงานไว้ ดังนี้
1. หลักการแบ่งงานกันทา (Division of work) การแบ่งงานกันทาตามความชานาญ
เฉพาะอย่าง (Specialization) เป็ นความมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของงานโดยลดการ
สูญเปล่า เพิม่ ผลผลิต และทาให้การฝึ กอบรมง่ายขึน้ อันเป็ นหลักการใช้ประโยชน์ของคนและ
กลุ่มคนสามารถทางานเกิดประโยชน์สงู สุด
2. หลักอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility) อานาจเป็ น
เครื่องมือที่จะทาให้ผู้บริหารมีสทิ ธิท่จี ะสังการซึ
่ ่งเป็ นอานาจโดยชอบธรรมให้ผู้อ่นื ปฏิบตั ิงาน
ทีต่ ้องการได้โดยจะมีความรับผิดชอบ (Responsibility) เกิดขึน้ ตามมาด้วย ซึง่ จะมีความสมดุล
ซึง่ กันและกัน
71

3. หลักความมีระเบียบวินัย (Discipline) เป็ นระเบียบวินัยทีบ่ ุคคลในองค์การจะต้องเคารพ


เชื่อฟั ง และยอมรับ โดยการปฏิบตั ติ าม กฎเกณฑ์ กติกาและข้อบังคับต่างๆ ทีอ่ งค์การกาหนดไว้
เพื่อความเป็ นระเบียบเรียบร้อยขององค์การ ซึง่ ความมีวนิ ยั จะมาจากผูน้ าทีด่ ี
4. หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) หลักการในการทางาน
โดยทัวไปผู่ ใ้ ต้บงั คับบัญชาควร ได้รบั คาสังจากผู
่ บ้ งั คับบัญชาเพียงคนเดียวเท่านัน้ รวมถึงการ
รายงานผลการปฏิบตั งิ านก็จะต้องรายงานกับผูบ้ งั คับบัญชาโดยตรง ไม่เช่นนัน้ จะเกิดการโต้แย้ง
สับสน
5. หลักการกาหนดทิศทางการดาเนินงานเดียวกัน (Unity of Direction) การกาหนด
ทิศทาง หรือเป้ าหมาย ควรอยู่ภายใต้การจัดการหรือการสังการโดยผู ่ บ้ งั คับบัญชาคนหนึ่งคนใด
เพื่อเป็ นเป้ าหมายเดียวกันให้เกิดการบรรลุตามวัตถุประสงค์
6. หลักผลประโยชน์ขององค์การมาก่อนผลประโยชน์ส่วนบุคคล (Subordination of
individual interest to the general interest) ต้องถึงผลประโยชน์ขององค์การเป็ นอันดับแรก
7. หลักของการให้ผลตอบแทนทีไ่ ด้รบั (Remuneration of Personnel) เป็ นหลักตอบแทน
การทางาน เป็ นแนวทางซึง่ คนงานจะต้องได้รบั ความยุตธิ รรม และเกิดความพึงพอใจ ทัง้ สองฝ่ าย
8. หลักการรวมอานาจ (Centralization) หลักการรวมอานาจ หมายถึง ระดับมาก น้อยที่
ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถตัดสินใจได้ตามสถานการณ์ และอานาจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ซึง่ การใช้อานาจ
หน้าที่ในการตัดสินใจควรกระทาทีส่ ายการบังคับบัญชาระดับสูงทีส่ ุดทีเ่ ป็ นไปได้ในสถานการณ์
นัน้ ๆ
9. หลักสายการบังคับบัญชา (Scalar Chain) เป็ นการมีสายการบังคับบัญชา ซึง่ เป็ นเสมือน
ห่วงโซ่ หรือเส้นทางคาสัง่ และการติดต่อสื่อสารระหว่างผูบ้ งั คับบัญชาและผูใ้ ต้บงั คับบัญชาแต่ละ
สายงานในองค์การ
10. หลักความมีระเบียบเรียบร้อย (Order) เป็ นการจัดระเบียบให้คนทางานตรงกับหน้าที่
งาน หรือการกาหนดลักษณะและขอบเขตของงาน เพื่อประสิทธิภาพในการจัดระเบียบการทางาน
11. หลักความเสมอภาค (Equity) เป็ นความเทีย่ งธรรมในการบริหารงานของผูบ้ ริหาร
เพื่อให้เกิดความยุตธิ รรม และความเป็ นกันเอง เพื่อให้เกิดความจงรักภักดีของพนักงาน
12. หลักของความมีเสถียรภาพในการทางาน (Stability of Tenture of Personnel)
เป็ น หลัก ความมัน่ คงในหน้ า ที่ข องบุ ค ลากร ต้ อ งมีก ารจัด ระบบการหมุ น เวีย นเปลี่ย นงาน
(Job Rotation) พนักงานให้เกิดการเรียนรูใ้ นงานอื่นๆ และความมันคงในการจ้่ างงาน
13. หลักความคิดริเริม่ (Initiative) เป็ นการเปิ ดโอกาสให้พนักงานได้สร้างพลังที่จะ
สร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ ให้เกิดความสาเร็จอย่างต่อเนื่อง และยังยื ่ น รวมทัง้ เปิ ดโอกาสให้แสดง
ความคิดเห็น ให้แสดงออกถึงความคิดริเริม่
72

14. หลักความสามัคคี (Esprit de Corps) การมีมนุ ษยสัมพันธ์ในองค์การก่อให้เกิด


ความเข้าใจซึ่งกันและกัน อันนาไปสู่ความสาเร็จขององค์การ ผู้บริหารย่อมหลีกเลี่ยงการแบ่ง
พรรคแบ่งพวกในองค์การ
การบริหารจัดการในปั จจุบนั มุ่งการปรับปรุง และเปลีย่ นแปลงให้เกิดความทันสมัย รวมทัง้
ให้ก้าวทันเทคโนโลยีท่มี กี ารพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การนาเทคนิคใหม่ๆ และการปรับกระบวน
ทรรศน์ คิดนวัตกรรม และงานวิจยั โดยการอาศัยเทคโนโลยีจงึ เป็ นสิง่ ทีท่ า้ ทายของผูบ้ ริหารในยุค
ปั จจุบนั การบริหารจัดการแบบสมัยใหม่เพื่อให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคทีม่ คี วาม
ก้าวหน้าทางนวัตกรรม และเทคโนโลยี การบริหารจัดการสมัยใหม่จงึ ต้องมีหลักการและแนวทาง
ดังต่อไปนี้
1. ผูบ้ ริหารต้องมีวสิ ยั ทัศน์ท่ที นั ต่อเหตุการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป มองให้กว้างไกล ชัดเจน
แม่นยา และถูกต้อง
2. ผูบ้ ริหารต้องผลักดันและนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาบริหารจัดการองค์การเพื่อให้
ข้อมูลข่าวสารเป็ นปั จจุบนั ทัง้ ภายในและภายนอก รวมทัง้ การสร้างเครือข่ายด้วยระบบสารสนเทศ
เพื่อสร้างความเป็ นผูน้ า
3. ผูบ้ ริหารต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์ความเสีย่ งในการบริหารจัดการคน งาน
และองค์การอยูต่ ลอดเวลาด้วยการอาศัยเครื่องทางการบริหารเข้ามาช่วยในการจัดการความเสีย่ ง
ได้แก่ การจัดการความเสีย่ ง (Risk Management) การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
เป็ นต้น
4. การบริห ารจัด การงานได้ต ลอด 24 ชัว่ โมง โดยการบริห ารการท างานเป็ น กะ
(Work Shift)
5. มุง่ เน้นการทางานเป็ นหลัก โดยพิจารณาการบริหารผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานที่
ผ่านด้วยระบบเครือ่ งมือทีท่ นั สมัยสามารถนาไปการพัฒนาให้บุคลากรมีความสามารถ (Competency)
สูงขึน้ ตามเส้นทางอาชีพ (Career Path)
6. มุ่งเน้นในการยึดผูร้ บั บริการเป็ นศูนย์กลาง เพื่อตอบสนองความต้องการสูงสุดให้กบั
ลูกค้า
7. สร้างความเป็ นผู้นาในการทางานเป็ นทีมให้เป็ นหนึ่งเดียวกัน (Team Working)
การทางานต้องอาศัยทีมทีแ่ ข็งแกร่ง และความสามารถทีเ่ ป็ นพลังจากทุกคน เพื่อให้การทางาน
เป็ นผลผลิตทีม่ คี ุณภาพ
8. มุง่ เน้นการแก้ปัญหาการทางานเป็ นกลุ่มโดยการตัดสินใจทีม่ าจากสมาชิกของกลุ่มให้
มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดความพึงพอใจ ผูกพัน และยอมรับซึง่ กันและกัน
9. พัฒนาภาวะผูน้ าในผูป้ ฏิบตั งิ านทุกระดับและทุกคน (Leadership) เป็ นการสร้างผูน้ า
ให้เกิดความกล้าคิด กล้าแสดงออก และกล้าตัดสินใจในทุกสถานการณ์ รวมทัง้ เป็ นการให้ความ
สาคัญต่อพนักงานทุกคน
73

10. สร้า งระบบควบคุ ม คุ ณ ภาพให้เ กิด ขึ้น ทุก ขณะ เวลาในการปฏิบตั ิง าน (Quality
Control) เพื่อสร้างมาตรฐานการทางานให้เกิดขึน้ ในจิตวิญญาณ
11. มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement:
CQI) เป็ นการอาศัยเทคนิคทางวิทยาศาสตร์ และนวัตกรรมมาปรับใช้ในการปรับปรุงงานอย่าง
เป็ นระบบ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า และผูม้ ารับบริการอย่างต่อเนื่อง
ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการในองค์การ แสดงให้เห็นถึงความสามารถ ทักษะ
ของผูบ้ ริหาร รวมทัง้ บทบาทหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารทีจ่ ะดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ตัง้ แต่การระดม
สรรพกาลัง ทรัพยากรต่างๆ ในองค์การให้ซง่ึ จะนาเสนอ ระดับของผูบ้ ริหารในการบริหารจัดการ
และทักษะของผูบ้ ริหารโดยทัวไป

ระดับของการจัดการ (Levels of Management)


ผูบ้ ริหารทีม่ หี น้าทีใ่ นฐานะผู้กาหนดแนวนโยบายในการปฏิบตั งิ านไว้ให้สมาชิกในองค์การ
ได้ดาเนินการนาไปปฏิบตั โิ ดยที่ผู้จดั การเป็ นผู้ทาหน้ าที่นานโยบายลงไปสู่การปฏิบตั ิให้บรรลุ
ตามเป้ าหมาย สามารถแบ่งระดับของผูบ้ ริหารออกเป็ น 3 ระดับ ใหญ่ดงั นี้
1. ผูบ้ ริหารระดับสูงสุด (Top Management) หมายถึง ผูท้ ท่ี าหน้าทีท่ น่ี าพาองค์การไปสู่
ความสาเร็จ เป็ นผูท้ ต่ี อ้ งรับผิดชอบองค์การภาพรวมทัง้ หมด ถือว่าเป็ นผูบ้ ริหารสูงสุดขององค์การ
โดยมีหน้าทีส่ าคัญ คือ การกาหนดวัตถุประสงค์ขององค์การ กาหนดกลยุทธ์ กาหนดนโยบาย และ
ตัดสินใจในเรื่องทีส่ าคัญทีจ่ ะส่งผลต่อองค์การในระยะยาวขอบเขตหน้าทีท่ างการบริหารจึงเกี่ยวข้อง
กับปั จจัยต่างๆ ทัง้ สภาพแวดล้อ มภายในและภายนอก จึงต้องเป็ นผู้ที่มคี วามชานาญ และมี
ประสบการณ์ในการทางานมาหลายปี ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหาร (Board of Directors)
ประธาน (President) หรือหัวหน้าผูบ้ ริหาร (Chief Executive Officers) และเจ้าหน้าทีอ่ ่นื ๆ ของ
บริษทั การบริหารงานระดับสูงจะต้องรับผิดชอบต่อการบริหารงานทัง้ หมดขององค์การและตัดสินใจ
ในการทาแผนงานกว้างๆ ขององค์การ ผู้บริหารระดับนี้จงึ ต้องเป็ นนักคิดกลยุทธ์ (strategic
thinker) ทีต่ อ้ งสามารถคิดในระดับกลยุทธ์ขององค์การเพื่อมุ่งไปสู่อนาคตและต้องตัดสินใจภายใน
สภาพการแข่งขันทีร่ นุ แรงได้ รวมทัง้ สภาพการณ์ทไ่ี ม่แน่นอนตลอดเวลา
2. ผูบ้ ริหารระดับกลาง (Middle Management) หมายถึง ผู้บริหารทีต่ ้องประสานงาน
ระหว่างผูบ้ ริหารระดับสูงกับผูบ้ ริหารระดับต้น หน้าทีท่ ส่ี าคัญคือ การแปลงวิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ และ
วัตถุประสงค์นาลงมาสู่การปฏิบตั ิ ให้มาสามารถนาไปใช้ได้จริงในทางปฏิบตั ซิ ง่ึ ต้องอาศัยทักษะ
ความสามารถในการเชื่อมโยงระหว่างสมาชิกในองค์การให้ปฏิบตั งิ านให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ทีผ่ บู้ ริหารระดับนโยบายกาหนดไว้ จึงเปรียบเสมือนตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผูบ้ ริหารระดับสูง
และผูบ้ ริหารระดับต้น ประกอบด้วยผูจ้ ดั การแผนก (Division Managers) หรือผูจ้ ดั การโรงงาน
(Plant Manager) ผูบ้ ริหารในระดับนี้จะต้องรับรายงานจากผูบ้ ริหารระดับต้นและต้องนาเสนอ
รายงานข้อมูลต่อผูบ้ ริหารระดับสูง จาเป็ นต้องสนใจสภาพแวดล้อมภายในองค์การ
74

3. ผูบ้ ริหารระดับต้น (First Level Manager) หมายถึง ผูบ้ ริหารทีอ่ ยู่ส่วนล่างและทา


หน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ปฏิบตั งิ านรับผิดชอบในการควบคุมดูแลพนักงานผู้ปฏิบตั งิ าน ซึ่ง
ทาหน้าที่งานประจา ไม่ต้องตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย กฎระเบียบ และหน่ วยปฏิบตั ทิ ่แี น่ นอน
เป็ นเครื่องมือช่วยในการปฏิบตั งิ าน จะดูแลใกล้ชดิ กับผูป้ ฏิบตั งิ านโดยตรง ส่วนใหญ่จะต้องอาศัย
ทักษะทางด้านการทางาน (technical skill) ประกอบด้วย หัวหน้างาน (supervisor) ผู้ควบคุมงาน
หัวหน้าทีม หรือหัวหน้าแผนก เป็ นต้น
สาหรับระดับของผูบ้ ริหารทัง้ 3 ระดับ สามารถนามาเขียนเป็ นภาพประกอบเพื่อให้เข้าใจ
ถึงบทบาทหน้าทีข่ องแต่ละระดับได้ดงั ภาพที่ 2.2

กาหนดนโยบาย

นานโยบายสู่การปฏิ บตั ิ

กากับควบคุมการปฏิ บตั ิ งาน

ภาพที่ 2.2 ระดับของผูบ้ ริหาร

ทักษะของผูบ้ ริ หาร
การด าเนิ นการตัง้ แต่ อดีตจนถึงปั จจุบ ันผู้บริหารเป็ นผู้น าพาพนั กงานไปสู่ เป้ าหมาย
เดียวกันได้ และขับเคลื่อ นองค์ก ารไปสู่ค วามส าเร็จในทุก สภาวการณ์ ดัง นัน้ ผู้บริห ารหรือ
ผู้จดั การจาเป็ นต้องมีทกั ษะในการบริหารจัดการองค์การ จึงมีมนี ักวิชาการได้กาหนดทักษะที่
จาเป็ นของผูบ้ ริหาร ทีต่ อ้ งมีทกั ษะทางการบริหาร ดังนี้ (L.Katz,1955, p.33-42)
75

1. ทักษะด้านมโนทัศน์ (Conceptual Skill) หมายถึง ความสามารถในการมองภาพรวม


ขององค์การในการประสานสิง่ ต่างๆ เข้าด้วยกัน ซึง่ ต้องมีความรูท้ างทฤษฎี และหลักการสามารถ
ทีจ่ ะคิดวิเคราะห์และเข้าใจถึงสภาพการทางานเป็ นส่วนรวม เข้าใจความเกี่ยวข้องของกิ จกรรม
หรือหน้าทีข่ องงานต่างๆ เข้าใจถึงความสาคัญของความสัมพันธ์ และการเชื่อมโยงของแต่ละหน้าที่
ทัง้ ภายในองค์การกับสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การให้สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ทนั ที
ดังนัน้ ผูบ้ ริหารควรจะมีทกั ษะเพิม่ ขึน้ อีก 2 ทักษะ คือ
1.1 ทัก ษะทางด้านการตัดสินใจ (Decision-Making Skill) หมายถึง
ความสามารถของผู้บริหารในการพิจารณาตัดสินใจต่างๆ ในสภาวะที่มกี ารเปลี่ยนแปลงอย่าง
ทันที เช่น การตัดสินใจในการแก้ไขปั ญหา ซึ่งผูบ้ ริหารจะต้องมีความสามารถในการระบุปัญหา
วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหา สามารถกาหนดทางเลือกต่างๆ ในการแก้ไขปั ญหา และพิจารณา
ตัดสินใจในทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งในการแก้ไขปั ญหา
1.2 ทักษะด้านการจัดการทางด้านเวลา (Time Management Skills) หมายถึง
ความสามารถของผู้บริหารในการบริหารเวลาได้อย่างเหมาะสม เช่น งานใดควรจะเป็ นหน้าที่
ของผูบ้ ริหารงานระดับสูง งานใดสามารถมอบหมายให้ผบู้ ริหารระดับรองลงไปปฏิบตั ิ เป็ นต้น
2. ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human Skills) หมายถึง ความสามารถในการทางาน
ร่วมกับผู้อ่นื ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือความสามารถเข้ากับผู้อ่นื ได้อย่างดีกบั เพื่อนร่วมงาน
ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ได้เมือ่ ขอความร่วมมือ ทักษะด้านมนุ ษยสัมพันธ์ทาให้ผบู้ ริหาร
ทางานกับคนอื่นได้อย่างดี ด้วยการสร้างความร่วมมือเป็ นทีม ผู้บริหารยุคปั จจุบนั นี้จะต้องรูจ้ กั
วิธจี งู ใจ มีความเห็นอกเห็นผูอ้ ่นื ให้ความสาคัญกับทุกคนทีท่ างานร่วมกันจึงจะสามารถเกิดการ
สร้างความร่วมมือนาไปสู่การทางานทีบ่ รรลุเป้ าหมายขององค์การ
3. ทักษะด้านเทคนิ ค (Technical Skill) หมายถึง ความรู้ ความสามารถ และความ
ชานาญในกิจกรรมเฉพาะอย่าง ผูบ้ ริหารส่วนใหญ่จะเป็ นผู้บริหารระดับต้ นทีเ่ ข้าใจรายละเอียด
ของการปฏิบตั งิ านเทคนิคต่างๆ ความรูใ้ นวิธกี ารปฏิบตั งิ านในการใช้เครื่องมือ และมีความรูใ้ น
เรือ่ งนัน้ ๆ โดยเฉพาะ
ทัก ษะทัง้ 3 ด้านของผู้บ ริห ารที่จ าเป็ น ต้อ งมีส าหรับ การบริห ารจัดการงานองค์การ
สามารถแสดงเป็ นภาพประกอบดังภาพที่ 2.3
76

ภาพที่ 2.3 ทักษะของผูบ้ ริหาร


กระบวนการในการบริ หารจัดการ
องค์การจะสามารถดาเนินงานไปได้กต็ ้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกันของคนหรือสมาชิก
ในองค์การ ซึ่งต้อ งอาศัยเครื่องมือส าหรับผู้บริหารในการระดมสรรพกาลังต่างๆ เพื่อให้การ
ดาเนินงานสาเร็จ นัน่ ก็คอื กระบวนการบริหารจัดการ ซึ่งมีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ขนั ้ ตอน
หรือกระบวนการในการบริหารจัดการไว้ ดังนี้
Luther Gulick และ Lymdall Urwick ได้เสนอหลักการกระบวนการบริหารจัดการไว้
7 ขัน้ ตอน เป็ น แนวทางให้ผู้บ ริห ารได้น ามาเป็ น เครื่อ งมือ ในการปฏิบ ัติง านให้ม ีทิศ ทาง มี
หลักการ 7 ขัน้ ตอนด้วยกัน ดังนี้
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง การกาหนดสิง่ ทีจ่ ะต้องทาไว้ล่วงหน้าโดยจะมีการ
สารวจข้อมูลต่างๆ การระดมความคิดจากสมาชิกในองค์การถึงการปฏิบตั งิ าน ว่าจะทาอะไร (What)
เมือ่ ไหร่ทจ่ี ะต้องลงมือทา (When) จะทาอย่างไร (How) ให้ใครเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการทา (Who)
และจะใช้งบประมาณเท่าไร่ (How) และต้องตระหนักถึงแผนงานนัน้ จะต้องมาจากนโยบายของ
องค์การและต้องสอดคล้องกับนโยบาย ซึง่ รูปแบบแผนงานควรประกอบด้วยวัตถุประสงค์ นโยบาย
แนวปฏิบตั ิ และมาตรฐานของงาน นอกจากนี้ผู้บริหารจะต้องคานึงถึงสภาพแวดล้อมทัง้ ภายใน
และภายนอกองค์การด้วย รวมทัง้ วัฒนธรรมองค์การประกอบ
2. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึงเป็ นการจัดโครงสร้างขององค์การ โดยการจัด
ระเบียบภายในองค์การให้เหมาะสมกับทรัพยากรขององค์การ ซึ่งจะเป็ นการแบ่งหน้ าที่งาน
จาแนก จัดกลุ่มงาน มอบหมายงาน การมอบอานาจหน้าที่ให้เหมาะสมกับจานวนและประเภท
ของงานหรือการจัดแบ่งกลุ่มงานโดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะ
77

ของงาน (Specialization) รวมทัง้ การประสานงานให้เ หมาะสมกับ ทรัพ ยากรเพื่อ ให้บ รรลุ


วัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้
3. การจัดบุคคลเข้าทางาน (Staffing) หมายถึง กระบวนการในการดาเนินการเกี่ยวกับ
การบริหารทรัพยากรมนุ ษย์ในองค์การ ซึ่งเป็ นการวางแผนกาลังคน การสรรหาและคัดเลือก
ทรัพยากรมนุษย์ เข้ามาบรรจุ แต่งตัง้ ให้บุคคลเข้ามาทางานให้เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าทีง่ าน
4. การอานวยการ (Directing) หมายถึง ภารกิจในการใช้ศลิ ปะในการบริหารงาน ซึง่ มี
หน้าทีใ่ ห้ความช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุ น ให้การดาเนินงานไปด้วยดี ต้องอาศัยความมี ภาวะ
ผูน้ า (Leadership) มนุ ษยสัมพันธ์ (Human Relations) การตัดสินใจ วินิจฉัย สังการ
่ (Decision
Making) และจูงใจ ให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาได้คล้อยตามหรือทางานตามทีไ่ ด้มอบหมายให้สาเร็จ
5. การประสานงาน (Coordinating) หมายถึง ความร่วมมือประสานงานเพื่อให้การ
ดาเนินงานเป็ นไปด้วยความเรียบร้อย หรือการประสานงานระหว่างหน่ วยงานหรือติดต่อสื่อสาร
ในองค์ก ารและระหว่ างหน่ ว ยงาน การประสานงานจึงเป็ นกระบวนการให้ผู้บริห ารได้ส ร้า ง
ความสัมพันธ์กบั หน่ วยงาน บุคคลเพื่อให้งานได้สาเร็จลุล่วงไปได้ และผู้ต้องใช้เทคนิคในการ
ส่งเสริม โน้ มน้ าว ชักจูงใจให้สมาชิกในองค์ การสามารถทางานร่วมกันได้ โดยยึดจุดมุ่งหมาย
หรือวัตถุประสงค์ขององค์การ
6. การรายงาน (Reporting) หมายถึง เป็ นกระบวนการและเทคนิคของการรายงานผล
การปฏิบตั งิ านตามแผน และการประเมินแผน ตลอดจนการประชาสัมพันธ์กบั การติดต่อสื่อสาร
ผลการปฏิบตั งิ านสอดคล้องและบรรลุเป้ าหมายขององค์การ ทัง้ นี้เพื่อจะได้เป็ นการประเมินผล
งานและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของทีมงานด้วย และสามารถเป็ นข้อมูลในการรายงานผลการ
ปฏิบตั งิ านต่อผูบ้ งั คับบัญชา และผูท้ เ่ี กีย่ วข้องด้วย
7. การงบประมาณ (Budgeting) หมายถึง การบริหารจัดทางบประมาณ การจัดทาบัญชี
กรใช้จ่ายเงิน และการควบคุมตรวจสอบทางด้านการเงิน และทรัพย์สนิ ขององค์การเพื่อให้เกิด
ความมีเสถียรภาพ และมีสภาพคล่องในการบริหารจัดการ รวมทัง้ เป็ นการควบคุมความเสีย่ งใน
การบริหารการเงินการคลัง
จากการนาเสนอกระบวนการบริหารจัดการตามแนวคิดของ Luther Gulick และ Lymdall
Urwick สามารถนามาแสดงได้ดงั ภาพที่ 2.4
78

Planning

Budgeting
Organizing

POSDCORB

Reporting Staffing

Coordinating Directing

ภาพที่ 2.4 กระบวนการบริหารจัดการ ตามแนวคิดของ Luther Gulick และ Lymdall Urwick

ส่วนกระบวนการบริหารจัดการตามแนวคิดของ Henri J. Fayol ได้เสนอกระบวนการใน


การบริหารจัดการและการกาหนดหลักเกณฑ์ในการบริหาร ซึง่ หน้าทีข่ องนักบริหาร (Management
Functions) ไว้ ดังนี้
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง การทีผ่ บู้ ริหารได้พจิ ารณากาหนดแนวทางการทางาน
จะต้องเตรียมการวางแผนการทางานขององค์การไว้ล่วงหน้าเพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย หรือเป็ นการ
กาหนดสิง่ ต้องทาไว้ล่วงหน้า ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว เพื่อให้มที ศิ ทางในการปฏิบตั งิ านให้บรรลุ
ตามเป้ าหมายทีต่ งั ้ ไว้
2. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง การทีผ่ บู้ ริหารมีการจัดระเบียบ หรือกาหนด
โครงสร้างภายในขององค์การให้เหมาะสมกับทรัพยากรทางการบริหาร หรือเป็ นการมอบหมาย
งานให้บุคคลปฏิบตั งิ านตามหน้าที่ แผนกงานให้สามารถบรรลุตามเป้ าหมาย และเพื่อก่อให้เกิด
ประโยชน์ สามารถช่วยให้องค์กรประสบความสาเร็จได้เร็วขึน้
3. การสังการ
่ (Directing) หมายถึง ภาระหน้าทีข่ องผูบ้ ริหารใช้ความสามารถชักจูงหรือ
หว่านล้อมผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้ปฏิบตั งิ านตามคาสัง่ หรือผูบ้ ริหารจะต้องมีการวินิจฉัยสังการที
่ ่ดี
เพื่อให้การดาเนินงานขององค์การดาเนินการไปตามเป้ าหมาย
79

4. การประสานงาน (Coordinating) หมายถึง การทีม่ ผี ู้บริหารจัดให้ทรัพยากรบุคคล


ภายในองค์กร และทาหน้าทีเ่ ชื่อมโยงทรัพยากรต่างๆ ขององค์การให้ดาเนินไปอย่างสอดคล้อง
ต้องกัน รวมทัง้ เป็ นการประสานสัมพันธ์ให้สอดคล้องเป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน เพื่อให้การดาเนิน
งานราบรืน่ และบรรลุวตั ถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
5. การควบคุม (Controlling) หมายถึง กระบวนการทางานเริม่ ตัง้ แต่การกาหนดมาตรฐาน
การแก้ไขการปฏิบตั งิ านของผู้ใต้บงั คับบัญชาตลอดจนการดาเนินงาน เป็ นกิจกรรมขัน้ สุดท้าย
ของกระบวนการบริหาร ซึง่ ผูบ้ ริหารต้องทาหน้าทีค่ อยควบคุม ดูแล และนิเทศงาน กากับกิจกรรม
ให้มกี ารดาเนินกิจกรรมต่างๆ ไปตามทีไ่ ด้กาหนดไว้
แนวคิ ดในการบริ หารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
งานด้านความปลอดภัยในการทางานในประเทศไทยมีการพัฒนาคล้ายคลึงกับประเทศ
อุตสาหกรรมทัง้ หลาย คือ ได้เกิดขึน้ หลังจากได้มกี ารพัฒนาอุตสาหกรรม ซึ่งในปี พ.ศ. 2462
ประเทศไทยเข้าร่วมเป็ นสมาชิกองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ในปี พ.ศ. 2472 ได้ม ี
การร่างกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ขน้ึ โดยมีการกาหนดบทบัญญัตวิ ่าด้วยการจ้างแรงงาน และได้
มีการออกพระราชบัญญัตโิ รงงานขึ้นใช้โดยมุ่งหมายให้เป็ นกฎหมายอุตสาหกรรมและกรรมกร
เพื่อ ให้ก ารคุ ้ม ครองความปลอดภัย คนงาน และในวัน ที่ 20 กัน ยายน 2499 ได้ม กี ารออก
พระราชบัญญัตแิ รงงาน พ.ศ. 2499 โดยให้มผี ลบังคับใช้ตงั ้ แต่ 1 มกราคม 2500 และมีการประกาศ
ใช้พระราชบัญญัตคิ วบคุมการก่อสร้างอาคารต่อมาในปี พ.ศ. 2509 ได้เกิดโรคพิษแมงกานีสใน
กลุ่มคนงานที่ทางานในโรงงานถ่านไฟฉาย มีผู้เป็ นโรคนี้ในระดับความรุนแรงต่างๆ กันถึง 41
ราย ซึ่งขณะนัน้ ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2484 แล้ว ในปลายปี พ.ศ.
2508 รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม (ฉบับที่ 3) และในปี พ.ศ.
2508 นี้ก รมแรงงานได้ถู ก ตัง้ ขึ้นในกระทรวงมหาดไทย เมื่อ วันที่ 29 ตุ ล าคม พ.ศ. 2508 ใน
ปี พ.ศ. 2512 กระทรวงอุตสาหกรรมได้ออกพระราชบัญญัตโิ รงงานฉบับใหม่
การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบการทีผ่ ่านมาในอดีตยังไม่มรี ะบบ
การจัดการทีด่ ี และไม่เป็ นระบบ เนื่องจากยังขาดการควบคุมด้านกฎหมายจากเจ้าหน้าทีภ่ าครัฐ
และส่วนหนึ่งเป็ นหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของนายจ้างเกี่ยวกับมนุ ษยธรรม รวมทัง้ ความเอาใจใส่
ของลูกจ้างในการดูแลความปลอดภัยในการทางานของตนเองยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ซึง่ ใน
ประเทศไทยนัน้ ในช่วงแรกประมาณก่อนการปฏิวตั ิ พ.ศ. 2475 ได้มกี ารจัดระบบการบริหาร
จัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบการต่างๆ แต่หากยังไม่แพร่หลาย
มีเพียงโรงงานอุตสาหกรรมไม่มากนักทีไ่ ด้ดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยอุตสาหกรรมทีต่ งั ้ ขึน้ ใน
ขณะนัน้ มักเป็ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ท่มี คี วามเสีย่ งภัยสูง เช่น โรงงานอุตสาหกรรมกลันน่ ้ ามัน
โรงงานอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี โรงงานอุตสาหกรรมผลิตสารเคมี จาพวกยาฆ่าแมลงทางการเกษตร
ปุ๋ ยเคมีประเภทต่างๆ เป็ นต้น อุตสาหกรรมการผลิตในช่วงนัน้ นายจ้างมีทศั นะ เกี่ยวกับความ
80

ปลอดภัยทีเ่ ห็นว่าเป็ นการสิน้ เปลือง และสูญเปล่าหากต้องลงเกี่ยวกับเรื่องสวัสดิภาพความปลอดภัย


และอาชีวอนามัยในการทางานของลูกจ้าง จึงทาให้สถิตกิ ารประสบอันตรายและเจ็บป่ วยอัน
เนื่องมาจากการทางานมีแนวโน้มสูงขึน้ มาโดยตลอด
ในช่ ว งปลายทศวรรษ 2520 จุด เปลี่ยนส าคัญ ของเศรษฐกิจ โลก โดยเฉพาะรัฐ บาล
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ซึ่งมีความสัมพันธ์กบั ภาคธุรกิจมากขึน้ ฝ่ ายนักธุรกิจรวมตัวกันตัง้
สมาคมต่างๆ ที่มอี ทิ ธิพลต่อนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล ทาให้เกิดอุตสาหกรรมขนาดใหญ่
เกิดขึน้ จานวนมากเพื่อผลิตสินค้าทีเ่ ป็ นจานวนมากนายจ้างต้องมีการจ้างคนงานจานวนมากเพื่อ
เป็ นแรงงานในการผลิตสินค้าส่งไปยังต่างประเทศ รวมทัง้ ต่างชาติเข้ามาตัง้ โรงงานอุตสาหกรรม
เกิดขึน้ จานวนมาก ในขณะเดียวกัน การควบคุมงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยสาหรับ
ลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรมเหล่านัน้ กลับถูกละเลย จึงทาให้คนงานเกิดการบาดเจ็บและเจ็บป่ วย
ทีเ่ กิดจากการทางาน จนกระทังในปี ่ พ.ศ. 2528 กระทรวงมหาดไทย ได้ออกประกาศกระทรวง
มหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 โดย
อาศัยอานาจตามประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 103 ซึ่งเป็ นกฎหมายทีก่ าหนดให้มเี จ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทางานในสถานประกอบการขึน้ นับเป็ นก้าวแรกที่มกี ารกาหนดให้สถาน
ประกอบการมีผดู้ แู ลรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน ซึง่ มีสาระสาคัญในเชิงการบริหาร
จัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยโดยกาหนดให้สถานประกอบการตามประเภทที่
กาหนดทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 100 คนขึน้ ไป ต้องจัดให้มผี ดู้ ูแลรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการ
ทางาน (Safety officer) หรือ เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน (จป.) โดยต้องจัดให้มกี าร
ดาเนินงานด้านความปลอดภัย เช่น การตรวจความปลอดภัย การจัดมาตรการด้านความปลอดภัย
การใช้อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย
อื่นๆ สถานประกอบการต่างๆ จึงจาเป็ นต้องดาเนินการตามกฎหมาย ทัง้ นี้กม็ กี ฎหมายเกี่ยวกับ
ความปลอดภัยในการทางานฉบับอื่น ๆ ทีค่ ุม้ ครองแรงงานออกมาอีกเรื่อยๆ เนื่องจากอุตสาหกรรม
ในประเทศได้ขยายตัวตามการเปลีย่ นแปลงของตลาดโลก ประกอบกับการพัฒนาประเทศตาม
นโยบายของรัฐบาล ทาให้การผลิตสินค้าจึงไม่ได้สนใจเกี่ยวกับการผลิตทีใ่ ช้แรงงานเป็ นจานวนมาก
ไม่มรี ะบบความปลอดภัยให้กบั ลูกจ้างเท่าที่ควร มุ่งเน้นการผลิต ละเลยความปลอดภัยสาหรับ
ลูกจ้าง ไม่มรี ะบบมาตรฐานสากลรับรองก็จะไม่สามารถขายสินค้าได้ สถานประกอบการทัวโลก ่
จึงให้ความสาคัญกับเรื่องความปลอดภัยในการทางานมากขึ้น แต่ประเทศไทยพบปั ญหาและ
อุปสรรคต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการดาเนินการ เช่น ความไม่เข้าใจในหลักการบริหารจัดการ
ผูบ้ ริหารไม่จา้ งบุคคลทีเ่ ข้ามาดูแลงานด้านความปลอดภัยไม่ตรงกับงาน และขาดความเข้า ใจใน
การวางแผนด้านความปลอดภัยและอาชีว อนามัยอย่างเป็ นระบบ รวมทัง้ ลูกจ้างเองความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองในการทางานเนื่องจากนายจ้างไม่ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับ
การทางานของลูกจ้างมากนัก ด้วยเหตุน้ีจงึ ทาให้ต้องมีการพัฒนาปรับปรุง แก้ไข เพิม่ เติมทัง้
ด้านกฎหมายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย รวมถึงการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัย
81

และอาชีวอนามัยอย่างเป็ นระบบเพื่อช่วยในการธารงรักษาแรงงานในการผลิตและช่วยให้ประเทศ
ได้พฒ ั นาก้าวหน้าด้วยการมีประชาชนหรือแรงงานทีม่ สี ุขภาพ อนามัยทีด่ ปี ลอดภัยจากอันตราย
และเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางานต่อไป
จากแนวคิดในการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมีการพัฒนา
ตามความก้าวหน้ าทางการเปลี่ยนแปลงของโลกที่มคี วามเจริญทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง จึงทาให้เกิดแรงผลักดันในแนวคิดงานด้านด้านความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยทีม่ สี าเหตุทเ่ี ป็ นปั จจัยต่างๆ ดังนี้
1. ปั จจัยที่เ ป็ นแรงผลัก ดัน จากสังคมที่ต้อ งการให้ผู้ปฏิบตั ิง านทางานอย่า ง
ปลอดภัย มีสถานทีท่ างานทีป่ ลอดภัย
2. ปั จจัยทางด้านการเมืองทัง้ ภายในและภายนอกประเทศทีม่ คี วามต้องการให้
ภาคอุตสาหกรรมให้ความสนใจต่อความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของผู้ปฏิบตั งิ านและผู้อยู่
อาศัยรอบๆ สถานประกอบกิจการ ทาให้มกี ารผลักดันออกกฎหมายเพื่อคุม้ ครองผูป้ ฏิบตั งิ าน
รวมไปถึงลูกค้า และการกาหนดเงือ่ นไขทางการค้าของประเทศคู่คา้
ปั จจัยทางด้านเศรษฐกิจที่มองว่า การจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยใน
องค์กรเป็ นอีกรูปแบบหนึ่งของการควบคุมความสูญเสีย
จากปั จจัยดังกล่าว การบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ต้องเป็ น
บทบาทสาคัญทีน่ าไปสู่เป้ าหมายหนึ่งที่องค์กรจะต้องดาเนินการให้ได้ดว้ ยจัดสรรงบประมาณ และ
ทรัพยากรให้เหมาะสม จัดโครงสร้างงานด้านความปลอดภัย เจ้าหน้ าที่ การพัฒนาฝึ กอบรม
งบประมาณ เวลา และองค์ความรูต้ ่างๆ เพื่อให้การบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้กบั การดาเนินงานขององค์การ เพื่อทาให้องค์การ
ได้เกิดประโยชน์ ดังนี้
(1) ช่วยเสริมสร้างให้พนักงานมีความมันใจในสภาพชี
่ วติ การทางานที่มคี วาม
ปลอดภัยของชีวติ และขวัญกาลังในการพัฒนางานต่อไป
(2) ช่วยทาให้อ งค์ก ารลดค่าใช้จ่ายในการรัก ษาพยาบาลอันมีส าเหตุมาจาก
พนักงานเกิดอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยในการทางาน และการหยุดงานของพนักงานด้วย
(3) ช่วยลดอัตราการเกิดอุบตั ิเหตุ เจ็บป่ วย และบาดเจ็บอันเนื่องมาจากการ
ทางาน ทาให้พนักงานมีขวัญกาลังใจทีด่ แี ละเกิดความจงรักภักดีต่อองค์การ
(4) ช่วยทาให้พนักงานเกิดความมันใจในการท่ างาน ซึง่ ทาให้องค์การสามารถ
เสริมสร้างคุณภาพขององค์การได้และช่วยสร้างภาพลักษณ์ให้กบั สินค้าและบริการต่อสายตา
ประชาโลก
(5) ช่วยทาให้องค์การเกิดความได้เปรียบในการแข่งขันในตลาดการค้าและเป็ น
ผูน้ าทางธุรกิจได้
82

ความหมายของการบริ หารจัดการงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ได้มนี กั วิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของคาว่า การบริหารจัดการความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย ไว้ดงั นี้
สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์ (2553, หน้า 46) ได้ให้ความหมายของ การบริหารจัดการ
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ไว้ว่า กรรมวิธเี กีย่ วกับการวางแผน (planning) การจัดองค์การ
(organizing) การจัดบุคลากร (staffing) การเป็ นผูน้ า (leading) การควบคุม (controlling) เพื่อให้
บรรลุวตั ถุประสงค์ของงานการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ทีก่ าหนดขึน้ โดย
ความร่วมมือของทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด
ศีขรินทร์ สุขโต (2553, หน้า 41) ได้ให้ความหมายของ การบริหารความปลอดภัย ไว้ว่า
กระบวนการเกี่ยวกับการวางแผน (planning) การจัดองค์การ (organizing) การจัดบุคลากร (staffing)
การเป็ นผูน้ า (leading) การควบคุม (controlling) เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของความปลอดภัยที่
กาหนดขึน้ โดยความร่วมมือของพนักงานและใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด
สรุปความหมายของ การบริห ารจัดการความปลอดภัย และอาชีว อนามัย หมายถึง
กระบวนการทีผ่ บู้ ริหารใช้ความรู้ ความสามารถ และทักษะให้สมาชิกในองค์การมาร่วมมือร่วมใจ
กันในการจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ซึ่งอาศัยกระบวนการในการบริหาร
จัดการ เรื่องตัง้ แต่การวางแผน (planning) การจัดองค์การ (organizing) การจัดบุคคลเข้าทางาน
(staffing) การชักจูงใจหรือโน้มน้าว (leading) และ การควบคุม (controlling) ในการระดมสรรพ
กาลังทรัพยากรในองค์การ ได้แ ก่ คน เงิน วัสดุ เครื่องมือ และการจัดการ เพื่อ ให้บรรลุตาม
วัตถุประสงค์ของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยขององค์การ
แนวคิ ดพืน้ ฐานของการบริ หารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ตัง้ แต่อดีตถึงแม้ว่ายังไม่มกี ารบริหารที่
เป็ นระบบมากนัก หรือบางคนกฎเกณฑ์ขอ้ บังคับต่าง ๆ ทีถ่ ูกกาหนดมาจากความต้องการของ
ผูใ้ ช้แรงงาน และหน่ วยงานภาครัฐทีก่ าหนดขึน้ มาเพื่อให้คนงานมความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ทีด่ ี รวมทัง้ เหตุผลบางประการของนายจ้างเองในการแสดงถึงเจตนารมณ์ทด่ี ตี ่อมนุ ษยธรรมของ
นายจ้างเอง และการต่อสู้ของลูกจ้างที่ไม่ได้รบั ความเป็ นธรรมของการกระทาของฝ่ ายนายจ้าง
ซึง่ เป็ นแนวคิดพืน้ ฐานของการพัฒนาการในการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
มาถึงปั จจุบนั นี้การบริหารจัดการความปลอดภัยถูกเปลีย่ นแปลงด้วยผลกระทบของโลกาภิวตั น์
ทีม่ กี ารแข่งขันกันอย่างรุนแรง และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทีส่ ามารถนามาเป็ นเครื่องมือ
ทางการบริหารจัดการงานต่างๆ ในองค์การให้เกิดความทันสมัยในการทางานให้กบั องค์การ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจาเป็ นอาศัยการบริหารจัดการเข้ามาช่วยใน
83

การพัฒนางานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ดังนัน้ ลักษณะของการบริหารจัดการด้าน


ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทีด่ ี จึงมีลกั ษณะดังนี้
1. ต้องมาจากแผนงานทีก่ าหนดขึน้ ซึง่ การบริหารความปลอดภัยเป็ นนโยบายทีส่ าคัญที่
ผูบ้ ริหารได้มกี ารมอบหมายให้ผมู้ สี ่วนเกี่ยวข้องได้รบั มอบหมายหน้าทีใ่ นการดูแลและมีการปฏิบตั ิ
อย่างเป็ นระบบและต่อเนื่องเพื่อการทางานมีความปลอดภัย
2. ระบบการบริหารจัดการความปลอดภัยเป็ นการเสริมสร้างความปลอดภัยไปสู่กระบวน
การผลิตให้มปี ระสิทธิภาพ และพนักงานปราศจากภัยอันตรายในการทางาน
3. จูงใจให้พนักงานทุกคนมีร่วมกันตัดสินใจ และร่วมกันทา โดยอาศัยหลักการบริหาร
แบบมีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานทัวทั ่ ง้ องค์การ
ดังนัน้ นายจ้าง หรือฝ่ ายจัดการมีส่วนสาคัญที่จะนาพาการบริหารความปลอดภัยไปสู่
ความสาเร็จในการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ พนักงานเกิดความพึงพอใจและเป็ นไปตามข้อกาหนดทาง
กฎหมาย จึงอาศัยแนวคิดพื้นฐานในการที่จะทาให้การดาเนินการสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ได้
ดังนี้
3.1 ผลการผลิตปลอดภัย (safe production) หมายถึง การดาเนินงานโดยการ
ก าหนดนโยบายความปลอดภัย และอาชีว อนามัย มีจุด มุ่ง หมายที่จ ะท าให้ผ ลผลิต มีค วาม
ประสิทธิภาพสูงสุ ดโดยปราศจากการประสบอันตราย บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยหรือ เกิดความ
สูญเสีย
3.2 การป้ องกันที่ต้นเหตุ (prevention source) หมายถึง การบริหารจัดการให้ม ี
การดาเนินงานเพื่อลด ขจัด และป้ องกันที่ต้นเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ เนื่องจากถ้าได้ทาการ
ป้ องกัน และหาแนวทางแก้ไขสภาพการทางาน เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์การทางาน และตัว
ผูป้ ฏิบตั งิ าน ตัง้ แต่เริม่ ต้นก็จะทาให้โอกาสในการเกิดการประสบอันตราย บาดเจ็บ หรือเจ็บป่ วย
เนื่องจากการทางานลดน้อยลงได้
3.3 ขอบเขตการดาเนินงาน หมายถึง บริหารงานที่มจี ุดมุ่งหมายที่กาหนดขอบเขต
หน้ าที่ของงานที่ช ัดเจน มีก ารก าหนดกิจกรรมงานด้านความปลอดภัยและอาชีว อนามัยให้
ครอบคลุมลักษณะงานใดบ้าง เพื่อให้สามารถวัดผลการดาเนินงานได้อย่างเป็ นรูปธรรม
3.4 การประมาณการถึงความเป็ นไปได้หรือความเสีย่ งของการเกิดอุบตั เิ หตุและการ
ประสบอันตราย หมายถึง การมุ่งแก้ไขปั ญหาการเกิดอันตรายหรือสภาพของความเสี่ยงที่จะ
เกิดขึ้นในสถานประกอบการ โดยอาศัยการเปรียบเทียบกับสถานประกอบการอื่นที่เ คนเกิด
เหตุการณ์ท่เี ป็ นปั ญหาเกี่ยวกับอันตราย บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน หรือมี
ความสูญ เสีย ซึ่งเหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆ เหล่ านี้ ส ามารถค้นหา หรือ ควบคุ มป้ อ งกันได้ หากมีการ
คาดการณ์ได้
3.5 การปรับปรุงแก้ไขทีเ่ หตุอ่นื เมื่อพบสาเหตุทไ่ี ม่สามารถปรับปรุงแก้ไขทีต่ วั บุคคล
ได้ เช่น ปรับปรุงแก้ไขสภาพแวดล้อ มในการทางานให้เกิดความปลอดภัยก่อนที่จะแก้ไขที่ตวั
84

บุคคลผู้ปฏิบตั งิ าน ได้แก่ การปรับปรุงเครื่องจักรให้เกิดความปลอดภัย การแก้ไขลักษณะงาน


ไม่ให้ซบั ซ้อนทีน่ าไปสู่การเกิดอุบตั เิ หตุ เป็ นต้น
3.6 แนวคิดเกี่ยวกับการแก้ไขที่สาเหตุ หมายถึงการบริหารงานที่แก้ไขตามอาการ
หรือสิง่ ทีพ่ บเห็น เช่น พบการกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัยของพนักงาน พบสภาพการทางานที่มคี วาม
เสี่ย งต่ อ อันตราย พบว่ ามีก ารเกิด อุ บ ัติเ หตุ อ ันตรายขึ้นบ่ อ ยครัง้ ซึ่งแสดงให้เ ห็นว่ า มีค วาม
ผิดพลาดของระบบการปฏิบตั งิ าน ทีส่ ามารถสบหาสาเหตุ เพื่อนาไปป้ องกันแก้ไขได้ ซึง่ ขอบเขต
ของการแก้ไขโดยทัวไปมี ่ 2 ระดับ คือ การแก้ไขเฉพาะเรื่องนัน้ และ การแก้ไขในเรื่องอื่นที่
เกิดขึน้ ได้จากสาเหตุ
จากแนวคิดพืน้ ฐานทีก่ ล่าวมา สามารถนามาใช้ในการบริหารจัดการความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย โดยการผสมผสานกันให้เหมาะสม ด้วยวิธกี ารต่างๆ ทีผ่ บู้ ริหารสามารถกาหนดใน
นโยบายเพื่อดาเนินงานให้เกิดความปลอดภัย ได้แก่ การจัดตัง้ โรงงาน การเปลีย่ นแปลง ดัดแปลง
เครื่องมือ เครื่องจักรต้องคานึงถึงการป้ องกันทีต่ ้นเหตุ เพื่อความปลอดภัยในการทางานตัง้ แต่
เริ่ม ต้ น รวมทัง้ การก าหนดขอบเขตการบริห ารจัดการความปลอดภัยต้ อ งมีก ารควบคุ มให้
ครอบคลุมทุกงานเนื่องจากการบริหารจัดการความปลอดภัยในสถานประกอบการงานป้ องกัน
ปกป้ องอุบตั เิ หตุอนั ตรายในเรือ่ งการทางาน เพื่อให้พนักงานเกิดความปลอดภัยมากทีส่ ุดและลด
การเกิดอันตรายหรือประสบอันตรายบาดเจ็บ เจ็บป่ วยน้อยทีส่ ุดหรือไม่เกิดขึน้ เลย
การเปลี่ยนแปลงกับการบริ หารจัดการงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ปั จจุบนั โลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทัง้ ทางด้านต่างๆ ได้แก่ เศรษฐกิจ การค้า
สังคม เกษตรกรรรม การเมือง และวัฒนธรรม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ประเทศที่พฒ ั นา
แล้วอย่างทางยุโรปได้ให้คานิยามว่า “โลกาภิวตั น์ ” (Globalization) การเปลีย่ นแปลงในยุคนัน้
เมือ่ ปี พ.ศ. 2487 หรือ ค.ศ. 1944 เป็ นการเปลีย่ นแปลงทางด้านเศรษฐกิจโลกทีม่ นี ักเศรษฐศาสตร์
ชื่อ ชารลส์ ทาช รัสเซลล์ (Charles Taze Russell) ทีม่ องเห็นว่าการเปลีย่ นแปลงครัง้ ยิง่ ใหญ่ท่ี
เป็ นความก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจการค้านานาชาติ แต่ไม่ใช่เฉพาะเศรษฐกิจอย่างเดียวใน
ขณะนัน้ วัฒนธรรม สังคม การเมือง เทคโนโลยี และข้อมูลข่าวสารต่างๆ โลกาภิวตั น์จงึ เกิดขึน้
เพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกทีเ่ กตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การตลาดการเมือง เทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม ส่งผลกระทบอย่างรวดเร็วต่อการดารงชีวติ ของมนุ ษย์ใน
ปั จจุบนั ซึง่ ทาให้เห็นว่าการดาเนินงานทางธุรกิจขององค์การในส่วนภาคธุรกิจเอกชนมีการแข่งขัน
กันตัง้ แต่คน เงินทุน วัตถุดบิ เครื่องมือ เครื่องจักรในการผลิต และการบริหารจัดการ เพื่อให้
สามารถนาเข้าสู่ตลาดโลกได้ เนื่องจากสังคมมีการเปลีย่ นแปลงไปสู่สงั คมแห่งการจัดการความรู้
(Knowledge society) มากขึน้ ทาให้อุตสาหกรรมการผลิตและบริการมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือ
สินค้าและบริการทีม่ คี วามรู้ ความเข้าใจถึงพฤติกรรมของมนุ ษย์มากขึน้ การผลิตจึงอยู่บนพืน้ ฐาน
การพัฒนานวัตกรรม และการวิจยั ทีม่ าจากคนเป็ นผูป้ ระดิษฐ์คดิ ค้นสิง่ ใหม่ๆ ขึน้ มา เทคโนโลยี
85

และวิทยาศาสตร์กย็ อ่ มมีการพัฒนาพร้อมกับการเกิดเครือ่ งมือ เครือ่ งจักรทีท่ นั สมัย ผูป้ ฏิบตั งิ าน


ในองค์การจึงต้องมีความรู้ สามารถ ทักษะในการทางานค่อนข้างสูง และมีทกั ษะที่หลากหลาย
(multi-skill) หรือ แรงงานทีม่ ที กั ษะ (multi-skill worker) เนื่องจากการผลิตสินค้าอยู่บนพืน้ ฐาน
สังคมแห่งความรู้ (knowledge base society) ซึง่ เป็ นผลมาจากการขยายตัวเพิม่ ขึน้ มาจากการ
เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (knowledge economic) เพราะความรูม้ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่าง
รวดเร็ว ทาให้อุตสาหกรรมการผลิตและบริการ พาณิชยกรรมต่างๆ มีการผลิตสินค้าและบริการที่
ต้องให้ความสาคัญกับ “คน” ซึง่ เป็ นทรัพยากรทีม่ คี ่าทีส่ ุดสาหรับองค์การ ด้วยการบริหารจัดการ
งานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในองค์การ ประกอบเป็ นความตกลงกันแบบสากลใน
องค์การระหว่างประเทศเกี่ยวกับการใช้แรงงาน คือ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International
Labour Organizational: ILO)
ดังนัน้ การบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเป็ นการพัฒนาการมา
เรื่อยๆ จากผลของกระแสโลกาภิวตั น์ท่มี กี ารเปลีย่ นแปลงครัง้ ยิง่ ใหญ่อย่ างรวดเร็ว รุนแรง และ
ไม่หยุดนิ่ง ซึง่ สามารถแบ่งออกเป็ นประเด็นต่างๆ ได้ดงั นี้
1. ด้านเศรษฐกิ จ ประเทศต่างๆ ในทัวโลกมี่ การพัฒนาระบบเศรษฐกิจโลกเป็ นไปตาม
ลัทธิทุนนิยม (capitalism) ภายใต้การแข่งขันในลักษณะเสรีนิยม (liberalism) ซึ่งเป็ นลักษณะ
เศรษฐกิจของโลกตะวันตกที่เน้ นการสะสมทุนและการค้าเสรี ทาให้ส่งผลต่อประเทศไทยและ
ประเทศต่างๆ ในอาเซียนเกิดการเปลีย่ นแปลงไปตามภาวการณ์ทต่ี ้องพัฒนาระบบเศรษฐกิจใน
ลักษณะที่มกี ารผลิตแบบอุตสาหกรรมหนัก จาเป็ นต้องใช้แรงงานเข้าสู่กระบวนการผลิตเป็ น
จานวนมากทาให้มกี ารเคลื่อนแรงงานจากสังคมชนบทมาสู่สงั คมอุตสาหกรรมในเมืองใหญ่ๆ
จานวนมาก รวมไปถึงกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านทีเ่ ป็ นแรงงานระดับล่างเข้ามาทางานในหลายเมือง
ทีม่ คี วามเจริญ
2. ด้านสังคมและวัฒนธรรม เมื่อระบบเศรษฐกิจมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทาให้
วิถชี วี ติ และความเป็ นอยูข่ องสังคมไทยเปลีย่ นแปลงไปเป็ นสังคมอุตสาหกรรม คนส่วนใหญ่ทางาน
ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ เป็ นสังคมความรูย้ ุคข้อมูลข่าวสาร กระแสวัฒนธรรมโลก
ครอบงาทางความคิด ค่านิยมเปลี่ยนแปลงไป เกิดการติดต่อสัมพันธ์ขา้ มวัฒนธรรม ชีวติ ความ
เป็ นส่วนตัวมีมากขึน้ เนื่องจากการทางาน ครอบครัวจึงเป็ นครอบครัวเดีย่ วมากขึน้ และวัยทางาน
บางกลุ่มมุง่ ทีจ่ ะทางานมากขึน้ ไม่สนใจการมีครอบครัว ทาให้สงั คมผูส้ งู อายุมากขึน้
3. ด้านเทคโนโลยี การนาระบบเทคโนโลยีมาใช้ในการเชื่อมต่อเข้ากับระบบมือถือทีเ่ ป็ น
สมาร์ทโฟน (smart phone) ทาให้ขอ้ มูลข่าวสารสารสนเทศมีความรวดเร็ว สะดวก และทันสมัย
สามารถติด ต่อ สื่อ สารได้ท ั ่วโลก เป็ น ยุค โลกไร้พ รมแดนทางการติด ต่อ สื่อ สาร ทาให้ม กี าร
เปลี่ยนแปลงในวิถชี วี ติ สังคมมาก ด้านการตลาดมีการซื้อขายสินค้าแลกเปลีย่ นกันบนอินเทอร์เน็ต
หรือทีเ่ รียก “ขายสินค้าผ่านออนไลน์ ” ทาให้ทุกคนเข้าถึงข้อมูลและการใช้อนิ เตอร์ได้ ด้านระบบ
86

บัญชีการเงินยังมีการเขียนซอฟต์แวร์เพื่อการทาบัญชีการเงินทีท่ นั สมัยจัดเก็บง่ายสะดวก รวดเร็ว


และประสิทธิภาพสูง รวมทัง้ ด้านการขนส่งในลักษณะห่วงโซ่อุปทาน (supply chain) ทีน่ าระบบ
เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย เช่น ระบบบาร์โค้ดมาพัฒนาการจัดส่งและผลิตสินค้า เป็ นต้น
4. ด้ านวิ ทยาศาสตร์และการแพทย์ การเปลี่ยนแปลงของโลกทาให้มกี ารค้นพบสิง่ ใหม่
ทางวิทยาศาสตร์ และการวิจยั ทางการแพทย์ ทาให้ประชาชนมีความรู้ และเข้าถึงการให้บริการ
ใหม่ๆ ทางการแพทย์ ไม่ว่าจะเป็ นด้านการป้ องกัน ส่งเสริม ปกป้ องและคุม้ ครอง ชีวติ การทางาน
และส่วนตัวได้อย่างสะดวกรวดเร็วประกอบการสังคมอุตสาหกรรมทีม่ รี ะบบการผลิตและบริการ
ทีม่ คี วามทันสมัยทางเทคโนโลยีดว้ ย
5. ด้านการเมือง การเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ประเทศทั ่วโลกมีการเข้าสู่ความเป็ นเสรี
ประชาธิปไตยด้วยการรับอิทธิพลจากโลกตะวันของสหรัฐอเมริกามากขึน้ ประชาชนมีความหวงแหน
สิทธิของตัวเอง ทาให้มกี ารแสดงออก และการแสดงความคิดเห็นได้ซ่งึ เป็ นเสียงจากประชาชน
ทาให้ดูแลผลประโยชน์ของสังคมมากขึน้ ประกอบกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทาให้ข่าวสาร
จากรัฐบาลมีความรวดเร็วและประชาชนทุกคนเข้าถึง
6. ด้านกฎหมาย และนโยบายรัฐ ประชาชนทุกคนได้รบั สิทธิตามกฎหมายที่จะได้รบั
การคุม้ ครอง และสามารถเข้าถึงได้ง่าย เป็ นผลมาจากการความรู้ ทีเ่ ป็ นสารสนเทศ รวมทัง้ การ
พัฒนาทัวโลกท
่ าให้กฎหมายทีม่ คี วามทันสมัยจากประเทศทางตะวันตกเข้ามาพร้อมกับการศึกษา
ของประชาชน รวมทัง้ การดูแลกลุ่มสมาชิกของสหประชาชาติ และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ที่มกี ารคุ้มครองสิทธิแรงงานทัวโลก่ ทาให้ระบบกฎหมายมีความยุตธิ รรมสากล ถูกตรวจสอบ
จากประชาชนมากขึน้ ในการรูจ้ กั สิทธิตนเอง
รวมทัง้ ระบบนโยบายภาครัฐได้ออกกฎหมายต่างๆ เกี่ยวกับการคุม้ ครองแรงงาน และ
ให้นายจ้างมีการปฏิบตั ติ ่อนายจ้างให้ถูกต้องเพื่อการดูแลความเป็ นอยู่ของแรงงานภาคการผลิต
และการดารงอยู่ในชีวติ รวมทัง้ ค่าครองชีพ และการพัฒนาฝี มอื ทักษะอาชีพของแรงงานให้ม ี
คุณภาพสามารถแข่งขันกับทัวโลกได้่
7. ด้านสิ ทธิ มนุษยชน มนุษย์ทุกคนเกิดมาในโลกนี้ย่อมมีสทิ ธิอนั พึงจะได้รบั ในฐานะที่
เป็ นพลเมืองคนหนึ่งของโลกทีจ่ ะได้รบั การดูแลความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ รวมทัง้ ความ
ปลอดภัยจากการทางาน หากหน่ วยงานใดผูบ้ ริหารไม่ให้ความสาคัญและมีความตระหนักถึงสิทธิ
มนุษยชนและมนุษยธรรมของคนแล้ว ย่อมได้รบั การต่อต้านหรือมีปฏิกริ ยิ าจากกลุ่มคนเหล่านัน้
และมักจะถู กแทรกแซงด้วยกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างสหภาพแรงงานมีหน้ าที่ในการมุ่งเน้ น
ปกป้ องคุม้ ครองผลประโยชน์และสิทธิหน้าทีข่ องลูกจ้างในด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของ
ลูกจ้าง
8. ด้ านการเปลี่ย นแปลงลักษณะประชากรโลก ปั จจุบนั ความเจริญก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์และการแพทย์ทนั สมัยมากขึน้ มีการค้นพบวิธกี าร เครื่องมือ และยารักษาโรค รวมทัง้
87

ประชาชนมีความรู้ และเข้าถึงความรู้ได้เร็วและมากขึน้ ทาให้ แนวโน้ มประชากรโลกจะมีการ


เปลี่ยนแปลงทัง้ ในโครงสร้างและพฤติกรรม โดยประชากรผู้สูงวัย (มากกว่า 50 ปี ขน้ึ ไป) จะมี
สัดส่วนเพิม่ ขึน้ ในขณะเดียวกันประชากรวัยหนุ่ มสาว (young generation) จะมีสดั ส่วนลดลง
โดยเฉพาะในประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว เหตุผลดังกล่าวทาให้คนมีสุขภาพทีด่ แี ละแข็งแรงอายุยนื มาก
ขึน้ ซึง่ ทาให้เกิดปั ญหาตามมาในสังคมทีม่ ผี สู้ งู อายุมากขึน้ ทาให้ภาครัฐ และหน่ วยงานภาคธุรกิจ
เอกชนที่มคี วามเกี่ยวข้องต้องหาแนวทางในการเตรียมการรองรับการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้
ทาให้รฐั ต้องมีค่าใช้จ่ายในการดูแลผูส้ ูงอายุเพิม่ มากขึน้ Borghesi and Vercelli, (2003) ได้
กล่าวไว้ว่า การเติบโตของประชากรโลกอย่างไม่สมดุลควรจะได้รบั การควบคุม ดูแลอย่างใกล้ชดิ
เพราะการเปลีย่ นแปลงภายใต้โลกาภิวตั น์ได้ส่งผลกระทบต่อระบบสังคม และเศรษฐกิจหลายด้าน
รวมทัง้ ทาให้เกิดการทาลายระบบสิง่ แวดล้อมเพื่อทาให้เกิดการพัฒนาภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์
9. ด้านการเคลื่อนย้ายแรงงาน การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมทาให้มคี วามต้องการ
แรงงานเป็ นจานวนมาก เป็ นสาเหตุทส่ี าคัญประการหนึ่งทีท่ าให้มกี ารเคลื่อนย้ายแรงงานทุกระดับ
สู่เมืองที่มคี วามเจริญทางอุตสาหกรรม รวมทัง้ การเคลื่อนย้ายของแรงงานจากประเทศที่กาลัง
พัฒนาไปสู่ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วโดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานที่มฝี ี มอื หรือแรงงานที่มคี วามรู้(skill
worker/ knowledge worker) ซึง่ เป็ นความต้องการและผลกับระบบเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม
การผลิตและบริการ พาณิชยกรรมต่างๆ เช่น แรงงานไทย ไปทางานทีป่ ระเทศเกาหลี ไต้หวัน
และญี่ป่ ุน เป็ นต้น ซึ่งแรงงานไทยก็มกี ารปรับตัวและพัฒนาศักยภาพตามที่ต้องการ โดยการ
เรียนภาษา ต่ า งประเทศก่ อ นที่จ ะเข้า ไปท างานในประเทศท าให้ ไ ด้ร ับ สิท ธิพิเ ศษในด้า น
ค่าตอบแทน ส่ วนในประเทศทางตะวันตกที่มคี วามชานาญทางด้านภาษาต่ างประเทศก็การ
เคลื่อนย้ายแรงงานมาทางานเป็ นอาจารย์สอนภาษาต่างประเทศ นอกจากนัน้ เศรษฐกิจโลกมี
การผันผวนทาให้ระบบเศรษฐกิจทัวโลกตกต ่ ่ า เนื่อ งจากภาวะ และปั ญ หาต่ างๆ มากมายที่
เกิดขึน้ ในโลกตัง้ แต่ภาวะเศรษฐกิจต้มยากุ้ง (พ.ศ.2540) ในประเทศไทยและทัวโลกและเรื ่ ่อยมา
และการเข้า มาท างานในเมือ งใหญ่ ม ากจึง เกิด ปั ญ หาทางเศรษฐกิจ โครงสร้า ง ทางสัง คม
เปลีย่ นแปลงไป และทางด้านสิง่ แวดล้อม ทาให้ประเทศต่างๆ ต้องหาแนวทางการป้ องกัน และ
แก้ไขเพื่อไม่ให้เกิดปั ญหาดังกล่าว
10. ด้านการศึกษา การเปลี่ยนแปลงทางผลโลกาภิวตั น์ ทาให้เกิดการพัฒนาระบบ
การศึกษาในประเทศแถบตะวันออกทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี ทาให้ทุกคนได้เท่าเทียมกันทางการศึกษาเนื่องจากเทคโนโลยีท่มี กี ารพัฒนาระบบ
ข้อมูลข่าวสาร ทาให้การศึกษามีการเรียนการสอนผ่านระบบเว็บไซต์ (website) ทาให้ประเทศที่
มีการพัฒนาความรูอ้ ย่างต่อเนื่องจะเกิดความเปรียบทางการแข่งขัน (competitive advantage)
ในสังคมเศรษฐกิจการเมืองโลกทีอ่ าศัยองค์ความรูใ้ นการพัฒนาคน และประเทศ จึงมีการพัฒนา
การศึกษาในรูปแบบ 2 รูปแบบคือ การศึกษาเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องทัง้ ในระบบและนอกระบบขยายตัว
เพิม่ มากขึน้ และการวิจยั และพัฒนาจะมีความสาคัญมากขึน้ ทัง้ ในปริมาณและคุณภาพทีจ่ ะต้อง
88

เชื่อมโยงกับการพัฒนาในเชิงธุรกิจ ทีม่ กี ารนานวัตกรรมใหม่ๆ และการวิจยั มาพัฒนาผลิตภัณฑ์


ให้แข่งขันในตลาดโลกได้
11. ด้ านสิ่ งแวดล้อม ในปั จจุบนั ได้มกี ารออกกฎหมายเกี่ยวการคุ้มครองสิง่ แวดล้อม
เพราะถือว่าสิง่ แวดล้อมเป็ นสมบัตขิ องโลกการทาลายสิง่ แวดล้อมแห่งใดย่อมได้รบั ผลกระทบต่อ
โลก ดัง นั ้น หากสถานประกอบการแห่ ง ใดมีก ารก่ อ ให้ เ กิด ปั ญ หามลภาวะ หรือ ท าลาย
สิง่ แวดล้อม ย่อมได้รบั การลงโทษทัง้ ในแง่ของกฎหมาย และสังคมย่อมตาหนิ รวมทัง้ ไม่สามารถ
นาผลิตภัณฑ์ของตนเองมาจาหน่ายสู่ตลาดได้
12. ด้านสารสนเทศ ยุคโลกาภิวตั น์เป็ นยุคแห่งข้อมูลข่าวสารทีเ่ รียกว่า ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ (Information Technology System) เป็ นกลไกสาคัญในการพัฒนาองค์การ และ
ประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การพัฒนาด้านธุรกิจในปั จจุบนั และอนาคต เมื่อมีองค์ความรู้
ใหม่ๆ การแลกเปลีย่ นข้อมูลองค์ความรูท้ าให้มคี วามรวดเร็ว ย่อมทาให้เกิดการพัฒนานวัตกรรม
ใหม่ๆ ได้เร็วกว่าคู่แข่งขันได้ เนื่องจากในยุคโลกาภิวตั น์เป็ นสังคมเปิ ดไม่มกี ารปิ ดกัน้ ด้านข้อมูล
หลักการบริ หารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ระบบความปลอดภัยและอาชีว อนามัยเป็ นงานด้านการส่งเสริม ธารงรักษา ป้ อ งกัน
คุม้ ครองจัดการงาน ปรับปรุงสภาพงานให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้ปฏิบตั งิ าน และสนับสนุ น
ดังนัน้ การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยในยุคของการเปลีย่ นแปลง
จาเป็ นต้องเน้ นระบบการบริหารจัดการ ที่อาศัยทรัพยากรต่างๆ ขององค์การ และเทคโนโลยี
เข้ามาช่วยให้เกิดความปลอดภัยทัง้ ระบบให้มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิง่ บทบาทของผู้บริหาร
ระดับสูงทีเ่ ป็ นผู้กาหนดนโยบาย ทิศทาง แผนงาน และวัตถุประสงค์ ซึง่ ต้องนา ทฤษฎี แนวคิด
ปรัชญาการบริห ารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยยุคสมัยใหม่มาใช้ใ นการ
เสริมสร้างความปลอดภัยให้เข้าสู่ระบบกระบวนการผลิต มีระบบการควบคุมทางวิศวกรรมการ
ผลิต ในการลดความสู ญ เสีย มีร ะบบสารสนเทศเพื่อ การจัด การงานด้ า นความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยทีด่ ี มีโครงสร้างองค์การด้านความปลอดภัยทีเ่ หมาะสม มีระบบการติดต่อสื่อสาร
ทีร่ วดเร็ว มีมาตรฐานและระบบการประเมินวัดผลทีเ่ ชื่อถือได้ มีเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการ
ทางานตามกาหนดของกฎหมาย เพื่อให้งานปฏิบตั ิหน้ าที่อย่างปลอดภัยตามข้อกาหนดของ
กฎหมาย และเป็ นทีย่ อมรับเป็ นสากล รวมทัง้ หลักการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัยสามารถก่อให้เกิดความมันใจและสร้
่ างขวัญกาลังใจให้กบั พนักงาน
หลักการบริหารจัดการงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจึงนับว่ามีความสาคัญยิง่ ต่อ
ระบบการจัดการในโรงงานหรือสถานประกอบการ เนื่องจากหากเกิดอุบตั เิ หตุในลักษณะใดก็ตาม
เกิดขึน้ ย่อมผลกระทบต่อกิจการหรือสถานประกอบการโดยรวม หลักการทัวไปในการบริ
่ หารจัดการ
งานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจึงมีหลักการสาคัญ ดังนี้ (สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์, 2553,
หน้า 50-51)
89

1. หลักการที่ต้องคานึ งทัง้ ผลิ ตภาพและความปลอดภัยควบคู่กนั หมายถึง ผลิตภาพ


ที่เกิดผลจากการผลิตผลิตภัณฑ์ท่เี ป็ นสินค้าหรือบริการต้องปราศจากอุบตั ิเหตุ บาดเจ็บ และ
เจ็บป่ วย หรือความสูญเสียใดๆ
2. หลักของการมีระบบการจัดการที่ดี ระบบการจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพทาให้องค์การ
สามารถค้นหา หรือบ่งชีถ้ งึ สาเหตุ/ต้นตอของอันตรายหรือปั ญหาของอุบตั เิ หตุ และความสูญเสียที่
เกิดขึน้ ในองค์การ รวมทัง้ มีการพยากรณ์หรือคาดการณ์ถงึ ความเป็ นไปได้ของการเกิดอุบตั เิ หตุ
และอันตรายได้
3. หลักมุ่งเน้ นกลยุทธ์การป้ องกัน การสร้าง/กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือกับทุกส่วนงาน
ให้ร่ว มมือ ในการดาเนินการจัดกิจกรรมที่ส่ งผลให้มกี ารป้ องกันสาเหตุ ของการเกิดอุบตั ิเ หตุ
เพื่อป้ องกันก่อนจะเกิดเหตุการณ์ และมีระบบการควบคุมทีด่ ดี ว้ ยหลักวิศวกรรมโรงงานทีท่ นั สมัย
คน และการจัดการ
4. มีการกาหนดขอบเขตการดาเนิ นงาน/กิ จกรรมความปลอดภัยให้ ครอบคลุม
จัดความสัมพันธ์ของการจัดการงานด้านต่างๆ ให้เ กิดการป้ องกันและควบคุมอุบตั ิเหตุ และ
ความสูญเสียทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อกระบวนการทางาน พนักงาน และองค์การ
5. วิ เคราะห์และจัดลาดับความสาคัญของปั ญหา กาหนดและลาดับความสาคัญว่า
ควรจะดาเนินการในเรื่องใดที่มคี วามสาคัญ เร่งด่วนและจะเกิดความเสียหายก่อน โดยการกาหนด
มาตรฐานการปฏิบตั งิ านในตาแหน่ งงานทุกงาน ระบบการบริหารความปลอดภัยสมัยใหม่ ให้
ความสาคัญต่อมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ในการปฏิบตั งิ านหรือกิจกรรมของงานจะต้องมีขนั ้ ตอน
การปฏิบตั งิ าน (work procedure) และควบคุมให้เป็ นไปตามมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบมาตรฐาน
ให้ทนั สมัยสูงขึน้ ไปพร้อมกับการพัฒนามาตรฐานสากลทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป
6. มี ร ะบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การงานด้ า นความปลอดภั ย (Safety
Management Information System) ในปั จจุบนั ความก้าวหน้าในด้านเทคโนโลยีมคี วามจาเป็ น
ต่อระบบการจัดการของทุกส่วนงานในองค์การ ดังนัน้ ข้อมูลข่าวสาร ระบบ การเก็บ การรักษา
และการนาไปใช้สามารถให้ผบู้ ริหารนาข้อมูลไปประกอบการนานโยบาย วางแผนงาน และการ
ตัดสินใจ จึงเป็ นข้อมูลทีส่ าคัญ ถูกต้องแม่นยา สะดวกรวดเร็วทันกับเหตุการณ์ พร้อมทัง้ เมื่อใช้
งานก็นาก็ค้นหาได้ง่าย ป้ อ งกันการสูญ หาย และมีข้ อ มูลเพียงพอต่ อการตัดสินใจก่ อ ให้เ กิด
ประสิทธิภาพทัวทั ่ ง้ องค์การ
7. มีระบบการวัดประเมิ นผล (Measurement and Evaluation System) หลักการ
บริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จะต้องมีการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ ์ ของการจัด
กิจกรรมงานต่างๆ เพื่อให้ผลการดาเนินงานเป็ นไปตามตัวชีว้ ดั หรือไม่ และเป็ นเปรียบเทียบกับ
มาตรฐาน ทีส่ ่งผลให้เกิดศักยภาพการดาเนินงาน
90

8. มีวิธีการจูงใจหรือกระตุ้นพนักงาน (Encourage or Motivation) หาเทคนิค/


วิธกี ารให้พนักงานมีส่วนร่วมกับการจัดกิจกรรมด้านความปลอดภัย รวมทัง้ ให้พนักงานมีส่วนใน
การวางแผนโดยให้มกี ารเสนอหรือแสดงความคิดเห็นผ่านหัวหน้างาน เพื่อนามาเป็ นข้อมูลใน
การกาหนดนโยบายในครัง้ ต่อไป และให้พนักงานมีการปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภัย
ดังนัน้ การบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ให้เกิดประสิทธิภาพ
ในการดาเนินงานของงานด้านความปลอดภัยทีส่ ่งผลถึงการลดอุบตั เิ หตุ การบาดเจ็บ และเจ็บป่ วย
อันเนื่องมาจากการทางาน หน้าทีส่ าคัญของผูบ้ ริหารด้านความปลอดภัยต้องอาศัยหลักการบริหาร
โดยเริม่ ตัง้ แต่ กระบวนการในการบริหารจัดการ รูปแบบองค์การ ขอบเขตของหน้าทีใ่ นองค์การ
ด้านความปลอดภัย บทบาทของผูบ้ ริหาร รูปแบบภาวะผูน้ า และการรับรูเ้ กี่ยวกับความปลอดภัย
ในองค์การ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าแต่ส ถานประกอบการ จะมีลกั ษณะของปั ญหาด้านความ
ปลอดภัยและอาชีว อนามัยที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจจะขึน้ อยู่กบั ปั จจัยต่างๆ ได้แก่ ลักษณะงาน
ขนาดขององค์การ และแนวคิดทางการบริหารจัดการของผูบ้ ริหารก็ตาม แต่เมื่อพิจารณาแล้วจะ
พบว่ามีปัญหาทีเ่ กิดขึน้ พอจะสรุปได้ในประเด็นต่างๆ ดังนี้
1. การบาดเจ็บ หรืออุบตั เิ หตุอนั เนื่องมาจากการประกอบอาชีพ (Occupational Injuries
or Accidents) เช่น การเกิดอุบตั เิ หตุจากเครือ่ งจักร หนีบ ตัด กระแทก การตกจากทีส่ ูง ถูกวัสดุ
หล่นทับ เศษวัสดุกระเด็นใส่ทส่ี าคัญ เช่น ตา และถูกสารเคมีกระเด็นหรือหกรดผิวหนัง เป็ นต้น
2. การเกิดโรคจากการประกอบอาชีพ (Occupational Diseases) มีหลายสาเหตุบางครัง้
เกิดจากผูป้ ฏิบตั งิ านขาดความความรู้ ความเข้าใจ และขาดความตระหนักในอันตรายต่างๆ รวมทัง้
สถานประกอบการเองที่ไม่มมี าตรฐานในการควบคุมที่ดี ซึ่งจะเกิดโรคอันจากการทางาน เช่น
โรคปอด โรคผิวหนัง และโรคระบบทางเดินหายใจ เป็ นต้น
3. เหตุฉุกเฉิน เช่น เพลิงไหม้ การะเบิดของวัตถุอนั ตราย การรัวไหลของสารเคมี
่ บาง
ประเภท เป็ นต้น
4. ภัยธรรมชาติ เช่น น้ าท่วม ดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด เป็ นต้น ซึง่ เหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึน้
โดยไม่สามารถควบคุมได้แต่องค์การย่อมมีระบบป้ องกันเพื่อไม่ให้เกิดความสูญเสียมากนัก หรือ
หากป้ องกันด้วยระบบมาตรฐานก็อาจจะลดความสูญเสียไปได้มาก
จากปั ญหาเกี่ยวกับอันตราย และอุบตั เิ หตุท่เี กิดขึ้นในสถานประกอบการ ผู้บริหารจะ
ต้องการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ซึ่งต้องมีคาถึงปั จจัยที่สาคัญ
ดังนี้
1) ความปลอดภัยเกี่ยวกับทาเลที่ตงั ้ โครงสร้างอาคาร โดยการกาหนดสถานที่ ทีต่ งั ้
ทาเลให้เหมาะสมกับลักษณะของการประกอบกิจการ โครงสร้างของอาคารต้องสามารถรับน้ าหนัก
ของอาคารได้อย่างดี คงทนถาวร และถูกหลักข้อกาหนดด้านวิศวกรรมมีการตรวจสอบจาก
หน่ ว ยงานที่ไ ด้มาตรฐานตามกฎหมายกาหนด รวมทัง้ มีเ จ้าหน้ าที่ท่ี ควบคุ มจากกรมโรงงาน
ตรวจสอบเป็ นระยะๆ เพื่อป้ องกันการปรับเปลีย่ นหรือดัดแปลงอาคาร
91

2) ความปลอดภัยเกี่ยวกับต้ นกาเนิ ดพลังงานต่ างๆ เช่น หม้อไอน้ า เครื่องกาเนิด


ไฟฟ้ า มอเตอร์ เป็ นต้น โดยต้องมีการระบบการติดตัง้ การใช้งานโดยผูท้ ม่ี คี วามรู้ เฉพาะทาง มี
การออกแบบ การซ่อมบารุง การบันทึกรายงานเป็ นประจาตลอดระยะเวลาการใช้งาน พร้อมทัง้
มีระบบการควบคุมและการตรวจสอบจากหน่ วยงานตามกฎหมายและได้รบั การรับรองมาตรฐาน
สากล
3) ความปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่อ งจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ ต่างๆ การออกแบบ
เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ต่างๆ ในการทางานต้องมีระบบการติดตัง้ ด้วยระบบวิศวกรรม
ทีไ่ ด้มาตรฐาน โดยมีวศิ วกรกากับควบคุมดูแล และมีช่างเทคนิคทีช่ านาญการเป็ นผูป้ ฏิบตั งิ าน
และมีการซ่อมบารุงทีถ่ ูกวิธแี ละถูกต้อง ทราบถึงขัน้ ตอนกระบวนการทางานของเครื่องจักร และ
อุปกรณ์นัน้ ๆ เมื่อเกิดปั ญหาต่างๆ เกี่ยวกับเครื่องจักรเหล่านัน้ ต้องทราบสาเหตุของปั ญหาได้
รวมทัง้ มีการจัดทาตารางการตรวจสอบ บารุงรักษาเป็ นประจาสม่าเสมอ และต่อเนื่อง
4) ความปลอดภัยเกี่ยวกับวัตถุดิบที่ ใช้ ผู้ปฏิบตั งิ านในหน้าทีท่ ่เี กี่ยวข้องกับวัตถุดบิ
ต่างๆ ที่ใช้การผลิตจาเป็ นต้องทราบลักษณะเฉพาะของวัตถุดบิ นัน้ ๆ และมีความรูพ้ ร้อมทัง้ มีวธิ ี
การป้ องกัน แก้ไข ได้ดี เช่น เป็ นสารไวไฟ สารทีก่ ่อให้เกิดมะเร็ง สารพิษร้ายแรง และกัมมันตภาพ
รังสี สารเคมี ฯลฯ มีขอ้ กาหนดบ่งชี้ ข้อเฉพาะในการใช้ การเก็บรักษา การเคลื่อนย้าย วิธขี จัดสิง่
ปฏิกูล/วัตถุดบิ ทีเ่ หลือใช้ และการทาลาย ทีถ่ ูกหลักกฎหมาย
5) ความปลอดภัยเกี่ยวกับลูกจ้าง นับว่ามีความสาคัญทีส่ ุดขององค์การ การปฏิบตั งิ าน
ของลูกจ้างตัง้ แต่เริม่ รับเข้ามาทางานก็ย่อมมีการฝึกอบรมปฐมนิเทศให้ได้ทราบถึงหน้าที่ กฎ
ระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานเพื่อให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างถูกวิธแี ละปราศจาก
อันตรายต่างๆ อันเกิดจากการทางาน ดังนัน้ หน้าทีง่ านแต่ละตาแหน่ งต้องถูกออกงานโดยการ
วิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยของลูกจ้าง สภาพการทางาน เครื่องมือต่างๆ ต้องถูกออกแบบ
ให้เหมาะสมกับลักษณะทางกาย เพื่อสะดวกสบาย ไม่อึดอัดผ่อนคลาย มีระบบให้คาปรึกษา
สอนงาน จุดอันตรายหรือความเสีย่ งสูง ต้องมีการวิเคราะห์เฝ้ าระวัง โดยหัวหน้างานหรือผูเ้ ชีย่ วชาญ
เฉพาะด้านควบคุมอย่างใกล้ชดิ มีการตรวจสุขภาพร่างกายเป็ นประจา และมีมาตรการป้ องกัน
อันตราย รวมทัง้ มีระบบการประกันชีวติ และประกันอุบตั เิ หตุทงั ้ ตามกฎหมายของหน่ วยงานภาครัฐ
และเอกชน
6) ความปลอดภัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทางาน สภาพแวดล้อมในการทางาน
นับว่ามีความสาคัญต่อความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของพนักงานผู้ปฏิบตั งิ านเป็ นอย่างยิง่
ผูบ้ ริหาร หัวหน้างาน และพนักงาน ต้องตระหนักถึงอันตรายจากสิง่ แวดล้อมในการทางาน “สภาวะ
การทางาน” หมายความว่า สภาวะแวดล้อมซึง่ ปรากฏอยู่ในบริเวณที่ทางานของลูกจ้าง ซึง่ รวมถึง
สภาพต่างๆ ในบริเวณที่ทางาน เครื่องจักร อาคาร สถานที่ การระบายอากาศ ความร้อน แสง
สว่าง เสียง ตลอดจนสภาพและลักษณะการทางานของลูกจ้างด้วย เช่น เครือ่ งมืออุปกรณ์ เครื่อง
92

อานวยความสะดวกต่างๆ ในการทางาน ความร้อน ความเย็น รังสีแสง เสียง ความสัน่ สะเทือน


ฝุ่ น ละออง สารเคมี ก๊าซ บุคคลทีม่ ี ส่วนเกีย่ วข้องกับการทางาน ทุกสิง่ ทุกอย่างทีม่ อี ยู่โดยทัวๆ
่ ไป
ในสถานที่ทางาน และปั จจัยเกี่ยวข้อ งที่มาจากสภาพแวดล้อมในสังคมหรือชุมชน ซึง่ จะมีความ
แตกต่างกันไปใน แต่ละชุมชน ได้แก่ สถานทีต่ งั ้ สภาพภูมศิ าสตร์ อุณหภูม ิ ความชืน้ แสงแดด
อัตราฝนตก คุณภาพน้า สิง่ ก่อสร้าง การคมนาคม สภาพอากาศ การจราจรทีแ่ ออัด กลิน่ เป็ นต้น
7) การจัดให้ มีสวัสดิ การแก่ลูกจ้าง ผูบ้ ริหารต้องมีการจัดสวัสดิภาพทัง้ ตามกฎหมาย
หรือ สูงกว่ากฎหมายก าหนด และจัดเพื่อ มนุ ษ ยธรรม รวมทัง้ จูงใจให้ลูกจ้างปฏิบตั ิงานด้ว ย
ความสุขไม่กงั วลในการทางาน เช่น ห้องอาหารที่สะอาดถูกสุขลักษณะ ราคาถูก ห้องพักผ่อน
สนามกีฬา อุปกรณ์การออกกาลังกาย รถรับส่ง ประกันชีวติ และการรักษาพยาบาลทีน่ อกเหนือ
กฎหมาย เป็ นต้น
8) การกาหนดแผนป้ องกันเหตุฉุกเฉิ นต่ างๆ การวางแผนรับเหตุฉุกเฉิน หมายถึง
การวางแผนเพื่อเตรียมรับสถานการณ์ทไ่ี ม่สามารถควบคุมได้ ทันทีทนั ใดไว้ล่วงหน้า โดยอาศัย
ความร่วมมือจากสถานประกอบการใกล้เคียง และหน่ วยราชการทีเ่ กี่ยวข้องการวางแผนรับเหตุ
ฉุกเฉินมีความสาคัญต่อสถาน ประกอบการ 4 ประการดังนี้
8.1 สามารถช่ ว ยผู้ ท่ีต กอยู่ ใ นอัน ตราย รัก ษาชีว ิต ผู้ ป ฏิบ ัติต ามแผน และ
ผูบ้ าดเจ็บจากเหตุฉุกเฉิน
8.2 จากัดความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และสิง่ แวดล้อมให้น้อยทีส่ ุด
8.3 สามารถค้นหาสาเหตุฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8.4 ช่วยปกป้ องชื่อเสียงของสถานประกอบการ
กระบวนการบริ หารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
หน้ าที่ใ นการจัด การเป็ นวิถีทางที่จะทาให้ผู้บริห ารสามารถบริห ารจัดการงานในองค์การให้
บรรลุ ผ ลส าเร็จ ได้ต ามเป้ า หมายได้ ซึ่ง หลัก การจัดการยัง เป็ น หลัก เกณฑ์ท่ีน ามาใช้ เพื่อให้
ผู้บริหารได้ปฏิบตั กิ ารในองค์การถึงปั จจุบนั นี้ โดยอาศัยกระบวนการทางการบริหารจัดการ จาก
นักวิชาการหลายท่านเพื่อนามาใช้ในงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย โดยผูบ้ ริหารต้อง
หน้าทีท่ างการจัดการ 5 ขัน้ ตอน ดังนี้ (Fayol, 1964, p.26)
1. การวางแผน (planning) หมายถึง การก าหนดวิธ ีการและแนวทางเกี่ยวกับ
แผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยไว้ล่วงหน้าหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่มผี ลกระทบต่อการ
ดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย และการกาหนดแผนการทางานความปลอดภัย
ให้ส อดคล้อ งกับ วัต ถุ ป ระสงค์ท่ีก าหนดไว้อ นาคต ได้แ ก่ แผนงานความปลอดภัย กลยุท ธ์
ผูร้ บั ผิดชอบ งบประมาณ และความคาดหวังของผลสาเร็จทีจ่ ะเกิดขึน้
2. การจัดองค์การ (organizing) หมายถึง การจัดให้โครงสร้าง ส่วนงานด้าน
ความปลอดภัยที่ชดั เจน มีการแบ่งงานที่เหมาะสม หน้ าที่ท่รี บั ผิดชอบ และอานาจหน้ าที่ในการ
93

ตัดสินใจ รวมทัง้ มีการกาหนดกฎระเบียบ แบบแผน ในการปฏิบตั งิ าน เช่น หน่ วยงานด้านความ


ปลอดภัยหลัก หน่วยงานสนับสนุน และหน่วยงานช่วยเหลือเป็ นต้น
3. การชักจูง/โน้ มน้ าว (leading) หมายถึง ความสามารถของผูบ้ ริหาร กระตุ้น
และส่งเสริมให้สมาชิกทางาน จูงใจให้สมาชิกเต็มใจที่จะทางานตามหน้ าที่และตามคาสังของ ่
ผู้บ ริห าร นอกจากนี้ ย งั รวมไปถึง การติด ต่ อ สื่อ สารให้ส มาชิก ได้ร บั ถึง ข้อ มูล ข่า วสารต่ า งๆ
เกีย่ วกับความปลอดภัยในองค์การ เพื่อให้การดาเนินงานขององค์การดาเนินการไปตามเป้ าหมายที่
ได้กาหนดไว้
4. การควบคุม (Controlling) หมายถึง การที่ผู้บริหารคอยควบคุ ม ก ากับ
ตรวจสอบ และประเมินกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับความปลอดภัยในองค์การ ให้ดาเนินไปตามแผน
ที่วางไว้ รวมทัง้ เกิดผลคุ้มค่ากับงบประมาณที่ได้กาหนดไว้หรือไม่ และพนักงานเกิดความพึง
พอใจซึง่ เกิดความสุขในการทางาน
ขัน้ ตอนการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน
ของผู้ปฏิบตั ิงานในองค์การ ผู้บริหารมีหน้ าที่สาคัญที่ต้องดาเนินการให้สอดคล้องเป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์ขององค์การได้นนั ้ จาเป็ นต้องมีบทบาทสาคัญของผูบ้ ริหารมีดงั นี้
1. บทบาทในการเป็ นผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) หมายถึง
เป็ นผู้ท่มี คี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์และมองภาพรวมในองค์การได้ดี เข้าใจ และมีความรู้
เกี่ยวกับองค์การหรือหน่ วยงาน ได้แก่ กระบวนการทางาน วัฒนธรรมองค์การ มีทกั ษะในการ
ประสานสัมพันธ์และทางานร่วมกับผู้อ่นื ได้ดี มีความสามารถในการสื่อสาร และถ่ายทอดที่จะ
โน้มน้าวให้สมาชิกปฏิบตั งิ านได้ดี ผูน้ าการเปลีย่ นแปลง จึงสามารถทีค่ วามคิดสร้างสรรค์ในการ
นาสิ่งใหม่ ๆ ในการพัฒนางานด้านความปลอดภัยและอาชีอ นามัย รวมทัง้ มีค วามคิดริเ ริ่ม
สร้างสรรค์ และกล้าทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงสิง่ ใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ตลอดเวลา เช่น การนาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเข้ามาใช้ในงานพัฒนาด้านความปลอดภัย ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการทางาน
เพื่อให้เ กิดความปลอดภัยอันจะนาไปสู่การเพิม่ ผลผลิตในองค์การ และลดการเกิดอุบตั ิเ หตุ
บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางาน เป็ นต้น
2. บทบาทในการเป็ นผู้น าทางการบริ ห าร (Administration Expert)
หมายถึง เป็ นผูท้ ม่ี คี วามสามารถในการปรับปรุงกระบวนการทางานด้านความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย ให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงขององค์กร ในลักษณะ Shared Services โดยการ
ให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนงาน เพื่อให้ทุกฝ่ ายทุกแผนกนาไปยังหน่ วยงานของ
ตนเอง โดยการ ปรับปรุงระบบการนาเครื่องจักรที่ทนั สมัยป้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุ เช่น มีฝา
ครอบตัวเครือ่ งจักร มีระบบเตือนภัย เป็ นต้น
3. บทบาทในการเป็ นผู้ให้ ค าปรึ กษา (Change Counselor) หมายถึง ให้
คาปรึกษากับผูบ้ ริหารระดับสูง และผู้บริหารในสายงาน รวมทัง้ ให้คาปรึกษากับพนักงานทุกระดับ
94

เกีย่ วกับทางด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน ถึงระบบการวางแผน งานป้ องกัน


ส่งเสริม เพื่อการทางานเกิดความปลอดภัยทัง้ ระบบ
4. บทบาทในการตัดสิ นใจในสิ่ งที่ จะเกิ ดขึ้น (Change Sponsor) หมายถึง
ทาหน้ าที่ในการตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในการท างาน ได้แก่ การปรับปรุงงานด้านความ
ปลอดภัยในด้านการเปลีย่ นแปลงกระบวนการผลิตเพื่อให้เกิดความทันสมัย และปลอดภัยรวมทัง้
เพิม่ ผลิตโดยรวมให้องค์การ
5. บทบาทในการสนั บ สนุ น การเปลี่ ย นแปลง (Change Advocate)
หมายถึง เป็ นผู้ทาหน้าทีเ่ ป็ นหน่ วยงานให้บริการในด้านการป้ องกันอุบตั เิ หตุ การเฝ้ าระวังโรค
ต่างๆ อันจะเกิดจากการทางาน การสร้างเครือข่ายภายในและภายนอกองค์การ เพื่อให้มกี าร
ประสานงานเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนเรียนรูค้ วามปลอดภัยกับหน่ วยงานภายนอก สามารถ
มองเห็นปั ญหาการดาเนินการของแต่ละฝ่ ายงานได้ดี
6. บทบาทในการวางแผนกลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ (Business Strategic)
หมายถึง เป็ นผูท้ าหน้าทีใ่ นการทากาไรเหมือนกับหน่ วยงานอื่นๆ ในองค์การ โดยเฉพาะการทา
กลยุท ธ์ด้านความปลอดภัยในการท างาน เพื่อ ช่ ว ยในการลดค่ า ใช้จ่า ยในการเกิด อุ บ ัติเ หตุ
บาดเจ็บและเจ็บป่ วยในการปฏิบตั ิงาน รวมทัง้ หาวิธกี ารเป็ นผู้นาในการสร้างสรรค์งานใหม่ๆ
ซึง่ ก่อให้เกิดผลทีด่ ตี ่อความเจริญเติบโตทางธุรกิจในสภาพการณ์ทม่ี กี ารแข่งขัน
รูปแบบความปลอดภัยในองค์การ
ในการจัดรูปแบบความปลอดภัยในองค์การผูบ้ ริหารจาเป็ นต้องอาศัยเทคนิคในการสร้าง
ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมขององค์ก าร รูปแบบการบริหารของผู้บริหาร ภาวะผู้นา
วัฒนธรรมองค์การ ลักษณะขององค์การ ระบบการรักษาความยังยื ่ นขององค์การ และสภาพ
การทางาน เป็ นต้น ดังนัน้ ผูบ้ ริหารด้านความปลอดภัยและอาชีวนามัยในองค์การ ต้องสามารถ
จัดรูปแบบความปลอดภัยในองค์การ โดยพิจารณาองค์ประกอบต่างๆ ของรูปแบบสามารถสรุปได้
ดังนี้
1. ภาวะผู้นา (Leadership) หมายถึง ความสามารถของผู้นาในการสร้างแรงจูงใจ
กระตุ้นให้สมาชิกในทีมงานได้ตดั สินใจปฏิบตั งิ านร่วมกันในสิง่ ทีเ่ กี่ยวข้องให้ได้สาเร็จตามเป้ าหมาย
ทีก่ าหนด รวมทัง้ เป็ นกล้าเผชิญทีจ่ ะแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
2. ระบบการรักษาความปลอดภัย (Safety Enabling System) ประกอบด้วย การ
กาหนดขัน้ ตอนการปฏิบ ตั งิ าน การลดอุบ ตั เิ หตุ บาดเจ็บ และเจ็บป่ ว ยอัน เนื่ อ งมาจากการ
ทางาน การตระหนักถึงภัยอันเกิดจากการทางาน การฝึกอบรม การรักษากฎระเบียบในการ
ปฏิบตั งิ าน การปฏิบตั ติ ามคู่มอื ในการทางาน นโยบายความปลอดภัย และการพัฒนาอุปกรณ์
เครือ่ งมือ เครือ่ งจักรในการทางานอย่างปลอดภัย
95

3. วัฒ นธรรมองค์การ (Organizational Culture) หมายถึง การสร้างวัฒนธรรม


องค์ก ารด้า นความปลอดภัย ในการท างาน เพื่อ ปลูก จิต ส านึ ก ให้ส มาชิก ทุ ก คนในองค์ก าร
ตระหนักถึงการทางานที่ปลอดภัย รวมถึงการสร้างบรรยากาศในการทางานที่ร่วมแรงร่วมใจใน
การทางานให้เกิดความปลอดภัยอย่างต่อเนื่องและยังยื่ น
4. ระบบการรักษาความยังยื่ นขององค์การ (Organizational Sustaining System)
เป็ น การก าหนดแนวทางปฏิบ ัติงานด้านความปลอดภัย ที่ม ีป ระสิท ธิภ าพ และมีก ารพัฒ นา
บุคลากรเป็ นรายบุคคล กลุ่ม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงานด้านความปลอดภัยในการ
ทางาน
5. สภาพการทางาน (Working Interface) ผูบ้ ริหารต้องมีการจัดสรร ช่วยเหลือและ
อานวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ านให้กบั พนักงานเกี่ยวกับเครื่องมือ อุปกรณ์ป้องกันอันตราย
ในการทางาน จัดทาขัน้ ตอนในการทางานในรูปแบบคู่มอื (procedures) และอานวยความ
สะดวกในการทางานที่ปลอดภัย และลดความเสี่ยงภัยที่อาจจะเกิดขึน้ จากการใช้อุปกรณ์การ
ทางาน
จากรูปแบบความปลอดภัยในองค์การสามารถทาให้ผู้บ ริห ารดาเนินงานด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานเพื่อพัฒนางานและปรับปรุงสิง่ ทีบ่ กพร่องในการทางาน
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน สามารถแสดงได้ดงั ภาพที่ 2.5

ภาวะผูน้ า

ระบบการรักษา วัฒนธรรม ระบบการรักษา


ความปลอดภัย องค์การ ความยั ่งยืนของ
องค์การ

สภาพการ
ทางาน

ภาพที่ 2.5 รูปแบบความปลอดภัยในองค์การ


96

ระบบการบริ หารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
โดยทัวไปหน้
่ าทีส่ าคัญของฝ่ ายบริหารจัดการงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ต้องมี
การจัดสรรงบประมาณและวางแผนงานงบประมาณเพื่อ ใช้ใ นกิจ กรรมความปลอดภัย และ
อาชีว อนามัย ให้เกิดความคุ้มค่ าสอดคล้องกับการเพิ่มผลผลิต หรือก าไรขององค์การที่ได้ร ับ
หากผูบ้ ริหารไม่สามารถบริหารงบประมาณหรือใช้งบประมาณไม่สมดุลกัน ก็ย่อมทาให้องค์การเกิด
ความสูญเสีย และทาให้พนักงานเสียเวลาในการทางานอาจทาให้พนักงานขาดขวัญกาลังใจใน
การทางาน คุณภาพงานลดลง ดังนัน้ ผู้บริหารจึงมีหน้ าที่สาคัญที่จะต้องดาเนินการให้งานด้าน
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเกิดความคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อพนักงาน องค์การ
ผูร้ บั บริการ และประเทศชาติ ซึง่ มีหน้าทีท่ ส่ี าคัญ ดังนี้ (กันยรัตน์ โหละสุต, 2555, หน้า 35-36)
1. ต้องมีการกาหนดนโยบาย (policy) ได้มนี ักวิชาการได้ให้คานิยามของ นโยบายไว้ว่า
หลัก และวิธ ีการปฏิบตั ิซ่งึ ถือ เป็ นแนวทางดาเนินการที่ผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจเพื่อให้การ
ปฏิบตั งิ านเป็ นไปโดยถูกต้องและบรรลุตามวัตถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้ (Haimann & Scott, 1974,
p.9; Hodgetts, Richard M.,1982) จึงเห็นได้ว่า การกาหนดนโยบายทางด้านความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย เป็ นแนวทาง วิธ ีการ และหลักการที่ชดั เจนในการปฏิบตั ิเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม
ต่างๆ เพื่อให้พนักงานปราศจากภัย อันตราย เจ็บป่ วย และบาดเจ็บอันเนื่องมาจากการทางาน
โดยต้องมีผดู้ าเนินงานร่วมกันทุกฝ่ าย ทุกระดับ ให้มามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้
เกิดความปลอดภัยสามารถทาให้ พนักงานทุกปฏิบตั ิงานให้บรรลุ เป้ าหมาย สร้างผลผลิตที่ม ี
คุณภาพให้องค์การได้รบั ผลกาไรสูงสุด แข่งขันกับองค์การอื่นได้ รวมทัง้ พนักงานเกิดความสุขใน
การทางาน
2. การมอบหมายหน้า ที่ ความรับ ผิด ชอบด้า นความปลอดภัย และอาชีว อนามัย
จาเป็ นต้องเลือกสรร หรือคัดเลือกบุคคลทีเ่ หมาะสมกับความรู้ ความสามารถในการเป็ นผูน้ าการ
เปลีย่ นแปลงทีจ่ ะนาพาองค์การไปสู่ความสาเร็จ สอดคล้องกับนโยบายทีก่ าหนดไว้
3. จัด ให้ ม ีก ารพัฒ นาบุ ค ลากรเพื่อ เพิ่ม พู น ความรู้ ทัก ษะ ความช านาญด้า นการ
ปฏิบตั งิ าน เช่น การฝึกอบรม การให้ความรู้ การสัมมนา การจัดนิทรรศการ และการศึกษาดูงาน
เป็ นต้น รวมทัง้ การจัดให้มกี ารประเมินผลและ ติดตามผล เพื่อนามาพัฒนาและปรับปรุงการ
พัฒนาบุคลากรต่อไป
4. การจัดสภาพแวดล้อมในการทางานให้เหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิศวกรรมความ
ปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ เป็ นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกาหนด และสร้างบรรยากาศ หรือ
สภาพแวดล้อมให้มคี วามผ่อนคลาย เพื่อให้สภาพจิตใจของพนักงานรูส้ กึ พร้อมที่จะดาเนินงานใน
แต่ละกิจกรรม
5. จัด ให้ ม ีเ จ้า หน้ า ที่ค วามปลอดภัย ในการท างาน ตามข้อ ก าหนดของ ประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง พ.ศ. 2528 สถานประกอบ
กิจการทีม่ ลี ูกจ้าง 100 ขึน้ ไป ต้องมีเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน อย่างน้อย 1 คน
97

ซึ่ง เจ้าหน้ าที่ปลอดภัยในการท างาน หมายถึง ลูกจ้างซึ่งนายจ้างแต่ งตัง้ ให้ปฏิบตั ิหน้ าที่เป็ น
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างาน ระดับบริหาร ระดับเทคนิค ระดับหัวหน้า
งาน และระดับวิชาชีพ โดยบังคับใช้กบั สถานประกอบการ ดังนี้ 1) การทาเหมืองแร่ เหมืองหิน
ปิ โตรเคมี 2) การทาผลิต ประกอบซ่อมบารุงเก็บรักษา (โรงงานอุตสาหกรรม) 3) ก่อสร้าง 4) ขนส่ง
คน สินค้า
6. จัดให้ตงั ้ คณะกรรมการ ตรวจโรงงาน (Safety audit) เพื่อหาสารวจสภาพเบือ้ งต้น
สถานการณ์เกี่ยวกับความไม่ปลอดภัยในสถานทีท่ างาน และหาแนวทางป้ องกันมิให้เกิดอันตราย
บาดเจ็บ หรือ เจ็บอันเกิดจากการทางาน โดยมีการแจ้งข้อ มูล ข่าวสารไปสู่ผู้รบั ผิดชอบ เช่น
หัวหน้างาน พนักงานทีเ่ กี่ยวข้อง และคณะกรรมการความปลอดภัยประจาสถานประกอบการ เป็ น
ต้น เพื่อดาเนินการไม่ให้เกิดการลุกลามต่อไป
7. ให้ก ารสนับสนุ น จัด กิจ กรรมด้า นความปลอดภัย และอาชีว อนามัย โดยมีก ารจัด
กิจกรรม นิทรรศการ ภายในโรงงาน และประสานความร่วมมือกับหน่ วยงานภายนอกทีเ่ กี่ยวข้องใน
การจัดกิจกรรม และร่วมมือเข้ามาช่วยเหลือในการฝึกอบรมพัฒนาพนักงาน เช่น การป้ องกันอัคคี
ขับขีป่ ลอดภัยเรื่องกฎจราจร การอบรมเกี่ยวกับเอดส์ เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม ในการจัดกิจกรรม
ความปลอดภัยต้องมีการกาหนดแผนนโยบายทีม่ กี ารจัดสรรงบประมาณจากผู้บริหารระดับสูง
เห็นชอบ และให้ความสาคัญจึงจะทาให้มคี วามชัดเจน ปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์การ
และมีความต่อเนื่องยังยื ่ น ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่ การจัดนิทรรศการ การทัศนศึกษา
ประกวดคาขวัญ ตอบปั ญหาชิงรางวัล การแข่งขันเกีย่ วกับความสะอาดในสถานทีท่ างาน เป็ นต้น
8. ก ากับ ตรวจติดตามผลงานความปลอดภัยเป็ นประจาสม่ าเสมอ รวมทัง้ มีการจัด
กิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง และมีการประเมินผลประจาปี เพื่อนาไป
เปรียบเทียบความก้าวหน้าในการพัฒนาต่อไป เพื่อสร้างแรงจูงใจให้พนักงานและคณะทางาน
เกีย่ วกับความปลอดภัยของสถานประกอบการ
ดังนัน้ ผู้บริหารระดับสูง ซึ่งเป็ นผู้กาหนดนโยบายในระดับวิสยั ทัศน์ ขององค์การต้อง
กาหนดนโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้เป็ นระบบการบริหารจัดการขององค์การ
เองโดยมีคณะกรรมการทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ โดยความเห็นชอบของผูบ้ ริหารระดับสูง และความร่วมมือทุก
ระดับ ทุกฝ่ ายเพื่อควบคุมระบบให้ได้มาตรฐานและเป็ นไปตามข้อกาหนดของกฎหมาย รวมทัง้
ควบคุมความสูญเสียเกีย่ วกับอุบตั เิ หตุทจ่ี ะเกิดขึน้ ในองค์การ

โครงสร้างหน่ วยงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การจัดองค์การบริ หารงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
โครงสร้างหน่ ว ยงานความปลอดภัยและอาชีว อนามัย เป็ นการจัดตัง้ ขึ้นมาเพื่อ ให้ม ี
ผูร้ บั ผิดชอบทีช่ ดั เจน และบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบโดยตรงต่อชีวติ ของพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ าน
98

และทรัพย์สนิ ขององค์การ รวมทัง้ ภาพลักษณ์ ชื่อเสียงขององค์การ การจัดองค์การบริหารงาน


ความปลอดภัย ต้องมีการกาหนดนโยบายด้านความปลอดภัยโดยกาหนดเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
มีก ารแต่ ง ตัง้ คณะท างานชัด เจน จ าเป็ น ต้อ งมีก ารพิจ ารณาโครงสร้า งขององค์ก าร และดู
ความสัมพันธ์ระหว่างสายปฏิบตั งิ าน และคณะกรรมการรวมทัง้ ที่ปรึกษา การจัดตัง้ โครงการ
หน่ วยงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยผู้บริหารระดับสูงต้องให้ความสาคัญและยอมรับ
ทัง้ ด้านให้ก ารอนุ มตั ิเ ห็นชอบ และสนับสนุ น พร้อ มกันนัน้ องค์การมีโครงสร้างหน่ วยงานที่ม ี
คณะทางาน (บุคลากร) ชัดเจนแล้ว ก็ย่อมสามารถดาเนินงานเพื่อให้ประสิทธิภาพด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยโดยรวมเกิดผลสาเร็จได้ดี อย่างไรก็ ตาม การจัดให้จดั ตัง้ โครงสร้าง
หน่ วยงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เพื่อให้มหี น่ วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง ทาให้เห็น
บทบาทขององค์การทีใ่ ห้ความสาคัญของความปลอดภัยในองค์การ
การจัดโครงสร้างบริหารจัดการที่มปี ระสิทธิภาพและการเตรียมการที่ดจี ะสามารถนา
นโยบายไปสู่การปฏิบตั ทิ ม่ี ี ประสิทธิภาพ โดยผลแห่งความสาเร็จนัน้ คือการสร้าง “วัฒนธรรม
ความปลอดภัย อาชีวอนามัยเชิงบวกหรือเชิงป้ องกัน” (Positive Health and Safety Culture) ของ
องค์กร ซึง่ เกิดจากการมีส่วนร่วม ของบุคลากรหรือลูกจ้างทุกคนในองค์กร ทัง้ นี้ บุคลากรทุกคนมี
แรงจูงใจและมีความสามารถในการทางานด้วยความปลอดภัย รวมทัง้ ป้ องกันสุขภาพของตนเอง
ได้ในระยะยาว ไม่เพียงแต่การหลีกเลีย่ งมิให้เกิดอุบตั เิ หตุ เท่านัน้ หลักในการจัดองค์การเพื่อให้
เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย อาชีวอนามัยเชิงบวกหรือเชิงป้ องกัน” ขององค์กร อาศัย หลักการ
4C คือ การควบคุม (Control) ความร่วมมือ (Co-operation) การติดต่อสื่อสาร (Communication)
และความสามารถ (Competence) ดังนัน้ สามารถสรุปบทบาทขององค์การกับความสาคัญ ของ
ความปลอดภัยได้ดงั ตารางที่ 2.1
99

ตารางที่ 2.1 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของหน่วยงานการจัดองค์การบริหารงานด้าน


ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
หน่ วยงานที่
เกี่ยวข้องกับ บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบ
ความปลอดภัย
ผูบ้ ริหารระดับสูง 1. กาหนดนโยบาย แผนงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยระดับองค์การ
2. จัดสรร ความเห็นชอบ และอนุ มตั ิงบประมาณเพื่อการดาเนินงานด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยระดับองค์การ
3. กาหนดตัวชีว้ ดั (key performance indicator) และทบทวนนโยบาย(management
review)
ผูบ้ ริหาร 1. น านโยบายปฏิบ ัติใ ห้เ กิด ความปลอดภัย และรับ ผิด ชอบในงานด้า นความ
ปลอดภัยของพนักงานทุกคน
2. กาหนดให้หวั หน้างาน พนักงานทุกระดับมีส่วนร่วมรับผิดชอบในงานด้านความ
ปลอดภัย
3. จัดดาเนินการงานด้านการฝึกอบรมพนักงานเกีย่ วกับด้านความปลอดภัยและอา
ชีวอนามัย
4. มีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
5. กากับ ติดตาม และนิเทศงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6. จัดตัง้ คณะกรรมการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
7. จัดให้มกี ารตรวจโรงงาน เพื่อควบคุมให้มคี วามปลอดภัยในการทางานประจา
สม่าเสมอ และต่อเนื่อง
เจ้าหน้ าที่ความ 1. วางแผนการด าเนิ น งานด้ า นความปลอดภั ย และอาชี ว อนามัย ในสถาน
ปลอดภัยใน ประกอบการ
การทางาน 2. จัดทาข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการป้ องกันอันตรายจากอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ เจ็บป่ วย
และอุบตั ภิ ยั ควบคุมความเสีย่ งในสถานประกอบการ
3. จัด ท าคู่ มือ และมาตรฐานว่ า ด้ว ยความปลอดภัย ในการท างานไว้ใ นสถาน
ประกอบการ เพื่อให้ลกู จ้างหรือผูเ้ กีย่ วข้องได้ใช้ประโยชน์
4. บริการให้คาแนะนาแก่ผู้บริหารสายงานต่ าง ๆ และพนักงานทุกคน แต่ ไม่มี
อานาจหน้าทีส่ งงานโดยตรง
ั่
5. ประสานงานกิจ กรรมด้า นความปลอดภัย และอาชีว อนามัย ทัง้ ภายในและ
ภายนอก
6. กาหนด/จัดหาชนิดของอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่ว นบุคคลที่เหมาะสม
และมีคุณภาพกับลักษณะงานทีม่ คี วามเสีย่ งเสนอต่อนายจ้าง เพื่อจัดให้ลูกจ้างที่
เกีย่ วข้อง
100

ตารางที่ 2.1 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของหน่วยงานการจัดองค์การบริหารงานด้าน


ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (ต่อ)
หน่ วยงานที่
เกี่ยวข้อง บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบ
กับความปลอดภัย
เจ้าหน้ าที่ความ 7. ส่งเสริมสนับสนุน ด้านวิชาการ เกีย่ วกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการ
ปลอดภัยใน ปฏิบตั งิ านให้พนักงานสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างถูกวิธแี ละเกิดความปลอดภัยใน
การทางาน การทางาน
8. พัฒนาโครงการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยให้แก่พนักงานทุกคน
9. แนะน าและควบคุ ม การสอบสวนการเกิด อุ บ ัติเ หตุ การวิเ คราะห์ และการ
รายงานต่อหน่วยงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของสถานประกอบการ
10. วางแผนงาน และแนะนาการตรวจสอบความปลอดภัย และการตรวจโรงงาน
ให้เกิดความเป็ นระบบ และมีการจัดเก็บข้อมูลเกีย่ วกับความปลอดภัยทีส่ าคัญเพื่อ
นามาวางแผนการบริหารงานต่อไป
11. ศึก ษา/อบรมเกี่ย วกับ กฎหมายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในสถาน
ประกอบการให้ชดั เจน
12. จัดทาเอกสาร/คู่มอื /ระบบสารสนเทศเกีย่ วกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
หัวหน้ างาน 1. รับผิดชอบความปลอดภัยของลูกน้องให้ทางานอย่างปลอดภัย
(ผูค้ วบคุมงาน) 2. กากับ ติดตาม ตรวจสอบงานให้เป็ นไปตามกฎหมาย
3. อบรม /สอนงานลูกน้องด้านความปลอดภัยในการทางาน
4. ดูแลรับผิดชอบสถานทีท่ างานให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน
5. ดูแลรับผิดชอบลูกน้ องเมื่อเกิดบาดเจ็บ เจ็บป่ วยในการทางานให้ได้รบั การ
ช่วยเหลืออย่างถูกต้องทันทีทป่ี ระสบอันตราย
6. รายงานและไต่สวนอุบตั ิเหตุ พร้อมทัง้ หาแนวทางป้ องกันและแก้ไขร่วมกับ
คณะกรรมการความปลอดภัยประจาสถานประกอบการ
7. ให้ความร่วมกับผู้บริหาร และคณะกรรมการความปลอดภัยประจาสถาน
ประกอบการ
8. จัดให้สนทนากลุ่มด้านความปลอดภัย และกระดานข่าวเพื่อให้มกี ารแลกเปลีย่ น
เรียนรูก้ นั ด้านความปลอดภัย
สหภาพแรงงาน 1. ปกป้ องและรักษาผลประโยชน์ของพนักงานด้านปลอดภัยและอาชีวอนามัย
2. ให้ความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยกับลูกจ้างทุก
คน
3. ปรับทัศนคติและพัฒนาพนักงานเกีย่ วกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
101

ตารางที่ 2.1 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของหน่วยงานการจัดองค์การบริหารงานด้าน


ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (ต่อ)
หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง
บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบ
กับความปลอดภัย
สหภาพแรงงาน(ต่อ) 4. ปรับปรุงวิธ/ี แก้ไขปฏิบตั งิ านให้ดขี น้ึ เกีย่ วกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
5. ให้ความร่วมมือในการจัดฝึ กอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ให้กบั ลูกจ้าง
6. ช่วยเหลือและปฏิบตั ิหน้าที่ในการจัดทาโครงการความปลอดภัยและอาชีวอนา
มัยให้บรรลุตามเป้ าหมายของฝ่ ายจัดการ
พนักงาน 1. ปฏิบตั ิงานตามวิธกี ารอย่างถูกต้องตามระบบความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
อย่างเคร่งครัด
2. แจ้ง/เสนอแนะ/รายงานในสิง่ ที่เป็ นประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการทางานให้เกิด
ความปลอดภัยในการทางาน
3. เอาใจใส่ในหน้าทีก่ ารปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้รบั ผิดชอบต่อกิจกรรมด้านความปลอดภัย
ในการทางาน
4. ให้ความร่วมมือ/สนับสนุนการทางานด้านความปลอดภัยกับคณะกรรมการความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน
5. ไม่ล ะเลยการปฏิบ ัติง านอัน เกี่ยวกับ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ในการ
ทางาน
6. ประพฤติ/ปฏิบตั ิตนให้เป็ นผู้วินัยในการทางานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับ
ตนเองและผูอ้ ่นื
7.ตรวจสภาพพืน้ ทีก่ ารปฏิบตั งิ านทุกวันเป็ นประจาสม่าเสมอให้พร้อมทางานเพื่อ
ลดอุบตั เิ หตุ และบาดเจ็บต่างๆ อันเนื่องจากการปฏิบตั งิ าน
หน่ วยงานการแพทย์ 1. รับผิดชอบด้านการป้ องกันอันตราย อุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอันเนื่องจาก
การทางาน
2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้การช่วยเหลือให้ผปู้ ฏิบตั งิ านทุกระดับมี
สุขภาพแข็งแรงทางกาย จิตใจ และสังคม
3. บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน
4. ตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทางานที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อการปฏิบตั ิงาน
ของพนักงานเป็ นประจา
5. ให้คาแนะนาเกีย่ วกับพิษวิทยา(Toxicology) และอันตรายจากการทางานอื่น ๆ
6. ติดต่อประสานงานจัดทาโครงการรักษาสุขภาพกับโรงพยาบาลเพื่อให้การบริการ
ในการตรวจรักษาพยาบาลทีส่ ถานประกอบการ
102

ตารางที่ 2.1 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของหน่วยงานการจัดองค์การบริหารงานด้าน


ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (ต่อ)
หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบ
กับความปลอดภัย
หน่ วยงานการแพทย์ 7. ส่งเสริมและให้คาแนะนาด้านการฟื้ นฟูสมรรถภาพแก่พนักงานทีไ่ ด้อุบตั เิ หตุจน
(ต่อ) ทุพพลภาพให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้ตามสภาพ
8. จัดให้มกี ารตรวจสมรรถภาพร่างกายของพนักงานก่อนเข้างานและมีการตรวจ
เฝ้ าระวังเป็ นประจาตามระยะเวลา และอย่างต่อเนื่อง พร้อมทัง้ มีระบบติดตามผล
หากพบปั ญหาด้านสุขภาพให้เสนอต่อผูบ้ ริหารทันที เพื่อดาเนินการดูแลต่อไป
หน่ วยซ่อมบารุง 1. ให้ความร่วมมือกับคณะกรรมการความปลอดภัย
2. เตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ วัสดุทจ่ี าเป็ นในการช่วยเหลือการซ่อมบารุงให้มคี วาม
พร้อมอยู่ตลอดเวลา และสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ปฏิบตั งิ านตามใบคาร้องหรือใบสังงาน ่
4. ให้ความร่วมมือในการออกแบบและจัดทาเครื่องป้ องกันอันตรายต่าง ๆ ของ
เครื่องจักร และสถานทีป่ ฏิบตั งิ านทีย่ งั ไม่มคี วามปลอดภัย
5. ติดตามการซ่อมบารุงตามแผนงาน และตรวจสอบความพร้อมของการใช้งาน
ของเครื่องจักร และบันทึกข้อมูลรายงานการซ่อมบารุง ต่อผูบ้ ริหารในการพัฒนา
ปรับปรุงในการกาหนดนโยบายป้ องกันเกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางานต่อไป
6. ดาเนินการตรวจสอบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการปฏิบตั ิงาน
ตามทีค่ ณะกรรมการความปลอดภัยแนะนา และเป็ นไปตามข้อกาหนดกฎหมาย

จากตารางที่ 2.1 การจัดองค์การหน่วยงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้เกิดความ


ชัดเจนและสามารถบริหารจัดการองค์การให้เกิดความเหมาะสมเพื่อการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหาร
ทีต่ ้องกาหนดบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบแต่หน่ วยงานและเป็ นให้ทุกคนในองค์การมีส่วนร่วม
รับผิดชอบทางานด้านความปลอดภัยร่วมกันทุกฝ่ าย ทุกแผนก และทุกระดับให้เกิดประสิทธิภาพ
หมายความว่าสามารถลดอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บและเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางานทาให้พนักงานมี
สุขภาพ และอนามัยที่ดี รวมทัง้ สร้างภาพลักษณ์ ใ ห้กับองค์การได้ ดังนัน้ การจัดโครงสร้าง
หน่วยงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย สามารถนามาแสดงได้ภาพที่ 2.6
103

ผูบ้ ริหารระดับสูง

คณะกรรมการฝ่ ายบริหารเพื่อความปลอดภัย

ผูบ้ ริหารฝ่ ายต่าง ๆ หน่ วยงานความปลอดภัย สหภาพแรงงาน คณะกรรมการความปลอดภัย หน่ วยซ่อมบารุง หน่ วยการแพทย์
และอาชีวอนามัย
ฝ่ ายผลิต คณะกรรมการ กรรมการจากหน่ วยงานต่าง ช่างเทคนิค อาชีวเวชศาสตร์
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย สหภาพ ๆ
อาชีวสุขศาสตร์
ฝ่ ายบัญชีและ ระดับเทคนิค ที่ปรึ กษาด้านความปลอดภัย ช่างบารุงรักษา
การเงิน หัวหน้างาน ปลอดภัยภายนอก นักอาชีวสุขศาสตร์
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย
ฝ่ ายตลาด ระดับวิชาชีพ พนักงาน
นักกายภาพบาบัด
ฝ่ ายจัดซือ้ พยาบาล
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย
ฝ่ ายบริหาร ระดับหัวหน้างาน
ทรัพยากรมนุษย์

เจ้าหน้าทีค่ วาม
ฝ่ ายวิศวกรรม ปลอดภัยระดับบริหาร

ฝ่ ายวางแผนผลิต

ภาพที่ 2.6 โครงสร้างหน่วยงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย


104

นโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การบริหารจัดการงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่ดตี ้องมาจากความต้องการที่
ผูบ้ ริหารระดับสูงมีวสิ ยั ทัศน์ และความมุง่ มันที
่ จ่ ะเห็นความสาคัญสนับสนุ นงานด้านความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยในสถานประกอบการด้วยการกาหนดนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ประกาศให้ทราบทัวกั ่ นในสถานประกอบการ นโยบายจึงเปรียบเสมือนเครื่องชีน้ ากาหนดแนวทาง
ปฏิบตั ใิ นปั จจุบนั ไปสู่อนาคต นโยบายจึงเป็ นเรื่องของผูบ้ ริหารทีส่ ามารถประสานความพยายาม
ในการทาหน้าทีใ่ ห้สมาชิกในองค์การร่วมแรงร่วมใจกันปฏิบตั ภิ ารกิจให้สาเร็จลุล่วงไปได้ ดังนัน้
นโยบาย จึงหมายถึง หลักและวิธกี ารปฏิบตั ซิ ง่ึ เป็ นแนวทางในการดาเนินการของผูบ้ ริหารใช้ใน
การตัดสินใจเพื่อให้การปฏิบตั งิ านทีก่ าหนดไว้เป็ นไปอย่างถูกต้องและบรรลุเป้ าหมายนัน้ ๆ
ความสาคัญของนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
โดยทัวไปแล้
่ วองค์การต่างๆ ย่อมมีเครื่องมือทางการบริหารจัดการสาหรับให้ผบู้ ริหาร
ได้ใช้ในการปฏิบตั งิ านให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี การกาหนดนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนา
มัยในสถานประกอบการจึงมีความสาคัญที่จะทาให้เป็ นเครื่องบ่งชี้ทศิ ทางการบริหารงาน จึงมี
ความสาคัญ ดังนี้
1. เป็ นเครื่องยืนยันเจตนารมณ์ของนายจ้างทีใ่ ห้ความสาคัญของงานด้านความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย และบ่ งบอกถึงภารกิจที่ต้ องปฏิบ ั ติต่ อลู กจ้างเกี่ยวกับ ความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย ส่งผลพนักงานและฝ่ ายที่เกี่ยวข้องสามารถลงมือปฏิบตั ติ ามแนวทางที่วางไว้และเกิด
ผลดีต่อองค์การ
2. ช่วยให้เห็นภาพพจน์ในการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่เป็ น
เอกลักษณ์หรือมีความเด่นชัดของสถานประกอบการ เป็ นแนวทางให้ผู้เกี่ยวข้องปฏิบตั ติ ามที่
กาหนดไว้
3. ทาให้พนักงานทุกคนทุกระดับให้ความสาคัญกับงานด้านความปลอดภัย และอาชีว-
อนามัย และทราบถึงภาระหน้าทีอ่ นั สาคัญทีต่ ้องปฏิบตั ติ าม ซึง่ เป็ นแรงจูงใจในการให้ความร่วมมือ
สาคัญยิง่ ในการบริหารงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
4. แสดงออกถึงความห่วงใยของนายจ้างทีม่ ตี ่อความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของ
พนักงาน เป็ นการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างพนักงานฝ่ ายจัดการ และเกิดความรักสามัคคี
และความจงรักภักดีต่อองค์การ
5. ช่วยให้ผบู้ ริหารได้ให้ความสาคัญต่อการใช้ดุลพินิจของผู้บริหารและผู้ปฏิบตั งิ านใน
ระดับต่างๆ ให้การดาเนินงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามความต้องการ
6. ช่วยสร้างชื่อเสียงให้กบั องค์การและทาให้เป็ นที่รจู้ กั ของประชาชน รวมทัง้ เกิดภาพ
ลักษณะต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการขององค์การ
105

คุณลักษณะของนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
นโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทีด่ ี มีลกั ษณะดังนี้
1. นโยบายทีด่ จี ะต้องมีการกาหนดเป็ นลายลักษณ์อกั ษร มีขอ้ ความชัดเจน กระชับเข้าใจ
ง่าย สามารถถ่ายทอดไปสู่ผปู้ ฏิบตั ไิ ด้โดยง่าย และมีความเข้าใจตรงกัน รวมทัง้ ต้องมีการลงนาม
กากับโยผูบ้ ริหารระดับสู
2. นโยบายต้องมีการประกาศให้พนักงานทุกคน ทุกระดับและผูท้ เ่ี กี่ยวข้องทราบโดยทัวกั ่ น
และต้องมีการนามาปรับปรุงแก้ไขให้มคี วามทันสมัยอยูต่ ลอดเวลา
3. นโยบายทีด่ ตี ้องมีความยืดหยุ่น และสามารถนาไปปรับใช้ได้ทุกสถานการณ์ นัน่ คือ
ต้องมีการกาหนดนโยบายในการปฏิบตั ไิ ว้อย่างกว้างๆ เนื่องจากในแต่ละสภาพงาน ลักษณะงาน
เครือ่ งจักร เครือ่ งมือ จะมีวธิ กี ารทีแ่ ตกต่างกัน ต้องเลือกการปฏิบตั งิ านทีแ่ ตกต่างกันเพื่อให้บรรลุ
นโยบาย
4. นโยบายที่ดตี ้องมาจากความต้อ งการของพนักงานทุกคนที่มกี ารร่วมแรงร่วมกัน
เนื่องจากผูป้ ฏิบตั ติ ามนโยบายคือพนักงานทุกคนในองค์การ ดังนัน้ นโยบายด้านความปลอดภัย
จึงเป็ นความต้องการทีพ่ นักงานต้องมีส่วนร่วม รวมทัง้ เป็ นข้อเสนอแนะมาจากลูกค้าด้วย
5. นโยบายความปลอดภัยต้องมีการกาหนดไว้อย่างกว้าง ทาให้ง่ายต่อการนาลงไป
ปฏิบตั กิ บั ทุกระดับ ทุกฝ่ าย ครอบคลุมภารกิจทุกด้านและสอดคล้อง สนับสนุนซึง่ กันและกัน
6. นโยบายความปลอดภัยต้องกาหนดทุกคน ทุกระดับมีหน้าที่รบั ผิดชอบและให้ความ
ร่วมมือในกิจกรรมด้านความปลอดภัย และให้ถอื ว่าการดาเนินการตามนโยบายความปลอดภัย
เป็ นส่วนหนึ่งในการปฏิบตั งิ านและการประเมินผลงาน
7. นโยบายกาหนดมาตรการ/กิจกรรมหลักด้านความปลอดภัยไว้ และมีตรวจติดตาม
ประเมินความสาเร็จทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
8. กาหนดให้ผู้บริหารได้มกี ารตัดสินใจและรับผิดชอบงานด้านความปลอดภัย รวมทัง้
กระตุน้ ให้ผบู้ ริหารได้สร้างพลังในการใช้อานาจของผูบ้ ริหารให้เป็ นไปอย่างยุตธิ รรมและถูกต้อง
9. การกาหนดนโยบายต้องคานึงถึงปั จจัยภายในและภายนอก เพื่อนามาพิจารณาใน
การกาหนดนโยบาย ดังเช่น ปั จจัยภายใน ได้แก่ อัตราการเกิดอุบตั เิ หตุ สถิตกิ ารเกิดอุบ ั ตเิ หตุ
เป็ น ต้ น ส่ ว นปั จ จัย ภายนอก ได้แ ก่ ข้อ ก าหนดและมาตรฐานทางกฎหมาย เทคโนโลยีท่ี
เปลีย่ นแปลงไป เป็ นต้น
106

หลักการกาหนดนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
หลัก การที่สาคัญ ในการก าหนดนโยบายความปลอดภัยและอาชีว อนามัยมีห ลักการ
สาคัญดังนี้
1. คานึงถึงข้อกาหนดของกฎหมายและมาตรฐานต่างๆ ด้านความปลอดภัยและอา-
ชีว อนามัย ที่เ กี่ย วข้อ งกับ สภาพกิจการของตนให้ม ีค วามครอบคลุ ม ทัง้ หมด โดยมีแ นวทาง
ตามลาดับดังนี้
1.1 วิเคราะห์ความมุ่งหมาย/ข้อกาหนดของกฎหมายความปลอดภัยและอาชีว -
อนามัยทีบ่ งั คับใช้ตามกฎหมาย
1.2 ประเมินภาระงานทีต่ ้องปฏิบตั ติ ามกฎหมาย โดยทาการวิเคราะห์งาน (job
analysis)
1.3 พัฒนาและกาหนดมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของสถาน
ประกอบการให้สอดคล้องเป็ นไปตามกฎหมาย
1.4 ก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์ แ ละเนื้ อ หาของนโยบายความปลอดภัย และ
อาชีวอนามัย
2. คานึงถึงการสร้างความร่วมมือในกิจกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของ
พนักงานทุกระดับ ซึง่ มีแนวทางดังนี้
2.1 วิเคราะห์/สารวจทัศนคติและความร่วมมือของพนักงานทุกระดับ
2.2 วิเคราะห์หาความจาเป็ นในการจัดกิจกรรมความปลอดภัย
2.3 หาเทคนิค/วิธกี ารทีใ่ ช้ในการสื่อสารข้อความเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย
2.4 ศึกษา/ค้นคว้าเนื้อหาของนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่จะทา
ให้ความร่วมมืออันดีระหว่างฝ่ ายจัดการและฝ่ ายลูกจ้าง
3. การกาหนดนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยต้องให้สอดคล้องกับกระบวนการ
ผลิตและวิธกี ารปฏิบตั ิ ซึง่ มีแนวทางดังนี้
3.1 รวบรวมข้อมูล/สภาพปั ญหาอันตรายของแต่ละงานในกระบวนการผลิตทุก
ขัน้ ตอน โดยเฉพาะทีเ่ กิดปั ญหาบ่อย ซ้าๆ และไม่สามารถแก้ไขได้ดว้ ยวิธกี ารพืน้ ฐาน
3.2 มีการวิเคราะห์ความเสีย่ ง คาดการณ์ถงึ อุบตั เิ หตุอนั ตรายทีอ่ าจเกิดจากการ
ทางาน
3.3 มีการประเมินวิเคราะห์ความเสี่ยง และคาดการณ์ ถึงอันตรายจากการนา
วัตถุดบิ /การนาเครือ่ งมือเทคโนโลยีแบบใหม่มาใช้
3.4 หาวิธกี าร/ทราบถึงวิธกี ารป้ องกันควบคุ มอุบตั ิเหตุ และอันตรายที่อ าจจะ
เกิดขึน้ จากการทางาน
107

3.5 พิจารณากาหนดถึงข้อความของนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
เกี่ยวกับ มาตรการ/เทคนิ ค วิธ ีก ารที่เ หมาะสมในการเสริมสร้า งความปลอดภัยให้เ กิด ขึ้น ใน
สถานทีท่ างาน
4. มีการกาหนดข้อตกลงด้านความปลอดภัยให้กบั ผูร้ บั เหมาต้องปฏิบตั ิ ซึ่งเงื่อนไขใน
นโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่กาหนดให้ผู้รบั เหมาช่วงที่เกี่ยวข้องมีหน้าที่ความ
รับผิดชอบในการดูแลความปลอดภัยของลูกจ้าง
5. คานึงถึงการลูกค้าสัมพันธ์/ความพึงพอใจของลูกค้าต่อความปลอดภัยของผลผลิตที่
ผู้บริหารได้กาหนดนโยบาย ถึงการยอมรับ ความคิดเห็นและข้อเรียกร้องด้านความปลอดภัย
ของลูกค้า
6. ต้องสร้างความพึงพอใจต่อความคาดหวังในกิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องของผูม้ สี ่วนได้เสีย
(ผูถ้ อื หุน้ พนักงานลูกจ้างหรือ ตัวแทน ลูกค้าหรือสังคมโดยรวม)
7. มีการกาหนดจุดยืนด้านความปลอดภัยในตลาดการค้า เพื่อสร้างภาพลักษณ์ท่ดี ตี ่อ
สังคม หรือความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) เช่น การเป็ นผูน้ าด้านความปลอดภัยในอุตสาหกรรม
โรงงานสีขาว และ Green Factory เพื่อให้ลูกค้าเชื่อมันศรั ่ ทธาในสินค้าและบริหารทีม่ คี ุณภาพ
ควบคุมไปกับความปลอดภัย
การกาหนดนโยบายด้า นความปลอดภัยและอาชีว อนามัยในสถานประกอบการนัน้
สามารถน าหลัก การก าหนดนโยบายที่ดี โดยน ามาประยุ ก ต์ใ ช้ใ ห้เ กิด ความเหมาะสมตาม
ประเภทของกิจการ ลักษณะงาน ขนาด โครงสร้างองค์การ และลักษณะของอันตรายของสถาน
ประกอบการ เพื่อให้การกาหนดนโยบายมีความเหมาะสม ชัดเจน สามารถนาลงไปสู่การปฏิบตั ใิ ห้
บรรลุเป้ าหมายงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเกิดประสิทธิภาพทัวทั ่ ง้ องค์การ
อย่างไรก็ตาม หน่ วยงานต่างๆ มีลกั ษณะการประกอบกิจการทีแ่ ตกต่างกันก็ย่อมมีลกั ษณะ
นโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทีแ่ ตกต่างกัน สิง่ ที่เหมือนกัน คือหลักการในการกาหนด
จึงขอยกตัวอย่างนโยบายของบริษทั ทีม่ กี ารกาหนดนโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
นโยบายของหน่วยงานต่างๆ ดังนี้
108

(ตัวอย่าง นโยบายความปลอดภัย และอาชีวอนามัย)


เรื่อง นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
………………………………………

ด้วยบริษทั วงศ์อารีรกั มิตรกรุ๊ป จากัด (มหาชน) ให้ความสาคัญกับพนักงาน มีความ


ห่วงใยต่อชีวติ และสุขภาพของพนักงานทุกคน ดังนัน้ จึงเห็นสมควรให้มกี ารดาเนินงานด้าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานควบคู่ไปกับ การปฏิบตั ิหน้ าที่
ประจาของพนักงาน จึงได้กาหนดนโยบายไว้ดงั นี้
1. บริษทั ฯ ถือว่าความปลอดภัยในการทางาน เป็ นหน้าทีข่ องพนักงานทุกคน ทุกระดับ
ทีจ่ ะร่วมมือปฏิบตั ิ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยทัง้ ของตนเอง และผูอ้ ่นื
2. บริษทั ฯ จะส่งเสริม สนับสนุน ให้มกี ารปรับปรุงสภาพแวดล้อม และวิธกี ารปฏิบตั งิ าน
ทีป่ ลอดภัย ตลอดจนการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายทีเ่ หมาะสม รวมถึงการรักษาไว้ซ่งึ คุณภาพ
อนามัยทีด่ ขี องพนักงานทุกคน
3. บริษัทฯ กาหนดนโยบายให้มคี ณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน ให้สอดคล้องตามหน้าทีข่ องกฎหมายความปลอดภัยฯ
4. ผูบ้ งั คับบัญชาทุกคน ต้องมีหน้าที่ดูแลและรับผิดชอบ ในเรื่องความปลอดภัยในการ
ทางานของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ให้เป็ นไปตามกฎระเบียบแห่งความปลอดภัยทีก่ าหนดขึน้ โดย
เคร่งครัด
5. บริษทั ฯ จะส่งเสริม และสนับสนุน การดาเนินกิจกรรมแห่งความปลอดภัย
6. บริษทั ฯ จะจัดให้มกี ารการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

ประกาศ ณ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2549

………………………….
(นายวิจกั ษ์ สิรสิ งิ ห์)
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร
109

(ตัวอย่างนโยบายความปลอดภัย และอาชีวอนามัย)
นโยบายด้านคุณภาพ ความมันคง ่ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่ งแวดล้อม
(Quality Security Safety Health and Environment Policy)

ปตท. กาหนดนโยบายคุณภาพ ความมันคง ่ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม


กลุ่ม ปตท. (PTT Group QSHE Policy) เพื่อแสดงถึงความมุ่งมันขององค์่ กรและเป็ นกรอบใน
การบริหารจัดการด้าน QSHE ให้ผบู้ ริหาร และพนักงานในองค์กร ตลอดจนบริษทั ในกลุ่ม ปตท.
นาไปปฏิบตั ิ โดยถ่ายทอดไปสู่การปฏิบตั ิ ด้วยการกาหนดเป็ นเป้ าหมาย แผนกลยุทธ์/โปรแกรม
แผนการดาเนินงาน รวมทัง้ ตัวชี้วดั ตามแผนงาน จากส่ วนกลางไปยังกลุ่มธุรกิจ หน่ วยธุรกิจ
สายงานจนถึงพื้นที่ปฏิบตั ิก าร ตามล าดับ โดยผู้บริห ารสูงสุ ดของแต่ ละบริษัทในกลุ่ม ปตท.
ได้ลงนามร่วมกับประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จดั การใหญ่ ปตท. นาไปใช้เป็ นกรอบ
ของการบริหารจัดการด้าน QSHE กาหนดแผนดาเนินงาน ตลอดจนตัวชี้วดั ต่างๆ รวมทัง้ การ
ติดตามและประเมิน ผลการดาเนินงานตามเป้ าหมาย แผนกลยุทธ์/โปรแกรม และแผนการ
ดาเนินงาน เพื่อประเมินความสอดคล้องกับนโยบายทัง้ ของ ปตท. และบริษัทในกลุ่ ม ปตท.
ทุกไตรมาส รวมทัง้ ในการตรวจประเมิน (Audit) โดยส่วนกลางตามวาระทีก่ าหนด
ปตท. ก าหนดเป้ า หมายเชิงกลยุทธ์ด้า นความมันคง ่ ความปลอดภัย อาชีว อนามัย
และสิง่ แวดล้อม (SSHE) ซึ่งตอบสนองและสอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์การ โดยประกอบด้วย
วัตถุประสงค์ระยะยาวทีช่ ดั เจน 3 มุมมอง ได้แก่
1. Socio มุ่งลดความสูญ เสียด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่มตี ่ อพนักงาน
ผูร้ บั เหมา และกระบวนการผลิต
2. Eco ลดรอยเท้านิเวศตลอดวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์
3. Efficient การพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานให้ตดิ อันดับชัน้ นาของโลก
โดยการด าเนิ นงานตามกลยุท ธ์จ ะเน้ น หนัก ที่การเสริม สร้า งวัฒ นธรรมด้า น QSHE
และระบบการจัดการด้าน SSHE เป็ นเครื่องมือสาคัญในการปรับปรุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
การดาเนินงาน พร้อมทัง้ ริเริม่ และประยุกต์นวัตกรรมตลอดจนดาเนินการโครงการ เพื่อพัฒนา
กระบวนการและผลการดาเนินงานให้เป็ นไปตามเป้ าหมายทีก่ าหนด ลดความสูญเสียและผลกระทบ
ในทางลบต่ อ สัง คมและสิ่ง แวดล้ อ ม เป็ นการเชื่อ มโยงนโยบายคุ ณ ภาพ ความปลอดภัย
อาชีว อนามัย และสิง่ แวดล้อมกลุ่ม ปตท. เข้ากับนโยบาย มาตรฐานการจัดการและระเบียบ
ปฏิบตั ิ ตลอดจนขัน้ ตอนดาเนินงานของแต่ละหน่ วยธุรกิจและแต่ละบริษทั กรอบของมาตรฐาน
การจัดการถูกพัฒนาขึน้ ตามหลักการ Plan-Do-Check-Act เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งมีพ้นื ฐานมาจากมาตรฐานการจัดการสากล ประกอบด้ว ย 6 องค์ประกอบหลัก ซึ่งเนื้อหา
สาระสาคัญของแต่ละองค์ประกอบสรุปได้ดงั นี้
110

1. นโยบายและความเป็ นผู้นา: การกาหนด การสื่อสาร และการแสดงออกถึงความ


มุ่งมันของฝ่
่ ายบริห ารอย่างชัด เจนในการสร้า งวัฒนธรรมขององค์กรในการบริห ารงานด้า น
SSHE ตลอดจนกล่าวถึงการทบทวนประสิทธิผลการดาเนินงานด้าน SSHE
2. การวางแผน: การประเมินความเสีย่ ง การเข้าถึงกฎหมาย รวมถึงการตรวจประเมิน
ด้าน SSHE สาหรับการควบรวม และเข้าถือครองสินทรัพย์และโครงการใหม่ ตลอดจนการจัดการ
ด้าน SSHE ทีเ่ กีย่ วข้องกับวัฏจักรชีวติ ของผลิตภัณฑ์
3. วิศวกรรม การดาเนินงาน และการบารุงรักษา: การบริหารความเสี่ยงด้าน SSHE
ในช่วงการออกแบบ การก่อสร้าง การทดสอบ การปฏิบตั งิ าน ทัง้ ที่ดาเนินงานโดยหน่ วยงาน
หรือผู้รบั เหมา และผู้รบั จ้าง การบารุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์อย่างเหมาะสม รวมถึงการ
เตรียมความพร้อ มและตอบสนองในกรณีฉุ กเฉิ น เพื่อ ลดและบรรเทาผลกระทบด้าน SSHE
ที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งรวมถึงด้านการระบายมลภาวะออกจากพื้นที่ การระบายน้ าเสีย และการ
จัดการของเสียเป็ น
4. การติดตามและปรับปรุงประสิทธิผลการดาเนินงาน: การตรวจสอบและตรวจประเมิน
ประสิทธิผลการดาเนินงานด้าน SSHE และการแก้ไขและป้ องกัน เพื่อจัดการสภาพทีไ่ ม่เป็ นไป
ตามข้อกาหนด ตลอดจนการนาการเรียนรูท้ ผ่ี ่านมา และแนวปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นเลิศไปขยายผลต่อไป
รวมถึงการกาหนดเป้ าหมายและแผนงานการปรับปรุงด้าน SSHE อย่างอย่างต่อเนื่อง
5. ทรัพ ยากรและโครงสร้า งการบริห าร: การก าหนดบทบาท หน้ า ที่ และความ
รับ ผิด ชอบตลอดจนความสามารถของผู้ป ฏิบ ัติง านที่เ หมาะสม เพื่อ ให้ก ารบริห ารงานด้า น
SSHE เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
6. วัฒนธรรม การสื่อสาร และข้อมูล : การสร้างการมีส่วนร่วม พฤติกรรม และวัฒนธรรม
ด้าน SSHE อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการสื่อสารทัง้ ภายในและภายนอกให้กบั ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียที่
สนใจ ตลอดจนการจัดการและควบคุมเอกสารการดาเนินงานด้าน SSHE ซึง่ ข้อกาหนดทัง้ หมด
เหล่านี้ได้รบั การพัฒนาโดยยึดหลักการของมาตรฐานสากลที่กล่าวไว้ขา้ งต้น ระบบการจัดการที่
มีอยูใ่ นปั จจุบนั แนวปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นเลิศทีใ่ ช้ในบริษทั ข้ามชาติดา้ นอุตสาหกรรมพลังงาน และกรอบ
การดาเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA) ซึง่ ปรับให้
เข้ากับการดาเนินงานของกลุ่ม ปตท.

ประกาศ ณ วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2557

………………………….
(.............................)
ประธานกรรมการฝ่ ายบริหาร
111

(ตัวอย่าง นโยบายความปลอดภัย และอาชีวอนามัย)


เรื่อง นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
………………………………………

ด้วยบริษทั วงศ์อารีรกั มิตรกรุ๊ป จากัด (มหาชน) ให้ความสาคัญกับพนักงาน มีความ


ห่วงใยต่อชีวติ และสุขภาพของพนักงานทุกคน ดังนัน้ จึงเห็นสมควรให้มกี ารดาเนินงานด้าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานควบคู่ไปกับการปฏิบตั หิ น้าทีป่ ระจา
ของพนักงาน จึงได้กาหนดนโยบายไว้ดงั นี้
1. บริษทั ฯ ถือว่าความปลอดภัยในการทางาน เป็ นหน้าทีข่ องพนักงานทุกคน ทุกระดับ
ทีจ่ ะร่วมมือปฏิบตั ิ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยทัง้ ของตนเอง และผูอ้ ่นื
2. บริษทั ฯ จะส่งเสริม สนับสนุน ให้มกี ารปรับปรุงสภาพแวดล้อม และวิธกี ารปฏิบตั งิ าน
ทีป่ ลอดภัย ตลอดจนการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายทีเ่ หมาะสม รวมถึงการรักษาไว้ซง่ึ คุณภาพ
อนามัยทีด่ ขี องพนักงานทุกคน
3. บริษทั ฯ กาหนดนโยบายให้มคี ณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ
แวดล้อมในการทางาน ให้สอดคล้องตามหน้าทีข่ องกฎหมายความปลอดภัยฯ
4. ผูบ้ งั คับบัญชาทุกคน ต้องมีหน้าทีด่ แู ลและรับผิดชอบ ในเรือ่ งความปลอดภัยในการ
ทางานของผู้ใต้บงั คับบัญชา ให้เป็ นไปตามกฎระเบียบแห่งความปลอดภัยที่กาหนดขึ้นโดย
เคร่งครัด
5. บริษทั ฯ จะส่งเสริม และสนับสนุน การดาเนินกิจกรรมแห่งความปลอดภัย
6. บริษทั ฯ จะจัดให้มกี ารการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน

ประกาศ ณ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2549

………………………….
(นายวินยั ตรงใจดี)
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร
112

(ตัวอย่าง นโยบายความปลอดภัย และอาชีวอนามัย)


เรื่อง นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
................................................

ความปลอดภัยในการทางานจะเกิดขึน้ ต้องได้รบั ความร่วมมือร่วมใจ ตามหน้าทีค่ วาม


รับผิดชอบของทุกคนในองค์กร นับตัง้ แต่ คณะผูบ้ ริหาร ผูบ้ งั คับบัญชา ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทุกระดับ
และเพื่อให้การบริหารงานความปลอดภัย มีการดาเนินงานไปด้วยความ สะดวกราบรื่น บริษทั
จึงกาหนดนโยบายไว้ดงั ต่อไปนี้
1. บริษทั ฯจะส่งเสริมให้พนักงาน ทางานด้วยความปลอดภัยโดยความปลอดภัยในการ
ทางานเป็ นหน้าทีร่ บั ผิดชอบอันดับแรกของพนักงานทุกคนในการปฏิบตั งิ าน
2. บริษัทฯ ถือว่าพนักงานทุกคนเป็ นทรัพยากรที่มคี ุณค่าของบริษัทฯ ดังนัน้ ความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของพนักงาน จึงถือเป็ นนโยบายสาคัญ
ของบริษทั ฯ
3. บริษทั ฯ จะส่งเสริมและสนับสนุ นให้มกี ารพัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน และวิธกี ารปฏิบตั ิงานที่ปลอดภัยเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน โดยจัดหา
เครื่อ งมือ อุปกรณ์ ความปลอดภัยให้เ พียงพอกับสภาพงาน จูงใจให้พนักงานได้ต ระหนักถึง
อันตรายต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในขณะทางาน ตลอดจนแนะนาชีแ้ จงให้ทราบถึงสาเหตุ และวิธกี าร
ป้ องกัน
4. บริษทั ฯ จะยกระดับและพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในบริษทั ฯ สถานทีท่ างาน ความ
สะอาดโดยรอบบริเวณบริษทั ฯ อยู่เสมอเพื่อให้มคี วามปลอดภัยมีสภาพแวดล้อมทีด่ ถี ูกสุขลักษณะ
อันนามาซึง่ คุณภาพชีวติ การท างานและสุขภาพทีด่ ี โดยทัวกั ่ นของพนักงาน
5. บริษัทฯ ส่ งเสริม สนับสนุ นให้มกี ิจกรรมความปลอดภัยต่ างๆ ที่จะช่วยกระตุ้น
จิตสานึกของพนักงาน เช่น การอบรม จูงใจ ประชาสัมพันธ์ การแข่งขันด้านความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย
6.ปลอดภัย พนักงานทุกคนจะต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบว่า ด้วยความปลอดภัย อาชีว-
อนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน อย่างเคร่งครัด หากมีการฝ่ าฝื นหรือละเลยอาจถูก
พิจารณาโทษตามระเบียบของบริษทั ฯ
7. พนักงานทุกคนจะต้องปฏิบตั ิ 5ส (สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสยั ) ใน
สถานทีท่ างานอย่างเคร่งครัดเพื่อป้ องกัน อุบตั เิ หตุ และโรคเนื่องจากการทางาน
8. บริษทั ฯ จะสนับสนุ นนโยบายการดาเนินกิจกรรมการค้นหาและการประเมินอันตราย
(Completely Check Completely Find Out) อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายอุบตั เิ หตุเป็ น
ศูนย์ทงั ้ ในงานและนอกงาน
113

9. บริษทั ฯ จะทบทวนและประเมินระบบการดาเนินงานด้านความปลอดภัยเป็ นระยะๆ


เพื่อนามาวางแผนในการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง
10. บริษทั ฯ กาหนดเป็ นนโยบาย ให้ผบู้ งั คับบัญชาทุกคนต้องกระทาตนให้เป็ นแบบอย่าง
ทีด่ ี และมีหน้าทีด่ ูแลรับผิดชอบ ในเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการ
ทางานของผู้ใต้บ ังคับบัญชาให้เป็ นไปตามกฎข้อบังคับที่บริษัท ได้กาหนดโดยถือปฏิบตั ิอย่าง
เคร่งครัด นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ได้รบั การ
อนุมตั เิ มือ่ วันที่ 7 พฤษภาคม 2557 หน้า 4 มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 มิถุนายน 2557
11. บริษทั ฯ กาหนดเป็ นนโยบาย ให้พนักงานทุกคนต้องมีหน้าที่ รับผิดชอบในการ
ปฏิบตั งิ านให้เกิดความปลอดภัยแก่ตนเอง และเพื่อนร่วมงาน โดยปฏิบตั ติ ามกฎข้อบังคับความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน ทีบ่ ริษทั ฯ ได้กาหนด และถือปฏิบตั ิ
อย่างเคร่งครัด
12. บริษทั ฯ ถือว่าพนักงานทุกคนมีส่วนร่วมในการป้ องกันอุบตั เิ หตุ และรักษาสิง่ แวดล้อม
บริษทั ฯ ยินดีรบั ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นต่างๆ ของพนักงาน โดยจะนาไปพิจารณา ตลอดจน
ปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่องต่างๆ ตามความเหมาะสม เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่พนักงานมาก
ทีส่ ุด

ประกาศ ณ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2557

………………………….
(...............................)
ประธานกรรมการบริหาร
114

แผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การวางแผนงาน หมายถึง กระบวนการในเตรียมการไว้ล่วงหน้า ซึง่ เป็ นหลักการในการ
บริหาร โดยการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย วิธกี าร และทรัพยากรทีจ่ ะใช้ในการดาเนินงาน
ในอนาคต นั บ ว่ า เป็ นตัด สิน ใจล่ ว งหน้ า เกี่ ย วกับ คิด วิเ คราะห์ ว่ า จะท าอย่ า งไรให้ บ รรลุ
วัตถุประสงค์ หากมองในแง่สถานการณ์ทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป การวางแผนเป็ นกระบวนการในการ
เผชิญกับความไม่แน่ นอนโดยการกาหนดการกระทาขึน้ ล่วงหน้าเพื่อให้ได้ผลตามที่กาหนดไว้
การวางแผนงาน จะเกี่ยวข้อ งกัน 2 อย่าง คือ จุดหมายปลายทางกับวิธ กี าร จุดหมาย
ปลายทางก็คอื จะทาอะไร วิธกี ารก็คอื จะทาอย่างไร
การบริห ารจัดการงานความปลอดภัยและอาชีว อนามัยให้บรรลุผ ลที่ได้ต งั ้ ไว้อย่างมี
ประสิทธิภาพ การวางแผนงาน จึงเป็ นข้อความที่กาหนดขึน้ มาล่วงหน้า ว่าจะทาอะไร อย่างไร
ทาเมื่อไหร่ ใครเป็ นผูท้ า จะใช้ทรัพยากรต่างๆ จานวนเท่าไหร่ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ท่ี
กาหนด จะเห็นได้ว่าการวางแผนเป็ นการเชื่อมโยงจากปั จจุบนั ที่เป็ นอยู่ไปสู่จุดมุ่งหมายในอนาคต
จึงเป็ นกระบวนการในการคิด วิเคราะห์ เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ทเ่ี ป็ นอยู่ในปั จจุบนั พิจารณา
ถึงวัตถุประสงค์ทต่ี อ้ งการให้เกิดขึน้ ทัง้ นี้จะต้องมีการคิดพิจารณาถึงรายละเอียดของสิง่ ทีต่ ้องทา
พร้อมกับการระบุผลสาเร็จต่างๆ ทีต่ อ้ งการ ซึง่ จะนาไปสู่วตั ถุประสงค์ตามทีไ่ ด้ตงั ้ ไว้
คุณลักษณะของแผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของงานด้านปลอดภัยและอาชีอนามัย ที่ได้รบั ทราบมา
จากนโยบายขององค์การแล้ว จึงนามาจัดทาแผนงานเป็ นรายปี โดยการจัดทาแผนงานความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้สอดคล้องกับนโยบายขององค์การ ดังนัน้ กระบวนการของการ
วางแผนงานเป็ นขัน้ ตอนที่สาคัญในระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย โดยมี
กาหนดนโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย และกฎหมาย ข้อกาหนดต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
มาพิจารณา เตรียมการวางแผนงาน โดยครอบคลุมการกาหนดแผนงาน และวัตถุประสงค์ดา้ น
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การวางแผนปฏิบตั กิ าร ให้เกิดความชัดเจนเป็ นรูปธรรมนาไป
ปฏิบตั จิ ริงได้ โดยทุกฝ่ ายสามารถเข้าใจได้ง่าย สอดคล้องกับสภาพการณ์ในปั จจุบนั ที่เป็ นจริง
และสามารถนาไปดาเนินการได้ทุกหน่ วยงาน เช่น หน่ วยงานทีม่ กี ารผลิต ในส่วนเนื้อหาของแผน
ก็ไม่จาเป็ นต้องมีรายละเอียดทีย่ ุ่งยากซับซ้อนมากนัก ให้ง่ายต่อการนาไปใช้หรือปฏิบตั ไิ ด้ดว้ ย
พนักงานทุกระดับ
สรุป ได้ว ่า การวางแผนงานด้า นความปลอดภัย และอาชีว อนามัย ที่ด จี ะต้อ งเป็ น
กระบวนการมองภาพการดาเนินงานขององค์การทัง้ หมด ควรระบุประเด็นสาคัญๆ ดังนี้
1. จะทาอะไร (What to do) จะต้องทราบว่างานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
กาหนดว่าจะต้องทาอะไรบ้าง ควรจะต้องชัดเจน มีเป้ าหมาย โดยระบุโครงการ / กิจกรรมแต่ละ
กิจกรรม และมีเป้ าหมายให้ชดั เจน เป็ นไปได้ตามสภาพการณ์ทเ่ี ป็ นจริง
115

2. จะทาที่ไหน (Where to do) กาหนดเพื่อให้ทราบว่าหน่ วยงานที่ต้องทา ได้แก่


หน่วยงานใดทีม่ คี วามสาคัญ จาเป็ นก่อน เมือ่ ทราบก็ให้รบี ดาเนินงานตามแผนงาน
3. จะทาเมื่อไหร่ (When to do) งานนัน้ จะเริม่ ต้นเมื่อไรและสิน้ สุดเมื่อไร เพื่อทราบ
กาหนดเวลาต่างๆ
4. จะทาโดยใคร (Who to do) มีการมอบหมายให้ใครเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการดาเนินงาน
จึงจะสามารถบรรลุเป้ าหมายทีต่ อ้ งการได้
5. ทาไมจึงต้องทาและทาไมจึงต้องเลือกทาวิธนี ้ี (Why to do) เพื่อให้ทราบจุดมุ่งหมาย
ของกิจกรรม
6. จะทาอย่างไร (How to do) มีวธิ กี ารขัน้ ตอนอย่างไร โดยระบุวธิ กี ารดาเนินงาน การ
ประเมินความเสีย่ ง การปฏิบตั กิ ารควบคุมความเสีย่ ง การตรวจสอบติดตาม และการวัดผลการ
ปฏิบตั กิ าร และการประเมินผล เป็ นต้น
7. ต้องการใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง (How to Resources) ต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้างและ
วัตถุดบิ จะได้มาอย่างไร
8. Expected Output ผลทีอ่ งค์การคาดหวังว่าจะได้รบั โดยทีเ่ กิดผลคุม้ ค่าอย่างไร เช่น
อุบตั เิ หตุลดลง ค่ารักษาพยาบาลทีอ่ งค์การต้องจ่ายลดลง พนักงานมีความพึงพอใจในการทางาน
เป็ นต้น
9. Evaluation การวัดและประเมินผลขององค์การทาด้วยวิธกี ารใด โดยมีการวัดความสาเร็จ
ของแผน เช่น วัดด้วย PDCA เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เมื่อดาเนินการโครงการเสร็จสิน้
แล้วมีผลงานตามเป้ าหมาย
หลักการกาหนดแผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การวางแผนงานเพื่อให้ได้แผนงานนัน้ เป็ นหน้าทีท่ ส่ี าคัญทีผ่ บู้ ริหารต้องปฏิบตั เิ ป็ นสิง่ แรก
เพราะแผนงานจะเป็ นกรอบกาหนดทิศทางการทางานร่วมกัน บุคลากรในองค์การจะรูเ้ ป้ าหมาย
ของงานว่าจะต้องทางานอะไร ช่วงเวลาใด ทาอย่างไร มีขนั ้ ตอนกระบวนการอย่างไร และใคร
เป็ นผูร้ บั ผิดชอบ การทางานทีม่ แี ผนงานจะทาให้ลดความขัดแย้งในหน่ วยงาน ลดความซ้าซ้อน
ของงานช่วยลดความเสีย่ งในการทางาน บุคลากรหรือพนักงานสามารถทางานได้อย่างมีระบบ
ผูบ้ ริหารจึงต้องมีบทบาทในการบริหารการวางแผนงาน ดังนี้
หลักการกาหนดแผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่มปี ระสิทธิภาพ มีหลักการ
ดังนี้
1. ผูบ้ ริหารระดับสูงต้องให้ความสาคัญกับแผนงาน และให้พนักงานทุกระดับมีส่วนร่วม
ในการกาหนดแผน
116

2. ต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ให้ชดั เจน เพื่อให้พนักงานขององค์การทราบถึงสิง่ ที่


ต้องทา และใช้สาหรับมอบหมายความรับผิดชอบทีจ่ ะช่วยกันทางานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ตามที่
กาหนด
3. ฝ่ ายบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมีการจัดโครงสร้าง และแบ่งงานหรือการ
กระจายความรับผิดชอบตามแผนงานอย่างเหมาะสม
4. ต้องระบุรายละเอียดของแผนงานให้ชดั เจน เช่น วิธกี ารค้นหาความเสี่ยง หรืออันตราย
ในการท างาน การประเมิน และการควบคุ มอันตรายจากสภาพการทางาน รวมทั ้งก าหนด
จุดมุง่ หมายให้ชดั เจนเข้าใจง่าย สามารถใช้เป็ นแนวทางให้บุคคลในฝ่ ายต่างๆ ขององค์การเข้าใจ
และใช้เป็ นแนวทางในการทางานเป็ นไปในทางทิศเดียวกัน
5. มีการคัดสรรบุคคลทีม่ คี วามเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการรับผิดชอบแผนงาน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และนาไปสู่การบรรลุเป้ าหมาย
6. จัดให้มกี ารประชุมหารือซักซ้อมการปฏิบตั งิ านตามแผนที่กาหนด เพื่อเป็ นระบบไม่
เกิดความซ้าซ้อ น หรือ ปั ญ หาการไม่ใ ห้ค วามร่ว มมือ หรือ ความเห็นไม่ต รงกันอันจะนามาซึ่ง
ความต่อต้านและขัดแย้งกันตาม
7. ต้องมีการจัดทาทัง้ แผนระยะสัน้ และระยะยาว เพื่อให้องค์การปรับเข้า สู่เป้ าหมายที่
กาหนดไว้
8. กาหนดให้หวั หน้าแต่ละระดับมีหน้าที่ในการติดตามดูแลการปฏิบตั ติ ามเป็ นระยะๆ
และมีการรายงานต่อผูบ้ งั คับบัญชาอย่างสม่าเสมอ
9. จัดให้มกี ารอบรมสาหรับผู้ปฏิบตั งิ านตามแผน ให้มคี วามเข้าใจในขัน้ ตอนก่อนลงมือ
ปฏิบตั งิ าน เพื่อให้การปฏิบตั งิ านมีความถูกต้องไม่เสียเวลา เสียทรัพยากร
10. ทุกฝ่ ายทีเ่ กีย่ วข้องต้องมีหน้าทีใ่ ห้การสนับสนุนอย่างเหมาะสม
11. พยายามให้ทุกฝ่ ายเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนให้มากทีส่ ุดเท่าที่จะทาได้ เพื่อ
ค้นหาทางเลือกทีจ่ ะก่อให้เกิดแผนงานทีด่ ี ทีจ่ ะทาให้บรรลุวตั ถุประสงค์โดยใช้ต้นทุนต่ าแต่ได้
ผลลัพธ์สงู
12. พิจารณาตรวจสอบปั ญหาทีจ่ ะมีผลกระทบต่อการปฏิบตั ติ ามแผน เพื่อนามาหาทาง
แก้ไข
13. ต้องมีการประสานแผนงานทีด่ รี ะหว่างแผนกและระดับหน่ วยงานย่อยขององค์การ
ระดับบุคคลในการปฏิบตั ติ ามแผน ซึง่ จะช่วยลดความซ้าซ้อน ความขัดแย้งลงขอองการปฏิบตั งิ าน
14. รับรูถ้ งึ ข้อจากัดและความไม่แน่ นอนทีอ่ าจเกิดขึน้ เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการหา
ทางเลือกทีจ่ ะใช้เป็ นแผนสารองทีจ่ ะนาเอามาใช้ได้เมือ่ จาเป็ น
15. กาหนดมาตรการทีจ่ ะใช้วดั และติดตามผลการปฏิบตั งิ านตามแผน โดยใช้เครื่องมือ
วัดผลทีม่ คี วามชัดเจน เชื่อถือได้ แม่นยา ในเชิงปริมาณทีว่ ดั เป็ นจานวนตัวเลขได้
16. ต้องวางแผนให้มคี วามยืดหยุน่ เปลีย่ นแปลงและปรับได้ตามสถานการณ์
117

กระบวนการบริ หารจัดการแผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยอาจใช้แนวทางในการบริหาร
ทีเ่ ป็ นขัน้ ตอนในกระบวนการวางแผนงานตัง้ แต่เริม่ จนสิน้ สุด ว่าจะต้องทาอะไร ทาอย่างไร ทาแล้ว
จะเริม่ ลงมือทาวันเวลาใด และสิ้นสุดเมื่อไหร่ จะให้ใครเป็ นผู้รบั ผิดชอบ และต้องใช้ทรัพยากร
จานวนเท่าไหร่ กระบวนการวางแผนงานความด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจึงต้องมี
แนวทางการบริหารงานอย่างเป็ นระบบ (systematic) โดยอาศัยวงจร PDCA ซึ่งเป็ นแนวทาง
การดาเนินให้มปี ระสิทธิภาพ ให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง W. Edwards Deming ได้
นามาเผยแพร่ เป็ นเครื่องมือสาหรับการปรับปรุงกระบวนการ หรือเรียกว่า Deming Cycle เป็ น
วงจรการบริหารงานคุณภาพ ประกอบด้วย 4 ขัน้ ตอน ได้แก่ P (Plan) คือ ขัน้ การวางแผน D
(Do) คือ ขัน้ การปฏิบตั ติ ามแผน C (Check) คือ ขัน้ ตอนการตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ านเป็ นไป
ตามแผน และ A (Action) คือ ขัน้ แก้ไข ปรับปรุง เพื่อการปรับปรุง ดาเนินการอย่างเหมาะสม หรือ
การจัดทามาตรฐานใหม่ ซึง่ ถือว่าเป็ นพืน้ ฐานการยกระดับคุณภาพ ให้เกิดการพัฒนาให้ดยี งิ่ ขึน้
อย่างเป็ นระบบวัฎจักร
อธิบายโดยมีรายละเอียดในแต่ละขัน้ ตอน ดังต่อไปนี้
1. ขัน้ การวางแผน การวางแผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มีแนวทางในการ
วางแผนงานดังนี้
1.1 ศึกษาสภาพ และวิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ เกี่ยวกับความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัยขององค์การอย่างละเอียดรอบคอบ เพื่อน ามาเป็ นข้อมูลในการวางแผนก าหนด
วัตถุประสงค์ท่จี ะปรับปรุงแผนการปฏิบตั ิงานให้บรรลุ ตามวัต ถุประสงค์ท่กี าหนด รวมทัง้ นา
ข้อ มูล ตัง้ แต่อ ดีต และปั จจุบนั มาพิจารณาร่ว มกันเพื่อ สามารถคาดการณ์ ส ิ่งที่จะเกิดขึ้นได้ใ น
อนาคต โดยจะต้อ งมีการพิจารณาล าดับความส าคัญ เกี่ยวกับเรื่อ งความเสี่ยงภัย และความ
สูญเสีย
1.2 การกาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ควรมีลกั ษณะดังนี้
1.2.1 มีความสอดคล้องกับนโยบายขององค์การ
1.2.2 มีความสอดคล้องกับข้อกาหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กฎหมาย และมาตรฐาน
1.2.3 สามารถวัดถึงความสาเร็จของวัตถุประสงค์และประสิทธิภาพของแผนได้
1.2.4 สามารถปฏิบตั ไิ ด้จริง และได้รบั ความร่วมมือจากพนักงานทุกส่วนงาน
และทุกระดับในองค์การ
1.2.5 มีการจัด ท าแผนงานและก าหนดเป้ า หมายของแผนอย่า งละเอีย ด
เพื่อตรวจสอบว่าแผนงานได้นาไปใช้ครบถ้วนหรือไม่
1.2.6 มีการกาหนดผูร้ บั ผิดชอบอย่างชัดเจน มีการแบ่งหน้าทีใ่ ห้เหมาะสมเพื่อ
ประสิทธิภาพและความร่วมมือกัน
118

1.2.7 มีความเหมาะสมทันสมัย กับเวลา และโอกาส และไม่ขดั ต่อหลักกฎหมาย


บ้านเมือง
1.2.8 เมื่อนาแผนไปใช้มกี ารกาหนดวิธกี ารใช้ปฏิบตั แิ ละระยะเวลาดาเนินการ
ให้เหมาะสม
1.2.9 ก าหนดและเตรียมการปั จ จัยต่ า งๆ ที่จาเป็ นต้อ งใช้ใ นการดาเนิ นการ
เช่น คน เครือ่ งมือ วัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ ฯลฯ เพื่อประสิทธิภาพในการดาเนินงาน
1.2.10 วัด ผลและท าการทบทวนความครบถ้ว นสมบูร ณ์ ข องแผนงาน และ
ประสิทธิภาพของแผนงาน
2. ขัน้ การปฏิ บตั ิ ตามแผน ขัน้ ตอนนี้เป็ นการนาแผนทีไ่ ด้กาหนดไว้นาลงมาสู่การปฏิบตั ิ
หรือเป็ นปฏิบตั จิ ริงให้ประสิทธิภาพมากทีส่ ุด ประกอบด้วย กิจกรรมทีส่ าคัญการเตรียมการก่อน
ดาเนินงาน กี่ลงมือปฏิบตั ิตามแผน การติดตามงาน และการแก้ไขปั ญหาการทางานที่เกิดขึ้น
รวมทัง้ การปรับปรุงพัฒนาให้ดขี น้ึ
ดังนัน้ ในขัน้ ตอนนี้ผู้บริหารจะมีบทบาทในการก ากับควบคุมแผนงานความปลอดภัย
โดยมีการมอบหมายหน้ าที่ใ ห้บุคคลได้ดาเนินการ จัดสรรทรัพยากรอะไรบ้าง ทีมงานที่เ ป็ น
หัวหน้าทีมคอยประสานงานให้การดาเนินงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ หน้าทีใ่ นการดูแล
ในการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ เป็ นหน้ าที่หลักและ
สาคัญของผูบ้ ริหาร เพื่อให้งานมีความสาเร็จลุล่วงลงได้
3. ขัน้ ตอนการตรวจสอบผลการปฏิ บตั ิ งาน เป็ นการดาเนินการตรวจติดตามความ
ก้าวหน้าของแผนทีไ่ ด้ลงมือปฏิบตั เิ ป็ นระยะๆ ตามกาหนด อาจจะมีการตรวจสอบทุกๆ 3 เดือน
เพื่อเป็ นการทราบการดาเนินงานมีปัญหาอย่างไรบ้าง ผลการดาเนินงานตรงตามวัตถุป ระสงค์
หรือไม่ ปั ญหาหรือจุดอ่อนที่พบในการดาเนินการ และข้อดีของการดาเนินงาน หากไม่เป็ นไป
ตามแผนต้องปรับเปลีย่ น ดังนัน้ ผูป้ ระสานงานจะเป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูล เพื่อให้งานด้านความปลอดภัย
เป็ นไปตามแผนทีก่ าหนดไว้ ซึง่ สามารถวัดได้ในสิง่
3.1 ปริมาณงานทีส่ ามารถทาได้หรือผลงานทีเ่ กิดขึน้
3.2 คุณภาพของงานเป็ นไปตามทีก่ าหนดในแผน
3.3 เวลาทีใ่ ช้สาหรับการทางานเป็ นไปตามแผนงานทีไ่ ด้กาหนดไว้
3.4 ค่าใช้จา่ ยเป็ นไปตามแผนงาน
3.5 ความพึงพอใจของทีมงานทีม่ ตี ่อการดาเนินงาน
4. ขัน้ แก้ไข ปรับปรุง เมื่อได้มกี ารตรวจสอบและติดตามประเมินผลแผนงานแล้ว หาก
พบว่าไม่เป็ นไปตามแผนทีก่ าหนดไว้ หรือมีความคาดเคลื่อน จะต้องมีการดาเนินการหามาตรการ
ในการแก้ไข ปรับปรุง หรือจัดทามาตรฐานใหม่ ซึง่ ถือว่าเป็ นพื้นฐานของการยกระดับคุณภาพ
ซึง่ นับว่าเป็ นการนาผลการประเมินมาพัฒนาแผนงานให้มกี ารพัฒนาให้ดขี น้ึ เรื่อยๆ อย่างไรก็ตาม
119

องค์การต่างๆ ย่อมมีการพิจารณาปรับปรุงแผนงาน ทีไ่ ด้มกี ารวิเคราะห์แล้วนัน้ อาจจะต้องคานึงถึง


ปั จจัยทีม่ ผี ลต่อการปรับปรุง แก้ไขมากระทบต่อแผนงานทีก่ าหนดไว้เสมอ ซึง่ อาจต้องมีการแก้ไข
มาตรฐาน วัตถุประสงค์ หรือวิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับการกากับและควบคุมใหม่
ซึง่ ปั จจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อแผนงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ได้แก่
4.1 ปั จจัยภายนอก ซึง่ เป็ นปั จจัยทีไ่ ม่สามารถควบคุมโดยองค์การได้ แต่ผบู้ ริหารที่
ต้องกากับดูแลแผนงานด้านความปลอดภัยจาเป็ นต้องนามาประกอบในการพัฒนาและปรับปรุง
แผนให้ดขี น้ึ ได้แก่
4.1.1 กฎหมายหรือการกาหนดมาตรฐานใหม่ ทีต่ ้องให้จดั ทาเพื่อให้เป็ นสากลหรือ
ตามทันโลกของการเปลีย่ นแปลงในการดุแลพัฒนางานด้านความปลอดภัย ซึง่ ต้องมีผลกระทบ
ระหว่างจัดทาแผนแน่นอน
4.1.2 ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีท่ที นั สมัย ที่นาใช้เกี่ยวกับมาตรฐานความ
ปลอดภัยในการทางาน เช่น เครื่องจักรทีม่ รี ะบบทันสมัย อุปกรณ์ป้องกันอันตรายในการทางาน
ส่วนบุคคล เป็ นต้น
4.1.3 การพัฒนาทางด้านวิชาการใหม่ๆ เกี่ยวกับความปลอดภัยที่การดาเนินการ
ตามแผนทาอยู่ ซึง่ อาจจะกระทบและเสียหายเกิดขึน้ หากไม่มกี ารปั บปรุงแผน
4.1.4 การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ได้แก่ ภัยพิบตั ิธ รรมชาติ การเปลี่ยนแปลงทาง
การค้าโลกทีม่ ขี อ้ กาหนดต่างๆ เพิม่ ขึน้ อันส่งผลแระทบต่อแผนงานในขณะนัน้
4.2 ปั จ จัย ภายใน เป็ น สิ่ง ที่เ กิด ขึ้น หรือ ด าเนิ น การโดยมีก ารควบคุ ม ก ากับ โดย
องค์การเอง ปั จจัยที่เกิดขึ้นภายในเป็ นสิง่ ที่ต้องรีบดาเนินการหากพบ และนามาเป็ นข้อมูลใน
การพิจารณาปรับปรุงและแก้ไขได้ทนั ที ได้แก่
4.2.1 สถิติ หรืออัตราการบาดเจ็บและเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน
4.2.2 ความสูญเสีย หรือความเสียหายอันเกิดจากการปฏิบตั งิ านของพนักงาน
4.2.3 ผลการตรวจสอบความปลอดภัย หากพบปั ญ หาที่ร้า ยแรงที่ต้ อ งรีบ
ดาเนินการ
4.2.4 ผลจากการสอบสวนอุบตั เิ หตุ และการรายงานผล /สาเหตุการเกิดอุบตั เิ หตุ
หรืออันตรายต่างๆ อันจากการทางาน
4.2.5 ข้อร้องเรียนจากพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการทางานทีไ่ ม่ปลอดภัยต่างๆ
4.2.6 ปั ญหา/อุปสรรคในการดาเนินงาน เช่น การขาดงบประมาณ การขาดแคลน
กาลังคนทีม่ คี วามรูท้ กั ษะในระหว่างการดาเนินงาน ปั ญหาด้านแรงงานสัมพันธ์ ฯลฯ
ดังนัน้ การดาเนินการตามวงจร PDCA หมุนครบรอบ สามารถเป็ นแรงผลักดันสาหรับ
การดาเนินงานให้รอบต่อไป และก่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ ผู้บริหารระดับสูง
ต้องให้ความสาคัญในการดาเนินการตามแผนงาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ในการทางาน ต่อพนักงาน องค์การ ลูกค้า และประเทศชาติ ดังแสดงในภาพที่ 2.7
120

(ฝ่ ายบริหาร)

วางแผน
วางแผน
(ฝ่ ายบริหาร)
(พนักงาน)
ดาเนิ นการให้ ดาเนิ นการให้
เหมาะสม เหมาะสม ปฏิ บตั ิ ปฏิ บตั ิ

ตรวจสอบ
ตรวจสอบ

(ผูต้ รวจสอบ และฝ่ ายบริหาร)

ภาพที่ 2.7 วงจร PDCA ในการพัฒนาแผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search?q=แผนความปลอดภัยแบบPDCA & source.

กิ จกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การสร้างความปลอดภัยในสถานประกอบการเป็ นหน้าทีท่ ส่ี าคัญของผูบ้ ริหารทีจ่ ะต้องมี
การกาหนดนโยบายอย่างชัดเจน ด้วยการวางแผนงาน การนาไปปฏิบตั ิ การตรวจสอบ และการ
ประเมิน ผลที่ม ีร ะบบ รวมทัง้ มีก ารจัด กิจ กรรมหลัก ที่เ ป็ น พื้น ฐานด้า นความปลอดภัย และ
อาชีว อนามัยตามกฎหมายก าหนด มีการก าหนดโยบายความปลอดภัย ก าหนดหน้ าที่ของ
ผูร้ บั ผิดชอบของบุคลากรทุกระดับในองค์การ การแต่งตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอ
นามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน การมอบหมายเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน
ด้านความปลอดภัยให้ถูกต้องตามกฎหมายกาหนด การรายงานผลการดาเนินงานของเจ้าทีห่ น้า
ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ เพื่อให้การจัดกิจกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีว -
อนามัยสามารถนาไปสู่การพัฒนาบุคลากรให้มสี ุขภาพอนามัย และความปลอดภัยในการทางาน
ทัง้ นี้ องค์การอาจพิจารณาในการเลือกกิจกรรมเสริมอื่นๆ ทีม่ คี วามเหมาะสมกับสภาพ
การณ์ท่เี หมาะสมมีความพร้อมในการดาเนินงานของสถานประการนัน้ ๆ เพื่อให้เ ป็ นรณรงค์
121

ส่งเสริมความปลอดภัยในการทางาน และกระตุ้นจูงใจ สร้างจิตสานึกให้บุคลากรตระหนักถึง


ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึ้น สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ได้
การจัดกิ จกรรมตามแนวทางการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
เมื่อองค์การได้เห็นความสาคัญของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแล้วนัน้
การจัดกิจกรรมความปลอดภัยและอาชีวอนามัยก็ย่อมหาแนวทางในการดาเนินกิจกรรมให้เกิด
ความสมบูรณ์เพื่อให้เกิดความยังยื ่ น เป็ นแนวทางทีด่ ี ซึง่ จะต้องดาเนินกิจกรรม 5 องค์ประกอบ
ได้แก่ การจัดตัง้ องค์กรบริหารงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การค้นหาสาเหตุของอันตราย
ในสถานที่ทางาน การป้ องกันและควบคุ มสาเหตุ ของอันตราย การลดความสูญเสีย และการ
วัดผล/ประเมินผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มีรายละเอียดดังนี้ (สุดาว
เลิศวิสุทธิไพบูลย์, 2553, หน้า 62-66 และ ศีขรินทร์ สุขโต, 2553, หน้า 142-150)
1. การจัด ตัง้ องค์กรบริ ห ารงานความปลอดภัย และอาชี วอนามัย ประกอบด้ว ย
กิจกรรมย่อย ได้แก่
1.1 การกาหนดนโยบายด้านความปลอดภัย นโยบายคือ หลักการ หรือแนวทางใน
การดาเนินงาน ทีส่ าคัญของงานด้านความปลอดภัยในองค์การ หากองค์การใดขาดนโยบายด้าน
นี้แล้วย่อ มทาให้ ความปลอดภัยในองค์การ ยากที่จะเกิดขึ้นได้ นโยบายจึงเป็ นเครื่องยืนยัน
เจตนารมณ์ของนายจ้างทีจ่ ะทาให้พนักงานทุกคนได้ยดึ ถือและปฏิบตั ใิ ห้เกิดความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัยในการทางาน
1.2 การจัดตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน คณะกรรมการความปลอดภัยในการทางานเป็ นผูท้ ม่ี บี ทบาทความสาคัญในการช่วย
ลดอุ บ ัติเ หตุ ใ นการทางาน เนื่อ งจากมีห น้ าที่ร บั ผิดชอบโดยตรงในการวางแผนงาน วิธ ีก าร
ดาเนินการตรวจตราดูแลและให้คาแนะนา การประเมินผล การรายงาน การสอบสวนวิเคราะห์
สาเหตุของการประสบอันตราย และการเสนอแนะต่อฝ่ ายบริหารในการเป็ นผู้ท่จี ะประสานงาน
ระหว่างฝ่ ายบริหารกับฝ่ ายปฏิบตั กิ าร เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการดาเนินงานให้เกิดความ
ปลอดภัยขึน้ ซึ่งเป็ นไปตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความ
ปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549 ซึง่ กาหนดให้ม ี คณะกรรมการ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบการ
1.3 การจัดตัง้ หน่วยงานและเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน การดาเนินงาน
ด้านความปลอดภัย ต้องมีปฏิบตั ิตามแผนงานที่กาหนดไว้ทุกขัน้ ตอนและชัดเจนรวมทัง้ ต้อง
ดาเนินงานไปอย่างต่อเนื่อง องค์การจึงตัง้ มีการจัดตัง้ หน่ วยงานความปลอดภัยและเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทางาน จะต้องเป็ นไปตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและ
จัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549 หมวด 3
จัดให้มกี ารจัดตัง้ หน่ วยงานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของ
สถานประกอบการ ซึ่งนายจ้างที่มลี ูกจ้างตัง้ แต่ สองคนขึน้ ไป และสถานประกอบการตามข้อ
122

1(2) ถึง (5) ที่มลี ูกจ้างตัง้ แต่สองร้อยคนขึน้ ไปจัดให้มหี น่ วยงานความปลอดภัย และจัดให้ม ี


เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน ซึง่ หมายถึง ลูกจ้างทีน่ ายจ้างแต่งตัง้ ให้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ น
เจ้าหน้ าที่ค วามปลอดภัย ในการทางานระดับหัว หน้ างาน ระดับเทคนิค ระดับ เทคนิ ค ขัน้ สูง
และระดับวิชาชีพ
1.4 การมอบหมายหน้าทีค่ วามรับผิดชอบด้านความปลอดภัย ในการทางานทุก
องค์การพนักงานจะต้องหน้าทีค่ วามรับผิดชอบตามตาแหน่ งงานทีร่ บั การบรรจุแต่งตัง้ ให้ปฏิบตั ิ
หน้าทีโ่ ดยและทุกตาแหน่งจะต้องมีหน้าทีใ่ นด้านความปลอดภัยในการทางานของตนเองอยู่แล้ว
การกาหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ (Job Description) เพื่อให้ปฏิบตั งิ านตามความรู้ ความสามารถ
และทักษะทีต่ นเองถนัด
2. การค้นหาสาเหตุของอันตรายในสถานที่ทางาน หน้าทีใ่ นการค้นหาเป็ นกิจกรรม
ย่อยทีจ่ ะต้องดาเนินการโดยลักษณะดังต่อไปนี้
2.1 การตรวจความปลอดภัย ได้แก่ การตรวจโดยผูช้ านาญการ เป็ นลักษณะการตรวจ
ระบบเฉพาะเรื่องเพื่อเป็ นการบารุงรักษาระบบ เช่น การตรวจระบบไฟฟ้ าซึง่ ต้องตรวจ วิศวกร
ไฟฟ้ า หรือการตรวจหม้อน้ า โดยวิศวกรเครื่องกล และการตรวจด้วยหัวหน้างาน เป็ นการตรวจ
สภาพพื้นที่การปฏิบตั งิ าน เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยในสถานทีท่ างาน อุปกรณ์ เครื่องจักร
พร้อมใช้งาน อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลของพนักงาน นอกจากนี้ยงั ตรวจเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทางาน ว่าเป็ นไปตามข้อกาหนดกฎกระทรวง การตรวจโดยผูบ้ ริหาร และ
คณะกรรมการความปลอดภัยในโรงงาน เป็ นต้น
2.2 การตรวจประเมินสิ่งแวดล้อมในการทางาน เช่น การตรวจประเมินสิง่ แวดล้อม
ทางกายภาพ ได้แก่ ความร้อน แสง เสียง เป็ นต้น และการตรวจสิง่ แวดล้อมด้านเคมี ได้แก่
การตรวจวัดปริมาณ ความเข้มข้นของสารเคมี ในบรรยากาศการทางานในรูปของฝุ่ น ฟูม ก๊าซ
ไอระเหย ควัน และการทางานทีเกีย่ วข้องกับสารเคมี เป็ นต้น
2.3 การจัดทาคู่มอื การปฏิบตั งิ าน คู่มอื ในการทางานนี้จดั ทาขึน้ มาสาหรับให้พนักงาน
เป็ นเอกสารสาหรับการทางานทีม่ กี ารเกิดอุบตั เิ หตุเกิดขึน้ บ่อยครัง้ หรือมีความรุนแรง โดยทีค่ ่มู อื
ในการปฏิบตั งิ านมักจะมาจากการวิเคราะห์ความเสีย่ งหรือการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
โดยคู่มอื การทางานจะมีรายละเอียดขัน้ ตอนในการทางานทีถ่ กึ ต้องเป็ นขัน้ ตอนอย่างละเอียด
2.4 การสังเกตการณ์ เป็ นลักษณะการเฝ้ าสังเกตการณ์การปฏิบตั งิ านของพนักงาน
เป็ นไปตามคู่มอื การปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้มาตรฐานตามทีก่ าหนดซึง่ จัดว่าเป็ นการสังเกตการณ์กระทา
ทีไ่ ม่ปลอดภัย หรือการกระทาทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน หากหัวหน้างานพบว่าผิดขัน้ ตอนการทางาน ก็
จะทาการตัดเตือนและแก้ไข นอกจากนี้ยงั อาจมีการปรับปรุงคู่มอื ให้ได้มาตรฐานใหม่หากพบว่า
มีขอ้ บกพร่อง
2.5 การสอบสวนอุบตั เิ หตุ เป็ นการค้นหาสาเหตุของอุบตั เิ หตุหลังจากพนักงานเกิด
อุบติเหตุหรือประสบเหตุ บาดเจ็บ หรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางาน โดยการสอบถามผูท้ อ่ี ยู่ใน
123

เหตุการณ์หรือผูเ้ กีย่ วข้อง และสังเกตจากลักษณะของการเกิดอุบตั เิ หตุ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลทีจ่ ะนาไป


บันทึกรายงานและทาการวิเคราะห์หาสาเหตุต่อไป
2.6 การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ เป็ นขัน้ ตอนต่อจากการนาข้อมูลที่ได้จากการสอบสวน
การเกิดอุบตั เิ หตุมาวิเคราะห์หาสาเหตุ และหามาตรการแก้ไข ป้ องกัน และปรับปรุ งการทางาน
รวมทัง้ เครือ่ งจักร อุปกรณ์ และตัวพนักงานต่อไป
3. การป้ องกันและควบคุมสาเหตุของอันตราย มีกจิ กรรมย่อย ได้แก่
3.1 การแก้ไขปรับปรุงตามแบบตรวจความปลอดภัย ตามทีผ่ ู้ตรวจความปลอดภัย
ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับสภาพที่ไม่ปลอดภัยทัง้ เครื่องจักรอุปกรณ์ วิธกี าร ระบบ และตัวพนักงาน
หรือมีการตรวจระบบการป้ องกันอัคคีภยั ในสถานประกอบการ สามารถทาการแก้ไข ปรับปรุงได้
ตามแบบตรวจความปลอดภัยจากเจ้าหน้าที่ และผูต้ รวจประเมิน
3.2 การจัดหาอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล เช่น หมวกนิรภัย แว่นตา
หน้ากากป้ องกันสารพิษ ถุงมือ ปลักอุ ๊ ดหู รองเท้านิรภัย ฯลฯ ซึง่ จะช่วยป้ องกันและลดความรุนแรง
ของการเกิดอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ เจ็บป่ วย ในขณะปฏิบตั งิ าน แต่การเลือกใช้อุปกรณ์ต้องได้มาตรฐาน
ทีก่ าหนดและใช้ได้ตามขนาด ลักษณะของผูส้ วมใส่ และต้องจัดหาให้เพียงพอกับความต้องการที่
ใช้งาน และอบรม สอนวิธกี ารใช้อุปกรณ์ท่สี วมใส่ และวิธกี ารบารุงรักษาเพื่อให้มกี ารใช้งานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
3.3 การจัดกิจกรรม 5 ส เพื่อความปลอดภัยในการทางาน เป็ นกิจกรรมทีอ่ งค์การมี
การใช้งบประมาณน้ อ ยที่สุ ด เนื่ อ งจากกิจกรรมนี้ จ ะเป็ นการอาศัย ความร่ ว มมือ ร่ ว มใจของ
พนักงานในสถานประกอบการ และใช้ได้ในทุกหน่ ว ยงานไม่ว่าภาคธุรกิจที่มขี นาดเล็กขึ้นไป
จนถึงใหญ่ซ่งึ ก่อให้เกิดประโยชน์ท่คี ุ้มค่า ช่วยให้สถานที่ทางานมีความเป็ นระเบียบเรียบร้อย
สะอาด มีการใช้ทรัพยากรต่างๆ อย่างคุ้มค่าเต็มประสิทธิภาพ ได้ผลิตผลที่สูง และเป็ นรากฐาน
ของความปลอดภัยในองค์การ
3.4 การอบรมความปลอดภัย กิจกรรมนี้นับว่าเป็ นความสาคัญอันดับแรกของงาน
ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เพื่อ กระตุ้น ส่งเสริม และความรูใ้ นการนาไปใช้ในการ
ปฏิบตั งิ านให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน องค์การต้องมีการจัดให้มกี ารอบรมให้ความรูท้ ุก
ระดับ ทัง้ ผูบ้ ริหาร ผู้บงั คับบัญชา หัวหน้างาน และพนักงาน โดยมีการจัดหาหัวข้อที่เหมาะสม
และจาเป็ นเร่งด่วนในการปฏิบตั งิ านเพื่อนาไปสูค้ วามปลอดภัยในการทางาน
3.5 การจัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทางาน เป็ นการสร้างเสริมความรู้
และทัศนคติดา้ นความปลอดภัย และเป็ นการกระตุ้นความสนใจของพนักงาน ซึง่ จะทาให้พนักงาน
ทุกระดับมาร่วมมือร่วมใจกัน พัฒนาไปสู่การทางานเป็ นทีมด้านความปลอดภัยได้ รวมทัง้ ได้เป็ น
การปฏิบตั งิ านจริง และเป็ นการพัฒนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมด้านความปลอดภัยต่อเนื่อง
3.6 การซ่อมบารุงเพื่อความปลอดภัย โดยทัวไปเครื ่ ่องจักรและอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการ
ผลิตย่อมมีอายุการใช้งานทีแ่ ตกต่างกัน ดังนัน้ จะต้องมีแผนการซ่อมบารุงทีร่ ะบุเวลาเป็ นทีแ่ น่ นอน
124

และจัดทาเป็ นเอกสารการบันทึกในการตรวจสอบตามระยะเวลา เพื่อป้ องกันและรองรับการเสื่อม


ของเครือ่ งจักรการใช้งานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และเกิดความปลอดภัยในการใช้งานของพนักงาน
4. การลดความสูญเสีย มีกจิ กรรมย่อยในการดาเนินการ ได้แก่
4.1 การปฐมพยาบาล เป็ นดูแลเบื้องต้นเพื่อลดความรุนแรงของการเกิดอุบตั เิ หตุ
ก่อนการส่งประสบอันตรายให้ได้รบั การรักษาพยาบาลอย่างเหมาะสมและทันท่วงที
4.2 การเฝ้ าระวังทางการแพทย์ จะกระทาโดยการจัดทาโครงการตรวจสุ ขภาพ
ประจาปี หรือการตรวจหาปริมาณของสารเคมีในร่างกาย/การทดสอบสมรรถภาพของลูกจ้าง
ตามลัก ษณะงาน เพื่อประเมินสภาวะเสี่ยงต่ อการเจ็บป่ วยหรือ โรคเนื่องจากการทางาน เช่น
เลือดเพื่อหาสารพิษ หรือตรวจปั สสาวะเพื่อหาความผิดปกติทางเคมี การตรวจสมรรถนะของ
ปอด การได้ยนิ และการมองเห็น เป็ นต้น
4.3 การรักษาพยาบาลและการฟื้ นฟูสมรรถภาพ ดาเนินการโดยประสานงานกับ
โรงพยาบาลหรือสานักงานประกันสังคมในเจตพื้นที่ เพื่อให้ลูกจ้างที่ประสบอันตราย บาดเจ็บ
หรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางานได้รบั การดูแลรักษาพยาบาลอย่างครบถ้วน ภายหลังจากจาก
การรักษาให้มสี ุขภาพจิตใจทีด่ ใี กล้เคียงปกติมากทีส่ ุด
4.4 การจัดทาและการดาเนินงานตามแผนฉุ กเฉิน เป็ นการเตรียมการเพื่อให้สามารถ
ป้ องกันและระงับอันตรายจากอุบตั ิเหตุท่เี กิดขึ้นโดยไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ า เป็ นป้ องกัน
ความเสีย่ งที่จะเกิดขึน้ โดยไม่คาดคิดนัน่ เอง เช่น การเกิดอัคคีภยั สารเคมีรวไหล
ั่ แผนฉุ กเฉิน
ประกอบด้วยการดาเนินการ 3 ขัน้ ตอน คือ
4.4.1 ก่อนการเกิดเหตุฉุ กเฉิน ได้แก่ จัดให้มแี ผนการอบรม แผนรณรงค์เพื่อ
ป้ องกันอัคคีภยั และแผนการตรวจตราความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องมือให้มคี วามพร้อมสามารถ
ใช้งานได้ดี
4.4.2 ขณะเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ได้แก่ แผนการดับเพลิง หรือหยุดยัง้ การ
รัวไหลของสารเคมี
่ แผนการอพยพ และแผนบรรเทาทุกข์ เป็ นต้น
4.4.3 หลังจากเหตุ การณ์ ส งบลงแล้ว ได้แก่ แผนเก็บกู้ แผนบรรเทาทุกข์
เยียวยา และแผนปฏิรปู ฟื้ นฟู
5. การวัดผล/ประเมิ นผลการดาเนิ นงานด้ านความปลอดภัยและอาชี วอนามัย
ดาเนินการจัดกิจกรรมย่อย
5.1 การประเมินผลจากแบบตรวจความปลอดภัย อาจจะประเมินได้จากการตรวจ
ความปลอดภัย โดยแบบตรวจทีม่ กี ารรับรองจากผูเ้ ชีย่ วชาญและคณะกรรมการตรวจความปลอดภัย
ครอบคลุมอันตรายในสถานประกอบการนัน้ ผลการตรวจต้องเป็ นระดับคะแนน ทีส่ ามารถวัดได้
ในเชิงปริมาณ น่าเชื่อถือได้ โดยหน่วยงานความปลอดภัยและผูท้ เ่ี กี่ยวข้องจะต้องมีการปรับปรุง
แก้ไขปั จจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายในการทางาน และพยายามรักษาระดับคะแนนไม่ให้ลดลงซึ่ง
จะต้องควบคุมปั จจัยต่างๆ ด้วย
125

5.2 การเก็บสถิตกิ ารประสบอันตราย บาดเจ็บและเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางานของ


พนักงาน หน่ วยงานความปลอดภัยที่มหี น้าทีเ่ กี่ยวกับการวิเคราะห์ขอ้ มูลสถิติ การจัดเก็บ และ
จัดทารายงาน ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยหรือ เดือดร้อน
ราคาญอันเนื่องจากการทางาน ซึง่ การเก็บสถิตกิ ารประสบอันตราย บาดเจ็บและเจ็บป่ วย เนื่องจาก
การทางาน จะต้องมาจากการสอบสวนอุบตั เิ หตุทม่ี กี ระบวนการถูกต้อง ตามหลักการและข้อกาหนด
ของผูท้ ม่ี หี น้าทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรง ซึง่ จัดทาการสรุปทุกเดือน และนาเสนอต่อคณะกรรมการความ
ปลอดภัย และจัดส่งให้สานักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัด หรือ สานักงานสวัสดิการ
และคุม้ ครองแรงงานเขตพืน้ ที่
5.3 การวัดความก้าวหน้าของการดาเนินกิจกรรมความปลอดภัย โดยจัดให้มหี น่ วยงาน
ด้านความปลอดภัยในการรับผิดชอบเกี่ยวผลคะแนนในกิจกรรมทีไ่ ด้ปฏิบตั แิ ล้วนามาใส่คะแนน
ตัวเลขจานวนครัง้ ของการปฏิบตั ติ ามกิจกรรมในแบบกรอกคะแนน (safety score) แล้วรวบรวม
ประเมินผลในทุกกิจกรรม
กิ จกรรมส่งเสริ มความปลอดภัยในการทางาน
กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทางานเป็ นกลยุทธ์ทม่ี กี ารกาหนดมาจากแผนงาน
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ซึง่ กิจกรรมประกอบด้วยประเภทต่างๆ ทีจ่ ะช่วยรณรงค์ ส่งเสริม
และกระตุน้ ให้พนักงานมีความตระหนัก รับรูถ้ งึ อันตรายทีเ่ กิดจากอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ เจ็บป่ วยอัน
เนื่องมาจากการทางาน รวมทัง้ กระตุ้นจิตสานึกของพนักงานให้เห็นถึงความสาคัญของความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน ซึง่ ในการจัดกิจกรรมแต่ละประเภทผูบ้ ริหารจาเป็ นต้อง
มีการพิจารณาเลือกกิจกรรมใดๆ ให้มคี วามเหมาะสมกับประเภทของกิจการ ลักษณะงาน ขนาด
สภาพการณ์และความพร้อมของกิจการหรือสถานประกอบการนัน้ ๆ ทัง้ นี้ กิจกรรมส่งเสริมความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัย ส่วนใหญ่ในสถานประกอบการมักนิยมจัดกิจกรรม ได้แก่ นิทรรศการ
ความปลอดภัย การบรรยายพิเศษ การสนทนาความปลอดภัย การประกวดคาขวัญความปลอดภัย
การตรวจสุขภาพประจาปี การทดสอบสมรรถภาพ การรณรงค์สวมอุ ปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วน
บุคคลให้กบั พนักงาน การรณรงค์กจิ กรรม 5ส. การประกวดภาพโปสเตอร์ การประกวดการรายงาน
สภาพงานทีไ่ ม่ปลอดภัย การแข่งขันประกวดความสะอาด การจัดฉายวีดโี อความปลอดภัย การ
รณรงค์ดว้ ยโปสเตอร์และสัญลักษณ์ความปลอดภัย การรณรงค์ลดอุบตั เิ หตุเป็ นศูนย์ดว้ ย KYT
การทาแผ่นป้ ายแสดงสถิตอิ ุบตั เิ หตุหรือป้ ายประกาศ การตอบปั ญหาชิงรางวัล การกระจายเสียง
บทความ การเผยแพร่บทความในวารสาร การทัศนศึกษาในสถานประกอบการอื่น เป็ นต้น
กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทางานเป็ นกิจกรรมหนึ่งของสถานประกอบการ
ซึง่ จัดขึน้ เพื่อการรณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัยแก่ลูกจ้างอย่างเป็ นรูปธรรม เพื่อให้เป็ นไปตาม
นโยบายและแผนการดาเนินงานของสถานประกอบการนัน้ ๆ หากสถานประกอบการใดต้องการ
ดาเนินการกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย สามารถพิจารณาเลือกกิจกรรมต่างๆ ทีเ่ หมาะสมกับ
สภาพการณ์และความพร้อมของสถานประกอบการ ดังนี้
126

1. การจัดนิ ทรรศการ
เป็ นกิจกรรมที่มคี ่าใช้จ่ายในการดาเนินการต่ า สามารถจัดทาภาพชุดนิทรรศการได้
จากเรื่องราวภายในสถานประกอบการเอง โดยนาภาพอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ สถิตกิ ารประสบอันตราย
ของลูกจ้างเมือ่ มีภาพเหตุการณ์จริงให้ระบุสาเหตุ ผลเสียหาย และวิธกี ารป้ องกันแก้ไข นิทรรศการ
สามารถจัดแสดงในวันแห่งความปลอดภัย หรือสัปดาห์ความปลอดภัยเพื่อให้ลูกจ้างเกิดความ
ตระหนักและมีจติ สานึกในการทางานอย่างปลอดภัย และทาให้ลูกจ้างเข้ามามีส่วนร่วมได้เป็ น
จานวนมาก
1.1 รูปแบบของการจัดนิทรรศการทีป่ ระกอบด้วยเรือ่ งราวและแผ่นภาพต่างๆ
1.2 การนาชมนิทรรศการโดยมีวทิ ยากรนากลุ่ม เพื่อชีแ้ จงลาดับเรื่องราวพร้อม
กับชีภ้ าพประกอบของนิทรรศการด้วย
1.3 การแสดงเรื่อ งราวต่ า งๆ ด้ ว ยการฉายภาพสไลด์ธ รรมดา หรือ
สไลด์มลั ติวชิ นั ่ คลิปวีดโี อ เป็ นต้น
1.4 นิทรรศการทีน่ าเรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ จริงมาเสนอ
2. การบรรยายพิ เศษ
เป็ นกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจของลูกจ้าง อาจเชิญวิทยากรภายใน
หน่วยงาน หรือจากภายนอกก็ได้ มาให้ขอ้ แนะนาแก่ผบู้ ริหารหรือลูกจ้างของสถานประกอบการนัน้
อันเป็ นการปลูกจิตสานึกให้ปฏิบตั ติ ามกฎแห่งความปลอดภัยจนเกิดประสิทธิภาพการทางานสูงสุด
3. การสนทนาความปลอดภัย
เป็ นกิจกรรมหนึ่งที่สถานประกอบการจัดในรูปของการประชุม การพูดคุย หรือการ
อภิปรายเกี่ยวกับความปลอดภัย มีการสนทนา โดยนาผูช้ านาญการเฉพาะเรื่องมาร่วมสนทนา
พร้อมทัง้ เปิ ดโอกาสให้มกี ารซักถาม ทาให้เกิดแนวคิดสร้างสรรค์ และได้ขอ้ สรุปนาไปดาเนินการ
ต่อไป
4. การประกวดคาขวัญความปลอดภัย
เป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้พนักงานทุกระดับได้มสี ่วนร่วมในการรณรงค์ โดยการ
พัฒนาจิตสานึกและทัศนคติของพนักงานในรูปข้อความหรือคาขวัญทีเ่ ป็ นการเตือนให้เกิดความ
ระมัดระวัง หรือเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางาน สถานประกอบการสามารถจัดการประกวด
เอง ส่วนกติกาการประกวดอาจกาหนดขึน้ เอง
5. การประกวดภาพโปสเตอร์
เป็ นกิ จ กรรมเพื่ อ ให้ ลู ก จ้ า งของสถานประกอบการมีส่ ว นร่ ว มในการผลิ ต สื่ อ
ประชาสัมพันธ์ในการกระตุ้นจิตสานึกด้านความปลอดภัย ส่วนกติกาของการประกวดสถาน
ประกอบการสามารถกาหนดได้เอง
127

6. การประกวดการรายงานสภาพงานที่ไม่ปลอดภัย
เป็ นกิจกรรมเพื่อ ให้พนักงานได้สารวจสภาพการทางาน ค้นหาจุดที่ไม่ปลอดภัย
ดาเนินการถ่ายภาพ บันทึกจากจุดอันตรายจากขัน้ ตอนการทางานต่างๆ เสนอภาพและรายงาน
ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือก สามารถนามาปรับปรุงแก้ไขสภาพการทางาน
ทีไ่ ม่ปลอดภัย
7. การแข่งขันประกวดความสะอาด
เป็ นกิจกรรมที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากลูกจ้างทุกคนในแต่ละแผนก และเป็ นจุด
เริม่ ต้นของการจัดกิจกรรม 5 ส เพื่อความปลอดภัยในโอกาสต่อไป หากสถานประกอบการยังไม่
พร้อมในการจัดกิจกรรม 5 ส การประกวดความสะอาดจะเป็ นกิจกรรมทีง่ ่ายและก่อให้เกิดสุขภาพ
อนามัยทีด่ ขี องลูกจ้างและผูบ้ ริหาร อันนาไปสู่ความปลอดภัยในการทางาน
8. การจัดฉายวีดีโอความปลอดภัย
เป็ นกิจกรรมที่สถานประกอบการจะจัดไปพร้อมกับนิทรรศการในวันหรือ สัปดาห์
ความปลอดภัย โดยขอใช้วดี โี อความปลอดภัยนาไปฉายให้ลูกจ้างได้ดู เสริมสร้างความรูค้ วาม
เข้าใจ ทัศนคติทด่ี แี ก่ลกู จ้าง
9. การรณรงค์การใช้อปุ กรณ์ ค้มุ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
เมื่อสถานประกอบการได้จดั อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยที่เหมาะสมให้ลูกจ้าง
สวมใส่ แล้ว ควรจัดการรณรงค์ให้ลูกจ้างใช้ เนื่องจากสถานประกอบการส่วนใหญ่จะประสบปั ญหา
ลูกจ้างไม่นิยมใช้ทาให้เกิดการสูญเปล่า การรณรงค์จะดาเนินการในช่วงใดช่วงหนึ่ง มีการประกวด
แข่งขัน ให้รางวัลแก่ลกู จ้างทีส่ วมใส่ถูกต้องและครบถ้วน
10. การรณรงค์กิจกรรม 5 ส
สถานประกอบการต้อ งประกาศเป็ น นโยบายและต้อ งกระท าโดยลูก จ้า งทุ ก คน
ทุกระดับโดยมีผบู้ ริหารระดับสูงลงมาตรวจตราเป็ นระยะๆ เพื่อกระตุ้นเตือนให้ทุกฝ่ ายเห็นความ
สาคัญและปฏิบตั กิ จิ กรรม 5ส อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
11. การรณรงค์ด้วยโปสเตอร์ และสัญลักษณ์ความปลอดภัย
โปสเตอร์และสัญลักษณ์ความปลอดภัยเป็ นอุปกรณ์อย่างหนึ่งในการเตือนให้ระวัง
และสามารถสร้างจิตสานึกของคนงานให้เกิดความตระหนักถึงอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ โปสเตอร์
ต่างๆ
12. การรณรงค์ลดอุบตั ิ เหตุเป็ นศูนย์ด้วย KYT
สถานประกอบการสามารถดาเนินการโดยใช้เทคนิค KYT ด้วยวิธกี ารฝึกอบรมลูกจ้าง
ให้หยังรู่ อ้ นั ตรายที่จะเกิด และให้มกี ารย้าเตือนตนเอง เพื่อให้สามารถลดอุบตั เิ หตุให้เป็ นศูนย์
13. การทาแผ่นป้ ายแสดงสถิ ติอบุ ตั ิ เหตุหรือป้ ายประกาศ
สถานประกอบการสามารถจัดทาแผ่นป้ ายขนาดใหญ่แสดงสถิตอิ ุบตั เิ หตุ หรือป้ าย
128

ประกาศกิจกรรมด้านความปลอดภัยปิ ดไว้หน้าโรงงานในตาแหน่ งทีเ่ ห็นได้ชดั บางแห่งอาจเขียน


ไว้ขา้ งฝาด้านหน้าของโรงงาน เพื่อให้คนงานมีจติ สานึกให้ความร่วมมือในการลดสถิตขิ องอุบตั เิ หตุ
14. การตอบปัญหาชิ งรางวัล
สถานประกอบการอาจจัดให้มกี ารตอบปั ญ หาชิงรางวัลในช่ว งงานสัปดาห์ค วาม
ปลอดภัยของสถานประกอบการ วิธกี ารตอบปั ญหาจากภาพนิทรรศการ หรือเอกสารทีแ่ จกในงาน
หาจุ ด อั น ตรายจากภาพเหตุ ก ารณ์ จ ริ ง และมอบรางวั ล โดยคณะกรรมการจั ด งาน
15. การกระจายเสียงบทความ
สถานประกอบการบางแห่งมีการประชาสัมพันธ์ โดยการส่งเสียงตามสายภายใน
บริเวณโรงงานหรือโรงอาหาร คณะกรรมการความปลอดภัยฯ นาบทความเกี่ยวกับความปลอดภัย
ออกเสียงตามสาย เพื่อเป็ นการเผยแพร่ความรูแ้ ก่ลูกจ้าง รวมทัง้ มาตรการแก้ไขสภาพการทางาน
จากอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ จริงในบริเวณโรงงานด้วย
16. การเผยแพร่บทความในวารสาร
สถานประกอบการทีไ่ ด้จดั ทาวารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ แจกจ่ายแก่ลกู จ้างหรือ
ลูกค้าสามารถนาบทความเกีย่ วกับความปลอดภัยไปตีพมิ พ์ในวารสาร เพื่อเผยแพร่ความรูค้ วาม
เข้าใจด้านความปลอดภัยได้มากยิง่ ขึน้
17. การทัศนศึกษาในสถานประกอบการอื่น
กิจกรรมนี้เหมาะสมแก่ลกู จ้างหรือคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ได้มโี อกาสไปเห็น
สภาพการทางานในสถานประกอบการอื่นทีด่ เี ด่น เพื่อนามาปรับปรุงสภาพการทางานของตนให้ดี
ขึน้ โดยขอความร่วมมือสถานประกอบการดีเด่นทีไ่ ด้รบั รางวัล หรือสถานประกอบการทีด่ าเนินการ
ด้านความปลอดภัยที่เป็ นตัวอย่างที่ดี เพื่อขอเข้าเยี่ยมชม หรืออาจจะทากิจกรรม walk rally
ความปลอดภัย การโต้วาที และออกกาลังกายก่อนเริม่ งานหรือหลังเลิกงาน เป็ นต้น

สรุป
การบริห ารจัดการความปลอดภัยและอาชีว อนามัยในสถานประกอบการเป็ นหน้ าที่
สาคัญของผูบ้ ริหารระดับสูงทีเ่ ป็ นผูก้ าหนดนโยบายทีเ่ ห็นความสาคัญของความปลอดภัยและอา-
ชีวอนามัยของผูป้ ฏิบตั งิ านให้เป็ นระบบทีช่ ดั เจนโดยอาศัยหลักการบริหารจัดการทีเ่ ริม่ ตัง้ แต่การ
วางแผน การจัดองค์การ การจัดบุคคลเข้าทางานทีเ่ หมาะสม การอานวยการ การประสานงาน
การจูงใจ การรายงาน และการควบคุม ซึ่งหน้าที่เหล่านี้เป็ นหน้าที่ของผู้บริหารหรือผู้จดั การที่
ต้องอาศัยทักษะต่าง ๆ ในการดาเนินงานให้กระบวนการทางานมีความปลอดภัยลดอุบตั ิเหตุ
บาดเจ็บและเจ็บป่ วยอันเกิดจากการทางาน รวมทัง้ ให้มสี ุขภาพอนามัยที่ดี ซึ่งแนวคิดพื้นฐาน
ของการบริหารจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยต้อ งมาจากแผนงานที่กาหนดขึ้นโดย
ผูบ้ ริหารระดับสูง ทีม่ กี ารจัดทาอย่างเป็ นระบบเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพ และจูงใจให้พนักงาน
129

ทุก คนร่ว มกันตัดสินใจ และร่วมแรงร่วมใจกัน จะเห็นได้ว่า การเปลี่ยนแปลงกับการบริห าร


จัด การงานความปลอดภัย และอาชีว อนามัย มีผ ลจากโลกาภิว ัต น์ ใ นประเด็น ต่ า ง ๆ ดัง นี้
(1) เศรษฐกิจ (2) สังคม (3) เทคโนโลยี (4) วิทยาศาสตร์ (5) การเมือง (6) กฎหมาย และ
นโยบายรัฐ (7) สิทธิมนุ ษยชน (8) การเปลี่ยนแปลงลักษณะประชากรโลก (9) การเคลื่อนย้าย
แรงงาน (10) การศึกษา (11) สิง่ แวดล้อม (12) สารสนเทศ เป็ นต้น ดังนัน้ ในการบริหารจัดการ
งานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จึงมีหลักสาคัญคือ หลักการที่ต้องคานึงทัง้ ผลิตภาพ
และความปลอดภัยควบคู่กนั หลักของการมีระบบการจัดการทีด่ ี หลักมุ่งเน้นกลยุทธ์การป้ องกัน
การกาหนดขอบเขตการดาเนินงาน/กิจกรรมความปลอดภัยให้ครอบคลุม วิเคราะห์และจัดลาดับ
ความสาคัญของปั ญหา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานด้านความปลอดภัย ระบบการวัด
ประเมินผล วิธกี ารจูงใจหรือกระตุน้ พนักงาน
ผูบ้ ริหารจึงต้องบทบาทสาคัญในการทาให้เกิดความปลอดภัยและอาชีวอนามัยด้วยการ
มีบทบาทหน้าทีส่ าคัญดังนี้ (1) บทบาทในการเป็ นผูน้ าการเปลีย่ นแปลง (2) บทบาทในการเป็ น
ผูน้ าทางการบริหาร (3) บทบาทในการเป็ นผูใ้ ห้คาปรึกษา (4) บทบาทในการตัดสินใจในสิง่ ทีจ่ ะ
เกิดขึน้ (5) บทบาทในการสนับสนุ นการเปลี่ยนแปลง (6) บทบาทในการวางแผนกลยุทธ์ทาง
ธุรกิจ ซึ่งความปลอดภัยในองค์การจาเป็ นต้องรูปแบบความปลอดภัยที่พจิ ารณาองค์ประกอบ
ต่าง ๆ ของรูปแบบ ได้แก่ ภาวะผูน้ า ระบบการรักษาความปลอดภัย วัฒนธรรมองค์การ ระบบ
การรักษาความยังยื ่ นขององค์การ สภาพการทางาน ซึง่ ระบบการบริหารจัดการความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย ผูบ้ ริหารระดับสูงต้องมีหน้าทีด่ งั นี้ การกาหนดนโยบาย การมอบหมายหน้าที่
จัดให้มกี ารพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิม่ พูนความรู้ การจัดสภาพแวดล้อมในการทางาน จัดให้ต งั ้
คณะกรรมการตรวจโรงงาน ให้การสนับสนุ นจัดกิจกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
กากับ ตรวจติดตามผลงานความปลอดภัยเป็ นประจาสม่าเสมอ การจัดโครงสร้างหน่ วยงานด้าน
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจึงต้องมีหน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้องกับความปลอดภัย ดังนี้ ผูบ้ ริหาร
ระดับ สู ง ผู้บ ริห าร เจ้า หน้ า ที่ค วามปลอดภัย ในการท างาน หัว หน้ า งาน สหภาพแรงงาน
พนั ก งาน หน่ ว ยงานการแพทย์ และหน่ ว ยซ่ อ มบ ารุ ง เป็ นต้ น นโยบายความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยมีความมีความสาคัญต่อการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
เนื่ อ งจากเป็ น เครื่อ งมือ ยืน ยัน เจตนารมณ์ ข องนายจ้า งที่ใ ห้ค วามส าคัญ ต่ อ งานด้า นความ
ปลอดภัย ช่วยให้เห็นภาพพจน์ในการดาเนินงาน ทาให้พนักงานทุกคนให้ความสาคัญกับงาน
ด้านความปลอดภัยและทราบถึงบทบาททีต่ อ้ งปฏิบตั ติ าม แสดงออกถึงความห่วงใยของนายจ้าง
ช่วยให้ผบู้ ริหารได้เห็นความสาคัญต่อการใช้ดุลยพินิจของผู้ บริหารและผูป้ ฏิบตั งิ านระดับต่าง ๆ
และช่วยสร้างชื่อเสียงให้กบั องค์การ รวมทัง้ การจัดทาแผนงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
จะช่วยให้ส่งเสริมให้องค์การได้มแี ผนงานความปลอดภัยทีช่ ดั เจนทีจ่ ะนาไปสู่การดาเนินกิจกรรม
ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
130

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ที่สดุ
1. ให้อธิบายถึงความหมายของ “การบริหาร” และ “การจัดการ” ความแตกต่างกันอย่างไร
พร้อมอธิบายให้เข้าใจ
2. ให้อธิบายถึงความสาคัญของการบริหารจัดการ และการบริหารจัดการมีลกั ษณะทีเ่ ด่น
ทางการนามาปฏิบตั หิ รือปรับประยุกต์ใช้ในองค์การอย่างไร
3. ให้อธิบายถึงหลักการบริหารจัดการหรือ กระบวนการในการบริหารจัดการ
4. ให้บอกและอธิบายความหมายของการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัย และ
อาชีวอนามัย
5. ให้บอกถึงประเด็นในการเปลีย่ นแปลงทางการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัย และ
อาชีวอนามัย
6. ให้อธิบายถึงหลักการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย พร้อมอธิบาย
7. ให้อธิบายถึงรูปแบบความปลอดภัยในองค์การ
8. ให้เขียนแผนผังโครงสร้างหน่วยงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของหน่วยงาน
9. นโยบายงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมีความสาคัญอย่างไร
10. ให้บอกถึงลักษณะของงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
11. การกาหนดนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยต้องคานึงถึงปั จจัยสาคัญอะไรบ้าง
12. ให้นกั ศึกษาเขียนวงจร PDCA ของงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย และอธิบายถึงการ
นามาปรับใช้กบั การงานแผนงาน
13. ให้บอกถึงกิจกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมีอะไรบ้างอธิบายให้เข้าใจ
131

เอกสารอ้างอิง

กาญจนา นาถะพินธุ.(2551). อาชีวอนามัยและความปลอดภัย. ฉบับปรับปรุง (พิมพ์ครัง้ ที่ 2).


โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น: ขอนแก่น.
กันยรัตน์ โหละสุต.(2555). การจัดการความปลอดภัยในอุตสาหกรรมเคมี.
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น: ขอนแก่น.
ณรงค์วทิ ย์ แสนทอง.(2555). การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ ภาคปฏิบตั .ิ (พิมพ์ครัง้ ที่ 6).
เอช อาร์ เซ็นเตอร์: กรุงเทพฯ.
ศีขรินทร์ สุขโต. (2553). วิศวกรรมความปลอดภัย.(พิมพ์ครัง้ ที่ 2). ขอนแก่น: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์. (2553). เอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารงานอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย.(ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 1) หน่วยที่ 1-7. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อรุณการพิมพ์: กรุงเทพฯ.
สุเวช พิมพ์น้าเย็น.(2553). ความรูท้ วไปเกี
ั่ ย่ วกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.เอกสาร
ประกอบการสอน.วิทยาลัยเชียงราย: เชียงราย.
สราวุธ สุธรรมาสา.(2557). บทบาทผูบ้ ริหารกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.
จุลสารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพออนไลน์.,มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.,
ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2560, จาก www.stou.ac.th/Schools/Shs /fromMag571.pdf.
สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน (แห่งประเทศไทย). แนวคิดระบบ
การจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย. ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2560, ค้นจาก
WWW.SHAWPAT.OR.TH.
สานักความปลอดภัยแรงงาน. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน. กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน: กรุงเทพฯ.

Bartol, Kathryn.,M., & David C. Martin.(1997). Management. (2nd ed). New York:
McGraw – Hill, New York.
Bridges,F.J.,&Roquemore,L.L.(2001). Management for athletic/ sport administration:
Theory and practice (3rd ed.). Decatur, GA: ESM Books.
Bovee, Courtland L. and others. (1993). Management. New York : Mc Graw – Hill.
Carroll,S.J. and Gillen,D.A.(1987).”Are the Classical Management Functions Useful in
Describing Managerial Work” Academy of Management Review, January,
1987,p.48.
132

Clegg,S.,Komberger,M.,& Pitsis,T.(2005). Making sense of management in Managing


and Organizations – An introduction to theory and practice (1st edition,
pp.3-39).London: SAGE Publications.
Goetsch, D. L.(2005) Occupational Safety and Health for Technologists, Engineers,
and Managers. Pearson Education,Inc.,Upper Saddle River,New Jersey.
Drucker, P. F. (1997). Management is getting done through other people. Journal
Constitution, 29(5), 164-179.
Ducker,P.F.(1989). Management: Tasks, Responsibilities, Practices. Harvard Business
School Press.

Fayol, H. (1964). Industrial and General Administration . New Jersey : Clifton.


F.W.Taylor, Principles of Scientific Management. (New York:Harper,1998).Academy of
Management Review,January,2007,pp.105-117.
Fesler James, F. and Kettl. (1991). The Politics of The Administrative Process . New
Jersey : Chatham House Publishers.
Follet, M. P. (1941). Dynamic Administration . New York : Harper and Row.
Griffin, R. W. (2002). Management (7th ed.). Boston: Houghton Miffin.
Haimann & Scott.(1974) Management in the Modern Organization. Houghton
Mifflin,University of California.
Hodgetts, R.M. (1982). Management : Theory, and Practice. 3rd. New York : The
Dryden Press.
Simon, H.A.(1947) Administrative Behavior .New york: Macmillian.
Katz, R. L.(1955). “Skills of an Effective Administration.” Harvard Business
Review 33, 1(January – February 1995) : 33-42.
Koontz H. D. and Cyril O’Donnell. (1972). Principles of Management : An Analysis
of Managerial Functions. New York : McGraw – Hill.
Scholte, J. A. (2005). Globalization: A Critical Introduction (2nd ed.). New York:
Schermerhorn, J. R. (1999). Management. (6th ed.). New York: John Wiley & Sons.
Stoner, J. A. F., & Wankle, C. (1986). Management. New York: Prentice - Hall.
Palgrave Macmllan.
Steers, R.M. (1977). Organizational Effectiveness : A Behavioral View. Ca. : Good year.
133

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3
การสอบสวนและวิเคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ

หัวข้อเนื้ อหา
1. แนวคิดเกีย่ วกับการเกิดอุบตั เิ หตุ
2. ความหมาย และความสาคัญของอุบตั เิ หตุ
3. ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้องกับอุบตั เิ หตุ
4. การสอบสวนอุบตั เิ หตุ
5. ความสาคัญ วัตถุประสงค์ และการสอบสวนอุบตั เิ หตุ
6. หลักและวิธกี ารสอบสวนอุบตั เิ หตุ
7. บันทึกการรายงานการสอบสวนอุบตั เิ หตุ
8. การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ
9. แนวทางการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ
10. การประเมินค่าทางสถิตขิ องอุบตั เิ หตุ
11. ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของการการประเมินค่าของอุบตั เิ หตุ
12. สรุป
13. แบบฝึกหัด
14. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1. อธิบายถึงแนวคิด ความหมาย และความสาคัญ ของอุบตั เิ หตุ และความสาคัญของ
ทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้องกับการเกิดอุบตั เิ หตุ และลักษณะ สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุท่เี กิดจากการ
ทางานได้
2. อธิบายถึงความสาคัญ วัตถุประสงค์ และลักษณะของอุบตั เิ หตุทต่ี ้องทาการสอบสวน
ในการเกิดอุบตั เิ หตุได้
3. อธิบายหลักและวิธกี ารในการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุ และการทาบันทึกรายงาน
การสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุได้
4. อธิบายความสาคัญ วัตถุประสงค์ แนวทาง และวิธกี ารในการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ และ
สามารถวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ รวมทัง้ ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ ของการประเมินค่าทางสถิติ
รวมทัง้ การคานวณค่าสถิตขิ องอุบตั เิ หตุได้ได้
134

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารคาสอนรายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดที ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
135

บทที่ 3
การสอบสวนและวิเคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ

สภาพสังคมที่ม ีค วามเจริญ ก้าวหน้ า และมีก ารเปลี่ยนแปลงอย่า งรวดเร็ว ทางด้า น


วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การค้า และการลงทุนทาให้การดาเนินชีวติ
ของการประกอบอาชีพทุกอาชีพย่อมมีโอกาสในการประสบเหตุ หรือเกิดอุบตั ใิ นการทางานได้
การเกิดอุบตั เิ หตุมผี ลกระทบนามาสู่การสูญเสียมากมาย ซึ่งหากเราทราบสาเหตุท่แี ท้จริงของ
การเกิดอุบตั เิ หตุกจ็ ะสามารถควบคุม ป้ องกัน หรือลดอันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ ในการทางาน ที่เกิด
ความสูญ เสียและเสีย หายเหล่ านัน้ ไปได้มาก จะเห็นได้ว่าสาเหตุ การเกิดอุ บตั ิเ หตุ ใ นสถาน
ประกอบการนัน้ มีเหตุเกิดมาจากหลายสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ แต่เมื่อเกิดขึน้ แล้ว ผูบ้ ริหาร
ย่อมหาวิธกี าร ป้ องกัน แก้ไข และปรับปรุงให้ดขี ้นึ ดังนัน้ ผู้บริหารอาจจะศึกษาเกี่ยวทฤษฎี
เกี่ยวกับการเกิดอุบตั เิ หตุมาเป็ นข้อมูลในการกาหนดนโยบายในการควบคุมการเกิดอุบตั เิ หตุ
หรือเฝ้ าระวังให้กบั พนักงานเพื่อให้เป็ นแนวทางด้านอื่น ๆ นอกเหนือจาก วิธกี ารที่ได้กระทาที่
ผ่านมา การสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุในสถานประกอบการจึงเป็ นวิธกี ารทีส่ าคัญทีต่ ้องดาเนินการ
เมื่อเกิดเหตุการณ์อุบตั เิ หตุ การสอบสวนจึงเป็ นการหาเหตุท่สี าคัญ หลังจากได้ขอ้ มูลจากการ
สอบสวนทราบสาเหตุการเกิดแล้วนามาทาการวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ ซึ่งการ
วิเคราะห์เป็ นการจาแนกแยกแยะข้อมูลของการได้รบั อุบตั เิ หตุ เพื่อนามาบันทึกเหตุการณ์ต่างๆ
และนาไปประเมินค่าสถิตอิ ุบตั เิ หตุ ในการหาค่าความรุนแรง ความถี่ของการเกิดอุบตั ิ เพื่อให้นา
เป็ นข้อมูลให้ผบู้ ริหารนาไปวางแผน หาแนวทางในการแก้ไขปั ญหา หรือนาข้อมูลไปประกอบการ
กาหนดนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานต่อไป

แนวคิ ดของการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


ในอดีต การจัดการธุรกิจอุต สาหกรรมแบบดัง้ เดิม ความต้องการของนายจ้างมีความ
คาดหวังให้คนงานที่ทางานในโรงงานอุตสาหกรรม ทางานให้ได้เหมือน เครื่องจักร ซึ่งสมัยนัน้
เป็ น ยุค ของการจัด การแบบวิท ยาศาสตร์ ตามแนวคิด ของ เทย์เ ลอร์ (W.Taylor,1897) ซึ่ง
เปรียบเทียบคนงานให้ทางานเสมือนเครื่องจักร จะต้องทางานที่ได้รบั มอบหมายตามเวลาที่
ทางานโดยไม่คานึงถึงความเต็มใจ หรือ ความพร้อมของผู้ปฏิบตั ิงาน บังคับให้คนงานต้อง
ทางานเป็ นเวลานานต่อวัน จึงทาให้เกิดอุบตั เิ หตุเนื่องจากคนงานเหมื่อยล้า ขาดสมรรถภาพที่ดี
ในการทางาน ในขณะเดียวกันการได้รบั อุบตั ิเหตุก็ไม่ได้รบั ดูแลจากนายจ้างนัก ต่อมาจึงทาให้
คนงานมีการประท้วงเรียกร้องสวัสดิการ และได้ออกกฎหมายข้อกาหนดเกี่ยวกับความปลอดภัย
และสุขภาพอนามัยมาดูแลคนงาน แต่ก็ยงั ไม่ครอบคลุมทุกโรงงานอุตสาหกรรม นายจ้างบาง
แห่งก็หลบหลีกเลี่ยงกฎหมาย และมองว่าเป็ นการเพิม่ ต้นทุนในการผลิตเมื่อต้องมี การทาให้ม ี
136

การติดตัง้ เครื่องจักรด้วยเครื่องมืออุปกรณ์ท่ถี ูกต้อง รวมทัง้ มีการดัดแปลงให้มรี าคาถูก เพื่อลด


ต้นทุนในการผลิต
ต่อมาในปั จจุบนั การเปลีย่ นแปลงของโลกมีการพัฒนาก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมมากขึน้
มีการแข่งขันกันในการสร้างคุณภาพของสินค้า และบริการ ดังนัน้ ฝ่ ายบริหารจัดการเล็งเห็นว่า
บุคคลในองค์กรเป็ นปั จจัยการผลิต (factor of management) ชนิดหนึ่งทีม่ คี ่าและมีชวี ติ จิตใจบุคคล
จะทางานได้ดกี ต็ ่อเมื่อมีความพร้อม มีความต้องการ มีความรูส้ กึ และอารมณ์ในการทางาน ดังนัน้
การทีอ่ งค์กรกาหนดให้พนักงานปฏิบตั งิ านจึงต้องคานึงถึงปั จจัยต่างๆ เช่น การจูงใจ (motivation)
การฝึกอบรม (training) สภาพแวดล้อมในการทางาน (working condition) ตลอดทัง้ ความปลอดภัย
ในการทางาน (safety) และ การจัดสวัสดิการต่างๆ ให้กบั พนักงานในองค์การให้มคี วามปลอดภัย
และอาชีวอนามัยในการทางาน รวมทัง้ ฝ่ ายจัดการต้องการให้ได้บุคลากรทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ
และทักษะความชานาญ มาทางานให้กบั องค์การจึงจาเป็ นต้องมีระบบการจัดการความปลอดภัย
ทีม่ ปี ระสิทธิภาพจึงจะสามารถแข่งขันด้านบุคลากรได้

ความหมายของอุบตั ิ เหตุ
การเกิดอุบตั เิ หตุในแต่ละครัง้ มิใช่จะเกิดขึน้ จากโชคชะตาหรือเคราะห์กรรมของแต่ละ
บุคคล หากแต่เกิดขึน้ โดยมี “สาเหตุ” สามารถชีช้ ดั ในการเกิดอุบตั วิ ่ามาจากสาเหตุใด การป้ องกัน
แก้ไข สนับสนุ น และเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางาน จึงเป็ นกิจกรรมจะเกิด ขึน้ ได้ด้วย
การวิเคราะห์ท่ี “สาเหตุของอุบตั เิ หตุ” ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จะเห็นได้ว่า อุบตั เิ หตุเป็ น
เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ อย่างไม่คาดคิดมาก่อน เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ อาจจะทาให้เกิดความเสียหายแก่
ร่างกายและทรัพย์สนิ หรือไม่กต็ าม เรียกว่า อุบตั เิ หตุ แต่ถ้าหากอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ ทาให้เกิดผล
เสียหายเราเรียกว่า อุบตั ภิ ยั อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน คาว่าเกิด อุบตั เิ หตุใน
บทความฉบับนี้ ถือว่า เกิดสิง่ ทีไ่ ม่คาดคิดมาก่อนและก่อให้เกิดผลเสียหายแก่ทรัพย์สนิ และเป็ น
อันตรายต่ อ ร่างกายและจิต ใจ ได้มนี ักวิชาการเกี่ยวกับอุ บตั ิเหตุ ได้ใ ห้ค วามหมายของค าว่า
อุบตั เิ หตุ (Accident) ไว้ดงั นี้
ศิขรินทร์ สุขโต ( 2553, หน้า 2) ได้ให้ความหมายของ อุบตั เิ หตุ ไว้ว่า เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้
โดยมิได้วางแผนไว้ล่วงหน้า ซึง่ ก่อให้เกิดความบาดเจ็บ พิการ หรือตายและทาให้ทรัพย์สนิ เกิด
ความเสียหาย หรือความหมายในเชิง วิศวกรรมความปลอดภัยนัน้ ยังมีความหมายครอบคลุมถึง
เหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ แล้ว มีผลกระทบกระเทือนต่ อขบวนการผลิตที่มกี ารดาเนินการปกติ ทาให้
เกิดความล่าช้า หยุดชะงัก เสียหายของผลิต ภัณฑ์ หรือเสียเวลาในการทางาน แม้จะไม่ก่อให้
เกิดอันอันตราย หรือบาดเจ็บ เจ็บป่ วย พิการของคนงานก็ตาม
กันยรัตน์ โหละสุต ( 2553, หน้า 4) ได้ให้ความหมายของ อุบตั เิ หตุ ไว้ว่า เหตุการณ์ท่ี
เกิดขึน้ อย่างไม่พงึ ประสงค์ในระหว่างการทางาน และมีผลไปขัดขวางหรือก่อผลกระทบต่อความ
137

เสียหายแก่ ก ารทางานนัน้ ได้แ ก่ การตกจากที่สูง การถู ก กระแทก การถู กหนีบ การถู กตัด
และการถูกดึง เป็ นต้น
Dessler, G. (2015, p. 529) ได้ให้ความหมายของ อุบตั เิ หตุ ไว้ว่า เหตุการณ์อนั ตรายที่
เกิดขึน้ โดยไม่ได้ ตัง้ ใจ หรือคิดมาก่อนทีจ่ ะให้เกิดขึน้ ไม่สามารถควบคุมได้ และหลีกเลีย่ งไม่ได้
ขณะนัน้ ทาให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สนิ บุคคลทัง้ ทางร่างกาย จิตใจ อาจบาดเจ็บ ทุพลภาพ
หรือรุนแรงถึงขัน้ เสียชีวติ ซึง่ เหตุการณ์ต่างๆ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อทัง้ ตัวเอง ครอบครัว นายจ้าง
หัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน เศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติ
DeCenzo,D. A. and Robbins, S. P. (2002, p. 479) ได้ให้ความหมายของ อุบตั เิ หตุ
ไว้ว่า เหตุการณ์อนั ตรายทีเ่ กิดขึน้ โดยไม่ได้ตงั ้ ใจ หรือคาดคิดมาก่อน ทาให้เกิดความเสียหายแก่
ทรัพย์สนิ ร่างกาย จิตใจ หรืออาจถึงบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพลภาพ หรือรุนแรงอาจถึงขัน้ เสียชีวติ
ได้
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (2542, หน้า 67) ได้ให้ความหมายของ
อุบตั เิ หตุ ไว้ว่า เหตุการณ์ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ทอ่ี าจเกิดจากการทีไ่ ม่ได้คาดคิดไว้ล่วงหน้า หรือไม่
ทราบล่วงหน้ า หรือขาดการควบคุม แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วมีผลทาให้เกิดการบาดเจ็บหรือความ
เจ็บป่ วยจากการทางานหรือการเสียชีวติ หรือความสูญเสียต่อทรัพย์สนิ สินหรือความเสียหายต่อ
สภาพแวดล้อมในการทางานหรือต่อสาธารณชน”
สภาความปลอดภัยแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (National Safety Council : NSC) ได้ให้
ความหมายของ อุบตั เิ หตุ ไว้ว่า เหตุการณ์ท่ไี ม่ได้มกี ารวางแผน เหตุการณ์ท่ไี ม่พงึ ประสงค์
ซึ่ง เมื่อ เกิดขึ้นแล้ว ไม่จ าเป็ นต้อ งมีการบาดเจ็บ หรือ ทรัพย์ส ินเสียหายเท่ านัน้ แต่ ยงั รวมถึง
เหตุการณ์ ท่สี ่งผลกระทบต่อความสาเร็จ หรือนาไปสู่การเสียชีวติ การเจ็บป่ วย การบาดเจ็บ
ทรัพย์สนิ เสียหาย หรือความสูญเสียอื่นๆ
สถาบันมาตรฐานแห่งชาติองั กฤษ (British Standard Institution: BSI) ได้ให้ความหมาย
ของ อุ บตั ิเ หตุ ไว้ว่า เหตุก ารณ์ ท่ไี ม่พงึ ประสงค์ท่นี าไปสู่การเสียชีว ิต การเจ็บป่ วย บาดเจ็บ
ทรัพย์สนิ เสียหาย หรือความสูญเสียอื่นๆ
กาญจนา นาถะพินธุ (2553, หน้า 195) ได้ให้ความหมายของ อุบตั เิ หตุ ไว้ว่า เหตุการณ์
ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ทอ่ี าจเกิดจากการที่ไม่ได้คาดคิดไว้ล่วงหน้าหรือไม่ทราบล่วงหน้าหรือขาดการ
ควบคุม แต่เมื่อเกิดขึน้ แล้วมีผลให้เกิดการบาดเจ็บหรือความเจ็บป่ วยจากการทางานหรือการ
เสียชีวติ หรือความสูญเสียต่อทรัพย์สนิ หรือความเสียหายต่ อสภาพแวดล้อมหรือต่อสาธารณชน
วิฑูรย์ สิมะโชคดี และ วีรพงศ์ เฉลิมจิระรัตน์ (2550, หน้า 20) ได้ให้ความหมายของ
อุบตั เิ หตุ ไว้ว่า เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ โดยมิได้วางแผนไว้ล่วงหน้า ซึง่ ก่อให้เกิดความบาดเจ็บ พิการ
หรือตามและทาให้ทรัพย์สนิ ได้รบั ความเสีย
วิวรรธน์กร สวัสดี (2556, หน้า19) ได้ให้ความหมายของ อุบตั เิ หตุ ไว้ว่า เป็ นเหตุการณ์
ทีเ่ กิดขึน้ โดยไม่คาดคิด ไม่มกี ารวางแผนล่วงหน้าและควบคุมไมได้ เช่น การตกจากทีส่ ูง การหกล้ม
138

การกระแทก การหนีบ การตัด เป็ นต้น ซึง่ จะทาให้เกิดความสูญเสียต่อผูป้ ระสบอุบตั เิ หตุบุคคลอื่น


หรือสิง่ ของที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เสียหายด้วยอุบตั ิเหตุจากการทางานเป็ นเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่
เกิดขึน้ ในขณะทางาน เช่น การบาดเจ็บจากการกระแทก หรือบดของเครื่องจักรน การถูกสิง่ ของ
หล่นทับ
จากความหมายของอุบตั เิ หตุทก่ี ล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า อุบตั เิ หตุ หมายถึง เหตุการณ์
ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ ไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า ไม่มกี ารวางแผน หรือขาดการควบคุม เมื่อเกิดขึน้
แล้วทาให้ได้รบั อันตราย บาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพลภาพ และเสียชีวติ ได้ รวมทัง้ ทาให้เกิดความ
สูญ เสีย ต่ อ ทรัพย์ส ิน หรือ เกิด ความเสีย หายต่ อ สภาพแวดล้อ มในการท างานหรือ เกิดความ
ประเทศชาติ และบุคคลอื่น ตัวอย่าง ของการเกิดอุบตั เิ หตุ เช่น ถูกวัตถุหนักหล่นทับ เครื่องจักร
หรือของมีคมตัด บาด หนีบ เฉือน ดึง กระแทก ทิม่ แทงร่างกาย ถูกวัตถุกดทับ กระเด็นใส่ ลื่น-
ล้ม สิง่ ของพังทลายหล่นทับ สัมผัสกับความร้อนจัด ถูกสารเคมี ไฟฟ้ าดูด เป็ นต้น

คาที่เกี่ยวข้องกับอุบตั ิ เหตุ
ได้มนี กั วิชาการให้ความของคานิยามทีเ่ กี่ยวข้องกับการเกอดอุบตั เิ หตุไว้ดงั นี้ (ศิขรินทร์
สุขโต, 2553, หน้า 1-2 ; Goetsch, D.L.2005, p. 17-18)
ภัย (Hazard) หมายถึง สภาวการณ์ซง่ึ มีแนวโน้มทีจ่ ะก่อให้เกิดการบาดเจ็บของ บุคคล
หรือเกิดความเสียหายต่ อทรัพย์สนิ รวมทัง้ การกระทบกระเทือนต่อขีด ความสามารถในการ
ปฏิบตั งิ านตามปกติของบุคคล
อันตราย (Danger) หมายถึง สภาวะทีเ่ ป็ นอันตรายไม่ว่าจะอยู่ในระดับของความ รุนแรง
มากหรือน้อยขึน้ อยู่กบั สภาพของการทางานและการป้ องกัน เช่น การทางานบนทีส่ ูง ซึ่งถือว่า
เป็ นสภาพการณ์ทม่ี คี วามเสีย่ งทีจ่ ะมีโอกาสเกิดอันตรายขึน้ ได้ถา้ หากเกิด ความผิดพลาดเกิดขึน้
และอาจทาให้เกิดการบาดเจ็บหรือถึงกับชีวติ ได้
อุบตั ิ การณ์ (Incident) หมายถึง เหตุการณ์ทไ่ี ม่ปรารถนาจะให้เกิดขึน้ แต่เมื่อเกิดขึน้
จะทาให้เกิดการสูญเสียตามมาอีกมากมาย หรือ เหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ ในลักษณะเช่นเดียวกันกับ
การเกิดอุบตั เิ หตุ แต่ผลของอุบตั กิ ารณ์ไม่ทาให้ผใู้ ดได้รบั บาดเจ็บ ทรัพย์สนิ ไม่เสียหายหรืออาจ
เรียกเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ นี้อกี อย่างหนึ่งว่า เป็ นเหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั เิ หตุ (Incident or Near
Miss) หมายถึง เหตุก ารณ์ที่ไม่พ งึ ประสงค์ท่เี กิดขึน้ แล้ว มีผ ลให้เ กิดอุบตั เิ หตุ หรือเรียกว่า
อุบตั กิ ารณ์ (incident) ซึง่ การเกิดอุบตั กิ ารณ์บ่อยครัง้ อาจนามาซึง่ การเกิดอุบตั เิ หตุได้ ถ้าไม่ได้
รับการควบคุมป้ องกัน เช่น งานซ่อมบารุงเครื่องจักรต้องการ เปลีย่ นชิน้ ส่วนอะไหล่ตามกาหนด
แต่ปรากฏว่าได้อะไหล่ไม่ครบทาให้งานล่าช้าและเป็ นผลเสียกับระบบการทางาน
139

ความสาคัญของอุบตั ิ เหตุ
อุบตั เิ หตุทเ่ี กิดจากการปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ หรืออุตสาหกรรมการผลิตและ
บริการ ทีเกิดขึน้ ในแต่ละครัง้ มิใช่จะเกิดขึน้ จากโชคชะตาหรือเคราะห์กรรมของแต่ละบุคคล เมื่อ
พนัก งานประสบอุบตั เิ หตุ ทาให้ได้รบั การบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพลภาพ และถ้ารุนแรงก็ถ งึ ขัน้
เสียชีวติ ซึง่ ในการประสบอุบตั เิ หตุ โดยทัวไปแล้
่ วมี “สาเหตุ” ทีช่ ช้ี ดั ได้ว่าเป็ นผลมาจากการกระทา
ทีไ่ ม่ปลอดภัย ซึง่ ผลจากการประสบอันอันตรายนัน้ ย่อมทาให้มผี ลกระทบต่อความสูญเสียโดยตรง
และโดยอ้อม คือ โดยตรง ได้แก่ ตัวผูป้ ฏิบตั งิ าน ส่วนผลกระทบโดยอ้อม ได้แก่ ครอบครัว ญาติ
พีน่ ้องคนใกล้ชดิ หัวหน้างาน เพื่อนร่วมงาน นายจ้าง และสังคม ตลอดจนประเทศชาติ ดังนัน้
สรุปได้ว่าอุบตั เิ หตุมคี วามสาคัญทีส่ ่งผลเสีย อันได้แก่
1. ผลกระทบต่ อผู้ปฏิ บตั ิ งานหรือพนั กงาน หากได้เมื่อใดที่ผู้ปฏิบตั ิงานประสบ
อันตรายจากการปฏิบตั ิงานจะส่ งผลกระทบโดยตรงต่ อผู้ปฏิบตั ิงานทัง้ ทางด้านร่างกายที่ได้
บาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพลภาพ สูญเสียอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย และเสียชีวติ ด้านจิตใจจะผลต่อ
ขวัญ กาลังใจในการทางานทาให้มคี วามกลัว วิต กกังวล ขาดความเชื่อ มั ่น และมั ่นใจในการ
ปฏิบตั งิ าน หรือหากสูญเสียความมันใจหากเกิ่ ดทุพลภาพ และด้านเศรษฐกิจของครอบครัวจะทา
ให้ขาดรายได้ โดยผลทีก่ ระทบต่อผูป้ ฏิบตั โิ ดยตรงทีส่ าคัญ ได้แก่
1.1 เกิดการบาดเจ็บ เจ็บป่ วย พิการ ทุพพลภาพ และเสียชีวติ
1.2 เกิดความเจ็บปวด และทุกข์ทรมานร่างกาย จิตใจจากอาการทีป่ ระสบอันตราย
1.3 สูญ เสีย ค่า ใช้จ ่า ยในการที่ต ้อ งจ่า ยค่า รัก ษาพยาบาล ถึง แม้ว ่า นายจ้า งจะ
รับผิดชอบโดยมีกองทุนทดแทน แต่ย่อมต้องมีค่าใช้จ่ายต่างๆ ตามมา ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการ
ฟื้ นฟูสภาพหลังจากได้รบั การรักษาพยาบาลหายแล้วก็ตามต้องมีการฟื้ นฟูให้มสี ภาพทีด่ ที ส่ี ุดทัง้
ร่างกาย และจิตใจ
1.4 สูญ เสียรายได้ใ นกรณีท่ผี ู้ประสบอันตรายบาดเจ็บรุนแรง เจ็บป่ วยรุนแรงไม่
สามารถปฏิบตั งิ านได้ หรือถ้าหากเกิดขัน้ เสียชีวติ
1.5 สูญเสียเวลาในการปฏิบตั งิ านเนื่องจากการประสบอันตราย บาดเจ็บ เจ็บป่ วย
และพิการ
1.6 ทาให้ขาดความมันใจ ่ หรือขาดความเชื่อมันในการปฏิ
่ บตั งิ าน เนื่องจากหวาดกลัว
ในสิง่ ทีเ่ คยเกิดขึน้
1.7 ต้องเป็ นภาระของครอบครัวทีด่ ูแลในการเลีย้ งดูหากเกิดความพิการ หรือสูญเสีย
อวัยวะทีส่ าคัญ เช่น ดวงตา แขน ขา เป็ นต้น
1.8 ต้องมีการเปลีย่ นแปลงอาชีพให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายทีเ่ กิดความพิการ
1.9 เสียเวลาในการเรียนรูง้ านใหม่ท่เี หมาะสมกับสภาพร่างกายทุพลภาพในกรณี
ต้องเปลีย่ นงาน
140

1.10 เกิดการเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ และต้องปรับตัวใหม่หากเกิดการบาดเจ็บเรือ้ รัง


หรือพิการสูญเสีย
1.11 สูญเสียภาพลักษณ์และความมันใจในตนเองหากเกิ
่ ดความพิการ
2. ผลกระทบต่ อครอบครัวผู้ปฏิ บตั ิ งาน หากพนักงานประสบอันตรายอันเนื่องจาก
การปฏิบตั งิ านทีต่ อ้ งมีการพักรักษาเป็ นเวลานาน ไม่ว่าจะได้รบั อันตรายถึงขัน้ บาดเจ็บ เจ็บป่ วย
และทุพลภาพหรือเสียชีวติ คนทีอ่ ยู่ในครอบครัวไม่ว่าเป็ นสามี ภรรยา พ่อ แม่ ลูก หรือญาติพน่ี ้อง
ใกล้ชดิ กับผูป้ ฏิบตั งิ าน เมือ่ กระทบต่อผูป้ ฏิบตั งิ านก็ย่อมส่งผลถึงบุคคลต่างๆ เหล่านี้ ทัง้ ด้านจิตใจ
ของบุคคลในครอบครัว ที่ต้อ งสูญเสียผู้ปฏิบตั งิ านไป หรือ หากพิการก็ย่อ มเป็ นภาระทัง้ ด้าน
เศรษฐกิจ รายได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากเป็ นผู้นาหรือหัวหน้าครอบครัวที่มหี น้าที่หารายได้
คนเดียว ดังนัน้ ผลกระทบต่อครอบครัวผูป้ ฏิบตั งิ าน ได้แก่
2.1 สูญเสียบุคคลในครอบครัวหรือบุคคลในครอบครัวพิการ หรือทุพลภาพ
2.2 สูญเสียค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาลทีร่ ะหว่างการรักษาให้ดขี น้ึ
2.3 สูญเสียรายได้ กรณีผู้ประสบอันตรายได้รบั บาดเจ็บ เจ็บป่ วยขัน้ รุนแรง และ
ทุพลภาพ
2.4 สูญเสียค่าใช้จา่ ยในการฟื้ นฟูสภาพให้ดขี น้ึ
2.5 ต้องรับภาระเลี้ยงดูผู้ประสบอันตรายที่รกั ษาพยาบาล และหากทุพลภาพยิง่
จะทาให้เกิดปั ญหาครอบครัวแตกแยกได้
2.6 ต้องปรับเปลีย่ นวิถกี ารดาเนินชีวติ ครอบครัวหน้ามือเป็ นหลังมือ กรณีผปู้ ระสบ
อันตรายต้องมีการรักษาตัวและดูแลไปตลอดชีวติ
2.7 สมาชิกในครอบครัวขาดขวัญกาลังใจ เสียขวัญ และท้อแท้
2.8 ครอบครัวขาดความอบอุ่น บุตรต้องกาพร้า หากบิดาหรือมารดาเสียชีวติ
3. ผลกระทบต่ อเพื่อนร่วมงาน หากเกิดอุบตั เิ หตุเกิดขึน้ ในสถานทีท่ างาน นอกจาก
จะทาให้กระบวนการผลิตหยัดชะงักลงเพื่อช่วยเหลือผูบ้ าดเจ็บ ทาให้สูญเสียเวลาทางาน และยัง
ส่งผลต่อพนักงานด้านสภาพจิตใจ ถึงแม้ว่าจะเกิดกับผู้ปฏิบตั งิ านเพียงไม่ก่คี น รวมทัง้ ผู้บงั คับ
บัญชาย่อมมีความกังวลในการเกิดเหตุการณ์ประสบอุบตั เิ หตุหรืออันตรายต่างๆ ซึง่ ส่งผลกระทบ
ทีส่ าคัญต่อผูร้ ว่ มงานทีป่ ฏิบตั งิ านในสถานทีน่ นั ้ ได้แก่
3.1 ผูร้ ่วมงานต้องหยุดปฏิบตั งิ านชัวคราวเพราะต้
่ องช่วยเหลือผูป้ ระสบอันตราย
และการให้ข้อมูลหรือรายงานการเกิดเหตุการณ์ท่ปี ระสบอันตราย รวมทัง้ มีความตกใจทาให้
ตื่นเต้นกับเรือ่ งราวในระยะหนึ่ง
3.2 ผูร้ ว่ มงานเสียขวัญ และไม่มนใจการปฏิ
ั่ บตั งิ านในหน้าทีต่ นเอง
3.3 หัว หน้ า งานหรือ ผู้ บ ัง คับ บัญ ชาสู ญ เสีย เวลาเนื่ อ งจากต้ อ งช่ ว ยเหลือ
ผูบ้ าดเจ็บ
141

3.4 หัวหน้างานหรือผูบ้ งั คับบัญชาสูญเสียเวลาในการสอบสวนผู้ประสบอันตราย


และประสานงานกับหน่วยงานหรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องให้ดาเนินงานต่อ
3.5 หัวหน้ างานหรือผู้บงั คับบัญชามีภาระหน้ าที่งานเพิม่ มากขึ้น ในการหาวิธ ี
การแก้ไขและควบคุมป้ องกันไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุซ้า
3.6 หัวหน้างานหรือผูบ้ งั คับบัญชามีภาระเพิม่ ในการหาผูป้ ฏิบตั งิ านแทนผูป้ ระสบ
อันตรายกรณีมงี านเร่งด่วน และต้องมีภาระในการสอนงานผูป้ ฏิบตั งิ านคนใหม่
4. ผลกระทบต่ อนายจ้าง เมื่อลูกจ้างหรือผูป้ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบการเกิด
การประสบอัน ตรายย่อ มเกิดความสูญ เสียที่สาคัญ ต่อ นายจ้า งทางด้านเศรษฐกิจ ตลอดจน
ภาพลักษณ์ของสถานประกอบการหรือองค์การ อันเนื่องจากต้องเสียค่าใช้จ่ายกับลูกจ้าง การหยุด
ชะงักของการผลิต การสูญเสียลูกจ้างที่มคี วามรู้ ความสามารถ และผูร้ บั บริการขาดความไว้วางใจ
จึงส่งผลกระทบทีส่ าคัญ ได้แก่
4.1 สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และเกี่ยวกับการดูแลลูกจ้างขณะ
บาดเจ็บ เจ็บป่ วย และพักฟื้ นรักษาตัว
4.2 สูญเสียค่าใช้จา่ ยในการทาศพลูกจ้างทีป่ ระสบอันตรายถึงขัน้ เสียชีวติ
4.3 สูญเสียค่าใช้จ่ายเป็ นเงินทดแทน ซึ่งจ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือผู้มสี ทิ ธิตาม
กฎหมายกองทุนทดแทนสาหรับการบาดเจ็บ เจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางานของลูกจ้าง
4.4 สูญเสียค่าใช้จ่ายในการประกันชีวติ ทีบ่ ริษทั ประกันชีวติ ต้องจ่ายให้กบั ผู้
ทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บหรือเสียชีวติ ทีส่ ถานประกอบการได้ทาประกันชีวติ ให้แก่ผูป้ ระสบอันตรายไว้
4.5 สูญเสียค่าใช้จ่ายในการซ่อมเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ทีไ่ ด้รบั
ความเสียหายทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุ
4.6 สูญเสียค่าใช้จ่ายจากวัตถุดบิ ในการผลิตได้รบั ความเสียหาย ในกรณีท่ี
เกิดอันตราย
4.7 สูญ เสียโอกาสในการขายสินค้า และการผลิต ต้องหยุด ชะงักทาให้ขาด
โอกาสทางกาไร
4.8 สูญเสียค่าใช้จา่ ยในด้านสวัสดิการต่าง ๆ ให้แก่ผไู้ ด้รบั บาดเจ็บ
4.9 สูญ เสีย ค่ า ใช้จ่า ยในการด้านค่ า จ้า งให้กับ ผู้ป ระสบอัน ตราย บาดเจ็บ
เจ็บป่ วยในกรณีไม่สามารถมาทางานได้ ซึง่ เป็ นไปตามกฎหมายทีก่ าหนด
4.10 สูญเสียชื่อเสียงและภาพลักษณ์ขององค์การ
4.11 ทาให้ค่แู ข่งขันได้เปรียบเทียบทางการค้าในขณะช่วงระยะเวลาที่มปี ั ญหา
ด้านการประสบอันตรายของผูป้ ฏิบตั งิ าน
5. ผลกระทบต่ อประเทศชาติ ในกรณีท่ลี ูกจ้างในสถานประกอบการประสบ
อันตราย บาดเจ็บ เจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน ย่อมส่งผลต่อความสูญเสียของประเทศชาติ
เช่น รัฐต้องเสียค่าใช้จา่ ย และงบประมาณในการรักษาพยาบาลผูท้ บ่ี าดเจ็บ และทุพลภาพ รวมทัง้
142

สูญเสียทรัพยากรมนุ ษย์ของชาติไป ซึ่งก่อให้เกิดปั ญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ตามมา โดย


ผลกระทบทีส่ าคัญๆ ได้แก่
5.1 รัฐต้องรับภาระค่าใช้จ่ายต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าฟื้ นฟู
สภาพ ตลอดจนค่าใช้จา่ ยในการเลีย้ งในแต่ละเดือนให้แก่ผทู้ พ่ี กิ าร
5.2 รัฐต้องรับภาระค่าใช้จา่ ยเงินทดแทนร่วมกับสถานประกอบการ
5.3 รัฐต้องภาระในค่าใช่จา่ ยการฝึกอบรมอาชีพทีเ่ หมาะสมให้กบั ทีท่ ุพลภาพ
5.4 รัฐต้องรับภาระค่าใช้จ่า ยด้านสวัสดิการต่างๆ ให้แก่ผู้ประสบอันตรายที่
ทุพพลภาพ
5.5 ประเทศชาติตอ้ งสูญเสียบุคคลทีม่ คี วามชานาญในการทางาน
5.6 ผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศชาติในกรณีทม่ี กี ารหยุดของ
เครือ่ งจักร หรือหยุดงานของพนักงาน
5.7 ทาให้ประเทศชาติตอ้ งเกิดภาพลักษณ์ในด้านลบต่อสายตานานาชาติ
จากผลกระทบที่สาคัญที่เกิดอุบตั เิ หตุ หรือประสบอันตราย ของผู้ปฏิบตั ิงานในสถาน
ประกอบการในประเทศย่อมทาให้ ส่งผลกระทบที่สูญ เสีย ในด้านต่ างๆ ไม่ว่าจะผู้ปฏิบตั ิงาน
นายจ้าง เพื่อนร่วมงาน ครอบครัวผู้ประสบอันตราย และประเทศชาติ ส่งผลต่อเศรษฐกิจโดย
ของประเทศ สังคม รวมทัง้ ภาพลักษณ์ของประเทศชาติ
จากการรายงานประจาปี 2558 กองทุนเงินทดแทน สานักงานกองทุนทดแทน สานักงาน
ประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ได้มกี ารเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วย
เนื่องจากการทางาน จาแนกตามความรุนแรง ปี 2549 - 2558 แสดงในตารางที่ 2 มีรายละเอียด
ดังนี้
143

ตารางที่ 3.1 จานวนลูกจ้างทีป่ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางานจาแนกตามความ


รุนแรง ปี 2549-2558
ความรุนแรง
ปี พ.ศ. จานวน ตาย ทุพลภาพ สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน รวม
ลูกจ้าง อวัยวะ เกิ น 3 วัน ไม่เกิ น 3 วัน
บางส่วน
2549 7,992,025 808 21 3,413 51,901 148,114 204,257
2550 8,178,180 741 16 3,259 50,525 144,111 198,652
2551 8,135,606 613 15 3,096 45,719 127,059 176,502
2552 7,939,923 597 8 2,383 39,850 106,598 149,436
2553 8,177,618 619 11 2,149 39,919 103,813 146,511
2554 8,222,960 590 4 1,630 35,709 91,699 129,632
2555 8,575,398 717 19 1,818 36,166 93,106 131,826
2556 8,901,624 635 28 3,036 31,419 76,776 111,894
2557 9,132,756 603 11 1,463 29,254 68,903 100,234
2558 9,336,317 575 6 1,324 27,845 65,924 95,674
ทีม่ า : สานักงานกองทุนเงินทดแทน สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน, 2558,หน้า 17

อัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ในปี 2558 มีอตั ราการประสบอันตราย


โดยเทียบกับจานวนลูกจ้างในความคุม้ ครองกองทุนเงินทดแทน ณ 31 ธันวาคม 2558 จานวน
9,336,317 ราย พบว่า มีอตั ราการประสบอันตรายเท่ากับ 10.25 ต่อพันราย และหากนับจานวน
การประสบอันตรายเฉพาะกรณีรา้ ยแรง พบว่า อัตราการประสบอันตราย เท่ากับ 3.19 ต่อพันราย
จังหวัดที่มีอตั ราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย สูงสุด 10 อันดับแรก
นับจานวนการประสบอันตราย(ทุกกรณีความรุนแรง) พบว่า จังหวัดสมุทรปราการ มี
อัตราการประสบอันตรายสูงสุด เท่ากับ 20.41 ต่อพันราย รองลงมา คือ จังหวัดอุตรดิตถ์ เท่ากับ
15.95 ต่อพันราย และจังหวัดสมุทรสาคร เท่ากับ 15.90 ต่อพันราย ตามลาดับ
นับจานวนการประสบอันตราย (กรณีร้ายแรง) พบว่า จังหวัดสตูล มีอตั ราการประสบ
อันตรายสูงสุด เท่ากับ 7.93 ต่อพันราย รองลงมา คือ จังหวัดพัทลุง เท่ากับ 7.91 ต่อพันราย
และจังหวัดแพร่ เท่ากับ 7.51 ต่อพันราย ตามลาดับ ดังแสดงในตารางที่ 3.2 ดังนี้
144

ตารางที่ 3.2 จังหวัดทีม่ อี ตั ราการประสบอันตรายในการทางานของลูกจ้าง


นับทุกกรณี ความรุนแรง นับกรณี ร้ายแรง
จานวน
อัตราต่อ จานวน
จานวน การ จานวน อัตราต่อ
จังหวัด 1,000 จังหวัด การประสบ
ลูกจ้าง ประสบ ลูกจ้าง 1,000 ราย
ราย อันตราย
อันตราย
1.สมุทรปราการ 706,802 14,427 20.41 1. สตูล 8,324 66 7.93
2. อุตรดิตถ์ 11,159 178 15.95 2. พัทลุง 10,493 83 7.91
3. สมุทรสาคร 374,923 5,961 15.90 3. แพร่ 11,043 79 7.15
4. ฉะเชิงเทรา 205,937 2,917 14.15 4. อุตรดิตถ์ 11,159 74 6.63
5.สุราษฎร์ธานี 88,204 1,193 13.53 5. ตรัง 29,022 186 6.41
6. ตรัง 29,022 390 13.44 6. สมุทรปราการ 706,802 4,362 6.17
7. แพร่ 11,043 147 13.31 7. สมุทรสาคร 374,923 2,259 6.03
8. อุดรธานี 42,201 552 13.08 8. บึงกาฬ 3,737 22 5.89
9. สิงห์บุรี 17,829 231 12.96 9. สงขลา 150,093 883 5.88
10. พัทลุง 10,493 135 12.87 10. ชุมพร 24,143 141 5.84
ทีม่ า : สานักงานกองทุนเงินทดแทน สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน, 2558, หน้า 19
หมายเหตุ : 1. นับทุกกรณีความรุนแรง หมายถึง ตาย ทุพลภาพ สูญเสียอวัยวะบางส่วน หยุดงานเกิน 3 วัน
และหยุดงานไม่เกิน 3 วัน
2. นับกรณีรา้ ยแรง หมายถึง ตาย ทุพลภาพ สูญเสียอวัยวะบางส่วน หยุดงานเกิน 3 วัน

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


ทฤษฎีเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ
ทฤษฎีเกีย่ วกับสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ เป็ นการคาดการณ์การเกิดอุบตั เิ หตุซง่ึ มีทฤษฎี
ด้วยกันหลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีโดมิโนของ เฮนริช (Heinrich’s Domino Theory) ทฤษฎีปัจจัย
มนุษย์ ทฤษฎีอุบตั เิ หตุ/อุบตั กิ ารณ์ ทฤษฎีระบาดวิทยา ทฤษฎีระบบ และทฤษฎีสาเหตุจากการเกิด
เป็ นต้น
ทฤษฎีโดมิ โนของ เฮนริ ช (Heinrich’s Domino Theory)
ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) เฮนริช (Henrich, H.W.) เป็ นผูค้ ดิ ค้นทฤษฎีโดมิโน
ขึน้ มา เขากล่าวว่า การบาดเจ็บหรือการสูญเสียต่าง ๆ เป็ นผลมาจากการเกิดอุบตั เิ หตุ ซึง่ สาเหตุ
ของอุบตั เิ หตุ ก็มาจากการกระทาและสภาพแวดล้อมในการทางานที่ไม่ปลอดภัย โดยทฤษฎีน้ี
เปรียบเสมือนตัวโดมิโนทีเ่ รียงกันอยู่ 5 ตัวใกล้เคียงกัน ถ้าตัวใดตัวหนึ่งล้มลง ย่อมมีผลทาให้
โดมิโนตัวอื่น ทีอ่ ยูถ่ ดั ไปล้มตามไปด้วยเหมือนลูกโซ่ ดังนี้ (Goetsch, D.L.2005, p.38-39)
1. บรรพบุรษุ และสภาพแวดล้อมทางสังคม (Ancestry and social environment)
เป็ นปั จจัยสาคัญอันดับแรกที่เป็ นสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ โดยสภาพการเลีย้ งดูจากครอบครัว
145

ฐานะความเป็ นอยู่ รวมถึงการให้การศึกษา การสร้างเจตคติ ลักษณะนิสยั ความประพฤติสบื ทอด


กันมาจากอดีตทาให้แต่ละบุคคลมีพฤติกรรมที่แสดงออกมาที่แตกต่างกัน บุคลิกภาพที่ได้รบั
ประสบเป็ นเวลานาน เช่น ความสะเพร่า ความประมาท เลินเล่อ ขาดความคิด ความไตร่ตรอง
ละเอียดถีถ่ ว้ น การชอบเสีย่ งอันตราย พฤติกรรมก้าวร้าว เป็ นต้น
2. ความบกพร่องของบุคคล (Fault of Person) เป็ นปั จจัยอันดับสองทีท่ าให้เกิด
อุบตั เิ หตุ ความบกพร่องทางร่างกาย ได้แก่ ประสิทธิภาพในการตอบสนองต่อสิง่ แวดล้อม สายตา
การเจ็บป่ วย ความเมือ่ ยล้า เป็ นต้น
3. การกระทาที่ ไม่ปลอดภัย และ/หรือ สภาพเครื่องจักรหรือสภาพแวดล้อมที่เป็ น
อันตราย (Unsafe Act/mechanical or physical hazard) เป็ นปั จจัยลาดับทีส่ าม ทีก่ ่อให้เกิด
การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย หรือสภาพการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภัยก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุจากผูป้ ฏิบตั งิ านกระทา
ในสิง่ ทีไ่ ม่ปลอดภัยนัน่ เอง เช่น ขณะซ่อมเครื่องจักรไม่ปิดสวิตซ์ หรือ ขณะเครื่องจักรกาลังทางาน
มีการทาความสะอาด ถอดอุปกรณ์ปกป้ องอันตรายทีเ่ ครื่องออก หยอกล้อกันขณะทางานอยู่กบั
เครื่องจักร เป็ นต้น รวมทัง้ การทีส่ ภาพเครื่องจักร หรือสภาพแวดล้อมในการทางานทีเ่ ป็ นอันตราย
ก็เป็ นสาเหตุทท่ี าให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ โดยสภาพเครื่องจักรทีเ่ ป็ นอันตราย เครื่องจักรทีป่ ่ มุ กดหยุด
ฉุ กเฉินชารุด เครื่องจักรไม่มกี าร์ดครอบหรือฝาครอบปกกันอันตราย หรือจุดทีม่ กี ารเคลื่อนไหว
เครื่องมือ อุปกรณ์ในการทางานขาดประสิทธิภาพ ดัดแปลงเครื่องจักร หรือประกอบเครื่องจักร
ใช้งานเองโดยไม่ผ่านวิศวกรผูเ้ ชีย่ วชาญตรวจสอบ เป็ นต้น และสิง่ แวดล้อมสถานทีป่ ฏิบตั งิ านที่
เป็ นอันตราย เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ เสียงดังจนเกินไป การระบายอากาศไม่ดี พื้นห้องมี
คราบน้ามันหก ฝุ่ นละอองมากเกินไป เป็ นต้น
4. การเกิ ดอุบตั ิ เหตุ (Accident) อุบตั เิ หตุโดยทัวไป
่ มีสาเหตุมาจากปั จจัยทัง้ 3 ปั จจัย
ทีก่ ล่าวมาแล้ว ย่อมส่งผลทาให้เกิดอุบตั เิ หตุ /อุบตั กิ ารณ์ เช่น ตกจากทีส่ ูง ถูกของมีคมบาด วัตถุ
กระเด็นใส่ ถูกวัตถุกระแทก ถูกวัตถุหนีบ เครือ่ งจักรตัด ถูกวัตถุวงิ่ ชน เดินสะดุด ลื่นหกล้ม ฯลฯ
ซึง่ อุบตั เิ หตุเหล่านี้อาจจะเป็ นสาเหตุของการบาดเจ็บ
5. การบาดเจ็บ (Injury) เป็ นผลจากการได้รบั บาดเจ็บหรือเป็ นผลที่เกิดขึน้ กับอวัยวะ
หรือส่วนต่างๆ ของร่างกายมาจากอุบตั เิ หตุ ได้แก่ เคล็ดขัดยอก กระดูกหักหรือแตก บาดแผล
แผลฉีกขาด และแผลไฟไหม้ เป็ นต้น การบาดเจ็บเหล่านี้เป็ นผลโดยตรงจากการเกิดอุบตั เิ หตุ
จากแนวคิดของทฤษฎีโดมิโน ความปลอดภัยจะเกิดขึน้ กับผู้ปฏิบตั งิ าน หรือการจะลด
การเกิดอุบตั เิ หตุได้จะมีการป้ องกันอุบตั เิ หตุตามทฤษฎีโดมิโนหรือทฤษฎี “ลูกโซ่ของอุบตั เิ หตุ ”
(Accident Chain) คือ การตัดลูกโซ่อุบตั เิ หตุเพื่อเป็ นการไม่ให้ลูกโซ่อุบตั เิ หลุลม้ ลง (โดมิโนตัวที่
4) โดยกาจัดการกระทาและ/ หรือสภาพการณ์ทไ่ี ม่เหมาะสมออกไป (โดมิโนตัวที่ 3) ป้ องกันโดย
จัดการกับลักษณะของบุคคลที่มกี ารกระทาที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบตั เิ หตุ ส่วนสภาพการณ์ท่ไี ม่
เหมาะสมต้องมีการจัดการทีเ่ หมาะสมปลอดภัยเสมอก่อนที่การทางาน ทัง้ นี้มขี อ้ สังเกตด้วยว่า
146

การบาดเจ็บหรือความสูญเสียก็จะไม่เกิดขึ้นในการปฏิบตั ิงาน การเกิดอุบตั เิ หตุตามทฤษฎี


โดมิโน แสดงให้เห็นได้ดงั ภาพที่ 3.1

สภาพแวดล้อมและ
ภูมหิ ลังของบุคคล

ภาพที่ 3.1 ภาพจาลองการเกิดอุบตั เิ หตุตามทฤษฎีโดมิโน ของ Heinrich


ทีม่ า: David L.Goetsch, 2005, p. 38.

ทฤษฎีปัจจัยมนุษย์ (The Human Factor Theory)


ทฤษฎีปัจจัยมนุษย์อธิบายแนวคิดสาเหตุสาคัญของการเกิดอุบตั เิ หตุเป็ นความผิดพลาด
ของมนุ ษย์ มีลกั ษณะห่วงโซ่ ซึง่ ปั จจัยทีท่ าให้เกิดความผิดพลาดของมนุ ษย์ม ี 3 ปั จจัย คือ การ
รับภาระมากเกินไป การตอบสนองทีไ่ ม่เหมาะสม การกระทาทีไ่ ม่เหมาะสม โดยแสดงให้เห็นใน
ภาพที่ 3.2 และมีรายละเอียด ดังนี้
147

การรับภาระมากเกิ นไป

การกระทาที่ไม่เหมาะสม ความผิดพลาดของมนุษย์ การตอบสนองที่ไม่


เหมาะสม

ภาพที่ 3.2 ปั จจัยทีเ่ กิดความผิดพลาดของมนุษย์


ทีม่ า: David L.Goetsch, 2005, p. 40

สาเหตุการเกิ ดอุบตั ิ เหตุของมนุษย์


1. การรับภาระมากเกิ นไป (Overload) หมายถึง ความไม่สมดุลของระยะทีก่ าหนดให้
บุคคลปฏิบตั งิ านกับปริมาณงานทีไ่ ด้รบั เนื่องจากศักยภาพของบุคคลทีจ่ ะปฏิบตั งิ านให้สาเร็จ
ขึน้ อยูก่ บั ทักษะของแต่ละคน การฝึกอบรม ภาวะจิตใจ ความล้า ความเครียด และสภาพร่างกาย
แนวคิดนี้อธิบายเพิม่ เติมว่า ปริมาณงานจริง ๆ ของบุคคลได้รบั ไม่ใช่มเี พียงตัวงานเท่านัน้ แต่
ยังมีส่วนประกอบอื่นๆ ทีเ่ ป็ นภาระเพิม่ เติมอันเป็ นผลมาจาก ปั จจัยด้านสิง่ แวดล้อม ได้แก่ เสียง
สิง่ รบกวนอื่นๆ ตลอดจนปั จจัยภายใน ของผู้ปฏิบตั งิ านสามารถเกิดขึน้ ทัง้ ทางกายภาพ ได้แก่
ปั ญหาส่วนตัว ความเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย ทางจิตใจ และความวิตกกังวล และปั จจัยด้านสถานการณ์
ได้แก่ ระดับความเสีย่ งของงาน คาแนะนาขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านทีไ่ ม่ชดั เจน และอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
ก่อให้เกิดผลตามมา
2. การตอบสนองที่ ไม่เหมาะสม (Inappropriate response) หมายถึง การตอบสนอง
ของบุคคลในการป้ องกันอุบตั เิ หตุเมื่ออยู่ในสถานการณ์ ต่างๆ แต่ในขณะเดียวกันบางคนรับรูถ้ งึ
สภาวะทีเ่ กิดอันตรายแต่ไม่ดาเนินการจะป้ องกันการเกิดอันตรายหรืออุบตั เิ หตุนนั ้ ก็แสดงว่าเป็ น
การตอบสนองทีไ่ ม่เหมาะสมเช่นกัน ยกตัวอย่าง การทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านถอดเซฟการ์ด หรือฝาครอบ
ออกจากเครื่อ งจัก รเพื่อ ให้ท างานได้ส ะดวกการไม่ป ฏิบ ตั ติ ามข้อ ก าหนดหรือ ขัน้ ตอนการ
148

ปฏิบ ตั งิ านที่ปลอดภัยเพราะต้อ งการความรวดเร็วในการปฏิบตั ิงาน ซึ่งการกระทาดังกล่ าว


ผู้ปฏิบตั งิ านทราบว่าไม่ปลอดภัยและสามารถนาไปสู่การเกิดอันตรายหรือเกิดอุบตั เิ หตุได้ แต่
ปฏิบตั เิ ช่นนัน้ นอกจากนี้ การตอบสนองทีไ่ ม่เหมาะสมยังรวมถึงการจัดหน่ วยทีท่ างานไม่เหมาะสม
กับผูป้ ฏิบตั งิ านทีท่ างานร่วมกันหลายคนเนื่องจากไม่คานึงถึงสิง่ ต่างๆ เช่น ความสูงของบริเวณ
งาน ระยะเอื้อ มในการปฏิบตั ิงาน ความสะดวกขณะปฏิบตั ิ งาน สิง่ ต่างๆ เหล่านี้ล้วนแต่เป็ น
สาเหตุทท่ี าให้เกิดอุบตั เิ หตุและการบาดเจ็บตามมาทัง้ นัน้
3. การกระทาที่ ไม่เหมาะสม (Inappropriate activities) หมายถึง ความผิดพลาด
ของคนมีผลมาจากการกระทาไม่เหมาะสม นั น่ คือ การทีบ่ ุคคลปฏิบตั ติ น เมื่ออยู่ในสถานการณ์
ต่างๆ อย่างไม่ถูกต้องเหมาะสม เช่น การปฏิบตั งิ านโดยไม่มคี วามรูใ้ นเรื่องนัน้ เลย ความผิดพลาด
ในการประเมินระดับความเสีย่ งของงานและความเสีย่ งทีแ่ ฝงอยูใ่ นกระบวนการทางานของงานนัน้
จะเห็นได้ว่า ความสัมพันธ์ของปั จจัยทัง้ 3 ปั จจัย สรุปได้เป็ นแบบจาลองทฤษฎีปัจจัย
มนุษย์ได้แสดงในภาพที่ 3.3

ทฤษฎีปัจจัยมนุษย์

การรับภาระมากเกิ นไป การตอบสนองที่ไม่ การกระทาที่ไม่


เหมาะสม เหมาะสม
- ปั จจัยสภาพแวดล้อม - การรับรูส้ ภาวะทีเ่ ป็ น - การปฏิบตั งิ านโดยขาด
: เสียง สิง่ รบกวน อันตรายแต่ไม่ การฝึ กอบรม
- ปั จจัยภายใน : ปั ญหา ดาเนินการป้ องกันแก้ไข - การประเมินระดับความ
ส่วนตัว อารมณ์ - การถอดเซฟการ์ดออก เสีย่ งของงานผิดพลาด
ตึงเครียด จากเครื่องจักร และ
- ปั จจัยสถานการณ์ : อุปกรณ์
ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านไม่ -การปฏิบตั งิ านโดยไม่
ชัดเจน ระดับความเสีย่ ง คานึงถึงความปลอดภัย
ของงาน

ภาพที่ 3.3 ทฤษฎีปัจจัยมนุษย์


ทีม่ า: Goetsch L.David, 2005, p.41.
149

ทฤษฎีอบุ ตั ิ เหตุ/อุบตั ิ การณ์ (Accident /Incident Theory)


ทฤษฎีอุบตั เิ หตุเป็ นทฤษฎีทข่ี ยายเพิม่ เติมมาจากทฤษฎีปัจจัยมนุ ษย์ ถูกพัฒนาขึน้ โดย
แดนปี เตอร์เซน (Dan Peterson) บางครัง้ จึงถูกเรียกว่าทฤษฎีอุบตั เิ หตุ/อุบตั กิ ารณ์ของปี เตอร์
เซน (Goetsch L.David, 2005, p. 42)
ปี เตอร์เซนได้เสนอองค์ประกอบใหม่เพิม่ เติมจากทฤษฎีปัจจัยมนุ ษย์ คือ องค์ประกอบ
ของความไม่เหมาะสมด้านการยศาสตร์ (Ergonomic traps) ได้แก่ การจัดหน่ วยงานทีท่ างานที่
ต้องใช้ร่วมกันไม่เหมาะสมในด้านต่างๆ เช่น ขนาดของแรงกด ระยะเอื้อม เป็ นต้น ตลอดจน
ความคาดหวังทีไ่ ม่ตรงกันระหว่างผูบ้ งั คับบัญชากับพนักงาน
ส่วนองค์ประกอบด้านอื่นๆ คือ การตัดสินใจทีผ่ ดิ พลาด (Decision to Err) และความ
ล้มเหลวของระบบ (Systems Failure) มีรายละเอียดเหมือนกับทฤษฎีปัจจัยมนุ ษย์ ดังแสดงใน
ภาพที่ 3.4
150

ทฤษฎีอบุ ตั ิ เหตุ/อุบตั ิ การณ์ของปี เตอร์เซน

การรับภาระมากเกิ นไป ความไม่เหมาะสมด้าน การตัดสิ นใจผิดพลาด


- ความกดดัน การยศาสตร์ - ตัดสินใจผิดพลาดเรื่องความ
- ความล้า - การจัดการหน่วยทีท่ างาน เสีย่ ง
- การจูงใจ ไม่เหมาะสม - การขาดความตระหนัก
- ยาเสพติด - ความคาดหวังทีไ่ ม่ตรงกัน - การใช้เหตุผลในการตัดสิน
- แอลกอฮอล์ โดยอิงตามสถานการณ์
- ความวิตกกังวล

ความผิ ดพลาดของมนุษย์

ความล้มเหลวของระบบ
- นโยบาย อุบตั ิ เหตุ
- ความรับผิดชอบ
- การฝึกอบรม
- การตรวจสอบ การบาดเจ็บ/ความเสียหาย
- ความถูกต้อง
- มาตรฐาน

ภาพที่ 3.4 แบบจาลองของทฤษฎีอุบตั เิ หตุ/อุบตั กิ ารณ์ของปี เตอร์เซน


ทีม่ า: Goetsch L.David, 2005, p.43

สาหรับทฤษฎีอุบตั ิเหตุน้ีการรับภาระมากเกินไป ความไม่เหมาะสมด้านการยศาสตร์


และ/หรือ การตัดสินใจทีน่ าไปสู่ความผิดพลาดเป็ นสิง่ สาคัญทีท่ าให้มนุ ษย์ทาสิง่ ผิดพลาด ซึง่ การ
ตัดสินใจผิดพลาดอาจเกิดขึน้ โดยที่ผปู้ ฏิบตั งิ านมีความตระหนักในความปลอดภัยหรือเกิดจาก
การขาดความตระหนักก็ได้ หรืออาจเกิดจากความกดดันต่างๆ เช่น การต้องทางานปริมาณมาก
ให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด แรงกดดันจากหัวหน้ างานที่ต้องการผลผลิตอย่างเร่งด่วน
รวมถึงปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ ได้แก่ การขาดงบประมาณในการซ่อมแซมอุปกรณ์
151

ป้ องกันอันตราย สาหรับเครื่องจักรชารุด เป็ นต้น ทาให้ บุคคลต้องตัดสินใจปฏิบตั งิ านทัง้ ๆ ที่


ตระหนักดีว่า อาจจะก่อให้เกิดอันตรายได้ นอกจากนี้ยงั มีปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการตัดสินใจทีจ่ ะ
ปฏิบตั งิ านที่มคี วามเสีย่ ง คือ การทีบ่ ุคคลนัน้ มีความคิดว่า “อันตรายหรืออุบตั เิ หตุนัน้ จะไม่เกิด
ขึน้ กับตนเอง” ด้วยเหตุน้ีจงึ ทาให้บุคคลนัน้ ตัดสินใจที่จะกระทาสิง่ ที่อาจก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุหรือ
การบาดเจ็บลงไป
ความล้มเหลวของระบบเป็ นองค์ประกอบทีส่ าคัญของทฤษฎีอุบตั เิ หตุ มี 2 ประการ คือ
1) เป็ นการแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวข้องกันระหว่างสาเหตุ คือ ความสามารถในการบริ หาร
ตัดสินใจ/การบริหารพฤติกรรมกับเรื่องของความประพฤติกบั เรื่องของความปลอดภัย และ 2)
เป็ นการพิสูจน์ให้เห็นว่าหลักการบริหารในการป้ องกัน อุบตั เิ หตุมคี วามสาคัญเทียบเท่าแนวคิด
ด้านความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของผูป้ ฏิบตั งิ าน

ทฤษฎีระบาดวิ ทยา (Epidemiological Theory)


โดยทัวไปทฤษฎี
่ ต่างๆ ส่วนใหญ่มกั จะให้ความสาคัญกับอุบตั เิ หตุและผลที่เกิดขึน้ คือ
การบาดเจ็บ ปั จจุบนั แนวโน้มให้ความสาคัญในมุมกว้างขึน้ โดยจะให้ความสาคัญครอบคลุมถึง
ด้า นสุ ข ศาสตร์อุ ต สาหกรรมด้ว ย โดยสุ ข ศาสตร์อุ ต สาหกรรมจะศึก ษาเกี่ย วกับ ปั จ จัย ด้า น
สิง่ แวดล้อมที่มผี ลทาให้เกิดความเจ็บป่ วย โรค ตลอดจนการมีสุขภาพอ่อนแอ อันเป็ นที่มาของ
การพัฒนาทฤษฎีระบาดวิทยาทีเ่ กีย่ วข้องกับสาเหตุการเกิดอุบตั เิ หตุ
ส่วนระบาดวิทยาเป็ นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของสาเหตุด้านปั จจัยสิง่ แวดล้อมกับ
การเกิดโรค ดังนัน้ จึงได้นารูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยาดังกล่าวมาใช้ศกึ ษาความสัมพันธ์
ของสาเหตุดา้ นปั จจัยสิง่ แวดล้อมกับการเกิดอุบตั เิ หตุหรือการเกิดโรค ดังแสดงในภาพที่ 3.5
ทฤษฎีระบาดวิทยามีองค์ประกอบทีส่ าคัญดังนี้ คือ
1) ลักษณะเฉพาะก่อนการจัดการ (Predispositional Characteristics) หมายถึง ลักษณะ
เฉพาะของแต่ละบุคคลหรือปั จจัยสิง่ แวดล้อมที่มมี าแต่เก่าแก่ก่อนเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่จะนา
ไปสู่การเกิดอุบตั เิ หตุ ซึง่ ลักษณะเฉพาะของบุคคล ได้แก่ การตอบสนองของบุคคล การรับรูข้ อง
บุคคล ส่วนปั จจัยสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพ เคมี การยศาสตร์ และจิตวิทยาสังคม
2) ลักษณะเฉพาะของสถานการณ์ (Situational Characteristics) หมายถึง เหตุการณ์
หรือสถานการณ์ท่เี ป็ นอยู่ในขณะนัน้ ได้แก่ การประเมินความเสีย่ งของแต่ละบุคคล แรงกดดัน
จากผูร้ ว่ มงาน การให้ความสนใจของผูบ้ งั คับบัญชา
องค์ประกอบทัง้ สองยังสามารถส่งผลให้เกิดสถานการณ์หรือป้ องกันสถานการณ์ทจ่ี ะทา
ให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ เช่น การทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านเป็ นคนวิตกกังวล และเครียดง่าย (ลักษณะเฉพาะก่อน
การจัดการ) เมื่อ ได้รบั แรงกดดัน (ลักษณะเฉพาะของสถานการณ์) คือได้รบั คาสังจากผู ่ ้บงั คับ
บัญชาให้ผลิตสินค้าในปริมาณที่เพิม่ ขึ้นจากเดิมในระยะเวลาในการผลิตเท่าเดิมทาให้ต้อ งเร่ง
การทางานเพิม่ ขึน้ ความวิตกกัง วลและความเครียดที่เดิมมีอยู่แล้วก็จะยิง่ เพิม่ ขึน้ เมื่อได้รบั แรง
152

กดดัน นั น้ อาจท าให้พ นัก งานท างานผิด พลาดและเพิ่ม โอกาสของการเกิด อุ บ ัติเ หตุ ไ ด้ ใน
ขณะเดียวกัน ถึงแม้ผปู้ ฏิบตั งิ านจะเป็ นคนวิตกกังวลและเครียดง่าย แต่ถ้าไม่มแี รงกดดันในการ
ทางาน ก็จะเป็ นการป้ องกันโอกาสของการเกิดอุบตั เิ หตุได้

ทฤษฎีระบาดวิ ทยา

ลักษณะเฉพาะก่อนการจัดการ ลักษณะเฉพาะของสถานการณ์
- การตอบสนองของบุคคล - การประเมินความเสีย่ งของแต่ละบุคคล
- การับรูข้ องบุคคล - แรงกดดันจากผูร้ ว่ มงาน
- ปั จจัยสิง่ แวดล้อม - การให้ความสนใจของผูบ้ งั คับบัญชา

ทาให้เกิ ดสถานการณ์/ป้ องกันสถานการณ์ที่จะ


นาไปสู่อบุ ตั ิ เหตุได้

ภาพที่ 3.5 แบบจาลองของทฤษฎีระบาดวิทยา


ทีม่ า: Goetsch L.David, 2005, p.45.

ทฤษฎีระบบ (Systems Theory)


ระบบ คือ กลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ที่มกี ารปฏิสมั พันธ์และมีความเกี่ยวข้องกันเพื่อ
ประสานเป็ นอันเดียวกัน เป็ นพืน้ ฐานแนวคิดของสาเหตุการเกิดอุบตั เิ หตุตามทฤษฎีระบบ โดย
อาร์ เจ ไฟเรนซีส่ ์ (R.J.Firenzie) มีแนวคิดเกีย่ วกับรูปแบบระบบความปลอดภัยว่า ในการศึกษา
ถึงสาเหตุของอุบตั เิ หตุจะต้องศึกษา องค์ประกอบทัง้ ระบบซึ่งมีปฏิกริ ยิ าสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
องค์ประกอบดังกล่าวประกอบด้วย คน (Man) เครื่องจักร (Machine) และสิง่ แวดล้อม (Environment)
ความสาคัญขององค์ประกอบ ทีเ่ ป็ นสาเหตุของอุบตั เิ หตุแต่ละองค์ประกอบมีความสาคัญต่อการ
ตัดสินใจในการผลิตงาน (Task) และการเกิดอุบตั เิ หตุ (Accident) ดังนี้
153

1. คนหรือผูป้ ฏิ บตั ิ งาน (Person) ในการผลิตงานหรือทางานในแต่ละชิน้ ของผู้ ปฏิบตั งิ าน


จาเป็ นต้องตัดสินใจ (Decision) เลือกวิธปี ฏิบตั อิ ย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้งานบรรลุเป้ าหมาย แต่
การตัดสินใจในการดาเนินงานให้บรรลุเป้ าหมายในแต่ละครัง้ นัน้ ย่อมมีความเสีย่ ง (Risks) แอบแฝง
อยู่เ สมอดังนั น้ ในการตัดสินใจแต่ล ะครัง้ การปฏิบ ตั งิ านต้อ งมีข อ้ มูล ข่าวสาร (Information)
ที่เพียงพอถ้าหากข้อมูลข่าวสารดีถูกต้องก็จะทาให้การตัดสินใจถูกต้องแต่ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องก็
จะทาให้การตัดสินใจนัน้ ผิดพลาดหรือมีความเสี่ยงสูงและทาให้เกิดความล้ มเหลวในการทางาน
ซึง่ อาจจะส่งผลให้เกิดอุบตั เิ หตุได้
2. อุปกรณ์ เครื่องจักร (Machine) อุปกรณ์เครื่องจักรทีใ่ ช้ในการผลิตจะต้อง มีความ
พร้อมปราศจากข้อผิดพลาดถ้าอุปกรณ์เครื่องจักรออกแบบไม่ถูกต้อง ไม่ถูกหลักวิชาการ หรือ
ขาดการบารุงรักษาทีด่ ยี ่อมทาให้กลไกของเครื่องจักรปฏิบตั งิ านผิดพลาด ซึ่งจะนาไปสู่การเกิด
อุบตั เิ หตุ
3. สิ่ งแวดล้อม (Environment) สภาพการทางาน และสิง่ แวดล้อมในการทางาน
มีบทบาทสาคัญ ต่อ การผลิต ความผิดพลาดที่เกิดขัน้ กับสิง่ แวดล้อ มย่อ มก่อ ให้เกิดปั ญ หาต่อ
ผูป้ ฏิบตั งิ านและเครือ่ งจักร ซึง่ จะเป็ นสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุได้ฉะนัน้ ก่อนทีจ่ ะตัดสินใจทุก
ครัง้ ผูป้ ฏิบตั งิ านจะต้องหาข้อมูลเพื่อให้แน่ ใจว่าการตัดสินใจนัน้ ถูกต้องโดยพิจารณาจากข้อมูล
ประกอบการตัด สิน ใจ ซึ่ง ประกอบด้ว ยข้อ มูล เกี่ย วกับ งานที่ต้อ งปฏิบ ัติแ ละข้อ มูล เกี่ย วกับ
ลักษณะ อันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ (Nature of Harmful Consequences) ถ้าหากข้อมูลมีจานวน และ
คุณภาพมากพอก็จะทาให้ความเสีย่ งต่างๆ ลดลงอยู่ในขีดจากัดทีอ่ าจสามารถควบคุมได้โอกาสที่
จะเกิด ความผิดพลาดหรืออุบตั เิ หตุกจ็ ะลดลงด้วย
ดังนัน้ ก่อนการตัดสินใจลงมือปฏิบตั งิ านผูป้ ฏิบตั งิ านจะต้องมีขอ้ มูลทีเกี่ยวข้องกับงานที่
ปฏิบตั ิ ไม่ว่าจะเป็ นขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน และอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ ซึง่ หากมีขอ้ มูลทีเ่ พียงพอ
และถูกต้องแล้วจะทาให้ประเมินหรือคาดการณ์ความเสี่ยงได้ว่าในการปฏิบตั งิ านนัน้ ๆ มีความ
เสีย่ งเกิดขึน้ ซึง่ จะช่วยในการตัดสินใจว่าจะปฏิบตั งิ านอย่างไรให้เกิดความปลอดภัย ฉะนัน้ จึงมี
ความจาเป็ นทีจ่ ะต้องทาให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้รบั ข้อมูลทีจ่ าเป็ นต่อการปฏิบตั งิ านมากทีส่ ุด ไม่ว่าจะ
เป็ นการฝึกอบรม การสอนงาน ซึง่ จะช่วยให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้รบั ความรูห้ รือข้อมูลทีเ่ พียงพอทาให้
สามารถ คาดคะเนหรือประเมินได้ว่าจะมีความเสี่ยงเกิดขึน้ มากน้อยเพียงใดในการปฏิบตั งิ าน
นัน้ ๆ อันจะมีผ ลต่ อ การตัดสินใจที่จะปฏิบตั ิงาน ซึ่ง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทัง้ 3
องค์ประกอบ สามารถแสดงได้ดงั ภาพที่ 3.6
154

ย้อนกลับ

บุคคล

ให้น้าหนัก
เครือ่ งจักร สิง่ แวดล้อม เก็บข้อมูล ความเสีย่ ง ตัดสินใจ การปฏิบตั งิ าน

การปฏิสมั พันธ์กนั

ภาพที่ 3.6 แบบจาลองของทฤษฎีระบบ


ทีม่ า: Goetsch L.David, 2005, p. 47

จากแบบจาลองของทฤษฎีระบบจะเห็น ได้ว่า เมื่อบุคคลทางานกับเครื่องจักรในสภาพ


แวดล้อมในการทางานจะมีอกี 3 กิจกรรมเกิดขึน้ ระหว่างระบบกับงานทีป่ ฏิบตั ิ ตลอดเวลาทีต่ ้อง
ปฏิบตั งิ านความเสีย่ งของการเกิดอุบตั เิ หตุกย็ ่อมเกิดขึน้ ได้เสมอ บางเวลาก็จะมีความเสี่ยงต่อ
การเกิดอุบตั เิ หตุมาก ในขณะเวลาอื่นๆ อาจมีความเสีย่ งน้อย จึงทาให้ต้องมีการรวบรวมข้อมูล
และตัดสินใจ ในขณะเดียวกันการเก็บข้อมูลจะต้องได้จากการสังเกตและจดบันทึกสิง่ ต่างๆ ใน
สภาพแวดล้อมการทางานเนื่องจากการที่บุ คคลให้น้ าหนักความเสี่ยงและตัดสินใจที่จะปฏิบตั ิ
งานขึน้ อยูก่ บั เงือ่ นไขสิง่ แวดล้อมรอบๆ ตัว เช่น เมือ่ ผูป้ ฏิบตั งิ านต้องการทางานให้เกิดความเร็ว
หรือเร่งด่วน ซึ่งเครื่องจักรมีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่ควบคุมอยู่ แต่เมื่อถอดอุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายออกจะทาให้การทางานเร็วขึน้ 5 นาที แต่กลับกลายเป็ นต้องเพิม่ โอกาสในการเกิดอุบตั เิ หตุ
มากขึน้ การทาให้เครือ่ งจักรทางานเร็วขึน้ โดยถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายทีเ่ ครื่องจักรออกแล้ว
ทาให้เพิม่ ผลผลิตมากขึน้ แต่โอกาสเกิดอุบตั เิ หตุสูงขึน้ ดังนัน้ ผูป้ ฏิบตั งิ านและหัวหน้าผูค้ วบคุม
งานก็จะต้องประเมินสถานการณ์ร่วมกัน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล การให้น้ าหนักเสีย่ ง และการ
ตัดสินใจทีจ่ ะปฏิบตั งิ านนัน้ อย่างไร ซึง่ ถ้าข้อมูลต่างๆ และการประเมินความเสีย่ งมีความถูกต้องก็
จะปฏิบตั งิ านนัน้ อย่างสาเร็จไปได้และปราศจากอุบตั เิ หตุ ถ้าหากเหตุการณ์ท่กี ล่าวมาว่า ถ้า
ผู้ปฏิบตั ิงานและหัวหน้างานพิจารณาร่วมกันว่าหากถอดอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายที่เครื่องจักร
ออก ถึงแม้จะผลิตชิน้ งานได้เร็วขึน้ ถึง 3 เท่า แต่โอกาสทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านจะเสีย่ งต่อการได้รบั อันตราย
จากเครือ่ งจักรดังกล่าวก็มสี ูงมาก และถ้าหากเกิดอุบตั เิ หตุขนั ้ จะต้องหยุดกระบวนการผลิตทัง้ หมด
155

ก็ยงิ่ จะทาให้เกิดความสูญเสียมากมายตามมา ดังนัน้ เมื่อประเมินดูแล้วผู้ปฏิบตั งิ านจึงไม่ควร


ถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายออกจากเครื่องจักรเพราถึงแม้ว่าการใช้อุปกรณ์ดงั กล่าวจะทาให้
อัตราการผลิตช้ากว่าแต่ก็เพียงพอที่จะผลิตงานให้เสร็จตามกาหนดเวลาและมีความปลอดภัยต่อ
ปฏิบตั งิ าน
อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าผู้ปฏิบตั งิ านจะมีขอ้ มูลที่ถูกต้องและเพียงพอต่อการปฏิบตั งิ าน
แต่ถ้ามีปัจจัยความเครีย ด (Stressors) เกิดขึน้ ได้แก่ สภาพแวดล้อ มที่ผู้ค วบคุมเครื่อ งจัก ร
ปฏิบตั งิ านในขณะนัน้ มีความผิดปกติ เช่น เสียงดัง แสงสว่างไม่พอ หรือเกิดความเครียดทางด้าน
ร่างกาย เช่น การเจ็บป่ วย ความอ่อนล้า การติดยาเสพติด ตลอดรวมถึงความเครียดทางด้านจิตใจ
เช่น ความวิตกกังวล การมีความกดดันจากหัวหน้างานทีจ่ ะต้องทางานที่ได้รบั มอบหมายนอก
เหนือจากแผนงานที่กาหนดไว้ปกติให้เสร็จทันตามกาหนด เป็ นต้น ก็อาจทาให้การตัดสินใจ
ผิดพลาด ซึ่งจะนาไปสู่การเกิดอุบตั เิ หตุได้ เนื่องจากปั จจัยต่า งๆ เหล่านี้จะมีอทิ ธิพลต่อการ
ตัดสินใจ ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้ ไฟเรนซีส์ จึงได้ให้ขอ้ เสนอแนะว่า ก่อนทีจ่ ะเริม่ กระบวนการ
รวบรวมข้อมูล ให้น้ าหนักความเสี่ยง และตัดสินใจ จาเป็ นต้องมีการพิจารณาปั จจัยทัง้ 5 ปั จจัย
ต่างๆ เหล่านี้ก่อน ได้แก่
1. ความจาเป็ นของงานหรือความต้องการของงาน (job requirement)
2. ความสามารถและข้อจากัดของผูป้ ฏิบตั งิ าน
3. ความสาเร็จ เมือ่ งานเสร็จเรียบร้อย
4. ความสูญเสีย เมือ่ ได้พยายามปฏิบตั งิ านแล้วแต่งานไม่สาเร็จ
5. ความสูญเสีย เมือ่ ไม่ได้พยามปฏิบตั งิ าน
ปั จจัยต่างๆ ดังกล่าวนี้จะช่วยให้บุคคลมีทศั นคติท่กี ว้างขึน้ ด่อนที่จะรวบรวมข้อมูล ให้
น้ าหนักความเสีย่ งและตัดสินใจ ซึง่ เป็ นสิง่ สาคัญมากทีจ่ ะต้องพิจารณาปั จจัยต่างๆ ทัง้ 5 ปั จจัย
ทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วโดยเฉพาะเมือ่ มีปัจจัยความเครียดเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น อากาศร้อน ข้อจากัดด้าน
เวลา หรือความกดดันจากหัวหน้างาน เป็ นต้น ซึง่ อาจมีอทิ ธิพลต่อการตัดสินใจในการปฏิบตั งิ าน

สาเหตุของการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


แต่ละทฤษฎีท่เี กี่ยวข้องกับการเกิดอุบตั เิ หตุท่กี ล่าวมาแล้ว อุบตั เิ หตุมสี าเหตุของการเกิด
ได้หลากหลายปั จจัยด้วยกัน ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุตามทีแ่ ต่ละทฤษฎี
ได้นาเสนอไว้ จึงทาให้แบ่งการเกิดอุบตั เิ หตุได้เป็ นสาเหตุหลักๆ คือ สาเหตุพน้ื ฐาน และสาเหตุ
ขณะนัน้ ซึง่ สรุปได้ดงั นี้
1. สาเหตุพื้นฐาน (Basic Causes) เป็ นปั จจัยทีม่ ลู เหตุนาไปสู่การเกิดความไม่ปลอดภัย
ในการปฏิบตั ิงาน ซึ่งเป็ นตัวการสาคัญที่จะโยงหรือนาไปสู่การเกิดสาเหตุขณะนัน้ ซึ่งสาเหตุ
พืน้ ฐานของการเกิดอุบตั เิ หตุ แบ่งเป็ น 2 ประการ คือ
156

1.1 ปัจจัยจากคน (personal factor) เป็ นปั จจัยทีส่ ่งผลกระทบต่อความสามารถ


ของบุคคลไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อม ทาให้บุคคลตัดสิน ใจผิดพลาดหรือกระทาการที่ก่อให้
เกิดอุบตั เิ หตุ กระทบต่อความสามารถของบุคคล ทัง้ โดยตรงและโดยอ้อม ทาให้บุคคลตัดสินใจ
ผิดพลาดหรือกระทาการทีก่ ่อให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ ซึง่ H.W. Heinrich ได้กล่าวถึงสาเหตุของการ
เกิดอุบตั ทิ เ่ี กิดจากคนคิดเป็ นร้อยละ 88 ได้แก่
1.1.1 สภาพร่างกายที่ไม่เหมาะสมและไม่อ ยู่ในภาวะปกติ เช่น ความสูงไม่
เหมาะสมกับระดับความสูงของพื้นที่ปฏิบตั ิงาน สายตาสัน้ ไวต่ อสารภูมแิ พ้ เป็ นโรคหัวใจ มี
ความพิการด้านต่างๆ ของร่างกาย เป็ นต้น
1.1.2 ร่างกายได้รบั ความกดดันหรือความเครียด เช่น การได้รบั บาดเจ็บ เกิด
ความล้าจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ สาเหตุจากฤทธิ ์ของยาบางชนิด ภาวะขาดออกซิเจน น้ าตาล
ในเลือดต่า เป็ นต้น
1.1.3 สภาวะจิตใจหรืออารมณ์ทไ่ี ม่เหมาะสม เช่น การตกใจง่าย อารมณ์อ่อนไหว
ใจร้อน วิตกกังวล ป่ วยทางจิต เป็ นต้น
1.1.4 มีความเครียดทางด้านจิตใจ เช่น การทางานซ้าซากจาเจ ไม่สมหวังในสิง่
ที่ต้องการ มีความขัดแย้งกับเพื่อร่วมงาน สับสนในคาสังการท ่ างาน หวาดกลัวในสิง่ ต่างๆ ที่
เกิดขึน้ ในการทางาน เป็ นต้น
1.1.5 การขาดความรู้ และความเข้าใจ เช่น ไม่ได้รบั การฝึกอบรม ไม่ได้รบั การ
ปฐมนิเทศเมื่อเริม่ งานใหม่ ได้รบั คาแนะนาทีไ่ ม่ถู กต้อง การฝึกอบรมอบรมเบือ้ งต้นไม่เพียงพอ
ขาดการอบรมเพื่อทบทวนความรูใ้ หม่ๆ เป็ นต้น
1.1.6 ขาดความชานาญ /ทักษะ /ประสบการณ์ เช่น ขาดการฝึ กฝนที่ไม่เพียงพอ
ขาดผูฝ้ ึ กสอนทีไ่ ม่มคี วามรูเ้ พียงพอรวมเทคนิควิธกี ารสอนไม่มคี วามทันสมัย ไม่ได้ฝึกปฏิบตั บิ ่อย
ระยะเวลาในการฝึกปฏิบตั งิ านน้อย เป็ นต้น ซึง่ สาเหตุเหล่านี้กจ็ ะทาให้เกิดอุบตั เิ หตุได้งา่ ย
1.1.7 การขาดแรงงจูงใจ หรือ แรงจูงใจไม่เ หมาะสม เช่น วิธกี ารให้รางวัลไม่
เหมาะสม ขาดแรงจูงใจในการทางาน ขาดการลงโทษทางวินัยทีน่ าไปสู่การเปลีย่ นแปลงให้ดขี น้ึ
ต้นแบบการปฏิบตั งิ านจากหัวหน้างานไม่เหมาะสม เป็ นต้น
1.1.8 บุคลิกภาพ โดยทัวไปบุ
่ คลิก ภาพของผู้ปฏิบตั ิงานมีอ ยู่ 2 ประเภท คือ
ประเภทแรก เรียกว่า บุคลิกภาพทางบวก ได้แก่ ผูท้ ่ชี อบทางานในสิง่ ที่ถูกต้อง และเป็ นที่ยอมรับ
ของสังคมอยู่เสมอ กลุ่มนี้มกั จะไม่เกิดอุบตั ิเหตุ ในทางตรงกันข้ามจะมีประเภทที่ชอบทาสิง่ ตรง
ข้ามกับพวกแรก ได้แก่ ผูท้ ม่ี ที ศั นคติทางลบ กลุ่มนี้ชอบทาผิดกฎระเบียบข้อบังคับในการทางาน
ไม่เคร่งครัดในกฎระเบียบเพราะมีความคิดว่ายุ่งยาก และเสียเวลา โดยส่วนใหญ่จะเกิดอุบตั เิ หตุ
ในการทางานบ่อย ตัง้ แต่บาดเจ็บเล็กน้อยไปจนถึงรุนแรง
1.2 ปัจจัยจากงาน (Job Factor) เป็ นปั จจัยทีเ่ กิดขึน้ จากงานหรือสิง่ ทีเ่ กี่ยวข้องใน
การปฏิบตั งิ าน หรือ ภาวการณ์ปฏิบตั งิ าน ได้แก่
157

1.2.1 การควบคุมดูแลการปฏิบตั งิ านไม่เพียงพอหรือไม่เหมาะสม เช่น การไม่


เอาใจใส่ในการปฏิบตั งิ าน ไม่มคี ่มู อื การปฏิบตั งิ าน การมอบหมายงานไม่ชดั เจน การมอบอานาจ
ไม่เหมาะสมกับความรูค้ วามสามารถของผูป้ ฏิบตั งิ าน ขาดทักษะความรูใ้ นการบริหารจัดการงาน
ขาดการวางแผนการปฏิบตั งิ าน ขาดการสอนงาน ไม่มกี ารอบรมด้านความปลอดภัยในการทางาน
ให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ าน เป็ นต้น
1.2.2 การควบคุมดูแลทางด้านวิศวกรรมไม่เพียงพอหรือไม่เหมาะสม เช่น ไม่ม ี
การประเมินสภาพการทางาน ขาดการปรับปรุงสภาพการทางาน ขาดความรู้ ความเข้าใจในการ
ออกแบบงาน ไม่ ม ีผู้เ ชี่ยวชาญด้านวิศ วกรรมในการตรวจสอบ ไม่ปฏิบ ัติต ามมาตรฐานการ
ออกแบบด้านวิศวกรรม ขาดการติดตามประเมินผลหลังการปรับปรุง เป็ นต้น
1.2.3 เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ไม่เพียงพอหรือไม่เหมาะสม เช่น เครื่องมือ อุปกรณ์
ไม่ได้มาตรฐาน ชารุด ขาดการซ่อมบารุง ไม่เพียงพอกับปริมาณการใช้งาน ไม่เหมาะสมกับ
ลักษณะงานหรือผูป้ ฏิบตั งิ าน ไม่ได้รบั การตรวจสภาพตามระยะเวลาทีก่ าหนด ขาดเจ้าหน้าทีใ่ น
การตรวจสอบและกากับในการใช้เครือ่ งมือให้ได้มาตรฐาน เป็ นต้น
1.2.4 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านไม่เพียงพอและไม่เหมาะสม เช่น ไม่มมี าตรฐาน
การปฏิบตั งิ านทีก่ าหนดไว้ ไม่ครอบคลุมทุกขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน ภาษาทีใ่ ช้ในการสื่อความ หมาย
ในการปฏิบตั งิ านไม่ชดั เจนและเข้าใจยาก ขาดการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบตั งิ านในการจัดทาคู่ม ื อ
มาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน เป็ นต้น
การเกิดอุ บตั ิเหตุใ นการทางานผู้ปฏิบตั ิงานมาจากปั จจัยพื้นฐาน 2 สาเหตุ ซึ่งที่เป็ น
สาเหตุ จากคน และจากงาน เพราะการปฏิบตั ิงานด้วยเครื่องจักร เครื่องมือเพื่อนามาใช้เป็ น
อุปกรณ์ในการผลิตเป็ นสิง่ สาคัญ เมื่อคนกับงานต้องมีปฏิสมั พันธ์กนั ด้วยหน้าที่ท่ตี ้องปฏิบตั ิก็
ย่อมมีโอกาสในการเกิดอุบตั เิ หตุค่อนข้างสูง ดังนัน้ ผูป้ ฏิบตั งิ านจึงต้องมีความตระหนักในความ
ปลอดภัยในการทางานให้สร้างความระมัดระวังไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุ ที่ต้องอบรมให้มคี วามรูก้ ่อน
การปฏิบตั งิ าน และต้องมีความเข้าใจในงานที่ปฏิบตั เิ พื่อไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุในการทางาน ดังที่
แสดงสาเหตุการเกิดอุบตั เิ หตุทเ่ี ป็ นสาเหตุพน้ื ฐาน ดังภาพที่ 3.7
158

ภาพที่ 3.7 การเกิดอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดจากสาเหตุพน้ื ฐาน (Basic Causes)


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2559.

2. สาเหตุข ณะนัน้ (Immediate Factor) คือ สาเหตุ ในช่ว งเวลาก่อนที่จะเกิด


เหตุการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภัยหรือประสบเหตุขน้ึ ซึง่ สาเหตุขณะนัน้ จะเป็ นมูลเหตุโดยตรงทีท่ าให้เกิด
ความไม่ปลอดภัยในการทางาน โดยแบ่งออกเป็ น 2 ปั จจัย คือ
2.1 การกระทาที่ ไม่ปลอดภัย (Unsafe Acts) การกระทาของผู้ปฏิบตั งิ าน
ในขณะปฏิบตั งิ าน ซึง่ การปฏิบตั งิ านของผูป้ ฏิบตั งิ านมีผลทาให้เกิดความไม่ปลอดภัยกับตัวเอง
และผูอ้ ่นื ได้แก่
2.1.1 การทางานขาดความรอบคอบ
2.1.2 การปฏิบตั งิ านลัดขัน้ ตอน เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและสะดวกทาให้
ผิดพลาดเกิดอุบตั เิ หตุ
2.1.3 การใช้เครื่องจักร เครื่องมือหรืออุปกรณ์ ไม่ถูกวิธ ี อาจจะไม่มคี วามรู้
และไม่ปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องเพื่อความสะดวกของตนเอง
2.1.4 การปฏิบตั งิ านทีไ่ ม่ใช่หน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้องหรือหน้าทีข่ องตนเอง
159

2.1.5 การไม่ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ


2.1.6 การไม่ใ ช้อุ ปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่ วนบุค คล หรือ อุปกรณ์
ชารุดและไม่ได้มาตรฐาน
2.1.7 การปฏิบตั งิ านด้วยความประมาท หยอกล้อกันในขณะปฏิบตั งิ าน
2.1.8 การถอดหรือดัดแปลงอุปกรณ์ป้องกันอันตรายทีเ่ ครื่องจักรจนไม่สมา
รถใช้งานได้
2.1.9 การซ่อมแซมเครือ่ งจักรโดยไม่หยุดเดินเครือ่ ง หรือขณะเครือ่ งทางาน
2.1.10 ใช้เครือ่ งมือในการปฏิบตั งิ านไม่ถูกต้องกับลักษณะของงานทีท่ า
2.1.11 ยกของด้วยท่าทางวิธกี ารทีผ่ ดิ จากธรรมชาติ และไม่ถูกวิธ ี และการ
เคลื่อนไหวทีเ่ สีย่ งในการเกิดอันตราย

ภาพที่ 3.8 การเกิดอุบตั เิ หตุอนั เนื่องจากการกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย (Unsafe Acts)


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2559.
160

2.2 สภาพการณ์ ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) เป็ นสภาพของสถาน


ประกอบการในทีป่ ฏิบตั งิ านทีไ่ ม่ปลอดภัยทีอ่ ยู่รอบตัวผูป้ ฏิบตั งิ านขณะปฏิบตั งิ าน ซึง่ ก่อให้เกิด
อันตรายหรืออุบตั เิ หตุได้ ได้แก่
2.2.1 บริเวณพืน้ ทีท่ างานสกปรก ลื่นมีคราบน้ามัน และพืน้ ผิวขรุขระ
2.2.2 สถานที่ทางานไม่เป็ นระเบียบเรียบร้อย วางสิง่ ของ กล่อง ลังที่ไม่
เกีย่ วข้องกับการทางานกีดขวางการเดินและปฏิบตั งิ าน
2.2.3 ไม่มรี ะบบการระบายอากาศ หรือการถ่ายเทอากาศไม่เหมาะสม
2.2.4 แสงสว่างไม่เพียงพอ หรือแสงจ้าเกินไป
2.2.5 ฝุ่ นละอองออกมาเกินมาตรฐาน
2.2.6 เสียงดังรบกวนมากในขณะปฏิบตั งิ าน
2.2.7 ไม่มอี ุปกรณ์ป้องกันอันตรายทีเ่ ครือ่ งจักรในจุดทีเ่ ป็ นอันตราย
2.2.8 อุปกรณ์คุ้มครองป้ องกันอันตรายส่วนบุคคลมีไม่เพียงพอ หรือไม่
เหมาะสม
2.2.9 ไม่มกี ารติดตัง้ สัญญาณเตือนภัย หรือป้ ายบอกอย่างชัดเจน เป็ นต้น

ภาพที่ 3.9 การเกิดอุบตั เิ หตุอนั เนื่องจากสภาพการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภัย (Unsafe Condition)


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2560.
161

จากสาเหตุของการเกิดอุบตั ทิ งั ้ 2 สาเหตุหลักทีก่ ล่าวข้างต้น จะเห็นได้การค้นหาสาเหตุ


ของการเกิดอุบตั เิ หตุเพื่อการดาเนินการให้มกี ารควบคุมป้ องกันอุบตั เิ หตุทอ่ี าจเกิดขึน้ นัน้ จะต้อง
พิจารณาทัง้ สาเหตุพน้ื ฐาน และสาเหตุขณะนัน้ ประกอบกัน เนื่องจากการเกิดอุบตั เิ หตุอาจเกิด
จากสาเหตุขณะนัน้ เกิดจากไม่ได้มกี ารป้ องกันหรือควบคุมทีส่ าเหตุ พน้ื ฐานก็เป็ นสาเหตุทเ่ี กิดทัง้
2 สาเหตุ ซึง่ หากผลจากการไม่มกี ารป้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุให้ชดั เจน ซึ่งจากข้อมูลของสภา
ความปลอดภัยแห่งชาติของอเมริกา (National Safety Council : NCS) ได้เรียงลาดับของการ
ได้รบั บาดเจ็บหรืออันตรายจากการทางาน
จากสถิตขิ องสานักงานกองทุนทดแทน สานักงานประกันสังคมได้สรุปข้อมูลสาเหตุทล่ี ูกจ้าง
ประสบอันตรายสูงสุด ของปี 2558 คือ วัตถุหรือสิง่ ของตัด/บาด/ทิม่ แทง จานวน 22,329 ราย
หรือร้อยละ 23.34 ของจานวนการประสบอันตรายทัง้ หมด รองลงมาคือ วัตถุหรือสิง่ ของพังทลาย/
หล่ นทับ จานวน 15,669 ราย หรือ ร้อ ยละ 16.38 และวัต ถุ ห รือ สิ่ง ของกระแทก/ชน จ านวน
13,654 ราย หรือร้อยละ 13.69 ตามลาดับ และเปรียบเทียบกับปี 2557 และปี 2558 ไม่แตกต่างกัน
ดังจะแสดงในตารางที่ 3.3
162

ตารางที่ 3.3 จานวนการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางาน จาแนกตามสาเหตุท่ี


ประสบอันตราย

สาเหตุที่ประสบอันตราย ปี 2557 ปี 2558 เพิ่มขึน้ /ลดลง


จานวน (ราย) ร้อยละ
1. ตกจากทีส่ งู 6,168 6,080 -88 11.43
2. หกล้ม ลื่นล้ม 4,994 5,129 135 2.70
3. อาคารหรือสิง่ ก่อสร้างพังทับ 46 28 -18 -39.13
4. วัตถุหรือสิง่ ของพังทลาย/หล่นทับ 16,437 15,669 -768 -4.67
5. วัตถุหรือสิง่ ของกระแทก/ชน 14,076 13,354 -722 -5.13
6. วัตถุหรือสิง่ ของหนีบ/ดึง 7,633 7,329 -304 -3.98
7. วัตถุหรือสิง่ ของตัด/บาด/ทิม่ แทง 23,211 22,329 -882 -3.80
8. วัตถุหรือสิง่ ของหรือสารเคมีกระเด็นเข้าตา 13,412 12,357 -1,055 -7.87
9. ประสบอันตรายจากการยกหรือเคลื่อนย้ายของหนัก 845 709 -136 -16.09
10. ประสบอันตรายจากท่าทางการทางาน 295 250 -45 -15.25
11. อุบตั เิ หตุจากยานพาหนะ 3,639 3,319 -320 -8.79
12. วัตถุหรือสิง่ ของระเบิด 449 466 17 3.79
13. ไฟฟ้ าช็อต 958 870 -88 -9.19
14. ผลจากความร้อนสูง/สัมผัสของร้อน 2,268 2,150 -118 -5.20
15. ผลจากความเย็นจัด/สัมผัสของเย็น 1 5 4 400.00
16. สัมผัสสิง่ มีพษิ สารเคมี 1,045 1,037 -8 -0.77
17. อันตรายจากรังสี 3 4 1 33.33
18. อันตรายจากแสง 1,082 1,061 -21 -1.94
19. ถูกทาร้ายร่างกาย 106 90 -16 -15.09
20. ถูกสัตว์ทาร้าย 737 754 17 2.31
21. โรคทีเ่ กิดขึน้ ตามลักษณะหรือสภาพของงานฯ 2,528 2,413 -115 -4.55
22. ภัยพิบตั ิ 3 - -3 -
23. เหตุการณ์ก่อความไม่สงบ 26 3 -23 -88.46
24. อื่น ๆ 272 268 -4 -1.47
รวมทัง้ หมด 100,234 95,674 -4,560 -4.55
ทีม่ า: สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน, 2559.
จากการรายงานข้อมูลในการประสบอันตรายหรือบาดเจ็บ เจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการ
ทางาน จาแนกตามสิง่ ที่ทาให้ประสบอันตราย เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี 2557 และ 2558 ซึ่ง
จากการสารวจข้อมูลสานักงานกองทุนทดแทน สานักงานประกันสังคม เกี่ยวกับ สถิตกิ ารประสบ
อันตรายหรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางาน ปี 2558 จาแนกได้ดงั ตารางที่ 3.4
163

ตารางที่ 3.4 จานวนการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน จาแนกตามสิง่ ที่


ทาให้ประสบอันตราย

สิ่ งที่ทาให้ประสบอันตราย ปี 2557 ปี 2558 เพิ่มขึน้ /ลดลง


จานวน (ราย) ร้อยละ
1. เครื่องมือ 13,035 12,755 -280 -2.15
2. เครื่องจักร 13,399 12,859 -540 -4.03
3. อาคารหรือสิง่ ก่อสร้าง 5,286 5,374 88 1.66
4.วัตถุหรือสิง่ ของ 44,116 41,101 -3,015 -6.83
5. ท่าทางการทางาน 3,254 2,977 -277 -8.51
6. ยานพาหนะ 5,743 5,379 -364 -6.34
7. วัตถุระเบิด (ยกเว้นก๊าซ) 68 31 -37 -54.41
8. ก๊าซ 105 97 -8 -7.62
9. หม้อไอน้ าและถังความดัน 101 108 7 6.93
10. ไฟฟ้ าและอุปกรณ์ไฟฟ้ า 1,549 1,385 -164 -10.59
11. สิง่ มีพษิ สารเคมี 4,622 4,487 -135 -2.92
12. สภาพแวดล้อมเกีย่ วกับการทางาน 7,775 7,960 185 2.38
13. ภัยธรรมชาติ 3 - -3 -
14. เชือ้ โรค 37 16 -21 -56.76
15. คนหรือสัตว์ 904 906 2 0.22
16. อื่น ๆ 237 239 2 0.84
รวมทัง้ หมด 100,234 95,674 -4,560 -4.77
ทีม่ า : สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน, 2559.
ส่วนใหญ่การประสบอันตรายหรือบาดเจ็บจากการทางาน พบว่า อวัยวะทีไ่ ด้รบั อันตราย
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี 2557 และ 2558 ซึ่งจากการสารวจข้อมูลสานักงานกองทุนทดแทน
สานักงานประกันสังคม อวัยวะทีไ่ ด้รบั อันตรายเรียงตามการจาแนก ในปี 2558 จาแนกได้ดงั นี้
164

ตารางที่ 3.5 จานวนการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน จาแนกตาม


อวัยวะทีไ่ ด้รบั อันตราย

สิ่ งที่ทาให้ประสบอันตราย ปี 2557 ปี 2558 เพิ่มขึน้ /ลดลง


จานวน (ราย) ร้อยละ
1. ศีรษะ 3,395 3,115 -280 -8.25
2. ตา 15,726 14,664 -1,062 -6.75
3. จมูก 336 335 -1 -.030
4. หู 224 208 -16 -7.14
5. ปาก/ฟั น/ขากรรไกร และส่วนต่าง ๆ ในช่องปาก 506 444 -62 -12.25
6.. ใบหน้า/หน้า/หน้าผาก/แก้ม คิว้ ค้าง 2,618 2,428 -190 -7.26
7. คอ 356 291 -65 -18.26
8. หลัง 2,630 2,593 -37 -1.41
9. กระดูกซีโ่ ครง/กระดูกชายโครง/ลาตัว 676 696 20 2.96
10. อก และอวัยวะภายในช่องอก 776 740 -36 -4.64
11. กระดูกเชิงกราน ท้องและอวัยวะในช่องท้อง 277 279 2 0.72
12. อวัยวะเพศ 43 50 7 16.28
13. บ่า/ไหล่/สะบัก/รักแร้ 1,292 1,260 -32 -2.48
14. แขน/ศอก/ข้อศอก 5,179 5,038 -141 -2.72
15. ข้อมือ 2,835 2,697 -138 -4.87
16. มือ 6,916 6,833 -83 -1.20
17. นิ้วหัวแม่มอื 5,847 5,647 -200 -3.42
18. นิ้วมือ 22,486 21,580 -906 -4.03
19. เอว 159 154 -5 -3.14
20. สะโพก ก้น 509 487 -22 -4.32
21. ขา/หน้าแข้ง/น่อง/เข่า/หัวเข่า 5,834 5,671 -163 -2.79
22. ข้อเท้า/ตาตุ่ม 2,652 2,482 -170 -6.41
23. เท้า/ส้นเท้า/ง่ามนิ้วเท้า 6,376 6,060 -316 -4.96
24. นิ้วเท้า 4,335 4,600 -329 -7.59
25. บาดเจ็บหลายส่วน บาดเจ็บตามร่างกาย 7,979 7,589 -390 -4.89
26. ระบบหมุนเวียนโลหิต 37 59 22 59.46
27. อื่น ๆ (ไม่สามารถระบุอวัยวะได้) 235 268 33 14.04
รวมทัง้ หมด 100,234 95,674 -4,560 -4.55

ทีม่ า : สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน, 2559.


165

จากการประสบอันตรายหรือบาดเจ็บอันเนื่องจากการทางาน พบว่า ผลของการประสบ


อันตรายทีเ่ กิดขึน้ กับลูกจ้าง สูงสุดของปี 2558 คือ บาดแผลลึก จานวน 39,883 ราย ของจานวน
ผูป้ ระสบอันตรายทัง้ หมด ซึง่ จาแนกได้ตามรายละเอียดดังตารางที่ 3.5

ตารางที่ 3.5 การประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน จาแนกตามผลของการ


ประสบอันตราย

ผลของการประสบอันตราย ปี 2557 ปี 2558 เพิ่มขึน้ /ลดลง


จานวน (ราย) ร้อยละ
1. กระดูกหัก กระดุกแตก กระดูกร้าว 11,599 11,259 -340 -2.93
2. ข้อต่อเคลื่อน 547 460 -87 -15.90
3. ข้อต่อเคล็ด และการอักเสบตึงตัวของกล้ามเนื้อ 17,401 17,471 70 0.40
4.การถู ก กระแทกและการบาดเจ็บ ภายในอื่น ๆ ที่ไ ม่ 595 609 14 2.35
ปรากฏ
5.การตัดขาด และการเลาะคว้านทาลายอวัยวะ 1,620 1,533 -87 -5.37
6.บาดแผลอื่น ๆ (บาดแผลลึก) 41,438 39,883 -1,555 -3.75
7.บาดแผลตืน้ 11,634 10,313 -1,321 -11.35
8.การฟกช้า และการถูกชน การถูกเบียด 4,779 3,937 -842 -17.62
9.บาดแผลไหม้ 7,356 7,022 -334 -4.54
10.การได้รบั สารพิษ สารเคมี 616 581 -35 -5.68
11.ผลจากสภาพอากาศ การสัม ผัส และสถานนะที่ 582 598 16 2.75
เกีย่ วข้อง
12.การหายใจไม่ออกเนื่องจากโลหิตขาดออกซิเจน 23 21 -2 -8.70
13.ผลจากกระแสไฟฟ้ า 468 449 -19 -4.06
14.ผลกระทบจากรังสีหรือแสง 541 499 -42 -7.76
15.สภาพการบาดเจ็บหลายอย่างร่วมกัน 283 311 28 9.89
16.สภาพการบาดเจ็บ อื่น ๆ ที่ไม่สามารถจาแนกอยู่ใ น 752 728 -24 -3.19
กลุ่ม (1-15)
รวมทัง้ หมด 100,234 95,674 -4,460 -4.55
ทีม่ า : สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน, 2559.

หลัก 4E ในการป้ องกันอุบตั ิ เหตุ


หลักการ 4E ในการป้ องกันอุบตั เิ หตุ โดยเพื่อเป็ นการเสริมสร้างความปลอดภัยในโรงงาน
อุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพนัน้ ต้องยึดหลักการ 4E ได้แก่ (ศิขรินทร์ สุขโต, 2553, หน้า
35-36)
166

1. E ตัวแรก คือ Engineering (วิศวกรรมศาสตร์) คือ การใช้ความรูท้ างวิชาการ ด้าน


วิศวกรรมศาสตร์ในคานวณ และออกแบบเครื่องจักร เครื่องมือ ทีม่ สี ภาพการใช้งานทีป่ ลอดภัย
ทีส่ ุด การติดตัง้ เครือ่ งป้ องกัน อันตรายให้แกส่วนทีเ่ คลื่อนไหว หรืออันตรายของเครื่องจักร การ
วางผังโรงงานระบบไฟฟ้ า แสงสว่าง เสียง การระบายอากาศ เป็ นต้น
2. E ตัวที่สอง คือ Education (การให้ความรู้ หรือ การฝึกอบรม) คือ การให้การศึกษา
หรือการฝึกอบรม และแนะนาคนงาน หัวหน้างาน ตลอดจน ผูท้ เ่ี กี่ยวข้องในการทางาน ให้มคี วามรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้ องกันอุบตั เิ หตุ และการเสริมสร้างความปลอดภัยในโรงงาน ให้รูว้ ่า
อุบตั เิ หตุจะเกิดขึน้ และป้ องกันได้อย่างไร และจะทางานวิธใี ดจะปลอดภัยทีส่ ุด เป็ นต้น
3. E ตัวที่สาม คือ Enforcement (การออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ) คือ การกาหนดวิธ ี
การทางานอย่างปลอดภัย และมาตรการควบคุมบังคับให้คนงานปฏิบตั ติ ามเป็ นระเบียนปฏิบตั ทิ ่ี
ต้องประกาศให้ทราบทัวกั ่ นหากผูใ้ ดฝ่ าฝืน หรือไม่ปฏิบตั ติ ามจะต้องถูกลงโทษ เมื่อให้เกิดสานึก
และหลีกเลีย่ ง การกระทาทีไ่ ม่ถูกต้อง หรือเป็ นอันตราย
4. E ตัวที่สี่ คือ Encouragement (การกระตุ้นเตือน) คือ การสนับสนุ นให้ผปู้ ฏิบตั งิ าน
ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเป็ นระยะอย่างต่อเนื่อง เช่น
การซักซ้อมดับเพลิง การซ้อมหนีไฟ การอบรมกิจกรรมลดอุบตั เิ หตุในการทางานกับเครื่องจักร
การประกวดคาขวัญ การตอบปั ญหาชิงรางวัลความปลอดภัย การเข้าร่วมอบรมสัมมนาศึกษาดูงาน
เป็ นต้น
หลัก 4E จะต้องดาเนินไปพร้อมๆ กัน จึงจะทาให้การป้ องกันอุบตั เิ หตุและการเสริมสร้าง
ความปลอดภัยในโรงงานมีประสิทธิภาพสูงสุด
เครื่องจักรที่ออกแบบมาถูกต้องตามหลักวิชาการ วิศวกรรม กล่าวคือ มีเครื่องป้ องกัน
อันตรายหรือการ์ด (Machine Guarding) ติดตัง้ ไว้อย่างเหมาะสมแล้วก็ตาม คนงานอาจเห็นว่า
เกะกะไม่จาเป็ นจึงถอดออก และทางานด้วยความเสีย่ งต่อไป ดังนัน้ นอกจากเราจะต้องฝึกอบรม
แนะนาคนงานถึงวิธกี ารทางานกับเครื่องจักรตัวนัน้ หรือชีแ้ นะให้เห็นอันตรายทีเ่ กิดขึน้ หากถอด
เครื่องป้ องกันอันตรายออกแล้ว เราควรกาหนดวิธกี ารทางานอย่างปลอดภัย และออกข้อบังคับ
เป็ นกฎระเบียบเลยว่าถ้าใครถอดเครื่องป้ องกัน หรือฝาครอบส่วนเคลื่อนไหวหรือส่วนที่เป็ น
อันตรายของเครื่องจักร เช่น สายพาน ฯลฯ โดยไม่มเี หตุอนั สมควร จะต้องถูกลงโทษอย่างใด
อย่างหนึ่ง ตัวอย่างนี้คอื การใช้หลักการ 3E ทัง้ หมดไปพร้อมกัน ดังนัน้ โอกาสทีจ่ ะเกิดอุบตั เิ หตุ
จากการทางานกับเครือ่ งจักรตัวนัน้ ก็มนี ้อยมาก คือ ทางานได้อย่างปลอดภัยทีส่ ุด
ถ้าขาดการออกกฎบังคับห้ามถอดการ์ดเครือ่ งจักร (ไม่ม ี Enforcement) คนงานอาจเห็น
ว่าการ์ดนัน้ เกะกะ ทาให้ทางานไม่สะดวกจึงถอดทิง้ แม้เจ้าของโรงงานหรือหัวหน้างานจะแนะนา
อย่างดีแล้ว โอกาสทีจ่ ะเกิดอุบตั เิ หตุก็มมี าก เพราะถอดการ์ดทิ้งก็ไม่มโี ทษอย่างไร ปกติเครื่อ ง
167

ป้ องกันอันตรายส่วนเคลื่อนไหวของเครื่องจักรหรือการ์ดที่ดนี นั ้ จะต้องไม่เกะกะกรีดขวางการ
ทางานปกติแต่อย่างใด)
ในทานองเดียวกัน แม้จะมีขอ้ บังคับห้ามถอดการ์ดแล้ว หากคนงานไม่ได้รบั คาแนะนา
หรือชี้แนะวิธกี ารทางานที่ถู กต้องปลอดภัย และไม่รู้ความสาคัญของการ์ด (ไม่ม ี Education)
คนงานก็อาจจะปฏิบตั อิ ย่างผิดวิธหี รืออันตรายได้ นอกจะทาให้เกิดอุบตั เิ หตุได้แล้ว เครื่องจักร
อาจเสียหายด้วย
เมือ่ สถานประกอบการนาหลักการของ วิชาการวิศวกรรม (Engineering) การให้ความรู้
(Education) การออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ (Enforcement) แล้วยังจาเป็ นต้องมี การกระตุ้นเตือน
(Encouragement) ให้ผู้ปฏิบตั งิ าน ปฏิบตั ติ ามหรือดาเนินการตามกิจกรรมต่างๆ ที่องค์การได้
จัดดาเนินการเพื่อให้เกิดความปลอดภัย อาจจะกระตุ้นทัง้ ด้านบวก และด้านลบก็เป็ นได้ขน้ึ อยู่กบั
สถานการณ์ และความเหมาะสม
ดังนัน้ การใช้หลัก 4E โดยนาทัง้ วิชาการวิศวกรรม (Engineering) การให้การศึกษาอบรม
แก่คนงาน (Education) และการออกกฎข้อบังคับ (Enforcement) การกระตุ้นเตือน (Encou-
ragement) ให้ผปู้ ฏิบตั งิ าน มาดาเนินการพร้อมกันอย่างเหมาะสมในขบวนการผลิตและการบริหาร
โรงงานนัน้ จึงเป็ นมาตรการที่ให้ประสิทธิภาพสูงสุดต่อ การป้ องกันอุบตั เิ หตุและการเสริมสร้าง
ความปลอดภัยในการทางานภายในเวลาอันสัน้

การสอบสวนการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ

การสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุ เป็ นวิธกี ารอีกแบบหนึ่งในการค้นหาสาเหตุของการเกิด


อุบตั เิ หตุ นับว่าเป็ นสาคัญยิง่ ในแนวทางในการทีจ่ ะช่วยให้ระบบการบริหารจัดการความปลอดภัยที่
จะช่วยให้การวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุและหาแนวทางในการดาเนินการควบคุม
ป้ องกัน และแก้ไขไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุเกิดขึน้ ซ้าอีกได้

ความสาคัญของการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ
การสอบสวนอุบตั ิเหตุ หมายถึง วิธกี ารค้นหาสาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุ ซึ่งจะต้อ ง
ดาเนินการหลักจากการเกิดอุบตั เิ หตุโดยทันที หรือเร็วทีส่ ุดเพื่อไม่ให้พยานหลักฐานถูกลบหายไป
เคลื่อนย้าย หรือเปลี่ย นแปลงสภาพไม่ว่าจะโดยเจตนา หรือไม่ก็ตาม การสอบสวนอุบตั เิ หตุ มี
ความสาคัญต่อการเกิดอุบตั เิ หตุอย่างยิง่ เนื่องจากเป็ นเครื่องมือทีจ่ ะนามาใช้ในการรวบรวมข้อมูล
รายละเอียดของการเกิดอุบตั เิ หตุ เพื่อนาผลมาวิเคราะห์ และค้นหาสาเหตุพ้นื ฐานของการเกิด
อุบตั เิ หตุไม่ให้เกิดซ้า เพื่อนาไปสู่มาตรการ แนวทางในการป้ องกัน แก้ไข ปรับปรุง และหามาตรการ
ในการลดการเกิดอุบตั เิ หตุ ในการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุ
168

วัตถุประสงค์ของการสอบสวนการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


การสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุในสถานประกอบการเป็ นการค้นหาข้อเท็จจริงหรือ
ความจริงทีเ่ กิดขึน้ ไม่ใช่เป็ นการค้นหาความผิดหรือผูก้ ระทา ดังนัน้ ผูร้ บั ผิดชอบในการสอบสวน
การเกิดอุบตั ิเหตุ จะต้องเข้าใจในวัต ถุ ประสงค์ของการสอบสวนการเกิดอุบตั ิเหตุ เพื่อ ให้ก าร
สอบสวนได้ข้อมูล หรือ ข้อ เท็จจริงเพื่อนาไปแก้ไข ป้ อ งกันไม่ใ ห้เกิดอุบตั ิเหตุ ด้ว ยเหตุน้ีการ
สอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุตอ้ งอาศัยผูท้ ม่ี คี วามรู้ ความสามารถ และมีทกั ษะ รวมทัง้ เข้าใจในการ
สอบสวน ซึง่ การสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุมวี ตั ถุประสงค์ดงั นี้
1. เพื่อศึกษาและค้นหาสาเหตุพน้ื ฐาน ของการเกิดอุบตั เิ หตุ และสภาพการณ์ทเ่ี ป็ น
อัน ตรายต่ า งๆ หากเมื่อ ทราบข้อ เท็จจริง ต่ า ง ๆ ที่เ กิดขึ้น ว่า มาจากอะไรเป็ นสาเหตุ ทาให้
สามารถวางแนวทางหรือมาตรการในการป้ องกันแก้ไข เพื่อไม่ให้อุบตั เิ หตุนนั ้ เกิดขึน้ ซ้า
2. เพื่อใช้เป็ นข้อมูลในการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ ซึง่ ข้อมูลทีไ่ ด้จากการสอบสวนจะเป็ น
ข้อมูลที่มคี ุณภาพ เนื่องจากข้อมูลจะนาไปใช้ในการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ สาเหตุต่างๆ ที่เกิดขึ้น
เป็ นแนวทางในการป้ องกันอุบตั เิ หตุ โดยอาศัย การแก้ไข และปรับปรุงทีถ่ ูกต้อง
3. เพื่อใช้เป็ นข้อมูลพืน้ ฐานในการพิจารณาค้นหาความจริง ทีเ่ ป็ นมูลเหตุทท่ี าให้ผู้
ปฏิบตั งิ านทางานในลักษณะของการกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัยหรือไม่ถูกต้อง ตามข้อบังคับ อันจะก่อ
ให้ เกิดอุบตั เิ หตุ
4. เพื่อเป็ นแนวทางในการป้ องกันอุบตั เิ หตุทไ่ี ด้จากการสอบสวนอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้
ไปขยายผลในการควบคุมป้ องกันอุบตั เิ หตุจากงานทีม่ คี วามเสีย่ งในลักษณะทีค่ ล้ายคลึงกันได้
5. เพื่อใช้ในการประเมินความสาเร็จในการดาเนินงานด้านการควบคุมป้ องกัน
อุบตั ิเ หตุ ท่มี อี ยู่ให้ทราบถึงการบ่งชี้ จุดบกพร่อง และผลของการเกิดอุ บตั ิเ หตุ การบาดเจ็บ
ตลอดทัง้ ความเสียหายต่างๆ เพื่อเป็ นข้อมูล เป็ นการกระตุ้นให้ผู้ท่เี กี่ยวข้องเพิม่ ความสนใจใน
การป้ องกัน
6. เพื่อประโยชน์ในการเก็บรวบรวมทางสถิตแิ ละการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ การนาไปสู่
การพัฒนาระบบการป้ องกันอุบตั เิ หตุเพื่อให้เกิดความปลอดภัยจาเป็ นต้องเปรียบเทียบสถิตกิ าร
เกิด อุ บ ัติเ หตุ ใ นอดีต เพื่อ น ามาเป็ น ข้อ มูล ในการพิจ ารณาเกี่ย วกับ อัต ราความถี่ใ นการเกิด
อุบตั เิ หตุเพื่อนาไปสู่การป้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุซ้าและแนวทางการแก้ไข

ผูร้ บั ผิดชอบในการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ


1. ผู้ควบคุมงาน (Supervisors) เป็ นผู้ท่มี หี น้าที่รบั ผิดชอบในการควบคุมดูแล และ
รับผิดชอบในการควบคุมดูแลการทางานของผูป้ ฏิบตั งิ านโดยตรงเพื่อให้การปฏิบตั งิ านถูกวิธ ี
169

มีความปลอดภัย เป็ นไปตามกฎข้อบังคับของสถานประกอบการให้เหมาะสมในการสืบสวนอุบตั เิ หตุ


อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีความคุน้ เคยกับผูป้ ฏิบตั งิ านในขัน้ ตอนการผลิตเครื่องจักรเครื่องมือ
และสภาพแวดล้อมต่างๆ เป็ นอย่างดี โดยส่วนใหญ่ คือ หัวหน้างานโดยตรง
2. เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัย (Safety Officer) ในระดับทีเ่ กี่ยวข้องและได้รบั มอบหมาย
ในการควบคุมกากับป้ องกันอุบตั เิ หตุ และเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานโดยตรง ต้องมี
ความรูแ้ ละประสบการณ์ จึงจะทางานด้านการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะของอุบตั ิ เหตุที่ต้องสอบสวน
เมือ่ มีเหตุการณ์ทผ่ี ดิ ปกติเกิดขึน้ ในสถานประกอบการโดยเฉพาะการเกิดอุบตั เิ หตุ หรือ
การประสบอันตรายของผูป้ ฏิบตั งิ านในการปฏิบตั งิ าน และในขณะปฏิบตั งิ านไม่ว่าจะรุนแรงหรือไม่
รุนแรงก็ตาม ก็จาเป็ นต้องมีการสอบสวนหาสาเหตุพน้ื ฐานในการเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าว เพราะ
การเกิดอุบตั เิ หตุเมื่อเกิดขึน้ แสดงว่ามีความผิดปกติ หรือมีจุดบกพร่องเกิดขึน้ ในจุดนัน้ แล้วซึ่ง
ต้องเร่งดาเนินการแก้ไขต่อไป
อุบตั ิ เหตุที่ต้องสอบสวนแบ่งออกเป็ น 4 ลักษณะ คือ
1. อุบ ตั ิเ หตุที่ทาให้เ กิด การบาดเจ็บ ถึง ขัน้ หยุ ด งาน ทุพ ลภาพ หรือ เสีย ชีว ติ เช่น
เครือ่ งจักรตัดมือ ทาให้เกิดมือขาด และการตกจากทีส่ งู ทาให้กระดูก แขน ขาแตกหัก เป็ นต้น
2. อุบตั เิ หตุท่ที าให้เกิดการบาดเจ็บเล็กน้ อยต้องการเพียงการปฐมพยาบาล เช่น ถูก
ของมีคมบาดมือ ล้างแผลใส่ยา ก็หายในเวลาเร็ว
3. อุบตั ิเหตุท่กี ่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ไม่ว่าเป็ นเครื่องจักร หรือวัตถุดิบ
เช่น กล่องผลิตภัณฑ์หล่นลงจากชัน้ วางของในโกดังเก็บสินค้า ทาให้ผลิตภัณฑ์นนั ้ เสียหาย
4. เหตุการณ์ท่เี กือบเกิดอุบตั ิเหตุ ซึ่งไม่ทาให้เกิดการบาดเจ็บหรือ ทรัพย์สนิ เสียหาย
เช่น เดินสะดุดสายไฟทีว่ างพาดไว้บนพืน้ แต่ไม่หกล้ม

หลักและวิ ธีการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ


การเกิดอุบตั เิ หตุจากการทางาน ย่อ มแสดงให้เห็นถึงความบกพร่องในกระบวนการ
ปฏิบตั งิ านอันส่งผลต่อความสาเร็จของธุรกิจโดยตรงอย่างแน่ นอน การป้ องกันอุบตั ิเหตุเพื่อ
ไม่ให้เกิดขึน้ จึงมีความสาคัญอย่างในการบริหารจัด การงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนา
มัย ซึง่ วิธกี ารทีป่ ้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทัวไปที
่ น่ ิยมปฏิบตั กิ นั มานา
ตัง้ แต่ อ ดีต และรวมถึง เป็ นข้อ ก าหนดตามกฎหมาย คือ การสอบสวนอุ บ ัติเ หตุ ( Accident
Investigation) เพื่อให้ทราบสาเหตุทแ่ี ท้จริงของการเกิดอุ บตั เิ หตุ และหามาตรการแก้ไขไม่ให้ม ี
การเกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ อีกซ้าๆ ดังนัน้ การสอบสวนการเกิดอุ บตั เิ หตุ จึงอาศัย หลักและวิธกี าร
สอบสวนอุบตั เิ หตุ ดังต่อไปนี้
170

หลักการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ
แนวทางในการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุ เครื่อ งมือ สาคัญ เกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ ในสถาน
ประกอบการผูด้ าเนินการหรือมีหน้าทีใ่ นการสอบสวนอุบตั เิ หตุจะต้องรีบดาเนินการในการสอบถาม
ค้นหาสาเหตุทเ่ี กิดขึน้ โดยทันที เพื่อให้ได้ขอ้ มูลอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน และชัดเจนมากที่สุด
โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. การสอบสวนต้องรีบดาเนินการสอบสวนอุบตั เิ หตุทนั ทีภายหลังการเกิดเหตุ
หรือ ภายในรวดเร็ว ที่สุ ดเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง เนื่องจากหากปล่ อยไว้จะทาให้ข้อมูล
รายละเอียดต่างๆ ลบเลือนหายไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูท้ เ่ี ห็นเหตุการณ์จะได้ไม่ลมื และข้อมูลที่
ได้กเ็ ป็ นปั จจุบนั ถูกต้อง ชัดเจน ไม่คลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริง อันจะนามาใช้ในการป้ องกัน
แก้ไข ทีส่ าเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ตรวจสอบและสังเกตสภาพข้อเท็จจริงทีเ่ กิดขึน้ โดยหากมีผไู้ ด้รบั บาดเจ็บต้อง
รีบให้การช่วยเหลือทันที และสังเกตสภาพแวดล้อมต่างๆ ทีอ่ ยู่ใกล้ทเ่ี กิดเหตุ และพยายามอย่า
เคลื่อนย้ายวัตถุพยานก่อนทีม่ กี ารบันทึก และการบันทึกรูปภาพเหตุการณ์ไว้
3. ผูท้ าหน้าทีใ่ นการสอบสวนจะต้องเป็ นผูท้ ม่ี คี วามคิดรอบคอบ ปฏิภาณไหวพริบ
ดี และมีความเป็ นธรรมยึดหลักความมีเหตุมผี ล
4. ผู้สอบสวนจะต้องเป็ นผู้ท่มี คี วามรูใ้ นเรื่องนัน้ ในการสอบสวน ความคุ้นเคย
กับกระบวนการผลิตทุกขัน้ ตอน เช่น เครื่องจักร ผู้ปฏิบตั งิ าน สภาพแวดล้อมต่างๆ ในการทางาน
ของพืน้ ทีท่ เ่ี กิดอุบตั เิ หตุเป็ นอย่างดี
5. ใช้ประสบการณ์จากการสอบสวนและวิเคราะห์อุบตั เิ หตุในอดีตทีผ่ ่านมา โดย
การดาเนินการใช้ประสบการณ์มาวิเคราะห์การตัง้ สมมติฐานเพื่อนาไปสู่การวิเ คราะห์หาสาเหตุ
ได้โดยไม่ผดิ พลาด
6. การสอบสวนควรจะทาเป็ นกลุ่มหรือเป็ นคณะเพื่อให้ได้ขอ้ มูล ซึง่ เป็ นสาเหตุ
ทีแ่ ท้จริงละเอียดรอบด้าน เพื่อจะได้หาแนวทางและมาตรการป้ องกันได้ถูกต้อง และตรงจุดให้
มากทีส่ ุด
7. การสอบสวนจะเสร็จสมบูรณ์ท่สี ุดก็ต่อเมื่อมีการทางานรายงาน เสนอแนะ
ต่อผูบ้ ริหารเพื่อนาไปสู่แนวทางการป้ องกันและหามาตรการต่อไป ดังนัน้ จึงต้องมีการรายงาน
ผลการสอบสวนอย่างชัดเจน
8. ผลที่ได้จากการสอบสวนอุบตั เิ หตุ ภายหลังจากการสอบสวนอุบตั เิ หตุ ผู้ทา
หน้าทีส่ อบสวนจะต้องตอบคาถาม ดังต่อไปนี้ได้
8.1 เกิดเหตุการณ์อะไรขึน้ บ้าง
8.2 ทาไมถึงเกิดเหตุการณ์นนั ้
8.3 ใครจะเป็ นผูท้ เ่ี หมาะสมในการแก้ไขป้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุ
171

8.4 มีข้อเสนอแนะอะไรบ้างที่ต้องนาเสนอจากการสอบสวนเพื่อนาไปหา
แนวทางป้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุไม่ให้เกิดซ้า

ผูท้ าหน้ าที่ในการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ


ในการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ ในสถานประกอบการ หลายหน่ วยงานจะไม่ให้
ความสาคัญในการกาหนดผูท้ าหน้าทีใ่ นการสอบสวนทีช่ ดั เจนนัก เพราะละเลยทีจ่ ะเอาจริงเอาจัง
ในการหามาตรการ แนวทางในการป้ องกัน แก้ไข ในอดีตเมื่อเกิดอุบตั เิ หตุเกิดขึน้ ผูบ้ ริหารก็ให้ผู้
ทีไ่ ด้แต่งตัง้ จากผูบ้ ริหารซึง่ กาหนดไว้ในนโยบายของสถานประกอบการ โดยบางแห่งให้ผบู้ งั คับ
บัญชา หรือหัวหน้างานของผู้ท่เี กิดอุบตั ิเหตุทาการสอบสวน บางแห่งมอบหมายผู้จดั การฝ่ าย
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย หรือจ้างผู้เชีย่ วชาญในการสอบสวน และหลายครัง้ พบว่าการ
สอบสวนเป็ นการทาเพียงเพื่อ เป็ นหลักฐานตามกฎหมายเท่านัน้ ไม่ได้คานึงถึงการนาผลการ
สอบสวนไปหาแนวทางการป้ องกัน แก้ไข หรือเพื่อค้นหาสาเหตุท่แี ท้จริงไม่ โดยเฉพาะหากมี
การเกิดอุบตั เิ หตุโดยทีเ่ กิดเหตุการณ์ทบ่ี าดเจ็บเล็กน้อย ไม่หยุดงาน หรือไม่มกี ารสูญเสียอวัยวะ
หรือเสียชีวติ ซึ่งไม่ส่งต้องมีการจ่ายเงินทดแทนก็จะไม่ทาการสอบสวนอุบตั เิ หตุ การสอบสวน
อุบตั เิ หตุในหลายสถานประกอบการบางครัง้ ผู้ประสบอันตรายขาดความร่วมมือ และเกรงกลัว
นายจ้างจะเอาผิดเนื่องจากเกิดอุบตั ิเ หตุ จงึ ยอมที่จะไม่แจ้งหรือเรียกร้อ งในส่ว นของการเกิด
อุบตั เิ หตุ หากมีอาการบาดเจ็บเพียงเล็ก ๆ น้อยๆ หรือปานกลางจะมีการดูแลหายามารักษาเอง
จึงทาให้ไม่มกี ารเก็บหลักฐานการเกิดอุบตั ิเหตุท่เี ป็ นการเกิดอุบตั ิเหตุท่จี ะเป็ นสถิติเพื่อนามา
รายงาน เพื่อทีจ่ ะหาแนวทางดาเนินการป้ องกัน ปรับปรุงแก้ไขให้ดขี น้ึ ดังนัน้ กระทรวงแรงงาน
ในฐานะเป็ นผูด้ ูแลเกี่ยวข้องโดยตรงในการคุม้ ครองแรงงานด้านความปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั งิ าน
ในสถานประกอบการหรือกิจการต่าง ๆ ตามกฎหมายกาหนด จึงได้กาหนดบุคลากรทีจ่ ะต้องทา
การสอบสวนอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ จากการปฏิบตั งิ านรวมทัง้ เสนอแนะแนวทางแก้ไขปั ญหาต่อนายจ้าง
ไว้ในกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549

บุคลากรผูท้ าหน้ าที่ในการสอบสวนอุบตั ิ เหตุตามข้อกาหนดของกฎกระทรวง คือ


บุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านโดยตรงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ
ได้แก่ เจ้าหน้าที่ความลอดภัยในการทางานระดับต่างๆ ซึง่ ปั จจุบนั มีจานวนทีข่ น้ึ ทะเบียนสะสม
ทัง้ หมด 743,956 คน (สานักความปลอดภัยแรงงาน, 2558, หน้า 29) ซึงมีการสารวจ ณ วันที่
28 กุมภาพันธ์ 2558 จาแนกได้ดงั นี้
172

1. เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้ างาน (จป.หัวหน้ างาน)


มีจานวน 514,801 คน ทาหน้าทีต่ รวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย
หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ อันเนื่องจากการทางานของลูกจ้างร่ว มกับเจ้าหน้ าที่ความ
ปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับ เทคนิคขัน้ สูง หรือระดับวิชาชีพ และรายงานผล รวมทัง้
เสนอแนะแนวทางแก้ไขปั ญหาต่อนายจ้าง โดยไม่ชกั ช้า รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย
หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ อันเนื่องจาก การทางานของลูกจ้างต่อนายจ้าง และแจ้งต่อ
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขัน้ สูง หรือระดับวิชาชีพ สาหรับ
สถานประกอบกิจการที่มหี น่ วยงานความปลอดภัย ให้แจ้งต่อหน่ วยงานความปลอดภัยทันทีท่ี
เกิดเหตุ
2. เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับบริ หาร (จป.บริ หาร)
มีจานวน 184,897 คน มีหน้ าที่กากับดูแล และติดตามให้มกี ารแก้ไขข้อบกพร่อ ง
เพื่อความปลอดภัยของลูกจ้างทีไ่ ด้รบั รายงานหรือตามข้อแสนอแนะของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
ในการทางานคณะกรรมการ หรือหน่ วยงานความปลอดภัย เสนอแผนงานโครงการด้านความ
ปลอดภัยในการทางานในหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบต่อนายจ้าง
3. เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิ ค (จป.เทคนิ ค)
มีจานวน 12,169 คน มีหน้าที่ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย
หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ อันเนื่องจากการทางาน และรายงานผล รวมทัง้ เสนอแนะต่อ
นายจ้างเพื่อป้ องกันการเกิดเหตุโดยไม่ชกั ช้า รวบรวมสถิติ จัดทารายงาน และข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญอันเนื่องจากการ
ทางานของลูกจ้าง
4. เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิ คขัน้ สูง (จป.เทคนิ คขัน้ สูง)
มีจานวน 2,341 คน มีหน้ าที่ตรวจสอบหาสาเหตุและวิเคราะห์การประสบอันตราย
การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุ เดือดร้อนราคาญอันเนื่องจากการทางาน และรายงานผล รวมทัง้
เสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้ องกัน การเกิดเหตุโดยไม่ชกั ช้า การรวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล
จัดทารายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบ อันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุ
เดือดร้อนราคาญอันเนื่องจากการทางานของลูกจ้าง
5. เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิ ชาชีพ (จป.วิ ชาชีพ)
มีจานวน 29,748 คน มีหน้าที่ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์การประสบอันตราย
การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อน ราคาญอันเนื่องจากการทางาน และรายงานผล รวมทัง้
เสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้ องกัน การเกิดเหตุโดยไม่ชกั ช้าการรวบรวมสถิติ วิเคราะห์ขอ้ มูล จัดทา
รายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบ อันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อน
ราคาญอันเนื่องจากการทางานของลูกจ้าง
173

อย่างไรก็ต าม หากสถานประกอบการเกิดอุบตั เิ หตุที่ต้อ งมีอ าศัยผู้ชานาญการหรือ


เชี่ยวชาญมาทาการสอบสวนอุบตั เิ หตุ สถานประกอบการก็จาเป็ นต้อ งแต่ง ตัง้ ทีมงานหรือ
คณะกรรมการสอบสวนพิเ ศษ ขึน้ มาเพื่อ ทาหน้า ที่ส อบสวนในกรณีที่ร า้ ยแรง เช่น กรณี ท่ี
โรงแรมรอยัลพลาซ่าถล่มทีจ่ งั หวัดนครราชสีมาเมื่อปี 2535 มีผเู้ สียชีวติ จานวนมากร่วม 300 คน
โรงแรมพัทยาจอมเทียนเกิดไฟไหม้ เป็ นต้น ซึง่ อุบตั เิ หตุทเ่ี กิดมีความซับซ้อน เสียหายทัง้ คนและ
ทรัพย์สนิ เป็ นจานวนมาก โดยคณะกรรมการชุดนี้จะประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา
เฉพาะด้าน โดยคณะกรรมชุดนี้จะดาเนินการสอบสวนอุบตั เิ หตุเพื่อหาสาเหตุ และมาตรการใน
การป้ องกันแก้ไขร่วมกับระดับเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยระดับต่างๆ ด้วย

อุปกรณ์ ที่จาเป็ นในการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ


เมื่อเกิดอุบตั เิ หตุขน้ึ ในสถานประกอบการ ผูท้ าหน้าทีใ่ นการสอบสวนจะต้องดาเนินการ
สอบสวนหาสาเหตุทเ่ี กิดขึน้ ดังนัน้ ผูท้ าหน้าทีส่ อบสวนจะต้องเตรียมอุปกรณ์เพื่อให้พร้อมในการ
สอบสวน และอานวยความสะดวกในการบันทึกเก็บข้อมูล และหลักฐานให้สมบูรณ์ทส่ี ุด ซึง่ อุปกรณ์
ต่างๆ ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลรายลเอียดในการสอบสวนอุบตั เิ หตุต้องมีความพร้อม สามารถใช้
งานได้ตลอดเวลาเมือ่ มีการเกิดอุบตั เิ หตุขน้ึ ในสถานประกอบการ โดยอุปกรณ์ต่างๆ ได้แก่
1. กล้องถ่ายรูป กล้องจะเป็ นในการเก็บบันทึกจะใช้ในกรณีเก็บเป็ นหลักฐาน
ทางกฎหมาย หรือคดี หรือใช้เป็ นสื่อในการประชามสัมพันธ์เรื่องอุบตั เิ หตุ โดยกล้องจะเป็ นเครื่องมือ
ทีส่ ามารถนามาช่วยในการเก็บหลักฐานทีส่ าคัญไว้ให้มกี ารคงอยู่ของหลักฐานต่างๆ ที่เกิดขึน้ ได้
เพื่อประกอบการอธิบายให้เห็นภาพชัดเจนมากขึน้ ซึง่ ควรจะเป็ นกล้องทีใ่ ช้ฟิลม์ เนื่องจากปั จจุบนั
นี้มกี ล้องดิจติ อลอาจไม่เหมาะสมเพราะอาจจะแต่งภาพ คลาดเคลื่อนจากความจริงได้ อาจทาให้
รูปคดีเปลีย่ นไปได้
2. สมุดสาหรับบันทึ ก สาหรับบันทึกสิง่ ที่มคี วามผิดปกติต่างๆ หรือการจด
บันทึกความจาทีน่ อกเหนือจากรายละเอียดในแบบฟอร์มไม่ได้บอกไว้
3. แป้ นรองเขียน ดิ นสอ และปากกา เพื่อใช้ในการบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับ
การสอบสวนการเกิดเหตุอุบตั เิ หตุ
4. แบบฟอร์มในการรายงานอุบตั ิ เหตุ ซึง่ แบบฟอร์มจะมีหวั เรือ่ งต่างๆ เรียง
ตามลาดับการสอบสวนอย่างเป็ นขัน้ เป็ นตอน ทาให้ไม่หลงประเด็นในการสอบสวน ทาให้เป็ น
แนวทางในการสอบสวนได้อย่างดี
5. เครื่องบันทึกเสียง ใช้สาหรับบันทึกคา/สานวน/ข้อความต่างๆ ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล
หรือพยานรูเ้ ห็นเหตุการณ์ จะช่วยในการบันทึกรายละเอียด
6. ถุงมือ ใช้สาหรับหยิบจับวัตถุต่างๆ ทีเ่ กิดในพืน้ ทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุเพื่อให้หลักฐาน
ไม่คลาดเคลื่อน
174

7. ไม้บรรทัด ตลับเมตร หรือสายวัด ใช้สาหรับวัดระยะบริเวณพื้นที่เกิด


เหตุการณ์ประสบเหตุ
8. เชือก หรือ สายริ บบิ้น สาหรับกันพืน้ ทีบ่ ริเวณเกิดอุบตั เิ หตุเพื่อกาหนดแนว
เขตไม่ให้บุคคลทีไ่ ม่เกีย่ วข้องเข้ามา เพราะอาจจะทาลายหลักฐานเหล่านัน้ ก่อน
9. กล่ องหรือภาชนะเก็บตัวอย่าง สาหรับเก็บวัตถุพยานบางอย่างที่อยู่ใน
บริเวณพืน้ ทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุ
10. เทปติ ดกระดาษ สาหรับทาสัญลักษณ์วตั ถุพยานประกอบหลักฐานข้อมูลที่
สาคัญ
11. แว่นหรือกล้องขยาย ใช้สาหรับกรณีทเ่ี หตุการณ์นนั ้ ไม่สามารถมองเห็นชัด
ด้วยตาเปล่า หรือวัตถุพยานมีชน้ิ ส่วนทีเ่ ล็กไม่สามารถมองด้วยตาเปล่าได้
12. เข็มทิ ศ ใช้ในการวัดทิศทางของวัตถุพยาน
13. แผนผังโรงงาน ใช้สาหรับดูแปลนโรงงาน ทีเ่ ป็ นลักษณะทีอ่ าจจะทาให้การ
วางผังโรงงานไม่เหมาะสมทาให้เกิดอุบตั เิ หตุ เพื่อนามาพิจารณาในการหาสาเหตุในการเกิด
อุบตั เิ หตุได้
14. อุปกรณ์อื่นๆ ได้แก่
14.1 กล้องบันทึกภาพเคลื่อนไหว อาจนมาใช้ประกอบเพิ่มเติมข้อมูลกรณี
เหตุการณ์ตอ้ งการดูขอ้ มูลภายหลังซ้าในการดูพยานบุคคล สถานที่ และบริเวณทีเ่ กิดเหตุ
14.2 เทปกระดาษสะท้อนแสง ใช้กนั ้ ในบริเวณทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุเพื่อกันไม่ให้
บุคคลทีไ่ ม่เกีย่ วข้องเข้ามารบกวนหรือทาลายหลักฐานทีส่ าคัญๆ
14.3 ป้ ายแขวน สาหรับการเขียนข้อความห้ามไม่ให้ผทู้ ไ่ี ม่มสี ่วนเกีย่ วข้อง
เข้ามาในบริเวณทีม่ ปี ้ าย

เทคนิ คในการสอบสวนการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


การสอบสวนอุบตั เิ หตุจาเป็ นต้อ งอาศัยเทคนิค ในดาเนินการโดยบุค คลที่ที่มคี วามรู้
ความสามารถ และประสบการณ์ โดยเฉพาะต้องอาศัยเทคนิคต่างๆ มาใช้ในการสอบสวนเพื่อ ให้
ได้ขอ้ มูลและผลการสอบสวนทีม่ ขี อ้ มูลน่ าเชื่อถือ และถูกต้องสมบูรณ์ โดยมีเทคนิคในการสอบสวน
ทีด่ ี ดังนี้ (อภิรดี ศรีโอภาส, 2560, หน้า 2-28,2-30)
1. เทคนิ คการตอบโต้ เหตุการณ์ อย่างเหมาะสม เป็ นการดาเนินการขัน้ แรกเมื่อ เกิด
อุบตั เิ หตุเกิดขึน้ โดยมีเทคนิคการดาเนินการ ดังนี้
1.1 การเข้าควบคุมเหตุการณ์บริเวณทีเ่ กิดเหตุทนั ทีทไ่ี ด้รบั แจ้ง เพื่อไม่ไหม้การทาลาย
หลักฐานก่อน
1.2 การปฐมพยาบาลผูท้ ไ่ี ด้รบั บาดเจ็บเบือ้ งต้นก่อนนาส่งโรงพยาบาล
175

1.3 การควบคุมไม่ให้ผลของความเสียหายที่เกิดขึน้ จากอุบตั เิ หตุ กระจายออกไปสู่


บริเวณอื่น
1.4 เก็บรักษาหลักฐานในทีเ่ กิดเหตุไม่ให้เปลีย่ นแปลง สูญหายหรือถูกทาลาย
1.5 แจ้งให้ผบู้ ริหารระดับสูงรับทราบข้อมูลเบือ้ งต้นของการเกิดอุบตั เิ หตุก่อนจัดทา
รายงานการสอบสวนอุบตั เิ หตุอย่างละเอียด
2. เทคนิ คการเก็บรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน เป็ นเทคนิคทีม่ คี วามสาคัญมาในการ
สอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุและหาหลักฐานให้มคี วามสมบูรณ์ทจ่ี ะนาไปสู่การวิเคราะห์หาสาเหตุท่ี
แท้จริงของการเกิดอุบตั เิ หตุได้ โดยมีเทคนิคทีส่ าคัญ ดังนี้
2.1 การสัมภาษณ์ เป็ นการซักถามข้อมูลและค้นหารายละเอียดของการเกิดอุบตั เิ หตุ
จากผู้ท่เี กี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้ประสบอันตราย ผู้เห็นเหตุการณ์ หัวหน้างาน หรือเพื่อนร่วมงานที่
เกี่ยวข้องกับงานในบริเวณนัน้ ซึ่งการสัมภาษณ์ท่ดี จี ะต้องมีการสื่อความเข้าใจแบบการพูดคุย
สื่อสารสองทางโต้ตอบให้เห็นการแสดงกริยาท่าทางประกอบ การสัมภาษณ์ควรทาการสัมภาษณ์
ส่วนตัวระหว่างผู้สมั ภาษณ์กบั ผู้ถูกสัมภาษณ์ ควรสร้างบรรยากาศเป็ นกันเองในการสัมภาษณ์
เพื่อไม่ให้เกิดความรูส้ กึ อึดอัด ไม่สบายใจ และควรชีแ้ จงวัตถุประสงค์ในการสัมภาษณ์ เปิ ดโอกาส
ให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ได้มโี อกาสซักถามข้อมูลย้อนกลับ และห้ามใช้คาถามนาในการสัมภาษณ์ แต่
เปิ ดโอกาสให้ผถู้ ูกสัมภาษณ์อธิบายรายละเอียด
1. บุคคล ทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บคือใคร (Who)
2. สถานที่ ทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุเกิดขึน้ บริเวณทีไ่ หน (Where)
3. เวลา อุบตั เิ หตุเกิดขึน้ เมือ่ ไหร่ (When)
4. สาเหตุ ทาไมจึงเกิดอุบตั เิ หตุ (Why)
5. ลาดับเหตุการณ์อะไรเกิดขึน้ (What)
6. วิธกี ารป้ องกัน (How) จะสามารถหาแนวทางป้ องกันอย่างไร ที่จะไม่ให้มกี าร
เกิดขึน้ ซ้าอีก
ดังนัน้ ในการสัมภาษณ์นนั ้ สัมภาษณ์ควรบันทึกข้อมูลสาคัญทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์ลงใน
แบบฟอร์มการบันทึกคาให้สมั ภาษณ์ของพยาน ดังตัวอย่างในภาพที่ 19
2.2 การวาดภาพเหตุการณ์ประกอบ ซึ่งจะช่วยให้ผไู้ ด้ รบั รายงานการเกิดอุบตั เิ หตุ
ได้เห็นภาพของการเกิดอุบตั เิ หตุอย่างชัดเจน
2.3 การถ่ ายรูปภาพหรือ บันทึก ภาพ ท าให้เ ห็นลักษณะบริเ วณที่เ กิดเหตุ การณ์
ประสบอันตราย เครื่อ งจัก รที่เกิดอุ บตั ิเหตุ ซึ่งจะสามารถนามาใช้ประกอบการเป็ นหลักฐาน
สาคัญการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุได้
2.4 การแสดงซ้า ให้ดู โดยผู้สมั ภาษณ์จะต้องขอให้ผู้ถูกสัมภาษณ์แสดงภาพก่อน
การเกิดอุบตั เิ หตุให้ดู เพื่อจะได้เห็นภาพวิธกี ารทางานอย่างชัดเจนก่อนการเกิดอุบตั เิ หตุ
176

2.5 การตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่อ งมือ และเครื่องจักร ในการสอบสวนอุบตั ิเหตุ ท่ี


เกีย่ วข้องกับอุปกรณ์ เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร ผูท้ าการสอบสวนจะต้องตรวจดูสภาพเครื่องจักรเป็ น
ลักษณะพร้อมใช้งาน หรือมีปัญหาชารุดหรือไม่ หรือไม่เหมาะสม เป็ นการประเมินประสิทธิภาพ
ของเครือ่ งจักร ซึง่ การเกิดอุบตั เิ หตุอาจมาจากเครือ่ งจักร
2.6 การตรวจสอบข้อมูล ในการสอบสวนต้องมีการตรวจดูขอ้ มูลของผูป้ ระสบอันตราย
เพื่อเป็ นข้อมูลประกอบการค้นหาสาเหตุของอุบตั เิ หตุ ได้แก่ ข้อมูลในการฝึ กอบรม ข้อมูลการ
ซ่อมบารุงเครื่องจักร ข้อมูลการรายงานการตรวจสอบความปลอดภัย และมาตรฐานการทางาน
และขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน
3. เทคนิ คการวิ เคราะห์หาสาเหตุของการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ เป็ นการพิจารณาถึงสาเหตุ
ของการเกิดอุบตั เิ หตุ ซึง่ แบ่งออกได้ดงั นี้ สาเหตุ พน้ื ฐานอันเกิดมาจากปั จจัยด้านคน และปั จจัย
ด้านงาน และสาเหตุขณะนัน้ อันเกิดจากการกระทาไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) และสภาพการณ์
ทีไ่ ม่ปลอดภัย (Unsafe Condition)
4. เทคนิ คการกาหนดวิ ธีการแก้ไขและมาตรการในการป้ องกันอุบตั ิ เหตุ มาตรการ
ด้านความปลอดภัยในการทางาน หลัก 4E ได้แก่
4.1 มาตรการด้านวิศวกรรม (Engineering) โดยการใช้ความรูด้ า้ นวิศวกรรมมาใช้
ในการออกแบบเครือ่ งจักร เครือ่ งมือ และสภาพการใช้งานให้ปลอดภัย
4.2 มาตรการด้านการศึกษา (Education) เป็ นการให้การศึกษา ฝึกอบรมให้ความรู้
ในการทางานให้เกิดความปลอดภัย
4.3 มาตรการด้านกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ (Enforcement) สถานประกอบการต้อง
ออกกฎระเบียบ ให้ปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัดเพื่อป้ องกันการเกิดอันตรายในการทางาน
4.4 มาตรการด้านการกระตุ้นเตือน (Encouragement) ใช้จติ วิทยาในการหาแนวทาง
กระตุน้ เตือนให้ตระหนักในความปลอดภัย หรือจัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนด้านความปลอดภัย
จากมาตรการหลักความปลอดภัยด้วยการใช้หลัก 4E นี้หน่ วยงานควรพิจารณาแก้ไข
ปั ญหาโดยมีการจัดทาคะแนนงานหรือโครงการเพื่อแก้ไขปั ญหาด้วยการกาหนดแผนระยะสัน้
และแผนระยะยาว
5. เทคนิ คการติ ดตามประเมิ นผล จะต้องมีการมอบหมายผู้รบั ผิดชอบหรือแต่งตัง้
กรรมการตรวจประเมินติดตามผล เป็ นระยะอย่างต่อเนื่องเพื่อนาผลเหล่านัน้ มาทาการปรับปรุง
แก้ไข และหามาตรการในการป้ องกันอุบตั เิ หตุไปปฏิบตั ิ โดยแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ
5.1 การติดตามประเมินผลระหว่างดาเนินการแก้ไขปั ญหา เป็ นการติดตามการนา
วิธกี ารแก้ไขปั ญหาไปสู่การปฏิบตั วิ ่ามีการปฏิบตั จิ ริงและรวดเร็วหรือไม่ หากไม่สามารถปฏิบตั ิ
ได้ให้รบี แก้ไข
177

5.2 การติดตามประเมินผลความสาเร็จของวิธกี ารและมาตรการในการแก้ไขปั ญหา


หลังจากการนาไปปฏิบตั แิ ล้ว ซึ่งต้องมีการติดตามประเมินผลเป็ นระยะ เพื่อให้แน่ ใจว่าวิธกี าร
หรือมาตรการและวิธกี ารมีความเหมาะสมหรือไม่
6. เทคนิ คการบันทึ กรายงานสอบสวนการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ เป็ นวิธกี ารรวบรวมข้อมูล
จากการสอบสวนอุบตั เิ หตุเพื่อใช้เป็ นข้อมูลพืน้ ฐานในการวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ
รวมทัง้ การนาเสนอมาตรการและวิธกี ารป้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุต่อไป
ในการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุในสถานที่ทางานจึงต้องมีแบบฟอร์มในการสอบสวน
เพื่อเป็ นการบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับการเกิดอุบตั เิ หตุ สาเหตุการเกิด ผูท้ เ่ี กี่ยวข้อง และเป็ น
เก็บหลักฐานรายละเอียดไว้ในการปรับปรุงหาแนวทางในการป้ องกันเกี่ยวกับอุบตั เิ หตุขน้ึ ซ้า ซึง่
แบบฟอร์มในการสารวจหรือการบันทึกการสัมภาษณ์จงึ มีความสาคัญในการบันทึกหลักฐาน ดัง
ตัวอย่างแบบฟอร์มการบันทึกคาให้สมั ภาษณ์ของพยานในการสอบสวนอุบตั เิ หตุ ในภาพที่ 3.10
178

ตัวอย่างแบบฟอร์มการบันทึกคาให้สมั ภาษณ์ของพยานในการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ

รหัสข้อมูลที่ .........
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัวไป ่
วัน เดือน ปี ทีส่ มั ภาษณ์ ............................... เวลา ................ น. ระยะการสัมภาษณ์ ................. ชม./นาที
สถานทีส่ มั ภาษณ์ ..........................................................................................................................................
ผูท้ าการสัมภาษณ์ นาย /นาง/นางสาว ............................................... ตาแหน่งงาน .......................................
หน้าที.่ ............................................................. แผนก/ฝ่ าย ...........................................................................
วัน เดือน ปี ทีเ่ กิดเหตุการณ์/อุบตั เิ หตุ .............................................................. เวลา ...........................น.
ชือ่ – สกุลผูป้ ระสบอันตราย/อุบตั เิ หตุ ..............................................................................................................
ตาแหน่งงาน ................................................ ลักษณะงานทีป่ ฏิบตั งิ าน ............................................................
แผนก/ฝ่ าย ....................................................................................................
ทีอ่ ยู่ ...............................................................................................................................................................

ส่วนที่ 2 ข้อมูลทัวไปของพยาน่
พยานผูเ้ ห็นเหตุการณ์ นาย/นางสาว /นาง ..........................................................................................................
อายุ .................ปี เพศ ......................ทีอ่ ยู่ปัจจุบนั .............................................................................................
..................................................................................................................... เบอร์โทรศัพท์ .............................
ตาแหน่งงาน ...............................................................................แผนก/ฝ่ าย.......................................................
ลักษณะหน้าทีท่ ป่ี ฏิบตั ิ ........................................................................................................................................

ส่วนที่ 3 รายละเอียดของการสัมภาษณ์พยาน
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อความทีป่ รากฏในเอกสารนี้เป็ นจริงทุกประการ

ลงชือ่ ..................................................
(…………………………………..)
พยาน

ลงชือ่ ..................................................
(…………………………………..)
ผูส้ มั ภาษณ์

(สาเนาให้พยานเก็บไว้ 1 ฉบับ)

ภาพที่ 3.10 ตัวอย่างแบบฟอร์มการบันทึกคาให้สมั ภาษณ์ของพยานในการสอบสวนอุบตั เิ หตุ


ทีม่ า: อภิรดี ศรีโอภาส, 2560, หน้า 2-39.
179

การบันทึกรายงานการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ
การบันทึกรายงานการเกิดอุบตั เิ หตุ เป็ นการรวบรวมข้อมูลทีเ่ กี่ยวกับการสอบสวนการเกิด
อุบตั เิ หตุเพื่อนาข้อมูลไปเป็ นหลักฐานในการวิเคราะห์หาสาเหตุ ของการเกิดอุบตั เิ หตุ เพื่อหา
แนวทางป้ องกัน แก้ไขไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุเกิดขึน้ อีก อีกทัง้ การบันทึกรายงานการเกิดอุบตั เิ หตุยงั
นาเป็ นหลักฐานในการประกอบการวินิจฉัย
วัตถุประสงค์ของการบันทึกรายงานการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ
1. เพื่อเก็บรวบรวมเป็ นข้อมูลและสถิตใิ นการเกิดอุบตั เิ หตุ การจ่ายเงินทดแทน การ
วิเคราะห์และการสอบสวนอุบตั เิ หตุ
2. เพื่อเป็ นแนวทางในการดาเนินงานป้ องกันอุบตั เิ หตุ
หลักการบันทึกรายงานการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ
1. จะต้องมีการบันทึกและรายงานการรายงานการเกิดอุบตั เิ หตุทุกครัง้ (แม้จะเป็ นการ
บาดเจ็บเล็กน้อยก็ตาม)
2. รายงานจะต้องประกอบด้วยหัวข้อทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิเคราะห์เหตุการณ์ การสอบสวน
สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ ข้อเสนอแนะในการแก้ไขป้ องกัน และการสังการของฝ่ ่ ายปริหาร
3. รายงานอุบตั เิ หตุตอ้ งมีลกั ษณะง่ายต่อการรวบรวมหรือแยกประเภทตามลักษณะของ
สาเหตุหรือการบาดเจ็บ เพื่อเป็ นประโยชน์ในทางสถิตแิ ละวิเคราะห์ใช้ในการป้ องกันอุบตั เิ หตุ
การจ่ายเงินทดแทนและอื่นๆ ต่อไป
วิ ธีเขียนบันทึกรายงานการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ
การบันทึกรายงานการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุ นับว่าเป็ นการสรุปรวบรวมข้อมูลทีไ่ ด้
จากการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุ เพื่อเสนอต่อผู้บริหาร และใช้เป็ นข้อมูลพืน้ ฐานในการวิเคราะห์
อุบตั เิ หตุเพื่อนาไปสู่การหนมาตรการ แนวทางในการแก้ไข ปรับปรุง ดังนัน้ วิธกี ารเขียนรายงาน
การสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุจงึ ต้องมีการกาหนดรายละเอียดข้อมูลต่างๆ ทีต่ อ้ งทาดังนี้
1. รายละเอี ยดของผู้ประสบอันตรายหรืออุบตั ิ เหตุ/บาดเจ็บ เป็ นข้อมูลที่สาคัญ
อันดับแรกของการเขียนรายงาน เพราะจะได้ทราบถึงประวัติ ภูมหิ ลังส่วนบุคคลของผู้ประสบ
อันตราย บาดเจ็บ โดยข้อมูลประกอบด้วย ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวพนักงาน อายุ เพศ แผนก
ทีส่ งั กัด การศึกษา ตาแหน่ งงานปั จจุบนั ลักษณะของงานทีท่ า สถานทีข่ องแผนก ประสบการณ์
หรืออายุงานในปั จจุบนั เป็ นต้น
2. ความรุนแรงของอุบตั ิ เหตุที่ได้รบั เป็ นส่วนทีใ่ ห้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการเกิดอุบตั เิ หตุทม่ี ี
ผลต่อส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ระบุ ส่วนของร่างกายที่ได้รบั บาดเจ็บ และบาดเจ็บอย่างไร
รวมทัง้ การได้รบั อันตรายในส่วนของการได้รบั สารเคมีกระเด็นโดนส่วนทีส่ าคัญของร่างกาย เช่น
ดวงตา จมูก เป็ นต้น และการได้รบั ผลกระทบนี้ได้รบั การปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างไร นาส่ง
สถานพยาบาลแหล่งใด ได้รบั การรักษาด้วยวิธกี ารอย่างไร ต้องหยุดงานหรือไม่ หรือเสียชีวติ
180

3. รายละเอียดของการเกิ ดอุบตั ิ เหตุหรือประสบอันตราย


3.1 งานที่ทาขณะเกิดอุบตั เิ หตุ ควรกาหนดลักษณะของการกระทาที่เฉพาะลงไป
ในขณะเกิดอุบตั เิ หตุ ตลอดจนระบุถงึ วัสดุ เครือ่ งมือ หรืออุปกรณ์ทก่ี าลังถือหรือใช้อยูข่ ณะนัน้
3.2 เกิดอะไรขึน้ โดยอธิบายให้ได้ว่าอุบตั เิ หตุนนั ้ เกิดขึน้ อย่างไร เช่น ทาไมคนงาน
จึงทางานในลักษณะนัน้ สภาพการณ์ตอนนัน้ เป็ นอย่างไร มีบุคคลอื่นเกีย่ วข้องด้วยเช่นไร เป็ นต้น
4. วาดภาพประกอบ การบันทึกภาพประกอบในปั จจุบนั นี้มเี ทคโนโลยีมาช่วยการบันทึก
หลายวิธดี ้วยกล้องระบบต่างๆ โทรศัพท์มอื ถือสมาร์ทโฟน ซึ่งการบันทึกเหล่านี้จะช่วยในการ
สอบสวนอุบตั เิ หตุได้ทนั เวลา หรือจะเป็ นวาดภาพประกอบก็ได้ เหล่านี้ต้องอาศัยการอธิบาย
รายละเอียดการเกิดอุบตั เิ หตุหรือเหตุการณ์ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างละเอียดเป็ นขัน้ ตอน ซึง่ สะท้อน
ให้เห็นความชัดเจนในส่วนทีส่ าคัญในการบันทึกการเกิดอุบตั เิ หตุ เพราะเห็นภาพประกอบลักษณะ
การเกิดได้อย่างชัดเจน และยังใช้เป็ นข้อมูลสาคัญในการวิเคราะห์การเกิดอุบตั เิ หตุได้ดว้ ย
5. ชนิ ดของวัตถุหรือสารที่ทาให้ เกิ ดอันตราย หากเป็ นลักษณะการเกิดอุบตั เิ หตุจาก
สารเคมี น้ ายาทีเ่ ป็ นอันตราย ผูท้ าหน้าทีใ่ นการสอบสวนจาต้องทราบชื่อทีเ่ ป็ นตัวสาคัญของสารเคมี
เหล่านัน้ จึงต้องมีการเขียนชื่อตัวสารเคมีอย่างละเอียด ผลของการได้รบั อุบตั เิ หตุ วิธกี ารแก้ไข
เมือ่ เกิดเหตุ สารเคมีหกใส่ หรือกระเด็นใส่ โดยระบุช่อื วัตถุหรือสารอันตรายเป็ นชื่อทัง้ ภาษาไทย
และภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผเู้ ชีย่ วชาญได้วเิ คราะห์
6. การวิ เคราะห์สาเหตุการเกิ ดอุบตั ิ เหตุหรือเจ็บป่ วย เป็ นสิง่ สาคัญทีต่ ้องให้สอบสวน
อุบตั เิ หตุจะต้องดาเนินการวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุไม่ว่าจะเป็ นสาเหตุพ้นื ฐาน
และสาเหตุขณะนัน้ เพื่อนาไปสู่การหาแนวทาง และมาตรการในการป้ องกันแก้ไขเหตุการณ์ท่ี
เกิดขึน้ ต่อไป
7. ข้อเสนอแนะหรือความเห็นของผู้ทารายงานหรือผู้สอบสวนอุบตั ิ เหตุ เป็ นการ
นาเสนอวิธกี ารแก้ไขปั ญหา โดยใช้หลักการ 4E เข้ามาช่วย ได้แก่ วิศวกรรม การศึกษากฎระเบียบ
ข้อบังคับ และการกระตุน้ เตือน ซึง่ ทาให้เห็นถึงข้อผิดพลาดนาไปสู่การแก้ไขเกี่ยวกับสภาพการณ์
อันไม่ปลอดภัย ข้อบกพร่องในการบริหาร และแนวทางในการแก้ไขปรับปรุง เพื่อหลีกเลีย่ งการ
เกิดอุบตั เิ หตุเช่นนัน้ อีก
8. หลักฐานและเอกสารประกอบ เป็ นหาข้อมูลเพื่อเป็ นหลักฐานเพิม่ เติมทีเ่ ป็ นเอกสาร
เกี่ยวกับการเกิดอุบตั เิ หตุ เพื่อใช้ประกอบแบบบันทึกรายงานการสอบสวนอุบตั ิเหตุ เช่น แบบ
สัมภาษณ์พยาน ภาพถ่ายสถานทีเ่ กิดเหตุเพิม่ เติม อาจจะนาทะเบียนประวัตพิ นักงานผูป้ ระสบ
อันตรายมาประกอบก็ได้ เป็ นต้น แต่ถา้ ไม่สามารถนามาประกอบก็ได้
9. ผู้สอบสวนอุบตั ิ เหตุ หมายถึง ผูท้ ท่ี าการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุทไ่ี ด้รบั การแต่งตัง้
โดยให้มกี ารลงนามกากับไว้เป็ นหลักฐานท้ายบันทึกรายงานการสอบสวนอุบตั เิ หตุ ซึง่ ผูส้ อบสวน
181

อุบตั ิเหตุตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549 ทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น

แบบฟอร์มบันทึกรายงานการสอบสวนอุบตั ิ เหตุ

แฟ้ มข้อมูลที่ 002


รายละเอียดของผู้ประสบภัยอันตราย/อุบตั ิ เหตุ
ชื่อ-สกุล ................................ เลขประจาตัว...................................... สังกัด.............................................................
อายุ........... ปี เพศ...............ระดับการศึกษา ............................................................................................................
ตาแหน่ง/หน้าที.่ .....................................................................................................อายุงาน...................................ปี
วันเดือนปี ทเ่ี กิดเหตุ.................................. เวลา....................น. สถานทีเ่ กิดเหตุ........................................................
งานทีท่ าขณะเกิดเหตุ................................................................................................................................................
ความรุนแรงของอุบตั ิ เหตุ
ไม่ได้รบั บาดเจ็บ
 ได้รบั บาดเจ็บ ระบุสว่ นของร่างกาย นิ้วหัวแม่มอื ขาด 1 นิ้ว
 ปฐมพยาบาล  นาส่งสถานพยาบาล
 ไม่หยุดงาน
 หยุดงาน
 เสียชีวติ

รายละเอียดการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


................................................................................................................................................................. ..................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
ภาพประกอบ
182

การวิ เคราะห์สาเหตุการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


สาเหตุขณะนัน้
 การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย  สภาพการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภัย
.................................................................................. .............................................................................
.................................................................................. .............................................................................
.................................................................................. .............................................................................
.................................................................................. .............................................................................
สาเหตุพนื้ ฐาน
 ปั จจัยจากคน  ปั จจัยจากงาน
................................................................................. ..............................................................................
................................................................................. ..............................................................................
................................................................................. ..............................................................................

ข้ อ เสนอแนะส าหรับ การ ผูร้ บั ผิดชอบ กาหนดแล้วเสร็จ ผูต้ ดิ ตาม


แก้ไข/ป้ องกัน
1.
2.
3.
4.

หลักฐานและเอกสารประกอบ (ถ้ามี)
1. .....................................................................
2. .....................................................................
3. .....................................................................
4. .....................................................................
5. .....................................................................
ลงนามสอบสวนอุบตั เิ หตุ
...................................................
(..................................................)
ตาแหน่ง......................................

...................................................
(..................................................)
ตาแหน่ง......................................

...................................................
(..................................................)
ตาแหน่ง......................................

วันที่ ..........................................
183

แนวทางในการวิ เคราะห์หาสาเหตุการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


การวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุในสถานประกอบการ เป็ นการหาสาเหตุ
การเกิดโดยทัวไปการเกิ
่ ด อุ บ ัติเ หตุ มคี วามซับซ้ อ น เพื่อ ให้การวิเ คราะห์ห าสาเหตุ ก ารเกิด
อุบตั ิเ หตุ มแี นวทางที่ชดั เจนมากยิง่ ขึ้น ควรจะต้อ งพิจารณาปั จจัยที่เ กี่ยวข้อง 2 สาเหตุห ลัก
สาคัญของการเกิดอุบตั เิ หตุ ดังตารางที่ 3.5

ตารางที่ 3.5 สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ


สาเหตุพนื้ ฐาน
ปัจจัยจากคน ปัจจัยจากงาน
1. สภาวะร่ า งกายและจิต ใจไม่อ ยู่ใ นภาวะปกติ หรือ ไม่ 1. ขาดการควบคุมดูแลการปฏิบตั งิ าน หรือไม่เหมาะสม
เหมาะสม
2. ร่างกายได้รบั ความทบกระเทือนด้านจิตใจและงาน 2.การควบคุ ม ทางวิ ศ วกรรม และออกแบบเครื่ อ งมื อ
เครือ่ งจักรไม่ได้มาตรฐาน
3. ขาดความรู้ ทักษะ และความชานาญหรือประสบการณ์ 3. เครือ่ งจักรขาดการบารุงรักษาตามระยะเวลากาหนด ทาให้
ชารุด ไม่พร้อมจะใช้งาน
4. สภาวะจิตใจหรืออารมณ์ไม่เหมาะสม 4. เครื่ อ งมือ อุ ป กรณ์ ไ ม่ เ พีย งพอ หรือ ไม่ เ หมาะสมตาม
มาตรฐาน
5. ความประมาท ความรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ 5. มาตรฐานการปฏิบตั งิ านไม่เพียงพอ หรือไม่เหมาะสม
6. ไม่ปฏิบตั ติ ามคาเตือน กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ 6. ลักษณะงานยากเกินไปสาหรับบุคคลปฏิบตั ิ
7. ความเชือ่ และทัศนคติไม่ดี
สาเหตุขณะนัน้
การกระทาไม่ปลอดภัย สภาพการณ์ไม่ปลอดภัย
1. การปฏิบตั งิ านลัดขัน้ ตอน 1. บริเวณพื้น ที่ทางานมีคราบน้ ามัน พื้น ขรุขระ มีว สั ดุ เศษ
เหล็กหรือของมีคมตกทีพ่ น้ื
2. การใช้เครือ่ งจักร เครือ่ งมือไม่ถูกวิธี 2. สถานทีท่ างานสกปรก วางสิง่ ของกีดขวาง ไม่เป็ นระเบียบ
3. ไม่ปฏิบตั ติ ามคู่มอื การทางาน 3. ไม่มรี ะบบระบายอากาศหรือการถ่ายเทอากาศไม่เพียงพอ
4. การปฏิบตั งิ านโดยไม่มหี น้าทีเ่ กีย่ วข้อง 4. แสงสว่างไม่เพียงพอ หรือแสงสว่างจ้าเกินไป
5. ไม่ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ข้อบังคับในการทางาน 5. บริเวณสถานทีป่ ฏิบตั งิ านมีเสียงดังเกินกาหนด
6. ไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลขณะปฏิบตั งิ าน 6. ไม่ ม ีอุ ป กรณ์ ป้ อ งกัน อัน ตรายที่เ ครื่อ งจัก รในจุ ด ที่เ ป็ น
อันตราย
7. ความประมาท หยอกล้อกันขณะปฏิบตั งิ านกับเครือ่ งจักร 7. อุ ปกรณ์ ส วมใส่ ป้อ งกัน อัน ตรายส่ ว นบุคคลไม่มเี พีย งพอ
และไม่เหมาะสม
8. การถอดหรือดัดแปลงอุปกรณ์ป้องกันอันตรายทีเ่ ครือ่ งจักร 8.ไม่มกี ารติดตัง้ สัญญาณเตือนภัย
9. การซ่อมแซม หรือทาความสะอาดเครื่องจักรโดยไม่หยุ ด 9. ไม่ ม ีป้ า ยความปลอดภัย แสดงไว้ใ นโรงงานหรือ สถาน
เครือ่ ง ประกอบการ
10. ไม่ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับในการใช้เครือ่ งจักรอย่างถูกวิธี 10.มีฝ่ นุ ละออง ไอระเหย สารเคมีหรือสารพิษกระจาย
184

แบบบันทึกรายงานการสอบสวนการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ

แฟ้ มข้อมูลที่ 002


รายละเอียดของผู้ประสบภัยอันตราย/อุบตั ิ เหตุ
ชื่อ-สกุล นายสาขา วิชา เลขประจาตัว 50111 สังกัด แผนกผลิต
อายุ 22 ปี เพศ ชาย ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาชัน้ ปี ท่ี 3
ตาแหน่ง/หน้าที่ ขันสกรูชน้ิ งาน อายุงาน 1 เดือน
วันเดือนปี ทเ่ี กิดเหตุ 14 มีนาคม 2560 เวลา 16.30 น. สถานทีเ่ กิดเหตุ แผนกขันสกรู
งานทีท่ าขณะเกิดเหตุ ขันสกรูชน้ิ งานลงแผ่นบอร์ด

ความรุนแรงของอุบตั ิ เหตุ
ไม่ได้รบั บาดเจ็บ
 ได้รบั บาดเจ็บ ระบุสว่ นของร่างกาย นิ้วกลางข้างขวากระดูกแตก ข้อที่ 2 แตก
 ปฐมพยาบาล  นาส่งสถานพยาบาล
 ไม่หยุดงาน  หยุดงาน
 เสียชีวติ

รายละเอียดการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


ขณะกาลังปฏิบตั งิ านขันสกรูลงแผ่นบอร์ดได้ใช้มอื รองสอดเข้าไปใต้เครื่องขัน สกรูและขณะนัน้ เกิด
อาการง่วงนอนทาให้เผลอไปเหยียบปุ่มกดที่ เท้าข้างขวาซึ่งเป็ น ปุ่มกดเพื่อตอกสกรูลงแผ่นบอร์ด ทาให้ตวั กดสกรู
กระแทกเข้าที่ม ือ ข้า งขวาโดนนิ้ ว กลางข้างขวาแตก ขณะนัน้ จึง ชัก มือ ข้า งขวาออกและเพื่อ นร่ว มงานได้พบเห็น
เหตุการณ์จงึ ช่วยนายสาผูป้ ระสบเหตุสง่ ห้องพยาบาลเพื่อส่งต่อโรงพยาบาลต่อไป
185

การวิ เคราะห์สาเหตุการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


สาเหตุขณะนัน้
 การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย  สภาพการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภัย
ผูป้ ระสบอันตรายง่วงนอนเผลอเลอ ทีข่ นั สกรูไม่มเี ดือยล็อค (ปุ่มล็อค)
สาเหตุพนื้ ฐาน
 ปั จจัยจากคน  ปั จจัยจากงาน
ความไม่พร้อมของร่างกาย 1. การควบคุมดูแลการปฏิบตั งิ านไม่เพียงพอ
2. การควบคุมดูแลทางด้านวิศวกรรมไม่เพียงพอ
3. มาตรฐานการปฏิบตั งิ านไม่เพียงพอ

ข้อเสนอแนะสาหรับการแก้ไข/ ผูร้ บั ผิดชอบ กาหนดแล้วเสร็จ ผูต้ ดิ ตาม


ป้ องกัน
1. ติดตัง้ ปุ่มล็อคทีเ่ ครื่องขันสกรู หัวหน้ า แผนกประสานกับ หัว หน้ า 21 มีนาคม 2560 ผูจ้ ดั การโรงงาน
ฝ่ ายผลิต ด าเนิ น การติด ต่ อ บริษ ัท
ภายนอกออกแบบอุปกรณ์สาหรับ
ปุ่มล็อคทีข่ นั สกรู
2. จัดทาคู่มือการปฏิบตั ิงานตาม หัวหน้าแผนก 17 มีนาคม 2560 หัวหน้าฝ่ ายผลิต
ขัน้ ตอนที่ปลอดภัยกับเครื่องกาว
ติ ด ตั ้ง ไว้ ท่ี เ ครื่ อ ง แล ะแจกให้
พนักงานทีท่ างานกับเครื่องนี้
3. หัวหน้างานทุกคนต้องทบทวน หัวหน้าแผนก 17 มีนาคม 2560 หัวหน้าฝ่ ายผลิต
เรื่องความปลอดภัยในการทางาน
ทุ ก เช้ า ก่ อ นให้ พ นั ก งานลงมื อ
ทางานและควบคุมดูแลการทางาน
อย่างใกล้ชดิ
4. อบรมให้ความรูเ้ รื่องความ ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ประสาน 30 เมษายน 2560 หัวหน้าฝ่ ายผลิต
ปลอดภัยในการทางานกับ วิทยากรภายนอกทีม่ คี วาม
เครื่องจักรกับพนักงานทุกคนที่ เชีย่ วชาญ
ท างานกับ เครื่อ งจัก รตัง้ แต่ เ ข้ า
ทางานและอบรมทบทวนทุกปี

หลักฐานและเอกสารประกอบ (ถ้ามี)
แบบบันทึกการให้สมั ภาษณ์พยาน

ผู้สอบสวนอุบตั ิ เหตุ
ลงชื่อ นายสดใส สดชื่น
หัวหน้าแผนกผลิต
5 มีนาคม 2560
186

แบบบันทึกคาให้สมั ภาษณ์ของพยาน

แฟ้ มข้อมูลที่ 002

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั ่วไป


วัน เดือน ปี ทีส่ มั ภาษณ์ 15 มีนาคม 2560 เวลา 08.30 น. ระยะเวลาการสัมภาษณ์ 30 นาที
สถานทีส่ มั ภาษณ์ แผนกผลิต (ขันสกรู)
ชื่อ-สกุล ผูส้ มั ภาษณ์ นายสุขภาพ วิทยาศาสตร์ ตาแหน่ง/หน้าที่ หัวหน้างาน แผนก อัดลายกระดาษและไม้อดั
วัน เดือน ปี ทีเ่ กิดเหตุการณ์/อุบตั เิ หตุ 14 มีนาคาม 25xx เวลา 16.30 น.
สถานทีเ่ กิดเหตุการณ์/อุบตั เิ หตุ แผนกอัดลายกระดาษและไม้อดั
ชื่อ-สกุลผูป้ ระสบอันตราย/อุบตั เิ หตุ นายสาขา วิชา
ทีอ่ ยู่ 99/9 ถ.แจ้งวัฒนะ ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 เบอร์โทรศัพท์ 0-2504-8033
ตาแหน่ง/หน้าที่ ส่งแผ่นไม้อดั เข้าลูกกลิง้ ทากาวเรซิน่ แผนก/ฝ่ ายแผนก อัดลายกระดาษและไม้อดั

ส่วนที่ 2 ข้อมูลทั ่วไปพยาน


ชื่อ-สกุล พยาน นายอาชีพ อุตสาหกรรม อายุ 30 ปี เพศ ชาย
ทีอ่ ยู่ 2/53 ถ.แจ้งวัฒนะ ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 เบอร์โทรศัพท์ 0-2503-3610
ตาแหน่ง/หน้าที่ ส่งแผ่นไม้อดั เข้าลูกกลิง้ ทากาวเรซิน่ แผนก/ฝ่ ายแผนก อัดลายกระดาษและไม้อดั

ส่วนที่ 3 รายละเอียดการสัมภาษณ์พยาน
ขณะที่ข้า พเจ้า นายอาชีพ อุ ต สาหกรรม ก าลัง ปฏิบ ัติง านส่ ง แผ่ น ไม้อ ัด เข้า ลู ก กลิ้ง ทากาวเรซิ่น อยู่ ท่ี
เครื่องจักรเครื่องที่ 1 ซึงอยู่ใกล้กบั นายสาขา ขณะเกิดเหตุ เวลา 16.30 น. ระหว่างที่ขา้ พเจ้ากาลังปฏิบตั งิ าน ได้เห็น
นายสาขากาลังใช้ฟองน้ าเช็ดทาความสะอาดลูกกลิ้งของเครื่องทากาวเครื่องที่ 2 ที่นายสาขาประจาอยู่โดยไม่ได้หยุด
เครื่องจักร จึงได้ส่งเสียงร้องห้ามแต่กไ็ ม่ทนั การเนื่องจากมือขวาของนายสาขาได้ถูกลูกกลิ้งดึงเข้า ไปแล้ว จึงได้รบี วิง่
ไปกดปุ่มหยุดเครื่องจักรฉุ กเฉินที่เครื่องทากาวที่นายสาขาประจาอยู่ แล้วทาการช่วยเหลือโดยค่อยๆ ดึงมือนายสาขา
ออกมาและพบว่านิ้ วหัวแม่มือขวาขาดขณะเดียวกันผู้ร่วมงานคนอื่นๆ ที่เห็นเหตุการณ์ได้ไปตามพยาบาลประจา
โรงงานมาทาการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น แจ้งหัวหน้าแผนก และนาส่งโรงพยาบาล

ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อความทีป่ รากฏข้างบนนี้เป็ นจริงทุกประการ

ลงชื่อ นายอาชีพ อุตสาหกรรม


พยาน
ลงชื่อ นายสุขภาพ วิทยาศาสตร์
ผูส้ มั ภาษณ์

(สาเนาให้พยานเก็บไว้ 1 ฉบับ)
187

การวิ เคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ


การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุเป็ นการค้นหาลักษณะและรูปแบบของอุบตั เิ หตุ ในสถานประกอบการ
ทีท่ าให้เห็นแนวโน้มของการเกิดอุบตั เิ หตุ จาแนกแยกแยะข้อมูลของการได้รบั อันตราย บาดเจ็บ
รวมทัง้ สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุอย่างเป็ นระบบ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลทีเ่ ป็ นประโยชน์ในการนาไปสู่
การควบคุมป้ องกันอุบตั เิ หตุทอ่ี าจจะเกิดขึน้

ความสาคัญและวัตถุประสงค์ของการวิ เคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ

โดยส่วนใหญ่ในสถานประกอบการต่าง ๆ เมื่อมีเกตุการณ์ทเ่ี กิดอุบตั เิ หตุเกิดขึน้ จะต้อง


ทาการสอบสวนและบันทึกรายงานการเกิดอุบตั เิ หตุทนั ทีเ่ พื่อจะได้นาข้อมูลทีไ่ ด้มาทาการวิเคราะห์
หาสาเหตุอุบตั เิ หตุอย่างเป็ นระบบ ซึ่งผลจากการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุจะทาให้ทราบรายละเอียด
ของการประสบอันตราย บาดเจ็บ และเจ็บป่ วย เพื่อนาไปใช้เป็ นแนวทางในการหามาตรการป้ องกัน
อุบตั เิ หตุได้
ความสาคัญของการวิ เคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ
หลังจากที่ได้ท าการสอบสวนการเกิดอุ บ ัติเหตุ เสร็จสิ้นจะต้ องน าข้อมูลที่ได้ จากการ
สอบสวนอุบตั เิ หตุท่เี กิดขึน้ แต่ละรายและแต่ละกรณีมาทาการวิเคราะห์ เพื่อค้นหาลักษณะและ
รูปแบบของอุบตั เิ หตุในหน่ วยงานว่าเป็ นอย่างไร เช่น การวิเคราะห์แยกแยะ จาแนกตามส่วน
ของร่างกายทีเ่ กิดการบาดเจ็บ จาแนกตามลักษณะการบาดเจ็บ หรือจาแนกตามสิง่ ทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุ
อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุจะทาให้เห็นภาพแนวโน้มการเกิดอุบตั เิ หตุ และนาผลการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลการเกิดอุบตั เิ หตุมาใช้กาหนดแนวทางหรือมาตรการเชิงรุกในการควบคุมป้ องกัน
อุบตั เิ หตุทอ่ี าจจะเกิดขึน้ ไม่ว่าจะในรูปแบบ ลักษณะการเกิดอย่างไร
วัตถุประสงค์ของการวิ เคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ
การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุเป็ นการจาแนก แยกแยะข้อมูลที่ได้ การสอบสวนอุบตั เิ หตุ เพื่อ
นามาเป็ นข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ ต่อ การหาแนวทางและมาตรการในการป้ องกัน ควบคุม และ
แนวโน้มไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ มีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้
1. เพื่อรวบรวมข้อมูลรายละเอียดของการเกิดอุบตั เิ หตุอนั ได้แก่ ลักษณะของการเกิด
อุบตั เิ หตุ แหล่งทีก่ ่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ บุคคล ตาแหน่งหน้าที่ สถานที่ เวลา เครือ่ งมือวัสดุ อุปกรณ์
และอื่นๆ
2. เพื่อให้ทราบถึงลักษณะของปั ญหาการเกิดอุบตั เิ หตุในหน่ วยงาน และตาแหน่ งหน้าที่
ต่างๆ
3. เพื่อทาให้ทราบถึงลักษณะของการกระทาและสภาพการณ์ท่ไี ม่ปลอดภัย (Unsafe
Act and Unsafe Condition) ซึง่ จาเป็ นทีจ่ ะต้องให้ความสาคัญเป็ นพิเศษในการป้ องกันอุบตั เิ หตุ
188

4. เพื่อใช้เป็ นข้อมูลพืน้ ฐานสาหรับผูบ้ ริหารและหัวหน้างานในการตรวจสอบความปลอดภัย


ในการปฏิบตั งิ าน และสภาพแวดล้อมการทางาน
5. เพื่อใช้ในการประเมินผลความสาเร็จของการนาแผนงานด้านความปลอดภัย (Safety
Plan) ไปสู่การปฏิบตั ิ

แนวทางการวิ เคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ


การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุสามารถทาได้หลายลักษณะ หลายรูปแบบตามวัตถุประสงค์ของ
การวิเคราะห์ ในการวิเคราะห์การเกิดอุบตั เิ หตุ จะต้องมีการระบุขอ้ มูลรายละเอียดของการเกิด
อุบตั เิ หตุและผลทีเ่ กิดขึน้ กับสภาพร่างกายของผู้ประสบอันตราย ตลอดจนสาเหตุพ้นื ฐานที่เกิดขึน้
โดยจากการวิเ คราะห์อุบ ตั เิ หตุ จากการรายงานข้อ มู ล ความปลอดภัยแห่ง ชาติของอเมริก า
(National Safety Council : NCS) พบว่า การเกิดอุบตั เิ หตุมสี ่วนต่างๆ ของร่างกายได้รบั ผล
จากการเกิดอุบตั เิ หตุ เมือ่ จัดลาดับของส่วนต่างๆ ทีพ่ บ ดังนี้
1. ส่วนต่างๆ ของร่างกายที่ได้รบั บาดเจ็บหรืออันตรายจากการทางาน
เพื่อทีจ่ ะพัฒนาและการดูแลให้โครงการงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเกิด
ประสิทธิภาพ สิง่ จาเป็ นทีผ่ บู้ ริหารจะต้องพิจารณาให้เห็นถึงความสาคัญ นอกเหนือจากสาเหตุท่ี
พบบ่อยทีส่ ุดในการทางานของพนักงานทีม่ ผี ลถึงการเสียชีวติ และประสบอันตรายหรือได้รบั บาดเจ็บ
เจ็บป่ วยนัน้ แต่ยงั มีการพบว่าการได้รบั อันตรายของส่วนต่างๆ ในร่างกายของพนัก งานที่พบ
บ่อยครัง้ อีก จากการรายงานความถี่ของ สภาความปลอดภัยแห่งชาติของอเมริกา (National
Safety Council : NCS) โดยปกติแล้วส่วนใหญ่มกั ได้รบั บาดเจ็บเฉพาะส่วนของร่างกายมีดงั นี้
(จากทีพ่ บบ่อยทีส่ ุดเรียงจากมากไปหาน้อย) (Goetsch, L.David, 2005, p.26)
1. หลัง
2. ขาและนิ้วมือ
3. แขนและส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
4. ลาตัว
5. มือ
6. ตา ศีรษะ และเท้า
7. ต้นคอ นิ้วเท้า และระบบต่างๆ ของร่างกาย
จากการจัดลาดับการได้รบั บาดเจ็บในการทางาน ทีท่ าให้ส่วนของร่างกายทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บ
มากทีส่ ุดในการทางาน คือ หลัง ต่อมาได้แก่ ขา และนิ้วมือ แขน และส่ว นต่างๆ ของแขน ลาตัว
มือ ตาม ศีรษะ และเท้า ต้นคอ นิ้วเท้า และระบบต่างๆ ของร่างกายตามลาดับของการได้รบั
อันตรายของส่วนต่างๆ ของร่างกาย จากผลของการจัดลาดับของการได้รบั บาดเจ็บจากการทางาน
189

ทาให้เป็ นองค์การพื้นฐานผู้บริหารงานด้านโครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยจะนามา
ดาเนินการเพื่อไม่เกิดการบาดเจ็บ หรือหลีกเลีย่ งการได้รบั อันตรายดังกล่าวได้
2. ประเด็นการวิ เคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ ส่วนที เป็ นสาเหตุพื้นฐาน ซึง่ มีประเด็นการวิเคราะห์
อุบตั เิ หตุ มีรายละเอียด ดังนี้
2.1 ลักษณะของการบาดเจ็บ (nature of injury) หมายถึง สภาพร่างกายทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บ
จากการปฏิบ ตั งิ านในลัก ษณะงานที่มหี น้าที่แตกต่างกัน และเกิด จากสภาพการกระทาของ
ผู้ปฏิบตั ิงานอาจด้วยสาเหตุปัจจัยที่เกิดจากคน และปั จจัยงาน ได้แก่ เคล็ดขัดยอก ฟกช้า มี
เลือดคลัง่ ขูดข่วน ถลอก อวัยวะถูกบาด ตัด หนีบ กระแทก ทับ ดึง กระชาก บาดแผลถูก เจาะ
กระดูกหัก ผิวหนังอักเสบ ศีรษะถูกกระแทก แผลถูกไฟไหม้ น้ าร้อนลวก ลักษณะของการเกิด
อุบตั เิ หตุทม่ี ผี ลกระทบต่อความเสียหาย บาดเจ็บ เจ็บปวด ต่อร่างกาย จึงต้องมีการระบุให้ชดั เจน
ในกรณีทป่ี ระสบอันตราย หรือบาดเจ็บมากกว่า 1 แห่ง ให้ระบุลกั ษณะการบาดเจ็บทีร่ ุนแรงทีส่ ุด
หากไม่สามารถระบุได้เนื่องจากประสบอันตรายได้รบั บาดเจ็บหลายแห่ง ก็ให้ระบุในแบบวิเคราะห์
ว่า “บาดเจ็บหลายแห่ง” (multiple injuries)
2.2 การให้การดูแลรักษา เมือ่ ผูป้ ฏิบตั งิ านประสบอันตรายหรืออุบตั เิ หตุขน้ึ ย่อมได้รบั
การรักษาอย่างถูกต้อง ในสถานพยาบาลทีม่ เี ครื่องมือที่ท นั สมัย โดยการระบุอาการ ลักษณะการ
บาดเจ็บอย่างชัดเจน เพื่อให้หายจากอาการบาดเจ็บให้มาใช้ชวี ติ ปกติได้ หรือมีการดาเนินชีวติ
ได้อย่างปกติ
2.3 การฟื้ นฟูหลังการรักษาให้หายจากอาการบาดเจ็บ หรือเจ็บป่ วย เมื่อผู้ปฏิบตั งิ าน
ได้รบั การรักษาให้หายเป็ นปกติแล้ว จะต้องได้รบั การฟื้ นฟูด้านร่างกาย และจิตใจเพื่อให้เข้าสู่
ภาวะปกติ เช่น ฟื้ นสภาพส่วนแขน ขา มือ นิ้ว เป็ นต้น ส่วนจิตใจจะต้องให้กาลังใจในการต่อสู้
หากมีความหวาดกลัวในเหตุการณ์ และหากเกิดความพิการหรือทุพลภาพ เป็ นต้น
3. ส่วนของร่างกายที่ได้รบั บาดเจ็บ (part of body) หมายถึง อวัยวะ หรือส่วนต่างๆ
ของร่างกายทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุหรือประสบอันตราย ได้แก่
3.1 ส่วนของศีรษะ และคอ (head and neck) เช่น หนังศีรษะ ตา หู ปาก และฟั น
3.2 ส่วนรยางค์บน (upper extremities) เช่น ไหล่ แขนท่อนบน ข้อศอก แขนท่อน
ล่างระหว่างข้อศอกกับข้อมือ นิ้วมือ และนิ้วหัวแม่มอื
3.3 ส่วนท่อนร่างกาย (body) เช่น หลัง หน้าอก ท้อง ขาหนีบ
3.4 ส่วนของรยางค์ล่าง (lower extremities) เช่น สะโพก ต้นขา ขาหัวเข่า ข้อเท้า
เท้า นิ้วเท้า
4. แหล่งที่ ทาให้ เกิ ดการบาดเจ็บ (source of injury) สิง่ ทีท่ าให้ร่างกายได้รบั การบาดเจ็บ
และเกิดอันตราย ได้แก่ วัตถุสงิ่ ของ การสัมผัส หรือการเคลื่อนไหวของร่างกายซึง่ ส่งผลโดยตรง
ต่อการได้รบั การบาดเจ็บ เช่น เครื่องตัดเหล็กตัดนิ้วมือขาด และกรณีทไ่ี ด้รบั บาดเจ็บเล็กน้อย เช่น
190

เคล็ดขัดยอกในการยกกล่องทีม่ ขี นาดน้ าหนักเกินกาลังทาให้ปวดหลังทันที หรือ การเคล็ดขัดยอก


จากการบิดเอีย้ วตัวทีก่ ะทันหันหรือไม่ได้จงั หวะ ก็ให้ระบุว่าแหล่งทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุ คือ “การเคลื่อนไหว
ร่างกาย”
5. ชนิ ดของอุบตั ิ เหตุ (type of accident) หมายถึง เหตุการณ์ทม่ี ผี ลโดยตรงต่อการ
ทาให้เ กิดการบาดเจ็บโดยจะมีค วามสัมพันธ์โดยตรงกับแหล่ งที่ ทาให้เ กิดการบาดเจ็บ เช่ น
ผูป้ ฏิบตั งิ านตกจากที่สูง หรือบันได ก็ให้ระบุชนิดของอุบตั เิ หตุ ว่า “ตกจากที่สูง” ซึ่งจะพบว่า
ชนิดของอุบตั เิ หตุมหี ลายชนิด ได้แก่
5.1 การชนโดยผูป้ ฏิบตั งิ านเคลื่อนทีห่ รือเคลื่อนไหวไปชนกับวัตถุสงิ่ ของทีอ่ ยู่ตรงหน้า
หรือกระแทกกับวัตถุสงิ่ ของทีม่ คี วามคม
5.2 การถูกหนีบ ถูกบีบ ถูกอัด ถูกบดขยี้
5.2 การถูกแทง ถูกทิม่ ถูกตา ถูกเกีย่ ว ถูกขีดข่วน
5.4 ถูกดึง ถูกรัง้ (caught-on)
5.5 การตกลงบนพืน้ ระดับเดียวกัน เช่น การลื่น การสะดุด ล้ม
5.6 การตกจากทีส่ งู เช่น ตกนังร้ ่ าน ตกจากอาคาร ตกต้นไม้
5.7 การถูกไฟฟ้ าดูด
5.8 การถูกความร้อนจากประกายไฟ
5.9 การสัมผัสสสารที่เคลื่อนย้ายมาถู กร่างกาย เช่น สารเคมี สารละลายที่ร้อ นไฟ
กระแสน้า
5.10 การสัมผัสรังสี
5.11 การปฏิบตั งิ านอยูห่ อ้ งเย็นเป็ นเวลานาน
5.12 การสูดดมสารเคมีต่างๆ (inhalation)
5.13 การดูดซึมเข้าสู่รา่ งกาย (absorption)
5.14 การกิน (ingestion)
5.15 การออกแรงเกินกาลัง (overexertion)
6. สภาพที่เป็ นอันตราย (hazardous condition) หมายถึง สภาพการณ์หรือสภาพ
แวดล้อมที่เป็ นสาเหตุโดยตรงที่ทาให้เกิดอุบตั เิ หตุหรือ การบาดเจ็บ สภาพที่เ ป็ นอันตรายจะ
เกีย่ วข้องโดยตรงกับชนิดของอุบตั เิ หตุและสิง่ ทีท่ าให้เกิดอุบตั เิ หตุ ดังนัน้ ในการวิเคราะห์สภาพ
อันตรายทีเ่ กิดต้องระบุสภาพทีเ่ ป็ นอันตรายต่างๆ ได้แก่ เครื่องจักรมีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่
ไม่เหมาะสม ไม่เพียงพอ และใช้งานได้ไม่เต็มที่
7. สิ่ งที่ ทาให้ เกิ ดอุบตั ิ เหตุ (agency of accident) หมายถึง วัตถุสงิ่ ของสสาร หรือ
ส่วนของสภาพทีเ่ ป็ นอันตรายทีเ่ ป็ นสาเหตุทาให้เกิดอุบตั เิ หตุ ซึง่ บางครัง้ อาจเป็ นสิง่ เดียวกันกับ
แหล่งทีท่ าให้เกิดการบาดเจ็บก็ได้ เช่น ผูป้ ฏิบตั งิ านถูกไฟฟ้ าดูดจากเครื่องถ่ายเอกสารทาให้มอื
191

ข้างขวาชาและปวดแขน สิง่ ทีท่ าให้เกิดอุบตั เิ หตุและแหล่งทีท่ าให้เกิดการบาดเจ็บ คือ “ไฟฟ้ าดูด


จากเครื่องถ่ายเอกสาร” หรือเป็ นสิง่ เดียวกัน แต่ในบางกรณี สิง่ ทีท่ าให้เกิดอุบตั เิ หตุและแหล่งที่
ทาให้เกิดการบาดเจ็บ เช่น ผู้ปฏิบตั งิ านเดินสะดุดกล่องเอกสารล้มกระแทกพืน้ แขนเคล็ดและยอก
สิง่ ทีท่ าให้เกิดอุบตั เิ หตุคอื “กล่อง” แต่แหล่งทีท่ าให้เกิดการบาดเจ็บคือ “พืน้ ”
8. ส่วนของสิ่ งที่ ทาให้ เกิ ดอุบตั ิ เหตุ (agency of accident part) หมายถึง ส่วนประกอบ
ที่อยู่ในสิง่ ที่ทาให้เกอดอุบตั เิ หตุ โดยสิง่ ที่ทาให้เกิดอุบตั เิ หตุอาจมีส่วนที่เป็ นอันตรายหรือจุด
บกพร่อง จึงทาให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ ผู้ปฏิบตั งิ านพยายามปี นขึน้ บันไดเพื่อเปลี่ยนหลอดไฟฟ้ าที่
เสียบนเพดานของห้องทางาน แต่เนื่องจากบันไดสัน้ และเอือ้ มไม่จงึ ผลัดตกลงมาสู่พน้ื บาดเจ็บที่
สะโพก จะเห็นได้ว่า สิง่ ทีท่ าให้เกิดอุ บตั เิ หตุ คือ “ลักษณะการเอื้อม” แต่สงิ่ ทีท่ าให้เกิดอุบตั เิ หตุ
คือ “ขัน้ บันไดทีส่ นั ้ ”
9. การกระทาที่ ไม่ปลอดภัยหรือตา่ กว่ามาตรฐาน (unsafe acts) หมายถึง การกระทา
ของผูป้ ฏิบตั งิ านทีไ่ ม่ถูกต้อง เหมาะสม ในการปฏิบตั งิ าน ได้แก่ การไม่ปฏิบตั งิ านตามกฎระเบียบ
หรือมาตรฐานความปลอดภัย การถอดเครือ่ งป้ องกันอันตรายเครือ่ งออกเพื่อให้การทางานให้เร็ว
ขึน้ การไม่หยุดเครื่องจักรขณะซ่อม หรือแก้ไขเครื่องจักร การที่ผู้ปฏิบตั งิ านไม่สวมใส่อุปกรณ์
ป้ องกันอันตรายส่วนบุคคลขณะปฏิบตั งิ าน หากสถานประกอบตรวจสอบการปฏิบตั งิ านแล้วไม่
พบการกระทาที่ไม่ปลอดภัยหรือต่ ากว่ามาตรฐาน ก็ให้ระบุว่า “ไม่มกี ารกระทาที่ไม่ปลอดภัย
หรือต่ากว่ามาตรฐาน” (no unsafe act)
10. ปัจจัยจากคน (personal factor) เป็ นปั จจัยทีส่ ่งผลต่อความสามารถของบุคคล ทัง้
ทางตรงและทางอ้อม ทาให้บุคคลตัดสินใจผิดพลาดหรือกระทาการที่ก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ ได้แก่
สภาพร่างกายไม่เหมาะสมมีภาวะความเครียดทางด้านจิตใจและอารมณ์ ขาดความรู้ ทักษะ
ความชานาญในหน้าที่ ขาดการอบรมและฝึกฝนในงาน มีความประมาทในขณะปฏิบตั งิ าน และ
ขาดแรงจูงใจในการปฏิบตั งิ าน เป็ นต้น
11. ปัจจัยจากงาน (job factor) เป็ นปั จจัยทีเ่ กิดขึน้ จากงานหรือสิง่ ทีเ่ กี่ยวข้องในการ
ปฏิบตั งิ าน ได้แก่ เครื่องจักรชารุดขาดการบารุงรักษาทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ เครื่องจักรไม่ ด ี
อุปกรณ์ป้องกันหรือครอบเครือ่ งจักรขณะเครื่องจักรทางานหรือเดินเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์
ในการปฏิบตั งิ านไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ ไม่มมี าตรฐานการปฏิบตั งิ านทีช่ ดั เจนและขาดคู่มอื
ในการปฏิบตั งิ าน เป็ นต้น
อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุทก่ี ล่าวมาแล้ว ยังมีปัจจัยอีกปั จจัยหนึ่ง คือ การ
วิเคราะห์ประสบการณ์หรืออายุงาน เพศ ลักษณะงาน เวลาของการเกิดอุบตั เิ หตุ การฝึกอบรม
ทักษะความชานาญ เพราะปั จจัยเหล่าย่อมมีผ ลต่อการวิเ คราะห์อุบตั เิ หตุเพื่อนาไปสู่การหา
แนวทางในการป้ องกันได้
192

ผูท้ าหน้ าที่ในการวิ เคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ


การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุเมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุขน้ึ ในสถานประกอบการ จะต้องมีการดาเนินการ
สอบสวนอุบตั เิ หตุที่เ กิดขึน้ ทันทีเ พื่อ ทาการบันทึก อุบ ตั เิ หตุ หลังจากนัน้ จึงทาการวิเ คราะห์
อุบตั เิ หตุ ดังนัน้ ผู้ทาหน้ าที่ในการวิเคราะห์อุบตั ิเหตุจงึ บุคคลเดียวกันกับผู้สอบสวนอุบตั เิ หตุ
ดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว ในส่วนของผูท้ าหน้าทีใ่ นการสอบสวนอุบตั เิ หตุ บุคลากรผูท้ าหน้าที่ในการ
สอบสวนอุบตั เิ หตุตามข้อกาหนดของกฎกระทรวง ทาหน้าทีใ่ นการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุได้เช่นกัน

ขัน้ ตอนในการวิ เคราะห์อบุ ตั ิ เหตุ


หลังจากการสอบสวนอุบตั เิ หตุในแต่ละกรณี และแต่ละราย ก็จะนาข้อมูลจากการสอบสวน
อุบตั เิ หตุมาทาการวิเคราะห์ไปประมวลผลในรูปแบบต่างๆ ตามหลักการที่ถูกต้องและสมบูรณ์
ที่สุด เพื่อนาไปใช้ตามที่ต้องการ เช่น การวางแผนงานด้านการป้ องกันอุบตั เิ หตุ การปรับปรุ ง
แก้ไข และหามาตรการในการปรับปรุงวิธกี ารทางานให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน เป็ นต้น
โดยในการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ จะมีการกาหนดโดยคณะกรรมการความปลอดภัยทีร่ บั ผิดชอบด้วย
ระยะเวลาทีไ่ ด้กาหนดไว้ ได้แก่ ทุก 3 เดือน 6 เดือน แล้วแต่ความเหมาะสม ดังนัน้ จึงมีขนั ้ ตอน
ปฏิบตั งิ านการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ มีรายละเอียดดังนี้
1. รวบรวมข้อมูลทัวไปเกี่ ย่ วกับรายละเอียดของการเกิดอุบตั เิ หตุในแต่ละกรณีและแต่ละ
รายจากแบบบันทึกการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุ โดยได้อาศัยข้อมูลจากการสัมภาษณ์เพิม่ เติม
และรายละเอียดจากเอกสารประกอบต่างๆ เช่น ภาพวาด ประวัตผิ ปู้ ระอันตราย หรือผูบ้ าดเจ็บ
ได้แก่ ชื่อ สกุ ล อายุ เพศ ต าแหน่ ง ลักษณะงานที่เ กิดอุ บ ัติเ หตุ สังกัดหน่ ว ยงาน วันที่เ กิด
อุบตั เิ หตุ เวลา สถานทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุ เพราะข้อมูลเหล่านี้จะเป็ นข้อมูลพืน้ ฐานในการวิเคราะห์ หรือ
เป็ นปั จจัยที่เอื้ออานวยต่อการได้ขอ้ เท็จที่จะนามาเป็ นหลักฐานที่วเิ คราะห์อุบตั เิ หตุอนั จะทาให้
น่าเชื่อถือ และเกิดความจริงมากทีส่ ุด
2. ทาการวิเคราะห์ลกั ษณะอุบตั เิ หตุตามหัวข้อลักษณะของการบาดเจ็บ ดังนี้
2.1 ลักษณะของการบาดเจ็บ
2.2 ส่วนต่างๆ ขอร่างกายทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บ ได้แก่ ศีรษะ แขน ขา มือ นิ้วมือ
หัวเข่า ต้นคอ ดวงตา เป็ นต้น
2.3 แหล่ ง ที่ท าให้เ กิด อุ บ ัติเ หตุ เช่ น เครื่อ งจัก ร คน งาน สภาพการณ์ และ
สภาพแวดล้อม เป็ นต้น
2.4 ชนิดของอุบตั เิ หตุ
2.5 สภาพทีเ่ ป็ นอันตราย
2.6 สิง่ ทีท่ าให้เกิดอุบตั เิ หตุ
2.7 ส่วนของสิว่ ทีท่ าให้เกิดอุบตั เิ หตุ
2.8 การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย หรือตากว่ามาตรฐาน
193

2.9 ปั จจัยจากคน
2.10 ปั จจัยจากงาน
3. ข้อ เสนอแนะ แนวทางหรือ วิธ ีก ารแก้ไข โดยใช้ห ลัก 4E ได้แ ก่ ด้านวิศ วกรรม
การศึกษา กฎระเบียบ ข้อบังคับ และการกระตุ้นเตือน รวมทัง้ มีการกาหนดแผนงานระยะสัน้
และระยะยาว เป็ นต้น
4. จดบันทึกรายงานการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ
5. ส่งผลการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุไปยังผูบ้ ริหารหรือฝ่ ายจัดการในการนาไปกาหนดนโยบาย
ในการกาหนดแผนงาน /โครงการด้านความปลอดภัยและดาเนินการควบคุมป้ องกันอุบตั เิ หตุต่อไป
194

ชื่อบริษทั /หน่วยงาน .............................................................................


ผูท้ าการวิเคราะห์ 1. ....................................................................................................... ตาแหน่ง ...................................................... สังกัด ..............................................
2.. ........................................................................................................ ตาแหน่ง .......... ............................................ สังกัด .............................................
3. ........................................................................................................ ตาแหน่ง .......... ............................................ สังกัด .............................................
วัน เดือน ปี ทท่ี าการวิเคราะห์ ..........................................................................................

ลาดับ ชือ่ - หน่วยงาน วันทีเ่ กิด เวลาที่ สถานที่ อายุ อายุงาน งานทีท่ า ลักษณะ ส่วน แหล่งที่ ชนิดของ สภาพที่ สิง่ ทีท่ า ส่วนของ การ ปั จจัย ปั จจัย
ที่ สกุล ทีส่ งั กัด อุบตั เิ หตุ เกิด เกิด (ปี ) ใน ขณะเกิด ของการ ของ ทาให้ อุบตั เิ หตุ เป็ น ให้เกิด สิง่ กระทาที่ จาก จาก
(แผนก/ อุบตั เิ หตุ อุบตั เิ หตุ หน่วยงาน อุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ ร่างกาย เกิดการ อันตราย อุบตั เิ หตุ ทีท่ าให้ ไม่ คน งาน
ฝ่ าย) ปั จจุบนั ที่ บาดเจ็บ เกิด ปลอดภัย
บาดเจ็บ อุบตั เิ หตุ หรือต่า
กว่า
มาตรฐาน

แนวทางแก้ไข/มาตรการควบคุมป้ องกัน
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................................

ภาพที่ 3.11 ตัวอย่างแบบบันทึกข้อมูลการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ


ทีม่ า: อภิรดี ศรีโอภาส , 2560, หน้า 2-48
195

ชื่อบริษทั /หน่วยงาน .............................................................................


ผูท้ าการวิเคราะห์ 1. ....................................................................................................... ตาแหน่ง ...................................................... สังกัด ................................................
2. ........................................................................................................ ตาแหน่ง ......... ............................................. สังกัด ................................................
3. ........................................................................................................ ตาแหน่ง ......... ............................................. สังกัด ................................................
วัน เดือน ปี ทท่ี าการวิเคราะห์ ..........................................................................................

ลาดับ ชือ่ - หน่วยงาน วันทีเ่ กิด เวลาที่ สถานที่ อายุ อายุงาน งานทีท่ า ลักษณะ ส่วน แหล่งที่ ชนิด สภาพที่ สิง่ ทีท่ า ส่วนของ การ ปั จจัย ปั จจัย
ที่ สกุล ทีส่ งั กัด อุบตั เิ หตุ เกิด เกิด (ปี ) ใน ขณะ ของการ ของ ทาให้ ของ เป็ น ให้เกิด สิง่ กระทาที่ จาก จาก
(แผนก/ อุบตั เิ หตุ อุบตั เิ หตุ หน่วยงาน เกิด บาดเจ็บ ร่างกาย เกิดการ อุบตั เิ หตุ อันตราย อุบตั เิ หตุ ทีท่ าให้ ไม่ คน งาน
ฝ่ าย) ปั จจุบนั อุบตั เิ หตุ ที่ บาดเจ็บ เกิด ปลอดภัย
บาดเจ็บ อุบตั เิ หตุ หรือต่า
กว่า
มาตรฐาน
1. นาย แผนก 14 16.30 แผนก 22 2 ขันสกรู อวัยวะ นิ้ว เครือ่ ง การถูก เครือ่ ง เครือ่ ง ขณะตอก
สาขา ขันสกรู มีนาคม น. ขันสกรู สัปดาห์ ชิน้ งาน กระดูก กลาง ขันสกรู หนีบ ขันสกรู ตอกสกรู สกรูแล้ว
วิชา 2560 ลงแผ่น แตก ข้างขวา ง่วงนอน
บอร์ด

แนวทางแก้ไข/มาตรการควบคุมป้ องกัน
.................................................................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................................................................

ภาพที่ 3.12 แบบบันทึกข้อมูลการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ


ทีม่ า: อภิรดี ศรีโอภาส, 2560, หน้า 2-51.
196

การประเมิ นค่าทางสถิ ติของอุบตั ิ เหตุ


การประเมินค่าทางสถิตขิ องการเกิดอุบตั เิ หตุเป็ นการประเมินการบาดเจ็บ หรือการประสบ
อันตรายในการทางานของผู้ปฏิบตั งิ านในขณะช่วงเวลาที่มกี ารเกิดเหตุ โดยใช้วธิ กี ารคานวณ
ทางสถิติ เพื่อให้หน่ วยงานสามารถนาข้อมูลตัวเลขทีม่ กี ารวิเคราะห์ รายงานมาเปรียบเทียบใน
ระหว่างหน่ วยงานแต่ละหน่ วยงานในสถานประกอบการเพื่อนาไปสู่การหาแนวทางหรือมาตรการ
ในการปรับปรุง แก้ไข
ความสาคัญและวัตถุประสงค์ของการประเมิ นค่าทางสถิ ติของอุบตั ิ เหตุ
เมือ่ ได้มกี ารประเมินค่าสถิตอิ ุบตั เิ หตุกจ็ ะทาให้ทราบถึงความร้ายแรงมากน้อยตามกรณี
หรือเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ โดยผลของการประเมินค่าสถิตอิ ุบตั เิ หตุจะเป็ นข้อมูลหนึ่งทีจ่ ะช่วยสะท้อน
ให้ผู้บริหารหรือ ผู้ท่เี กี่ยวข้องได้ทราบสภาพของความปลอดภัยของหน่ วยงานต่างๆ ในขณะ
เดียวกันหากหน่วยงานใดมีขอ้ มูลของการประเมินค่าสถิตมิ แี นวโน้มสูงขึน้ จะทาให้ผู้ บริหารหรือ
ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องได้ตระหนักถึงในเรื่องความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ เป็ นข้อมูลพืน้ ฐานใน
การดาเนินการพัฒนา หรือปรับปรุงระบบการบริหารจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยใน
การปฏิบตั งิ านของสถานประกอบการ และเป็ นตัวชีว้ ดั ผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัยในการทางานโดยภาพรวม
วัตถุประสงค์ของการประเมิ นค่าทางสถิ ติของอุบตั ิ เหตุ
1. เพื่อสรุปผลข้อมูลการเกิดอุบตั เิ หตุจากการปฏิบตั งิ านในแต่ละช่วงเวลา ตลอดจนการ
นาไปใช้ประเมินแนวโน้มของการเกิดอุบตั เิ หตุ การบาดเจ็บ และอันตรายทีเ่ กิดขึน้ จากการปฏิบตั งิ าน
2. เพื่อทราบจานวนการเกิดอุบตั เิ หตุและความสูญเสียที่เกิดอุบตั เิ หตุในแต่ละปี ของ
สถานประกอบการ
3. เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลค่าสถิติอุบตั เิ หตุระหว่างหน่ วยงานภายในสถานประกอบการ
เดียวกันและ/หรือเปรียบเทียบข้อมูลค่าสถิติอุบตั เิ หตุกบั สถานประกอบกิจการประเภทเดียวกัน
จากภายนอกเพื่อนามาประเมินผลการดาเนินงานด้านอาชีว อนามัยและความปลอดภัยของ
หน่วยงาน
4. เพื่อประเมินการดาเนิน งานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของหน่ วยงานถึง
ความเหมาะสมของนโยบาย แผนงาน และกิจกรรมการดาเนินงานทัง้ ในด้านการกาหนดวิธกี าร
ปฏิบตั แิ ละสภาพแวดล้อมในการปฏิบตั งิ าน การส่งเสริมความปลอดภัยในการทางาน เพราะจาก
ค่าสถิตอิ ุบตั เิ หตุจะเป็ นข้อมูลสรุปผลการดาเนินงานต่างๆ ถึงผลสัมฤทธิ ์ของงานได้
5. เพื่อใช้เป็ นข้อมูลพืน้ ฐานในการวางแผนงาน โครงการด้า นความปลอดภัยและอาชีว -
อนามัยในหน่ วยงาน โดยเฉพาะในกรณีอตั ราการเกิดอุบตั เิ หตุมคี ่าสูงหรือมีแนวโน้มสูงขึน้ เพื่อ
มาตรการในการควบคุมป้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุจากการปฏิบตั งิ าน
197

6. เพื่อกระตุน้ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้เห็นความสาคัญและปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบข้อบังคับใน


การทางานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานและให้ความร่วมมือในการควบคุมป้ องกันอุบตั เิ หตุ
จากการทางาน เพราะหากค่าสถิตสิ ูงหรือมีแนวโน้มสูง ย่อมแสดงให้เห็นว่าหากไม่ปฏิบตั ติ าม
กฎความปลอดภัยในการทางาน ผู้ปฏิบตั ิงานย่อมได้รบั ความเสี่ยงในการเกิดอุบตั ิเหตุสูงขึ้น
นาไปสู่ค่าทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ได้
การคานวณค่าสถิ ติอบุ ตั ิ เหตุ
การคานวณอัตราการเกิดอุบตั เิ หตุเพื่อให้การเปรียบเทียบสถิตขิ องอุบตั เิ หตุในโรงงาน
ประเภทต่างๆ หรือหน่วยงานต่างๆ ในโรงงานเดียวกันเป็ นไปได้อ ย่างถูกต้อง จึงต้องกาหนดให้
มีมาตรฐานอย่างเดียวกัน โดยทัวไปมั ่ กจะคิดเป็ นจานวนครัง้ หรือความร้ายแรงของอุบตั เิ หตุภายใน
1,000,000 ชัวโมงคนงาน
่ (Man-hours) อัตราที่นิยมใช้ในการคานวณเกี่ยวกับสถิตอิ ุบตั เิ หตุ ได้แก่
อัตราความถี่ของอุบตั เิ หตุ (Frequency Rate) อัตราความร้ายแรงของอุบตั เิ หตุ (Severity Rate) และ
วันสูญเสียโดยเฉลีย่ ต่ออุบตั เิ หตุ (Average Day Charged Per Accident : ADC)
1. อัตราความถี่ของการประสบอันตรายบาดเจ็บต้องหยุดงาน (Injury Frequency
Rate : IFR) ซึง่ จะบ่งบอกถึงแนวโน้มของอุบตั เิ หตุและบอกถึงจานวนครัง้ ของอุบตั เิ หตุทาให้
บาดเจ็บต้องหยุดงานทุกๆ หนึ่งล้านชัวโมงการท ่ างาน (number of disabling injury per 1,000,000
employee-house worked) จากสูตรดังนี้
อัตราความถีข่ องการบาดเจ็บ (I.F.R.)
= จานวนคนประสบอันตรายบาดเจ็บต้องหยุดงาน x 1,000,000
จานวนชัวโมงที
่ ท่ างานของลูกจ้างทัง้ หมด

2. อัตราความร้ายแรงของการประสบอันตรายต้ องหยุดงาน (Injury Severity


Rate : SIR) จะบ่งบอกถึงวันหยุดงาน เนื่องจากการบาดเจ็บที่สูญเสียไปทัง้ หมดครบ 1 ล้าน
ชัวโมงการท
่ างาน (number of day lost per 1,000,000 employee house worked) ซึง่ คานวณ
ได้จากสูตรดังนี้
อัตราความรุนแรงของการประสบอันตราย
= จานวนวันหยุดงานเนื่องจากการบาดเจ็บทีส่ ญู เสียไปทัง้ หมด x 1,000,000
จานวนชัวโมงการท
่ างานทัง้ หมด

3. ความรุนแรงโดยเฉลี่ยของการบาดเจ็บ (Average Severity of the Injuries:


ASI) อาจคานวณได้จากสูตรทัง้ สองสูตร
ความรุนแรงโดยเฉลีย่ การบาดเจ็บ = วันทัง้ หมดทีเ่ สียไป
จานวนคนบาดเจ็บพิการทัง้ หมด
198

ตารางการคานวณอัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บตามมาตรฐานอเมริกนั (American
Standard of Industrial Injury Rate) และ I.L.O ได้กาหนดวันทางานทีส่ ูญเสียไปจากการ
ประสบอันตรายและบาดเจ็บในการทางานของอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายดังนี้คอื

ตารางที่ 3.6 แสดงจานวนวันทางานสูญเสีย


ความสามารถใน
ลักษณะของการประสบอันตราย จานวนวันทางานสูญเสีย
การทางาน
ถึงพิการหรือทุพลภาพ (วัน)
สูญเสียไป (%)
American Standard I.L.O.
เสียชีวติ 100 6,000 6,000
พิการหรือทุพลภาพตลอดชีวติ 100 6,000 6,000
แขน เหนือข้อศอกขึน้ ไป 60 4,500 4,500
แขน ระหว่างข้อมือถึงข้อศอก 57 3,600 3,600
มือ 54 3,000 3,000
นิ้ วหัวแม่มือ 14 600 600
นิ้ วอื่น ๆ หนึ่ งนิ้ ว (ขึน้ กับนิ้ ว) 11 300 (200-400) 300
นิ้วอื่น ๆ สองนิ้ว ในมือเดียวกัน 7 750 750
นิ้วอื่น ๆ สามนิ้ว ในมือเดียวกัน 11 1,200 1,200
นิ้วอื่น ๆ สีน่ ้ิว ในมือเดียวกัน 14 1,800 1,800
นิ้วหัวแม่มอื และนิ้วอื่น ๆ หนึ่งนิ้วในมือเดียวกัน 14 1,200 1,200
นิ้วหัวแม่มอื และนิ้วอื่น ๆ สองนิ้วในมือเดียวกัน 11 1,500 1,500
นิ้วหัวแม่มอื และนิ้วอื่น ๆ สามนิ้วในมือเดียวกัน 7 2,000 2,000
นิ้วหัวแม่มอื และนิ้วอื่น ๆ สีน่ ้ิวในมือเดียวกัน 14 2,400 2,400
ขา ตัง้ แต่หวั เข่าขึน้ มา 40 4,500 4,500
ขา ตัง้ แต่หวั เข่าลงไป 36 3,000 3,000
เท้า (ตรงข้อเท้า) 28 2,400 2,400
นิ้วหัวแม่เท้า หรือนิ้วอื่น ๆ สองนิ้วในเท้าเดียวกัน 4 300 600
นิ้วเท้าทัง้ สองเท้า 5 600 600
ตา สูญเสียการมองเห็นไปหนึ่งข้าง 30 1,800 1,800
ตา สูญเสียการมองเห็นไปสองข้าง 100 6,000 6,000
หู สูญเสียการรับฟั งไป หนึ่งข้าง 10 600 600
หู สูญเสียการรับฟั งไป สองข้าง 50 3,000 3,000
ทีม่ า : The American Standard Scale of Time Charges, (2017)
199

การประเมินค่าความปลอดภัยโดยวัดความถี่และความรุนแรงของอุบตั เิ หตุนนั ้ บางครัง้ ก็


ไม่สามารถที่จะสรุปได้ว่า ค่าไหนเป็ นค่าที่ดกี ว่ากัน โรงงานที่มอี ตั ราความถี่ของอุบตั เิ หตุ และ
อาจจะมีอตั ราความรุนแรงสูง และบางโรงงานที่มอี ตั ราความถี่ของอุบตั เิ หตุสูง ก็อาจจะมีค่า
ความรุนแรงของอุบตั เิ หตุต่า ดังนัน้ จึงจาเป็ นทีต่ อ้ งพิจารณา 2 ค่าประกอบกัน
ตัวอย่างการคานวณเกี่ยวกับอุบตั ิ เหตุในการทางาน
1. การคานวณอัตราความถี่และความรุนแรงของการบาดเจ็บ บริษทั แห่งหนึ่งเปิ ด
กิจการขนาดกลาง มีคนงานทัง้ หมด 200 คน มีการบันทึก สถิตเิ กี่ยวกับการเกิดอุบตั เิ หตุและ
การบาดเจ็บของคนงานช่วง 6 เดือนแรกของปี มคี นงานได้รบั บาดเจ็บจากการทางาน 15 ราย
ต้องหยุดงานรวม 200 วันทางาน และ บาดเจ็บรุนแรง (สาหัส) ทีส่ ุด คือ นิ้วมือขาด 2 นิ้ว ต้อง
หยุดงานเพื่อรักษาตัวเอง 25 วัน ถึงกลับมาท างานได้ โรงงานทางานสัปดาห์ละ 48 ชัวโมง ่
กาหนดให้ 1 ปี มี 52 สัปดาห์
1.1 อัตราความถีข่ องการบาดเจ็บ
จากสูตร I.F.R. = จานวนคนงานทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บ x 1,000,000
จานวนชัวโมงการท
่ างานของคนงานทัง้ หมด
= 15 x 1,000,000 = 60.1
200 x 48 x 26
 อัตราความถีข่ องการบาดเจ็บเท่ากับ 60.1
1.2 อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บ I.S.R.
จากสูตร I.S.R. = จานวนทีเ่ สียไป x 1,000,000
จานวนชัวโมงการท
่ างานของคนงานทัง้ หมด
= 200 x 1,000,000 = 801.3
200 x 48 x 26
อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บเท่ากับ 801.3
1.3 อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บตามอัตรามาตรฐาน ใช้คดิ ในกรณีมกี ารสูญเสีย
อวัยวะหรือการบาดเจ็บของคนงาน หรือบาดเจ็บร้ายแรงถึงพิการหรือตาย
การคานวณดังนี้
จานวนผูบ้ าดเจ็บทัง้ หมด 15 คน
จานวน 1 รายนิ้วหัวแม่มอื ขาดไป 2 นิ้ว (หยุดทางานจริง 25 วัน)
คนงานอีก 14 คนหยุดงานไป = 200-15 = 175 วัน
คนงานทีน่ ้วิ มือขาด 2 นิ้ว สูญเสียเวลาทางานตามมาตรฐาน 750 วัน
200

จากตารางคานวณ
รวมเวลาการทางานทีส่ ญ ู เสียไป = 750 + 175 = 925 วัน
อัตราความรุนแรง = จานวนวันทีเ่ สียไป x 1,000,000
ของการบาดเจ็บ จานวนชัวโมงการท ่ างานของคนงานทัง้ หมด
(อัตรามาตรฐาน) = 925 x 1,000,0000 = 3705.9
200 x 48 x 26
อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บตามอัตรามาตรฐานเท่ากับ 3705.9
1.4 อัตราความรุนแรงโดยเฉลีย่ ของการบาดเจ็บ
อัตราความรุนแรงโดยเฉลีย่ = จานวนวันทัง้ หมดทีเ่ สียไป
จานวนคนบาดเจ็บพิการ
= 200/15 = 13.3
1.5 อัตราการเกิดอุบตั เิ หตุ (IR)
IR = จานวนชัวโมงที่ ไ่ ด้รบั บาดเจ็บ x 2,000,000
ชัวโมงการท
่ างานของลูกค้าทัง้ หมด
= 15 x 200,000 = 12.01
200 x 48 x 26
 สถานประกอบการมีอตั ราการเกิดอุบตั เิ หตุเท่ากับ 12.01

สรุป
อุบตั เิ หตุเป็ นเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ โดยไม่คาดคิดหรือวางแผนมาก่อน เมื่อเกิ ดขึน้ ก็ทาให้
บาดเจ็บ ป่ วยป่ วย ทุพลภาพ หรืออาจถึงแก่ชวี ติ ได้ รวมทัง้ ก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพย์สนิ ต่างๆ
ซึง่ การเกิดอุบตั เิ หตุอาจเกิดขึน้ มาจากหลายสาเหตุ เช่น สาเหตุพน้ื ฐาน สาเหตุขณะนัน้ เป็ นต้น
อุบตั เิ หตุจงึ มีความสาคัญต่อพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ าน ต่อครอบครัว ต่อเพื่อนร่วมงาน ต่อนายจ้างและ
ต่อประเทศชาติ ซึ่งการป้ องกันสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุมแี นวคิด ทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้องกับการ
เกิดอุบตั ิเหตุ ได้แก่ ทฤษฎีโดมิโน ทฤษฎีปัจจัยมนุ ษย์ ทฤษฎีอุ บตั ิการณ์ ทฤษฎีระบาดวิทยา
ทฤษฎีระบบ เป็ นต้น ผูบ้ ริหารด้านความปลอดภัยและอาชีอนามัยจาเป็ นต้องมีหลักการนาทฤษฎี
เหล่านี้มาใช้ในการศึกษาวิเคราะห์หาแนวทางในการป้ องกัน แก้ไขปั ญหาต่างๆ เกี่ยวกับการ
ป้ องกันอันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ ในการทางาน โดยส่วนใหญ่อาศัยหลัก 3E การจัดองค์กรเพื่อความ
ปลอดภัย ได้แก่ Engineering (หลักวิศวกรรมศาสตร์) Education (การให้ความรู้ การฝึกอบรม)
Enforcement (การออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ) และเพิม่ E4 คือ Encouragement (การกระตุ้น
เตือน)
201

เมือ่ พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านประสบอันตรายหรืออุบตั เิ หตุในการทางาน หน้าทีส่ าคัญของผู้


ที่เกี่ยวข้องจะต้องดาเนินการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุทนั ที เพื่อให้ทราบสาเหตุของการเกิด
อุบตั เิ หตุ เจ็บป่ วย บาดเจ็บจากการทางาน ซึ่งผู้ทาหน้าที่สาคัญคือหัวหน้างาน และเจ้าหน้าที
ความปลอดภัยในการทางานที่ได้รบั การแต่งตัง้ โดยกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมซึ่งมี
คุณสมบัตติ ามทีก่ าหนดของกฎกระทรวง การสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุจงึ มีความสาคัญ อย่างยิง่
ทีจ่ ะเป็ นแนวทางในการหาทางป้ องกันแก้ไข ปรับปรุง และ หามาตรการแก้ไข ไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุ
ในการทางานขึน้ ซ้าอีก ดังนัน้ วัตถุประสงค์ของการสอบสวนการเกิดอุบตั เิ หตุเพื่อศึกษาและค้นหา
สาเหตุพ้นื ฐาน ใช้เป็ นข้อมูลและแนวทางในการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ รวมทัง้ เป็ นพื้นฐานในการ
พิจารณาค้นหาความจริง อันนาไปสู่การป้ องกันอุบตั เิ หตุ และเพื่อเป็ นประโยชน์ในการเก็บรวบรวม
ทางสถิตแิ ละการวิเ คราะห์อุบตั เิ หตุต่อ ไป ซึ่งลัก ษณะของอุบตั เิ หตุท่จี ะต้อ งสอบสวน ได้แก่
อุบตั เิ หตุทท่ี าให้เกิดการบาดเจ็บถึงขัน้ หยุดงาน อุบตั เิ หตุทท่ี าให้เกิดการบาดเจ็บเล็กน้อยต้องการ
เพียงปฐมพยาบาลอุบตั เิ หตุท่กี ่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และเหตุการณ์ท่เี กือบเกิด
อุบตั เิ หตุ และหลักการในการสอบสวนจะต้องดาเนินการสอบสวนทันทีเมื่อมีเหตุการณ์เกิดอุบตั เิ หตุ
ขึน้ ในสถานประกอบการ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจนมากทีส่ ุด และ
จะต้องมีการบันทึกรายงานการสอบสวนอุบตั เิ หตุจะต้องมีเทคนิคในการบันทึกรายงานอย่างละเอียด
เกีย่ วกับอุบตั เิ หตุ เพื่อเก็บรวบรวมเป็ นข้อมูลและสถิตใิ นการเกิดอุบตั เิ หตุ และหาแนวทางดาเนินการ
ในการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ ซึง่ การรายงานการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุจะพบว่าส่วนต่างๆ ของร่างกายได้
รับบาดเจ็บ ได้แก่ หลัง ขาและนิ้วมือ แขนและส่วนต่างๆ ของร่างกาย ลาตัว มือ ตา ศีรษะ และเท้า
ต้นคอ นิ้วเท้า รวมทัง้ ประเด็นการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุส่วนทีเ่ ป็ นสาเหตุพน้ื ฐาน ส่วนของร่างกายที่
ได้รบั บาดเจ็บ แหล่งทีท่ าให้เกิดการบาดเจ็บ ชนิดของอุบตั เิ หตุ สภาพทีเ่ ป็ นอันตราย สิง่ ทีท่ าให้
เกิดอุบตั เิ หตุ ส่วนของสิง่ ทีท่ าให้เกิดอุบตั เิ หตุ การกระทาที่ไม่ปลอดภัยหรือต่ ากว่ามาตรฐานปั จจัย
จากคน และปั จจัยจากงาน เพื่อนาไปสู่การประเมินค่าทางสถิตขิ องอุบตั เิ หตุ เพื่อให้ทราบถึง
ค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ จากการเกิดอุบตั เิ หตุให้มกี ารดาเนินการในการกาหนดนโยบาย วางแผนงาน
ป้ องกัน ปรับปรุง แก้ไข และหามาตรการในการลดการเกิดอุบ ัตเิ หตุในการทางานให้เกิดความ
ปลอดภัยต่อไป
202

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องสมบูรณ์ ที่สดุ


1. ให้อธิบายความหมายของคาว่า “อุบตั เิ หตุ” (Accident) “อุบตั กิ ารณ์” (Incident) และ
“เหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั เิ หตุ” (Near Miss) โดยสังเขป พร้อมยกตัวอย่าง
2. ความสาคัญของอุบตั เิ หตุเมือ่ เกิดขึน้ แล้วมีผลกระทบต่อตัวพนักงาน ต่อนายจ้าง และต่อ
ผูร้ ว่ มงานอย่างไร อธิบายให้เข้าใจ
3. ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเกิดอุบตั เิ หตุแบ่งขัน้ ตอนการเกิดอุบตั เิ หตุ
ออกเป็ นกีข่ นั ้ ตอนอย่างไรบ้าง
4. ทฤษฎีปัจจัยมนุ ษย์ (The Human Factor Theory) ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเกิดอุบตั เิ หตุมปี ั จจัยที่
ผิดพลาด มีสาเหตุการเกิดอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดจากความผิดพลาดของมนุษย์มปี ั จจัยได้แก่
5. ทฤษฎีระบาดวิทยา (Epidemiological Theory) ทีเ่ กีย่ วข้องกับเกิดอุบตั เิ หตุจากโรคมี
องค์ประกอบทีส่ าคัญอะไรบ้าง
6. ทฤษฎีระบบ (Systems Theory) ทีเ่ กีย่ วข้องกับสาเหตุทท่ี าให้เกิดอุบตั เิ หตุมอี งค์ประกอบที่
สาคัญคือ
7. สาเหตุทเ่ี กิดจากอุบตั เิ หตุโดยทัวไปในสถานประกอบการเกิ
่ ดจากสาเหตุใดบ้าง อธิบายพอ
สังเขปให้เข้าใจ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
8. ให้อธิบายถึงความหมายของคาว่า “การสอบสวนอุบตั เิ หตุ” และมีวตั ถุประสงค์อย่างไรบ้าง
9. ลักษณะของอุบตั เิ หตุทต่ี อ้ งสอบสวนแบ่งออกเป็ นกีล่ กั ษณะอะไรบ้าง อธิบายพอสังเขป
พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
10. บุคลากรทีท่ าหน้าทีส่ อบสวนอุบตั เิ หตุทม่ี หี น้าทีต่ ามข้อกาหนดของกระทรวง ได้แก่ใครบ้าง
พร้อมอธิบาย
11. แนวทางการวิเคราะห์หาสาเหตุการเกิดอุบตั เิ หตุมสี าเหตุหลัก ๆ สาคัญ คือ
203

เอกสารอ้างอิง

กาญจนา นาถะพินธุ (2553). อาชีวอนามัยและความปลอดภัย.ขอนแก่น:


โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กันยรัตน์ โหละสุต.(2555). การจัดการความปลอดภัยในอุตสาหกรรมเคมี. ขอนแก่น:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
คู่มอื การจัดการความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบการ.(ม.ป.ป.,ม.ป.น.)., ค้นเมือ่
25 ธันวาคม 2560, จาก http://www.siamsafety.com/index.php.
พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑(ฉบับแก้ไขเพิม่ เติม). สานักคุม้ ครองแรงงาน.
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน.
รายงานประจาปี 2558 กองทุนเงินทดแทน.สานักงานกองทุนทดแทน.สานักงานประกันสังคม
กระทรวงแรงงาน.
วิฑรู ย์ สิมะโชคดี และวีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. (2544). วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัย
ในโรงงาน. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย – ญีป่ ่ นุ ).
วิภารัตน์ โพธิ ์ขี.(2557). การจัดการด้านวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม.
ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วิวรรธน์กร สวัสดี. (2547). ค้นการเกิดอุบตั เิ หตุในสถานประกอบการ.,เมือ่ 25 ธันวาคม
2559, ค้นจาก www.safetylifethailand.com.
ศิขรินทร์ สุขโต.(2553). วิศวกรรมความปลอดภัย. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). ขอนแก่น:
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สถานการณ์การดาเนินงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของประเทศไทย ปี 2558.
(2558). สานักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวง
แรงงาน.,กรุงเทพฯ: บจก.พินนาเคิล แอดเวอร์ไทซิง่ .
สวินทร์ พงษ์เก่า.(ม.ป.ป.). การวิเคราะห์อุบตั เิ หตุ. สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัย
ในการทางาน(ประเทศไทย).,ค้นเมือ่ 28 ธันวาคม 2558 ,จาก
http://www.shawpat.or.th.
สถาบันมาตรฐานแห่งชาติองั กฤษ (British Standard Institution: BSI)., ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม
2559., จาก https://webstore.ansi.org/RecordDetail.aspx?sku.
สานักงานประกันสังคม.(2558). สถิตกิ ารประสบอันตราย หรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางาน
ปี 2558. สานักงานกองทุนเงินทดแทน สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน.
สานักงานประกันสังคม.(2558). รายงานประจาปี 2558 กองทุนทดแทน. สานักงานกองทุนเงิน
ทดแทน สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน.
204

สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ.(2560). สถิตกิ องทุนประกันสังคม จาแนกเป็ นรายภาค และจังหวัด


พ.ศ. 2550 – 2559., ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2560.จาก http://statbbi.nso.go.th/
staticreport/page/sector/th/06.aspx.
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์สภาอุตสาหกรรม.(2542). กระทรวงอุตสาหกรรม. ,ค้นเมือ่ 25
ธันวาคม 2560, จาก https://www.tisi.go.th/.
อภิรดี ศรีโอภาส.(2560). เอกสารการสอนชุดวิ ชาการบริ หารงานอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช(ฉบับปรับปรุง) หน่วยที่ 1-7.,กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Clarke, S. (2006).Safety climate in an automobile manufacturing plant: The effects
of work environment, job communication and safety attitudes on accidents and
unsafe behavior. Personnel Review Vol.35 No.4, pp.443-430: Emerald Group
Publishing Ltd.
DeCenzo, D. A. & Robbins, S. P. (2002). Human Resource Management. 7th
edition,New York : John wiley and Sons.
Dessler,G.(2015). Human Resource Management.14th edition,United States of
America: Person Education.
Goetsch, D. L.(2005). Occupationall Safety and Health. Fifth Editin. ,New Jersey:
Prince-Hall.
205

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 4
สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน

หัวข้อเนื้ อหา
1. แนวคิดเกีย่ วกับสุขภาพและความปลอดภัยในการทางาน
2. ความหมาย และความสาคัญของสุขภาพและความปลอดภัย
3. ระบบการคุม้ ครองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน
4. สภาพและสาเหตุของสุขภาพและความไม่ปลอดภัยในการทางาน
5. โรคทีเ่ กิดจากการทางานทีม่ ผี ลต่อสุขภาพ
6. อันตรายและการป้ องกันอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทางาน
7. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายในการทางานส่วนบุคคล
8. การเสริมสร้างสุขภาพและความปลอดภัยในการทางาน
9. สรุป
10. แบบฝึกหัด
11. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1. เพื่อให้มคี วามรูเ้ ข้าใจและสามารถอธิบายความหมาย ความสาคัญ และวัตถุประสงค์
ของสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยในการทางานได้
2. เพื่อ ให้ ม ีค วามรู้ เ ข้ า ใจและสามารถอธิ บ ายถึ ง สภาพและส าเหตุ ข องสุ ข ภาพ
และความไม่ปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ อันตรายและการป้ องกันอันตรายจากสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
3. เพื่อ ให้ ม ีค วามรู้ เ ข้ า ใจและสามารถอธิบ ายเกี่ ย วกับ อุ ป กรณ์ ป้ องกัน อัน ตราย
ในการทางานส่วนบุคคล และเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวินิจฉัย/ตรวจสอบ
4. เพื่อให้มคี วามรูเ้ ข้าใจและสามารถอธิบายโรคทีเ่ กิดจากการทางานทีม่ ผี ลต่อสุขภาพ
และการเสริม สร้า งสุ ข ภาพ รู ป แบบผู้ น า รู ป แบบทีม งานด้า นความปลอดภัย วัฒ นธรรม
บรรยากาศความปลอดภัยในการทางาน
206

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารคาสอนรายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดที ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
207

บทที่ 4
สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน

ประเทศชาติจะพัฒนาและก้าวไกลทัดเทียมกับนานาประเทศอื่นได้ก็เพราะประชากร
ของประเทศมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ คุณธรรม และสังคม ใน
ขณะเดีย วกัน ยุ ค ปั จ จุ บ ัน การพัฒ นาของโลกก้ า วกระโดดไปอย่ า งรวดเร็ว เป็ นผลมาจาก
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์ เศรษฐกิจ การค้าพาณิชย์แบบไร้พรหมแดน และสังคมที่ม ี
การเปลี่ย นแปลงที่ม ีล ัก ษณะพลวัต ท าให้อุ ต สาหกรรมการผลิต และบริก ารจ าเป็ น อาศัย
เทคโนโลยีท่ที นั สมัยเพื่อการผลิต สินค้าและบริการเป็ นจานวนมหาศาลเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของมนุษย์ ทาให้การผลิตในลักษณะอุตสาหกรรมจึงมีเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์
ในการนามาใช้ในโรงงานเป็ นอันตรายต่อผูป้ ฏิบตั งิ านหรือคนงานในโรงงานมากขึน้ รวมทัง้ การ
ใช้สารเคมีท่มี อี นั ตรายมากขึ้น ดังนัน้ หน่ วยงานที่รบั ผิดชอบเกี่ยวกับด้านสุขภาพอนามั ยและ
ความปลอดภัยในการทางานของโรงงานหรือสถานประกอบการต้องจัดทาระบบการป้ องกันทีไ่ ด้
มาตรฐานตามกฎหมายความปลอดภัยในการทางานอย่างเคร่งครัดเพื่อให้พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ าน
ได้เกิดความปลอดภัยและมีสุขภาพอนามัยที่ดใี นการทางาน ในปั จจุบนั ได้มกี ฎหมายเกี่ยวกับ
ความปลอดภัยในการทางานออกมาใช้บงั คับหลายฉบับ ซึง่ พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 ทีไ่ ด้มกี ารประกาศใช้เพื่อให้นายจ้าง
หรือ สถานประกอบการได้จดั ดาเนิ นการให้ถู กต้อ งเพื่อ ให้ลูก จ้า งหรือ พนัก งานได้ม ีสุ ข ภาพ
อนามัยทีด่ ี และมีความปลอดภัยในการทางาน
แรงงานนับ ว่ า มีค วามสาคัญ ต่ อ ก าลัง การผลิต ทุ ก ประเภทของประเทศ แรงงานที่ม ี
สุขภาพดี สมบูรณ์ไม่เป็ นโรคต่าง ๆ อันเนื่องจากการทางาน นันแสดงให้
่ เห็นว่าผูบ้ ริหารองค์การ
มีความตระหนักและใส่ใจในการดูแลชีวติ ร่างกาย และจิตใจของพนักงาน สุขภาพอนามัยทีด่ จี งึ
มาจากการไม่เจ็บป่ วยเป็ นโรค หรือทุพพลภาพด้วยสาเหตุจากการทางานให้กบั นายจ้าง ซึ่ง
นายจ้างนอกจากจะต้องปฏิบตั ติ ่อพนักงานด้วยความมีคุณธรรมจริยธรรมแล้วนัน้ ยังต้องปฏิบตั ิ
ตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานด้วย หากไม่ปฏิบตั ิ
ตามอาจทาให้พนัก งานผู้ปฏิบตั ิงานเกิ ดโรคต่าง ๆ จากการทางานได้ ดังนัน้ ในบทที่ 4 จะ
อธิบายถึงสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน โรคต่าง ๆ และอุบตั เิ หตุอนั เนื่องจาก
การทางาน ไม่ว่าเป็ นเครือ่ งจักร สารเคมี สภาพแวดล้อมอันจะก่อให้เกิดอันตรายจากการทางาน
ทัง้ โรคและอุบตั เิ หตุรวมถึงด้านจิตใจ และสังคมอันส่งผลกระทบต่อการทางาน และวิถชี วี ติ ทัง้ ใน
ปั จจุบนั และหลังจากเกษียณอายุงานไปแล้ว จะเห็นได้ว่าการมีสุขภาพและอนามัยที่ดจี ะทาให้
องค์การเกิดประสิทธิภาพในการทางาน และช่วยทาให้ผลผลิตในการทางานสูงขึน้
208

แนวคิ ดเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัยในการทางาน
การจัด การทรัพ ยากรมนุ ษ ย์ม ีบ ทบาทหน้ า ที่ใ นการด าเนิ น งาน เพื่อ ให้ บุ ค ลากร
ผู้ปฏิบตั ิงานมีสุขภาพที่แข็งแรงทัง้ ร่างกาย จิตใจ และสังคม ด้วยการดูแล ส่งเสริม สนับสนุ น
และทานุ บารุงรัก ษาบุค ลากรมีก ารทางานที่ปลอดภั ย ปราศจากภัยอันตรายใด ๆ ขณะการ
ปฏิบตั ิงาน ผู้บริห ารนอกเหนือ จากมีห น้ าที่ ใ นการบริห ารค่ าตอบแทน และสวัส ดิการต่ าง ๆ
ทีเ่ หมาะสมเป็ นธรรมแล้วก็ตาม หน้าทีส่ าคัญที่เป็ นกิจกรรมหนึ่งในการจัดการทรัพยากรมนุ ษย์
สถานที่ท างานต้ อ งมีค วามปลอดภัย ในการปฏิบ ัติห น้ า ที่ข องพนั ก งานไม่ ใ ห้เ กิด อุ บ ัติเ หตุ
และความไม่ปลอดภัยจากการเป็ นโรคร้ายแรงต่า ง ๆ จากการทางาน หรือสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
ขณะปฏิบตั งิ าน ซึง่ เกีย่ วข้องกับสุขภาพด้านร่างกาย และความปลอดภัยของบุคลากร อีกทัง้ การ
ดูแลด้านสุขภาพจิตใจของพนักงาน ไม่ให้เกิดความเครียดในการทางาน เพราะจะส่งผลต่อการ
ปฏิบตั งิ านของพนักงาน ดังนัน้ จุดมุ่งหมายในการสร้างเสริมสุขภาพ และความปลอดภัยในการ
ทางานให้กบั บุคลากร ผูบ้ ริหารจึงต้องมีการกาหนดเป็ นนโยบาย แผนงาน และกิจกรรมส่งเสริม
ให้ บุ ค ลากรมีสุ ข ภาพที่ดี ปราศจากอัน ตรายและป้ องกั น อัน ตรายจากสภาพแวดล้ อ ม
ในการทางาน และให้มคี วามปลอดภัยจากการบาดเจ็บ ทุพพลภาพ และเสียชีวติ อันเนื่องจาก
การทางาน และการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อ งกับด้านสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน
ถึงแม้ว่าเป็ นการปฏิบตั ิงานตามกฎหมายที่เกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพก็ตาม แต่หาก
เป็ นเจตนารมณ์ของนายจ้าง หรือฝ่ ายจัดการทีต่ ้องดาเนินการเพื่อให้เกิดความเป็ นธรรมในการ
ดาเนินธุรกิจ รวมถึงการมีมนุ ษยธรรม และจริยธรรมในการประกอบกิจการของนายจ้าง ทัง้ นี้
เพื่อ จะท าให้ ก ารปฏิบ ัติง านของบุ ค ลากรมีสุ ข ภาพอนามัย ที่ดี ส่ ง ผลให้ ก ารปฏิ บ ัติง านมี
ประสิทธิภาพเพื่อผลผลิต พัฒนางาน พัฒนาองค์การ และประเทศชาติต่อไป

ความหมายของสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย

สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยมีค วามเข้าใจสาหรับบุค คลทัวไปว่ ่ าเป็ นการดูแล


สภาวะร่างกายให้มคี วามสมบูรณ์แข็งแรง และมีรา่ งกายทีป่ ลอดภัยในการดาเนินชีวติ การทางาน
ของมนุ ษย์ ก่อนจะศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย จาเป็ นต้อง
ศึก ษาและเข้า ใจถึง ความหมายของค าที่เ กี่ย วข้อ งกับ สุ ข ภาพอนามัย และความปลอดภัย
เช่น ความปลอดภัยภัย อุ บตั ิเหตุ ความเสียหาย อันตราย เป็ นต้น (M.Ivancevich, 2007,
p.547-548) ได้ให้รายละเอียดไว้ดงั นี้
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง การปราศจากภัย หรือสภาวะที่ปราศภัย อันตราย
ทัง้ ปวงหรือ สภาพการณ์อนั ปราศภัยจากการประสบอันตราย บาดเจ็บ เจ็บป่ วยอันเนื่องมาจาก
209

การทางาน และโรคอันเกี่ยวจากการทางานให้กบั นายจ้าง ทัง้ นี้นายจ้างและลูกจ้ างต้องร่วมมือ


กันดาเนินการให้เกิดความปลอดภัยในสถานประกอบการ
ภัย (Hazard) หมายถึ ง สภาพการณ์ ซ่ึ ง มีแ นวโน้ ม ที่ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ
หรือ สู ญ เสีย ต่ อ ร่ า งกาย หรือ ทรัพ ย์ส ิน หรือ กระทบกระเทือ นต่ อ ขีด ความสามารถในการ
ปฏิบตั งิ านความปกติของบุคคล
ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง เหตุการณ์ / การกระทาใด ๆ ทีม่ คี วามไม่แน่ นอน ซึง่ หาก
เกิดขึ้นจะมีผลกระทบในเชิงลบ ต่อวัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายขององค์กร หรือลดโอกาสที่จะ
บรรลุความสาเร็จต่อการบรรลุเ ป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของแผนงาน ซึ่งอาจส่งผลต่อ ความ
เสียหายหรือสูญเสียชีวติ และทรัพย์สนิ หรือความเป็ นไปได้ของเหตุการณ์ท่อี าจจะเกิดขึ้น
ทีส่ ่งผลกระทบในทางลบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ ซง่ึ ความสีย่ งนี้สามารถหาวิธกี ารทีจ่ ะป้ องกัน
ได้โดยมีหลักการดังนี้
1. การหลีกเลี่ยงความเสีย่ ง หมายถึง การผลักความเสี่ยง หรือไม่เข้าใกล้สงิ่ ที่
ไม่แน่ นอน ทาให้ไม่กล้าตัดสินใจในการกระทาที่คาดว่าไม่มคี วามแน่ นอน อันนาผลมาสู่ความ
เสียหายได้
2. การโอนถ่ายความเสีย่ ง หรือการย้ายความเสีย่ ง หมายถึง การผลักภาระไป
ยังบุคคลทีอ่ ่นื เพื่อลดความเสีย่ งในการดาเนินงานต่าง ๆ เช่น การซือ้ ประกันภัย หรือประกันชีวติ
เพื่อความเสีย่ งด้านการเกิดเหตุการณ์ทไ่ี ม่คาดคิดไว้ล่วงหน้า การมีระบบตรวจสอบ เป็ นต้น
3. การยอมรับ ความเสี่ย ง หมายถึง การรับ สภาพความเสี่ย งที่จ ะเกิด ขึ้น
หรือการรับมือ ซึ่งอาศัยเครื่องมือต่าง ๆ ช่วย ได้แก่ การบริหารจัดการ การนาเครื่องมือต่าง ๆ
เข้ า มาช่ ว ย และหาแนวทางด าเนิ น การในการจัด การกั บ ความเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ขึ้น เช่ น
มีการวางแผนป้ องกัน การลงทุน งบประมาณ ระบบทีป่ รึกษา เป็ นต้น
อันตราย (Danger) หมายถึง ระดับความรุนแรงที่เป็ นผลเนื่องมาจากภัย (Hazard)
อันตรายจากภัยอาจจะมีระดับสูงหรือมาก น้ อ ย ก็ได้ ขึ้นอยู่กบั มาตรการในการป้ องกัน เช่น
การทางานบนทีส่ ูงสภาพการณ์เช่นนี้ถอื ได้ว่าเป็ นภัย (Hazard) ซึ่งอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บ
ถึงตายได้หากมีการพลัดตกลงมาในกรณีน้ีถือ ได้ว่ามีอ ันตรายอยู่ระดับหนึ่ง หากแต่ ละระดับ
อันตรายจะลดน้อยลง ถ้าผู้ปฏิบตั งิ านใช้สายนิรภัย (Harness) ขณะทางานเพราะโอกาสของ
การพลัดตกและก่อให้เกิดความบาดเจ็บลดน้อยลง
ความเสี ย หาย (Damage) หมายถึง เป็ น ความรุนแรงของการบาดเจ็บ หรือ ความ
สูญ เสียทางด้านกายภาพ หรือความเสียหายที่เ กิดขึ้นต่อ การปฏิบตั ิงาน หรือ ความเสียหาย
ทางด้านการเงินทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากการขาดการควบคุมภัย
210

อุบตั ิ เหตุ (Accident) หมายถึง เหตุการณ์ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ทเ่ี กิดขึน้ โดยมิได้วางแผนไว้


ล่วงหน้า หรือไม่มกี ารคาดการณ์ไว้ล่วงหน้ า ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะได้รบั ผลบาดเจ็บ เจ็บป่ วย
พิการ หรือตาย และทาให้ทรัพย์สนิ ได้รบั ความเสียหาย
คาว่า สุขภาพ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Health ซึง่ มีรากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน
ว่า Heolth ซึง่ มีความหมายถึง ความปลอดภัย (Safe) ไม่มโี รค (Sound) โดยรวม (Whole)
แบบองค์รวมทีเ่ น้นเรือ่ งการปรับสมดุลร่างกายให้ปราศจากโรค
ซึ่ ง จากความหมายของค าที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สุ ข ภาพอนามัย และความปลอดภั ย
สามารถอธิบายได้ว่า ความหมายของคาว่า สุขภาพ และความปลอดภัย ตามทีน่ ักวิชาการได้ให้
ไว้ซง่ึ อธิบายได้ดงั นี้
พจนานุ กรมฉบับบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. 2525 (ราชฉบับบัณฑิตยสถาน, 2525) ได้ให้
ความหมายของคาว่า “สุขภาพ” ไว้ว่า ความสุขปราศจากโรค หรือความสบาย
องค์ก ารอนามัยโลก (WHO, 1947) ได้ใ ห้ค วามหมายของค าว่ า “สุ ขภาพ” ไว้ว่ า
สภาวะที่มคี วามสมบูรณ์ ของร่างกาย จิต ใจและสามารถอยู่ใ นสังคมได้อ ย่างมีค วามสุ ข มิใ ช่
เพียงแต่ปราศจากโรคและ ความพิการเท่านัน้ หรือ สภาวะที่มคี วามสมบูรณ์และมีความเป็ น
พลวัตของร่างกายจิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณ
โอเรม (Orem, 1995, p.96-101) ได้ให้ความหมายของคาว่า สุขภาพ ไว้ว่า เป็ นภาวะที่
มีความสมบูรณ์ไม่บกพร่อง และคนที่มสี ุขภาพดี คือ คนที่มโี ครงสร้างที่สมบูรณ์ ทาหน้าที่ของ
ตนได้ทงั ้ ทางร่างกายและจิตใจ สามารถดูแลตนเองได้ในระดับทีเ่ พียงพอและต่อเนื่อง สุขภาพ
เป็ นสิง่ จาเป็ นต่อบุคคล ความผาสุกเป็ นการรับรู้ถงึ ภาวะทีเ่ ป็ นอยู่ของตนเองซึง่ แสดงออกโดย
ความพึงพอใจ ความยินดี และการมีความสุข
เพนเดอร์ (Pender, 1987, p. 2011) ได้ให้ความหมายของคาว่า สุขภาพ ไว้ว่า สุขภาพ
มีความหมาย 3 ลักษณะ คือ 1) สุขภาพ เป็ นความปกติความสมดุลและความมันคงของร่ ่ างกาย
2) สุขภาพเป็ นความสาเร็จของการพัฒนาสุขภาพ จากระดับหนึ่งไปอีกระดับหนึ่งที่สูงขึ้น
และ 3) การให้ความหมายซึ่งมองทัง้ สองแง่ข้างต้น กล่าวคือสุขภาพ เป็ นความสมดุลของ
ร่างกาย และเป็ นการพัฒนาสุขภาพจากระดับหนึ่งไปสู่อกี ระดับหนึ่ง
โทน และ เทลฟอร์ด (Tone, K. & Tilford, S.,1994, p.29) ได้ให้ความหมายของคาว่า
สุขภาพ ไว้ว่า สภาพความเป็ นไปของร่างกาย จิตใจและสังคมของบุคคล คนทีม่ สี ุขภาพดี ได้แก่
คนที่ม ีภ าพร่า งกาย จิต ใจและสัง คม ปราศจากโรคภัย ไข้เ จ็บ สุ ข ภาพแข็ง แรงและจิต ใจดี
สามารถปรับตัวได้ดใี นสังคมและสิง่ แวดล้อมที่เปลี่ยนไปดังนัน้ สุขภาพจึงมิได้หมายถึงเฉพาะ
ร่างกายแต่รวมถึงจิตใจด้วย
องค์การอนามัยโลก (2491) ได้ให้ความหมายของคาว่า สุขภาพ ไว้ว่า ภาวะแห่ง ความ
สมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ และการดารงอยูใ่ นสังคมด้วยดี ไม่ใช่เพียงแต่ความปราศจากโรคหรือ
ทุพพลภาพ
211

พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ (2545) ได้ให้ความหมายของคาว่า สุขภาพ ไว้ว่า


ภาวะทีม่ คี วามพร้อมสมบูรณ์แข็งแรง กระชับกระเฉง มีพละกาลัง คล่องแคล่ว สามารถดารงชีวติ
ด้วยการไม่เป็ นโรคหรือเจ็บป่ วย ไม่มคี วามพิการ ไม่มอี ุบตั เิ หตุอนั ตรายและอยูใ่ นสภาพแวดล้อม
ทีด่ ี
เคมม์และโคลส (Kemm and Close., 1995, p.87) ได้ให้ความหมายของคาว่า สุขภาพ
ไว้ว่า ลักษณะของสุขภาวะที่สมบูรณ์ทงั ้ ทางร่างกาย ทางจิตใจ ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ
ซึง่ จากความหมายทีก่ ล่าวมาสามารถจาแนกได้ดงั นี้
1. สุ ข ภาวะที่ส มบู ร ณ์ ท างร่ า งกาย หมายถึง ร่ า งกายที่ส มบู ร ณ์ แข็ง แรง
กระปรี้กระเปร่า คล่องแคล่ว มีกาลังไม่เป็ นโรค ไม่ พกิ าร ไม่บาดเจ็บ เจ็บป่ วย มีเศรษฐกิจดี
มีก ารบริโภคอาหารที่เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ ร่างกายและเหมาะสมกับปริมาณต้อ งการ หรือ รับได้
ไม่เกิดอันตราย รวมทัง้ มีสภาพแวดล้อมทีด่ ารงชีพอย่างเหมาะสม
2. สุขภาวะที่ส มบูรณ์ทางจิตใจ หมายถึง สภาพของจิตใจที่ส ามารถควบคุ ม
อารมณ์ได้ มีจติ ใจเบิกบานแจ่มใส มิให้เกิดความคับข้องใจหรือขัดแย้งในจิตใจ สามารถปรับตัว
เข้า กับ สัง คมและสิ่ง แวดล้ อ มได้ อ ย่ า งมีค วามสุ ข หรือ ลัก ษณะของจิต ที่ม ีค วามสุ ข รื่น เริง
ผ่อ นคลาย มีความคิดที่ดี นัน่ คือการมีทศั นคติทางบวกต่ อตนเองและผู้อ่ ืน มีภาวะของการ
ตัด สินใจที่ดี โดยอาศัย สติ สมาธิ และปั ญ ญาในการแก้ปั ญ หาต่ าง ๆ ด้ว ยความมีเ หตุ ม ีผ ล
รวมทัง้ ความมีจติ ใจที่เ อื้อเฟื้ อ เผื่อแผ่บุคคลอื่นที่ต้องการความช่วยเหลือ ลักษณะที่กล่ าวมา
จะทาให้มสี ุขภาพทีส่ มบูรณ์ทางจิตใจ
3. สุขภาพที่สมบูรณ์ทางสังคม หมายถึง สภาวะที่ดขี องปั ญญาที่มคี วามรู้ทวั ่
รู้เ ท่ า ทัน และความเข้า ใจอย่ า งแยกได้ ใ นเหตุ ผ ลแห่ ง ความดีค วามชัว่ ความมีป ระโยชน์
และความไม่ก่อให้เกิดปั ญหาต่อผู้อ่นื ซึ่งนาไปสู่ความมีจติ อันดีงาม และเอื้อเฟื้ อเผื่อ มีการอยู่
ร่วมกันได้ดี มีครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมมีความยุตธิ รรม มีความเสมอภาค มี
สันติภาพ มีความเป็ นกลุ่มทีน่ าพาไปการพัฒนาสังคมชุมชน และประเทศชาติ
4. สุขภาพทีส่ มบูรณ์ทางจิตวิญญาณ หมายถึง สุขภาวะทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ ทาความดี
หรือจิตสัมผัสกับสิง่ ที่มคี ุณค่าอันสูงสุด เช่น การเสียสละ การมีความเมตตากรุณา การเข้าถึง
พระรัตนตรัย หรือการเข้าถึงพระผู้เป็ นเจ้า ความสุขทางจิตวิญญาณเป็ นความสุขที่ไม่ระคน
อยูก่ บั การเห็นแก่ตวั แต่เป็ นสุขภาวะทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ มนุษย์หลุดพ้นจากความมีตวั ตน จึงมีอสิ รภาพ
มีความผ่อนคลายอย่างยิง่ เบาสบาย มีความปี ตยิ นิ ดีกบั สิง่ ทีด่ งี าม
จากความหมายข้างต้นที่มนี ักวิชาการและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แสดงให้เห็นคาว่า
สุ ข ภาพอนามัย เน้ น ย้า ว่ า สุ ข ภาพอนามัย เป็ น สภาวะของมนุ ษ ย์ท่ีม ีค วามสมบูรณ์ แ ข็ง แรง
ปราศจากโรคภัยต่าง ๆ ซึ่งเป็ นความสมดุลของร่างกาย จิตใจ สังคม และศีลธรรม ให้สามารถ
ดารงอยู่ได้อย่างมีความสุขและพอเพียง ดังนัน้ จึงสรุปได้ว่า สุขภาพอนามัย หมายถึง สภาวะ
212

ของร่างกายทีส่ มบูรณ์แข็งแรง มีความเข้าใจในสภาวะทีเ่ ปลีย่ นแปลงของโลก มีจติ ใจทีเ่ บิกบาน


ปราศจากความทุกข์ และมีสงั คมทีด่ ี

ความสาคัญของสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
การดาเนินธุรกิจทุกประเทศในโลกมีความเจริญก้าวหน้ าอย่างรวดเร็ วเป็ นผลมาจาก
การเปลี่ ย นแปลงของโลกาภิ ว ั ต น์ ท าให้ ม ี ก ารแข่ ง ขัน ในด้ า นอุ ต สาหกรรมการผลิ ต
บริการพาณิชยกรรม การเกษตร และเทคโนโลยีต่าง ๆ สาเหตุดงั ้ กล่ าวจาเป็ นต้องมีการนา
ความทันสมัย สะดวก สบาย รวดเร็วมาใช้ในการผลิต ได้แก่ เครื่องจักร อุปกรณ์ สารเคมีต่าง ๆ
เป็ นต้น ผลตามมาของการนาสิง่ เหล่านี้เข้ามาใช้จานวนมากก็ทาให้มผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
ทางธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมทางเคมี เช่น สารเคมีเป็ นพิษพิษไอระเหยของฝุ่ น ละอองของ
สารพิษ เป็ นต้น
การดูแลสุขภาพของผู้ปฏิบตั งิ านเป็ นหน้าทีข่ องฝ่ ายบริหารหรือนายจ้าง จะต้องเป็ นผู้ม ี
หน้าที่ในการกาหนดนโยบายเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเพื่อให้มแี ผนงาน และกิจกรรมให้การดูแล
กากับ ส่งเสริม จัดหาบริการให้มผี ู้ปฏิบตั งิ านสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยมี
สุ ขภาพอนามัยที่แข็ง แรง สมบูร ณ์ ไม่เ จ็บป่ วยด้ว ยโดยการเป็ นโรคอันเนื่อ งจากการทา งาน
และเกิดอุบตั ิเ หตุ ในการทางาน ในขณะเดียวกันเมื่อผู้ปฏิบตั ิงานมีสุขภาพอนามัยที่ดี ก็ย่อ ม
ส่งผลให้ผลผลิตในการทางานสูง รวมทัง้ พนักงานก็มขี วัญกาลังใจที่ดใี นการปฏิบตั ิงานให้กบั
องค์ก าร ซึ่ง นับ เป็ น ความส าคัญ ของสุ ข ภาพอนามัย ดัง นั น้ สรุ ป ได้ว่ า สุ ข ภาพอนามัย ของ
พนักงานมีความสาคัญดังนี้
1. เมื่อ พนัก งานมีสุ ข ภาพอนามัย ที่ดี ก็ย่อ ม ท าให้ ผ ลผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น หากสถาน
ประกอบการมีการจัดการมีสภาพแวดล้อมทีถ่ ูกสุขลักษณะ มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ให้ก ับ พนัก งานผู้ปฏิบ ัติงานอย่า งถู ก ต้อ ง และฝึ ก อบรม สอนงานให้พนักงาน ย่อ มไม่ทาให้
พนักงานเกิดอุบตั เิ หตุ และมีความเจ็บป่ วยอันเกิดจากการทางาน หรือเกิดอุบตั เิ หตุ เจ็บป่ วย
ทางกาย ทางจิต และสัง คมน้ อ ยที่สุ ด จะท าให้ผู้ป ฏิบ ัติง านมีค วามรู้ส ึก สบายใจ มีค วามสุ ข
และปลอดภัยในการทางาน ซึ่งจะส่งผลต่อการทางานด้วยความเต็มใจไม่กงั วลมีค วามมันใจ ่
และทางานได้เต็มทีส่ ่งผลให้ผลผลิตโดยรวมขององค์การเพิม่ ขึน้
2. โดยปกติแ ล้ว พนัก งานผู้ป ฏิบ ัติง านจะเป็ น ผู้ท่ีช่ ว ยให้ก ารผลิต สามารถน าไปสู่
การผลิ ต ที่ ม ี ต้ น ทุ น ในการผลิ ตลดลง หากองค์ ก ารมี ก ารจัด สภาพการท างานหรื อ
สภาพแวดล้อ มในการท างานที่ปลอดภัยด้านเครื่อ งจักร อุ ปกรณ์ ใ นการทางาน รวมทัง้ การ
ป้ องกันอันตรายต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นสิง่ แวดล้อมทางเคมี และทางกายภาพ ก็ย่อมทาให้พนักงาน
ปฏิ บ ัติ ง านได้ อ ย่ า งปลอดภัย ไม่ ม ีอุ บ ัติ เ หตุ เ กิ ด ขึ้น ในขณะปฏิ บ ัติ ง าน รวมทัง้ ไม่ ไ ด้ ร ับ
213

ความเจ็บป่ วยจากโรคที่เกิดจากการทางานทาให้อ งค์การไม่ค่ าใช้จ่ายในการรั กษาพยาบาล


และความเสียหายหรือสูญเสียจากการทางานก็ยอ่ มไม่เกิดขึน้
3. การท างานที่ม ีค วามปลอดภัย ย่อ มท าให้ผ ลผลิต สูง ขึ้น และลดต้น ทุ น ในการผลิต
อันเกิดจากค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ โอกาสทีข่ ายสินค้าและบริการก็มกี าไรสูงขึ้น ทาให้องค์การสามารถ
ทาการแข่งขันด้านราคากับธุร กิจเดียวกันหรือต่างธุรกิจได้ รวมทัง้ ความปลอดภัยยังส่งผลถึง
ชื่อเสียงขององค์การซึง่ ส่งผลต่อการดาเนินธุรกิจ
4. เมื่อพนักงานในองค์การประสบอันตรายบาดเจ็บและเจ็บป่ วยอันเกิดจากการทางาน
บางครัง้ ถึงกับทุพพลภาพ หรือเสียชีว ิต ย่อ มทาให้พนักงานขาดความเชื่อ มันในการท ่ างาน
กับองค์การ ในทางตรงกันข้ามกัน หากองค์การมีการจัดดาเนินด้านความปลอดภัยและสุขภาพ
อนามัยที่ดใี ห้กบั พนักงาน ก็ย่อมทาให้เป็ น การธารงหรือสงวนรักษาทรัพยากรมนุษย์ ที่ม ี
ความรูท้ กั ษะ ความชานาญไว้ทางานกับองค์การได้นาน ๆ
5. ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดใี นการดารงชีวติ ของมนุ ษย์เป็ นปั จจัยพื้นฐาน
ของมนุ ษย์เป็ นสาคัญ ตามหลักทฤษฎีการจูงใจของมาสโลว์ ดังนัน้ การจัดสภาพแวดล้อ มที่ม ี
ความปลอดภัยในการทางานก็เป็ นปัจจัยจูงใจให้ผปู้ ฏิบตั งิ านมีความมุ่งมันตั ่ ง้ ใจในการทางาน
เพื่อตอบสนองความต้องการขององค์การได้เป็ นอย่างดี
ดังนัน้ การที่ผู้ปฏิบตั ิงานในองค์ก ารหรือ สถานประกอบการเป็ น ผู้ม ีสุ ขภาพอนามัย
และความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านที่ดยี ่อมก่อให้เกิดความสาคัญต่อขัดความสามารถในการ
ปฏิบตั งิ านส่งผลต่อผลิตผลทีเ่ พิม่ ขึน้ ขององค์การทาให้เกิดกาไรในการดาเนินธุรกิจสร้างชื่อเสียง
ให้ก ับ ผลิต ภัณ ฑ์แ ละการบริก าร รวมทัง้ ท าให้ม ีพ นัก งานที่ม ีสุ ข ภาพอนามัย ที่ดีท่ีจ ะพัฒ นา
องค์การในอนาคตได้ท่ามกลางการแข่งขันในยุคโลกาภิวตั น์ และในขณะเดียวกันเมื่อพนักงาน
มีสุขภาพอนามัยที่ดกี ็ย่อมทาให้องค์การลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลให้กบั การเจ็บป่ วย
หรือบาดเจ็บลงได้ องค์การก็สามารถนาผลกาไรมาจัดสวัสดิการที่ดแี ละตามความต้องการของ
พนักงานได้ ทาให้เป็ นการสร้างขวัญกาลังใจและเกิดความจงรักภักดีต่อองค์การ

ระบบการคุ้มครองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน
ตัง้ แต่ตน้ ศตวรรษที่ 19 ในประเทศอังกฤษเริม่ มีกฎหมายเกี่ยวกับโรงงานเพื่อคุม้ ครองผู้
ประกอบอาชีพ นับตัง้ แต่วนั นัน้ มาจนถึงศตวรรษที่ 21 นี้ กฎหมายยังมีความสาคัญเนื่องจาก ยัง
มีก ารใช้ ส ารเคมีท่ีม ีอ ัน ตรายอยู่ ต ลอดเวลาแม้ ว่ า มีก ารปรับ เปลี่ย นให้ ป ลอดภัย มากขึ้น
กระบวนการทางานในโรงงานอุตสาหกรรมก็ยงั มีอนั ตรายทัง้ ที่เกี่ยวกับเครื่องจักร สิง่ แวดล้อม
ในการทางาน และกระบวนการทางานที่ไ ม่ป ลอดภัย การท าให้เ จ้าของสถานประกอบการ
หรือนายจ้างเห็นความสาคัญของสุขภาพอนามัยของลูกจ้างก็ยงั ต้องทาความเข้าใจกันอีกมากว่า
การลงทุ น ส่ ว นนี้ เ ป็ นสิ่ง จ าเป็ น นอกจากนี้ ก ฎหมายยัง ออกข้อ บัง คับ ให้ ผู้ ป ระกอบอาชีพ
214

หรือผู้ปฏิบตั งิ านให้ตระหนักถึงความสาคัญของการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลขณะ
ปฏิบ ัติง านอย่า งเคร่ง ครัด นอกจากนี้ ย งั ต้อ งมีค วามรู้ ความเข้า ใจเกี่ย วกับ ความปลอดภัย
และอันตรายต่าง ๆ จากการทางานไม่ว่าจะเกี่ยวกับสารเคมี กายภาพต่าง ๆ และสิง่ คุกคามที่ม ี
อยูใ่ นสภาพแวดล้อมการทางาน
พระราชบัญ ญัติค วามปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้ อ มในการท างาน
พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัยฯ พ.ศ. 2554 มีสาระสาคัญใน หมวด 1 กาหนดหน้าที่
ของนายจ้างในการจัดให้มสี ภาพการทางานและสภาพแวดล้อมในการทางานทีป่ ลอดภัยและถูก
สุขลักษณะแก่ลูกจ้าง โดยนายจ้างเป็ นผู้รบั ผิดชอบค่าใช้จ่ายในการดาเนินการดังกล่าว เพื่อให้
เกิดความปลอดภัยและส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของพนักงาน จึงต้องจัดทาระบบการคุ้มครอง
สุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ดังนี้
1. ระบบการป้ องกัน หมายถึง การป้ องกันปั จจัยต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดการเจ็บป่ วย
เป็ นโรค หรือประสบอันตราย รวมทัง้ การป้ องกันแหล่งกาเนิดมลพิษ หรือต้นกาเนิดภาวะเสีย่ ง
2. ระบบการคุ้มครอง หมายถึง การคุ้มครองสุขภาพและชีวติ ตลอดจนคุณภาพ
สิง่ แวดล้อม
3. ระบบการส่ งเสริ ม หมายถึง การส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพของภาคประชาสังคม
ในเรื่อ งการรวมตัว การเจรจาต่ อ รองในเรื่อ งที่ ม ีผ ลกระทบต่ อ สุ ข ภาพ ความปลอดภัย
และสิง่ แวดล้อม
4. ระบบการมีส่วนร่วม หมายถึง การมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกระดับ ทัง้ ในด้าน
นโยบาย กฎหมายการจัดการด้านสุ ขภาพและความปลอดภัยในการทางานและสิง่ แวดล้อ ม
ชุมชน และการตรวจสอบ ควบคุม กากับและการประเมินผล
5. ระบบการยึดประชาชนเป็ นเป้ าหมาย หมายถึง การยึดถือคุณค่าและศักดิ ์ศรีความ
เป็ นมนุ ษย์ของประชาชนเป็ นเป้ าหมายของการพัฒนาอย่างแท้จริง มิใช่มุ่งเน้นทีก่ ารเติบโตทาง
เศรษฐกิจหรือการลงทุน

ขัน้ ตอนการดาเนิ นงานด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย


งานด้านสุขศาสตร์อุต สาหกรรม เป็ นวิทยาศาสตร์ประยุกต์ท่เี ป็ นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ ใน
สาขาสุ ข ศาสตร์อุ ต สาหกรรมส าหรับ การดู แ ลสุ ข ภาพอนามัย ของผู้ป ระกอบอาชีพ ซึ่ง
ประกอบด้วยลักษณะสาคัญ 3 ประการ คือ
1. ความตระหนักถึงอันตราย (Hazard Recognition) โดยจะต้องมีความตระหนัก
อยู่เสมอว่าปั ญหาในการทางานทุกอย่าง แต่ล ะขัน้ ตอนอาจมีความเสี่ยง มีสงิ่ คุกคามทีจ่ ะทาให้
เกิดอันตรายหรือความไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัยของคนงานได้เสมอ เช่น อันตรายเกิดจาก
215

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทางเคมี ทางชีวภาพ และกลวิธกี ารทางาน อันได้แก่ ความร้อน


ความเย็น แสง เสียง รังสี เชือ้ โรค ความเครียด เป็ นต้น
2. การประเมิ นสภาพของอันตราย (Hazard Evaluation) เป็ นการประเมินถึง
อันตรายอันอาจจะเกิดจากสภาวะแวดล้อ มที่เ ป็ นอันตรายในการทางานด้ว ยการตรวจสอบ
ระดับของอันตรายโดยเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน และนาผลทีไ่ ด้ไปพิจารณากาหนดข้อปฏิบตั ิ
ต่อไป
3. การควบคุมอันตราย (Hazard Control) ด้วยวิธกี ารการศึกษาข้อมูลเพื่อ กาหนด
เป็ นมาตรการและวิธกี ารในการควบคุมอันตรายทีเ่ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมใน การทางานให้
อยูใ่ นสภาพปกติ โดยคานึงถึงความร่วมมือจากทุกฝ่ าย งบประมาณการลงทุน การใช้เทคโนโลยี
ทีเ่ หมาะสม ความเป็ นไปได้และปั ญหาอันจะเกิดตามมา
สาหรับขัน้ ตอนและกิจกรรมทีน่ ามาใช้ในการดาเนินงานด้านสุขศาสตร์ อุตสาหกรรมนัน้
แบ่งออกได้เป็ น 5 ขัน้ ตอน
1. ค้นหาปั ญหาและอันตรายในสถานที่ทางาน โดยใช้ประสบการณ์และความเคยชิน
สัญชาตญาณนของผูป้ ระกอบอาชีพ หรือผูต้ รวจสอบ เพื่อแยกแยะปั ญหาและจะช่วยให้ ตัดสินใจ
ดาเนินการได้เร็วขึน้
2. การประเมินขนาดของปั ญหาและอันตรายทีแ่ ฝงอยู่และตรวจสอบระดับของอันตราย
และความรุนแรงกับความเสีย่ งต่อการเกิดความรุนแรงเพิม่ มากขึน้ อีกหรือไม่
3. การเปรียบเทียบขนาดของอันตรายหรือ ความรุนแรงต่ าง ๆ กับมาตรฐานที่ม ี
การกาหนดใช้ตามกฎหมาย หรือวิชาการ และข้อเสนอแนะ ข้อแนะนาที่มอี ยู่เพื่อทราบระดับ
ความรุนแรง และเร่งดาเนินการในขัน้ ตอนต่อไป
4. การแนะนาสังการและควบคุ
่ ม จากขัน้ ตอนต่าง ๆ ขัน้ ต้นที่ผ่านมาเมื่อทราบระดับ
ความรุนแรงของอันตรายแล้ว จะต้องดาเนินการหาแนวทางป้ องกันและควบคุม สภาพอันตราย
ต่าง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึ้นให้อยู่ในสภาพปกติให้เร็วที่สุด โดยบุคลากรแต่ละฝ่ ายจะมีบทบาททีต่ ่างกัน
ไป เช่น เจ้าหน้าทีข่ องรัฐจะเป็ นผูส้ งการและบุ
ั่ คลากรของหน่ วยงาน สถานประกอบการจะต้อง
เป็ นผูด้ าเนินการปรับปรุงแก้ไขและควบคุมอันตรายต่าง ๆ
5. การประเมินผลโครงการเป็ นการประเมินการทางานหรือกิจกรรมถึง ความสาเร็จการ
บรรลุเป้ าหมายตามโครงการ ความคุ้ม ค่า รวมทัง้ แนวทางการปรับ ปรุง การดาเนินงานเพื่อ
รายงานผลให้ผบู้ งั คับบัญชาหรือผูบ้ ริหารได้ทราบ
ความสาเร็จในการทาให้ สถานที่ ทางานมีความปลอดภัยและพนักงานมีสุขภาพ
อนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง ซึง่ จะส่งผลต่อการประกอบธุรกิจทาให้กจิ การเจริญก้าวหน้า นาไปสู่
องค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) ประกอบด้วย
216

1. ผู้บริห ารต้อ งการกาหนดนโยบายด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย เพื่อมา


กาหนดแผนงาน ในการจัดดาเนินงานตามกิจกรรม ให้ดาเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ และให้
บุค ลากรทุกระดับเข้ามามีส่ ว นร่ว มในการจัดกิจกรรมต่ าง ๆ ด้านสุ ขภาพอนามัย และความ
ปลอดภัย
2. ให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย โดยการสะท้อนปั ญหาด้าน
สุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางานทุกขัน้ ตอน เพื่อให้ทุกคนได้มสี ่วนร่วมในการ
แก้ปัญหาร่วมทีต่ รงจุด รวมทัง้ สหภาพแรงงานต้องมีบทบาทสาคัญด้านพนักงานในการส่งเสริม
ให้พนักงานดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในขณะทางาน
3. การนาแผนงานลงสู่การปฏิบตั ติ ้องให้ผู้ท่มี คี วามเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการ
ดาเนินการ และมีการจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ได้แก่ คน เงิน เครื่องมืออุปกรณ์ และการจัดการ
และมีการตรวจสอบติดตามผลการดาเนินงานเป็ นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง
4. จัดให้มอี งค์การหน่ วยงานด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยให้เป็ นผูท้ าหน้าที่
รับผิดชอบโดยตรงในองค์การ ซึง่ จะมีผู้ทม่ี คี วามรู้ ความชานาญ ทาหน้าทีด่ าเนินการให้เป็ นไป
ตามนโยบายด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยที่กาหนดไว้ให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของ
องค์การ
5. จัดดาเนินการให้มกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ไม่
ว่าจะเป็ นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับอุบตั ิ เหตุในการทางาน การเจ็บป่ วยต่างๆของพนักงานแต่ละ
แผนกงาน เพื่อนาไปวิเคราะห์หาสาเหตุต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น แล้วนามาแก้ไข ปรับปรุง แต่ละด้าน
อย่างเป็ นระบบ
จุดมุ่งหมายของด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย นอกจากจะต้องให้ผู้ปฏิบตั งิ าน
หรือผูป้ ระกอบอาชีพมีสุขภาพอนามัยทีแ่ ข็งแรงสมบูรณ์ปลอดภัยจากการประกอบอาชีพการงาน
แล้วยังควรจะต้องจัดให้มสี วัสดิการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม โดยพนักงานหรือผู้ปฏิบตั งิ าน
ต้อ งได้รบั การส่ ง เสริมสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพ การควบคุ มป้ อ งกันโรคภัยไข้เ จ็บ
และอุ บตั ิเ หตุ แก่ ผู้ประกอบอาชีพ ซึ่งขอบเขตของการดาเนินการอาชีว อนามัยแบ่งออกเป็ น
3 ด้านหลักดังนี้
1. การป้ องกันและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ (Prevention and Control
of Occupational Disease) คือ การควบคุมป้ องกันโรค อันเนื่องมาจากการทางานที่มเี หตุ
มาจากสภาพแวดล้ อ มในการท างานที่ผ ิด ปกติ ท าให้ เ กิ ด การเจ็บ ป่ วย เป็ นโรค พิก าร
หรือเสียชีวติ โดยอาจจะเกิดขึน้ อย่างเฉียบพลัน หรือต้องอาศัยระยะเวลาในการสะสมของโรค
และสารพิษในปริมาณที่สูงจนแสดงอาการออกมา ซึ่งการดาเนินการด้านสุขภาพอนามัยนัน้
ต้องอาศัยความรูท้ างวิชาการสาขาต่าง ๆ รวมทัง้ ความร่วมมือของพนักงานทุกระดับทุกฝ่ าย
จึงจะประสบผลสาเร็จได้ซง่ึ การป้ องกันโรคและการควบคุมแบ่งออกได้เป็ น 3 แบบ คือ
217

1.1 การป้ องกันแบบปฐมภูมิ (Primary Prevention) ด้วยการสร้างเสริม


สุขภาพ การฉีดวัคซีนป้ องกันโรค การตรวจร่างกายก่อนเข้าทางาน และระหว่างการทางาน
เพื่อ เป็ นการตรวจสอบว่ า ร่ า งกายมีสุ ข ภาพที่ป ราศจากอัน ตรายหรือ โรคจากการท างาน
และเป็ นการตรวจร่างกายให้มคี วามพร้อมอยูเ่ สมอ
1.2 การป้ องกันแบบทุติยภูมิ (Secondary Prevention) โดยการตรวจ
ร่างกายคัดกรอง การตรวจสอบประสาทสัมผัสต่าง ๆ และการตรวจเพื่อเฝ้ าระวังโรคและสุขภาพ
1.3 การป้ องกันแบบตติ ยภูมิ (Tertiary Prevention) ได้แก่ การรักษา
พยาบาล เมื่อการเจ็บป่ วยที่เป็ นโรคจากการทางาน ให้มกี ารป้ องกันโรคเพื่อให้เกิดซ้าความ
พิการและเรือ้ รังจากการเกิดโรคอีก
2. การป้ องกันและควบคุมอุบตั ิ เหตุจากการประกอบอาชี พ (Prevention and
Control of Occupational Accidents)
เป็ นการป้ อ งกัน และควบคุ มอุ บตั ิเ หตุ ก ารบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพพลภาพและ
เสียชีวติ อันเนื่องมาจากการกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัยในสถานทีท่ างานทีม่ คี วามเสีย่ งของพนักงานผู้
ประกอบอาชีพทีมสี าเหตุมาจากปั จจัย ต่าง ๆ เช่น การไม่ใช้เครื่องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล
การใช้อุปกรณ์เครื่องอานวยความสะดวกที่ไม่เหมาะสม อุปกรณ์เ ครื่องจักรชารุดหรือติดตัง้ ผิด
ตามเกณฑ์มาตรฐาน เป็ นต้น
3. การป้ อ งกันและควบคุมมลพิ ษ ในสิ่ ง แวดล้ อ ม (Environment Pollution
Control)
กระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ มักก่อให้เกิดเศษซากสิง่ ของเหลือ
ใช้ กลายเป็ นขยะอุตสาหกรรม ทาให้เกิดมลพิษทางอากาศ น้ า เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
เสียงรบกวน แพร่ กระจายในสิง่ แวดล้อมทัง้ ในการทางานและในชุมชน เกิดผลกระทบที่เป็ น
อันตรายต่อ สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพและประชาชนที่อยู่อาศัยในบริเ วณโดยรอบ
ทาให้เกิดความราคาญ หรือโรคภัยไข้เจ็บ ความเจ็บป่ วย จนกระทังทุ ่ พพลภาพหรือเสียชีวติ ได้
หลักในการป้ องกันและควบคุมโรคในงานอาชีวอนามัย ได้แก่
1. การป้ องกันและควบคุมสิง่ คุกคามใหม่
2. การป้ องกันและควบคุมสิง่ คุกคามทีเ่ กิดขึน้ อยูแ่ ล้ว
3. การป้ องกันและควบคุมการได้รบั สัมผัส เช่น สิง่ แวดล้อมในการทางาน การ
ควบคุมทางชีวภาพ การค้นหาผูป้ ฏิบตั งิ านทีม่ คี วามผิดปกติการป้ องกันทางวิศวกรรม

ปัญหาสุขภาพจากการทางาน
เมื่อ มีก ารขยายตัว ทางเศรษฐกิจ ทาให้อุ ต สาหกรรมมีการเจริญ เติบโตอย่างรวดเร็ว
เฉพาะอย่างยิง่ การเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ทาให้ก ารนาเอาความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
218

และสารเคมีต่าง ๆ เข้ามาใช้ในภาคกระบวนการผลิต ทาให้ปัญหาสุขภาพ การเจ็บป่ วย และการ


บาดเจ็บจากการทางานมีแนวโน้ มที่เพิม่ ขึ้น ถึงแม้ว่ากฎหมายมีการกาหนดข้อบังคับโดยออก
พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2554 มี
เจตนารมณ์ เ พื่อ วางมาตรการควบคุ ม ก ากับ และบริห ารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีว -
อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทางานให้แก่ ลูกจ้างซึ่งเป็ นทรัพยากรบุค คลอันเป็ น ก าลัง
สาคัญของชาติให้มคี ุณภาพชีวติ ทีด่ ี มีความปลอดภัยในการทางานสอดคล้องกับสภาวการณ์
ในปั จจุบนั ทีม่ กี ารนาเทคโนโลยีเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์สารเคมีและสารเคมีอนั ตรายมาใช้
ในกระบวนการผลิตการก่อสร้างและบริการส่งผลกระทบต่อผูใ้ ช้แรงงาน ในด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และก่อให้เกิดอันตรายจากการทางาน จนถึงแก่
บาดเจ็บ ทุพพลภาพ พิการ เสียชีวติ หรือเกิดโรคอันเนื่องจากการทางาน
ปั ญหาสุขภาพที่เกี่ยวเนื่องจากการทางานเกิดจากการได้รบั อันตรายจากสิง่ แวดล้อ ม
ในการทางาน สภาพการทางาน ลักษณะของงาน รวมทัง้ การกระทาหรือ การปฏิบตั ิต ัว ของ
ผู้ป ฏิบ ัติง านเอง โรคจากการท างานจึง ส่ ง ผลต่ อ สุ ข ภาพของผู้ป ฏิบ ัติง านอัน มีส าเหตุ ท าให้
ผูป้ ฏิบตั งิ านมีสุขภาพอนามัยทีไ่ ม่ดี

ปัจจัยที่ทาให้เกิ ดโรคจากการประกอบอาชีพ
1. ปั จจัยเกี่ยวกับตัวผู้ประกอบอาชี พ ซึ่งผู้ปฏิบตั ิงานแต่ละคนย่อมมีโอกาสในการ
เกิดได้มากหรือน้อยแตกต่างกันตามคุณสมบัตทิ ่สี าคัญ ดังนี้ (B.Balkin & L.Cardy, 2001,
p.535-546.)
1.1 เพศ ในสภาวะแวดล้อมของการทางานเดียวกัน ส่วนใหญ่เพศหญิงมักมีโอกาส
เจ็บป่ วยเป็ นโรคจากการประกอบอาชีพมากกว่าเพศชาย
2.2 อายุ บุคคลทางานทีอ่ ยู่ในวัยหนุ่ มสาวจะมีความแข็งแรง และมีความต้านทาน
ต่ อ โรคภัย อัน ตราย ได้มากกว่ าบุ ค คลท างานที่เ ป็ นผู้เ ยาว์ และผู้สูงอายุ เนื่อ งจากข้อ จ ากัด
ทางด้านสรีระวิทยาของร่างกาย และวัยทีธ่ รรมชาติสร้างให้พร้อมทีจ่ ะทางาน
2.3 สภาวะสุขภาพ บุคคลทีม่ รี ่างกายไม่แข็งแรงสมบูรณ์ มีโรคประจาตัวหรือเคย
เป็ นโรคบางอย่างมาก่ อนอาจเกิดอันตรายหรือโรคจากการทางานได้ง่าย ส่วนบุคคลที่มภี าวะ
ความสมบูรณ์ของร่างกายที่ดยี ่อมปฏิบตั งิ านได้ปราศจากการเจ็บป่ วยได้มากกว่าคนที่มภี าวะ
สุขภาพทีอ่ ่อนแอ
2.4 ระยะเวลาในการทางานแต่ ละวัน หากมีการทางานที่เกินกว่ามาตรฐานสากล
กาหนด อาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายจากการทางานได้มากขึน้
2.5 ระยะเวลาทีผ่ ปู้ ระกอบอาชีพได้ปฏิบตั งิ าน ทาให้มโี อกาสของการเกิดสะสมของ
สิง่ ของทีเ่ ป็ นพิษมากยิง่ ขึน้ จะทาให้ป่วยเป็ นโรคได้ง่าย
219

2.6 ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยในการทางานและวิธกี าร


ควบคุมป้ องกันโรคในการประกอบอาชีพจะช่วยลดภาวะอันตรายและโรคได้มากขึน้
2.7 ความไวต่อการแพ้พษิ หรือการเกิดโรคของแต่ละคนซึง่ แตกต่างกัน ซึง่ เป็ น เรื่อง
ทีจ่ ะต้องให้ความสาคัญ และมีความระมัดระวัง และป้ องกันเพื่อไม่ให้เกิดความ ไม่ปลอดภัยขึน้
ได้
2.8 พฤติกรรมทางสุขภาพของบุคคลทีท่ างาน หากผูป้ ฏิบตั งิ านมีพฤติกรรมทีไ่ ม่ม ี
ความเอาใจใส่ ใ นการระเบีย บข้อ ปฏิบ ัติง านในการท างาน ละเลยในการปฏิบ ัติง านตาม
กฎระเบียบข้อบังคับย่อมทาให้เกิดความไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัย และเจ็บป่ วยได้ง่ายขึน้
เช่น ไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลขณะปฏิบตั งิ าน เป็ นต้น

2. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับต้นเหตุของโรค ได้แก่
2.1 สาเหตุจากภัยคุกคามทางกายภาพ หมายถึง สิง่ คุกคามตัวต้นเหตุทท่ี าให้เกิด
โรคหรือการเจ็บป่ วยจากความร้อน ความเย็น แสง เสียง ความสันสะเทื ่ อน รังสีฝนุ่ ความกดดัน
อากาศทีผ่ ดิ ปกติ และความไม่เหมาะสมของผูป้ ฏิบตั งิ าน รวมทัง้ ประเภทของลักษณะงานทีท่ า
2.2 สาเหตุทม่ี าจากสิง่ คุกคามทางเคมี หมายถึง สิง่ คุกคามตัวต้นเหตุ ทีท่ าให้เกิด
โรคและความเจ็บป่ วยจากการได้รบั สารพิษหรือสารเคมีต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการผลิต การ
ทางานเข้าสู่ร่างกายในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สารละลาย ของแข็ง ก๊าซ หรือ ฝุ่ นละออง และไอ
ระเหยของสารเคมี ทาให้เกิดอาการเจ็บป่ วย
2.3 สาเหตุทม่ี าจากสิง่ คุกคามทางชีวภาพ หมายถึง สิง่ คุกคามหรือตัวต้น เหตุท่ี
ทาให้เกิดโรค หรือความเจ็บป่ วยจากการทีร่ ่างกายรับเชื้อโรค จุลนิ ทรียต์ ่างๆ ในกระบวนการ
ทางาน เช่น โรคทีเ่ กิดจากการทางานกับสัตว์ โรคปอดอักเสบจากฝุ่ นฝ้ าย โรคหลอดเลือดขอด
เพราะการยืนเป็ นเวลานาน ๆ และโรคทีเ่ กิดจากการใช้งานอวัยวะ ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
ซ้าซากและนานเกินไป ได้แก่ การปวดหลัง ปวดไหล่ และปวดขา เป็ นต้น
2.4 สาเหตุทม่ี าจากสิง่ คุกคามทางจิตวิทยาสังคม หมายถึง สิง่ แวดล้อมทางการ
ทางานทีก่ ่อให้เกิดความเครียด (Occupational stress) จากภาวะของจิตใจทีถ่ ูกบีบคัน้ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางสรีระของร่างกาย จากสภาวะแวดล้อมการทางานที่ไม่เหมาะสม การทางาน
ซ้าซาก งานหนัก เกินไป สัมพันธภาพระหว่ างบุค คลต่ าง ๆ ในที่ทางานความรับผิดชอบสูง
บทบาทที่ไ ม่ช ัด เจน ความก้า วหน้ า ในต าแหน่ ง งานน้ อ ย ซึ่งนับ ว่ า สาเหตุ ท่จี ะน าไปสู่ภ าวะ
ความเครียดสะสม
3. ปัจจัยที่เกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมทัวไป
่ เป็ นภาวะทีเ่ กิดจากสภาพแวดล้อมทีร่ อบตัวเรา
ที่อาจเกิดขึ้นโดยตรง และโดยอ้อมที่รบั มาในลักษณะรู้ตวั และไม่รู้ตวั ทัง้ ภายในและภายนอก
ได้แก่
220

3.1 นายจ้างขาดความรู้ค วามเข้าใจในเรื่อ งเกี่ยวกับ สุ ขภาพอนามัยและความ


ปลอดภัยอย่างจริงจัง รวมทัง้ นายจ้างไม่ต้องการเพิม่ ค่าใช้จ่ายต่างๆ เกี่ยวกับการลงทุนด้านการ
ดูแลสุขภาพของผูป้ ฏิบตั งิ าน มุง่ หวังแต่ผลประโยชน์ของตน
3.2 หัวหน้างานและเพื่อนร่วมงาน ทีส่ นใจเอาใจใส่คานึงถึงความปลอดภัย ในการ
ทางานโดยมีการช่วยเหลือ แนะนาตักเตือน ปฏิบตั ติ นเป็ นแบบอย่างทีเ่ ห็นความสาคัญของความ
ปลอดภัยอย่างเคร่งครัดก็จะช่วยลดการเจ็บป่ วย และโรคจากการประกอบอาชีพ ลงได้มาก
3.3 เศรษฐกิจทีม่ กี ารแข่งขันกันทาให้คนงานต้องทางานล่วงเวลาเพิม่ มากขึน้ เพื่อให้
ได้เงินมาก ขึน้ ในการดูแลครอบครัว ขาดการดูแลบารุงรักษาร่างกาย พักผ่อนไม่เพียงพอ ย่อมมี
โอกาสทีจ่ ะเกิดความไม่ปลอดภัยได้สงู ยิง่ ขึน้
3.4 สิง่ แวดล้อมอื่น ๆ อาจส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบอาชีพได้ตามสภาวะการ
ทางานต่าง ๆ ได้เช่นกัน ได้แก่ การรับวัฒนธรรมทางตะวันตกเข้ามาทาให้ค่านิยมเปลี่ยนไป
หันไปนิยมการทางานทีม่ ลี กั ษณะทีม่ คี วามท้าทายสูงทาให้วถิ ชี วี ติ มุ่งการแข่งขันกันสูง ทาให้เกิด
ความไม่สมดุลกันของชีวติ

โรคที่เกิ ดจากการทางานที่มีผลต่อสุขภาพ
โรคจากการท างาน หมายถึง โรคและการบาดเจ็บจากการทางาน โดยแบ่ง สาเหตุ
หรือลักษณะการเกิดโรค เป็ น 2 ประเภท คือ (กาญจนา นาถะพินธุ, 2551, หน้า 162-170)
1. โรคหรื อ ความผิ ด ปกติ จากการท างาน (Occupational diseases) หมายถึง
โรคหรือความเจ็บป่ วยที่เกิดขึน้ กับผู้ปฏิบตั ิงานโดยมีสาเหตุจากการสัมผัสสิง่ คุกคามสุขภาพ
ในการทางานของสถานทีป่ ฏิบตั งิ าน ซึง่ อาการเจ็บป่ วยทีเ่ กิดขึน้ กับผู้ปฏิบตั งิ านในขณะทางาน
หรือ หลังจากทางานเป็ นระยะเวลานาน และโรคบางอย่างอาจจะเกิดขึ้นภายหลังที่หยุดการ
ทางานหรือ ลาออกจากงานนัน้ ๆ แล้ว ทัง้ นี้ข้นึ อยู่กับประเภทของสิง่ คุกคามสุ ขภาพอนามัย
ปริมาณสารที่ได้รบั และโอกาสหรือวิธกี ารที่ได้รบั ตัวอย่าง โรคที่สาคัญ ๆ เช่น โรคพิษตะกัว่
(ซึ่งพบมาในคนงานที่ทางานในโรงงานกลุ่ ม อิเ ล็ก ทรอนิค ส์) การทางานในสภาพที่ม ีฝุ่ นหิน
และหายใจเอาฝุ่ นหินทรายเข้าไปในปอดเกิดโรคปอดจากโรคซิลโิ คซิส (Silicosis) โรคพิษสารทา
ละลายต่าง ๆ (Organic Solvent toxicity) อาการอักเสบของกล้ามเนื้อ เอ็น หรือ ข้อ ต่ อ
อันเป็ นผลการจากทางานที่ซ้าซากด้วยท่า ทางที่ไม่ถูกต้องไม่เหมาะสมเป็ นเวลานานๆ เป็ นต้น
ซึง่ สามารถพิสจู น์ได้ในเชิงสาเหตุและผลกระทบ
2. โรคเนื่ องจากงานหรื อ การบาดเจ็บจากการทางาน (Work-related diseases
/Occupational injuries) หมายถึ ง โรคหรือ ความเจ็ บ ป่ วยที่เ กิ ด ขึ้น กั บ คนท างาน
หรือ ผู้ปฏิบตั ิงาน ซึ่งเป็ นการบาดเจ็บจากการทางานเป็ นผลเนื่อ งมาจากการได้รบั อุ บตั ิเ หตุ
ขณะทางาน โดยมีสาเหตุมาจากปั จจัยต่าง ๆ ที่มสี ่วนทาให้เกิดโรค เช่น พันธุกรรม พฤติกรรม
221

สุ ข ภาพของผู้ท่ีป ฏิบ ัติง าน ท่ า ทางการท างาน ลัก ษณะหรือ ระบบของงานที่ไ ม่ เ หมาะสม


เช่ น โรคปวดหลัง จากการท างาน โรคความดัน โลหิต สู ง สภาพแวดล้อ มที่ไ ม่ ป ลอดภัย
เช่น ความบกพร่องของเครือ่ งมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ ทใ่ี ช้ในการทางานไม่เหมาะสม การจัดเก็บ
บริเวณสถานที่ทางาน สภาพการกระทาที่ไม่เหมาะสม เช่น การขาดความรู้ และทักษะในการ
ปฏิบตั งิ าน พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เป็ นต้น
ดังนัน้ ปั ญหาสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน หรือการเกิด โรคจากการ
ทางานถ้ามีปัจจัยภายนอกมาทาให้เกิดโรค ก็ถอื ว่าเป็ นโรคจากการประกอบอาชีพ เช่น โรคพิษ
ตะกัว่ โรคซิลโิ คซิส เป็ นต้น แต่ถา้ มีสาเหตุจากปั จจัยส่วนตัวร่วมกับสภาพและสิง่ แวดล้อมในการ
ทางานทาให้อาการของโรคมากขึ้น หรือ มีค วามผิดปกติท่ชี ดั เจนยิง่ ขึ้น ก็ถือ ว่าเป็ นกลุ่ มโรค
เนื่องจากการทางาน เช่น โรคปวดหลัง ซึ่งลักษณะการทางานที่อยู่ในอริยบถหรือท่าทางที่ไม่
ถูกต้องมีแนวโน้มปวดหลังได้ หรือมีงานทีเ่ ร่งด่วนต้องมีการเคลื่อนย้ายสิง่ ของหนักๆ ก็ยงิ่ ทาให้
ปวดหลังหรือกาเริบมากขึน้ ได้
โดยประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อ ง กาหนดชนิดของโรคซึง่ เกิดขึน้
ตามลักษณะหรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทางาน ได้แก่
2.1 โรคจากสารตะกัวหรื่ อสารประกอบของตะกัว่
2.2 โรคจากแมงกานีสหรือสารประกอบของแมงกานีส
2.3 โรคจากสารหนูหรือสารประกอบของสารหนู
2.4 โรคจากเบอริลเลีย่ มหรือสารประกอบของเบอริลเลี่ยม
2.5 โรคจากปรอทหรือสารประกอบของปรอท
2.6 โรคจากโครเมีย่ มหรือสารประกอบของโครเมีย่ ม
2.7 โรคจากนิเกิล้ หรือสารประกอบของนิเกิล้
2.8 โรคจากสังกะสีหรือสารประกอบของสังกะสี
2.9 โรคจากแคดเมียมหรือสารประกอบของแคดเมีย่ ม
2.10 โรคจากฟอสฟอรัสหรือสารประกอบของฟอสฟอรัส
2.11 โรคจากคาร์บอนไดซัลไฟด์
2.12 โรคจากไฮโดรเจนซัลไฟด์
2.13 โรคจากซัลเฟอร์ไดอ๊อกไซด์หรือกรดซัลฟูรคิ
2.14 โรคจากไนโตรเจนอ๊อกไซด์หรือกรดไนตริก
2.15 โรคจากแอมโมเนีย
2.16 โรคจากคลอรีนหรือสารประกอบของคลอรีน
2.17 โรคจากคาร์บอนมอนนอกไซด์
2.18 โรคจากเบนซินหรือสารประกอบของเบนซิน
2.19 โรคจากฮาโลเจน ซึง่ เป็ นอนุพนั ธุข์ องไฮโดรเจนกลุ่มน้ามัน
222

2.20 โรคจากสารกาจัดศัตรูพชื
2.21 โรคจากสารเคมีอ่นื หรือสารประกอบของเคมีอ่นื
2.22 โรคจากเสียง
2.23 โรคจากความร้อน
2.24 โรคจากความเย็น
2.25 โรคจากความสันสะเทื
่ อน
2.26 โรคจากความกดดันอากาศ
2.27 โรคจากรังสีไม่แตกตัว
2.28 โรคจากรังสีแตกตัว
2.29 โรคจากแรงหรือแคดเมีย่ มเหล็กไฟฟ้ าอื่นๆ
2.30 โรคจากฝุ่ น
2.31 โรคติดเชือ้ จากการทางาน
2.32 โรคอื่น ๆ ซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่อ งจากการ
ทางาน
จะเห็นได้ว่า การประกอบอาชีพต่ าง ๆ ของพนักงานในสถานประกอบการเป็ นส่ ว น
สาคัญที่ทาให้เกิดโรคต่าง ๆ อันเนื่องจากการทางาน ซึ่งก่อให้เกิดโรคหลายโรค หากขาดการ
ป้ องกัน ดูแลทีด่ จี ากผูบ้ ริหารซึง่ สามารถกาหนดเป็ นนโยบายอย่างชัดเจนให้ทุกคนได้ ปฏิบตั ติ าม
รวมทัง้ มีก ฎระเบีย บข้อ บัง คับ อย่ า งเคร่ ง ครั ด ในการเอาใจใส่ ข องพนั ก งานผู้ ป ฏิบ ัติง าน
ซึง่ โรคต่าง ๆ ทีส่ ามารถเกิดจากการทางาน สามารถแสดงให้เห็นได้ดงั ภาพที่ 4.1

ภาพที่ 4.1 โรคทีเ่ กิดจากการทางานในสถานประกอบการ


ทีม่ า: https://www.google.co.th, 2559.
223

การคุ้มครอง ดูแล และควบคุมให้เกิ ดสุขภาพอนามัยที่ดีในการทางาน


ในสถานประกอบการนายจ้างจะต้องมีการวาง ควบคุม ป้ องกัน ดูแล เฝ้ าระวัง กากับ
ตรวจติดตามเกีย่ วกับสุขภาพอนามัยในการทางานอันจะก่อให้เกิดโรคภัยต่าง ๆ อันทีจ่ ะเกิดจาก
การทางานให้กบั นายจ้าง ซึ่งการมีสุขภาพอนามัยที่ดขี องพนักงานหรือลูกจ้างนัน้ ไม่เพียงแต่
นายจ้างจะปฏิบตั ิตามกฎหมายเท่านัน้ จาเป็ นต้องตระหนักถึงมนุ ษยธรรมในการทางานของ
ลูกจ้างเพื่อให้ลูกจ้างได้รบั ความปลอดภัยหรือความไม่เป็ นโรคภัยอันเกิดจากการทางานด้วย
โดยทัวไปนั
่ น้ กฎหมายว่าด้วยเรื่องสุขภาพอนามัยของลูกจ้างในสถานประกอบการก็เป็ นข้อ
ก าหนดให้น ายจ้า ง รวมทัง้ ลู ก จ้า งต้ อ งปฏิบ ัติต ามอย่ า งเคร่ ง ครัด เช่ น เดีย วกัน เพื่อ ให้เ กิด
ความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างด้านพนักงานสัมพันธ์ดว้ ย
มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการควบคุม กากับ ดูแลการดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ให้นายจ้างดาเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มกี ารประเมินอันตราย
(2) ศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทางานทีม่ ผี ลต่อลูกจ้าง
(3) จัดทาแผนการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ ม
ในการทางานและจัดทาแผนการควบคุมดูแลลูกจ้างและสถานประกอบ กิจการ
(4) ส่งผลการประเมินอันตราย การศึกษาผลกระทบ แผนการดาเนินงานและแผนการ
ควบคุมตาม (1) (2) และ (3) ให้อธิบดีหรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมาย
ดังนัน้ เพื่อให้เกิดการคุ้มครองและดูแลผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบการรัฐบาล
จึงได้เล็งเห็นความสาคัญของสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางานจึงได้ออกประกาศ
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่องหลักเกณฑ์การวินิจฉัยและการประเมินความสูญเสีย
สมรรถภาพของผู้ป่วยบาดเจ็บ หรือได้รบั อันตรายด้วยโรคจากการทางานเพื่อให้เป็ นมาตรฐาน
เดียวกัน ซึง่ มีใจความสาคัญ ดังนี้
1. การวิ นิจฉัยโรคจากการทางาน สถานประกอบการจาเป็ นต้องมีการให้ความร่วมมือ
และมีก ารด าเนิ น การวินิ จ ฉัย โรคจากการประกอบอาชีพ ของลูก จ้า งในต าแหน่ ง งานต่ า ง ๆ
ตามกฎหมายที่เ กี่ยวข้อ งกับสุ ขภาพอนามัยของผู้ปฏิบตั ิงาน เพื่อ ให้เ ป็ นไปตามหลักเกณฑ์
ดังต่อไปนี้
1.1 มีหลักฐานการแพทย์แสดงว่ามีการเจ็บป่ วย ดังนี้
1.1.1 เวชระเบียน ซึง่ เป็ นประวัตขิ องผูเ้ จ็บป่ วยทีเ่ ป็ นรายละเอียดตัง้ แต่การ
เข้ารับการรักษา และมีการได้รบั การรักษาดูแลอย่างไร
1.1.2 ผลและรายงานการชันสูตรต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวกับโรค เป็ นการวินิจฉัย
และลงความเห็นของแพทย์และทีมงานของแพทย์
224

1.1.3 ใบรับรองแพทย์ ทีแ่ พทย์ผทู้ าการรักษาเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นชอบตาม


อาการเป็ นผูร้ บั รอง
1.1.4 ความเห็นของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ การวินิจฉัยจากการรักษาของ
แพทย์ผทู้ าการรักษา
1.2 นอกจากหลักเกณฑ์ดงั กล่าวแล้วอาจใช้หลักเกณฑ์ขอ้ ใดข้อหนึ่ง ประกอบการ
วินิจฉัยโรคได้ดงั นี้
1.2.1 การวินิจฉัยด้วยการรักษาทางการแพทย์พสิ ูจน์สาเหตุของโรค เช่น
โรคพิษ สารตะกัว่ อาจจาเป็ นต้อ งท าการตรวจทดลองรัก ษาไปก่ อ น เพื่อ ให้ผู้ป่วยปลอดภัย
ปลอดภัยหากอาการดีขน้ึ แสดงว่าน่าจะเป็ นโรคพิษจากตะกัว่
1.2.2 อาการป่ วยบางระยะสัมพันธ์กบั การสัมผัสสิง่ แวดล้อมที่มปี ั จจัย
คุกคามในพืน้ ทีส่ งสัย
1.2.3 อาการป่ วยบางระยะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดขี ้นึ เมื่อเว้น จาก
สิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็ นปั จจัยคุกคาม
1.2.4 มีผปู้ ่ วยในกลุ่มผูส้ มั ผัสลักษณะเดียวกันมากกว่าหนึ่งราย
หรือมีรายงานการสอบสวนการระบาดวิทยาสนับสนุ น ซึง่ สอดคล้องกับการศึกษา/รายงานในคน
และสัตว์ก่อนหน้านี้
1.3 หลักเกณฑ์การวินิจฉัยโรคให้อ้างอิงเอกสารทางการของ WHO,ILO และ
หลักเกณฑ์สากลขององค์กรต่างประเทศทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับตามลาดับ และเอกสารจะต้องเป็ น ฉบับ
ปั จจุบนั หรือเอกสารเล่มทีจ่ ะออกใหม่
1.4 การประเมินการสูญเสียสมรรถภาพให้ใช้หลักเกณฑ์การประเมินการ สูญเสีย
สมรรถภาพ “คู่มอื กาหนดแนวทางการประเมินการสูญเสียสมรรถภาพทางกายและจิต ” ของ
คณะกรรมการทีป่ รึกษาพนักงานเงินทดแทน กรมแรงงาน พ.ศ. 2525 หรือจนกว่า จะมีฉบับใหม่
หรือเกณฑ์จากต่างประเทศ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจา-
นุเบกษา เป็ นต้นไปประกาศ ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2540
2. แพทย์และพยาบาลในสถานประกอบการ เนื่องจากปั จจุบนั ยังไม่ม ีกฎหมาย
ก าหนดคุ ณ สมบัติ และหน้ า ที่ข องแพทย์ห รือ พยาบาลที่ม าท างานในสถานประกอบการ
จะมีกเ็ ป็ นเพียงร่างหลักเกณฑ์และวิธกี ารจัดให้มแี พทย์และพยาบาลมาประจาสถานประกอบการ
ซึ่งจะประกาศใช้ในระยะเวลาอันใกล้น้ี ซึ่งมีความสาคัญดังนี้ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับพยาบาล
ประจาสถานประกอบการ
2.1 ให้นายจ้างจัดให้มพี ยาบาลประจาสถานประกอบกิจการ ดังนี้
2.1.1 กรณีมลี ูกจ้างตัง้ แต่สองร้อยคนขึน้ ไป แต่ไม่เกิน 999 คน ต้องจัดให้ม ี
พยาบาลไว้ประจาอย่างน้อยหนึ่งคนตลอดเวลาทางานปกติ ไม่น้อยกว่าวันละ 8 ชัวโมง ่ และหาก
225

มีลูกจ้างเพิม่ ขึน้ จากวรรคแรกให้มพี ยาบาลเพิม่ 1 คน ต่อการเพิม่ ขึน้ ของจานวน ลูกจ้างทุก ๆ


1,000 คน
2.1.2 กรณีมลี ูกจ้างตัง้ แต่ 1,000 คนขึน้ ไป ต้องจัดให้มพี ยาบาลไว้ประจาอย่าง
น้อยสองคน โดยเวลาทางานปกติของแต่ละคนไม่น้อยกว่าวันละ 8 ชัวโมง ่
2.2 พยาบาลประจาสถานประกอบการต้องมีคุณสมบัตอิ ย่างหนึ่งอย่างใด ต่อไปนี้
2.2.1 สาเร็จการศึกษาไม่ต่ ากว่าระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาล อาชีวอนามัย
หรือเทียบเท่า
2.2.2 เป็ นพยาบาลทีผ่ ่านการอบรมด้านอาชีวอนามัยไม่ต่ ากว่า 60 ชัวโมง่ ตาม
หลักเกณฑ์ทอ่ี ธิบดีกาหนด
2.2.3 พยาบาลทีป่ ฏิบตั งิ านในหน้าที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัยมาแล้วไม่น้อยกว่า
หนึ่งปี ก่อนวันทีป่ ระกาศนี้ใช้บงั คับ และผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ทอ่ี ธิบดี กาหนด
2.2.4 พยาบาลที่สาเร็จการศึกษาการพยาบาล หรือการพยาบาลผดุงครรภ์
หลักสูตร 2 ปี ทีป่ ฏิบตั งิ านในหน้าทีเ่ กี่ยวกับอาชีวอนามัยมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี ก่อนวันที่
ประกาศนี้ใช้บงั คับและผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ทอ่ี ธิบดีกาหนด
2.3 ให้พยาบาลประจาสถานประกอบกิจการมีหน้าทีต่ ่อไปนี้
2.3.1 กาหนดวัตถุประสงค์และโครงสร้างการดาเนินงานการพยาบาลในสถาน
ประกอบการ
2.3.2 กาหนดแผนงานพร้อมทัง้ งบประมาณต่อฝ่ ายบริหารสถานประกอบการ
2.3.3 จัดหน่ ว ยพยาบาลอาชีว อนามัยให้เ ป็ นระเบียบและสะดวกในการ
ให้บริการและปฏิบตั กิ ารของพยาบาล
2.3.4 ให้บริการพยาบาลอาชีวอนมัยที่ครอบคลุมการส่ งเสริมสุขภาพ การ
ป้ องกันโรคและป้ องกันอันตรายจากการทางาน การรักษาพยาบาลและการฟื้ นฟู สมรรถภาพ
ของผูป้ ฏิบตั งิ าน
2.3.5 เก็บข้อมูลการตรวจสุขภาพ การรักษา การฟื้ นฟู หรือข้อมูล สุขภาพ
อื่นๆ เท่าทีจ่ าเป็ นเพื่อการรักษาหรือเฝ้ าระวังสุขภาพอนามัยของลูกจ้าง
2.3.6 ปฏิบตั งิ านร่วมกับแพทย์ประจาสถานประกอบกิจการในการดูแล ด้าน
สุขภาพอนามัยของลูกจ้าง
2.3.7 ให้คาปรึกษา แนะนาอบรมเกีย่ วกับด้านสุขภาพอนามัย
2.3.8 ปฏิบตั ิห น้ าที่เ กี่ยวกับสุ ขภาพอนามัยอื่นตามที่นายจ้างมอบหมาย
หลักเกณฑ์เกีย่ วกับแพทย์ประจาสถานประกอบการ
2.4 ให้นายจ้างจัดให้มแี พทย์ประจาสถานประกอบกิจการดังนี้
2.4.1 กรณีมลี ูกจ้างตัง้ แต่ 200 คน แต่น้อยกว่า 500 คน ต้องจัดให้ม ี แพทย์
ประจาไม่น้อยกว่า 8 ชัวโมงต่่ อเดือน
226

2.4.2 กรณีมลี กู จ้างตัง้ แต่ 500 คน แต่น้อยกว่า 1,000 คน ต้องจัดให้ม ี แพทย์


ประจาไม่น้อยกว่า 4 ชัวโมงต่ ่ อสัปดาห์
2.4.3 กรณีมลี ูกจ้างตัง้ แต่ 1,000 คนขึน้ ไป ต้องจัดให้มแี พทย์ประจาไม่น้อย
กว่า 6 ชัวโมงต่
่ อสัปดาห์
2.5 แพทย์ประจาสถานประกอบกิจการต้องมีคุณสมบัตอิ ย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้
2.5.1 ปฏิบตั งิ านร่วมกับนายจ้างและบุคคลที่เกี่ยวข้องในการวางแผนบริหาร
จัดการด้านสุขภาพอนามัยของลูกจ้าง
2.5.2 ตรวจสอบหาสาเหตุการเจ็บป่ วยหรือโรคจากการทางาน และรายงาน
ผลรวมทัง้ ข้อเสนอแนะต่อนายจ้าง เพื่อการแก้ไขป้ องกันโดยไม่ชกั ช้า
2.5.3 ศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านสุขภาพเพื่อการรักษาหรือ เฝ้ าระวัง
2.5.4 ให้คาปรึกษา แนะนา อบรมลูกจ้างเกีย่ วกับด้านสุขภาพอนามัย
2.5.5 ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ กีย่ วกับสุขภาพอนามัยอื่นตามทีน่ ายจ้างมอบหมาย
3. กฎหมายเกี่ยวกับการทาหน้ าที่ ของคณะกรรมการ ซึ่งเป็ นผู้ท่ที าหน้ าที่ดูแล
ความปลอดภัยและกาหนดนโยบาย อาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อมในการทางานได้กาหนดไว้ดงั นี้
3.1 หน้ าที่ของเจ้าหน้ าที่ความปลอดภัย จากคาจากัดความของคาว่า “ความ
ปลอดภัยในการทางาน” หมายความว่า สภาพการทางานซึง่ ปราศจากอันตรายอันจะทาให้เกิด
อุบตั เิ หตุ การประสบอันตราย การบาดเจ็บ เจ็บป่ วย หรือความเดือดร้อนราคาญ เนื่องจากการ
ทางาน หรือเกี่ยวกับการทางาน ส่วน “เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน” หมายความ ว่า
ลูกจ้างผูซ้ ง่ึ นายจ้างแต่งตัง้ ให้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามประกาศนี้ มีหน้าทีด่ งั นี้
3.1.1 ดูแลให้มกี ารปฏิบตั เิ กีย่ วกับความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง
3.1.2 ให้คาปรึกษาแนะนาเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานแก่ นายจ้าง
และลูกจ้าง
3.1.3 ควบคุมและดูแลการใช้อุปกรณ์ความปลอดภัยให้ถูกวิธแี ละให้อยู่ใน
สภาพทีใ่ ช้งานได้
3.1.4 ตรวจสภาพการทางานและการปฏิบตั ิงานของลูกจ้างแล้ว รายงาน
นายจ้างให้ปรับปรุงแก้ไขเพื่อความปลอดภัยในการทางาน
3.1.5 บันทึก จัดทารายงาน และสอบสวนเกี่ยวกับอุ บตั ิเ หตุ และโรคซึ่ง
เกิดขึน้ เกีย่ วเนื่องกับการทางาน
3.1.6 ส่งเสริมสนับสนุนให้มกี จิ กรรมเกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน
4. ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิ การสังคม
เรือ่ งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้ อมในการทางานใน
โรงงานอุตสาหกรรมมีเจตนารมณ์ของกฎหมายดังนี้
227

4.1 เพื่อเป็ นการส่งเสริมให้มกี ารดาเนินงานความปลอดภัยในระบบทวิภาคี ขึน้ ใน


สถานประกอบกิจการซึง่ จะช่วยให้เกิดความร่วมมืออันดีระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
4.2 เพื่อ ให้ก ารบริห ารงานความปลอดภัย และการแก้ปัญ หาอุ บตั ิเ หตุ และโรค
เนื่องจากการทางานเป็ นทีย่ อมรับ และถือปฏิบตั ริ ว่ มกันระหว่างผูบ้ ริหาร และฝ่ ายปฏิบตั กิ าร
4.3 เพื่อสนับสนุ นการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน ประจา
สถานประกอบกจิการในการดูแลความปลอดภัยของลูกจ้า งตลอดจนป้ องกันความสูญเสียให้กบั
นายจ้าง
4.4 เพื่อให้การประกอบกิจการ และการปฏิบตั ิงานของลูกจ้างมีความปลอดภัย
ปราศจากอุบตั ิเหตุ และโรคอันเนื่องจากการทางาน โดยนายจ้างที่ประกอบกิจการที่มลี ูกจ้าง
ตัง้ แต่ 50 คนขึ้น ไป จะต้ อ งจัด ให้ม ีค ณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน และต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายนี้ และสาหรับสถานประกอบ กิจการ
ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 1- 49 คน จะต้องมีผแู้ ทนลูกจ้างอย่างน้อย 1 คน เพื่อทาหน้าทีก่ บั นายจ้างใน
การดูแลความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้างและเมื่อใดก็ตามทีน่ ายจ้างมีลูกจ้างเพิม่ ขึน้ ครบ
50 คน นายจ้างต้องจัดให้มคี ณะกรรมการฯ ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทีม่ ลี ูกจ้างครบ 50 คน โดย
มีองค์ประกอบดังนี้
4.4.1 สถานประกอบกิจการทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 50 คนขึน้ ไป แต่ไม่ถงึ 100 คน
ให้มกี รรมการไม่น้อยกว่า 5 คน โดยมาจากตัวแทนจากนายจ้าง 1 คน ผูแ้ ทนระดับ บังคับบัญชา
2 คน และผูแ้ ทนระดับปฏิบตั กิ าร 2 คน
4.4.2 สถานประกอบการทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 100 คนขึน้ ไป แต่ไม่ถงึ 500 คน ให้ม ี
กรรมการไม่น้อยกว่า 7 คน โดยมาจากตัวแทนจากนายจ้าง ผู้แทนระดับบังคับบัญชา 2 คน
ผูแ้ ทนระดับปฏิบตั กิ าร 3 คน และเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานเป็ น กรรมการและ
เลขานุการ

อันตรายและการป้ องกันอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทางาน
การประกอบอาชีพในสถานประกอบการจะต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมในการทางานที่
เป็ นปั จจัยทีอ่ าจก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุในการทางานโดยเฉพาะอย่างยิง่ สภาพแวดล้อมการทางานที่
มีเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรทีเ่ ป็ นกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมหนักและเบา ดังนัน้ การ
เกิดอันตรายในการทางานกับสภาพแวดล้อมทีม่ เี ครื่องจักรที่มกี าลังการผลิตสูงก็ยอ้ มต้องมีการ
ป้ องกันอันตรายอันทีจ่ ะเกิดขึน้ เนื่องจากอุบตั เิ หตุนนั ้ สามารถเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลาไม่ว่าเกิดจาก
ปั จจัยสาเหตุพน้ื ฐานหรือเกิดจากสภาพแวดล้อมการทางานก็ตาม จึงสามารถจาแนกถึงอันตราย
ทีจ่ ะเกิดขึน้ ได้จากการประกอบอาชีพได้ดงั นี้
228

1. อันตรายจากสิ่ งแวดล้อมในการประกอบอาชี พ (Occupational environmental


hazard)
โดยส่วนใหญ่ในการประกอบอาชีพของมนุษย์ทเ่ี ป็ นวัยทางานมีการเฉลีย่ จากองค์การ
แรงงานระหว่างประเทศว่าด้ว ยการทางานมนุ ษ ย์จะใช้เ วลาในการทางานในสถานที่ทางาน
ไม่น้อยกว่า 8 ชัวโมงต่
่ อวัน ไม่ว่าจะเป็ นงานในส่วนภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ และธุรกิจเอกชน
อุตสาหกรรมการผลิต และบริการ โดยใช้เวลาประมาณ 1 ใน 3 ของแต่ละวัน งานในทีป่ ระกอบ
อาชีพ ในแต่ ล ะประเภทจะต้ อ งสัม ผัส กับ สิ่ง แวดล้ อ มในการท างานที่แ ตกต่ า งกัน ออกไป
ตามประเภท ชนิดของงาน รวมทัง้ การบริหารจัดการภายในโรงงาน ซึง่ มีผลต่อสุขภาพอนามัย
และความปลอดภัยของผู้ปฏิบตั งิ าน อันตรายจากสิง่ แวดล้อมในการทางานสามารถแบ่งออกได้
ดังนี้

1.2 อันตรายทางด้านกายภาพ (Physical hazard)


เป็ น สภาพแวดล้ อ มที่ส าคัญ ที่อ าจเป็ นอัน ตรายต่ อ ผู้ป ระกอบอาชีพ ตลอด
ระยะเวลา ในแต่ ละวัน ในการทางานที่มกี ารใช้เครื่องจัก ร เครื่องมืออุปกรณ์ หรือสภาพการ
ทางานที่เ สีย งดังเกินไป มีค วามสันสะเทื
่ อ น มีค วามร้อ น ความเย็นสูง หรือ มีค วามกดดัน ที่
ผิดปกติ หรือแม้กระทังรั ่ งสีต่างๆ เมื่อร่างกายได้รบั และสะสมเป็ นระยะเวลาหนึ่ง จึงจะแสดง
อาการของความเจ็บป่ วย ความสูญเสีย หรือ ความพิการอย่างถาวรของอวัยวะต่าง ๆ ของ
ร่างกายได้ ซึง่ สามารถแบ่งสิง่ แวดล้อมทางกายภาพออกเป็ น
1.1.1 เสี ย งรบกวน (Noise) ที่เกิดจากการทางานในสถานประกอบการ
โรงงานอุตสาหกรรม เครือ่ งจักรทีม่ เี สียงดัง เช่น เสียงฟั นเฟื องกระทบกัน เสียงจากเครื่องบดหิน
แร่ บดโลหะ เสียงจากเครื่อ งยนต์ เครื่อ งก าเนิดไฟฟ้ า มอเตอร์ เครื่องตีเหล็ก เครื่องทุบอัด
เสีย งจากการท างานของเครื่อ งจัก รที่ม ีส ายพานหมุ น ด้ว ยความเร็ว สูง ที่ท างานตลอดเวลา
เป็ นสาเหตุท่ที าให้เกิดอันตราย เจ็บป่ วยของหูและร่างกายได้ ได้แก่ ทาให้ประสิทธิภาพการ
ทางานลดลงเนื่องจากเสีย งรบกวนทาให้เกิดอุบตั ิเหตุจากการทางานเนื่องจากสื่อความหมาย
หรือความผิดพลาดในการสังงาน ่ ทาให้ไม่มสี มาธิในการทางาน สร้างความราคาญทาให้เกิด
ความเบื่อ หน่ ายในการทางานส่ งผลต่ อ สุ ขภาพจิต สุ ขภาพกาย และผลเสียต่ อ ที่ส าคัญ ที่สุ ด
คือ ทาให้สมรรถภาพทางการได้ยนิ ลดลง หูออ้ื หูตงึ จนกระทังสู ่ ญเสียการได้ยนิ หรือหูหนวกซึง่
อันตรายกับเสียง
การกาหนดมาตรฐานความดังของเสียง ประกาศกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยเรื่องสภาวะ
แวดล้อมในการทางาน ได้มปี ระกาศกาหนดให้มรี ะดับความดังของเสียงไม่เกิน 90 เดซิเบล (เอ)
สาหรับลูกจ้างที่ ทางานไม่เกินวันละ 8 ชัวโมง ่ และระดับความดังของเสียงไม่เกิน 80 เดซิเบล
(เอ) สาหรับ ลูกจ้างที่ทางานเกินกว่าวันละ 8 ชัวโมง ่ และตามมาตรฐานสากลกาหนดให้ม ี
229

ระดับความดัง ของเสียงไม่เกิน 85 เดซิเบล (เอ) ส าหรับผู้ท่ที างานวันละ 8 ชัวโมง ่


และระดับความดังไม่เกิน 90 เดซิเบล (เอ) สาหรับผู้ทท่ี างานวันละ 4 ชัวโมง
่ ส่วน OSHA
หรือ องค์ก รความปลอดภัย และอาชีว อนามัย ของสหรัฐ อเมริก า ได้เ สนอแนะการก าหนด
ระยะเวลาในการสัมผัสเสียงของคนทางานทีม่ คี วามดังของเสียงแตกต่างกันตามตารางต่อไปนี้

ตารางที่ 4.1 การกาหนดมาตรฐานความดังของเสียง


ความดัง (เดซิเบล เอ) 90 91 92 93 94 95 96 97 98
ระยะเวลาสัมผัส (ชั ่วโมง) 8 7 6 5 4.5 4 3.5 3 2.5

ความดัง (เดซิเบล เอ) 99 100 101 102 103 104 105


ระยะเวลาสัมผัส (ชั ่วโมง) 2.25 2 1.75 1.75 1.25 1.05 1

ความดัง (เดซิเบล เอ) 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115
ระยะเวลาสัมผัส (ชั ่วโมง) 52 45 37 33 30 25 22 18 16 15
ทีม่ า : วิทยา อยูส่ ุข, 2549, หน้า 59

วิ ธีป้องกันอันตรายจากเสียง
ในสถานประกอบการที่มกี ารทางานที่ทาให้เกิดเสียงดังรบกวนนัน้ ควร จะต้องมีการ
วิเคราะห์ความเสี่ยง และหาวิธกี ารจัดการป้ องกันเพื่อมิให้เกิดเป็ นอันตรายต่อ สภาพแวดล้อม
ในการทางานของทุกคน ดังนี้
1. ตรวจวิเคราะห์หาค่าระดับความดังของเสียงภายในสถานประกอบการว่าอยู่ในเกณฑ์
ปกติหรือควรจะต้องดาเนินการควบคุมป้ องกัน
2. มีมาตรการกาหนดเพื่อควบคุมมิให้เกิดการสูญเสียการได้ยนิ ของผูป้ ฏิบตั งิ าน
3. หาวิธกี ารลดระดับเสียงดังจากแหล่งกาเนิดของเสียงและพยายาม ควบคุมเพื่อมิให้
เป็ นอันตรายกับผูป้ ฏิบตั งิ าน
4. กาหนดระยะเวลาการทางานทีต่ อ้ งสัมผัสกับเสียง
5. ควรมีการตรวจวัดระดับการได้ยนิ ของคนงานทีส่ มั ผัสกับเสียงดัง
6. ใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล
7. การตรวจเช็คเครือ่ งมืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการตรวจวัดค่าระดับความดัง ให้อยู่ในสภาพดี
พร้อมใช้งานเสมอ
8. การบันทึกรายงานหรือสถิตติ ่างๆ เพื่อเป็ นข้อมูลในการวิเคราะห์
230

วิ ธีการควบคุมเสียงรบกวน (Noise Control)


1. แยกคนงานออกจากบริเวณต้นกาเนิดเสียงให้มากทีส่ ุดหรือกาหนด ระยะเวลาไม่ให้
คนงานเข้าไปทางานในบริเวณทีม่ ตี ้นกาเนิดของเสียงรบกวนนานเกินไป
2. ติดตัง้ เครื่องจักรบนแผ่นวัสดุทแ่ี ข็งแรงและมีความยืดหยุ่นเพื่อลดแรงสัน่ สะเทือน
ของเครือ่ งจักรและทาให้ไม่เกิดเสียงดังจากแรงสันสะเทื ่ อน
3. ใช้วสั ดุทช่ี ่วยดูดซับเสียงและไม่ทาให้เกิดเสียงสะท้อน
4. ควรมีการดูแลซ่อมแซมเครื่องจักรให้มสี ภาพดีพร้อมใช้งานและไม่ ก่อให้เกิดเสียงดัง
หรือหาเครือ่ งจักรใหม่ทไ่ี ม่มเี สียงดังมากเข้ามาทดแทนเครือ่ งจักรที่ ชารุดและเสียงดัง
5. พัฒนากระบวนการผลิต หรือวิธกี ารทางานโดยไม่ก่อให้เกิดเสียงดัง
6. ลดเวลาในการทางานที่ต้องสัมผัสเสียงดังรบกวนให้กบั คนงาน เช่น ความดัง 95
เดซิเบล ต้องทางานไม่เกินวันละ 4 ชัวโมง ่ หรือถ้า 100 เดซิเบล ต้องทางานไม่เกินวันละ 2
ชัวโมง
่ และถ้าหากระดับเสียงเกินกว่า 115 เดซิเบล ไม่ควรมีใครเข้าไปทางานทัง้ สิน้
7. ใช้อุปกรณ์เครื่องป้ องกันส่วนบุคคล ซึง่ จะต้องศึกษาและใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะ
ของเสียงกับงาน
1.1.2 การสันสะเทื่ อน (Vibration) ในการทางานทีม่ กี ระบวนการใช้เครื่องจักร
อุปกรณ์ท่กี ่อให้เกิด แรงสันสะเทื ่ อน ไม่ว่าจะเป็ นงานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การก่อสร้าง
การขนส่ง เช่น เครื่องเจาะถนน เครื่องตัด เครื่องอัด เครื่องเจาะคอนกรีต รถบรรทุกขนาดใหญ่
ฯลฯ ซึง่ อาจทาให้เกิดการสันสะเทื ่ อนทีเ่ กิดขึน้ กับร่างกาย ทัง้ ร่างกายหรือเป็ นเฉพาะจุดทีส่ มั ผัส
กับเครือ่ งมือก็ได้ ขึน้ อยู่กบั ลักษณะการใช้งานเฉพาะอย่างของเครื่องมืออุปกรณ์นนั ้ ผลของการ
สันสะเทื
่ อนจะทาให้โมเลกุลภายในเซลล์ของร่างกายเกิดการเคลื่อนไหวสันรั ่ ว ทาให้ร่างกายเกิด
ความเมื่อยล้า เกิดการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อ ตาพล่ามัว ประสิทธิภาพ ของการทรงตัวของ
ร่างกายและการทางานลดลง อวัยวะภายในทาหน้ าที่ผดิ ปกติได้ เช่น เกิดอาการเจ็บปวด
บริเวณกระเพาะหรือไต ไขสันหลังอักเสบ เนื้อเยื่ออ่อนของข้อมือถูก ทาลาย กล้ามเนื้อมือ
อักเสบ ปลายประสาทบริเวณมือเสียไป เส้นเลือดตีบทาให้เลือดไป เลีย้ งอวัยวะส่วนนัน้ ไม่พอ
และอาจทาให้น้ิวมือเกิดอาการตายได้ เรียกโรคนี้ว่า เรย์โนด์ (Raynoud’s Syndrome) จะอยู่ท่ี
คลื่นความถีท่ ่ี 40 ถึง 300 เฮิรตซ์ วิธกี ารป้ องกันอันตราย จากแรงสันสะเทื ่ อน การทางานทีต่ ้อง
เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมที่มแี รงสันสะเทื ่ อนทัง้ มาก หรือน้อยก็ตาม ควรเลือกใช้เครื่องมือ
อุปกรณ์ท่มี คี วามสมบูรณ์และลดแรงสันสะเทื ่ อนใน การทางาน ใส่เครื่องมืออุปกรณ์สาหรับ
ป้ องกัน เช่น ถึงมือสาหรับลดแรงสันสะเทื ่ อน ใช้อย่างถูกวิธ ี ลดเวลาการทางานให้น้อยลง
มีการฝึกหัดอบรมการใช้เครื่องมืออุปกรณ์มา เป็ นอย่างดี และควรมีการตรวจสุขภาพร่างกาย
ก่อนการทางาน
231

1.1.3 แสงสว่าง (Lighting) แสงสว่างเป็ นองค์ประกอบทีส่ าคัญและจาเป็ นอย่างยิง่


ต่อการมองเห็นใน การทางาน และจะทาให้การทางานนัน้ มีความสะดวกปลอดภัย หรือก่อให้เกิด
อันตราย ขึน้ กับคนงานได้ ถ้าหากแสงสว่างไม่มคี วามเหมาะสมพอดีกบั สภาพความต้องการของ
การท างาน เช่ น สว่ า งจ้า เกิน ไป หรือ แสงสว่ า งน้ อ ยเกิน ไป ความเข้ม ของแสงสว่ า งนั น้ มี
หน่ วยวัดเป็ นลักซ์ (Lux) ซึง่ ใช้เครื่องวัดแสงที่เรียกว่า ลักซ์มเิ ตอร์ หรือ โฟโตเมตริก มิเตอร์
ซึง่ โดยทัวไปแล้
่ วแหล่งกาเนิดของแสงสว่างมาจาก 2 แหล่งใหญ่ คือ
(1) แสงสว่ า งที่ไ ด้จ ากธรรมชาติ คือ แสงสว่ า งจากธรรมชาติ จ าก
แสงอาทิตย์เป็ นส่วนใหญ่
(2) แสงสว่างจากการประดิษ ฐ์ข้นึ คือ แสงสว่ างที่ได้จ ากไฟฟ้ า
ซึง่ การเลือกใช้ตอ้ งเลือกใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมตามลักษณะของงาน และการติดตัง้ ต่อให้ถูกต้อง
มากทีส่ ุดจากช่างผูช้ านาญการ เนื่องจากถ้ามีการผิดพลาดในเรื่องเกี่ยวกับแสงสว่าง เกิดขึน้ แล้ว
จะมีผลโดยตรงต่อสุขภาพร่างกายและการมองเห็น ในกรณีทม่ี แี สงสว่างน้อย เกินไปก็จะทาให้
ผูท้ ท่ี างานต้องเพ่งมากขึน้ ม่านตาถูกบังคับให้เปิ ดกว้าง เกิดอาการ เมือ่ ยล้าของกล้ามเนื้อตา
ทาให้ปวดตา มึนศีรษะหรือปวดศีรษะ อาจก่อให้เกิดการทางาน ที่ผดิ พลาด เกิดเป็ นอุบตั เิ หตุ
ในการทางานได้ บางรายอาจมีผลกระทบต่อภาวะจิตใจ ขวัญ กาลังใจในการทางานลดลง
ส่วนการทางานในสถานที่ท่แี สงสว่างมากเกินไปหรือเกิน ความต้องการของผู้ใช้ จะทาให้
เมื่อยล้าของสายตา ปวดตา หรือเกิดอาการอักเสบของเยื่อบุตา กระจกตา และการอักเสบของ
เนื้อเยื่อส่วนรับภาพของตา ซึง่ อาจทาให้สายตา เสื่อมสภาพหรือตาบอดได้ หลักและวิธกี ารจัด
แสงสว่างอย่างถูกต้อง
1. ควรจัดแสงสว่างโดยทัวไปในพื
่ ้นที่การทางานอย่างทัวถึ
่ งทัง้ บริเวณ (General
Lighting) มีความเข้มของแสงสม่าเสมอกันทัง้ หมด
2. ควรจัดแสงสว่างเฉพาะทีโ่ ดยทัวไป ่ (Localized General Lighting) เป็ นการ
จัดการติดตัง้ แสงสว่าง และแสงสะท้อนเกิดขึน้
3. การให้แสงสว่างเพิม่ ขึน้ เฉพาะจุด (Local Lighting) เป็ นการเพิม่ ความสว่างของ
แสงเฉพาะบริเวณทีจ่ ดุ ใดจุดหนึ่งทีจ่ าเป็ นสาหรับงาน
4. การเสริมแสงสว่าง (Supplementary Lighting) คือการเพิม่ หรือติดตัง้ แสงสว่าง
เสริมตามความจาเป็ นของส่วนงานอย่างเหมาะสมกับบริเวณพืน้ ที่
1.1.4 ความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ (Abnormal Pressure) คือ ความกดดัน
บรรยากาศที่ผ ิดปกติใ นขณะที่อยู่สูง หรือต่ ากว่าระดับน้ า ทะเลปกติท่ี 760 มิลลิเมตรปรอท
แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ ดังนี้
(1) ความกดดันทีต่ ่ ากว่าปกติ ของผู้ทต่ี ้องขึน้ ไปในทีส่ ูงมาก เช่น พนักงาน
ทางานบนเครื่องบิน ผู้ทเ่ี ดินทางโดยทางเครื่องบิน จะทาให้ฟองก๊าซไนโตรเจนเกิด ใน กระแส
โลหิตและขยายตัวในเนื้อเยื่อของเหลวในร่างกาย ทาให้ขาดออกซิเจนเกิดอาการ เมื่อยล้า ง่วง
232

ปวดศีรษะ อาเจียน และถ้าหากฟองก๊าซนี้ไปอยูต่ รงกล้ามเนื้อและข้อต่อจะทาให้เกิดตะคริว การ


ทางานของกล้ามเนื้อทางานไม่ประสานกัน และอาจเกิดอัมพาตขึน้ ได้เนื่องจากฟองก๊าซไปอุด
ตันเส้นเลือดทีไ่ ปเลีย้ งบริเวณสมอง
(2) ความกดดัน ที่สู ง กว่ า ปกติ คือ การท างานภายใต้ ส ภาพแวดล้อ มที่
ผิดปกติ สูงกว่าความกดดันของระดับน้ าทะเล ได้แก่ คนทีต่ ้องทางานในอุโมงค์ใต้ดนิ ทางานใต้
น้ าใต้ทะเลลึก ซึง่ จะเกิดความกดทีแ่ ตกต่างกันระหว่างภายนอกกับภายใน ร่างกาย เกิดแรงบีบ
อัดมาก ทาให้ปวดหู หรือทาให้แก้วหูฉีกขาดได้ และถ้าลงไปลึกมากๆ ความกดดันยิง่ สูงมากขึน้
แรงบีบอัดก็จะสูงขึ้น ทาให้เกิดอาการปวดมากขึ้น และแรงบีบ อัดมากขึ้นทาให้โลหิตหรือ
ของเหลวถูกดันเข้าไปสู่ทางเดินหายใจและถุงลมเป็ นอันตราย ต่อชีวติ นอกจากนัน้ ยังอาจเกิด
อาการง่วง มึนงง เนื่องจากก๊าซไนโตรเจนไปละลายไขมัน และฟองโนโตรเจน ยังอาจทาให้เกิด
อาการปวดตามข้อ กล้ามเนื้อ หรือเกิดการอุดตันเส้น เลือดของไขสันหลังทาให้เกิดอัมพาตได้
การป้ องกันอันตรายจากความกดดัน บรรยากาศที่ผดิ ปกติโดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจถึง
อันตรายทีจ่ ะเกิดจากการทางานและการฝึกอบรม วิธกี ารปฏิบตั ทิ ่ี ถูกต้อง การใช้อุปกรณ์เสริม
ในการทางานอย่างปลอดภัย รวมทัง้ การเตรียมความพร้อมใน การให้ความช่วยเหลือได้อย่าง
ทันท่วงทีหากเกิดเหตุการณ์ไม่ปลอดภัยเกิดขึน้
1.1.5 ความร้ อ น (Heat)เป็ น สภาพแวดล้อ มที่เ กิด ขึ้น ได้จ ากธรรมชาติข อง
การทางาน เช่น การทางานกลางแจ้งที่มแี ดดร้อนจัด และการทางานในอุตสาหกรรมการผลิตที่
ต้ อ งใช้ ค วามร้ อ น เช่ น อุ ต สาหกรรมหลอมโลหะ อุ ต สาหกรรมเครื่อ งเคลื อ บดิ น เผา
อุตสาหกรรมแก้ว ความร้อนสูงจากสภาพแวดล้อมในการทางาน ทาให้อตั ราการเต้นของหัวใจ
เพิ่ม ขึ้น และมีก ารขับ เหงื่อ (Sweating) ของร่า งกายเพื่อ เป็ น การรัก ษาระดับ พลัง งาน
และเป็ นการถ่ายเทความร้อนของร่างกาย ซึง่ ในคนปกติขณะพักร่างกายจะขับเหงื่อ และเกลือแร่
ประมาณ 1 ลิตรต่อวัน สาหรับการทางานในสภาพแวดล้อมทีม่ คี วามร้อนสูง หรือ ทางานหนัก
ร่างกายจะขับเหงื่อและเกลือแร่ประมาณ 4 ลิตรต่อ 1 ชัวโมง ่ หากร่างกายไม่ สามารถขจัด
ความร้อนออกจากร่างกายได้ทนั จะส่งผลทาให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ เช่น เป็ นตะคริว
เนื่องจากความร้อน (Heat Cramp) เป็ นลมปั จจุบนั เป็ นลมหมดสติ (Heat Stroke)
อาการอ่อนเพลียเนื่องจากความร้อน (Heat Exhaustion) และโรคจิต ประสาทเนื่องจาก
ความร้อน (Heat Neurosis) ความร้อนส่งผลกระทบต่อ จิตใจ ทาให้เกิด ความเมื่อยล้า
แสดงความเฉยเมย ประสิทธิภาพการทางานลดลง เบื่ออาหาร
วิ ธีการควบคุมความร้อน (Heat Control) เพื่อป้ องกันอันตราย อาจจะเกิดขึน้ กับ
ผูป้ ฏิบตั งิ านสามารถปฏิบตั ไิ ด้ดงั นี้
(1) การลดอุณหภูม ิ โดยการติดตัง้ เครื่องปรับอากาศ การเพิม่ ช่ องทาง ระบายอากาศ
การแยกแหล่งความร้อนออจากบริเวณทางาน
233

(2) การใช้แผ่นป้ องกันความร้อน เพื่อช่วยลดความร้อนทีแ่ ผ่รงั สีความร้อนออกมาซึง่ มี


ทัง้ แบบทีเ่ ป็ นฉากจากวัสดุผวิ เรียบ เพื่อสะท้อนกลับของความร้อน และ แบบดูดซับความร้อนไว้
เพื่อไม่ให้แผ่กระจายไปอีกด้านหนึ่ง ได้แก่ พวกยิบซัม่ ยางมะตอย
(3) การแลกเปลีย่ นความร้อนโดยการใช้น้ าเป็ นตัวผ่านแผ่นป้ องกกันความ ร้อน ทาให้
ความร้อนลดลงโดยน้าผ่าน
(4) การใช้แผ่นฉนวนกันความร้อน เพื่อดูดซับความร้อนไว้ เช่น แผ่นยิบซัม่ แผ่นแอส
เบสตอส เป็ นต้น
(5) ใช้แผ่นกระจกสะท้อนหรือ ดูดซับความร้อนเป็ นฉากป้ องกัน
(6) การใช้อุปกรณ์เครื่องป้ องกันความร้อนส่วนบุคคล สาหรับการทางานทีม่ คี วามร้อน
สูง เช่น ชุดป้ องกันความร้อนซึง่ มีการออกแบบเป็ นพิเศษให้เหมาะสมกับการใช้งาน
(7) ลดระยะเวลาการทางานของผู้ทต่ี ้องทางานในทีท่ ม่ี คี วามร้อนสูง เพื่อ มิให้คนงาน
สัมผัสกับความร้อนเป็ นเวลานานๆ
1.1.6 ความเย็น (Cold) คือ การทางานในสถานที่ท่มี อี ุณหภูมติ ่ า มากกว่าปกติ
เช่น ในงานอุตสาหกรรมห้องเย็น หรือลักษณะงานที่ต้องใช้ความเย็นทีม่ อี ุณหภูมติ ่ า มากในการ
ผลิต จะทาให้ผทู้ ท่ี างานในสภาพแวดล้อมทีเ่ ย็นจัดนัน้ เกิดอาการชาหมดความรูส้ กึ เนื่องจากการ
ไหลเวียนของโลหิตไม่ดี หรือหยุดไหลเวียนเป็ นเวลานาน ซึง่ อาจ ทาให้เกิดอาการตายของเนื้อ
ส่วนนัน้ ได้ โรคที่เกิดจากความเย็นโดยทัวไป ่ ได้แก่ ชิลเบลนส์ (Chilblains) ฟรอสไบท์
(Frostbite) หรือ เรย์โนด์ (Raynoud’s Disease) วิธกี ารป้ องกันอันตรายจากความเย็น โดยการ
คัดเลือกผูท้ จ่ี ะมาปฏิบตั งิ านทีม่ คี วามแข็งแรง พร้อมทัง้ สร้างความรูค้ วามเข้าใจเรื่องเกี่ยวกับการ
ปฏิบตั งิ านอย่างปลอดภัย และมีเครือ่ งมืออุปกรณ์ใช้สาหรับป้ องกันตนเอง
1.1.7 รังสี (Radiation) เป็ นพลังงานที่นามาใช้ประโยชน์ในการทางานและอาชีพ
ซึ่งส่ ว นใหญ่ นามาใช้ใ นงานอุ ต สาหกรรม เกษตรกรรมและการแพทย์ ที่มที งั ้ ชนิดที่แตกตัว
และไม่แตกตัว มีดงั นี้
1.1.7.1 รังสีทแ่ี ตกตัวหรือกัมมันตภาพรังสี (Lonizing Radiation) เป็ นรังสี
ที่เ กิด จากคลื่น แม่เ หล็ก ไฟฟ้ า ได้แ ก่ รัง สี (Alpha) เบตา (Beta) รัง สีเ อ็ก ส์ (X-ray)
รังสีแกมมา (Gamma) และรังสีนิวตรอน (Neutron) ซึง่ รังสีทแ่ี ตกตัวนี้หลายชนิดมีอานาจทะลุ
ทะลวงสูงพอทีจ่ ะทาอันตรายเนื้อเยื่อ และอวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้ จึงนามาใช้ ประโยชน์ทงั ้
ทางการแพทย์และอุตสาหกรรมเป็ นส่วนใหญ่
1.1.7.2 รังสีทไ่ี ม่มกี ารแตกตัว (Non-lonizing Radiation) เป็ นรังสีแม่เหล็ก
หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ได้แก่ รังสีอุลตร้า ไวโอเลต็ (Ultraviolet) รังสีอิลฟาเรด (Infrared)
รังสีไมโครเวฟ (Microwave) คลื่นวิทยุและโทรทัศน์ รังสีเรเซอร์ (Laser radiation) รังสีทเ่ี กิด
234

จากการเชื่อมโลหะ การหลอมโลหะ รังสีเหล่านี้มอี นั ตรายต่อร่างกายมากหรือน้อยนัน้ ขึน้ อยู่กบั


ความเข้มของรังสี โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังและเนื้อเยือ่ ตา
1.1.8 เครื่อ งจักรและอุปกรณ์ เครื่องใช้ในการทางาน อาจก่อให้เกิดอันตราย
บาดเจ็บหรืออุบตั เิ หตุเกิดขึ้นได้ ถ้าหากสภาพแวดล้อมในการทางานไม่ได้รบั การดูแลเอาใจใส่
จัดหาติดตัง้ อย่างถูกวิธ ี มีการควบคุมดูแลปรับปรุงซ่อมแซมให้สามารถใช้งานได้ อย่างสม่าเสมอ
มีอุปกรณ์ป้องกันอย่างครบถ้วน และมีการตรวจสอบตลอดเวลา
1.1.9 ความสะอาดและการจัดระเบียบของสถานที่ ทางาน จาเป็ นอย่างยิง่ ที่
จะต้องมีการวางแผนการจัดขอบเขตบริเวณให้เป็ นสัดส่วนของพืน้ ทีก่ ารทางานอย่างสัดส่วนและ
มีการจัดระบบความปลอดภัยทีม่ กี ารควบคุมดูแลอย่างเหมาะสมเป็ นระเบียบและมีการจัดระบบ
การทาความสะอาดเป็ นประจาสม่าเสมอ

1.2 อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี (Chemical Environment)


ในการทางานในโรงงานอุตสาหกรรมที่มกี ารสัมผัสกับสารเคมีอนั ตราย พนักงานมี
โอกาสสัมผัสกับสิง่ ปนเปื้ อนในกระบวนการผลิต ซึง่ การสัมผัสจะมีในหลายลักษณะของการได้รบั
อันตราย เช่น เขม่า ฝุ่ น ควัน ละออง ไอระเหย ของเหลว ก๊าซ ทาให้ผู้ท่ที างานเกี่ยวข้องต้อง
สัมผัส และเข้าสู่ร่างกาย ทาให้เกิดการสะสมในร่างกายจนทาให้เกิดการเจ็บป่ วยกลายเป็ นโรค
เรือ้ รัง หรือถึงกับพิการและเสียชีวติ ได้

2. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี
การที่ พ นั ก งานหรื อ ผู้ ป ระกอบอาชี พ จะได้ ร ั บ อั น ตรายจากสารเคมี จ าก
สภาพแวดล้อมในการปฏิบตั งิ าน มากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั ปั จจัยเกีย่ วข้อง ดังนี้
2.1 คุณสมบัตขิ องสารเคมี เช่น ขนาด รูปร่างและความหนาแน่ น และคุณสมบัติ ทาง
เคมี
2.2 ปริมาณหรือน้าหนักทีไ่ ด้รบั เข้าสู่รา่ งกายและการสะสม
2.3 สภาวะของร่างกายของผูไ้ ด้รบั สารเคมีเข้าสู่ร่างกาย เช่น เด็ก ผูใ้ หญ่ เพศหญิง
เพศชาย ผูส้ งู อายุ จะมีความต้านทานทีแ่ ตกต่างกัน
2.4 สภาวะแวดล้อม เช่น อุณหภูม ิ ความชืน้ และบริเวณสถานทีอ่ บั อากาศมีผลทา
ให้ให้เป็ นอันตรายต่อสุขภาพมากขึน้ ได้
อันตรายทีเ่ กิดจากสารเคมีทเ่ี ป็ นอันตรายทีเ่ กิดจากสภาพแวดล้อมทางเคมีสามารถ
เข้าสู่ร่างกายของผูป้ ฏิบตั งิ าน โดยขณะทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านได้รบั จากการสัมผัสทีจ่ ะเข้าสู่ร่างกายของ
สารเคมีได้ 3 ทาง ดังนี้
235

1. สารเคมีทเ่ี ข้าสู่ร่างกายโดยทางการหายใจจะมีสภาพเป็ นก๊าซ ไอสาร ฝุ่ น ควัน


ละออง ทีป่ นเปื้ อนในอากาศ
2. สารเคมีทเ่ี ข้าสู่ร่างกายโดยทางผิวหนัง ซึง่ บางชนิดอาจซึมผ่านผิวหนังได้ เช่น
น้ายาล้างชิน้ ส่วนอุปกรณ์ในการทางาน เมือ่ มีบาดแผลก็ทาให้ตดิ เชือ้ เข้าไปในร่างกาย
3. สารเคมีทเ่ี ข้าสู่ร่างกายโดยทางปาก โดยการปนเปื้ อนมากับน้ าดื่ม หรืออาหารที่
รับประทานเข้าไป กลุ่มของสารเคมีท่เี ป็ นพิษ แบ่งออกได้ตามลักษณะ และคุณสมบัติของ
สารเคมีในลักษณะทีเ่ ป็ นสถานะได้ดงั นี้
3.1 ฝุ่ น (dusts) เป็ น อนุ ภ าคของแข็ง ที่ฟ้ ุ งกระจายปะปนอยู่ ใ นอากาศ
โดยเฉพาะบริเวณทีป่ ระกอบการหรือทางานของคนงาน ซึ่งเกิดจากการแตกกระจาย การ บด
การกระแทก การขัดถู การระเบิดของเคมีทเ่ี ป็ นของแข็ง ฝุ่ นละอองทีม่ ขี นาดใหญ่ จะตกลงสู่พน้ื
ได้อย่างรวดเร็ว ส่วนฝุ่ นละอองทีม่ กี ารฟุ้งกระจายอยูใ่ นอากาศได้นนั ้ ทาให้พนักงานทีป่ ฏิบตั งิ าน
สูดดม หรือ สูดหายใจเข้าไปสะสมในปอด และถ้าหาก 5 ไมครอน (Micron) (1 ไมครอนเท่ากับ
1/1000 เซนติเมตร) โดยทัวไปมี ่ ผลต่อสุขภาพร่างกายไม่มากนัก ซึ่งขึน้ อยู่กบั ชนิดของฝุ่ น
ละอองบางชนิด เช่น อาจทาให้เกิดอาการแพ้อาการคันหรือรุนแรงจนทาให้เกิดเป็ นพังผืดทีป่ อด
กลายเป็ นโรคมะเร็งได้ หรืออาจทาให้มคี วามผิดปกติของปอดในการสะสมฝุ่ นละอองเข้าไป
3.2 ฟูม (Fumes) เป็ นอนุ ภาคของของแข็งทีไ่ ด้รบั ความร้อนจากการหลอม จน
กลายเป็ นไอ แล้วเกิดการควบแน่ นในอากาศซึง่ ปกติไอของโลหะจะมีขนาดเล็กกว่า 1 ไมครอน
เช่น การหลอมเหล็ก ตะกัว่ สังกะสี เป็ นต้น เมื่อคนทางานได้รบั เข้าสู่ร่างกาย ปริมาณมากจะทา
ให้เป็ นอันตรายกับปอดและมีอาการไข้เป็ นระยะๆ และจะหายไปในเวลา 24-28 ชัวโมง ่
3.3 ควัน (Smoke) เป็ นอนุ ภาคของคาร์บอนทีม่ ขี นาดเล็กกว่า 1 ไมครอน เกิด
จากการเผาไหม้ท่ีไ ม่ส มบูรณ์ ของวัต ถุ ท่ีมคี าร์บอนเน็ ท ส่ ว นประกอบ ได้แ ก่ จ าพวกน้ า มัน
ถ่านหิน ไม้ กระดาษ และอื่นๆ ทาให้เกิดควันหรือเถ้าลอยปนอยู่ใ นอากาศ เมื่อหายใจเข้า สู่
ร่างกายอาจทาให้เกิดการระคายเคือง อาการแพ้ในระบบทางเดินหายใจได้
3.4 ก๊าซ (Gases) เป็ นรูปของสารเคมีทม่ี กี ารฟุ้งกระจายในบรรยากาศทัวไป ่
ซึ่งเกิดจากธรรมชาติและโรงงานอุ ต สาหกรรม การคมนาคม การขนส่ ง ได้แก่ คาร์บ อนได
ออกไซด์ มีเทน ไนโตรเจน คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ แอมโมเนีย ซัลเฟอร์ได
ออกไซด์ เมื่อร่างกายได้รบั ก๊าซในปริมาณทีเ่ ป็ นอันตรายต่อ ร่างกายจะทาให้เกิดอาการต่างๆ
ขึน้ อยูก่ บั ชนิดของก๊าซ เช่น หายใจไม่ออก เกิดการระคายเคืองต่อระบบการหายใจ อาการแพ้ท่ี
ปอด หรือ รบกวนกระบวนการเคลื่อนย้าย และการใช้ออกซิเจนของร่างกายเป็ นอันตรายต่ อ
ร่างกายได้
3.5 ละออง (Mists) เป็ นอนุภาคของของเหลวทีม่ ขี นาดเล็กไม่เกิน 10 ไมครอน
ฟ้ งกระจายอยู่ในอากาศ เนื่องจากการทางานที่มกี ระบวนการ การพ่น หรือการชุบโลหะด้วย
วิธกี ารไฟฟ้ า โรงงานอุตสาหกรรม และละอองบางอย่างยังออกฤทธิ ์เป็ นกรดหรือด่าง เมื่อสูด
236

หายใจเข้าสู่ร่างกายจะทาให้เกิดอาการระคายเคืองต่อจมูกและเยื่อบุจมูก หรือเยื่อบุจมูกอักเสบ
เป็ นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจได้
3.6 ไอสาร (Vapor) เกิดจากการระเหยเป็ นไอสารไปปนอยู่ในอากาศของ ก๊าซ
ของสารที่เป็ นของแข็งหรือของเหลว เช่น เบนซิน (Benzene) เมื่อหายใจเข้าสู่ร่างกายใน
ปริมาณมากจะเป็ นอันตรายต่อระบบหายใจและระบบอวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้
3.7 สารตัวทาละลาย (Solvents) เป็ นสารเคมีทเ่ี ป็ นอันตรายต่อสุขภาพซึง่ มี ใช้
กัน มากในอุ ต สาหกรรม ของเหลวใช้ส าหรับ เป็ น ตัว ท าละลายอิน ทรีย์อ่ ืน ๆ ได้แ ก่ เบนซิน
(Benzene) น้ ามันสน (Turpentine) และแอลกอฮอล์ (Alcohol) เมื่อเข้าสู่ร่างกายในปริมาณมาก
จะทาให้เป็ นอันตรายต่อสุขภาพของร่า งกาย เกิดอาการแพ้หรือ เป็ นพิษ หรืออาการผิดปกติ
เรือ้ รังได้ คือ จะทาลายโลหิต ปอด ตับ ไต ระบบทางเดินอาหารและอวัยวะสาคัญๆ หรือเนื้อเยื่อ
ซึง่ ความรุนแรงขึน้ อยูก่ บั องค์ประกอบและขนาดความรุนแรงของตัว ทาละลาย การได้รบั สารเคมี
บางชนิ ด เข้า สู่ร่า งกายทีล ะน้ อ ยๆ และสะสมในร่า งกายจนเกิด เป็ น พิษ ขึ้น มาท าให้ม ีอ าการ
ผิดปกติ หรือเป็ นโรคปอดชนิดอื่นๆ และอาจทาให้เกิด โรคมะเร็ง เช่น มะเร็งผิวหนัง มะเร็งที่
ระบบสร้างเม็ดโลหิต มะเร็งระบบทางเดินหายใจ มะเร็งทีก่ ระเพาะปั สสาวะ เป็ นต้น
วิ ธีการควบคุมฝุ่ นละออง
ในสถานประกอบการจาเป็ นต้องหาวิธกี ารควบคุมและป้ องกันมิให้ สภาพแวดล้อมของ
การทางานเป็ นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพหรือ พนักงาน และสิง่ แวดล้อมที่มกี าร
ผลิตทีม่ สี ารพิษทีเ่ ป็ นอันตราย เช่น สารเคมีฝนุ่ ต่าง ๆ โดยใช้วธิ กี ารทางวิศวกรรมควบคุม หรือ
วิธกี าร อื่นทีม่ คี วามเหมาะสมสอดคล้องกับการทางาน ได้แก่
1. วิธกี ารปิ ดคลุมต้นตอหรือแหล่งทีม่ กี ารเกิดปั ญหาฝุ่ นละอองเป็ นจานวนมาก เช่น
ติดตัง้ ระบบระบายอากาศเฉพาะจุดทีม่ ปี ั ญหาและต้องไม่ทาความเดือดร้อนเสียหายไปยังทีอ่ ่นื ๆ
2. แยกกระบวนการหรือเครื่องจักรที่เป็ นต้นเหตุของปั ญหาออกจากบริเวณที่ม ี
พนั ก งานท างานเป็ น จ านวนมาก หรือ หาวิธ ีก ารที่จ ะท าให้พ นั ก งานท างานสัม ผัส กับ สิ่ง ที่
ก่อให้เกิดปั ญหาน้อยทีส่ ุด
3. ใช้วธิ กี ารหาวัสดุทม่ี อี นั ตรายน้อยกว่ามาใช้แทนวัสดุทเ่ี ป็ นอันตรายมาก
4. การทาให้เกิดความชื้นหรือระบบเปี ยกเข้าช่วยเพี่อช่วยลดการฟุ้งกระจายของ
ฝุ่ น หรือ สารเคมี
5. การติดตัง้ ระบบกาจัด หรือกักเก็บบรรจุถุงหรือติดตัง้ เครื่องดูดเฉพาะที่ ณ
สถานทีท่ ม่ี กี ารทางานจุดทีเ่ ฉพาะ
6. ทาความสะอาดบริเวณสถานทีท่ างานทีม่ คี วามเสีย่ วบ่อยและเป็ นประจาเพื่อให้
เกิดการกาจัดสารพิษตกค้าง
7. การใช้วสั ดุสาหรับเครือ่ งป้ องกันร่างกายอย่างรัดกุมและปลอดภัย
237

3. อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological Environmental Hazards)


สภาพแวดล้อ มทางชี ว ภาพ หมายถึง สภาพแวดล้อ มในการท างานที่ร่ า งกาย
ต้องสัมผัสกับจุลนิ ทรียห์ รือเชือ้ โรคต่างๆ ทีม่ อี ยู่ในสถานประกอบการ ซึง่ อาจเกิดการเจ็บป่ วยขึน้
ได้และมีผ ลต่ อสุขภาพร่างกายของผู้ปฏิบตั ิงาน ได้แก่ เชื้อ แบคทีเรีย (Bacteria) ปาราสิต
(Parasite) และไวรัส (Virus) ซึง่ เป็ นตัวก่อให้เกิดโรคจากการทางาน ได้แก่
3.1วัณโรค (Tuberculosis) ที่มกั เกิดขึน้ กับแพทย์ พยาบาล ที่ทาหน้าที่ในการให้
การรักษาดูแลผูป้ ่ วยโรคนี้
3.2 โรคติดเชือ้ รา (fungus infection) มักเกิดกับผูท้ ป่ี ระกอบอาชีพทางเกษตรกรรม
และ อุตสาหกรรม ทีป่ ฏิบตั งิ านในสภาพแวดล้อมทีต่ ้องหายเอาฝุ่ นละอองทีต่ ดิ เชื้อราเข้าไปใน
ปอด โดยเชือ้ ราจะเป็ นตัวกระตุ้นทาให้เกิดอาการแพ้ ทาให้เป็ นโรคปอด หรือมักเรียกว่า โรค
ปอดชาวนา (Farmer’s Lung Disease)
3.3 โรคแอนแทรก (Anthrax) เป็ นโรคทีเ่ กิดจากการสัมผัสสัตว์ประเภทวัว ควาย ที่
เป็ นโรคและเกิดการติดต่อกันขึน้ เช่น ผู้ทท่ี างานในโรงฆ่าสัตว์ สัตว์แพทย์ทท่ี าหน้าทีใ่ น การ
ดูแลรักษาสัตว์ โรคบรุคเซลโลซีส (Brucellosis) เกิดจากการบริโภคนมทีไ่ ม่ผ่านการฆ่าเชือ้ หรือ
กระบวนการพาสเจอร์ไรด์ หรือสเตอริไรด์ ซึง่ มักเป็ นกันมากกับคนแถบยุโรป และอเมริกา ที่ม ี
การบริโภคนมเป็ นประจา
4. อันตรายจากสภาพแวดล้ อมทางจิ ตวิ ทยาสังคม (Social - Psychological
Environment Hazards)
อันตรายที่เกิดขึน้ จากการทางานของพนักงานในสถานประกอบการอันจะนามาซึ่ง
อันตรายทีเ่ กิดจากสภาพแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม หมายถึง สภาพแวดล้อมของการทางานที่
เกี่ย วข้อ งกับ สภาวะแวดล้อ มในการท างาน ต าแหน่ ง หน้ า ที่ ระยะเวลาใน การท างาน
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล บทบาทความรับผิดชอบ ความก้าวหน้าในการทางาน สิง่ เหล่านี้
อาจทาให้ผทู้ ท่ี างานเกิดความเครียดและส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายได้ ได้แก่
4.1 สภาพแวดล้อมในการทางาน (Physical working conditions) ทีท่ าให้เกิดผล
กระทบต่อสุขภาพทัง้ ร่างกายและจิตใจ เช่น การทางานในทีท่ ม่ี แี สงสว่างมากหรือน้อยเกินไป มี
เสียงดังมากตลอดเวลา การทางานซ้า ๆ หรือ การประกอบชิ้นส่วนอุปกรณ์ท่อี ยู่บนสายพาน
เลื่อนตลอดเวลา
4.2 การทางานหนักเกินไป (Overload) คืองานทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้รบั ผิดชอบที่
เกินความสามารถทัง้ ในด้านปริมาณและคุณภาพ
4.3 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Human interrelationship) สัมพันธภาพของ
บุคลากรในองค์กรหรือในทีท่ างานเดียวกัน ถ้าหากไม่สามารถสร้างสัมพันธภาพทีด่ ใี ห้ เกิดขึน้ ได้
ย่อมส่งผลกระทบทาให้เกิดความเครียดขึน้ ได้
238

4.4 หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ (Job responsibility) ผูท้ ท่ี างานในความรับผิดชอบสูง


ของสถานประกอบการย่อมเกิดความวิตกกังวลและความเครียดได้มากกว่าคนอื่นๆ
4.5 บทบาทของแต่ละบุคคลในหน่ วยงาน (Role of Individual in the
Organization) อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งกันได้ทงั ้ ในหน้าทีก่ ารงานและส่วนตัว ส่งผลกระทบถึง
การเกิดความเครียดตามมาได้
4.6 ความก้าวหน้าในตาแหน่ ง (Career development) ผูป้ ฏิบตั งิ านทีเ่ สียสละอุทศิ
ตนในการปฏิบตั งิ าน มีความรับผิดชอบต่อหน้าทีก่ ารงานอย่างเต็มความสามารถย่อมต้องการ
ได้รบั การสนับสนุ น ให้ได้เลื่อนตาแหน่ งทีเ่ หมาะสมและสูงขึน้ แต่ถ้าหากไม่ได้รบั การพิจารณา
ปรับเลื่อนก็ย่อม ส่งผลกระทบให้เกิดความเครียดขึน้ ได้ซง่ึ ในระยะเวลานานๆ ไปอาจก่อให้เกิด
ปั ญหา ทางด้านสุขภาพจิต (Mental health) และโรคอื่นๆ ตามมาได้ เช่น โรคจิต โรคประสาท
โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ หรือโรคพิษสุราเรือ้ รัง โรคติดยาเสพติด จนกระทัง่
การฆ่าตัวตายได้

5. อันตรายด้านการยศาสตร์ (Ergonomics)
เป็ นอันตรายที่เ กิดจากการทางานที่มใี ช้ท่าทางการทางานที่ไม่เหมาะสม วิธกี าร
ปฏิบ ัติงานไม่ถู ก ต้อ งการปฏิบตั ิงานที่ซ้า ซาก และความไม่สมั พันธ์กัน ระหว่างคนกับงานที่
ปฏิบตั งิ าน เครือ่ งจักร เครือ่ งมือ อุปกรณ์ในการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ สิง่ แวดล้อ มอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
ในการทางานซึง่ สิง่ ต่าง ๆ เหล่านี้ก่อให้เกิดความเจ็บป่ วย อันตราย หรืออุบตั เิ หตุจากการทางาน
จากการพิจารณาถึงสภาพปั ญหาและอันตรายของการเกิดโรคที่เนื่องจากการทางาน
ทาให้ได้มกี ารออกกฎหมายเพื่อมากาหนดให้นายจ้างหรือผูป้ ระกอบการรวมทัง้ ลูกจ้างได้มกี าร
ปฏิบ ัติต ามอย่า งเคร่ง ครัด โดยเฉพาะนายจ้า ง ต้อ งปฏิบ ัติต ามเพื่อ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย
คุม้ ครองแรงงาน ซึ่งได้มกี ารกาหนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารตรวจสุขภาพของลูกจ้าง และส่งผล
การตรวจแก่พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ.2547 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา
107 แห่งพระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ข้อ 2 ในกฎกระทรวงนี้ ให้นายจ้างต้องมี
การดูแลลูกจ้างผู้ปฏิบตั ิงานตัง้ แต่การเข้ามาเริม่ งานโดยการดาเนินการตรวจสุขภาพร่างกาย
ลูกจ้างก่อนทางานในตาแหน่งนัน้ โดยมีขอ้ ความว่า
“การตรวจสุขภาพ” หมายความว่า การตรวจร่างกายและสภาวะทางจิตใจตามวิธที าง
การแพทย์เพื่อให้ทราบถึงความเหมาะสม และผลกระทบต่อสุขภาพของลูกจ้างอันอาจเกิดจาก
การทางาน “งานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง” หมายความว่างานทีล่ กู จ้างทาเกีย่ วกับ
(1) สารเคมีอนั ตรายตามทีร่ ฐั มนตรีประกาศกาหนด
(2) จุลชีวนั เป็ นพิษซึง่ อาจเป็ นเชือ้ ไวรัส แบคทีเรียรา หรือสารชีวภาพอื่นตามทีร่ ฐั มนตรี
ประกาศกาหนด
(3) กัมมนตภาพรังสี
239

(4) ความร้อน ความเย็น ความสัน่ สะเทือ นความกดดันบรรยากาศ แสง เสียง หรือ


สภาพแวดล้อมอื่น ทีอ่ าจเป็ นอันตราย
ทัง้ นี้ตามที่รฐั มนตรีประกาศกาหนดให้นายจ้างจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพของลูก จ้าง ที่
ทางานเกีย่ วกับปั จจัยเสีย่ งโดยแพทย์แผนปั จจุบนั ชัน้ หนึ่งทีไ่ ด้รบั ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพเวช
กรรมด้านอาชีวเวชศาสตร์ หรือที่ผ่านการอบรมด้านอาชีวเวชศาสตร์ หรือที่มคี ุณสมบัตติ ามที่
อธิบดีประกาศกาหนด โดยตรวจสุขภาพลูกจ้างครัง้ แรกให้เสร็จสิน้ ภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีร่ บั
ลูกจ้างเข้าทางาน และตรวจสุขภาพลูกจ้างครัง้ ต่อไปอย่างน้อยปี ละหนึ่งครัง้ ในกรณีท่ลี กั ษณะ
หรือสภาพของงานทีเ่ กี่ยวกับปั จจัยเสีย่ งนัน้ มีความจาเป็ นต้องตรวจสุขภาพตาม ระยะเวลาอื่น
ให้นายจ้างจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพของลูกจ้างตามระยะเวลานัน้ ในกรณีนายจ้างเปลีย่ นงานของ
ลูกจ้างทีม่ อี นั ตรายแตกต่างไปจากเดิม ให้นายจ้างจัดให้มกี ารตรวจ สุขภาพของลูกจ้างทุกครัง้
ให้เสร็จสิ้นภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่เปลี่ยนงาน ข้อ 4 ในกรณีท่ลี ูกจ้างหยุดงานสามวัน
ทางานติด ต่ อ กันเนื่ อ งจากประสบอันตรายหรือ เจ็บ ป่ วย ไม่ว่า กรณีใ ด ๆ นายจ้างอาจขอ
ความเห็นจากแพทย์ผูก้ ารรักษา หรือแพทย์ประจาสถานประกอบกิจการ หรือจัดให้มกี ารตรวจ
สุขภาพของลูกจ้างก่อนให้ลกู จ้างเข้าทางานอีกก็ได้
หากผู้ป ฏิบตั ิง านได้ร บั การตรวจสุ ข ภาพในต าแหน่ ง งานที่ป ฏิบ ัติแ ล้ว เมื่อ พบความ
ผิดปกติหรือการเจ็บป่ วย นายจ้างจะต้องรีบให้การรักษาพยาบาลและหาแนวทางในการป้ องกัน
แก้ไขโดยทันที ซึ่งโดยทัวไปเมื่ ่อพบนายจ้างก็จะต้องโยกย้ายหน้ าที่ เพื่อไม่สมั ผัสกับสารเคมี
หรือสิง่ ที่จะก่อให้เกิดโรคที่เป็ นอันตรายต่ อสุขภาพอันเนื่องจากการทางาน โดยจะต้องมีการ
รายงานแจ้งผลการตรวจสุขภาพ ดังมีแบบฟอร์มข้างล่างนี้
240

แบบแจ้งผลการตรวจสุขภาพที่พบความผิดปกติ หรือการเจ็บป่ วย การให้การรักษาพยาบาลและการป้ องกันแก้ไข


วันที่ ..... เดือน..........................พ.ศ. .................
1. ชื่อสถานประกอบการ ....................................................................................... ประเภทของกิจการ ............................................................................
ตัง้ อยู่ทเ่ี ลขที่ .............. หมู่ท่ี .......... ซอย ......................................ถนน ................................................ ตาบล/แขวง ..................................................
อาเภอ/เขต ............................................................ จังหวัด ......................................................... โทรศัพท์ .................................................................
2. ชื่อหน่วยงานทีต่ รวจสุขภาพ ..........................................................................................................................................................................................
ตัง้ อยู่ทเ่ี ลขที่ .............. หมู่ท่ี .......... ซอย ......................................ถนน ................................................ ตาบล/แขวง ..................................................
อาเภอ/เขต ............................................................ จังหวัด ......................................................... โทรศัพท์ .................................................................
3. ผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างทีพ่ บความผิดปกติหรือการเจ็บป่ วย การให้การรักษาพยาบาล และการป้ องกันแก้ไข
จานวนลูกจ้าง การดาเนินการ
จานวนลูกจ้าง ทีต่ รวจ
แผนก ปั จจัยเสีย่ ง แต่ละแผนก (คน) หมายเหตุ
ปกติ ผิดปกติ การให้ การป้ องกันตัว การแก้ไข
(คน) (คน) การรักษา ลูกจ้าง สภาพแวดล้อม

ชื่อนายจ้าง ........................................................
( .......................................................)
ตาแหน่ง .............................................................
241

ความหมายและความสาคัญของอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กาหนดมาตรฐานอุปกรณ์คุม้ ครอง
ความปลอดภัยส่วนบุคคล พ.ศ. 2554
โดยที่พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
พ.ศ. 2554 กาหนดให้นายจ้างจัดและดูแลให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วน
บุคคล ทีไ่ ด้มาตรฐานตามทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนด อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๒ แห่ง
พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554
อันเป็ นกฎหมายที่มบี ทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่ง มาตรา 29 ประกอบด้ว ยมาตรา 33 มาตรา 41 และมาตรา 43 ของรัฐ ธรรมนู ญ แห่ ง
ราชอาณาจักรไทย บัญญัตใิ ห้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายอธิบดีกรม
สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศกรมสวัสดิก ารและคุ้มครองแรงงาน เรื่อ ง ก าหนด
มาตรฐานอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล พ.ศ. 2554”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
ข้อ 3 มาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ได้แก่ มาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรม มาตรฐานขององค์การมาตรฐานสากล (International Standardization and
Organization : ISO) มาตรฐานสหภาพยุโรป (European Standards : EN) มาตรฐานประเทศ
ออสเตรเลีย และประเทศนิวซีแลนด์ (Australia Standards/New Zealand Standards :
AS/NZS) มาตรฐาน สถาบันมาตรฐานแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา (American National
Standards Institute : ANSI) มาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศญี่ป่ ุน (Japanese Industrial
Standards : JIS) มาตรฐานสถาบัน ความปลอดภัยและอนามัยในการทางานแห่งชาติประเทศ
สหรัฐอเมริกา (The national Institute for Occupational Safety and Health : NIOSH)
มาตรฐานสานักงานบริหารความปลอดภัย และอาชีวอนามัยแห่งชาติ กรมแรงงาน ประเทศ
สหรัฐอเมริกา (Occupational Safety and Health Administration : OSHA) และมาตรฐาน
สมาคมป้ องกันอัคคีภยั แห่งชาติสหรัฐอเมริกา (National Fire Protection Association : NFPA)
ทัง้ นี้ ให้เหมาะสมกับชนิดหรือประเภทของงานทีล่ กู จ้างปฏิบตั ิ
และประกาศกระทรวงมหาดไทย ข้อ 2(7) และข้อ 14 ฉบับที่ 103 กาหนดสวัสดิการ
เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยสาหรับลูกจ้าง โดยในแต่ละฉบับได้กาหนดให้
นายจ้างจัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลแต่ละประเภทให้ลูกจ้างสวมใส่ขณะปฏิบตั งิ าน
และในบางฉบับ จะก าหนดเป็ นหมวดมาตรฐานเกี่ย วกับ อุ ป กรณ์ คุ้ม ครองความปลอดภัย
ส่วนบุคคล
242

ความหมายของอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล (Personal Protective Devices = PPD
หรือ Personal Protective Equipment = PPE) หมายถึง อุปกรณ์สาหรับผูป้ ฏิบตั งิ านสวมใส่
ขณะทางานเพื่อป้ องกันอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ อันเนื่องมาจากสภาพ และสิง่ แวดล้อมการทางาน
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เป็ นวิธกี ารหนึ่งในหลายวิธกี ารป้ องกัน อันตรายจาก
การทางาน โดยทัวไปจะยึ
่ ดหลักการป้ องกัน ควบคุมทีส่ งิ่ แวดล้อมการทางานก่อน ในกรณีทไ่ี ม่
สามารถดาเนินการได้ จึงนากลวิธกี ารใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลมาแทน

ความสาคัญของอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
1. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคลเป็ นอุปกรณ์ท่ใี ช้ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
เนื่องจากอุบตั ิเหตุขณะทางาน เมื่อผู้ปฏิบตั ิงานในสภาพแวดล้อมที่มคี วามเสี่ยงในการเกิด
อันตรายหรืออาจจะประสบอุบตั เิ หตุกย็ อ่ มมีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายเพื่อสวมใส่ป้องกันไม่ให้เกิด
ความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดอันตรายได้ ในลักษณะการช่วยลดจากหนักให้เป็ นเบาได้
2. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลช่วยป้ องกันอันตรายทีเ่ กิดขึน้ โดยตรงในสภาพ
การทางานนัน้ เช่น ที่อบั อากาศมีอุปกรณ์ทช่ี ่วยในการหายใจจะช่วยได้ในระยะเวลาอาจจะไม่
นานมาก แต่กย็ งั ช่วยชีวติ ได้ในขณะทีก่ าลังเกิดภาวะวิกฤติได้
3. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเป็ นอุปกรณ์ท่สี ามารถช่วยลดความรุน แรงหรือ
หยุดยัง้ อันตรายที่จะเกิดขึน้ กับผู้ปฏิบตั งิ าน เช่น รองเท้านิรภัยเมื่อสิง่ ของหรือวัตถุของแข็งตก
หล่น หรือกระแทกสู่เท้าจะช่วยป้ องกันให้ลดอันตราย บาดเจ็บ และเจ็บป่ วย
ซึ่งโดยทัวไปจะมี
่ การป้ องกันและควบคุมที่สภาพและสิง่ แวดล้อมของการทางานก่อน
โดยการแก้ไขปรับปรุงทางวิศวกรรม การกัน้ แยกไม่ให้ปะปนกับสิง่ อื่น หรือการใช้เซฟการ์ดแบบ
ต่าง ๆ หรือการที่จะต้องปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เปลี่ยนกรรมวิธกี ารทางาน ส่วนในกรณีท่ไี ม่
สามารถ ดาเนินการดังกล่ าวได้ก็จะนากลวิธกี ารใช้อุ ปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลมาใช้
ประกอบด้วย เพื่อช่วยป้ องกันอวัยวะของร่างกายในส่วนที่ต้องสัมผัสงานมิให้ประสบอันตราย
จากภาวะอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ ขณะทางานอยูไ่ ด้ ซึง่ สามารถแบ่งออกได้ดงั นี้
1. เครื่องป้ องกันศีรษะ (Head Protection Devices)
เป็ นอุปกรณ์คุม้ กันทีใ่ ช้สาหรับป้ องกันศีรษะจากการถูกกระแทก ชน หรือวัตถุตกจาก
ทีส่ งู มากระทบศีรษะ มีลกั ษณะแข็งแรงและทาด้วยวัสดุทแ่ี ตกต่างกันออกไป หมวกนิรภัยซึง่ แบ่ง
ออกเป็ น 2 แบบ คือ แบบมีขอบหมวกโดยรอบ กับแบบทีม่ เี ฉพาะกระบังด้านหน้า
หมวกนิรภัยประกอบด้วย ตัวหมวก ทามาจากพลาสติก โลหะ หรือ ไฟเบอร์กลาส
สายพยุง ได้แก่ สายรัดศีรษะ และสายรัดด้านหลังศีรษะ ซึง่ สามารถปรับ ให้เหมาะสมกับผูส้ วม-
ใส่ได้ดว้ ย สายรัดคาง คือ สายรัดใต้คางเพื่อให้กระชับยิง่ ขึน้ แผ่นซับเหงือ่ ทามาจาก
243

ใยสังเคราะห์ใช้สาหรับซับเหงื่อและให้อากาศผ่านได้ นอกจากนัน้ แล้วหมวกนิรภัยยังแบ่งออก


ตามคุณสมบัตขิ องการใช้งานได้เป็ น 4 ประเภท ดังนี้
1. ประเภท A ทามาจากพลาสติกหรือไฟเบอร์กลาส มีน้ าหนักเบาเหมาะสาหรับ ใช้งาน
ทัวไป
่ เช่น คนก่อสร้าง โยธา เครือ่ งจักรกล เหมืองแร่ และงานทีไ่ ม่เสีย่ งกับกระแส ไฟฟ้ าแรงสูง
เปลือกนอกป้ องกันหน้าได้ และไหม้ไฟช้า
2. ประเภท B ทามาจากวัสดุสงั เคราะห์ประเภทพลาสติก หรือไฟเบอร์กลาส และไม่มรี ู
ทีห่ มวกเหมาะสาหรับการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับกระแสไฟฟ้ าแรงสูง เช่น ช่างเดนิ สายไฟ ใน
สถานีไฟฟ้ าและในโรงไฟฟ้ า
3. ประเภท C ทามาจากวัสดุทเ่ี ป็ นโลหะ เหมาะสาหรับการใช้งานป้ องกัน การกระแทก
แรงเจาะ และใช้ในงานทีไ่ ม่มคี วามเสีย่ งกับกระแสไฟฟ้ า
4. ประเภท D ทามาจากวัสดุสงั เคราะห์ประเภทพลาสติก และไฟเบอร์กลาส ออกแบบ
เพื่อใช้ในงานดับเพลิงหรืองานป้ องกันอัคคีภยั ต้องมีความทนทานไม่ไหม้ไฟ และไม่เป็ นตัวนา
ไฟฟ้ า
มาตรฐานสากลสาหรับควบคุ มคุ ณภาพการผลิต หมวกนิรภัยของประเทศไทย ก็ค ือ
มอก.368/2524 และจะต้องมีคาอธิบายอยู่ด้านในของหมวก มีเครื่องหมายการค้า ชื่อ ผูผ้ ลิต
สิน ค้า วัน เดือ น ปี ท่ผี ลิต บอกประเภท ชนิ ดของสินค้า วัส ดุ ท่ใี ช้ใ นการผลิต จะต้ อ งมีก าร
ทดสอบด้านไฟฟ้ า โดยเฉพาะหมวกนิรภัยระเภท B โดยการใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้ า กระแสสลับ
ขนาด 20,000 โวลท์ ที่ 50-60 ไซเกิลต่อวินาที เป็ นเวลา 3 นาที และจะมีกระแสไฟฟ้ ารัวไม่ ่ เกิน
9 มิลลิแอมป์ ส่วนประเภทอื่นจะความต้านทานกระแสไฟฟ้ าน้อย กว่า จะอยู่ท่ี 2,200 โวลท์
ที่ 50-60 ไซเกิลต่อวินาที ในเวลา 1 นาที และกระแสจะรัวไม่่ เกิน 1 มิลลิแอมป์ มีการทดสอบ
ความทนต่อการไหม้ไฟ และการทดสอบความคงทนต่อแรงกระทา ซึง่ หมวกนิรภัยทุกชนิดนัน้ จะ
ช่วยลดอันตรายจากการถูกวัสดุตกมากระทบ กระแทกศีรษะได้มาก หากมีการใช้อย่างถูกวิธ ี
และถูกต้อง ดังแสดงในภาพที่ 4.2
244

ภาพที่ 4.2 หมวกนิรภัยสาหรับสวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2559.

นอกจากนี้ยงั มีหมวกนิรภัยสาหรับสตรีทท่ี างานสัมผัสกับเครื่องจักรกล สายพาน ใบพัด


ทีม่ กี ารเคลื่อนไหว เพื่อป้ องกันเส้นผมไม่ให้ดูดเข้าไปในเครื่องจักร ซึง่ บางชนิดทาด้วยวัสดุทน
ไฟเพื่อใช้ในการทางานทีม่ คี วามร้อนจากงานเชื่อม หรือหลอมโลหะกับหมวกชนิดปั ้ม ขึน้ รูปมี
ลักษณะของหมวกบางและเบา เพื่อใช้สาหรับ งานเบาในโรงงานบางชนิดเท่านัน้ และมีขอ้ จากัด
เข้มงวดในการใช้ จะใช้แทนหมวกนิรภัยไม่ได้เด็ดขาด
การดูแลรักษา
โดยการทาความสะอาดทัง้ ตัวหมวกและอุปกรณ์ ประกอบด้วย น้าอุ่นกับสบู่ หรือด้วย
น้ ายาฆ่าเชื้อ ที่เ หมาะสมอย่า งสม่ าเสมอโดยเฉพาะอย่า งยิง่ ในการใช้งานของหมวกที่ม ีการ
ผลัดเปลีย่ นกันใช้ พร้อมทัง้ การตรวจสอบดูแล ส่วนทีม่ กี ารชารุดทีส่ ามาระเปลีย่ นแปลงแก้ไขได้
หรือชารุดไม่สามารถเปลีย่ นแปลงแก้ไขได้ให้เปลีย่ นชุดใหม่

2. อุปกรณ์ป้องกันตาและใบหน้ า (Eye and Face Protection Devices)


เป็ นอุปกรณ์สาหรับช่วยป้ องกันอันตรายอันอาจจะเกิดขึน้ ในขณะทางานที่อาจมีเศษ
วัสดุ สารเคมี หรือรังสี ทีจ่ ะทาให้ใบหน้าและดวงตาเป็ นอันตรายได้ ซึง่ สามารถแบ่งประเภทออก
ได้ดงั นี้
2.1. แว่นตานิ รภัย (Protective Spectacles or Glasses) รูปร่างลักษณะคล้าย
กับ แว่นตาโดยทัวไป ่ แต่จะแตกต่างกันในส่วนของความทนทาน แข็งแรง และวัสดุทใ่ี ช้ทาแว่น
กับเลนส์ทใ่ี ช้ตามความจาเป็ นของลักษณะงานแต่ละชนิด เช่น ป้ องกันแสงจ้า ป้ องกันความร้อน
ป้ องกันสารเคมีรงั สี กันลมหรือต้านแรงกระแทก ซึ่งมีทงั ้ ชนิดที่มกี ระบังด้านข้าง ช่วยป้ องกัน
เศษสิง่ ของวัสดุกระเด็นเข้าทางด้านข้างกับชนิดไม่มกี ระบังด้านข้าง ใช้สาหรับป้ องกันอันตราย
245

เข้าทางด้านหน้าเท่านัน้ ซึง่ มีทงั ้ แบบที่สามารถปรับให้เหมาะสมกับการใช้งานได้กบั แบบที่คงที่


วัสดุท่ใี ช้ทากรอบแว่นนัน้ มีทงั ้ ที่ทามาจากโลหะ และพลาสติก และชนิดผสมระหว่างโลหะกับ
พลาสติก ทีม่ คี ุณสมบัตทิ นต่อการกัดกร่อน ดูดซึมเพื่อป้ องกันการติดเชือ้ ต่าง ๆ ได้ง่ายไม่มกี ลิน่
หรือ เป็ น พิษ กับ การใช้ นอกจากนัน้ ยัง มีอุ ป กรณ์ ป้ อ งกัน ตาชนิ ด อื่น ๆ อีก เช่ น ครอบแว่ น
(Cover goggles) ใช้สวมทับแว่น สายตาเพื่อป้ องกันทัง้ ตา และแว่นตาผู้สวมในขณะทางาน
ครอบป้ องกันสารเคมี (Chemical goggles) เป็ นแว่นชนิดทีม่ เี ลนส์ประเภทผ่านการอบความร้อน
หรือเลนส์ พลาสติก ชนิดทนกรด ทนด่างได้ ใ ช้ใ นการป้ อ งกันสารเคมีใ นรูปของฝุ่ นละออง
หรือของเหลวกระเด็นเข้าตาทัง้ ทางด้านตรงและด้านข้าง โดยมีกระบังด้านข้าง ครอบตาสาหรับ
ทางานหลอมโลหะหรืองานเหมืองแร่ ส่วนเลนส์อาจทามาจากพลาสติก หรือแก้ว ขึ้นอยู่กบั
ความต้องการใช้งานแต่ละชนิดทีแ่ ตกตางกันไป โดยจะต้องคานึงถึงปั จจัยเกีย่ วข้อง ดังนี้
2.1.1 วัสดุทใ่ี ช้ตอ้ งไม่ทาให้เกิดการระคายเคืองและเป็ นอันตรายต่อดวงตา
2.1.2 มีการหักเหทีเ่ หมาะสมกับการใช้งาน (ไม่เกิน 1/11 ปริซมึ -ไดออฟเตอร์)
2.1.3 กาลังการหักเหในตัวกลางใด ๆ และความแตกต่างของกาลังการหักเห
ในตัวกลางทีต่ ่างกันทัง้ สองชนิดต้องไม่เกิน 1/16 ไดออฟเตอร์
2.1.4 วัสดุทงั ้ สองชนิดทีใ่ ช้ตอ้ งทนความร้อนได้ใกล้เคียงกัน
2.1.5 เลนส์พลาสติกบางชนิดอาจเสื่อมคุณภาพเนื่องจากปฏิกริ ยิ าจากสารเคมี
บางอย่างได
2.1.6 เลนส์พลาสติกจะทนทานต่อวัสดุทแ่ี หลมคมได้มากกว่า
2.1.7 เลนส์พลาสติกจะทนต่อวัสดุเล็กทีเ่ คลื่อนไหวได้ดกี ว่าเลนส์แก้ว
2.1.8 เลนส์พลาสติกจะทนทานกับการขีดข่วนได้ดขี น้ึ ด้วยการเคลือบผิวหน้า
ด้วยสารบางอย่าง
2.1.9 การฝ้ ามัวของเลนส์แก้วจะหายไปเร็วกว่าเลนสพ์ลาสติก
2.1.10 เลนส์ทงั ้ สองชนิดจะมีความทนทานต่อแรงกระแทกมากขึน้ เมื่อมีความ
หนาทีเ่ หมาะสมการเลือกใช้แว่นนิรภัยควรปฏิบตั ดิ งั นี้
1) ควรเลือ กชนิดที่มกี รอบกระชับ แข็งแรง เหมาะกับการสวมใส่
ในการทางาน
2) ควรเลือกชนิดทีม่ คี ุณสมบัตใิ นการป้ องกันอันตรายได้สูงสุด และใช้
งานได้ตลอดเวลา
3) มีขนาดที่กว้างใหญ่ พอดีกับขนาดของรูปหน้ าและจมูกโดยวัด
ระยะห่ างของช่ว งตาลบด้ว ยความกว้างของจมูก จะเท่ากับเส้นผ่ าศูนย์กลางที่ยาวของเลนส์
ทีจ่ ะใช้
4) สามารถทาความสะอาดได้งา่ ยเพื่อให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานได้
ทันทีและไม่ตดิ เชือ้ ได้งา่ ย
246

5) ทนความร้อนไม่ตดิ ไฟง่าย
6) ราคาถูก
การดูแลรักษาแว่นนิ รภัย
1. ทาความสะอาดด้วยการล้างด้วยสบู่กบั น้าอุ่น แล้วแช่ในน้ายาฟี นอล น้ ายาไฮโดรคลอ
ไรด์ หรือน้ายาแอมโมเนียนานประมาณ 10 นาที แล้วทิง้ ไว้ให้แห้งหรือใช้เครือ่ งเป่ าให้แห้ง
2. เก็บไว้ในทีท่ ไ่ี ม่มฝี นุ่ และความชืน้ สูง
3. เมื่อ มีก ารชารุดเสียหายควรซ่อ มแซมปรับปรุงให้ส ามารถใช้งานได้อ ย่างปกติ
และควรใช้เป็ นอุปกรณ์ส่วนตัว ไม่ควรใช้รว่ มกันแบบของส่วนรวม

ภาพที่ 4.3 อุปกรณ์ป้องกันตา (แว่นตานิรภัย)


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2559.

2.2. อุปกรณ์ป้องกันใบหน้ า (Face Protection)


การทางานบางอย่างต้องเสีย่ งต่ออันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับบริเวณใบหน้า ดังนัน้ อุปกรณ์
ป้ อ งกันใบหน้ า จึงจาเป็ นสาหรับ การป้ อ งกันความร้อน การแผ่รงั สีท่มี คี วามเข้มสูง หรือ เป็ น
อันตราย การหลอมเหลวโลหะ การเชื่อมโลหะ การตัดโลหะด้วยการใช้ ก๊าซ ได้แก่
2.1 กระบังป้ องกันใบหน้า (Face Shield) เป็ นวัสดุโค้งครอบใบหน้าเพื่อป้ องกัน
อันตรายต่อใบหน้า และลาคอจากการกระเด็น กระแทกของวัตถุ หรือสารเคมี
2.2 หน้ากากกรองแสงหรือหน้ากากเชื่อม เป็ นอุปกรณ์ป้องกันใบหน้า และดวงตา
ซึง่ ใช้งานเชื่อมเพื่อป้ องกันการกระเด็นของโลหะ ความร้อน แสงจ้า และรังสีจากการเชื่อม
2.3 หมวกครอบกันกรด จะมีลกั ษณะการครอบตัง้ แต่ศรี ษะลงมาคลุมทีใ่ บหน้าเพื่อ
ป้ องกันพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านทีท่ าหน้าทีอ่ ยู่กบั การสัมผัสกับน้ ากรดป้ องกันไม่ให้เมื่อเกิดกระเด็น
จะได้ไม่โดนใบหน้า ตา หรืออวัยวะบนบริเวณใบหน้า
247

2.4 หมวกครอบแบบจ่ายอากาศ และอุปกรณ์ป้องกันใบหน้าแบบใช้มอื ถือลักษณะ


โค้งครอบใบหน้า แผงวัสดุมที งั ้ ประเภททึบแสงและมีช่องใส่แผ่นกรองแสงสาหรับการมองเห็นใน
ส่วนตากับ แผงวัสดุโปร่งแสง โดยจะยึดติดกับหมวกครอบศีรษะหรือสายรัด ซึง่ จะต้องทามาจาก
วัสดุ ชนิดทนไฟ ป้ องกันแสงที่เป็ นอันตราย และทนต่อการใช้น้ ายาฆ่าเชื้อ ในการทาความ
สะอาด น้าหนักเบา (ไม่ควรหนักเกิน 800 กรัม)
2.5 ครอบป้ องกันหน้า เป็ นอุปกรณ์สวมปกคลุม ศีรษะ ใบหน้า ลาคอ ลงมาถึงไหล่
และหน้าอก เพื่อป้ องกันสารเคมี ฝุ่ นละอองทีเ่ ป็ นอันตราย ตัวครอบป้ องกันหน้ามี 2 ส่วนคือ ตัว
ครอบ และเลนส์
ลักษณะการใช้งานของอุปกรณ์ป้องกันใบหน้ า
การติดวัสดุเข้าด้วยกันไม่ควรให้มหี มุดยืน่ มาสัมผัสศีรษะได้ แผ่นกรองแสงควรเป็ นแบบ
ทีถ่ อดเปลี่ยนได้ เมื่อเกิดการชารุดหรือ เสื่อมสภาพ อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าทีด่ ี ควรมีสดั ส่วน
เมื่อสวมใส่แล้วมีความเหมาะสม และสามารถปรับให้กระชับได้ แผ่นกรองแสงเรียบเป็ นเงาไม่ม ี
รอยขูดขีด และปิ ดคลุมทัง้ หมดใบหน้า ไม่ทาปฏิกริ ยิ ากับของเหลว สามารถทาความสะอาดได้
ง่าย ส่วนชนิดทีเ่ ป็ นแบบ จ่ายอากาศ จะมีคุณสมบัตพิ เิ ศษที่สามารถจ่ายอากาศเพิม่ เข้าไปขณะ
ทางานเกี่ยวข้องในบริเวณที่มฝี ุ่ นละออง ไอ ฟูม ละอองของสารเคมีหรือ สารพิษฟุ้ ง กระจาย
เพื่อให้ผสู้ วมใส่ ในการปฏิบตั งิ านมีความสะดวก ไม่อดึ อัด ไม่หายใจเอาละอองต่าง ๆ เข้าไป
248

ภาพที่ 4.4 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนใบหน้า


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2559.

3. อุปกรณ์ป้องกันหู (Ear Protection)


การทางานทีม่ ลี กั ษณะสภาพทีเ่ สียงดัง ไม่ว่าจะลักษณะงานประเภทใดก็ตาม ซึง่ โดย
ส่วนใหญ่เกิดจากอุตสาหกรรมหนัก เนื่องมาจากการทางานกับเครื่องจักรกลต่าง ๆ หรือเสียง
จากแรงกระแทกของวัตถุท่เี ป็ น โลหะรุนแรง ดังนัน้ การลดระดับความดังของเสียงเพื่อให้อยู่
ในช่วงทีไ่ ม่เป็ นอันตรายกับหู หรือการควบคุมที่จุดกาเนิดของเสียง เพื่อหลีกเลีย่ งมิให้เสียงมา
ปะทะกับส่วนการได้ยนิ ของคนนัน้ เป็ นสิง่ จาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีการกาหนดมาตรการทีจ่ ะช่วย
ลดอุบตั เิ หตุหรือ ความเสียหายทีจ่ ะเกิดกับหูในการได้ยนิ โดยการใช้อุปกรณ์ป้องกัน หู เพื่อลด
ความดังของเสียงทีผ่ ่านมากระทบในส่วนของอวัยวะภายในหู คือ กระดูกหูและแก้วหู ซึง่ จะต้อง
เลือกใช้ในแบบทีม่ คี วามเหมาะสม มีมาตรฐานกาหนดเกี่ยวกับความถี่ของเสียงจากการแนะนา
249

ของผูท้ ม่ี คี วามรู้ และมีการทดสอบ ทดลองกับการใช้งานจริง เพื่อให้ได้อุปกรณ์ทม่ี ี คุณภาพ มี


ความเหมาะสมกับการใช้งาน ประกอบด้วย
3.1 ชนิ ดสอดเข้าไปในรูห ู หรืออุดหู (Ear plug) เป็ นวัสดุทท่ี ามาจากยางพลาสติก
อ่อน ขีผ้ ง้ึ ฝ้ าย หรือสาลี ทีผ่ ผู้ ลิตออกแบบให้มขี นาดพอเหมาะกับรูหเู พื่อให้สามารถป้ องกันเสียง
ซึ่งจะแตกต่างกันออกไปทัง้ ชนิดอุดหูทงั ้ สองข้างจะป้ องกันเสียงได้ดกี ว่าชนิดที่ใช้ชวคราว ั่ ที่
อาจจะทาจากสาลี ฝ้ าย จะช่วยป้ องกันเสียงได้เพียงระดับหนึ่งเท่านัน้ นอกจากนัน้ ยังมีชนิดทีท่ า
มาจากวัสดุ ประเภทไฟเบอรก์ลาสก็จะป้ องกันเสียงได้ดี
3.2 ชนิ ดครอบหู (Ear muff) เป็ นอุปกรณ์ทใ่ี ช้สาหรับป้ องกันเสียงดังที่เป็ นอันตราย
ต่อ ระบบการได้ยนิ ของหู ซึ่งจะมีล กั ษณะคล้ายหูฟั งที่ใช้ครอบใบหูทงั ้ สองข้างโดยมีก้านโค้ง
ครอบศีรษะ และใช้วสั ดุทม่ี คี วามนุ่มหุม้ ทับ ส่วนตัวครอบหูนนั ้ มีการออกแบบให้แตกต่างกันตาม
ลักษณะของการใช้งาน ซึ่งจะประกอบด้วยวัสดุ ป้องกันเสียง (acoustic) อยู่ภายในที่ครอบหู
ส่วนตัวรองรอบนอกนัน้ อาจจะบุด้วยโฟม พลาสติก ยางหรือบรรจุของเหลวไว้ เพื่อช่วยดูด ซับ
เสียง ทาให้พลังงานของเสียงลดลง

ชนิ ดอุดรูหู ชนิ ดครอบหู

ภาพที่ 4.5 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนหู


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2559.

4. อุปกรณ์ป้องกันมือ นิ้ วมือ และแขน (Hand Leathers and Arm Protection)


ในการปฏิบตั งิ านที่ต้องใช้ส่วนของมือ นิ้วมือ และแขน ซึง่ อาจเสี่ยงต่ออันตรายจาก
การถูกวัตถุมคี ม บาด ตัด การขูดขีดทาให้ผวิ หนังถลอก การจับของร้อน หรือการใช้ HA 233
101 มือสัมผัสวัสดุอุปกรณ์ทอ่ี าจก่อให้เกิดอันตรายอื่น ๆ นัน้ จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ป้องกันโดยใช้
ถุงมือหรือเครือ่ งสวมเฉพาะนิ้วชนิดต่าง ๆ ตามความเหมาะสมกับลักษณะของงานดังนี้
4.1 ถุงมือใยหิน ใช้สาหรับงานที่ต้องสัมผัสความร้อนเพื่อป้ องกันไม่ให้มอื ได้รบั
อันตรายจากความร้อนหรือไหม้
250

4.2 ถุงมือใยโลหะ ใช้สาหรับงานทีเ่ กี่ยวกับการใช้ของมีคมในการหัน่ ตัด หรือสัมผัส


วัสดุอุปกรณ์ทแ่ี หลมคม หยาบมาก
4.3 ถุงมือยาง ใช้สาหรับงานไฟฟ้ า และถุงมือยางทีส่ วมทับด้วยถุงมือ หนังชนิดยาว
เพื่อป้ องกันการถูกของมีคมบาดหรือทิม่ แทงทะลุสาหรับใช้ในงานไฟฟ้ าแรงสูง
4.4 ถุงมือยางชนิดไวนีลหรือนีโอพรีน ใช้สาหรับงานที่ต้องสัมผัสสารเคมีชนิดที่ม ี
ฤทธิ ์กัดกร่อน หรือซึมผ่านผิวหนังได้
4.5 ถุงมือหนังใช้สาหรับงานทีต่ ้องสัมผัสวัสดุทห่ี ยาบงานทีม่ กี ารขัดผิว การแกะสลัก
หรืองานเชื่อมทีม่ คี วามร้อนต่า
4.6 ถุงมือหนังเสริมใยเหล็ก ใช้สาหรับงานหลอมโลหะหรือถลุงโลหะ
4.7 ถุงมือผ้าหรือเส้นใยทอ ใช้สาหรับงานที่ต้องหยิบจับวัสดุอุปกรณ์เบา ๆ เพื่อ
ป้ องกันมือจากสิง่ สกปรกต่าง ๆ
4.8 ถุงมือผ้าหรือใยทอเคลือบน้ายาใช้สาหรับงานทีต่ ้องสัมผัสสารเคมีโดยทัวไป ่ เช่น
งานหีบห่อ งานบรรจุกระป๋ อง หรือ อุตสาหกรรมอาหาร ฯลฯ
251

ภาพที่ 4.6 อุปกรณ์ป้องกันมือ นิ้วมือ และแขน


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2559.

5. อุปกรณ์ป้องกันเท้าและขา
เป็ นอุปกรณ์ป้องกันเท้าและขาที่สาคัญ และมีความจาเป็ นอย่างยิง่ สาหรับ ผู้ท่ี ต้อง
ทางานในสถานทีท่ อ่ี าจเกิดอันตรายกับเท้า เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อส่วนเท้าทีอ่ าจจะได้รบั
252

อันตรายขณะปฏิบตั ิงาน ได้แก่ รองเท้าตัง้ แต่รองเท้าธรรมดา รองเท้า หุ้มข้อ และรองเท้าที่ท่ี


เสริมด้วยอุปกรณ์ป้องกันต่าง ๆ เรียกว่า รองเท้านิรภัย สาหรับสวมใส่ ในการทางานเพื่อป้ องกัน
อันตราย หรือการบาดเจ็บของเท้าจากการถูกกระแทก ถูกทบหรืองานมีอนั ตรายอื่น ๆ เกี่ยวกับ
เท้า ซึง่ คุณสมบัตขิ องรองเท้านิรภัยนัน้ แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด ตามความสามารถในการรับแรงอัด
และแรงกระแทก ดังแสดงได้ในตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 ชนิดของรองเท้านิรภัยตามความสามารถในการรับแรงอัดและแรงกระแทก


ชนิ ดเบอร์ แรงกระแทก (ปอนด์) แรงอัด (ปอนด์)
75 75 2,500
50 50 875
30 30 100
ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2559.

ชนิดของอุปกรณ์ป้องกันเท้ากับการใช้งาน
1. รองเท้าชนิดหุม้ ข้อ (congress shoes) ใช้สาหรับป้ องกันอันตรายจากการกระเด็น
ของน้าโลหะ หรืองานทีอ่ าจมีอนั ตรายจากการกระเด็นของเศษวัสดุหรือการระเบิดทีไ่ ม่รุนแรงนัก
และ เป็ นฉนวนทีด่ สี าหรับการใช้งานไฟฟ้ า
2. รองเท้าหุ้มแข้ง หรือรองเท้าป้ องกันการจุดประกายไฟ (non sparking shoes)
เป็ นรองเท้าที่อ อกแบบสาหรับป้ องกันอันตรายจากการทางาน ที่มคี วามร้อนจากการถลุ ง
หรือหลอมโลหะ งานเชื่อมต่าง ๆ ซึ่งจะต้องไม่มกี ารเจาะตาไก่ ร้อยเชือก เนื่องจากจะเป็ น
ช่องทางให้โลหะทีห่ ลอมเหลวกระเด็นหรือไหลเข้ารองเท้าได้ และจะต้องสวมใส่สะดวกและถอด
ได้งา่ ยรวดเร็วในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
3. รองเท้าพื้นแข็ง (reinforced shoes) เป็ นโลหะที่ยดื หยุ่นได้ใช้สาหรับงานก่อสร้าง
ป้ องกันการกระแทก การกดทับและของแหลมคมทิม่ ตา หรือไม่ให้โลหะ หรือตะปูตาเท้า แต่ต้อง
มันใจว่
่ าการทางานไม่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้ า
4. รองเท้าพืน้ ไม้เหมาะสาหรับการใช้งานในสถานทีท่ างานทีพ่ ้นื เปี ยกชืน้ ตลอดเวลา
หรือ มีความร้อน เช่น โรงงานผลิตเบียร์ และ งานทีเ่ กีย่ วกับการลาดยางแอสฟั ลท์
5. รองเท้านิรภัยครอบโลหะหลังเท้า (safety shoes with metatarsal) เหมาะสาหรับใช้
กับการทางานทีอ่ าจมีวตั ถุสงิ่ ของน้าหนัก วัสดุหนักหล่นใส่เท้า มากตกใส่ทบั หรือกระแทกเท้าใน
การเคลื่อนย้ายสิง่ ของทีน่ ้าหนักมาก นิยมใช้ในโรงงานถลุงเหล็ก และหล่อโลหะ
6. รองเท้าป้ องกันสารเคมี ทาจากวัสดุท่ที นต่อการกัดกร่อนของสารเคมี เช่น ไวนิล
นีโอพรีน ยางธรรมชาติ หรือยางสังเคราะห์ แบ่งเป็ นชนิดทีม่ หี วั โลหะ และไม่มหี วั โลหะ
253

7.รองเท้าป้ องกันอันตรายจากไฟฟ้ า (electrical hazard shoes) ใช้สวมใส่ในงานที่


เกี่ย วข้อ งกับ กระแสไฟฟ้ า ท าด้ว ยวัต ถุ ท่ีเ ป็ น ฉนวนไฟฟ้ า วัส ดุ ท าจากธรรมชาติ หรือ ยาง
สังเคราะห์
ดัง นั ้น การสวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ องกั น อั น ตรายเท้ า นั ้น จะเป็ นที่ นิ ย มเรี ย กกั น ว่ า
รองเท้า นิ ร ภัย สามารถป้ อ งกัน อัน ตรายที่เ กิด ขึ้น กับ เท้า ในขณะปฏิบ ัติง านที่ม ีค วามเสี่ย ง
เช่น วัตถุหล่นใส่เท้า กระแสไฟฟ้ า ความร้อน สารเคมี พืน้ ทีส่ กปรก เป็ นต้น ซึง่ รองเท้าดังกล่าว
มาข้างต้นมีการออกแบบมาจากวัสดุทใ่ี ช้งานแต่ละการใช้งานเพื่อให้เกิดความเหมาะสมในการ
ใช้งาน และประเภทของการเลือกใช้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานว่าด้วยการป้ องกัน
ส่วนทีเ่ ป็ นเท้าไม่ให้เกิดการบาดเจ็บ สูญเสียส่วนหนึ่งของร่างกายไป ดังภาพที่ 4.7
254

ภาพที่ 4.7 อุปกรณ์ป้องกันเท้าและขา


ทีม่ า: http://www.siamsafetygroup.com, 2559.
255

การดูแลรักษารองเท้าและอุปกรณ์ป้องกันขา
การดูแลรักษารองเท้าและอุปกรณ์ป้องกันขาหลังการใช้งานต้องทาความสะอาดทัง้ ด้าน
นอกด้านในด้วยน้าธรรมดา หรือใช้น้าฆ่าเชือ้ เช็ดให้แห้ง หรือล้างด้วยน้าแล้ววางไว้ให้แห้ง

6. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของระบบหายใจ (Respiratory Protective Devices)


อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของระบบหายใช้สาหรับป้ องกันอันตรายที่เกิดขึน้ กับระบบ
หายใจของผูท้ ท่ี างานในสภาพงานทีม่ ลี กั ษณะการทางานทีม่ มี ลพิษหรือมีอุปสรรค์ ต่อการหายใจ
ซึง่ ผูเ้ กีย่ วข้องหรือผูท้ จ่ี ะตัดสินใจใช้อุปกรณ์ดงั กล่าวจะต้องมีความรู้ มีขอ้ มูลของสภาพแวดล้อม
เพื่อทีจ่ ะเลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้อง หากการตัดสินใจเลือกใช้ เกิดการผิดพลาดหรือไม่มขี อ้ มูล
สาคัญมาก่อน อาจทาให้เกิดอันตรายถึงชีวติ ได้ ดังนัน้ เพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของระบบหายใจ จึงควรจะต้องมีการพิจารณาข้อมูลดังต่อไปนี้
1. ลักษณะของอันตรายทีเ่ กิดขึน้ ว่าเป็ นมลพิษชนิดใดอยูใ่ นรูปแบบใด
2. ความรุนแรงของอันตรายนัน้ จะต้องตัดสินใจว่าจะต้องป้ องกันชนิดไหนก่อน - หลัง
เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของชีวติ
3. ชนิ ดของสารอันตรายว่ าสารนัน้ ๆ ออกฤทธิ ์เป็ นกรด - ด่าง การเข้าสู่ร่างกาย
และอันตรายทีจ่ ะเกิดกับอวัยวะใดก่อนรวมทัง้ ผลกระทบอื่น ๆ
4. ความเข้มข้นของสารอันตรายเพื่อเป็ นข้อมูลในการเลือ กใช้อุปกรณ์ป้องกันเพียงพอ
กับความเข้มข้นของสารอันตราย
5. ระยะเวลาในการป้ องกัน เนื่องจากอุปกรณ์แต่ละชนิดมีอายุในการใช้งาน ดังนัน้ การ
เลือกใช้จงึ ควรจะต้องรูร้ ะยะเวลาของการป้ องกันเพื่อสามารถเลือกใช้อุป กรณ์ได้อย่างถูกต้อง
และมีระยะเวลาเพียงพอกับการป้ องกัน
6. สถานทีบ่ ริเวณและกิจกรรมหรือลักษณะของงาน
ดังนัน้ การตัดสินใจเลือกใช้ อุปกรณ์จะต้องศึกษาข้อมูลดังกล่าวเพื่อเลือกอุปกรณ์ท่ี
เหมาะสมกับสถานที่แ ละกิจกรรม เพื่อ มิให้อุ ป กรณ์เ ป็ นภาระหรือ อุ ปสรรคต่ อ การทางาน
เช่น บางสถานที่ บางกิจกรรมเหมาะที่จะใช้อุปกรณ์ท่เี ป็ นถังอัดอากาศ แต่บางแห่งเหมาะกับ
การใช้อุปกรณ์แบบกรองอากาศ เป็ นต้น
การเลือกใช้อปุ กรณ์ป้องกันอันตรายของระบบหายใจ
การเลือ กใช้ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกัน อัน ตรายของระบบหายใจ นอกจากจะมีข้อ มูล ต่ า ง ๆ
แล้วสิง่ ทีค่ วรจะคานึงถึงคือวิธกี ารใช้ทถ่ี ูกต้องด้วยวิธกี ารศึกษารายละเอียด มีการแนะนา อธิบาย
สาธิต ฝึ กอบรมจากผู้เกี่ยวข้องจนมันใจและสามารถตรวจสอบได้
่ ว่าเหมาะสมกับ สถานที่
และกิจกรรมทีต่ ้องการใช้ซง่ึ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายของระบบหายใจนัน้ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด
256

ตามลักษณะความจาเป็ น เฉพาะการใช้งาน คือ ชนิดเครื่องช่วยหายใจ และชนิดเครื่องกรอง


อากาศ ซึง่ จะใช้แทนกันได้
ในบางกรณี เช่นเครื่อ งกรองอากาศอาจใช้เ ครื่อ งช่ว ยหายใจแทนได้ แต่ เ ครื่อ งช่ว ย
หายใจไม่สามารถใช้เครื่องกรองอากาศแทนได้ และจะต้องสวมใส่ให้พอดีกบั ใบหน้า และศีรษะ
ไม่ให้มกี ารรัวซึ ่ มของอากาศภายนอกเข้าไปได้ ไม่ทาให้ผสู้ วมใส่อดึ อัดเกินไปและจะต้องมีสภาพ
แข็งแรงทนทานเป็ นอย่างดีดว้ ย ซึง่ มีลกั ษณะตามชนิดการใช้งานดังนี้
1. เครื่องช่วยหายใจมีลกั ษณะเป็ นหน้ ากากครอบมิ ดชนิ ดเต็มหน้ า มีช่องกระจกใส
ผนึกแน่ นตรงส่วนตาทีอ่ าจทาด้วยยางหรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี ุณสมบัตใิ กล้เคียงกัน กระชับกับ ใบหน้า
มิให้อากาศจากภายนอกรัวซึ ่ มเข้าได้ มีท่อต่ อส่งจ่ายอากาศเชื่อมติดกับถังจ่า ยอากาศ ซึ่งแบ่ง
ออกเป็ น 2 ชนิด คือ
1.1 ชนิดทีอ่ ากาศหมุนเวียนได้ โดยจะมีลน้ิ เปิ ด - ปิ ดอากาศสาหรับการหายใจ เข้า
และหายใจออก โดยมีท่อต่อกับเครือ่ งจ่ายออกซิเจน เครือ่ งช่วยหายใจชนิดนี้เหมาะ สาหรับกรณี
ทีบ่ ริเวณการทางานนัน้ ไม่มอี ากาศหายใจ หรือไกลเกินกว่าจะใช้ท่อจ่าย อากาศจากทีห่ นึ่งทีใ่ ด
ได้ การใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดนี้ผู้ใช้จะต้องมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง และจะต้อง
ศึกษาเรียนรู้ ฝึกอบรมวิธกี ารใช้เป็ นอย่างดี พร้อมทัง้ มี การศึกษาอบรมเพิม่ เติมทุก 6 เดือน
1.2 ชนิดทีอ่ ากาศหมุนเวียนไม่ได้จะต้องมีลน้ิ เปิ ดระบายอากาศทีใ่ ช้หายใจ แล้วออก
โดยต่อท่อไว้กบั ถังบรรจุอากาศหรือเครื่องจ่ายอากาศ ซึง่ จะต้องมันใจว่ ่ าอากาศทีบ่ รรจุในถังหรือ
เครื่องจ่ายอากาศนัน้ บริสุทธิ ์ ไม่มสี งิ่ ปนเปื้ อนมีแรงกดดันอากาศไม่เกิน 25 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
(Goetsch David L., 2005, p.319) และเพื่อให้เกิดความปลอดภัย สูงสุดควรติดตัง้ เครื่องปรับ
ระดับแรงดันอากาศควบคู่กบั การติด ตัง้ เครื่องกรองอากาศ รวมทัง้ ติดตัง้ สัญญาณเตือน เมื่อมี
คาร์บอนมอนอกไซด์ปะปนเข้าไปในอากาศทีอ่ ดั อยูใ่ นถังด้วย
วิ ธีการใช้อปุ กรณ์ ช่วยหายใจอย่างปลอดภัย
1. ผูใ้ ช้ตอ้ งผ่านการอบรมเทคนิคและวิธใี ช้มาเป็ นอย่างดี ใช้ได้อย่างถูกต้อง
2. อุปกรณ์ต้องมีความสมบูรณ์ไ ม่ชารุดเสียหายเหมาะสมกับผู้สวมใส่โดยต้อ ง
ไม่มสี ารเคมีเป็ นพิษตกค้างติดอยูก่ บั หน้ากาก
3. ต้องศึกษารายละเอียดในการปรับปริมาณออกซิเจนเข้าออกให้เหมาะสม
หรือมิให้ผสู้ วมใส่อดึ อัด
4. มีอุปกรณ์สารองสาหรับการทางานในทีท่ ม่ี อี นั ตรายสูง หรืออัตราเสีย่ งที่อาจ
เกิดกรณีฉุกเฉินอื่น เพื่อให้สามารถแก้ไขช่วยเหลือผูท้ อ่ี ยูใ่ นขณะปฏิบตั งิ านได้ทนั ที
5. ศึกษาระยะเวลาทีต่ อ้ งปฏิบตั งิ านกับขีดจากัดของเวลาในการใช้อุปกรณ์นนั ้
โดยทีม่ ผี มู้ หี น้าทีเ่ ฝ้ าระวังคอยสังเกตสิง่ ผิดปกติตลอดระยะเวลาการทางาน
257

6. ทีมงานผู้ทใ่ี ช้อุปกรณ์ควรจะต้องได้รบั การฝึ กอบรมสาธิตวิธกี ารใช้ วิธกี าร


ซ่อมบารุงดูแลรักษาอย่างถูก ต้องเพื่อยืดอายุการใช้งานของอุ ปกรณ์และเพื่อ ความปลอดภัย
สูงสุดของทุกฝ่ าย
2. เครื่องกรองอากาศ การเลือกใช้ตอ้ งให้ตรงกับการป้ องกันประเภทของสารเคมี หรือ
สารพิษด้วย เนื่องจากอุปกรณ์ป้องกันมักจะมีการออกแบบใช้เฉพาะอย่างกับ สารเคมี หรือ
สารพิษเป็ นส่วนใหญ่ ได้แก่
2.1 เครื่องกรองอากาศชนิดใช้แผ่นกรองที่ทามาจากกระดาษหรือใยทอชนิด อื่นที่
สามารถถอดทาความสะอาดหรือถอดเปลีย่ นแผ่นกรองใหม่ได้ นิยมใช้กบั งานทีม่ ี ฝุ่ นละอองมาก
เช่น โรงงานอุ ต สาหกรรมต่ าง ๆ โรงงานแป้ ง โรงงานซีเ มนต์โรงเลื่อ ยโรงงานถ่ านหิน ฯลฯ
เครื่องป้ องกันชนิดนี้จะไม่สามารถป้ องกันสารพิษ แก๊สพิษ หรือ การทางานในที่ท่ไี ม่มอี ากาศ
หายใจได้
2.2 เครื่องกรองชนิดใช้วสั ดุตวั กรอง ซึ่งประกอบด้วยหน้ากากแบบเต็มหน้า หรือ
แบบครึง่ หน้า ผลิตจากวัสดุทเ่ี ป็ นยางหรือพลาสติกมีเลนส์กระจกตรงส่วนตา มีท่อต่อ ระหว่าง
ภาชนะหรือกระป๋ องบรรจุสารเคมีสาหรับกรองอากาศติดอยู่กบั หน้ากากหรือลาตัว เครื่องกรอง
ชนิดนี้ใช้ได้กบั บริเวณทางานทีอ่ อกซิเจนมากกว่าร้อยละหกสิบหรือมีไอสารพิษ ทีม่ คี วามเข้มข้น
ในอากาศ และใช้ได้ระยะเวลาสัน้ หรือไม่เกิน 8 ชัวโมงดั
่ งตัวอย่าง ความเข้มข้นของไอสารต่างๆ
ในอากาศที่สามารถใช้เครื่องกรองชนิดนี้ได้ คือ ไอของสารอินทรีย์ต่าง ๆ ไม่เกินร้อยละ 0.10
(โดยปริมาตร) ไอของกรดชนิดต่าง ๆ ไม่เกินร้อยละ 0.05 ไอของสิง่ ผสมระหว่างกรดและ
สารอินทรีย์ ไม่เกินร้อยละ 0.05 ไอของแอมโมเนีย ไม่เกินร้อยละ 0.07 ส่วนกรองอากาศเป็ น
หรือกระป๋ องบรรจุสารเคมี ซึ่งเป็ นตัวจับ ตามที่ American National Standard ได้กาหนด
มาตรฐาน (ANSI K 13.1-1973) รหัสสีของตลับกรอง สาหรับกรองก๊าซ และไอระเหยชนิดต่าง ๆ
มีดงั ตารางที่ 4.3
258

ตารางที่ 4.3 ส่วนกรองอากาศสาหรับกรองก๊าซ และไอระเหยตามมาตรฐาน


ชนิ ดของมลพิ ษ สีที่กาหนด
ก๊าซทีเ่ ป็ นกรด ขาว
ไอระเหยอินทรีย์ ดา
ก๊าซแอมโมเนีย เขียว
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซต์ น้าเงิน
ก๊าซทีเ่ ป็ นกรด และไอระเหยอินทรีย์ เหลือง
ก๊าซทีเ่ ป็ นกรด แอมโมเนีย และไอระเหยอินทรีย์ น้าตาล
ก๊าซทีเ่ ป็ นกรด แอมโมเนีย คาร์บอนมอนอกไซต์ ไอระเหยอินทรีย์ แดง
ไอระเหยอื่น ๆ และก๊าซทีไ่ ม่กล่าวไว้ขา้ งต้น เขียวมะกอก
สารกัมมันตรังสี (ยกเว้น ไทรเทียม และโนเบลก๊าซ) ม่วง
ฝุ่ น ฟูม มิสท์ ส้ม
ทีม่ า: วิลาวัณย์ จึงประเสริฐ และ ภวัต เลิศสุธน,2559, หน้า 8-6,8-7.

วิ ธีการใช้เครื่องกรองอากาศอย่างปลอดภัย
1. ต้องตรวจสอบสภาพของเครื่องกรองอากาศทัง้ หน้ากากและแผ่นกรอง ให้อยู่
ในสภาพสมบูรณ์ครบถ้วนสามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย
2. เวลาจะใช้งานต้องตรวจดูและปรับแผ่นกรองต่อกับหน้ากากหรือ กระป๋ อง
ภาชนะบรรจุสารเคมีให้เรียบร้อย และอยูใ่ นตาแหน่งทีไ่ ม่เกะกะในการทางาน
3. ตรวจสอบและทดสอบลิ้นเปิ ด – ปิ ดว่าอากาศผ่ านเข้าออกได้เ ป็ นอย่างดี
หากผิดปกติตอ้ งแก้ไขก่อนนาไปใช้
4. หมันสั
่ งเกตและตรวจสอบขณะทางานหากมีการรัวซึ ่ มของอุปกรณ์ ต้องรีบออก
จากบริเวณทางานทันที
5. หลังการใช้งานต้องมีการทาความสะอาดดูแลบารุงรักษาอย่างถูกวิธ ี ทุกครัง้
ทัง้ แผ่นกรองและวัสดุบรรจุสารเคมี
3. หน้ ากากกรองสารเคมี มีลกั ษณะเป็ นหน้ ากากปิ ดครึง่ ใบหน้ า ผลิตจากพลาสติก
หรือยาง และมีท่กี รองอากาศติดอยู่บริเวณจมู ก ซึ่งภายในบรรจุผงถ่าน เพื่อ ทาหน้ าที่ดูดซับ
ไอของสารหรือก๊าซพิษ ประเภทไอพิษของสารอินทรีย์ เช่น แอลกอฮอล์ เบนซิน ไอน้ า มัน
อะซีโตน คาร์บอนเตตราคลอไรด์ คลอโรฟอร์ม หน้ากากชนิดนี้เหมาะสาหรับใช้ในที่ทม่ี อี ากาศ
พิษความเข้มข้นตาเท่านัน้ และไม่เหมาะสาหรับบริเวณที่มอี อกซิเจนน้ อย บริเวณที่มสี ารพิษ
ชนิดไม่มกี ลิน่ หรือสารพิษชนิดทีท่ าให้เกิดการระคายเคืองตา และมีระยะเวลาใช้ทจ่ี ากัดเช่นกัน
259

4. เครื่องกรองอนุภ าคและไอควันของโลหะ มีล กั ษณะเป็ นหน้ ากากที่ทาจาก


พลาสติก หรือ ยางครอบใบหน้ า บริเ วณจมูก และมีแผ่ นกรองเป็ น ตัว กรองฝุ่ นละอองเอาไว้
ซึง่ จะมีลกั ษณะเฉพาะตามขนาดช่องรูเปิ ดของแผ่นกรอง
5. เครื่ อ งกรองยาฆ่ า แมลง มีล ักษณะเป็ น หน้ ากากคล้า ยกับชนิดกัน ฝุ่ น แต่ ม ี
กระป๋ องหรือภาชนะบรรจุสารเคมีเพื่อดักจับสารพิษให้ได้ทงั ้ หมด ติดอยู่กบั หน้ากากบริเวณจมูก
ส่วนชนิดทีใ่ ช้แผ่นกรองนัน้ จะใช้ได้กบั การป้ องกันยาฆ่าแมลงบางชนิด ทีม่ คี วามเข้มข้นของพิษ
ไม่มากนัก ดังนัน้ การเลือกใช้จงึ ควรต้องพิจารณาให้เหมาะสมหรือใช้ควบคู่กบั เครื่องมือตรวจ
ปริมาณของสารเคมีใ นบรรยากาศเพื่อ ที่จะบอกความเข้มข้น โดยประมาณก็จะเกิดความ
ปลอดภัยสูงสุดได้ยงิ่ ขึน้

หน้ ากากแบบเปลี่ยนตลับกรอง

หน้ ากากชนิ ดใช้แล้วทิ้ ง

ภาพที่ 4.8 ชนิดของหน้ากากครอบป้ องกันส่วนใบหน้า


ทีม่ า: https://vedofelszerelesek.hu/termek/3m-7500-felalarc-3-meretben, 2559.

7. อุปกรณ์ป้องกันพิ เศษที่ใช้งานเฉพาะ
ในการปฏิบตั ิงานใดที่มคี วามเสี่ยงอันอาจเกิดอุบตั ิเหตุหรือความไม่ปลอดภัยจาก
สภาพของการทางานจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีอุปกรณ์อานวยความสะดวกเฉพาะงาน แต่ละ
ชนิดในการป้ องกันอันตรายให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ าน ได้แก่
7.1 อุปกรณ์ป้องกันลาตัวเพื่อใช้ป้องกันของแหลมคมหรือมีแง่คมต่าง ๆ ใช้ในการ
บรรจุหบี ห่ อ กันการกระทบกระแทกที่ไม่รุ นแรงนัก และกันสิ่งของกระเด็นมากระทบบริเ วณ
260

ลาตัวด้านหน้าอุปกรณ์น้ีมลี กั ษณะเป็ นแผ่นคาดลาตัวด้านหน้าเต็มตัวซึง่ อาจทามาจากแผ่นหนัง


หรือใยทอชนิดมีความเหนียว ยางสังเคราะห์หรือพลาสติก การเลือกใช้ตอ้ งพิจารณาให้เหมาะสม
กับลักษณะของงาน เช่น งานทีม่ คี วามร้อนควรต้องใช้วสั ดุทท่ี น ความร้อนด้วย การทางานทีใ่ กล้
กับเครือ่ งจักรทีม่ ใี บพัดเคลื่อนไหว ก็ควรใส่แผ่นคาดให้ กระชับและไม่มสี ายห้อยรุงรัง เพราะอาจ
ติดพันกับเครือ่ งจักรทาให้เกิดอุบตั เิ หตุและความ เสียหายได้
7.2 ชุดป้ องกันทีท่ าจากหนัง ใช้สาหรับ สวมใส่ป้องกันร่างกายจากการทางานทีม่ กี าร
แผ่ความร้อนจากการหลอมเหลวโลหะ ป้ องกันการได้รบั รังสีอนิ ฟาเรด อัล ตราไวโอเลต และ
ป้ อ งกัน แรงกระแทกที่ไ ม่ ม ากนั ก โดยชุ ด ป้ อ งกนั น้ จะต้ อ งผลิต จากหนั ง ที่ม ีคุ ณ ภาพ และมี
คุณสมบัตดิ เี ท่านัน้
7.3 ชุดป้ องกันทีท่ าจากแอสเบสตอส ใช้สาหรับงานทีม่ คี วามร้อนสูง ซึง่ อาจมีลกั ษณะ
เป็ นผ้าคาดลาตัว ผ้ากันเปื้ อน วัสดุพนั หน้าแข้งหรือสนับแข้ง
7.4 ชุดป้ องกันทีท่ าจากอลูมเิ นียมใช้ป้องกันความร้อนสูงสาหรับผูท้ ท่ี างานในที่มกี าร
หลอมเหลวโลหะที่อุณหภูมปิ ระมาณ 2,000 องศาฟาเรนไฮด์ โดยจะสะท้อนรังสีความร้อน
โดยเฉพาะนักผจญเพลิงซึง่ จะประกอบด้วยเสื้อคลุม กางเกง ถุงมือ รองเท้า หุม้ ข้อ และทีค่ รอบ
ศีรษะ
7.5 อุปกรณ์ช่วยชีวติ ในการทางาน เพื่อช่วยป้ องกันอันตรายจากการทางาน ในทีส่ ูง
หรือต้องลงไปใต้พน้ื มาก ๆ เช่น การขุดเจาะบ่อลึกมาก ๆ ในถังขนาดใหญ่ หรือในทีท่ ม่ี กี ารถล่ม
ทับ เป็ นต้น อุปกรณ์ช่วยชีวติ ในการทางานแบ่งออกตามลักษณะการใช้งานประกอบด้วย
7.5.1 เข็มขัดนิรภัย แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ชนิดทีใ่ ช้งานโดยทัวไป ่ สาหรับ
รับน้าหนักของตัวผูใ้ ช้ขณะทางานกับชนิดทีใ่ ช้ป้องกัน การตกจากที่สูง หรือการทางานทีต่ ้องลง
ไปในทีต่ ่าซึง่ จะต้องสามารถรับน้ าหนักเพิม่ ขึน้ หลายเท่าตัวจากแรงกระตุก หากเกิดอุบตั เิ หตุขน้ึ
วัสดุทใ่ี ช้ได้แก่หนังชนิดดีทม่ี ขี นาดหนารับน้ าหนักได้ 135 - 225 กิโลกรัม ความกว้างของหนัง
ประมาณ 43 มิลลิเมตร ความยาวขึน้ อยู่กบั สภาพของการใช้งาน นอกจากนัน้ วัสดุทใ่ี ช้อาจเป็ น
ผ้าขนาดเดียวกัน หรือผ้าทอทีน่ ามาถักไขว้กนั หรือใยสังเคราะห์จะเพิม่ ความแข็งแรงได้มากขึน้
และรับน้าหนักได้ดกี ว่าหนัง
7.5.2 เชือกนิรภัย ซึง่ มีทงั ้ ชนิดมีตะขอทัง้ สองปลายและตะขอทีป่ ลายข้างเดียว
ทีล่ อ็ คติดกับสายทีส่ ามารถปรับเลื่อนได้โดยทามาจากป่ านมะนิลาใยสังเคราะห์ไนล่อน และหนัง
การเลือกใช้ควรเลือกตามขนาดน้ าหนักของความปลอดภัย เช่น เชือ กป่ านมะนิลา ขนาด ¾ นิ้ว
จะสามารถรับน้ าหนักได้ 260 กิโลกรัม หรือเชือกไนล่อน ขนาด ½ นิ้ว จะสามารถรับน้ าหนักที่
ปลอดภัยได้ 540 กิโลกรัม (Goetsch David L., 2005, p.429)
7.5.3 สายรัดลาตัวเป็ นอุปกรณ์ช่วยป้ องกันอันตรายจากการทางาน ในทีส่ งู จะ
แตกต่างจากเข็มขัดนิรภัย คือ จะมีสายรัดลาตัวคาดตัง้ แต่หวั ไหล่ หน้าอก เอว และขา เกี่ยวติด
กับสายช่วยชีวติ เพิม่ ความปลอดภัยได้มากกว่า เนื่องจากจะเฉลีย่ แรงกระตุก หรือกระชากไปที่
261

ลาตัวด้วย และมักทาจากวัสดุท่มี คี วามอ่อนนุ่ ม เพื่อช่วยลดแรงกระแทกของลาตัวอีกชัน้ หนึ่ ง


ด้วย
7.5.4 กระเช้าชิงช้า เป็ นอุปกรณ์ป้องกันอันตรายสาหรับผูท้ ท่ี างานทีส่ ูงนอกตัว
อาคารที่ใช้สาหรับนัง่ หรือ ยืนบนกระเช้าที่ผูกโยงไว้ด้วยเชือ กหรือลวดสลิงดึงขึ้นลงตามผนัง
กาแพงในแนวดิง่ โดยมีเข็มขัดรัดเอว หรืออกของผู้ปฏิบตั งิ านไว้ด้วยเพื่อป้ องกันการพลัดตก
จากกระเช้า
7.5.5 สายช่ว ยชีว ิต คือ สายเชือ กหรือ วัส ดุ ท่ใี ช้แ ทนได้ ผูกยึดติดกับตัว
ผูป้ ฏิบตั งิ าน ซึ่งปลายข้างหนึ่งจะยึดติดกับโครงสร้างที่มนคง
ั ่ เพื่อป้ องกัน การพลัดตกจากที่สูง
หรือพืน้ ต่างระดับกันมากระทบพืน้ ได้ การใช้งานต้องใช้ควบคู่กบั เข็มขัดนิรภัยและสายรัดลาตัว
วัสดุท่ใี ช้ ได้แก่ เชือกมะนิลา เชือกไนล่อน หรือลวดสลิง ซึ่งโดยปกติจะไม่ค่อยใช้เนื่องจากมี
ความยืดหยุน่ น้อย และจะเป็ นอันตรายหากบริเวณทีท่ างานนัน้ มีกระแสไฟฟ้ า
262

ภาพที่ 4.9 อุปกรณ์ป้องกันพิเศษทีใ่ ช้งานเฉพาะ


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2559
263

การเลื อ กและใช้ อุปกรณ์ ป้อ งกันอันตรายส่ วนบุค คล ให้ เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพนั ้น
ผูร้ บั ผิดชอบควรยึดหลัก ดังนี้
การเลือกและใช้อปุ กรณ์ ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลให้ เกิ ดประสิ ทธิ ภาพ
1. รูจ้ กั และเข้าใจในการใช้ให้แน่นอนเสียก่อน ผูป้ ฏิบตั งิ านจะใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย
ส่วนบุคคลแต่ละชนิดของการป้ องกันจะต้องมีความเข้าใจ และความรูก้ ่อนใช้งานเสมอ โดยการ
ฝึกอบรมการใช้จากผูท้ ่มี คี วามรูห้ รือหัวหน้างานทีไ่ ด้รบั การฝึกอบรมมาก่อน เพื่อให้การใช้งาน
เกิดประสิทธิภาพ และสามารถใช้งานได้ดชี ่วยป้ องกันอันตราย การบาดเจ็บจากการปฏิบตั งิ าน
2. โน้มน้าวให้ผปู้ ฏิบตั งิ านเห็นถึงประโยชน์จากการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วน
บุคคลแต่ละประเภทของการใช้ป้องกัน จะส่งผลดีให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน หัวหน้า
งานผู้ควบคุมการทางานต้องมีวธิ กี ารโน้มน้าว หรือชักนาให้ผู้ปฏิบตั งิ านที่เกี่ยวกับความเสี่ยง
ในการทางานให้ส วมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกัน อัน ตรายส่ ว นบุ ค คลเพื่อ ให้เ กิด การลดการบาดเจ็บ
เจ็บป่ วยอันเกิดจากการทางาน นับได้ว่าเป็ นดูแลเอาใจใส่กบั ผู้ปฏิบตั งิ านอีกทางหนึ่งซึ่งเป็ น
หน้าทีแ่ ละบทบาทของหัวหน้างาน
3. รูว้ ธิ เี ก็บและดูแลบารุงรักษาอยู่เสมอ การทาให้อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วน
บุคคลของผูป้ ฏิบตั งิ านจะมีอายุการใช้งานได้นานและเกิดประสิทธิภาพคุม้ ค่าต้องมีความรูใ้ นการ
วิธกี ารเก็บรักษาและดูแลบารุงรักษาอย่างใส่ใจ สม่าเสมอและถูกวิธ ี เช่น การทาความสะอาดที่
ถูกวิธ ี การเก็บไว้ในทีท่ เ่ี หมาะสม เป็ นต้น เพื่อเป็ นลดต้นทุนในการจัดซือ้ หากชารุดบ่อยหรือพัง
ก่อนระยะเวลาการใช้งาน
4. จัดแผนการใช้เ พื่อ ให้เ คยชิน มีก ารจัดกิจกรรมการฝึ กอบรม หรือ จูงใจให้เ กิด
ความคุน้ เคยกับการใช้อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล โดยให้มหี วั หน้างานคอยกากับ
ตรวจสอบในสถานทีห่ รือบริเวณพนักงานปฏิบตั งิ านอย่างเคร่งครัด และสม่าเสมออย่างต่อเนื่อง
5. มีระเบียบ ข้อบังคับให้ผปู้ ฏิบตั งิ านใช้ ควรจัดกิจกรรมการรณรงค์ในเรือ่ งการสวมใส่
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลโดยให้มกี ารใช้กฎ ระเบียบข้อบังคับในการสวมใส่อุปกรณ์
ป้ องกันอันตราย หากผู้ปฏิบตั ิงานมีการฝ่ าฝื นหรือละเมิด ก็มมี าตรการลงโทษ หรือตักเตือ น
และสร้างความตระหนักถึงอันตรายจากการทางานทีไ่ ม่มกี ารสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล

หลักในการเลือกอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพ


1. ความเหมาะสมกับลักษณะงานทีเ่ ป็ นอันตราย อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วน
บุค คลทุก ชนิดมีล กั ษณะการใช้งานที่เ ป็ น ไปตามลัก ษณะของการใช้กับงานที่มลี ักษณะการ
ป้ อ งกันอวัยวะส่ วนต่ าง ๆ ของร่างกายเพื่อ ให้ส่ วนนัน้ มีค วามปลอดภัยหรือ ลดอันตรายจาก
การเกิดอุบตั เิ หตุ
264

2. สวมใส่ สะดวก สบาย เบา คล่องตัว อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลแต่ละ


ชนิดหรือแต่ละประเภทจะต้องมีไม่ทาให้การสวมใส่เกิดความยุ่งยากกีดขวางการทางาน ควรมี
ลักษณะที่สวมใส่แล้วเกิดความสบาย ไม่เกิดความราคาญ หนักจนเกินไป หลวม และทาให้เกิด
ความกังวลในขณะสวมใส่ ดังนัน้ ควรต้องสวมใส่ ทพ่ี อดีกบั อวัยวะ ทีต่ ้องการสวมใส่หรือป้ องกัน
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ดี
3 .ประสิทธิภาพป้ องกันอันตรายสูง อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลทุก
ประเภททีใ่ ช้สวมใส่คุม้ ครองป้ องกันอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายต้องสามารถช่วยให้เกิดความ
ปลอดภัยในการป้ องกันสูง คือให้ได้ลดการบาดเจ็บ หรือเจ็บป่ วยจากการทางานให้ได้มากทีส่ ุด
4. วิธกี ารไม่ยุ่งยาก เข้าใจง่าย อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลทุกประเภท
ต้องเป็ นภาษาทีอ่ ่านง่าย และขัน้ ตอนการใช้ทง่ี า่ ยต่อผูป้ ฏิบตั งิ านเข้าใจได้ทุกคน
5. ลักษณะเด่นเห็นได้ชดั สีสนั สะดุดตา แต่ละลักษณะของประเภทของอุปกรณ์สวมใส่
ป้ องกันอันตรายต้องใช่สสี นั ทีแตกต่างและโดดเด่นเห็นได้ชดั เจน
6. เก็บรักษาง่าย แก้ไขง่าย ทนทาน ต้องสามารถเก็บรักษาได้งา่ ยเมือ่ มีปัญหาก็สามารถ
แก้ไ ขได้ง่า ย ทัง้ นี้ ต้อ งมีค วามคงทน และทนทานต่ อ การใช้ง าน เช่ น กัน กระแทก โดนน้ า
หรือสารเคมีต่าง ๆ
7. อะไหล่หาซือ้ ได้งา่ ย เมือ่ อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลมีการชารุด จาเป็ น
ต้องการซ่อมเพื่อให้ใช้งานได้ดเี ต็มประสิทธิภาพอย่างเดิม หรืออะไหล่ ชิน้ ส่วนของอุปกรณ์ต้อง
หาซือ้ ได้งา่ ยเร็วกับความต้องการทีจ่ ะนาไปใช้ให้เร็วทีส่ ุด ควรมีในท้องถิน่ หรือมีขายตามร้านต่าง
ๆ หรือท้องตลาดโดยไม่มจี ากัด

การเสริ มสร้างสุขภาพและความปลอดภัยในการทางาน
การสร้ า งเสริม สุ ข ภาพเป็ นกระบวนการที่ เ อื้ อ อ านวยให้ บุ ค ลากรผู้ ป ฏิ บ ัติ ง าน
ตระหนักถึงการมีสุขภาพทีด่ ี มีความรูแ้ ละศักยภาพในการควบคุมและปรับปรุงสุขภาพอนามัย
และความปลอดภัยให้กบั ตนเองทีเ่ ข้าถึงสภาวะทีส่ มบูรณ์ทงั ้ กาย จิตและสังคมอย่างมีความสุข
บุคคลหรือกลุ่มบุคคลต้องสามารถระบุถงึ สิง่ ทีต่ อ้ งการในการดูแลสุขภาพอนามัย และบรรลุในสิง่
ที่ต้ อ งการได้ร วมถึง สามารถปรับ ตัว เข้า กับ สิ่ง แวดล้อ มหรือ สภาพแวดล้อ มในการท างาน
หรือ สามารถปรับ ตัว ให้เ ข้า กับ สิ่ง แวดล้อ มที่เ ปลี่ย นไปได้สุ ข ภาพจึงมิใ ช่ เ ป้ า หมายแห่ ง การ
ดารงชีวติ อยู่อกี ต่อไป หากแต่เป็ นแหล่งประโยชน์ ของทุกวันทีท่ าให้บุคคลสามารถดาเนินชีวติ
ไปด้ว ยความมีสุ ขภาพที่ดี สุ ขภาพเป็ นแนวคิดด้านบวกที่มุ่ง เน้ นแหล่ ง ประโยชน์ ท างสังคม
และแหล่งประโยชน์ส่วนบุคคล รวมถึงศักยภาพทางกายของบุคคล ดังนัน้ การสร้างเสริมสุขภาพ
จึงไม่เ ป็ นเพียงความรับ ผิดชอบของผู้บริห ารระดับสูง ที่ไ ด้ก าหนดแนวนโยบายให้ทุกระดับ
ในองค์การได้ปฏิบตั ใิ ห้เกิดสุขภาพอนามัยที่ดใี นการทางานเท่านัน้ แต่หากต้องเป็ นหน้าที่ของ
265

บุค ลากรผู้ปฏิบตั ิงานด้วยที่จะต้องให้ค วามเอาใจใส่ ดูแลสุขภาพในการทางานของตนเองใน


รูปแบบ กิจกรรม หรือการดาเนินชีวติ ที่ส่งผลดีต่อสุขภาพซึ่งจะนาไปสู่การมีสุขภาวะจิต กาย
และสังคมในทีส่ ุด รวมทัง้ หน่ วยงานภาครัฐทีเ่ ป็ นผูก้ ากับแนวนโยบาย ดูแ ล กากับให้เป็ นไปตาม
ข้อบังคับของกฎหมาย และให้ความช่วยเหลือสนับสนุ นด้านงบประมาณในการจัดหาบริการ
และอานวยการให้เป็ นไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ให้บรรลุตามแผนงาน
ของชาติต่อไป
การสร้างเสริมสุ ขภาพ หมายถึง กระบวนการปฏิบตั ิเ พื่อให้เ กิดสุขภาพกายแข็งแรง
เจริญเติบโตปราศจากโรคภัยไข้เ จ็บ และสามารถดารงชีว ิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุ ข การ
ส่งเสริมสุขภาพหรือการสร้างเสริมสุขภาพเป็ นกระบวนการทีม่ ลี กั ษณะ ดังนี้
1. เน้ น จัดกิจ กรรมหลายลัก ษณะที่มุ่ง สร้า งเสริมสมรรถนะของการสร้า งสุ ข ภาพให้
สมบูรณ์แข็งแรง ควบคุมปั จจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง และเป็ นกระบวนการที่มุ่งดาเนินการให้
ผูป้ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบการมีสุขภาพทีส่ มบูรณ์ทงั ้ กาย ใจ และสังคม รวมทัง้ ให้สามารถที่
จะเกษียณออกจากงานไปอยูใ่ นสังคมอย่างมีความสุข
2. เน้ นกระบวนการส่งเสริมให้ผู้ปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการเพิม่ สมรรถนะในการ
ควบคุมดูแลและพัฒนาสุขภาพของตนเอง ซึ่งกระบวนการในการส่งเสริมสุขภาพต้องให้เป็ น
กิจกรรมทีส่ ามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างเหมาะสมกับลักษณะของบุคคล ความพร้อม เวลา และสถานที่
ในการจัดดาเนินการตามกระบวนการกิจกรรมนัน้ ๆ
3. เน้นการตรวจติดตามและประเมินผล โดยส่วนใหญ่การติดตามประเมินผลนี้ ต้องมี
การดาเนินการกิจกรรมเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยไปแล้วสักระยะ เช่น 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี
ก็ได้ หลังจากนัน้ จึงต้องมีการตรวจติดตาม ประเมินผลถึงความเป็ นไปได้ตามทีแ่ ผนกาหนดไว้
อย่างไร หากพบจุดบกพร่อง หรือจุดอ่อนในการดาเนินงาน จะต้องนามาปรับปรุงแก้ไขต่อไป
ดัง นัน้ การส่ ง เสริม สุ ข ภาพอนามัย และความปลอดภัย ในการท างานจะให้ม ีผ ลส าเร็จ ได้ดี
ย่อมต้องมีคณะกรรมการในการติดตามประเมินประเมินผลเพื่อให้มกี ารตรวจตรวจสอบถึงผล
การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ว่าเป็ นไปตามทีก่ าหนดไว้ และคณะกรรมการจะต้องมีการรายงานไป
ยังผูบ้ ริหารระดับสูงขององค์การต่อไปเพื่อให้รบั ทราบและหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขต่อไป

ประเด็น ส าคัญ ของการสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพอนามัย และความปลอดภัย ในการ


ทางาน
การสร้างเสริมสุขภาพสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางานของบุคลากร
ในองค์ก ารจะช่วยยกระดับสุขภาพอนามัยให้เป็ นผู้ท่มี รี ่างกายที่ส มบูรณ์ แข็งแรงทัง้ ร่างกาย
จิตใจ และ สังคมได้ หากกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพมุ่งที่ปัจจัยที่มอี ิทธิพลต่อสุขภาพอนามัย
ในการท างานที่ ส่ ง ผลให้ ม ีก ารเพิ่ ม ผลผลิ ต หรือ ประสิ ท ธิ ภ าพในการท างานส่ ง ผลต่ อ
สภาพแวดล้อ มในการท างานให้เ กิด ความสุ ข ในการท างาน เพื่อ นร่ว มงาน ผู้บ ัง คับ บัญ ชา
266

ลูกค้า ครอบครัว และเศรษฐกิจ รวมทัง้ มีลกั ษณะบูรณาการ และดาเนินการในหลายระดับ


ด้ว ยหลัก การพื้น ฐานนี้ ท าให้เ ราสามารถระบุ ป ระเด็น ส าคัญ ของการสร้า งเสริม สุ ข ภาพได้
ไม่จากัด ยกตัวอย่างเช่น การดาเนินการกับนโยบายด้านการป้ องกันและรักษาสุขภาพอนามัย
เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากการทางาน การป้ องกันอุบตั เิ หตุในการทางาน การดูแลสภาพร่างกาย
อารมณ์ ทัก ษะการปรับ ตัว ในการท างานและปรับ ตัว ในสัง คม การดู แ ลสุ ข ภาพด้ านการ
รับประทานอาหารอย่างถู กสุ ข ลักษณะ ไม่ด่มื สุ ราของมึนเมา การไม่สูบบุหรี่ และการสร้าง
เครือข่ายทางสังคม เป็ นต้น ดังนัน้ ผู้บริหารขององค์การหรือหน่ วยงานจึงจาเป็ นต้องมีความ
เข้าใจในประเด็นสาคัญในการเสริมสร้างสุข ภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางานให้กบั
บุคลากรผู้ปฏิบตั งิ านในองค์การ ด้วยการกาหนดกรอบของประเด็นสาคัญของการสร้างเสริม
สุขภาพ ดังนี้
1. การสร้างเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน ต้องให้จดั ดาเนินให้
มีการเข้าถึงสุขภาพ เพื่อให้พนักงานทุกคนได้รบั บริการในการจัดบริการสุขภาพอนามัยตัง้ แต่
การกาหนดนโยบายด้านสุขภาพ อาชีวอนามัย ถึงแม้ว่ากฎหมายกาหนดให้นายจ้างต้อ งจัด
ดาเนินการด้านสุขภาพให้กบั พนักงานก็ตาม ผู้บริหารจะต้องมีความเข้าใจและเจตนารมณ์ต่อ
การดาเนินการเกีย่ วกับสุขภาพอนามัยของพนักงาน ในทุกกิจกรรมทีม่ กี ารกาหนดไว้ในแผนงาน
รวมถึงการปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริการสุขภาพ เพื่อให้ทวถึ ั ่ งทุกระดับ ทุกฝ่ าย และทุกคน
ให้ได้มสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ให้เกิดสุขภาพอนามัยทีด่ ี และเพื่อเพิม่
โอกาสในการพัฒนาสุขภาพ ในระดับนโยบายขององค์กร
2. การปรับ ปรุง สุ ข ภาพจะส าเร็จ หรือ ไม่ข้นึ อยู่กับ การพัฒ นาสภาพแวดล้ อ ม
หรือสิ ง่ แวดล้อมที ม่ ีเอื้ อต่ อสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สิง่ แวดล้อมในการทางาน เนื่องจาก
สภาพแวดล้อ มในการทางาน หรือ สิ่ง แวดล้อ มเป็ น ปั จ จัยที่เ ป็ น พลวัต ร มีก ารเปลี่ย นแปลง
ตลอดเวลา เนื่องจากการผลิตสินค้าและบริการย่อมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ดังนัน้ เครื่องมือ
เครื่อ งจัก รที่ใ ช้ ใ นการท างานย่ อ มมีก ารเปลี่ย นอยู่ ต ลอดเวลาให้ ส ามารถ ใช้ ง านได้ ต าม
ความต้องการของลูกค้า จึงต้องทาให้มกี ารพัฒนาสภาพแวดล้อมในการทางานให้เป็ นไปตาม
การเปลีย่ นแปลงดังกล่าว การสร้างเสริมสุขภาพจึงต้องอาศัย การติดตามและประเมิน สภาวะ
และแนวโน้มทางเทคโนโลยีวฒ ั นธรรม และเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง
3. การสร้างเสริมสุขภาพเกี่ยวข้องสัมพันธ์กบั การสร้างความร่วมมือทัง้ ภายในและ
ภายนอกเพื อ่ ให้ เกิ ด การสร้ างความเข้ มแข็ง ในการเสริมสร้างสุ ขภาพอนามัยและความ
ปลอดภัยในการทางาน การดาเนินการในประเด็นนี้มพี น้ื ฐานมาจากความเข้าใจถึง ความสาคัญ
ของแรงผลักดันให้บุ คลากรในองค์การสามารถร่วมแรงร่ว มใจในการดาเนินการตามแผนงาน
เกี่ยวกับการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยให้เกิดความยังยื ่ นได้ เนื่องจากการ
สร้างความร่วมมือให้ทุก คนเข้ามามีส่ วนร่วมจะทาให้เกิดความรักสามัคคี และเข้มแข็งทาให้
แม้ว่ า สมาชิก คนใดพ้ น สภาพไปแล้ ว แต่ ก็ ส ามารถด าเนิ น การได้ ต ลอดไป และท าให้ เ กิ ด
267

สัมพันธภาพในหมู่สมาชิกในฐานะของปั จจัยกาหนดคุณค่า และพฤติกรรมทีส่ มั พันธ์กบั สุขภาพ


รวมถึงมองแรงผลัก ดันและสัมพันธภาพในฐานะที่เ ป็ นส่ ว นหนึ่งของสมาชิก และที่สาคัญ
ก่อให้เกิดประโยชน์สาคัญของสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
4. รูปแบบการดาเนินชีวติ หรือวิถชี วี ติ ในสังคมเป็ นศูนย์กลางของการสร้างเสริมสุขภาพ
เนื่องจากรูปแบบการดาเนินชีวติ เป็ นตัวกาหนดรูปแบบพฤติกรรมส่วนบุคคลทีอ่ าจเกิดประโยชน์
หรือเกิดโทษต่อสุขภาพได้การส่งเสริมรูปแบบการดาเนินชีวติ ทีส่ นับสนุ นสุขภาพ ต้องพิจารณา
ถึงวิธ ีปรับตัวของ การจัดการชีวติ ความเชื่อ และคุณค่าต่อสุขภาพของแต่ ละบุค คล ปั จจัยที่
กล่าวมานี้เกิดจากประสบการณ์ชวชี ั ่ วติ และสิง่ แวดล้อมของแต่ละบุคคล การส่งเสริ มพฤติ กรรม
ที ส่ ่ งผลดี ต่อสุขภาพและการส่ งเสริ มการปรับตัวที เ่ หมาะสมเป็ นเป้ าหมายที ส่ าคัญของ
การสร้างเสริ มสุขภาพอนามัยทีด่ ีในการทางาน
5. ข้อมูลข่าวสารและการศึกษาเป็ นพืน้ ฐานสาคัญของการเลือกอย่างมีวจิ ารญาณ ปั จจัย
ทัง้ สองเป็ นสิง่ จาเป็ นและเป็ นองค์ประกอบหลักของการสร้างเสริมสุขภาพ เพราะการสร้างเสริม
สุขภาพมีเป้ าหมายที่การเพิ ม่ พูนความรู้และการแพร่กระจายข้ อมูลข่ าวสารที เ่ กี ย่ วข้ อ ง
กับสุขภาพ ประเด็นนี้มคี วามสัมพันธ์กบั การรับรูแ้ ละประสบการณ์ของสาธารณะทีม่ ตี ่อสุขภาพ
และความสามารถในการเข้ า ถึ ง สุ ข ภาวะ ร วมถึ ง ความรู้ ท างระบาดวิ ท ยา ทางสัง คม
และศาสตร์แขนง อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบของสุขภาพและโรค และปั จจัยที่มอี ิทธิพลต่อ
สุขภาพและการเกิดโรค รวมถึงการให้ความหมายของ “สิ่งแวดล้อมในภาพรวม” ซึ่งเป็ น
ตัวกาหนดรูปแบบของ สุขภาพและทางเลือกของสุขภาพ การสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยี
ใหม่ๆ เกีย่ วกับข้อมูลข่าวสาร ก็นบั ว่าเป็ นปั จจัยทีม่ คี วามสาคัญเช่นเดียวกัน

สรุป
สุขภาพอนามัยเป็ นเรื่อ งสาคัญต่อผู้ป ฏิบตั ิงานมากซึ่งการที่มสี ุขภาพอนามัยที่ดยี ่อ ม
ส่งผลทาให้การดารงชีวติ ในสังคมเป็ นบุค คลที่มคี ุ ณภาพต่ อ ประเทศชาติ ทาให้ประเทศชาติ
ลดงบประมาณค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลอันเกิดจากการเจ็บป่ วยทัง้ กาย จิตใจ และสังคม
รวมทัง้ ด้านเศรษฐกิจ ยังส่งผลถึงผูท้ ป่ี ระกอบกิจการทีต่ ้องใช้กาลังแรงงานซึ่งเป็ นกาลังแรงงาน
ของประเทศ การเป็ นผูท้ ม่ี สี ุขภาพอนามัยทีด่ ี หมายถึงลักษณะของสุขภาพทีส่ มบูรณ์ทงั ้ ร่างกาย
จิตใจ สังคม และศีลธรรมในการดารงดีงาน และเข้มแข็งอย่างมีความสุข สุขภาพอนามัยทีด่ จี งึ มี
ความสาคัญต่อบุคคลในการประกอบอาชีพการงาน เมื่อมีสุขภาพอนามัยที่ดกี ็ย่อมทาให้ผลิต
เพิม่ ขึน้ ไม่เจ็บป่ วยใดก็ทาให้การผลิตมีต้นทุนทีล่ ดลง ทาให้องค์การมีกาไรสูงขึน้ ทาให้องค์ การ
มีการสงวนรักษาทรัพยากรมนุษย์ทม่ี คี วามรูท้ กั ษะ ความสามารถและสุขภาพทีด่ ไี ว้ได้เป็ นปั จจัย
จูงใจขององค์ก ารด้วย การที่ทาให้บุค ลากรในองค์การมีสุ ขภาพที่ดีอ งค์การต้อ งมีระบบการ
คุม้ ครองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางานให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ าน โดยจัดทาระบบการ
268

ป้ อง ระบบการคุม้ ครอง ระบบการส่งเสริม และระบบการมีส่วนร่วม ซึ่งจะต้องมีการดาเนินงาน


ด้านสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ซึง่ ประกอบด้วยลักษณะสาคัญ ดังนี้ ความตระหนักถึง
อันตราย การประเมินสภาพของอันตราย และการควบคุมอันตราย
ดังนัน้ องค์การจะเกิดความสาเร็จในด้านสุขภาพอนามัย ที่และความปลอดภัยในการ
ทางานต้องมีการป้ องกันและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ การป้ องกันและควบคุมอุบตั เิ หตุ
จากการประกอบอาชีพ และการป้ องกันและควบคุมมลพิษในสิง่ แวดล้อม ในปั จจุบนั การเกิด
โรคจากการทางานมีปัจจัยทีท่ าให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ ได้แก่ เพศอายุ สภาวะสุขภาพ
ระยะเวลาในการทางานในแต่ละวัน ระยะเวลาที่ผู้ประกอบอาชีพได้ปฏิบตั ิงาน ความรู้ความ
เข้าใจ และพฤติกรรมในการทางานของบุคคล ปั จจัยเกี่ยวข้องกับต้นเหตุของโรค และปั จจัยที่
เกี่ยวกับสิง่ แวดล้อมทัวไป่ และโรคที่เกิดจากการทางานมีสาเหตุมจี าก โรคหรือความผิดปกติ
จากการทางาน และโรคเนื่องจากงาน หรือการบาดเจ็บจากการทางาน รัฐบาลจึงมีประกาศให้ม ี
การก ากับ ดูแลคุ้มครองผู้ประกอบการโดยมีก ารให้ดาเนิน งานและมีห น่ ว ยงานที่รบั ผิดชอบ
เพื่อให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน ได้แก่ การวินิจฉัยโรคจากการทางาน จัดให้มแี พทย์และพยาบาล
ในสถานประกอบการ กฎหมายเกี่ยวกับคณะกรรมการ ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการ
สังคมให้มกี ารส่งเสริมกากับ ดูแล และมีการควบคุมให้สถานประกอบการมีการดาเนินการอย่าง
ถูก ต้อ งเพื่อ ให้ลูก จ้างได้รบั ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดี นายจ้างจึงมีห น้ าที่ใ นการ
หาแนวทางในการป้ องกันอันตรายและการป้ องกันอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทางาน
ซึ่ง สามารถแบ่ ง ออกได้ ดัง นี้ อัน ตรายทางด้ า นกายภาพ อั น ตรายจากสภาพทางเคมี
อัน ตรายจากสภาพแวดล้อ มทางชีว ภาพ อัน ตรายจากสภาพแวดล้อ มทางจิต วิท ยาสัง คม
และอันตรายด้านการยศาสตร์
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเป็ นอุ ปกรณ์ท่ชี ่วยให้ผู้ปฏิบตั งิ านได้มกี ารป้ องกัน
หรือปกป้ องตนเองในการทางานที่มคี วามเสี่ยงอันตรายจากการปฏิบตั งิ านในหน้าที่ต่าง ๆ ได้
เช่น โรคทีม่ คี วามเสีย่ งในการทางานต้องมีอุปกรณ์สวมใส่ป้องกัน ได้แก่ ศีรษะ แว่นตา ใบหน้า
หู เป็ นต้น และอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลทีค่ ุ้มครองป้ องกันไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุในการทางานเพื่อ
ลดการบาดเจ็บ หรืออันตรายอันเกิดจากการทางานทีม่ คี วามผิดพลาด เช่น เครื่องจักร อุปกรณ์
ในการทางาน ได้แก่ ถุงมือ รองเท้านิรภัย หมวกนิรนัย สายรัดนิรภัย เป็ นต้น องค์การจึงมีความ
จาเป็ นต้องมีการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน โดยให้ผปู้ ฏิบตั งิ าน
หรือ ลู ก จ้า งมีก ารเข้า ถึง สุ ข ภาพได้ห ลายช่ อ งทางด้ ว ยการจัด บริก ารด้า นสุ ข ภาพอนามัย
การพัฒนาสภาพแวดล้อมหรือสิง่ แวดล้อมในการเอือ้ ต่อสุขภาพ การสร้างความร่วมมือทัง้ ภายใน
และภายนอกเพื่อให้เกิดการสร้างความเข้มแข็ง และการเพิม่ พูนความรู้และการแพร่กระจาย
ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยเพื่อให้ พนักงานหรือลูกจ้างเป็ นผู้มสี ุขภาพอนามัยที่ดี
และมีความปลอดภัยสามารถปฏิบตั งิ านอยูก่ บั องค์การได้นาน
269

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องสมบูรณ์ที่สดุ
1. ให้อธิบายความหมายของคาว่า “สุขภาพ” พร้อมยกตัวอย่าง
2. สาเหตุทท่ี าให้ผปู้ ฏิบตั งิ านเกิดโรคต่าง ๆ เกิดจากสาเหตุใดเป็ นสาคัญ
3. ให้บอกถึงความสาคัญของสุขภาพอนามัย มีอย่างไรบ้าง บอกมา 5 ข้อ พร้อมอธิบาย
4. ระบบการคุม้ ครองสุขภาพและความปลอดภัยในการทางานมีอย่างไรบ้าง
5. ให้บอกและอธิบายความหมายของของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPE)
6. ให้บอกถึงความสาคัญของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPE)
7. ให้บอกโรคทีเ่ กิดจากการทางานมีโรคอะไรบ้างและการเกิดโรคจากการทางานมีสาเหตุการ
เกิดโรคจากปั จจัยใดบ้าง
8. อันตรายและการป้ องกันอันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทางานทีม่ ผี ลต่อร่างกายได้แก่
อะไรบ้าง
9. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลมีกป่ี ระเภทอะไรบ้าง (บอกและอธิบายมาให้ครบ)
10. การเลือกและใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลควรมีหลักการเลือกอย่างไร
11. ลักษณะของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยทีด่ แี ละความปลอดภัยในการทางานมีลกั ษณะที่
สาคัญอย่างไรบ้าง
12. ให้บอกประเด็นทีส่ าคัญของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน
ว่ามีอย่างไรบ้าง
270

เอกสารอ้างอิง
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน.อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล. ค้นเมือ่
25 ธันวาคม 2559, ค้นจาก http://www.siamsafetygroup.com/article-th-34650.
กาญจนา นาถะพินธุ.(2551). อาชีวอนามัยและความปลอดภัย. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). ขอนแก่น:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ความรูเ้ กีย่ วกับรองเท้านิรภัย.นิตยสาร Safetylife, ปี ท่ี 2556. ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2556,
ค้นจาก http://www.thai-safetywiki.com/safety-shoe.
พจนานุกรมฉบบราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรม. (ครัง้ ที่ 6). กรุงเทพฯ:
อักษรเจริญทัศน์.
พระราชบัญญัตสิ ุขภาพแห่งชาติพ.ศ.2550. (2550). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 24 ตอน
16 มีนาคม 2550.
โรคทีเ่ กิดจากการทางาน.(ม.ป.ป.,ม.ป.น.). ค้นเมือ่ 24 ธันวาคม 2559, ค้นจาก
https://www.google.co.th/search.
วิทยา อยูส่ ุข.(2549). อาชีวอนามัยและความปลอดภัย. (พิมพ์ครัง้ ที่ 3).
คณะสาธารณสุขศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหิดล: กรุงเทพฯ.
สินศักดิ ์ชนม์ อุ่นพรมมี.(2556). พัฒนาการสาคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ.นนทบุร:ี
โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข.
เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภั ย.(2556).หน่ วยที่ 1-7.
(พิมพ์ครัง้ ที่ 8). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
B.Balkin & L.Cardy.(2001). Gestión de recursos humanos. Pearson Educación., Prentice-
Hall.
David, L.Goetsch. (2005). Occupationall Safety and Health. Fifth Editin. , New Jersey:
Prince-Hall.
David B.Balkin & Robert L. Cardy. (2001). Managing Human Resources. (3ed). By
Prentice – Hall,Inc., Upper Saddle Rivers :New Jersey.
Donatelle, R.J. & David, L.Goetsch. (1993). Access to Health. (2nd ed.) New Jersy:
Prince-Hall.
Kemm, J. & Close, A. (1995). Health Promotion Theory and Practice. London: Mac
Millian Press.
Gary Dessler. (2015). Human Resource Management. Fourteenth Edition. The United
States of America:. Pearson Education
271

John M.Ivancevich. (2007). Human Resource Management. Tenth Edition. The


McGraw-Hill International: New York.
Pender, N.J. (1996). Health Promotion in Nursing Practice. (3rd). USA: Appleton &
Lange
Proper Foot Protection Made Simple: Consider these important factors for safety and
comfort By Roger Huard, Occupational Health & Safety; April 01, 2013.
Tone, K. & Tilford, S. (1994). Health Education Effectiveness, efficiency, and equity.
(2nd ed.). London: Chapman-Hall.
World Health Organization. (1947). Constitution of the World Health Organization:
Principles, (7 April 1948)., Geneva: WHO, New York.
World Health Organization Geneva. (1998). The world health report 1998 – Life in the
21st century: a vision for all., Office of World Health Reporting World Health
Organization 1211 Geneva 27, Switzerland.
272
273

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 5
การบริหารงานกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยในการทางาน

หัวข้อเนื้ อหา
1. พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541
2. การบริหารกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน
3. ขอบเขตของการบังคับใช้กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย แลสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
4. กฎหมายกองทุนเงินทดแทน
5. หน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน
6. หน่วยงาน สมาคม และองค์กรอื่น ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานด้านความปลอดภัยและอาชีว-
อนามัย
7. สรุป
8. แบบฝึกหัด
9. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1. เพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถอธิบายความหมาย ความสาคัญ และ
วัตถุประสงค์ของกลยุทธ์ และขอบข่ายในการบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานของกระทรวงแรงงาน
2. เพื่อ ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถอธิบายสาระสาคัญ ของกฎหมายความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานแต่ละฉบับได้
3. เพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถอธิบายขอบเขตของการบังคับใช้กฎหมาย
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
4. เพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะในการใช้กฎหมายกองทุนเงินทดแทน
และกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
274

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารคาสอนรายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดทิ ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
275

บทที่ 5
การบริหารงานกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยในการทางาน

การบริหารนับว่า เป็ นเครื่องมือที่สาคัญที่ทาให้การดาเนินงานเกิด ความสาเร็จได้การ


บริหารงานเกีย่ วกับกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเป็ น
การบริหารงานด้านกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับความปลอดภัยให้เกิดประสิทธิภาพ นัน่ คือ มีวธิ กี าร
ดาเนินการอย่างไรให้พนักงานผู้ปฏิบตั ิงานที่ต้อ งสัมผัส กับงาน หรือ หน้ าที่งานที่ต้อ งปฏิบตั ิ
เครื่อ งจัก ร เครื่อ งมือ อุ ป กรณ์ ใ นการปฏิบ ัติง าน และสภาพแวดล้ อ มในการท างาน ซึ่ง
กระบวนการผลิตดังกล่าว ส่งผลให้เกิดความไม่ปลอดภัยหรือเกิดอันตราย การประสบอุบตั เิ หตุ
ในการทางานขึน้ ได้ หากไม่มกี ระบวนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน
ดังกล่าว ซึง่ ในปั จจุบนั ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีนับวันที่จะมีความทันสมัยมากขึน้ สารเคมี
ต่ า ง ๆ ที่น ามาผลิต ในอุ ต สาหกรรมก็ย ิ่ง มีจ านวนมากขึ้ น การป้ อ งกัน เกี่ย วกับ การประสบ
อันตรายจากการทางานย่อมต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมมือกับทุกคน ทุกระดับในองค์การ
การออกกฎหมายต่าง ๆ จากภาครัฐก็เป็ นแนวทางหรือการควบคุมให้นายจ้างได้มกี าร
ปฏิบตั ิท่มี คี วามถูกต้องและเป็ นธรรมกับลูกจ้างได้อีกทางหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ กฎหมาย
คุม้ ครองแรงงาน ซึง่ ทางภาครัฐได้มกี ารออกประกาศของกฎกระทรวงพระราชบัญญัตคิ ุม้ ครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 โดยเจตนารมณ์ ให้มกี ารบังคับใช้กฎหมายคุม้ ครองแรงงานซึง่ เป็ นกฎหมาย
ทีบ่ ญ
ั ญัตถิ งึ สิทธิและหน้าที่ ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง โดยกาหนดมาตรฐานขัน้ ต่ าในการจ้าง
การใช้แรงงานและการจัดสถานที่และอุปกรณ์ในการทางาน เพื่อให้ผู้ทางานมีสุขภาพอนามัยดี
มีความปลอดภัยในชีวติ และร่างกาย และได้รบั ค่าตอบแทนตามสมควร และต่อมาจึงได้ออก
พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔
มีบทเฉพาะกาล มาตรา ๖ ให้นายจ้างมีหน้าที่จดั และดูแลสถานประกอบกิจการและลูกจ้างให้ม ี
สภาพ การทางานและสภาพแวดล้อมในการทางานที่ปลอดภัยและถูกสุ ขลักษณะ รวมทัง้
ส่งเสริมสนับสนุ น การปฏิบตั งิ านของลูกจ้างมิให้ลูกจ้างได้รบั อันตรายต่อชีวติ ร่างกาย จิตใจ
และสุขภาพอนามัย ให้ลูกจ้างมีหน้าทีใ่ ห้ความร่วมมือกับนายจ้างในการดาเนินการและส่งเสริม
ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
แก่ลกู จ้างและสถานประกอบกิจการ เพื่อเจตนารมณ์ให้นายจ้างมีการปฏิบตั ติ ่อลูกจ้างให้มคี วาม
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เนื่องจากว่าแรงงานนับเป็ นทรัพยากร
ทีส่ าคัญขององค์การ และของประเทศชาติอนั จะนาไปสู่การพัฒนาประเทศต่อไป
276

พระราชบัญญัติค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541


พระราชบัญ ญัติคุ้ม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เป็ น กฎหมายที่ว่ า ด้ ว ยการก าหนด
บทบัญญัตแิ ละขอบเขตของการใช้กฎหมายทีว่ ่าด้วยการกาหนดสิท ธิ บทบาทและหน้าทีร่ ะหว่าง
นายจ้างและลูกจ้างให้ปฏิบตั ติ ่อกันอย่างยุตธิ รรมและเป็ นธรรมให้สามารถก่อให้เกิดความสงบสุข
ในการทางาน ซึง่ นับว่ากฎหมายทีม่ กี ารกาหนดให้นายจ้างปฏิบตั ติ ่อลูกจ้างอย่างเป็ นธรรมตาม
ข้อก าหนดของกฎหมาย และลูกจ้างปฏิบตั ิห น้ าที่ตามสิทธิของลูกจ้างเพื่ อให้ทงั ้ นายจ้างและ
ลูกจ้างสามารถทางานร่วมกันอย่างสันติสุข
ความหมายของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
(เกษมสัน ต์ วิล าวัณ ย์, 2553, หน้ า 32) ได้ใ ห้ค วามหมายของ กฎหมายคุ้ม ครอง
แรงงาน (Labour Protection Law) ไว้ว่า กฎหมายทีบ่ ญ ั ญัตถิ งึ สิทธิและหน้าทีร่ ะหว่างนายจ้าง
และลูก จ้าง โดยกาหนดมาตรฐานขัน้ ต่ าในการใช้แรงงาน ค่าจ้าง วันเวลาทางาน สภาพการ
ทางาน การจ้างงาน สัญญาจ้างแรงงาน และการจ่ายค่าตอบแทนในการทางาน ทัง้ นี้ เพื่อให้
ลูก จ้างทางานด้านความปลอดภัย มีสุ ขภาพอนามัยดี ได้รบั ค่ าตอบแทนและสวัส ดิการตาม
สมควร
จะเห็นได้ว่า กฎหมายคุ้มครองแรงงาน หรือ พระราชบัญญ ั ติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.
2541 นี้ เป็ น กฎหมายที่บ ัญ ญัติถึง สิทธิและหน้ าที่ ระหว่า งนายจ้างและลูกจ้าง โดยกาหนด
มาตรฐานขัน้ ต่าในการจ้าง การใช้แรงงานและการจัดสถานทีแ่ ละอุปกรณ์ในการทางาน เพื่อให้ผู้
ทางานมีสุ ขภาพอนามัยดี มีค วามปลอดภัยในชีว ิต และร่างกาย และได้รบั ค่ า ตอบแทนตาม
สมควร นายจ้างมีแรงงานในกรผลิตหรือบริการทีค่ งสภาพในระยะยาว ประเทศมีความเจริญทาง
เศรษฐกิจ และมีความสงบมันคงทางสั
่ งคม
กฎหมายว่าด้วยการคุม้ ครองแรงงานทีใ่ ช้บงั คับในปั จจุบนั คือ พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 19 สิงหาคม 2541 เป็ นต้นมา
ลักษณะกฎหมาย
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน เป็ น กฎหมายที่ มีโทษทางอาญา เมื่อไม่ปฏิบตั ิตาม และ
พนักงานเจ้าหน้ าที่ (พนักงานตรวจแรงงาน) อาจดาเนินคดีอาญาได้เมื่อตรวจพบ แม้จะไม่ม ี
ลูกจ้างหรือผูใ้ ดร้องทุกข์หรือกล่าวโทษก็ตาม นอกจากได้รบั โทษทางอาญาแล้ว นายจ้างทีฝ่ ่ าฝืน
กฎหมายโดยไม่ให้สทิ ธิประโยชน์แก่ลกู จ้างอาจถูกดาเนินคดีแพ่งเพื่อบังคับให้จ่ายเงินหรือชดใช้
ค่าเสียหายแก่ลกู จ้าง หรือมีผมู้ สี ทิ ธิดว้ ย
กฎหมายคุ้มครองแรงงานเป็ น กฎหมายเกี่ ย วกับความสงบเรีย บร้อย สัญญาหรือ
ข้อ ตกลงระหว่างนายจ้า งและลูก จ้ างข้อ ใดที่เ ป็ น การต้อ งห้ามชัดแจ้ง โดยกฎหมายคุ้มครอง
แรงงาน (บทบัญญัติท่ใี ช้ค าว่า “ห้ามมิใ ห้”) ย่อ มเป็ นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์มาตรา 150 และสัญญาหรือข้อตกลงระหว่างนายจ้างและลูกจ้างข้อใดทีเ่ ป็ นการแตกต่าง
277

กับบทบัญญัตขิ องกฎหมายคุ้มครองแรงงาน (บทบัญญัตทิ ่ีใช้คาว่า “ให้” หรือ “ต้อง” ย่อมเป็ น


โมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 150,151 เช่นเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม หากนายจ้างและลูกจ้างทาสัญญาหรือข้อตกลงภายหลังสิ้นสุดการจ้าง
แล้ว สัญญาหรือข้อตกลงนัน้ มีผลใช้บงั คับได้

แนวคิ ดในการปฏิ บตั ิ ตามกฎหมาย


1. กฎหมายคุม้ ครองแรงงานมีทงั ้ บทบัญญัตทิ เ่ี ป็ นข้อห้าม (ทีใ่ ช้คาว่า “ห้ามมิให้”) และ
บทบัญญัตทิ เ่ี ป็ นข้อต้องปฏิบตั ิ (ทีใ่ ช้คาว่า “ให้” หรือ “ต้อง”) นายจ้าง ลูกจ้าง และผูท้ เ่ี กี่ยวข้อง
ควรปฏิบตั ิตาม เพราะการปฏิบตั ิต ามนอกจากจะไม่ต้องรับโทษแล้ว ยังได้รบั ประโยชน์ จาก
เจตนารมณ์ของกฎหมายด้วย
2. นายจ้างและลูก จ้างไม่พึงตกลงหรือทาสัญญาก าหนดเงื่อ นไขให้ลูกจ้างได้รบั สิทธิ
ประโยชน์หรือได้รบั การคุ้มครองน้อยลงกว่าทีก่ ฎหมายกาหนด เนื่องจากจะทาให้เกิดปั ญหาข้อ
พิพาท และคดีทงั ้ ทางอาญาและทางแพ่งตามมา
3. นายจ้างไม่อาจกาหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานหรือระเบียบหรือออกคาสังใดๆ ่
ในทางลิดรอนสิทธิประโยชน์ ตามกฎหมายของลูกจ้างหรือทาให้ลูกจ้างต้องรับภาระหรือต้อ ง
ดาเนินการอย่างใดยิง่ กว่าทีก่ ฎหมายกาหนด การฝ่ าฝื นจะมีผลให้ขอ้ บังคับเกี่ยวกับการทางาน
ระเบียบหรือคาสังนั ่ น้ ใช้บงั คับไม่ได้ โดยเหตุทเ่ี ป็ นการขัดต่อกฎหมาย
4. นายจ้างทีก่ าหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานหรือระเบียบหรือออกคาสังใดๆ ่ ทีเ่ ป็ น
คุณหรือเป็ นผลดีแก่ลูกจ้างยิง่ กว่ากฎหมายกาหนด ย่อมใช้บงั คับได้และมีผลผูกพันนายจ้างและ
นายจ้างจะใช้กฎหมายอื่นแทนมิได้

การตีความกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
การตีความกฎหมายคุ้มครองแรงงานในส่วนที่กาหนดความผิดและมีโทษทางอาญา
จะต้องให้เป็ นไปเช่นเดียวกับการตีความกฎหมายอาญาทัวไป ่ ส่วนการตีความในกรณีมปี ั ญหา
หรือข้อสงสัยว่าจะตีความบทกฎหมายทีไ่ ม่ชดั แจ้งไปในทางใด ให้ ตีความไปในทางหรือนัย ที่
จะให้ การคุ้มครองลูกจ้าง และสร้างปทัสถานที่ ดีแ ก่สงั คมแรงงาน ยิง่ กว่าที่จะตีความไป
ในทางหรือนัยทีจ่ ะให้ประโยชน์แก่นายจ้างหรือปั จเจกบุคคล
ขอบเขตการบังคับใช้
พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ใช้บงั คับแก่นายจ้าง ลูกจ้างในการจ้างงาน
ทุก รายการ ไม่ว่ าจะประกอบกิจ การประเภทใด และไม่ว่ า จะมีจานวนลูกจ้า งเท่ าใด ยกเว้น
นายจ้างหรือกิจการตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในมาตรา 4 คือ
1. ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค และราชการส่วนท้องถิน่ ราชการส่วนกลาง
278

ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการอื่นซึง่ มีฐานะเป็ นกรม ราชการส่วนภูมภิ าค ได้แก่


จังหวัด อาเภอ ราชการท้องถิน่ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วน
ตาบล รวมทัง้ กรุงเทพมหานคร
2. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วนแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
3. นายจ้างประเภททีไ่ ด้รบั กาหนดไว้ในกระทรวง ซึง่ ไม่ใช้บงั คับตามกฎหมายทัง้ ฉบับ
หรือบางส่วนก็ได้
ดัง นั น้ บรรดาข้า ราชการและลู ก จ้า งของทางราชการจึง ไม่ อ ยู่ใ นการคุ้ม ครองของ
กฎหมายคุม้ ครองแรงงาน
ส่ วนข้ อยกเว้ นที่ สอง ที่ยกเว้นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้ว ยแรงงานรัฐวิสาหกิจ
สัม พัน ธ์นัน้ กฎหมายว่ า ด้ว ยแรงงานรัฐ วิส าหกิจ สัม พัน ธ์ห มายถึง พระราชบัญ ญัติแ รงงาน
รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 หรือกฎหมายฉบับใหม่ท่อี อกมาใช้บงั คับแทนพระราชบัญญัติ
ดังกล่าว
ส่วนข้อยกเว้นส่วนที่ สามนัน้ กฎหมายให้อานาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานซึ่ง
เป็ นผู้รกั ษาการตามกฎหมายฉบับนี้ทจ่ี ะออกกฎกระทรวงยกเว้นนายจ้างประเภทหนึ่งประเภท
ใด มิให้ใช้บงั คับกฎหมายทัง้ หมดหรือบางส่วนได้ ซึ่งได้มกี ารออกกฎกระทรวง (พ.ศ. 2541)
และกฎกระทรวง ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2541) ยกเว้นมิให้บงั คับกฎหมายทัง้ ฉบับแก่โรงเรียนเอกชน
ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับครูใหญ่และครู งานเกษตรกรรมและงานรับไปทาทีบ่ า้ น กับยกเว้นไม่ให้ใช้
บังคับกฎหมายบางส่ว นแก่นายจ้างซึ่งลูกจ้างทางานเกี่ยวกับงานบ้านอันมิได้ม ี การประกอบ
ธุรกิจรวมอยูด่ ว้ ย และนายจ้างซึง่ จ้างลูกจ้างทางานทีม่ ไิ ด้แสวงหากาไรในทางเศรษฐกิจ
สภาพบังคับ
พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 เป็ นกฎหมายที่มโี ทษทางอาญา โทษทาง
อาญาทีไ่ ด้บญ
ั ญัตไิ ว้มที งั ้ หมด 9 ขัน้ ขัน้ ต่ าสุด ปรับไม่เกิน 5,000 บาท (มาตรา 145) ส่วนขัน้
สูงสุด จาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ (มาตรา 148) แต่ความผิด
ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับ นี้เ ป็ นความผิด ที่เ ปรีย บเทีย บได้ (ปรับได้) ผู้ท่มี ีอ านาจ
เปรียบเทียบปรับผู้กระทาความผิดทางอาญาตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานสาหรับความผิดที่
เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานหรือ ผู้ซ่งึ อธิบดี
มอบหมาย สาหรับความผิดที่เกิดขึ้นในจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานคร ได้แก่ผู้ว่าราชการ
จังหวัดหรือผูซ้ ง่ึ ผูว้ ่าราชการจังหวัดมอบหมาย (มาตรา 159)
กฎหมายว่าด้ว ยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ กฎหมายดังกล่ าวคือ พระราชบัญ ญัติ
พนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์พ.ศ. 2534 เป็ นกฎหมายทีว่ ่าด้วยการคุม้ ครองแรงงานและแรงงาน
สัมพันธ์ในภาครัฐวิสาหกิจเป็ นการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ ซ่งึ ไม่น้อยกว่ามาตรฐานขัน้ ต่ าตาม
กฎหมายคุม้ ครองแรงงาน
279

กฎหมายความปลอดภัย ในการท างาน เป็ นการก าหนดมาตรฐานขัน้ ต่ า ให้ส ถาน


ประกอบกิจการถือปฏิบตั ิ เพื่อความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยทีด่ ปี ราศจากอุบตั เิ หตุ และโรค
เนื่องจากการทางาน
พระราชบัญญัติค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541
1. วันเวลาทางานปกติ / เวลาพัก
วันเวลาทางานปกติ
1) วันทางานไม่เกินสัปดาห์ละ 6 วัน
2) กาหนดเวลาทางานปกติในทุกประเภทไม่เกิน 8 ชัวโมงต่ ่ อวัน หรือไม่เกิน 48
ชัวโมง
่ ต่อสัปดาห์ถ้าเป็ นการทางานอันตรายต่อสุขภาพตามกฏกระทรวง กาหนดให้ทางานไม่
เกิน 7 ชัวโมง
่ ต่อวัน หรือไม่เกิน 42 ชัวโมงต่
่ อสัปดาห์
3) กาหนดเวลาพักระหว่างวันทางาน ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1 ชัวโมง ่ อาจตกลงพักน้อย
กว่าครัง้ ละ 1 ชัวโมงก็
่ ได้ แต่รวมกันไม่ น้อยกว่า 1 ชัวโมงต่
่ อวัน
4) กาหนดให้มวี นั หยุดประจาสัปดาห์ ไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 วัน ห่างกันไม่เกิน 6 วัน
และวันหยุดตามประเพณีไม่น้อยกว่าปี ละ 13 วัน รวมวันแรงงานแห่งชาติดว้ ย สาหรับวันหยุด
ผักผ่อนประจาปี ไม่น้อยกว่า 6 วันทาการ เมือ่ ลูกจ้างทางานครบ 1 ปี
เวลาพัก
1) ระหว่างการทางานปกติ
นายจ้างต้องเวลาพักให้ลูกจ้างไม่น้อยกว่า 1 ชัวโมงต่
่ อวัน หลังจากลูกจ้างทางาน
มาแล้วไม่เกิน 5 ชัวโมง ่ ติดต่อกัน หรืออาจตกลงกันพักเป็ นช่วง ๆ ก็ได้แต่รวมแล้วต้องไม่ น้อย
กว่า 1 ชัวโมงต่
่ อวัน งานในร้านขายอาหารหรือร้านขายเครื่องดื่มซึ่งเปิ ดจาหน่ ายหรือให้บริการ
ในแต่ละวันไม่ตดิ ต่อกัน อาจพักเกิน 2 ชัวโมงต่่ อวันก็ได้ นายจ้างอาจจะไม่จดั เวลาพักได้กรณี
เป็ นงานที่มลี กั ษณะหรือสภาพของงานต้องทา ติดต่อกันไปโดยได้รบั ความยินยอมจากลูกจ้ าง
หรือเป็ นงานฉุกเฉิน
2) ก่อนการทางานล่วงเวลา
กรณีให้ลกู จ้างทางานล่วงเวลาต่อจากเวลาทางานปกติไม่น้อยกว่า 2 ชม. ต้องจัดให้
ลูกจ้างพักก่อนเริม่ ทางานล่วงเวลาไม่น้อยกว่า 20 นาที
2. การทางานล่วงเวลา การทางานในวันหยุด
การทางานล่วงเวลา นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทาได้โดยได้รบั ความยินยอมจากลูกจ้างก่อน
เป็ นคราว ๆ ไป นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลา และทางานในวันหยุดได้เท่าทีจ่ าเป็ น ถ้า
ลัก ษณะหรือ สภาพของงานต้ อ งท าติด ต่ อ กัน ไป ถ้ า หยุ ด จะเสีย หายแก่ ง าน หรือ เป็ น งาน
ฉุ กเฉิน นายจ้างอาจให้ทางานในวันหยุด สาหรับกิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้าน
ขายอาหาร ร้านขายเครื่องดื่ม สโมสร สมาคม และสถานพยาบาลได้ โดยไม่จาเป็ นต้องได้รบั
280

ความยินยอมจากลูกจ้างก่อนชัวโมงการท ่ างานล่วงเวลา การทางานในวันหยุด และการทางาน


ล่วงเวลาในวันหยุด รวมแล้วต้องไม่เกิน 36 ชัวโมงต่ ่ อสัปดาห์ ดังนี้
1) ทาเกินเวลาทางานปกติของวันทางาน ได้รบั ค่าล่วงเวลา 1.5 เท่าของอัตราค่าจ้าง/
ชัวโมง
่ ถ้าทางานเกินเวลาทางานปกติของวันทางาน นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลา ไม่น้อยกว่า
หนึ่งเท่าครึง่ ของอัตราค่าจ้างต่อชัวโมงในวั ่ นทางานตามจานวน ชัวโมงที ่ ท่ าหรือไม่น้อยกว่า 1.5
(หนึ่งเท่าครึง่ ) ของอัตราค่าจ้างต่อหน่วย ในวันทางานตามจานวนผลงานทีท่ าได้สาหรับลูกจ้างที่
ได้รบั ค่าจ้างตามผลงาน
2) ถ้าทางานในวันหยุดในเวลาทางานปกติ นายจ้างต้องจ่ายค่าทางานในวันหยุด
ให้แก่ลกู จ้างทีม่ สี ทิ ธิได้รบั ค่าจ้างในวันหยุดเพิม่ ขึน้ อีก 1 เท่าของค่าจ้าง ในวันทางานตามชัวโมง ่
ทีท่ างานในวันหยุด หรือตามจานวนผลงานทีท่ าได้ สาหรับลูกจ้างทีไ่ ด้รบั ค่าจ้างตามผลงานโดย
คานวณเป็ นหน่ วย สาหรับลูกจ้างทีไ่ ม่มสี ทิ ธิได้รบั ค่าจ้างในวันหยุดต้องจ่ายไม่น้อยกว่า 2 เท่า
ของค่าจ้างในวันทางานตามชัวโมงที ่ ่ทางานในวันหยุดหรือตามจานวนผลงาน ที่ทาได้สาหรับ
ลูกจ้างทีไ่ ด้รบั ค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็ นหน่วย
3) ถ้าทางานในวันหยุดเกินเวลาทางานปกติของวันทางานนายจ้างต้องจ่ายค่ า
ล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างในอัตรา 3 เท่าของอัตราค่ าจ้างต่ อชัวโมง ่ ในวันทางานตาม
จานวนชัวโมงที่ ่ทาหรือตามจานวนผลงานที่ทาได้สาหรับ ลูกจ้างที่ได้รบั ค่าจ้างตามผลงานโดย
คานวณเป็ นหน่วย
4) ลูกจ้างทัง้ ชายและหญิง มีสทิ ธิได้รบั ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และ
ค่าล่วงเวลาในวันหยุด เท่าเทียมกันในงานที่มลี กั ษณะและคุณภาพอย่างเดียวกันและปริมาณ
เท่ากัน
3. การลาป่ วยและการลาคลอด
1) ลาป่ วยได้เท่าทีป่ ่ วยจริง แต่ได้รบั ค่าจ้างไม่เกิน 30 วันทางาน โดยได้รบั ค่าจ้าง
ปกติ การลาป่ วยตัง้ แต่ 3 วันทางานขึน้ ไปนายจ้างอาจให้ลูกจ้างแสดงใบรับรองของแพทย์แผน
ปั จจุบนั ชัน้ หนึ่งหรือของสถานพยาบาลของทางราชการได้ หากลูกจ้างไม่อาจแสดงได้ให้ลูกจ้าง
ชีแ้ จงให้นายจ้างทราบ วันทีล่ กู จ้างไม่อาจทางานได้เนื่องจากประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยซึง่ เกิด
จาก การทางาน หรือวันลาเพื่อคลอดบุตรไม่ถอื เป็ นวันลาป่ วย
2) ลูกจ้างทีเ่ ป็ นหญิง ลาคลอดได้ไม่เกิน 90 วัน โดยได้รบั ค่าจ้าง 45 วัน
3) ลาเพื่อรับราชการทหารในการเรียกพล เพื่อตรวจสอบฝึกวิชาทหาร หรือทดลอง
ความ พรังพร้ ่ อมตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร ได้ไม่เกินปี ละ 60 วัน โดยได้รบั
ค่าจ้าง
4) ลูกจ้างลาเพื่อทาหมันและเนื่องจากการทาหมันได้ตามระยะเวลาที่แพทย์แผน
ปั จจุบนั ชัน้ หนึ่งกาหนดและออกใบรับรอง ได้รบั ค่าจ้างตลอดเวลาทีแ่ พทย์วนิ ิจฉัยให้หยุด
281

5) ลากิจ ธุ ร ะ ลู ก จ้า งลาเพื่อ กิจ ธุ ร ะอัน จ าเป็ น ได้ต ามข้อ บัง คับ เกี่ย วกับ การ
ทางาน แล้วแต่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกัน
6) ลาเพื่อเข้ารับการอบรม ลูกจ้าง มีสทิ ธิลาเพื่อการฝึ กอบรมหรือพัฒนาความรู้
ความสามารถเพื่อประโยชน์ต่อการแรง งานและสวัสดิการสังคมหรือการเพิม่ ทักษะความชานาญ
เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการ ทางานของลูกจ้างตามโครงการหรือหลักสูตร ซึง่ มีกาหนดช่วงเวลา
ทีแ่ น่ นอนและชัดเจน และเพื่อการสอบวัดผลทางการศึกษาที่ทางราชการจัดหรืออนุ ญาตให้จดั
ขึ้น ลูกจ้างต้องแจ้งเหตุ ใ นการลาโดยชัดแจ้ง พร้อ มทัง้ แสดงหลักฐานที่เ กี่ยวข้อง (ถ้ามี) ให้
นายจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันลา นายจ้างอาจไม่อนุ ญาตให้ลาหากในปี ทล่ี า
ลูกจ้างเคยได้รบั อนุ ญาตให้ลามาแล้วไม่ น้อยกว่า 30 วัน หรือ 3 ครัง้ หรือแสดงได้ว่าการลาของ
ลูกจ้างอาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือกระทบต่อ การประกอบธุรกิจของนายจ้าง
4. วันหยุด
1) วันหยุดประจาสัปดาห์
นายจ้างต้องจัด ให้มวี นั หยุดประจาสัปดาห์ให้กบั ลู กจ้างไม่ น้อยกว่า 1 วันต่อ
สัปดาห์ โดยให้มรี ะยะห่างกันไม่เกิน 6 วัน สาหรับงานโรงแรม งานขนส่ง งานในป่ า งานในที่
ทุรกันดาร หรืองานอื่นตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวงอาจตกลงกันสะสมและเลื่อนวันหยุ ดประจา
สัปดาห์ไปหยุดเมือ่ ใดก็ได้ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ตดิ ต่อกัน
2) วันหยุดตามประเพณี
นายจ้างต้องจัดให้มวี นั หยุดตามประเพณีให้กบั ลูกจ้างไม่ ไม่ น้อยกว่า 13 วัน
ต่อปี โดยรวมวันแรงงานแห่งชาติ โดยได้รบั ค่าจ้าง ซึ่ง พิจารณาจากวันหยุดราชการประจาปี
วันหยุดทางศาสนาหรือขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้าวันหยุดตามประเพณีตรงกับ
วันหยุดประจาสัปดาห์ให้หยุดชดเชยวันหยุดตาม ประเพณีในวันทางานถัดไป สาหรับงานใน
กิจการโรงแรม สถานมหรสพ ร้านขายอาหาร ร้านขายเครื่องดื่ม ฯลฯ อาจตกลงกันหยุดวันอื่น
ชดเชยวันหยุดตามประเพณี หรือจ่ายค่าทางานในวันหยุดให้กไ็ ด้
3) วันหยุดพักผ่อนประจาปี
นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างหยุดพักผ่อนประจาปี ไม่ น้อยกว่า 6 วันทางานต่อปี
สาหรับลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันมาครบ 1 ปี อาจตกลงกันล่วงหน้ าสะสมและเลื่อนวันหยุด
พักผ่อนประจาปี ไปรวมหยุดในปี ต่อ ๆ ไปได้ โดยได้รบั ค่าจ้าง ซึง่ นายจ้างเป็ นผูก้ าหนดวันหยุด
ดังกล่าว
5. ค่าชดเชย
5.1 ลูกจ้างมีสทิ ธิได้รบั ค่าชดเชย หากนายจ้างเลิกจ้าง โดยลูกจ้างไม่มคี วามผิดดังนี้
5.1.1 ลู ก จ้า งซึ่ง ท างานติด ต่ อ กัน ครบ 120 วัน แต่ ไ ม่ ค รบ 1 ปี มีส ิท ธิไ ด้ร ับ
เท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน
282

5.1.2 ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี มีสทิ ธิได้รบั เท่ากับ


ค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน
5.1.3 ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี มีสทิ ธิได้รบั เท่ากับ
ค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน
5.1.4 ลูกจ้างซึง่ ทางานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี มีสทิ ธิได้รบั เท่ากับ
ค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน
5.1.5 ลูกจ้างซึง่ ทางานติดต่อกันครบ 10 ปี ขน้ึ ไป มีสทิ ธิได้รบั เท่ากับค่าจ้าง
อัตราสุดท้าย 300 วัน
5.2 กรณียา้ ยสถานประกอบการ นายจ้างต้องแจ้งให้แก่ลูกจ้างทราบล่วงหน้าไม่
เกิน 30 วัน หากลูกจ้างไม่ต้องการไปทางานด้ว ย ลูกจ้างมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญา โดยได้รบั
ค่าชดเชยพิเศษ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของอัตราค่าชดเชยทีล่ กู จ้างมีสทิ ธิได้รบั
5.3 ค่ าชดเชยพิเ ศษ ในกรณีท่นี ายจ้างจะเลิกจ้างลูกจ้างเพราะเหตุปรับปรุง
หน่ วยงานกระบวนการผลิตการจาหน่ ายหรือการบริการ อันเนื่องมาจากการนาเครื่องจักรมาใช้
หรือเปลีย่ นแปลงเครื่องจักรหรือเทคโนโลยี หากนายจ้าง ไม่แจ้งล่วงหน้าหรือแจ้งล่วงหน้าน้อย
กว่าระยะเวลา 60 วันนายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชยพิเศษดังนี้
5.3.1 ลูกจ้างจะได้รบั ค่าบอกกล่าวล่วงหน้า 60 วัน
5.3.2 ลูกจ้างจะได้รบั ค่าชดเชยตามกฎหมาย
5.3.3 ลูกจ้างทีม่ อี ายุงาน 6 ปี ขน้ึ ไป มีสทิ ธิได้รบั ค่าชดเชยพิเศษปี ละ 15
วัน เมือ่ รวมค่าชดเชยทัง้ หมดแล้วต้องไม่เกิน 360 วัน นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้าง
ซึง่ เลิกจ้างในกรณีหนึ่งกรณีใดดังต่อไปนี้
5.3.3.1 ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทาความผิดอาญาโดยเจตนาแก่
นายจ้าง
5.3.3.2 จงใจทาให้นายจ้างได้รบั ความเสียหาย
5.3.3.3ประมาทเลินเล่อเป็ นเหตุให้นายจ้างได้รบั ความเสียหายอย่าง
ร้ายแรง
5.3.3.4 ฝ่ าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานหรือระเบียบหรือคาสัง่
ของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและเป็ นธรรม และนายจ้างได้ตกั เตือนเป็ นหนังสือแล้ว เว้นแต่
กรณีทร่ี า้ ยแรงนายจ้างไม่จาเป็ นต้องตักเตือน หนังสือเตือนให้มผี ลบังคับใช้ได้ไม่เกินหนึ่งปี นับ
แต่วนั ทีล่ กู จ้างได้กระทาผิด
5.3.3.5 ละทิ้งหน้ าที่เป็ นเวลาสามวันทางานติดต่อ กันไม่ว่าจะมี
วันหยุดคันหรื ่ อไม่กต็ ามโดยไม่มสี าเหตุอนั สมควร
5.3.3.6 ได้รบั โทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงทีส่ ุด เว้นแต่เป็ นนักโทษ
สาหรับความผิดทีไ่ ด้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
283

6. การว่าจ้างแรงงานเด็ก
1) ห้ามใช้แรงงานเด็ก อายุต่ากว่า 15 ปี ทางานโดยเด็ดขาด
2) ห้ามใช้แรงงานเด็กอายุต่ ากว่า 18 ปี ในกิจการบางประเภท และทางาน
ระหว่างเวลา 22.00 น. - 06.00 น. ทางานวันหยุดและทางานล่วงเวลา
3) ห้ามใช้แรงงานเด็กในสถานที่ เต้นรา ราวง หรือรองเง็ง และตามทีก่ าหนดใน
กฏหมาย
4) ให้ลูกจ้างเด็กทีอ่ ายุต่ ากว่า 18 ปี มีสทิ ธิลาเพื่อรับการอบรม สัมมนา ที่จดั
โดยสถานศึกษา หรือหน่วยงานของรัฐ โดยได้รบั ค่าจ้างแต่ไม่เกิน 30 วันต่อปี
5) การว่าจ้างแรงงานเด็กต่ ากว่า 18 ปี ต้องแจ้งพนักงานตรวจแรงงานภายใน
15 วัน นับตัง้ แต่วนั ทีเ่ ด็กเข้าทางาน
7. การว่าจ้างแรงงานหญิ ง
1) การใช้แรงงานหญิง ห้ามนายจ้างให้ลกู จ้างหญิงทางานต่อไปนี้
1.1 งานเหมืองแร่หรืองานก่อสร้างที่ต้องทาใต้ดนิ ใต้น้ า ในถ้า ใน
อุโมงค์ หรือปล่องในภูเขาเว้นแต่ลกั ษณะของงาน ไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพหรือ ร่างกายของ
ลูกจ้างหญิงนัน้
1.2 งานทีต่ อ้ งทาบนนังร้
่ านทีส่ งู กว่าพืน้ ดินตัง้ แต่ 10 เมตรขึน้ ไป
1.3 งานผลิตหรือขนส่งวัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ
1.4 งานอื่นตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
2) ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างหญิงทีม่ คี รรภ์ทางานในระหว่างเวลา 22.00 - 06.00 น.
ทางานล่วงเวลา ทางานในวันหยุดหรือทางานอย่างหนึ่งอย่างใด
3) ห้ามนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างหญิงเพราะเหตุมคี รรภ์
4) ให้แรงงานหญิงมีสทิ ธิลาเพื่อคลอดบุตร ครรภ์หนึ่งไม่เกิน 90 วัน
5) ห้ามนายจ้าง หัวหน้างาน ผูค้ วบคุมงานหรือผูต้ รวจงาน ล่วงเกินทางเพศต่อ
แรงงานหญิง หรือเด็ก
8. ความปลอดภัย
1) ให้นายจ้างหรือสถานประกอบการที่มลี ูกจ้างน้อยกว่า 50 คน ต้องจัดให้ม ี
เจ้าหน้าที่รกั ษาความปลอดภัยในการทางาน ระดับพืน้ ฐาน ระดับหัวหน้างาน และระดับบริหาร
เพื่อดูแลความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบการร่วมกับนายจ้าง
2) การกาหนดให้นายจ้างหรือสถานประกอบการทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 50 คน ขึน้ ไป
ต้องจัดให้มเี จ้าหน้ าที่ความปลอดภัย ในการทางานระดับหัวหน้ างาน ระดับบริหาร และระดับ
วิชาชีพ
284

3) กาหนดให้สถานประกอบการที่มลี ูกจ้างตัง้ แต่ 50 คนขึน้ ไป ต้องจัดให้ม ี


คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานประกอบด้ว ย
นายจ้าง ผูแ้ ทนระดับบังคับบัญชา ผู้แทนลูกจ้างระดับปฏิบตั กิ าร และเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย
ในการทางาน โดยมีคณะกรรมการตามขนาดของสถานประกอบการ
4) การให้ความคุ้มครองอันตรายส่วนบุคคลทีเ่ หมาะสมกับสภาพงาน และได้
มาตรฐานโดยให้นายจ้างเป็ นผู้จดั ให้ อาทิ ตามที่กาหนดในกฏกระทรวง ให้นายจ้างต้องจัด
อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้ลกู จ้างตามลักษณะของงาน และลูกจ้างต้องสวมใส่
อุปกรณ์ดงั กล่าวตลอดเวลาการทางานโดยบังคับ
9. หลักฐานการทางาน
9.1 นายจ้างทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 10 คนขึน้ ไป ต้องจัดให้มขี อ้ บังคับเกี่ยวกับการทางาน
เป็ นภาษาไทย ปิ ดประกาศโดยเปิ ดเผย ณ สถานทีท่ างานของลูกจ้างและส่งสาเนาให้อธิบดีกรม
สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
9.2 ข้อ บัง คับ ฯ ต้ อ งระบุ เ รื่อ งต่ า งๆ ดัง นี้ วัน ท างาน เวลาท างานปกติ เวลาพั ก
วันหยุดและหลักเกณฑ์การหยุด หลักเกณฑ์การทางานล่วงเวลา และการทางาน ในวันหยุด วัน
และสถานที่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดวันลาและ
หลักเกณฑ์การลา วินยั และโทษ การร้องทุกข์ และการเลิกจ้าง
9.3 ทะเบียนลูกจ้างต้องมีช่อื เพศ สัญชาติ วันเดือนปี เกิด ทีอ่ ยู่ปัจจุบนั วันเริม่ จ้าง
ตาแหน่ งหรืองานในหน้าที่ อัตราค่าจ้าง และประโยชน์ตอบแทนอื่นๆ ทีน่ ายจ้างตกลงจ่ายให้แก่
ลูกจ้างและวันสิน้ สุดการจ้าง
9.4 เอกสาร เกีย่ วกับการคานวณค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด ต้องระบุ
วันเวลาทางาน ผลงานทีท่ าได้สาหรับการจ้างตามผลงาน และจานวนเงินทีจ่ ่าย โดยมีลายมือชื่อ
ลูกจ้างผูร้ บั เงิน
10. การควบคุม
10.1 นายจ้างทีม่ ลี ูกจ้างรวมกันตัง้ แต่ 10 คนขึน้ ไป จะต้องจัดทาข้อบังคับเกี่ยวกับ
การทางานเป็ นภาษาไทย อย่างน้อยต้องมี รายละเอียดดังนี้
10.1.1 วันทางาน เวลาทางานปกติ และเวลาพัก
10.1.2 วันหยุดและหลักเกณฑ์การหยุด
10.1.3 หลักเกณฑ์การทางานล่วงเวลา และการทางานในวันหยุด
10.1.4 วันและสถานที่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่า
ล่วงเวลาในวันหยุด
10.1.5 วันลาและหลักเกณฑ์การลา
10.1.6 วินยั และโทษทางวินยั
10.1.7 การร้องทุกข์
285

10.1.8 การเลิกจ้าง ค่าชดเชยและชดเชยพิเศษ


2. นายจ้างต้องประกาศใช้ขอ้ บังคับเกี่ยวกับการทางานภายใน 15 วัน นับจาก
วันทีม่ ลี กู จ้างรวมกันตัง้ แต่ 10 คนขึน้ ไป
3. นายจ้างต้องปิ ดประกาศข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานโดยเปิ ดเผย ณ สถานที่
ทางานของลูกจ้าง
4. ให้ประกาศใช้ขอ้ บังคับเกี่ยวกับการทางานต่อไปแม้ว่านายจ้างจะมีลูกจ้าง ลด
ต่ากว่า 10 คนก็ตาม
11. การร้องทุกข์ของลูกจ้าง
11.1 ลูกจ้างเรียกร้องสิทธิของตนอันเนื่องมาจากการฝ่ าฝืนกฎหมายแรงงาน ของ
นายจ้างได้โดย
11.1.1 ลูกจ้างนาคดีไปฟ้ องศาลแรงงาน
11.1.2 ลูกจ้างยืน่ คาร้องทุกข์ต่อพนักงานตรวจแรงงาน
11.2 การยืน่ คาร้องทุกข์ของลูกจ้างหรือทายาท
11.2.1 ยืน่ คาร้องทุกข์ตามแบบทีอ่ ธิบดีกาหนด
11.2.2 ยื่นต่อพนักงานตรวจแรงงานในท้องที่ท่ลี ูกจ้างทางานอยู่ หรือ ที่
นายจ้าง มีภมู ลิ าเนา หรือท้องที่ทล่ี กู จ้างมีภมู ลิ าเนาอยูก่ ไ็ ด้
11.3 การพิจจารณาคาร้องทุกข์ของพนักงานตรวจแรงงาน
11.3.1 เร่งสอบสวนข้อเท็จจริงจากนายจ้าง ลูกจ้าง และพยานโดยเร็ว
รวมทัง้ การรวบรวมหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้องด้วย
11.3.2 เมื่อสอบสวนข้อเท็จจริงแล้ว ต้องมีคาสังให้
่ นายจ้างจ่ ายเงิน หรือยก
คาร้องทุกข์ของลูกจ้างอย่างใดอย่างหนึ่ง
11.3.3 การรวบรวมข้อเท็จจริง และการมีคาสัง่ ต้องกระทาให้แล้วเสร็จ
ภายใน 60 วัน นับแต่วนั รับคาร้องทุกข์ไว้ดาเนินการ
11.3.4 ถ้าไม่สามารถดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน ให้ขอขยาย
ระยะเวลา ต่ออธิบดีหรือผูว้ ่าราชการจังหวัดโดยขอขยายระยะเวลาได้ไม่เกิน 30 วัน
11.4 การยุตขิ อ้ ร้องทุกข์ระหว่างสอบสวนข้อเท็จจริง
11.4.1 ลูกจ้างสละสิทธิการเรียกร้องทัง้ หมด
11.4.2 ลูกจ้างสละสิทธิเรียกร้องแต่บางส่วน โดยนายจ้างยินยอมจ่ายเงิน
บางส่วน แก่ลกู จ้าง
11.4.3 นายจ้างยินยอมจ่ายเงินทัง้ จานวน แก่ลกู จ้าง
286

บทกาหนดโทษ
1. กฎหมายคุม้ ครองแรงงานเป็ นกฎหมายทีม่ บี ทลงโทษทางอาญา
2. นายจ้างผูใ้ ดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามขัน้ ต่าปรับไม่เกิน 5,000 บาท จาคุก
ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
3. การปฏิบตั ติ ามคาสังของพนั
่ กงานตรวจแรงงานคดีอาญาเป็ นอันระงับ
4. การฝ่ าฝื นกฏหมาย อธิบดีมอี านาจเปรียบเทียบปรับสาหรับความผิดที่
เกิดขึน้ ใน กรุงเทพฯผู้ว่าราชการจังหวัด มีอานาจเปรียบเทียบปรับสาหรับความผิด ที่เกิดขึ้น
ภายในจังหวัดชาระค่าปรับภายใน 30 วัน นับเท่าวันที่ได้รบั แจ้งผลคดี คดีอาญา เป็ นอันเลิก
กัน ถ้าไม่ยอมเปรียบเทียบปรับหรือไม่ชาระค่าปรับภายในกาหนด พนักงานสอบสวน (ตารวจ)
จะดาเนินการตามขัน้ ตอนของกฏหมายต่อไป

พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการ


ทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ขอบข่ า ยในการบริ หารกฎหมายความปลอดภัย อาชี ว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
1. เพื่อใช้เป็ นมาตรการควบคุมมิให้มกี ารละเมิดสิทธิซง่ึ กันและกัน
2. เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการป้ องกันและวางแผนเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
3. เพื่อใช้เป็ นมาตรฐานขัน้ ต่าในการป้ องกันอุบตั เิ หตุและโรคทีเ่ กิดจากการทางาน
4. เพื่อใช้เป็ นพืน้ ฐานในการให้ความรู้ อบรมเพื่อปลูกฝั งทัศนคติหรือจิตสานึกด้าน
ความปลอดภัยในการทางาน เป็ นหลักสาคัญเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ขอบเขตการบังคับใช้
บังคับใช้กบั สถานประกอบกิจการทุกประเภททีม่ กี ารจ้างงานหรือมีลูกจ้างตัง้ แต่ 1
คนขึน้ ไป มาตรา ๓ พระราชบัญญัตนิ ้มี ใิ ห้ใช้บงั คับแก่
(1) ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค และราชการส่วนท้องถิน่
(2) กิจการอื่นทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ให้ราชการ
ส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค ราชการส่วนท้องถิน่ และกิจการอื่นตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
ตามวรรคหนึ่ง จัดให้มมี าตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานในหน่วยงานของตนไม่ต่ ากว่ามาตรฐาน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
ซึง่ ตามมาตรา 4 ได้บญ ั ญัตวิ ่า
287

“ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน” หมายความว่า


การกระทา หรือสภาพการทางานซึ่งปลอดจากเหตุอนั จะทาให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวติ
ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัยอันเนื่องจากการทางานหรือเกีย่ วกับการทางาน

หมวด ๒
การบริ หาร การจัดการ และการดาเนิ นการด้ านความปลอดภัย อาชี วอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
มาตรา ๘ ให้นายจ้างบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน ให้เป็ นไปตามมาตรฐานทีก่ าหนดในกฎกระทรวง การกาหนด
มาตรฐานตามวรรคหนึ่ง ให้นายจ้างจัดทาเอกสารหรือรายงานใด โดยมีการ ตรวจสอบหรือ
รับรองโดยบุคคล หรือนิติบุคคลตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ให้ลูกจ้างมีหน้าที่ปฏิบตั ติ าม
หลักเกณฑ์ดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานตามมาตรฐานที่
กาหนดในวรรคหนึ่ง
มาตรา ๒๒ ให้นายจ้างจัดและดูแลให้ลกู จ้างสวมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วน
บุคคล ทีไ่ ด้มาตรฐานตามทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนดลูกจ้างมีหน้าทีส่ วมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองความ
ปลอดภัยส่วนบุคคลและดูแลรักษาอุปกรณ์ ตามวรรคหนึ่งให้สามารถใช้งานได้ตามสภาพและ
ลักษณะของงานตลอดระยะเวลาทางาน ในกรณีทล่ี ูกจ้างไม่สวมใส่อุปกรณ์ดงั กล่าว ให้นายจ้าง
สังให้
่ ลกู จ้างหยุดการทางานนัน้ จนกว่า ลูกจ้างจะสวมใส่อุปกรณ์ดงั กล่าว
เพื่อให้เกิดความเป็ นระเบียบเรียบร้อย และทาให้เกิดความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานในสถานประกอบการจึงต้องจัดให้นายจ้างดาเนินการตามดังกล่าว

หมวด ๓
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
มาตรา ๒๔ ให้มคี ณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการความปลอดภัย อา-
ชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน” ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงแรงงานเป็ นประธาน
กรรมการ อธิบดี กรมควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดีกรมพัฒนาฝี มอื แรงงาน
อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง อธิบดีกรมโรงงานอุ ตสาหกรรม อธิบดีกรมส่งเสริมการ
ปกครองท้องถิน่ และอธิบดีกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน เป็ นกรรมการ กับผูแ้ ทนฝ่ าย
นายจ้างและผูแ้ ทนฝ่ ายลูกจ้าง ฝ่ ายละแปดคน และผูท้ รงคุณวุฒอิ กี ห้าคนซึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ เป็ น
กรรมการ ให้ขา้ ราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานซึ่งรัฐมนตรีแต่งตัง้ เป็ นเลขานุ การ
การได้มาและการพ้นจากตาแหน่ งของผู้แทนฝ่ ายนายจ้างและฝ่ ายลูกจ้างตามวรรคหนึ่ง ให้
288

เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่รฐั มนตรีประกาศกาหนด โดยต้องคานึงถึงการมี


ส่วนร่วม ของทัง้ หญิงและชาย
ผูท้ รงคุณวุฒติ ้องเป็ นผูม้ คี วามรู้ ความเชีย่ วชาญ มีผลงานหรือประสบการณ์ทเ่ี กี่ยวข้อง
กับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยต้องคานึงถึงการมีส่วน
ร่วมของทัง้ หญิง และชาย มาตรา ๒๕ คณะกรรมการมีอานาจหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
(1) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกีย่ วกับนโยบาย แผนงาน หรือมาตรการความปลอดภัย
อาชีวอนามยั และการพัฒนาสภาพแวดล้อมในการทางาน
(2) เสนอความเห็นต่ อ รัฐมนตรีใ นการออกกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ เพื่อ
ปฏิบตั กิ าร ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
(3) ให้ความเห็นแก่หน่ วยงานของรัฐเกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(4) วินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๒ มาตรา ๓๓ วรรคสาม และมาตรา ๔๐ วรรคสอง
(5) ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ้หี รือกฎหมายอื่นบัญญัตใิ ห้เป็ นอานาจหน้าที่
ของคณะกรรมการหรือตามทีร่ ฐั มนตรีมอบหมาย
มาตรา ๒๖ กรรมการผู้ท รงคุ ณ วุ ฒ ิม ีว าระอยู่ใ นต าแหน่ ง คราวละสองปี กรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒ ิ ซึง่ พ้นจากตาแหน่งอาจได้รบั แต่งตัง้ อีกได้ ในกรณีทก่ี รรมการผูท้ รงคุณวุฒพิ น้ จาก
ตาแหน่ งก่อนวาระ ให้รฐั มนตรีแต่งตัง้ กรรมการ แทนตาแหน่ งทีว่ ่าง และให้ผไู้ ด้รบั แต่งตัง้ ให้
ดารงตาแหน่ งแทนอยู่ในตาแหน่ งเท่ากับวาระทีเ่ หลืออยู่ ของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒซิ ง่ึ ตนแทน
ในกรณีท่กี รรมการผู้ทรงคุ ณ วุ ฒพิ ้น จากต าแหน่ งตามวาระ แต่ ย งั มิไ ด้ม ีก ารแต่ ง ตัง้
กรรมการใหม่ ให้กรรมการนัน้ ปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ปพลางก่อนจนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒ ิทไ่ี ด้รบั
แต่งตัง้ จะเข้ารับหน้าที่
มาตรา ๒๗ นอกจากการพ้ น จากต าแหน่ ง ตามวาระตามมาตรา ๒๖ กรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒ ิ พ้นจากตาแหน่งเมือ่
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) รัฐมนตรีให้ออก เมือ่ ขาดประชุมสามครัง้ ติดต่อกันโดยไม่มเี หตุอนั สมควร
(4) เป็ นบุคคลล้มละลาย
(5) เป็ นบุคคลวิกลจริต หรือจิตฟั น่ เฟื อน
(6) เป็ นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(7) ต้องคาพิพากษาว่าได้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
(8) ได้รบั โทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงทีส่ ุดให้จาคุก เว้นแต่เป็ นโทษสาหรับความผิดที่
ได้ กระทาโดยประมาทหรือความผิดฐานหมิน่ ประมาทหรือความผิดลหุโทษ
289

มาตรา ๒๘ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จานวน กรรมการทัง้ หมด โดยมกรรมการผู้แทนฝ่ ายนายจ้างและฝ่ ายลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ ายละ
หนึ่งคน จึงจะเป็ นองค์ประชุม
ในการประชุมเพื่อพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คราวใด ถ้าไม่ได้องค์ประชุมตามทีก่ าหนดไว้
ในวรรคหนึ่ง ให้จดั ให้มกี ารประชุมอีกครัง้ ภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ที่นัดประชุมครัง้ แรก การ
ประชุมครัง้ หลังแม้ไม่มกี รรมการซึ่งมาจากฝ่ ายนายจ้างหรือฝ่ ายลูกจ้างมาร่วมประชุม ถ้ามี
กรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทัง้ หมด ก็ให้ถอื เป็ นองค์ประชุม ใน
การประชุมคราวใด ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือ ไม่ส ามารถปฏิบตั ิห น้ าที่ได้ ให้
กรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็ นประธานในที่ประชุมสาหรับการประชุมคราว
นัน้ มติทป่ี ระชุมให้ถอื เสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้ าคะแนน
เสียง เท่ากัน ให้ประธานในทีป่ ระชุมออกเสียงเพิม่ ขึน้ อีกเสียงหนึ่งเป็ นเสียงชีข้ าด
มาตรา ๒๙ คณะกรรมการมีอ านาจแต่ ง ตัง้ คณะอนุ ก รรมการเพื่อ พิจ ารณาหรือ
ปฏิบตั กิ าร อย่างหนึ่งอย่างใดตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมายได้ ให้คณะกรรมการกาหนดองค์
ประชุมและวิธดี าเนินงานของคณะอนุกรรมการได้ตามความ เหมาะสม
มาตรา ๓๐ ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามพระราชบัญ ญัติน้ี ให้กรรมการและอนุ กรรมการ
ได้รบั เบีย้ ประชุม และประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบทีร่ ฐั มนตรีกาหนดโดยความเห็นชอบ
ของกระทรวงการคลัง
มาตรา ๓๑ ให้กรมสวัส ดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงานรับผิดชอบงาน
ธุรการ ของคณะกรรมการ และมีอานาจหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
(1) สรรหา รวบรวม และวิเ คราะห์ข้อ มู ล ด้ า นความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานเพื่อการจัดทานโยบาย แผนงาน โครงการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเสนอต่อคณะกรรมการ
(2) จั ด ท าแนวทางการก าหนดมาตรฐานความปลอดภั ย อาชี ว อนามัย และ
สภาพแวดล้อม ในการทางานเสนอต่อคณะกรรมการ
(3) จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน ประจาปี เสนอต่อคณะกรรมการ
(4) ประสานแผนและการดาเนินการของคณะกรรมการและคณะอนุ กรรมการตลอดจน
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
(5) ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามมติของคณะกรรมการ
(6) รับผิดชอบงานธุรการของคณะอนุกรรมการ
(7) ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ่นื ตามทีค่ ณะกรรมการหรือคณะอนกรรมการมอบหมาย
290

หมวด ๔
การควบคุม กากับ ดูแล
มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการควบคุม กากับ ดูแลการดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ให้นายจ้างดาเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มกี ารประเมินอันตราย
(2) ศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทางานทีม่ ผี ลต่อลูกจ้าง
(3) จัดทาแผนการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน และจัดทาแผนการควบคุมดูแลลูกจ้างและสถานประกอบกิจการ
(4) ส่งผลการประเมินอันตราย การศึกษาผลกระทบ แผนการดาเนินงานและแผนการ
ควบคุมตาม (1) (2) และ (3) ให้อธิบดีหรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมาย หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไข
ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ประเภทกิจการ ขนาดของ กิจการที่ต้องดาเนินการ และ
ระยะเวลาทีต่ ้องดาเนินการ ให้เป็ นไปตามที่รฐั มนตรีกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุ เบกษา
ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง นายจ้างจะต้องปฏิบตั ิตามคาแนะนาและได้รบั การรับรองผล
จากผูช้ านาญการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
มาตรา ๓๓ ผู้ใ ดจะทาการเป็ นผู้ชานาญการด้า นความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานจะต้องได้รบั ใบอนุญาตจากอธิบดีตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
มาตรา ๓๔ ในกรณีท่สี ถานประกอบกิจการใดเกิดอุบตั ภิ ยั ร้ายแรง หรือลูกจ้างประสบ
อันตรายจากการทางาน ให้นายจ้างดาเนินการดังต่อไปนี้
(1) กรณีท่ลี ูกจ้างเสียชีวติ ให้นายจ้างแจ้งต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยในทันทีท่ี
ทราบ โดยโทรศัพท์ โทรสาร หรือวิธอี ่นื ใดที่มรี ายละเอียดพอสมควร และให้แจ้งรายละเอียด
และสาเหตุ เป็ นหนังสือภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ทีล่ กู จ้างเสียชีวติ
(2) กรณีทส่ี ถานประกอบกิจการได้รบั ความเสียหายหรือต้องหยุดการผลิต หรือมีบุคคล
ในสถานประกอบกิจการประสบอันตรายหรือ ได้รบั ความเสียหาย อันเนื่อ งมาจากเพลิงไหม้
การระเบิด สารเคมีรวไหล ั่ หรืออุ บตั ภิ ยั ร้ายแรงอื่น ให้นายจ้างแจ้งต่อพนักงานตรวจความ
ปลอดภัยในทันทีท่ที ราบ โดยโทรศัพท์ โทรสาร หรือวิธอี ่นื ใด และให้แจ้งเป็ นหนังสือโดยระบุ
สาเหตุอนั ตรายทีเ่ กิดขึน้ ความเสียหาย การแก้ไขและวิธกี ารป้ องกันการเกิดซ้าอีกภายในเจ็ดวัน
นับแต่วนั เกิดเหตุ
(3) กรณีท่ีม ีลูก จ้า งประสบอัน ตราย หรือ เจ็บ ป่ วยตามกฎหมายว่ า ด้ว ยเงิน ทดแทน
เมื่อนายจ้าง แจ้งการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยต่อสานักงานประกันสังคมตามกฎหมาย
ดังกล่าวแล้ว ให้นายจ้าง ส่งสาเนาหนังสือแจ้งนัน้ ต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยภายในเจ็ดวัน
ด้วย
291

การแจ้งเป็ นหนังสือตามวรรคหนึ่ง ให้เป็ นไปตามแบบทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนด และเมื่อ


พนักงานตรวจความปลอดภัยได้รบั แจ้งแล้ว ให้ดาเนินการตรวจสอบและหามาตรการป้ องกัน
อันตรายโดยเร็ว
หมวด ๕
พนักงานตรวจความปลอดภัย
มาตรา ๓๕ ในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามพระราชบัญญัตนิ ้ี ให้พนักงานตรวจความปลอดภัย
มีอานาจดังต่อไปนี้
(1) เข้าไปในสถานประกอบกิจการ หรือสานักงานของนายจ้างในเวลาทาการ หรือเมื่อ
เกิดอุบตั ภิ ยั
(2) ตรวจสอบหรือบันทึกภาพ และเสียงเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทางานทีเ่ กี่ยวกับ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(3) ใช้เครื่องมือในการตรวจวัดหรือตรวจสอบเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ในสถานประกอบ
กิจการ
(4) เก็บ ตัว อย่า งของวัส ดุ ห รือ ผลิต ภัณ ฑ์ใ ด ๆ มาเพื่อ การวิเ คราะห์เ กี่ย วกับ ความ
ปลอดภัย
(5) สอบถามข้อเท็จจริง หรือสอบสวนเรือ่ งใด ๆ ภายในขอบเขตอานาจ และเรียกบุคคล
ที่เ กี่ยวข้อ งมาชี้แจง รวมทัง้ ตรวจสอบหรือให้ส่ งเอกสารหลักฐานที่เ กี่ยวข้อ ง และเสนอแนะ
มาตรการ ป้ องกันอันตรายต่ออธิบดีโดยเร็ว
มาตรา ๓๖ ในกรณีท่ีพ นัก งานตรวจความปลอดภัยพบว่า นายจ้า ง ลูกจ้า งหรือ ผู้ท่ี
เกี่ยวข้อ ง ผู้ใ ดฝ่ าฝื นหรือ ไม่ปฏิบตั ิต ามพระราชบัญ ญัติน้ี หรือ กฎกระทรวงซึ่ง ออกตาม
พระราชบัญ ญัติน้ี หรือ พบว่ า สภาพแวดล้อ มในการท างาน อาคาร สถานที่ เครื่อ งจัก ร
หรืออุ ปกรณ์ท่ลี ูกจ้างใช้จะก่ อให้เกิดความ ไม่ปลอดภัยแก่ ลูกจ้าง ให้พนักงานตรวจความ
ปลอดภัยมีอานาจสังให้ ่ ผู้นัน้ หยุดการกระทาที่ฝ่าฝื น แก้ไข ปรับปรุง หรือปฏิบตั ิให้ถูกต้อง
หรือเหมาะสมภายในระยะเวลาสามสิบวัน ถ้ามีเหตุจาเป็ นไม่อาจดาเนินการ ให้แล้วเสร็จภายใน
กาหนดเวลาดังกล่าวได้ พนักงานตรวจความปลอดภัยอาจขยายระยะเวลาออกไปได้ ไม่เกินสอง
ครัง้ ครัง้ ละสามสิบวันนับแต่วนั ทีค่ รบกาหนดเวลาดังกล่าว
มาตรา ๓๗ ในกรณีท่นี ายจ้างไม่ปฏิบตั ิตามคาสังของพนั ่ กงานตรวจความปลอดภัย
ตามมาตรา ๓๖ ถ้ามีเหตุอนั อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงที่กรมสวัสดิการและคุ้มครอง
แรงงาน สมควรเข้าไปดาเนินการแทน ให้อธิบดีห รือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมายมีอ านาจสังให้ ่
พนักงานตรวจ ความปลอดภัยหรือมอบหมายให้บุคคลใดเข้าจัดการแก้ไขเพื่อให้เป็ นไปตาม
คาสังนั ่ น้ ได้ ในกรณีเช่นนี้ นายจ้างต้องเป็ นผูเ้ สียค่าใช้จ่ายสาหรับการเข้าจัดการแก้ไขนัน้ ตาม
จานวนทีจ่ า่ ยจริง
292

มาตรา ๓๘ ให้อธิบดีมอี านาจออกคาสังเป็ ่ นหนังสือให้ยดึ อายัด และขายทอดตลาด


ทรัพย์สนิ ของนายจ้างซึ่งไม่จ่ายค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตามมาตรา ๓๗ ทัง้ นี้ เพียงเท่าที่
จาเป็ นเพื่อเป็ น ค่าใช้จา่ ยสาหรับการเข้าจัดการแก้ไขตามจานวนทีจ่ า่ ยจริง
มาตรา ๓๙ ระหว่า งหยุด การท างานหรือ หยุด กระบวนการผลิต ตามมาตรา ๓๖ ให้
นายจ้าง จ่ายเงินให้แก่ลูกจ้างทีเ่ กี่ยวข้องกับการหยุดการทางานหรือการหยุดกระบวนการผลิต
นัน้ เท่ากับค่าจ้าง หรือสิทธิประโยชน์อ่นื ใดทีล่ ูกจ้างต้องได้รบั เว้นแต่ลูกจ้างรายนัน้ จงใจกระทา
การอันเป็ นเหตุให้มกี าร หยุดการทางานหรือหยุดกระบวนการผลิต
มาตรา ๔๐ ในกรณีท่พี นักงานตรวจความปลอดภัยมีคาสังตามมาตรา ่ ๓๖ วรรคหนึ่ง
หากนายจ้าง ลูก จ้าง หรือผู้ท่เี กี่ยวข้องไม่เห็นด้วย ให้มสี ทิ ธิอุ ทธรณ์ เป็ นหนังสือ ต่ออธิบดีได้
ภายในสามสิบวัน นับแต่วนั ทีท่ ราบคาสัง่ ให้อธิบดีวนิ ิจฉัยอุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่
รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัย ของอธิบดีให้เป็ นทีส่ ุด
การอุ ท ธรณ์ ย่ อ มไม่ เ ป็ น การทุ เ ลาการปฏิบ ัติต ามค าสัง่ ของพนั ก งานตรวจความ
ปลอดภัย เว้นแต่ อธิบดีหรือคณะกรรมการ แล้วแต่กรณี จะมีคาสังเป็ ่ นอย่างอื่น
มาตรา ๔๑ ในการปฏิบ ัติต ามหน้ า ที่ พนัก งานตรวจความปลอดภัย ต้อ งแสดงบัต ร
ประจาตัว เมื่อผูท้ เ่ี กี่ยวข้องร้องขอ บัตรประจาตัวพนักงานตรวจความปลอดภัย ให้เป็ นไปตาม
แบบทีร่ ฐั มนตรีประกาศกาหนด
มาตรา ๔๒ ห้ามนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง หรือโยกย้ายหน้าที่การงานของลูกจ้างเพราะ
เหตุท่ี ลูกจ้างดาเนินการฟ้ องร้องหรือเป็ นพยานหรือให้หลักฐานหรือให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานต่อพนักงานตรวจความปลอดภัย หรือ
คณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี หรือต่อศาล
มาตรา ๔๓ ในกรณีทน่ี ายจ้าง ลูกจ้าง หรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องได้ปฏิบตั ติ ามคาสังของพนั
่ กงาน
ตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ ภายในระยะเวลาทีก่ าหนด การดาเนินคดีอาญาต่อนายจ้าง
ลูกจ้าง หรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องให้เป็ นอันระงับไป

หมวด ๖
กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทางาน
มาตรา ๔๔ ให้จดั ตัง้ กองทุ นขึ้น กองทุน หนึ่ง ในกรมสวัส ดิการและคุ้ม ครองแรงงาน
เรียกว่า “กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน” เพื่อเป็ นทุนใช้
จ่ายในการ ดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี มาตรา ๔๕ กองทุนประกอบด้วย
(1) เงินทุนประเดิมทีร่ ฐั บาลจัดสรรให้
(2) เงินรายปี ทไ่ี ด้รบั การจัดสรรจากกองทุนเงินทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
293

(3) เงินค่าปรับทีไ่ ด้จากการลงโทษผูก้ ระทาผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ี


(4) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
(5) เงินหรือทรัพย์สนิ ทีม่ ผี บู้ ริจาคให้
(6) ผลประโยชน์ทไ่ี ด้จากเงินของกองทุน
(7) ค่าธรรมเนียมใบอนุ ญ าตและใบส าคัญการขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ มาตรา ๑๑
มาตรา ๑๓ และมาตรา ๓๓
(8) ดอกผลทีเ่ กิดจากเงินหรือทรัพย์สนิ ของกองทุน
(9) รายได้อ่นื ๆ
มาตรา ๔๖ เงินกองทุนให้ใช้จา่ ยเพื่อกิจการดังต่อไปนี้
(1) การรณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
และการพัฒนา แก้ไขและบริหารงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน ทัง้ นี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(2) ช่วยเหลือและอุดหนุ นหน่ วยงานของรัฐ สมาคม มูลนิธ ิ องค์กรเอกชน หรือบุคคล ที่
เสนอโครงการหรือแผนงานในการดาเนินการส่งเสริม สนับสนุ นการศึกษาวิจยั และการพัฒนา
งานด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(3) ค่าใช้จา่ ยในการบริหารกองทุนและตามมาตรา ๓๐
(4) สนับสนุ นการดาเนินงานของสถาบันส่ งเสริมความปลอดภัย อาชี ว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานตามความเหมาะสมเป็ นรายปี
(5) ให้นายจ้างกูย้ มื เพื่อแก้ไขสภาพความไม่ปลอดภัย หรือเพื่อป้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุ
และ โรคอันเนื่องจากการทางาน
(6) เงินทดรองจ่ายในการดาเนินการตามมาตรา ๓๗ การดาเนินการตาม (๑) (๒) (๓)
(๔) (๕) และ (๖) ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขทีค่ ณะกรรมการบริหารกองทุน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานกาหนด และให้นาเงินดอกผล
ของกองทุนมาเป็ นค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตาม (๑) (๒) และ (๓) ได้ไม่เกินร้อยละเจ็ดสิบห้า
ของดอกผลของกองทุนต่อปี
มาตรา ๔๗ เงิ น และทรั พ ย์ ส ิ น ที่ ก องทุ น ได้ ร ั บ ตามมาตรา ๔๕ ไม่ ต้ อ งน าส่ ง
กระทรวงการคลัง เป็ นรายได้แผ่นดิน
มาตรา ๔๘ ให้มคี ณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการบริหารกองทุนความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน” ประกอบด้วย อธิบดีกรมสวัสดิการ
และคุ้มครองแรงงาน เป็ น ประธานกรรมการ ผู้แ ทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนส านัก งาน
ประกันสังคม ผูแ้ ทนสานักงบประมาณ และผูท้ รงคุณวุฒอิ กี คนหนึ่งซึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ กับผูแ้ ทน
ฝ่ ายนายจ้างและผูแ้ ทนฝ่ ายลูกจ้างฝ่ ายละห้าคน เป็ นกรรมการ
294

มาตรา ๕๐ ให้ ค ณะกรรมการบริห ารกองทุ น ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ


สภาพแวดล้อม ในการทางานมีอานาจหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
(1) กากับการจัดการและบริหารกองทุน
(2) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนเพื่อ การช่ว ยเหลือ และการอุ ดหนุ น การให้กู้ยมื การ
ทดรองจ่าย และการสนับสนุ นเงินในการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
(3) วางระเบียบเกีย่ วกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุนและการจัดหา
ผลประโยชน์ของเงินกองทุน โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
(4) วางระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขการให้เงินช่วยเหลือและเงิน
อุดหนุ น การขอเงินช่วยเหลือและเงินอุดหนุ น การอนุ มตั เิ งินทดรองจ่าย การขอเงินทดรองจ่าย
การให้กยู้ มื เงิน และการชาระเงินคืนแก่กองทุน
(5) ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ้หี รือกฎหมายอื่นบัญญัตใิ ห้เป็ นอานาจหน้าที่
ของคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน
หรือ ตามทีร่ ฐั มนตรีมอบหมาย

หมวด ๗
สถาบันส่งเสริ มความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
มาตรา ๕๒ ให้มสี ถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน และมีอานาจ หน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
(1) ส่งเสริมและแก้ไขปั ญหาเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการ ทางาน
(2) พัฒนาและสนับสนุ นการจัดทามาตรฐานเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(3) ดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุ น และร่วมดาเนินงานกับหน่ วยงานด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของภาครัฐและเอกชน
(4) จัด ให้ม ีก ารศึก ษาวิจ ัย เกี่ย วกับ การส่ ง เสริม ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน ทัง้ ในด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านวิชาการ
(5) อานาจหน้ าที่อ่ ืนตามที่กาหนดในกฎหมาย ให้กระทรวงแรงงานจัดตัง้ สถาบัน
ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยอยู่ภายใต้การกากับ
ดูแลของรัฐมนตรี ทัง้ นี้ ภายในหนึ่งปี นบั แต่วนั ทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ้ี ใช้บงั คับ
295

บทกาหนดโทษ
มาตรา ๕๓ นายจ้างผู้ใดฝ่ าฝื น หรือไม่ปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่กาหนดในกฎกระทรวง
ทีอ่ อกตาม มาตรา ๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสีแ่ สนบาท หรือทัง้ จา
ทัง้ ปรับ
มาตรา ๕๔ ผูใ้ ดมีหน้าทีใ่ นการรับรอง หรือตรวจสอบเอกสารหลักฐาน หรือรายงานตาม
กฎกระทรวงที่อ อกตามมาตรา ๘ วรรคสอง กรอกข้อ ความอัน เป็ นเท็จ ในการรับ รองหรือ
ตรวจสอบ เอกสารหลักฐานหรือรายงาน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกิน
สองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๕๕ ผูใ้ ดให้บริการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมินความเสีย่ ง จัด
ฝึกอบรม หรือให้คาปรึกษาโดยไม่ได้ขน้ึ ทะเบียนตามมาตรา ๙ หรือไม่ได้รบั อนุ ญาตตามมาตรา
๑๑ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๕๖ นายจ้า งผู้ ใ ดไม่ ป ฏิบ ัติต ามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๖ หรือ มาตรา ๓๒
ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๕๗ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๓๔ ต้องระวางโทษปรับ
ไม่เกินห้าหมืน่ บาท
มาตรา ๕๘ นายจ้างผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา ๑๕ หรือมาตรา ๑๗ ต้องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๕๙ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสีแ่ สนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๐ ผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสาม
เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๑ ผู้ใดขัดขวางการดาเนินการของนายจ้างตามมาตรา ๑๙ หรือขัดขวางการ
ปฏิบตั ิ หน้าทีข่ องพนักงานตรวจความปลอดภัย หรือบุคคลซึง่ ได้รบั มอบหมายตามมาตรา ๓๗
วรรคหนึ่ง โดยไม่มเี หตุอนั สมควร ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสน
บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๒ ผู้ใดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๒๓ ต้องระวางโทษ
จาคุก ไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๓ ผู้ใดกระทาการเป็ นผู้ชานาญการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานโดยไม่ได้รบั ใบอนุญาตตามมาตรา ๓๓ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
หกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
296

มาตรา ๖๔ ผู้ใดขัดขวาง หรือไม่อานวยความสะดวกในการปฏิบตั หิ น้าที่ของพนักงาน


ตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๕ หรือมาตรา ๓๖ วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหก
เดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๕ ผู้ใดฝ่ าฝื น หรือไม่ปฏิบตั ติ ามคาสังของพนั
่ กงานตรวจความปลอดภัยตาม
มาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทางาน
เพื่อ ให้ ก ารบริห ารจัด การเกี่ ย วกับ กฎหมายความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานได้มกี ารปฏิบตั ิตามทัง้ ฝ่ ายนายจ้าง และลูกจ้าง รวมทัง้ ได้มกี าร
ดาเนินการให้ถูกต้องเหมาะสม และช่วยให้ผู้ปฏิบตั งิ านหรือพนักงานได้เกิดความปลอดภัยใน
การทางาน รวมทัง้ ช่วยให้นายจ้างลดภาระเกี่ ยวกับรักษาพยาบาลและให้การดเนินกิจการของ
นายจ้างเป็ นไปด้วยความราบรื่น กระทรวงมหาดไทยจึงได้มกี ารประกาศกระทรวงมหาดไทยให้
นายจ้างได้ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับตามประกาศเกี่ยวกับการควบคุมดูให้ลู กจ้างเกิดความปลอดภัย
ดังนี้
1) กฎกระทรวงแรงงานกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานในทีอ่ บั อากาศ พ.ศ. 2547
2) กฎกระทรวงแรงงานกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับรังสีชนิดก่อไอออน พ.ศ. 2547
3) กฎกระทรวงแรงงานกาหนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารตรวจสุขภาพของลูกจ้างและส่งผล
การตรวจแก่พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547
4) กฎกระทรวงแรงงานกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับงานประดาน้ า พ.ศ. 2548
5) กฎกระทรวงแรงงานกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง
พ.ศ. 2549
6) กฎกระทรวงแรงงานกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549
7) กฎกระทรวงแรงงานกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2551
8) กฎกระทรวงแรงงานกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวเครื่องจักร ปั ้นจัน่ และหม้อน้ า
พ.ศ. 2552
297

9) กฎกระทรวงแรงงานกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (ฉบับที ่ 2) พ.ศ. 2553
นอกจากกฎหมายทีก่ ฎกระทรวงออกตามพระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541
ในหมวด 8 ที่ได้กล่าวข้างต้น ยังมีกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อ งกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน ทีอ่ อกตามพระราชบัญญัตอิ ่นื ดังนี้
1) พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์พ.ศ. 2543 ประกาศคณะกรรมการ
แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ เรือ่ ง มาตรฐานขัน้ ต่าของ สภาพการจ้างในรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2549
2) พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองผูร้ บั งานไปทา ทีบ่ า้ น พ.ศ. 2553
3) พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แก้ไขเพิม่ เติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2551 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2541) กาหนดประเภทของงานที่
อาจเป็ นอันตราย ต่อสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง กฎกระทรวงฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2541)
กาหนดประเภทของงานทีห่ า้ มมิให้ลกู จ้าง ซึง่ เป็ นเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางาน กฎกระทรวงฉบับ
ที1่ 1 (พ.ศ.2541) กาหนดเกี่ยวกับการคุม้ ครองแรงงานในงานบรรทุก หรือขนถ่ายสินค้าเรือเดิน
ทะเล กฎกระทรวงกาหนดอัตราน้าหนักทีน่ ายจ้างให้ลกู จ้างทางานได้พ.ศ. 2547 กฎกระทรวงว่า
ด้วยการคุม้ ครองแรงงานในงานเกษตรกรรม พ.ศ. 2547 กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดสวัสดิการใน
สถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2548

การบริ หารงานกฎหมายความปลอดภัยความปลอดภัย อาชีวอนามัย


และสภาพแวดล้อมในการทางาน
กฎหมายด้านความปลอดภัยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน มีลกั ษณะการบังคับใช้ทจ่ี ะป้ องกันมิให้เกิดอุบตั เิ หตุ หรือโรคเนื่องจากการทางาน และ
ความสูญเสียชีวติ และทรัพย์สนิ โดยรวม ซึง่ มีสาระสาคัญดังนี้
กฎหมายความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทางานที่เ ป็ น
กฎกระทรวง ได้แก่
1. กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริ ห ารและการจัด การด้ านความ
ปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับรังสี ชนิ ดก่อไอออน
พ.ศ. 2547
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
เพื่อใช้เป็ นแนวทางปฏิบตั ใิ นการป้ องกันมิให้ลูกจ้างได้รบั อันตรายจากรังสีในสถานที่
ทางาน
298

ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้
สถานประกอบกิจการทุกประเภทที่ผลิตหรือมีไว้ในครอบครอง ซึ่งต้นกาเนิดรังสีท่ี
สามารถแผ่รงั สีชนิดก่อไอออนได้ กล่าวคือ มีการแตกตัวเป็ นไอออนได้ทงั ้ โดยตรงหรือโดย
ทางอ้อมในตัวกลางทีผ่ ่านไป ได้แก่ รังสีแอลฟา รังสีเบต้า รังสีแกมม่า รังสีเอ็กซ์ อนุ ภาค
นิวตรอน อิเล็คตรอนหรือโปรตรอนทีม่ คี วามเร็วสูง
สาระสาคัญประกอบด้วย
หมวด 1 บททัวไป ่
หมวด 2 การควบคุมและป้ องกันอันตราย
หมวด 3 เครือ่ งหมาย ฉลาก และสัญญาณเตือนภัย
หมวด 4 การแจ้งเหตุและการรายงาน
หมวด 5 การคุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
หมวด 6 เบ็ดเตล็ด

สาระสาคัญของกฎหมาย
ให้นายจ้างซึง่ ผลิตหรือมีไว้ในครอบครองซึง่ ต้นกาเนิดรังสี มีหน้าทีต่ อ้ งดาเนินการ ดังนี้
1.1 หน้ าที่ของนายจ้างในการควบคุมและป้ องกันอันตราย
(1) แจ้งจานวนและปริมาณความแรงรังสีของต้นกาเนิดรังสีต่ ออธิบดีกรม
สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานหรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีฯ มอบหมายภายใน 7 วันนับแต่วนั ทีผ่ ลิตหรือมีไว้
ในครอบครอง
(2) กาหนดพืน้ ทีค่ วบคุมโดยจัดทารัว้ คอกกัน้ หรือเส้นแสดงแนวเขต และจัดให้
มีป้ายข้อความ “ระวังอันตรายจากรังสี ห้ามเข้า” เป็ นภาษาไทยตัวอักษรสีดาบนพืน้ สีเหลือง
แสดงให้เห็นโดยชัดเจนในบริเวณนัน้
(3) จัดให้มเี ครื่องมือหรืออุปกรณ์ช่วยลดปริมาณรังสีทต่ี ้นกาเนิดรังสีทท่ี างผ่าน
รังสี และกาหนดวิธกี ารและเวลาการทางานเพื่อป้ องกันมิให้ลูกจ้างซึง่ ปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีค่ วบคุม
ได้รบั ปริมาณรังสีเกินเกณฑ์กาหนด
(4) จัด ให้ลูก จ้า งซึ่งปฏิบ ัติงานเกี่ยวกับรังสีใ ช้อุ ปกรณ์ บนั ทึกปริมาณรัง สี
ประจาตัวบุคคลตลอดเวลาทีม่ กี ารปฏิบตั งิ าน
(5) จัดทาข้อมูลปริมาณรังสีสะสมทีล่ ูกจ้างได้รบั เป็ นประจาทุกเดือนตามแบบที่
อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานกาหนด และแจ้งปริมาณรังสีสะสมให้ลูกจ้างทราบทุก
ครัง้ และเก็บไว้ ณ สถานทีท่ างานของลูกจ้างพร้อมให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้
(6) จัดให้มลี ูก จ้างอย่างน้ อย 1 คนประจาสถานประกอบกิจการ เป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบดาเนินการทางด้านเทคนิคในเรื่องรังสีตลอดระยะเวลาที่มกี ารทางานเกี่ยวกับรังสี
299

โดยมีคุณสมบัตจิ บการศึกษาไม่ต่ ากว่าปริญญาตรีหรือ เทียบเท่าทางด้านวิทยาศาสตร์โดยศึกษา


และสอบผ่านวิชาเกีย่ วกับการป้ องกันอันตรายจากรังสีอย่างน้อย 3 หน่วยกิต หรือผ่านการอบรม
และทดสอบตามหลัก สู ต รการป้ องกัน อัน ตรายทางรัง สีจ ากส านั ก งานปรมาณู เ พื่อ สัน ติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือสถาบันอื่นที่ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
รับรอง
(7) ต้องแจ้งชื่อและคุณสมบัติของผู้รบั ผิดชอบดาเนินการทางด้านเทคนิคใน
เรือ่ งรังสีต่ออธิบดีฯ หรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีฯ มอบหมายตามแบบทีอ่ ธิบดีฯ กาหนดภายใน 7 วัน นับแต่
วันทีจ่ ดั ให้มผี รู้ บั ผิดชอบฯ
(8) จัดให้มที ่ลี า้ งมือ ทีล่ ้างหน้าและทีอ่ าบน้ า จัดเก็บชุดทางาน และทาความ
สะอาดชุดทางาน สิง่ ของ อุปกรณ์ เครื่องใช้ รวมทัง้ สถานทีท่ ม่ี กี ารเปรอะเปื้ อนหรือปนเปื้ อนสาร
กัมมันตรังสีภายในเวลาทีเ่ หมาะสมโดยวิธที ป่ี ลอดภัย
(9) จัดให้มแี ผนกป้ องกันและระงับอันตรายจากรังสีในภาวะการทางานปกติและ
เหตุฉุกเฉิน หรืออุบตั เิ หตุรา้ ยแรง และส่งแผนต่ออธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน หรือผู้
ซึง่ อธิบดีฯ มอบหมายภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทีผ่ ลิตหรือมีไว้ในครอบครองซึง่ ต้นกาเนิดรังสี
1.2 หน้ าที่ของนายจ้างในการจัดทาเครื่องหมาย ฉลาก และสัญญาณเตือนภัย
(1) จัดให้มเี ครือ่ งหมายเตือนภัยติดไว้ให้เห็นได้ชดั เจนในบริเวณทีม่ รี งั สี ทีม่ กี าร
ฟุ้งกระจายของสารกัมมันตรังสี หรือทีม่ กี ารเก็บรักษาสารกัมมันตรังสี ทัง้ นี้ให้เป็ นไปตามแบบที่
อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานกาหนด
(2) จัดทาฉลากทีม่ เี ครื่องหมายและข้อความเตือนภัยติดไว้ทภ่ี าชนะทีใ่ ช้บรรจุ
หรือห่อหุม้ สารกัมมันตรังสีตามแบบทีอ่ ธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานกาหนด
(3) จัดให้ม ีป้า ยห้ามน าภาชนะหรือ วัส ดุ ท่ีเ ปรอะเปื้ อ นหรือ ปนเปื้ อ นสาร
กัมมันตรังสีออกไปนอกบริเวณทีป่ ฏิบตั กิ าร
(4) จัดให้มสี ญ
ั ญาณไฟกะพริบสีแดงเพื่อเตือนภัยบริเวณรังสีสงู ให้เห็นได้ชดั เจน
(5) จัดให้มรี ะบบสัญญาณฉุ กเฉินกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินทางรังสีเพื่อให้ลูกจ้าง
ออกไปยังสถานทีท่ ป่ี ลอดภัย
1.3 หน้ าที่ของนายจ้างในการแจ้งเหตุและรายงาน
(1) กรณีทต่ี ้นกาเนิดรังสี อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรทีเ่ กี่ยวเนื่องกับการใช้
รังสีเกิดความเสียหาย ชารุด แตกร้าวหรือสูญหาย ซึง่ อาจทาให้สารกัมมันตรังสีรวไหล ั่ หก หล่น
หรือฟุ้งกระจาย สูญหาย เกิดอัคคีภยั เกิดเหตุฉุกเฉินทางรังสีหรืออุบตั เิ หตุรา้ ยแรง อันอาจเป็ น
เหตุให้ลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่ วยหรือตาย ให้แจ้งเหตุดงั กล่าวโดยทันทีต่ออธิบดีฯ หรือผู้
ซึง่ อธิบดีมอบหมาย
(2) กรณีมกี ารตาย การเจ็บป่ วย การประสบอันตราย หรือการเกิดโรคเนื่องจาก
การทางานเกีย่ วกับรังสี ให้รายงานต่ออธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน หรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีฯ
300

มอบหมายภายใน 15 วันนับแต่วนั ทีล่ ูกจ้างตายหรือได้รบั อันตรายเนื่องจากการทางานเกี่ยวกับ


รังสี
(3) รายงานการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั ผิดชอบดาเนินการทางด้านเทคนิคในเรื่อง
รังสีต่ออธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน หรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีฯ มอบหมาย ทุกหกเดือนตามปี
ปฏิทนิ ตามแบบรายงานทีอ่ ธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานกาหนด
1.4 หน้ าที่ของนายจ้างในการคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล และหน้ าที่อื่นๆ
(1) จัดให้มอี ุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามมาตรฐานที่อธิบดี
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานกาหนด
(2) จัดให้ลกู จ้างซึง่ ปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับรังสีได้รบั การอบรมให้เข้าใจและทราบถึง
อันตรายและวิธปี ้ องกันอันตรายจากรังสี ก่อนเข้ารับหน้าที่ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่อธิบดี
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานกาหนด
(3) จัดทาแนวปฏิบตั ิ ข้อบังคับ กฎหรือระเบียบว่าด้วยความปลอดภัยในการ
ทางานเกี่ยวกับรังสีทม่ี ขี อ้ ความเป็ นภาษาไทย ปิ ดประกาศโดยเปิ ดเผย ณ สถานที่ทางานของ
ลูกจ้าง
(4) จัดให้ลูกจ้างซึง่ ปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับรังสีได้ร บั การตรวจสุขภาพ อย่างน้อยปี
ละครัง้ และเก็บผลการตรวจสุขภาพพร้อมทีจ่ ะให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ตลอดเวลา
ทาการ กรณีทพ่ี บความผิดปกติของร่างกายหรือความเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางานเกี่ยวกับรังสี
ของลูกจ้าง ต้องจัดให้ลูกจ้างได้รบั การรักษาพยาบาลในทันที และเปลี่ยนงานที่เหมาะสมให้
ลูกจ้างนัน้ เป็ นการชัวคราวตามค
่ าแนะนาของแพทย์หรือตามทีเ่ ห็นสมควร

2. กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริ ห ารและการจัด การด้ านความ


ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานในที่อบั อากาศ พ.ศ. 2547
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
เพื่อป้ องกันมิให้ลูกจ้างได้รบั อันตรายจากการทางานในที่อบั อากาศที่ทาให้ขาดอากาศ
หายใจหรือได้รบั อันตรายจากสารพิษ

ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้
ใช้บงั คับกับสถานประกอบกิจการทุกประเภททีม่ ที อ่ี บั อากาศ โดยทีอ่ บั อากาศหมายถึง
ทีซ่ ง่ึ มีทางเข้าออกจากัดและมีการระบายอากาศไม่เพียงพอทีจ่ ะทาให้อากาศภายในอยู่ในสภาพ
ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย เช่น อุโมงค์ ถ้า บ่อ หลุม ห้องใต้ดนิ ห้องนิรภัย ถังหมัก ถัง
ไซโล ท่อ เตา ภาชนะหรือสิง่ อื่นทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกัน
301

สาระสาคัญประกอบด้วย
หมวด 1 บททัวไป ่
หมวด 2 มาตรการความปลอดภัย
หมวด 3 การอนุญาต
หมวด 4 การฝึกอบรม
สาระสาคัญของกฎหมาย
2.1 ให้ นายจ้างที่ สถานประกอบกิ จการมีที่อบั อากาศต้ องดาเนิ นการเพื่อให้ เกิ ด
ความปลอดภัยในการทางาน ดังนี้
(1) จัดทาป้ ายแจ้งข้อความ “ที่อบั อากาศ อันตราย ห้ามเข้า ” บริเวณ
ทางเข้าออกทีอ่ บั อากาศทุกแห่ง พร้อมทัง้ จัดให้มสี งิ่ ปิ ดกัน้ เพื่อมิให้บุคคลเข้าหรือตกลงไปได้
(2) ต้องมีหนังสืออนุญาตให้ลกู จ้างทางานในทีอ่ บั อากาศซึง่ มีรายละเอียดตามที่
กฎกระทรวงกาหนด
(3) จัดให้มกี ารตรวจ บันทึกผลการตรวจวัดและประเมินสภาพอากาศในทีอ่ บั
อากาศก่อนให้ลกู จ้างเข้าทางานและระหว่างที่ลกู จ้างทางานในทีอ่ บั อากาศ
(4) จัดให้มกี ารฝึกอบรมความปลอดภัยในการทางานในทีอ่ บั อากาศแก่ลูกจ้าง
ทุกคนทีท่ างานในทีอ่ บั อากาศ ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และหลักสูตรทีอ่ ธิบดีกรมสวัสดิการและ
คุม้ ครองแรงงานประกาศกาหนด และเก็บหลักฐานการฝึ กอบรมไว้ให้พนักงานตรวจแรงงาน
ตรวจสอบได้
(5) แต่งตัง้ ลูกจ้างที่มคี วามรูค้ วามสามารถ และได้รบั การฝึ กอบรมความ
ปลอดภัยในการทางานในทีอ่ บั อากาศให้เป็ นผูค้ วบคุมงาน กรณีทม่ี กี ารทางานในทีอ่ บั อากาศ
(6) จัดให้ลูกจ้างซึ่งได้รบั การฝึ กอบรมความปลอดภัยในการทางานในที่อบั
อากาศเป็ นผูช้ ่วยเหลือ พร้อมด้วยอุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวติ ทีเ่ หมาะสมกับลักษณะงาน
(7) จัดให้มอี ุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล อุปกรณ์ช่วยเหลือและ
ช่วยชีวติ ที่เหมาะสมกับลักษณะงานตามมาตรฐานที่อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ประกาศกาหนด และควบคุมดูแลให้ลูกจ้างสวมใส่ห รือใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย
ดังกล่าว
(8) ปิ ด กัน้ หรือกระทาการใดๆ เพื่อป้ องกันมิให้พลังงาน สาร หรือสิง่ ที่เป็ น
อันตรายจากภายนอกเข้าสู่ทอ่ี บั อากาศในระหว่างทีล่ กู จ้างกาลังทางานในทีอ่ บั อากาศ
(9) จัดบริเวณทางเดิน หรือทางเข้าออกให้เดินหรือเข้าออกได้สะดวก และ
ปลอดภัย
(10) ปิ ดประกาศห้ามลูกจ้างสูบบุหรี่ ณ ทางเข้าออกทีอ่ บั อากาศ
(11) จัดอุปกรณ์ไฟฟ้ าทีเ่ หมาะสมกับการใช้งานในทีอ่ บั อากาศ
302

(12) จัดให้มเี ครือ่ งดับเพลิง


(13) ไม่ให้ลูกจ้างทางานที่ทาให้เกิดความร้อน หรือประกายไฟ และใช้สาร
ระเหย สารพิษ สารไวไฟในทีอ่ บั อากาศ เว้นแต่จะได้จดั ให้มมี าตรการเพื่อความปลอดภัย
2.2 การทางานในที่ อบั อากาศแต่ ละครัง้ จะต้ องมีลูกจ้างทางานไม่น้อยกว่า 3 คน
ดังนี้
(1) ผูค้ วบคุมงาน ซึง่ ได้รบั การฝึกอบรมความปลอดภัยในการทางานในทีอ่ บั
อากาศ
(2) ผูช้ ่วยเหลือ หนึ่งหรือหลายคนซึง่ ได้รบั การฝึกอบรมความปลอดภัยในการ
ทางานในทีอ่ บั อากาศ มีหน้าทีเ่ ฝ้ าดูแลบริเวณทางเข้าออกทีอ่ บั อากาศสามารถติดต่อสื่อสารกับ
ลูกจ้างทีท่ างานในทีอ่ บั อากาศได้ตลอดเวลา
(3) ลูกจ้างทีท่ างานในทีอ่ บั อากาศ มีหน้าทีท่ างานในทีอ่ บั อากาศตามทีไ่ ด้รบั
อนุญาตจากนายจ้าง ลูกจ้างคนเดียวกันจะปฏิบตั หิ น้าทีห่ ลายตาแหน่งในคราวเดียวกันไม่ได้
3. กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์และวิ ธีการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง และส่งผล
การตรวจแก่พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
เพื่อคุ้มครองป้ องกันและเฝ้ าระวังปั ญหาสุขภาพอนามัยที่อาจเกิดขึ้นจากการ
ทางานของลูกจ้าง
ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้
ใช้บงั คับกับนายจ้างทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 1 คนขึน้ ไป ซึง่ มีสถานทีท่ างานเกี่ยวกับปั จจัยเสีย่ ง
งานเกี่ยวกับปั จจัยเสีย่ ง หมายถึง งานทีล่ ูกจ้างทาเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี รวมทัง้ สารเคมี
อันตราย จุลชีวนั ทีเ่ ป็ นพิษ ความร้อน ความเย็น ความสันสะเทื ่ อน ความกดดันบรรยากาศ แสง
เสียง และสภาพแวดล้อมทีอ่ าจเป็ นอันตรายตามทีร่ ฐั มนตรีประกาศกาหนด
สาระสาคัญประกอบด้วย
หมวด 1 การตรวจสุขภาพ
หมวด 2 การบันทึกผล การแจ้ง และการส่งผลการตรวจสุขภาพ

สาระสาคัญของกฎหมาย
3.1 จัดให้ ลูกจ้างทางานเกี่ยวกับปั จจัยเสี่ยง ต้ องดาเนิ นการเพื่อให้ เกิ ดความ
ปลอดภัยในการทางาน ดังนี้
3.1.1 จัดให้ลกู จ้างได้รบั การตรวจสุขภาพจากแพทย์ทม่ี คี ุณสมบัติ ดังนี้
(1) แพทย์แผนปั จจุบนั ชัน้ หนึ่งทีไ่ ด้รบั ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพเวช-
กรรมด้านอาชีวเวชศาสตร์ หรือ
303

(2) ผ่านการอบรมด้านอาชีวเวชศาสตร์ หรือ


(3) มีคุณสมบัตติ ามทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนด
3.1.2 จัดให้ลกู จ้างได้รบั การตรวจสุขภาพตามกาหนดระยะเวลาการตรวจ ดังนี้
(1) ตรวจสุขภาพลูกจ้างครัง้ แรกภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทีร่ บั ลูกจ้าง
เข้าทางาน
(2) ตรวจสุขภาพลูกจ้างครัง้ ต่อไปอย่างน้อยปี ละครัง้
(3) กรณีทล่ี กั ษณะหรือสภาพของงานต้องตรวจสุขภาพตามระยะเวลา
อื่น ให้นายจ้างจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพลูกจ้างตามระยะเวลานัน้
(4) กรณีทน่ี ายจ้างเปลีย่ นงานลูกจ้าง โดยทีง่ านนัน้ มีอนั ตรายแตกต่าง
ไปจากเดิม นายจ้างต้องจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพของลูกจ้างทุกครัง้ ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่
เปลีย่ นงาน
3.1.3 กรณีท่ลี ูกจ้างหยุดงาน 3 วันทางานติดต่อกันเนื่องจากประสบอันตราย
หรือเจ็บป่ วย นายจ้างอาจขอความเห็นแพทย์ผู้ทาการรักษา หรือแพทย์ประจาสถานประกอบ
กิจการ หรือจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพของลูกจ้างก่อนให้ลกู จ้างกลับเข้าทางานอีกก็ได้
3.1.4 จัดให้มสี มุดสุขภาพประจาตัวของลูกจ้างที่ทางานเกี่ยวกับปั จจัยเสี่ยง
ตามแบบที่อธิบดีประกาศกาหนด และบันทึกผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างในสมุดสุขภาพ
ประจาตัวของลูกจ้างตามผลการตรวจของแพทย์ทุกครัง้ ทีม่ กี ารตรวจสุขภาพ
3.1.5 เก็บบันทึกผลการตรวจสุขภาพ รวมทัง้ ข้อมูลสุขภาพทีเ่ กี่ยวข้องไม่น้อย
กว่าสองปี นับแต่วนั สิน้ สุดของการจ้างแต่ละราย เว้นแต่มกี ารร้องทุกข์ว่านายจ้างไม่ปฏิบตั ติ าม
กฎหมายหรือการฟ้ องร้องคดีเกี่ยวกับโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพของลูกจ้างให้นายจ้างเก็บ
รักษาเอกสารนัน้ ไว้จนกว่าจะมีคาสังหรื ่ อคาพิพากษาถึงทีส่ ุด ทัง้ นี้ มิให้นายจ้างนาข้อมูลนัน้ ไป
ใช้ในทางทีเ่ ป็ นโทษแก่ลกู จ้างโดยไม่มเี หตุอนั สมควร
3.1.6 แจ้งผลการตรวจสุขภาพให้แก่ลกู จ้าง ดังนี้
(1) กรณีผลการตรวจสุขภาพผิดปกติ ให้แจ้งแก่ลูกจ้างภายใน 3 วันนับ
แต่วนั ทีท่ ราบผลการตรวจ
(2) กรณีผลการตรวจสุขภาพปกติ ให้แจ้งแก่ลูกจ้างภายใน 7 วันนับแต่
วันทีท่ ราบผลการตรวจ
3.1.7 จัดให้ลูกจ้างได้รบั การรักษาพยาบาลทันทีทพ่ี บความผิดปกติของลูกจ้าง
หรือลูกจ้างเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางาน และทาการตรวจสอบหาสาเหตุของความผิดปกติเพื่อ
ประโยชน์ในการป้ องกัน
3.1.8 ให้นายจ้างส่งผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างทีพ่ บความผิดปกติหรือการ
เจ็บป่ วย การให้การรักษาพยาบาลและการป้ องกันแก้ไขต่อพนักงานตรวจแรงงานตามแบบที่
อธิบดีประกาศกาหนดภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีท่ ราบความผิดปกติหรือการเจ็บป่ วย
304

3.1.9 ให้นายจ้างเปลี่ยนงานให้แก่ ลูกจ้างในกรณีท่ลี ูก จ้างมีห ลักฐานทาง


การแพทย์ว่าไม่อาจทางานในหน้าทีเ่ ดิมได้
3.1.10 ให้นายจ้างมอบสมุดสุขภาพประจาตัวลูกจ้างที่ทางานเกี่ยวกับปั จจัย
เสีย่ งให้แก่ลกู จ้างเมือ่ สิน้ สุดการจ้าง
3.2. หน้ าที่ของแพทย์ผท้ ู าการตรวจสุขภาพ
3.2.1 บันทึกรายละเอียดเกีย่ วกับผลการตรวจสุขภาพ โดยให้ระบุความเห็นของ
แพทย์ทบ่ี ่งบอกถึงภาวะสุขภาพของลูกจ้างทีม่ ผี ลกระทบหรือเป็ นอุปสรรคต่อการทางาน
3.2.2 ลงลายมือชื่อแพทย์ผทู้ าการตรวจหรือให้ความเห็นในวันทีท่ าการตรวจ
4. กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริ ห ารและการจัด การด้ านความ
ปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับงานประดาน้า พ.ศ.
2548
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
เพื่อความปลอดภัยของลูกจ้างทีท่ างานเกีย่ วกับงานประดาน้ า
ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้
ใช้บงั คับกับนายจ้างที่มลี ูกจ้างทางานเกี่ยวข้องกับงานประดาน้ าลึกตัง้ แต่สบิ ฟุตแต่ไม่
เกินสามร้อยฟุต
สาระสาคัญประกอบด้วย
หมวด 1 งานประดาน้า
หมวด 2 การคุม้ ครองความปลอดภัยในการดาน้า
หมวด 3 อุปกรณ์สาหรับงานประดาน้า
สาระสาคัญของกฎหมาย
4.1 ให้นายจ้างแจ้งสถานทีท่ จ่ี ะปฏิบตั งิ านประดาน้ าต่ออธิบดี หรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมาย
ตามแบบทีอ่ ธิบดีกาหนด ทัง้ นี้ไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนการปฏิบตั งิ าน
4.2 จัดให้ลูกจ้างที่ทางานประดาน้ า ได้รบั การตรวจสุขภาพตามหลักเกณฑ์ท่อี ธิบดี
กาหนด
4.3 ลูกจ้างที่ทางานประดาน้ า ต้องมีอายุไม่ต่ ากว่า 18 ปี บริบูรณ์ มีสุขภาพร่างกาย
สมบูรณ์แข็งแรง ไม่เป็ นโรคตามทีอ่ ธิบดีกาหนด และมีความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์
งานประดาน้า โดยต้องผ่านการทดสอบตามหลักสูตรทีอ่ ธิบดีกาหนด
4.4 การปฏิบตั งิ านดาน้าต้องประกอบด้วยบุคคลต่างๆ ดังต่อไปนี้
(1) หัวหน้านักประดาน้า
(2) พีเ่ ลีย้ งนักประดาน้า
(3) นักประดาน้า
305

(4) นักประดาน้าพร้อมดา
(5) ผูค้ วบคุมระบบการจ่ายอากาศและติดต่อสื่อสาร
ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ระดับความลึกและข้อกาหนดของกฎหมาย
4.5 ต้องควบคุมลูกจ้างปฏิบตั ติ ามตารางมาตรฐานการดาน้ าและการลดความกดดัน
ตลอดจนการพัก เพื่อ ปรับสภาพร่างกายก่ อ นที่จะดาลงในครัง้ ต่ อ ไปตามหลักเกณฑ์ท่อี ธิบ ดี
กาหนด
4.6 จัดให้มพี ยาบาลเวชศาสตร์ใต้น้า แพทย์เวชศาสตร์ใต้น้ า และอุปกรณ์ทเ่ี กี่ยวข้องกับ
การทางานประดาน้ าตามข้อกาหนดของกฎหมาย
4.7 จัดให้มบี ริการการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น และออกซิเจนหนึ่งร้อยเปอร์เซ็นต์พร้อม
หน้ากากช่วยหายใจ เพื่อช่วยเหลือนักประดาน้าตลอดระยะเวลาทีม่ กี ารดาน้า
4.8 ลูกจ้างทีท่ างานประดาน้ าอาจปฏิเสธการดาน้ าในคราวใดก็ได้ หากเห็นว่าการดาน้ า
คราวนัน้ อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวติ ร่างกาย หรือสุขภาพอนามัยของตน
4.9 นายจ้างและหัวหน้านักประดาน้ าต้องสังให้ ่ ลูกจ้างหยุดหรือเลิกการดาน้ าในกรณี
ต่อไปนี้
(1) เมือ่ พีเ่ ลีย้ งนักประดาน้าและนักประดาน้าไม่สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
(2) เมื่อนักประดาน้ าต้องใช้อากาศสารองจากขวดอากาศ หรือขวดอากาศ
สารอง
(3) เมือ่ นายจ้างหรือหัวหน้านักประดาน้ าพิจารณาแล้วเห็นว่าการดาน้ าในพืน้ ที่
บริเวณนัน้ ไม่ปลอดภัย
4.10 นายจ้างต้องจัดอุปกรณ์สาหรับการทางานประดาน้ า ดังต่อไปนี้
(1) เครื่องประดาน้ าประเภทขวดอากาศ (Scuba) ประกอบด้วยอุปกรณ์อย่าง
น้อยดังต่อไปนี้
(ก) ขวดอากาศ (Tank)
(ข) เข็มขัดน้าหนัก (Weight belt)
(ค) เครือ่ งผ่อนกาลังดันอากาศ (Regulator)
(ง) เครือ่ งวัดความลึก (Depth gauge)
(จ) เครือ่ งวัดอากาศ (Pressure gauge)
(ฉ) ชุดดาน้า (Diving suit)
(ช) ชูชพี (Life preserver or Buoyancy compensator)
(ซ) เชือกช่วยชีวติ (Life line)
(ฌ) ตีนกบ (Fins)
(ญ) นาฬิกาดาน้า (Submersible wrist watch)
(ฎ) มีดดาน้า (Dive knife)
306

(ฏ) สายผ่อนอากาศสารอง (Octopus)


(ฐ) หน้ากาก (Mask)
(2) เครื่อ งประดาน้ า ประเภทใช้อ ากาศจากผิว น้ า (Surface supply)
ประกอบด้วยอุปกรณ์อย่างน้อย ดังต่อไปนี้
(ก) ขวดอากาศสารอง (Emergency gas supply)
(ข) เครือ่ งอัดอากาศ (Compressure)
(ค) ชุดดาน้า (Diving suit)
(ง) ชุดสายรัดตัว (Harness)
(จ) ตะกัวถ่่ วงหรือน้าหนักถ่วง (Weight)
(ฉ) ตีนกบหรือรองเท้า (Fins of Boots)
(ช) ตู้ควบคุมระบบการจ่ายอากาศและติดต่อสื่อสาร (Control console
assembly)
(ซ) ถังพักอากาศ (Air bank)
(ฌ) มีดดาน้า (Dive Knife)
(ญ) สายอากาศ สายโทรศัพท์ สายวัดความลึก และเชือกช่วยชีวติ
(Umbilicals)
(ฎ) หัวครอบดาน้าหรือหน้ากากดาน้า (Helmet of Mask)

5. กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริ ห ารและการจัด การด้ านความ


ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง
และเสียง พ.ศ. 2549
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
เพื่อคุ้มครองและป้ องกันลูกจ้างที่ทางานในสิง่ แวดล้อมการทางานเกี่ยวกับความร้อน
แสงสว่าง และเสียงและเฝ้ าระวังสิง่ แวดล้อมในการทางานทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพของลูกจ้าง
ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้
ใช้บงั คับกับนายจ้างทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 1 คนขึน้ ไป
สาระสาคัญประกอบด้วย
หมวด 1 ความร้อน
หมวด 2 แสงสว่าง
หมวด 3 เสียง
หมวด 4 อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
หมวด 5 การตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทางาน
307

หมวด 6 การตรวจสุขภาพและการรายงานผลการตรวจสุขภาพ
สาระสาคัญของกฎหมาย
5.1 ให้นายจ้างดาเนิ นการเพื่อให้เกิ ดความปลอดภัยในการทางาน ดังนี้
5.1.1 ความร้อน ให้นายจ้างควบคุมและรักษาระดับความร้อนภายใน
สถานประกอบกิจการมิให้เกินมาตรฐาน ดังนี้
(1) งานทีล่ กู จ้างทาในลักษณะงานเบา มีระดับความร้อนไม่เกินค่าเฉลีย่
อุณหภูมเิ วตบัลบ์โกลบ 34 องศาเซลเซียส
(2) งานทีล่ ูกจ้างทาในลักษณะงานปานกลาง มีระดับความร้อนไม่เกิน
ค่าเฉลีย่ อุณหภูมเิ วตบัลบ์โกลบ 32 องศาเซลเซียส
(3) งานที่ลูกจ้างทาในลักษณะงานหนัก มีระดับความร้อนไม่เกิน
ค่าเฉลีย่ อุณหภูมเิ วตบัลบ์โกลบ 30 องศาเซลเซียส
แนวทางแก้ไข กรณีสถานประกอบกิจการมีระดับความร้อนเกินมาตรฐาน
ให้นายจ้างดาเนินการปรับปรุงแก้ไขสภาวะการทางานทางด้านวิศวกรรม หากปรับปรุงแก้ไข
ไม่ได้ตอ้ งปิ ดประกาศเตือนให้ลกู จ้างทราบ และจัดอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้
ลูกจ้างสวมใส่ตลอดเวลาทีท่ างาน
5.1.2 แสงสว่าง ให้นายจ้างจัดให้สถานประกอบกิจการมีความเข้มของแสง
ไม่ต่ากว่ามาตรฐานทีก่ าหนด โดยจาแนกตามลักษณะงาน ดังนี้
(1) บริเวณพืน้ ทีท่ วไปของสถานประกอบกิ
ั่ จการ เช่น ทางเดิน ห้องน้ า
ให้เป็ นไปตามมาตรฐานตารางที่ 1
(2) บริเวณพืน้ ทีก่ ระบวนการผลิต ให้เป็ นไปตามมาตรฐานตารางที่ 2
(3) บริเวณทีล่ ูกจ้างต้องใช้สายตามองเฉพาะจุด หรือใช้สายตาอยู่กบั ที่
ให้เป็ นไปตามมาตรฐานตารางที่ 3
(4) บริเวณทีล่ ูกจ้างต้องใช้สายตามองเฉพาะจุด หรือใช้สายตาอยู่กบั ที่
ทีม่ ไิ ด้กาหนดไว้ในตารางที่ 3 ให้เป็ นไปตามมาตรฐานตารางที่ 4
(5) บริเวณรอบๆ สถานที่ท่ลี ูกจ้างต้องใช้สายตามองเฉพาะจุดให้
เป็ นไปตามมาตรฐานตารางที่ 5
แนวทางแก้ไข ให้นายจ้างจัดให้มฉี าก แผ่นพิมพ์กรองแสง หรือมาตรการ
อื่นทีเ่ หมาะสม เพื่อป้ องกันแสงส่องเข้านัยน์ตาลูกจ้าง กรณีทป่ี ้ องกันมิได้ ให้จดั อุปกรณ์คุม้ ครอง
ความปลอดภัยส่วนบุคคลให้ลกู จ้างสวมใส่ตลอดเวลาทีท่ างาน
5.1.3 เสียง
(6) ให้นายจ้างควบคุมระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รบั เฉลี่ยตลอดเวลาการ
ทางานในแต่ละวันมิให้เกินมาตรฐานทีก่ าหนด
308

(7) ให้นายจ้างให้ลูกจ้างหยุดทางานในบริเวณทีร่ ะดับเสียงกระทบหรือ


เสียงกระแทกเกิน 140 เดซิเบลเอ หรือมีปริมาณเสียงสะสมของเสียงกระทบหรือเสียงกระแทก
เกินมาตรฐานทีก่ าหนด
(8) กรณีท่สี ภาวะการทางานมีระดับเสียงเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการ
ทางาน 8 ชัวโมง ่ ตัง้ แต่ 85 เดซิเบลเอ ขึน้ ไปให้นายจ้างจัดทาโครงการอนุ รกั ษ์การได้ยนิ ตาม
หลักเกณฑ์วธิ กี ารทีอ่ ธิบดี กาหนด
(9) บริเวณทีม่ รี ะดับเสียงเกินมาตรฐานทีก่ าหนด ให้นายจ้างจัดให้ม ี
เครือ่ งหมายเตือนให้ใช้อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
แนวทางแก้ไข กรณีสภาวะการทางานมีระดับเสียงเกินมาตรฐานทีก่ าหนด
ให้นายจ้างดาเนินการปรับปรุงแก้ไขต้นกาเนิดเสียง หรือทางผ่านของเสียง หากปรับปรุงแก้ไข
ไม่ได้ ให้จดั อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้ลกู จ้างสวมใส่ตลอดเวลาการทางาน
5.2 ให้นายจ้างจัดให้มกี ารตรวจวัด และวิเคราะห์สภาวะการทางานเกี่ยวกับระดับความ
ร้อน แสงสว่าง หรือเสียง ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่อธิบดีกาหนด และจัดทารายงานโดยมี
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ หรือผูท้ จ่ี บปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัย
เป็ นผูร้ บั รองรายงานดังกล่าว ส่งอธิบดี ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทีท่ าการตรวจวัด และเก็บไว้ให้
พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้
6. กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริ ห ารและการจัด การด้ านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
1. เพื่อให้มผี ดู้ แู ลรับผิดชอบเรือ่ งความปลอดภัยในการทางานในสถานประกอบกิจการ
2. เพื่อส่งเสริมให้มกี ารดาเนินการด้านความปลอดภัยในระบบทวิภาคีข้นึ ในสถาน
ประกอบกิจการ
ขอบเขตการบังคับใช้กฎหมาย
1. การทาเหมืองแร่ เหมือนหิน กิจการปิ โตรเลียมหรือปิ โตรเคมี
2. การทา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบารุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแต่ง เสริมแต่ง
ดัดแปลง แปรสภาพ ทาให้เสีย หรือทาลายซึ่งวัตถุหรือทรัพย์สนิ รวมทัง้ การต่อเรือ การให้
กาเนิด แปลงและจ่ายไฟฟ้ าหรือพลังงานอย่างอื่น
3. การก่อสร้าง ต่อเติม ติดตัง้ ซ่อม ซ่อมบารุง ดัดแปลง หรือรือ้ ถอนอาคาร สนามบิน
ทางรถไฟ ทางรถราง ทางรถใต้ดนิ ท่าเรือ อู่เรือ สะพานเทียบเรือ ทางน้ า ถนน เขื่อน อุโมงค์
สะพาน ท่อระบาย ท่อน้า โทรเลข โทรศัพท์ ไฟฟ้ า ก๊าซหรือประปา หรือสิง่ ก่อสร้างอื่นๆ รวมทัง้
การเตรียมหรือวางรากฐานของการก่อสร้าง
309

4. การขนส่งคนโดยสารหรือสินค้าโดยทางบก ทางน้ า ทางอากาศ และรวมทัง้ การ


บรรทุกขนถ่ายสินค้า
5. สถานีบริการหรือจาหน่ายน้ ามันเชือ้ เพลิงหรือก๊าซ
6. โรงแรม
7. ห้างสรรพสินค้า
8. สถานพยาบาล
9. สถาบันทางการเงิน
10. สถานตรวจทดสอบทางกายภาพ
11. สถานบริการบันเทิง นันทนาการ หรืการกีฬา
12. สถานปฏิบตั กิ ารทางเคมีหรือชีวภาพ
13. สานักงานทีป่ ฏิบตั งิ านสนับสนุ นสถานประกอบกิจการตาม ข้อ 1 ถึง ข้อ 12
14. กิจการอื่นตามทีก่ ระทรวงแรงงานประกาศกาหนดใช้บงั คับกับ
(1) สถานประกอบกิจการประเภทที่ 1 ทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 1 คนขึน้ ไป
(2) สถานประกอบกิจการประเภทที่ 2-5 ทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป
(3) สถานประกอบกิจการประเภทที่ 6-14 ทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 20 คนขึน้ ไป
สาระสาคัญประกอบด้วย
หมวด 1 บททัวไป ่
หมวด 2 คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน
หมวด 3 หน่ วยงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ของสถานประกอบกิจการ
หมวด 4 การแจ้ง การส่งเอกสาร และการเก็บเอกสารหลักฐาน
สาระสาคัญของกฎหมาย
กาหนดให้นายจ้างดาเนินการ ดังต่อไปนี้
6.1 จัดให้มขี อ้ บังคับ และคู่มอื ว่าด้วยความปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ จัดให้มกี าร
อบรมและฝึกปฏิบตั จิ นกว่าลูกจ้างจะทางานได้อย่างปลอดภัย ทัง้ นี้ให้รวมไปถึงผูร้ บั เหมาขัน้ ต้น
และผูร้ บั เหมาช่วงทีป่ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบกิจการนัน้ ด้วย
6.2 กรณีทม่ี ลี ูกจ้างใหม่ และลูกจ้างทีเ่ ปลีย่ นงานซึง่ อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ ให้จดั
อบรมลูกจ้างให้มคี วามรู้ ตามข้อบังคับและคู่มอื ดังกล่าวก่อนการปฏิบตั งิ าน
6.3 กรณีสงให้
ั ่ ลูกจ้างไปทางาน ณ สถานทีอ่ ่นื ซึง่ อาจเป็ นอันตรายต่อ ลูกจ้าง ให้แจ้ง
ข้อมูลเกีย่ วกับอันตรายและวิธกี ารป้ องกันให้ลกู จ้างทราบก่อนการปฏิบตั งิ าน
6.4 ให้นายจ้างในสถานประกอบกิจการ ตามข้อ 1 ถึง 5 ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป
และตามข้อ 6 ถึง 14 ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 20 คนขึน้ ไป แต่งตัง้ ลูกจ้างระดับหัวหน้างานทีเ่ ป็ นหรือ
310

เคยเป็ นเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างาน ตามประกาศกระทรวงแรงงาน


และสวัสดิการสังคม เรื่อง ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.
2540 หรือผ่านการฝึ กอบรมตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทีอ่ ธิบดีกาหนด ให้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ น
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างานภายใน 180 วัน นับแต่วนั ทีน่ ายจ้าง
แต่งตัง้ ให้เป็ นลูกจ้างระดับหัวหน้างาน
6.5 ให้นายจ้างในสถานประกอบกิจการ ตามข้อ 2 ถึง 5 ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 20-49 คน
แต่งตัง้ ลูกจ้างคนหนึ่งที่เป็ นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค และผ่านการ
ฝึ กอบรมตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารที่อธิบดีกาหนด หรือเป็ นหรือเคยเป็ นเจ้าหน้ าที่ความ
ปลอดภัยในการทางาน ระดับพืน้ ฐาน ตามประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง
ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2540 หรือผูส้ าเร็จการศึกษา
ไม่ต่ ากว่าระดับปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัย หรือเทียบเท่า ให้ปฏิบตั หิ น้าที่เป็ นเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ไม่น้อยกว่าวันละ 1 ชัวโมงตามเวลาที ่ ก่ าหนด ทัง้ นี้
ภายใน 180 วัน นับแต่วนั ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 20 คนขึน้ ไป เว้นแต่มเี จ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยใน
การทางานระดับเทคนิคชัน้ สูงหรือระดับวิชาชีพอยูแ่ ล้ว
6.6 ให้นายจ้างในสถานประกอบกิจการ ตามข้อ 2 ถึง 5 ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 50-99 คน
แต่ ง ตัง้ ลู ก จ้า งคนหนึ่ ง ที่ส าเร็จ การศึก ษาไม่ ต่ า กว่ า ระดับ ประกาศนี ย บัต รวิช าชีพ เทคนิ ค
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง ประกาศนียบัตรการศึกษาชัน้ สูง อนุ ปริญญา หรือเทียบเท่า
และผ่านการฝึกอบรมและทดสอบตาม และวิธกี ารทีอ่ ธิบดีกาหนด หรือผูท้ ส่ี าเร็จการศึกษาไม่ต่ า
กว่ามัธยมศึกษาปี ท่ี 6 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือเทียบเท่าและได้ทางานเป็ นเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค หรือพืน้ ฐานมาไม่น้อยกว่า 5 ปี และผ่านการฝึกอบรม
และทดสอบตามหลักเกณฑ์วธิ กี ารที่อธิบดีกาหนด หรือผู้ท่สี าเร็จการศึกษาไม่ต่ ากว่าระดับ
ปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัยหรือเทียบเท่า ให้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน
การทางานระดับเทคนิคชัน้ สูงทัง้ นี้ภายใน 180 วัน นับแต่วนั ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 50 คนขึน้ ไป เว้น
แต่มเี จ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพอยูแ่ ล้ว
6.7 ให้นายจ้างในสถานประกอบกิจการ ตามข้อ 1 ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป และ
ตามข้อ 2 ถึง 5 ที่มลี ูกจ้างตัง้ แต่ 100 คนขึน้ ไป แต่งตัง้ ลูกจ้างอย่างน้อยหนึ่งคนที่สาเร็จ
การศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัย หรือเทียบเท่า หรือผูท้ ส่ี าเร็จการศึกษา
ไม่ต่ ากว่าระดับปริญญาตรี และได้ทางานเป็ นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับ
เทคนิคขัน้ สูงมาไม่น้อยกว่า 5 ปี และผ่านการอบรมและทดสอบตามหลักเกณฑ์วธิ กี ารทีอ่ ธิบดี
ก าหนด หรือ ผู้ ท่ีเ ป็ นหรือ เคยเป็ นเจ้า หน้ า ที่ค วามปลอดภัย ในการท างานระดับ วิช าชีพ
ตามประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง
ลงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2540 และผ่านการอบรมและทดสอบตามหลักเกณฑ์วธิ กี ารทีอ่ ธิบดี
311

กาหนด ให้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ ทัง้ นี้ภายใน


180 วัน นับแต่วนั ทีม่ ลี กู จ้างครบ 100 คน
6.8 ให้นายจ้างในสถานประกอบกิจการ ตามข้อ 1 ถึง 5 ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป
และตามข้อ 6 ถึง 14 ทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 20 คนขึน้ ไป แต่งตัง้ ลูกจ้างระดับบริหารทุกคนซึง่ ผ่านการ
ฝึกอบรมตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารที่อธิบดีกาหนด หรือผู้ทเ่ี ป็ นหรือเคยเป็ นเจ้าหน้าที่ความ
ปลอดภัยในการทางานระดับบริหาร ตามประกาศกระทรวงแรงงาน และสวัสดิการสังคม เรื่อง
ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2540 ให้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ น
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน ระดับบริหาร ทัง้ นี้ภายใน 180 วัน นับแต่วนั ทีแ่ ต่งตัง้ ให้
เป็ นลูกจ้างระดับบริหาร กรณีทไ่ี ม่มลี กู จ้างระดับบริหาร ให้นายจ้างเป็ นเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย
ในการทางานระดับบริหาร
6.9 ให้นายจ้างทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 50 คนขึน้ ไป ต้องจัดให้มคี ณะกรรมการความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ และมีองค์ประกอบ
ตามข้อกาหนดของกฎหมาย ทัง้ นี้ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทีม่ ลี กู จ้างครบ 50 คน
(1) กรรมการให้อยูใ่ นตาแหน่งคราวละ 2 ปี
(2) ให้ประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานตามข้อบังคับทีค่ ณะกรรมการกาหนดอย่างน้อยเดือนละครัง้
(3) ให้นายจ้างจัดให้คณะกรรมการได้รบั การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่
ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทีอ่ ธิบดีกาหนด ทัง้ นี้ภายใน 60 วัน นับแต่งวันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้
(4) กรณีเกิดอุบตั เิ หตุ หรืออันตรายที่ลูกจ้างหรือบุคคลภายนอกสูญเสีย
อวัยวะ ทุพพลภาพ หรือเสียชีวติ ให้นายจ้างเรียกประชุมคณะกรรมการ โดยมิชกั ช้า เพื่อเสนอ
แนวทางป้ องกันแก้ไขต่อนายจ้าง
6.10 ให้นายจ้างในสถานประกอบกิจการ ตามข้อ 1 ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป และ
ตามข้อ 2 ถึง 5 ทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่สองร้อยคนขึน้ ไปจัดให้มหี น่ วยงานความปลอดภัย ภายในสาม
ร้อยหกสิบวัน และให้คงหน่วยงานความปลอดภัยไว้ แม้จานวน
6.11 ให้หน่วยงานความปลอดภัย ขึน้ ตรงต่อผูบ้ ริหารสูงสุดในสถานประกอบกิจการนัน้
6.12 หัวหน้าหน่วยงานความปลอดภัยต้องเป็ นหรือเคยเป็ นเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยใน
การทางาน ระดับวิชาชีพ หรือเป็ นหรือเคยเป็ นเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน ซึง่ ผ่าน
การอบรมตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทีอ่ ธิบดีกาหนด
6.13 ให้นายจ้างแจ้งชื่อเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานตามหลักเกณฑ์ และ
วิธกี ารทีอ่ ธิบดีกาหนด
6.14 ให้นายจ้า งส่งรายงานผลการดาเนินงานของเจ้าหน้ าที่ค วามปลอดภัยในการ
ทางาน ระดับเทคนิคขัน้ สูงและระดับวิชาชีพต่ออธิบดี หรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมาย ทุก 3 เดือน
ตามปี ปฏิทนิ ภายใน 30 วัน ตามแบบทีอ่ ธิบดีกาหนด
312

6.15 กรณีลกู จ้างประสบอันตราย เจ็บป่ วย หรือสูญหาย ให้นายจ้างแจ้งอธิบดี หรือผูซ้ ง่ึ


อธิบดีมอบหมายตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารที่อธิบดีกาหนดทัง้ นี้ภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่
นายจ้างทราบเรือ่ งดังกล่าว
6.16 ให้นายจ้างส่งสาเนารายชื่อ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน และหน้าที่รบั ผิดชอบต่ออธิบดีและผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมาย ทัง้ นี้
ภายใน 15 วัน นับแต่วนั ทีแ่ ต่งตัง้
6.17 ให้นายจ้างเก็บสาเนาบันทึกรายงานการดาเนินงาน รายงานการประชุม และ
เอกสารอื่นทีเ่ กีย่ วข้องไว้ไม่น้อยกว่า 2 ปี พร้อมให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้
สรุป การแต่ ง ตัง้ เจ้ า หน้ า ที่ ค วามปลอดภัย ในการท างานระดับ ต่ า งๆ และ
หน่ วยงานความปลอดภัย จาแนกตามขนาดและประเภทกิ จการ แสดงดังตารางต่อไปนี้
หลักเกณฑ์และวิ ธีการเลือกตัง้ กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้าง
1. ให้นายจ้างแต่งตัง้ ลูกจ้างระดับปฏิบตั ิการซึ่งไม่ประสงค์จะสมัครรับเลือกตัง้ เป็ น
กรรมการผู้แทนลูกจ้างจานวนไม่น้อยว่าสามคนแต่ไม่เกินห้าคนเป็ นคณะกรรมการดาเนินการ
เลือกตัง้
2. ให้คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้ ดาเนินการประกาศกาหนดวัน เวลา สถานทีร่ บั
สมัคร และจานวนกรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างทีจ่ ะได้รบั การเลือกตัง้ ภายในห้าวัน
3. เมือ่ สิน้ สุดระยะเวลาการรับสมัครแล้ว หากมีจานวนผูส้ มัครรับเลือกตัง้ เท่ากับจานวน
กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างทีไ่ ด้ประกาศ ให้นายจ้างแต่งตัง้ ผูส้ มัครรับเลือกตัง้ นัน้ เป็ นกรรมการผูแ้ ทน
ลูกจ้าง
4. กรณีท่ไี ม่มผี ู้ใดสมัครรับเลือกตัง้ หรือมีจานวนผู้สมัครรับเลือกตัง้ น้อยกว่าจานวน
กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างทีไ่ ด้ประกาศไว้ ให้คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้ ดาเนินการประกาศ
รับสมัครใหม่ หรือประกาศรับสมัครเพิม่ แล้วแต่กรณี
5. หากดาเนินการรับสมัครใหม่ ไม่ได้มาซึง่ กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างครบตามจานวน ให้
นายจ้างแต่งตัง้ ผู้สมัครรับเลือกตัง้ ถ้ามี และลูกจ้างระดับปฏิบตั กิ ารอื่นซึ่งไม่เป็ นคณะกรรมการ
ดาเนินการเลือกตัง้ และไม่ได้รบั เลือกตัง้ เป็ นกรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างจนครบจานวน
6. การเลือกตัง้ ผูแ้ ทนลูกจ้างให้กระทาโดยวิธกี ารลงคะแนนลับ
7. ให้กรรมการดาเนินการเลือกตัง้ แจ้งผลการเลือกตัง้ ให้นายจ้างทราบภายในสามวันนับ
แต่วนั สิน้ สุดการเลือกตัง้
หน้ า ที่ ข องนายจ้ างต้ อ งมี ห น้ าที่ ใ นการจัด ให้ มีค ณะกรรมการความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิ จการ
กฎกระทรวงก าหนดมาตรฐานในการบริห ารและการจัด การด้า นความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549 กาหนดให้นายจ้างในสถานประกอบ
313

กิจการที่มลี ูก จ้างตัง้ แต่ 50 คน ซึ่งกฎกระทรวงฉบับนี้ ใ ห้ใ ช้บงั คับกับสถานประกอบกิจการ


ประเภทต่างๆ ดังนี้
1) การทเหมืองแร่ เมืองหิน กิจการปิ โตรเลียม หรือปิ โตรเคมี
2) การทา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบารุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแต่ง เสริมแต่ง
ดัดแปล แปรสภาพ ทาให้เสีย หรือทาลายซึ่งวัตถุหรือทรัพย์สนิ รวมทัง้ การต่อเรือการให้เกิด
แปลงและจ่ายไฟฟ้ าหรือพลังงานอย่างอื่น
3) การก่อสร้าง ต่อเติม ติดตัง้ ซ่อม ซ่อมบารุง ดัดแปลง หรือรือ้ ถอนอาคาร สนามบิน
ทางรถไฟ ทางรถราง ทางรถใต้ดนิ ท่าเรือ อู่เรือ สะพานเทียบเรือ ทางน้ า ถนน เขื่อน อุโมงค์
สะพาน ท่อ ระบาย ท่อ น้ า โทรเลข โทรศัพท์ ไฟฟ้ า ก๊าซหรือ ประปา หรือ สิ่งที่ก่ อสร้างอื่นๆ
รวมทัง้ การเตรียมหรือวางรากฐานของการก่อสร้าง
4) การขนส่ งคนโดยสารหรือ สินค้าโดยทางบก ทางน้ า ทางอากาศ และรวมทัง้ การ
บรรทุกขนถ่ายสินค้า

หน้ าที่ ของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมใน


การทางานของสถานประกอบกิ จการ

กฎหมายกาหนดให้คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน


การทางานของสถานประกอบกิจการ มีหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
1) พิจ ารณานโยบาย และแผนงานด้า นความปลอดภัย ในการท างานรวมทัง้ ความ
ปลอดภัยนอกงานเพื่อป้ องกันและลดการเกิดอุบตั เิ หตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือ
การเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญอันเนื่องมาจากการทางาน หรือความไม่ปลอดภัยในการทางาน
เสนอต่อนายจ้าง
2) รายงาน และเสนอแนะมาตรการหรือ แนวทางการปรับปรุง แก้ไขให้ถู ก ต้อ งตาม
กฎหมายเกี่ย วกับความปลอดภัยในการทางานและมาตราความปลอดภัยในการทางานต่ อ
นายจ้าง เพื่อ ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ผู้รบั เหมา และบุคลภายนอกที่เข้ามา
ปฏิบตั งิ านหรือเข้ามาใช้บริการในสถานประกอบกิจการ
3) ส่ งเสริมสนับสนุ น กิจกรรมด้านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบ
กิจการ
4) พิจารณาข้อบังคับ และคู่มอื ความปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ มาตรฐานด้านความ
ปลอดภัยในการทางานของสถานประกิจการเสนอต่อนายจ้าง
5) สารวจการปฏิบตั ดิ ้านความปลอดภัยในการทางาน และตรวจสอบสถิตกิ ารประสบ
อันตรายทีเ่ กิดขึน้ ในสถานประกอบกิจการ อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครัง้
314

6) พิจ ารณาโครงการหรือ แผนการฝึ ก อบรมเกี่ย วกับ ความปลอดภัย ในการท างาน


รวมถึง โครงการหรือ แผนการอบรมเกี่ย วกับ บทบาทหน้ า ที่ค วามรับ ผิด ชอบในด้า นความ
ปลอดภัยของลูกจ้าง หัวหน้างาน ผู้บริหารนายจ้าง และบุคลากรทุกระดับเพื่อเสนอความเห็น
ต่อนายจ้าง
7) วางระบบการรายงานสภาพการทางานที่ไม่ปลอดภัยให้เ ป็ นหน้ าที่ข องลูกจ้างทุก
ระดับต้องปฏิบตั ิ
8) ติดตามผลความคืบหน้าเรือ่ งทีเ่ สนอต่อนายจ้าง
9) รายงานผลการปฏิบตั งิ านประจาปี รวมทัง้ ระบุปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะใน
การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการเมือ่ ปฏิบตั หิ น้าทีค่ รบหนึ่งปี เพื่อเสนอต่อนายจ้าง
10) ประเมินผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบ
กิจการ
11) ปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัยในการทางานอื่นตามหน้าทีน่ ายจ้างมอบหมาย

การประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมใน


การทางานของสถานประกอบกิ จการ
ให้เป็ นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกาหนด อย่างน้ อยเดือนละหนึ่งครัง้ หรือเมื่อ
กรรมการไม่น้อยกว่าครึง่ หนึ่งร้องขอ โดยแจ้งกาหนดการประชุมและระเบียบวาระการประชุมให้
กรรมการทราบอย่างน้อยสามวันก่อนถึงวันประชุม
อง ค์ ป ระ กอบของ คณะ กรรมการความปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิ จการ
องค์ประกอบของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางานของสถานประกอบกิจการ ประกอบด้วย
1) ประธานกรรมการ เป็ นนายจ้างหรือผูแ้ ทนนายจ้างระดับบริหาร
2) กรรมการผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญ ชา แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ หรือพยาบาล
อาชีวอนามัยประจาสถานประกอบกิจการ ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากนายจ้าง
3) กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้าง โดยให้นายจ้างจัดให้มกี ารเลือกตัง้
4) กรรมการ และเลขานุการ ซึง่ เป็ นเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ
หรือเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคชัน้ สูง หรือผูแ้ ทนนายจ้าง แล้วแต่กรณี
กฎหมายก าหนดให้อ งค์ป ระกอบของกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ มีความแตกต่างกันไปตามขนาดของ
สถานประกอบกิจการดังนี้
315

จานวนลูกจ้าง จานวนกรรมการ องค์ประกอบของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ


ในสถาน (ขัน้ ต่า) สภาพแวดล้อมในการทางานของสถานกิจการ
ประกอบกิจการ
ประธาน ผูแ้ ทนนายจ้าง ผูแ้ ทนลูกจ้าง กรรมการและเลขานุการ
ระดับบังคับ
บัญชา
50-99 คน 5 คน 1 1 2 1 (จป.เทคนิคขัน้ สูงหรือ
วิชาชีพ)
100-499 คน 7 คน 1 2 3 1 (จป.วิชาชีพ)
500 คนขึน้ ไป 11 คน 1 4 5 1 (จป.วิชาชีพ)

ในกรณีท่สี ถานประกอบกิจการในมีกรรมการเพิม่ ขึ้นมากกว่าจานวนขัน้ ต่ าที่กฎหมาย


กาหนด ให้มกี รรมการผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชาและผู้แทนลูกจ้างเพิม่ ขึน้ ในสัดส่วนที่
เท่ากัน

สาหรับสถานประกอบกิจการทีไ่ ม่มเี จ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค


ขัน้ สูง หรือระดับวิชาชีพ ในนายจ้างคัดเลือกผูแ้ ทนระดับบังคับบัญชาหนึ่งคนเป็ นกรรมการ และ
ให้ป ระธานกรรมการเลือ กกรรมการซึ่ง เป็ น ผู้แ ทนนายจ้า งระดับ บัง คับ บัญ ชาคนหนึ่ ง เป็ น
เลขานุการ
กฎหมายความปลอดภัย อาชี วอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานที่ เป็ น
ประกาศกระทรวงมหาดไทย มีดงั ต่อไปนี้
1. กฎกระทรวงว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานในงานที่รบั ไปทาที่บ้าน พ.ศ. 2547
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
เพื่อให้การคุม้ ครองแรงงานในงานทีร่ บั ไปทาทีบ่ า้ นขอบเขตของกฎหมายและการบังคับ
ใช้ โดยใช้บงั คับกับนายจ้างผูซ้ ง่ึ ส่งมอบงานให้ลกู จ้างไปผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อมหรือแปรรูป
สิง่ ของในบ้านของลูกจ้างหรือสถานที่อ่นื ทีม่ ใิ ช่สถานประกอบกิจการของนายจ้างตามทีไ่ ด้ตกลง
กันโดยใช้วตั ถุดบิ หรืออุปกรณ์ในการผลิตของนายจ้างทัง้ หมดหรือบางส่วน และโดยปกติการ
ทางานนัน้ เป็ นส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทัง้ หมดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของ
นายจ้าง
สาระสาคัญของกฎหมาย (ในส่วนของความปลอดภัยในการทางาน)
1. ห้ามมิ ให้นายจ้างส่งมอบงานดังต่อไปนี้ ให้ลกู จ้าง
1.1 งานผลิต ประกอบ บรรจุ แปรรูปวัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ เช่น งานทาพลุ
งานทาดอกไม้เพลิง
1.2 งานผลิตหรือบรรจุสารเคมีทเ่ี ป็ นอันตรายหรือวัตถุมพี ษิ เช่น สารไซยาไนด์
สารก่อมะเร็งหรืองานทีม่ สี ารเคมีทเ่ี ป็ นอันตรายหรือวัตถุมพี ษิ เป็ นส่วนประกอบ
316

2. ให้นายจ้างจัดให้มเี ครือ่ งมือหรืออุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในการทางานและกาหนด


มาตรการเพื่อความปลอดภัยในการทางาน
3. ลูกจ้างต้องใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในการทางานและต้องปฏิบตั ิ
ตามมาตรการเพื่อความปลอดภัยในการทางานทีน่ ายจ้างจัดหรือกาหนด
นอกจากนี้ขอให้ศกึ ษารายละเอียดของประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กาหนดสารก่อ
มะเร็งทีห่ า้ มนายจ้างส่งมอบให้ลูกจ้างในงานทีร่ บั ไปทาทีบ่ า้ น ลงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2547
และประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กาหนดมาตรฐานและหลักเกณฑ์เพื่อความปลอดภัยในการ
ทางานในงานทีร่ บั ไปทาทีบ่ า้ น ลงวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2547 ด้วย
2. กฎกระทรวง กาหนดอัตราน้าหนักที่นายจ้างให้ลกู จ้างทางานได้ พ.ศ. 2547
เจตนารมณ์ของกฎหมาย
เพื่อป้ องกันมิให้ลกู จ้างยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกินอัตราน้ าหนัก
ทีก่ าหนดจนเกิดอันตรายต่อสุขภาพ
ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้
ใช้บงั คับกับสถานประกอบกิจการ ทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 1 คนขึน้ ไปทุกประเภท
สาระสาคัญของกฎหมาย
ให้นายจ้างให้ลูกจ้างแต่ละคน ยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนัก
ไม่เกินอัตราน้าหนักโดยเฉลีย่ ต่อลูกจ้าง 1 คน ดังนี้
1) น้ าหนัก 20 กิโลกรัมสาหรับลูกจ้างซึง่ เป็ นเด็กหญิงอายุตงั ้ แต่ 15 ปี แต่ยงั ไม่
ถึง 18 ปี
2) น้ าหนัก 25 กิโลกรัม สาหรับลูกจ้างซึง่ เป็ นเด็กชายอายุตงั ้ แต่ 15 ปี แต่ยงั ไม่
ถึง 18 ปี
3) น้าหนัก 25 กิโลกรัม สาหรับลูกจ้างหญิง
4) น้าหนัก 55 กิโลกรัม สาหรับลูกจ้างชาย
กรณีมนี ้ าหนักเกินกว่าที่กาหนดไว้ให้นายจ้างจัดให้มแี ละให้ลูกจ้างใช้เครื่องทุ่นแรงที่
เหมาะสม

3. กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดสวัสดิ การในสถานประกอบกิ จการ พ.ศ. 2548


เจตนารมณ์ของกฎหมาย
เพื่อให้ลกู จ้างมีสวัสดิการตามความจาเป็ นขัน้ พืน้ ฐานทีด่ ี และถูกสุขลักษณะ

ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้
ใช้บงั คับกับสถานประกอบกิจการ ทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 1 คนขึน้ ไปทุกประเภท
317

สาระสาคัญของกฎหมาย
1. ให้นายจ้างจัดให้ม ี
1.1 น้ าสะอาดสาหรับดื่มไม่น้อยกว่าหนึ่งทีส่ าหรับลูกจ้างไม่เกินสีส่ บิ คน และเพิม่ ขึน้
ในอัตราส่วนหนึ่งทีส่ าหรับลูกจ้างทุก ๆ สีส่ บิ คน เศษของสีส่ บิ คนถ้าเกินยีส่ บิ คนให้ถอื เป็ นสีส่ บิ
คน
1.2 ห้องน้ าและห้องส้วมตามแบบและจานวนทีก่ าหนด และมีการดูและรักษาความ
สะอาดให้อยู่ในสภาพทีถ่ ูกสุขลักษณะเป็ นประจาทุกวัน โดยให้แยกห้องน้ าและห้องส้วมสาหรับ
ลูกจ้างชายและลูกจ้างหญิง และให้จดั ห้องน้าและห้องส้วมสาหรับคนพิการแยกไว้โดยเฉพาะ
2. สถานทีท่ างานทีม่ ลี กู จ้างทางานตัง้ แต่สบิ คนขึน้ ไป ต้องจัดให้ม ี
เวชภัณฑ์และยาเพื่อ ใช้ในการปฐมพยาบาลในจานวนที่เพียงพอ อย่างน้ อยตามรายการที่
กาหนด ดังนี้
2.1 ให้น ายจ้า งจัด ให้ม ีส ิ่ง จ าเป็ น ในการปฐมพยาบาลและการรัก ษาพยาบาล
ดังต่อไปนี้
2.1.1 กรรไกร
2.1.2 แก้วยาน้า และแก้วยาเม็ด
2.1.3 เข็มกลัด
2.1.4 ถ้วยน้า
2.1.5 ทีป่ ้ ายยา
2.1.6 ปรอทวัดไข้
2.1.7 ปากคีบปลายทู่
2.1.8 ผ้าพันยืด
2.1.9 ผ้าสามเหลีย่ ม
2.1.10 สายยางรัดห้ามเลือด
2.1.11 สาลี ผ้าก๊าซ ผ้าพันแผล และผ้ายางปลาสเตอร์ปิดแผล
2.1.12 หลอดหยดยา
2.1.13 ขีผ้ ง้ึ แก้ปวดบวม
2.1.14 ทิงเจอร์ไอโอดีน หรือโพวิโดน-ไอโอดีน
2.1.15 น้ายาโพวิโดน-ไอโอดีน ชนอดฟอกแผล
2.1.16 ผงน้าตาลเกลือแร่
2.1.17 ยาแก้ผดผื่นทีไ่ ม่ได้มาจากการติดเชือ้
2.1.18 ยาแก้แพ้
2.1.19 ยาทาแก้ผดผื่นคัน
2.1.20 ยาธาตุน้าแดง
318

2.1.21 ยาบรรเทาปวดลดไข้
2.1.22 ยารักษาแผลน้าร้อนลวก
2.1.23 ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
2.1.24 เหล้าแอมโมเนียหอม
2.1.25 แอลกอฮอล์เช็ดแผล
2.1.26 ขีผ้ ง้ึ ป้ ายตา
2.1.27 ถ้วยล้างตา
2.1.28 น้ากรดบอริคล้างตา
2.1.29 ยาหยอดตา
3. สถานทีท่ างานทีม่ ลี ูกจ้างทางานในขณะเดียวกันตัง้ แต่สองร้อยคนขึน้ ไป ต้องจัดให้ม ี
3.1 เวชภัณฑ์และยาเพื่อใช้ในการปฐมพยาบาลตาม (1)
3.2 ห้องรักษาพยาบาลพร้อมเตียงพักคนไข้อย่างน้อยหนึ่งเตียง เวชภัณฑ์และยา
นอกจากทีร่ ะบุไว้ใน (1) ตามความจาเป็ น
3.3 พยาบาลตัง้ แต่ระดับพยาบาลเทคนิคขึน้ ไปไว้ประจาอย่างน้อยหนึ่งคนตลอดเวลา
ทางาน
3.4 แพทย์แผนปั จจุบนั ชัน้ หนึ่งอย่างน้อยหนึ่งคน เพื่อตรวจรักษาพยาบาลไม่น้อย
กว่าสัปดาห์ละสองครัง้ และเมือ่ รวมเวลาแล้วต้องไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละหกชัวโมงในเวลาท
่ างาน
4. สถานทีท่ างานทีม่ ลี กู จ้างทางานในขณะเดียวกันต้องแต่หนึ่งพันคนขึน้ ไป ต้องจัดให้ม ี
4.1 เวชภัณฑ์และยาเพื่อใช้ในการปฐมพยาบาลตาม (2.1)
4.2 ห้องรักษาพยาบาลพร้อมเตียงพักคนไข้อย่างน้อยสองเตียง เวชภัณฑ์และยา
นอกจากทีร่ ะบุไว้ใน (2.1) ตามความจาเป็ น
4.3 พยาบาลตัง้ แต่ระดับพยาบาลเทคนิคขึน้ ไปไว้ประจาอย่างน้อยสองคนตลอดเวลา
ทางาน
4.4 แพทย์แผนปั จจุบนั ชัน้ หนึ่งอย่างน้อยหนึ่งคน เพื่อตรวจรักษาพยาบาลไม่น้อย
กว่าสัปดาห์ละสามครัง้ และเมื่อรวมเวลาแล้วต้องไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละสิบสองชัวโมงในเวลา ่
ทางาน
4.5 ยานพาหนะซึง่ พร้อมทีจ่ ะนาลูกจ้างส่งสถานพยาบาลเพื่อให้การรักษาพยาบาล
ได้โดยพลัน
5. นายจ้างอาจทาความตกลงเพื่อส่งลูก จ้างเข้ารับการรักษาพยาบาลกับสถานพยาบาล
ที่เปิ ดบริการตลอดยี่สบิ สี่ชวโมงและเป็
ั่ นสถานพยาบาลที่นายจ้างอาจนาลูกจ้างส่งเข้ารับการ
รักษาได้โดยสะดวกและรวดเร็ว แทนการจัดให้มแี พทย์ได้ โดยต้องได้รบั อนุ ญาตจากอธิบดีหรือ
ผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมาย
319

การตรวจสอบความปลอดภัยตามข้อกาหนดของกฎหมาย
แนวทางการตรวจสอบความปลอดภัยตามข้อกาหนดของกฎหมาย
ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมายให้ก ารด าเนินการตรวจสอบความปลอดภัย ตามข้อ ก าหนดของ
กฎหมายควรศึกษาแนวทางการตรวจสอบความปลอดภัยดังต่อไปนี้
1. ศึกษาข้อกาหนดตามกฎหมายและรายละเอียดต่างๆทีก่ าหนดไว้
2. ใช้แบบตรวจสอบซึง่ อาจมีผทู้ าไว้แล้วหรือสถานประกอบกิจการอาจจัดทาหรือพัฒนา
แบบตรวจสอบขึน้ ใช้เอง
3. กาหนดแผนการตรวจสอบ
4. จัด เตรีย มเครื่อ งมือ ตรวจวัด หรือ อุ ป กรณ์ ก ารตรวจในกรณี ท่ีจ าเป็ น ต้อ งระบุ
รายละเอียด
5. ลงมือตรวจสอบพืน้ ทีก่ ารปฏิบตั งิ าน
6. บันทึกผลการตรวจสอบเพื่อนาเสนอการปรับปรุงแก้ไข
7. ตรวจสอบเพื่อติดตามผลการปรับปรุงแก้ไข
พระราชบัญญัติ เงิ นทดแทน พ.ศ. 2537
มาตรา 4 พระราชบัญญัตนิ ้มี ใิ ช้บงั คับแก่
(1) ราชการส่วนกลางราชการส่วนภูมภิ าค และราชการส่วนท้องถิน่
(2) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
(3) นายจ้างซึง่ ประกอบธุรกิจโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน
เฉพาะในส่วนทีเ่ กีย่ วกับครูหรือครูใหญ่
(4) นายจ้างซึง่ ดาเนินกิจการทีม่ ไิ ด้มวี ตั ถุประสงค์เพื่อแสวงหากาไรในทาง เศรษฐกิจ
(5) นายจ้างอื่นตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง

วัตถุประสงค์ของกองทุนทดแทน
เพื่อ เป็ น กองทุ น ในการจ่ า ยเงิ น ทดแทนนายจ้า งให้แ ก่ ลู ก จ้า ง ซึ่ง ประสบอัน ตราย
เจ็บป่ วย หรือตายเนื่องจากการทางาน หรือป้ องกันรักษาผลประโยชน์ให้แก่นายจ้างหรือเจ็บป่ วย
เป็ นโรค ซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงาน หรือโรคซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการทางานให้แก่
นายจ้าง
ขอบเขตการบังคับใช้
ให้นายจ้างซึง่ มีลกู จ้างทางานตัง้ แต่ 1 คนขึน้ ไป มีหน้าทีต่ อ้ งจ่ายเงินสมทบกองทุน
การขึ้นทะเบียน
ให้นายจ้างทีม่ ลี กู จ้างตัง้ แต่ 1 คนขึน้ ไปมีหน้าทีข่ น้ึ ทะเบียนภายใน 30 วัน
320

อัตราเงิ นสมทบ
อัตราเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน ที่จดั เก็บจากนายจ้างแต่ละรายจะแตกต่างกันตาม
ลักษณะความเสีย่ งภัยในการทางานของแต่ละกิจการ ซึง่ ปั จจุบนั กาหนดไว้ 131 ประเภทกิจการ
อัตราเงินสมทบระหว่าง 0.2% - 1.0% ของค่าจ้าง เช่น กิจการขายอาหารจ่ายเงินสมทบ
0.2% ของค่าจ้าง ถ้าเป็ นกิจการก่อสร้างจ่ายเงินสมทบ 1.0% ของค่าจ้าง เป็ นต้น
เมือ่ นายจ้างจ่ายเงินสมทบครบ 4 ปี ปฏิทนิ แล้ว ตัง้ แต่ปีท่ี 5 เป็ นต้นไป อัตราเงินสมทบ
อาจจะลด หรือเพิม่ ขึน้ จากเดิมทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ค่าของอัตราส่วนการสูญเสียซึง่ สานักงานฯ ได้เก็บ
สถิตขิ อ้ มูลไว้
ค่าจ้างและการคานวณเงิ นสมทบ
เงินสมทบจะคานวณจากค่าจ้างทีน่ ายจ้างจ่ายให้กบั ลูกจ้างทุกคนรวมทัง้ ปี X อัตราเงิน
สมทบของกิจการนัน้
หากลูกจ้างคนใดได้รบั ค่าจ้างเกินกว่า 240,000 บาทต่อปี ให้นามาคานวณเพียง
240,000 บาท
แจ้งการประสบอันตรายของลูกจ้าง
เมือ่ ลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางานให้นายจ้าง นายจ้างต้องจัด
ให้ลูกจ้างได้รบั การรักษาพยาบาลทันที และแจ้งสานักงานประกันสังคม ภายใน 15 วันนับแต่
วันทีท่ ราบ โดยใช้แบบแจ้งการประสบอันตราย หรือเจ็บป่ วยฯ (กท 16) ลูกจ้างสามารถเข้ารับ
การรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลใดก็ได้ โดยทดรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน หรือใช้
แบบ กท.44 ส่งตัวลูกจ้างเข้ารับการรักษาหากโรงพยาบาลนัน้ เป็ นโรงพยาบาลในความตกลงกับ
กองทุนเงินทดแทน โดยโรงพยาบาลจะเรียกเก็บเงินค่ารักษาพยาบาลจากสานักงานฯ โดยตรง
หมวด 5 ในพระราชบัญญัตินี้
นายจ้า ง หมายความว่ า ผู้ ซ่ึง ตกลงรับ ลู ก จ้า งเข้ า ท างานโดยจ่ า ยค่ า จ้า งให้ และ
หมายความรวมถึงผู้ซง่ึ ได้รบั มอบหมายให้ทางานแทนนายจ้าง ในกรณีทน่ี ายจ้างเป็ นนิตบิ ุคคล
ให้หมายความรวมถึงผูม้ อี านาจกระทาการแทนนิตบิ ุคคลและผูซ้ ง่ึ ได้รบั มอบหมายจากผูม้ อี านาจ
กระทาการแทนนิตบิ ุคคลให้ทาการแทนด้วย
ลูกจ้าง หมายความว่า ผูซ้ ่งึ ทางานให้นายจ้างโดยรับค่าจ้างไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไรแต่
ไม่รวมถึงลูกจ้างซึง่ ทางานเกี่ยวกับงานบ้านอันมิได้มกี ารประกอบธุรกิจรวมอยูด่ ว้ ย
ค่าจ้าง หมายความว่า เงินทุกประเภทที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็ นค่าตอบแทนการ
ทางานในวันและเวลาทางานปกติไม่ว่าจะค านวณตามระยะเวลา หรือค านวณตามผลงานที่
ลูกจ้างทาได้และให้หมายความรวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูก จ้างในวันหยุดและวันลาซึ่ง
ลูกจ้างไม่ได้ทางานด้วย ทัง้ นี้ ไม่ว่าจะกาหนด คานวณ หรือจ่ายในลักษณะใดหรือโดยวิธกี ารใด
และไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไร
321

ประสบอันตราย หมายความว่า การที่ลูกจ้างได้รบั อันตรายแก่กายหรือผลกระทบแก่


จิตใจ หรือถึงแก่ความตายเนื่องจากการทางานหรือป้ องกันรักษาประโยชน์ ให้แก่นายจ้างหรือ
ตามคาสังของนายจ้
่ าง
เจ็บป่ วย หมายความว่า การที่ลูกจ้างเจ็บป่ วยหรือถึงแก่ความตายด้วยโรคซึ่งเกิดขึ้น
ตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทางาน
สูญหาย หมายความว่า การทีล่ ูกจ้างหายไปในระหว่างทางานหรือปฏิบตั ติ ามคาสังของ ่
นายจ้างซึ่งมีเหตุอนั ควรเชื่อว่าลูกจ้างถึงแก่ค วามตายเพราะประสบเหตุอนั ตรายที่เ กิดขึ้นใน
ระหว่างทางานหรือปฏิบตั ติ ามคาสังของนายจ้ ่ างนัน้ รวมตลอดถึงการทีล่ ูกจ้างหายไปในระหว่าง
เดินทางโดยพาหนะทางบก ทางอากาศ หรือทางน้ า เพื่อไปทางานให้นายจ้างซึ่งมีเหตุอนั ควร
เชื่อว่าพาหนะนัน้ ได้ประสบเหตุอนั ตรายและลูกจ้างถึงแก่ความตาย ทัง้ นี้ เป็ นระยะเวลาไม่น้อย
กว่าหนึ่งร้อยยีส่ บิ วันนับแต่วนั ทีเ่ กิดเหตุนนั ้
สูญเสียสมรรถภาพ หมายความว่า การสูญเสียอวัยวะหรือการสูญเสียสมรรถภาพในการ
ทางานของร่างกายหรือจิตใจภายหลังการรักษาด้วยวิธที างการแพทย์ส้นิ สุดแล้ว
เงิน ทดแทน หมายความว่ า เงิน ที่จ่ า ยเป็ น ค่ า ทดแทน ค่ า รัก ษาพยาบาล ค่ า ฟื้ นฟู
สมรรถภาพในการทางาน และค่าทาศพ
ค่าทดแทน หมายความว่า เงินทีจ่ ่ายให้ลูกจ้างหรือผูม้ สี ทิ ธิตามมาตรา 20 สาหรับการ
ประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยหรือสูญหายของลูกจ้างตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
ค่ารักษาพยาบาล หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการตรวจ การรักษา การพยาบาล
และค่าใช้จ่ายอื่นที่จาเป็ น เพื่อให้ผลของการประสบอันตรายหรือการเจ็บป่ วยบรรเทาหรือหมด
สิ้นไป และหมายความรวมถึงค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอุปกรณ์ เครื่องใช้ หรือวัตถุท่ใี ช้แทนหรือทา
หน้าทีแ่ ทนหรือช่วยอวัยวะทีป่ ระสบอันตรายด้วย
ค่าฟื้ นฟูสมรรถภาพในการทางาน หมายความว่า ค่าใช้จ่ายที่จาเป็ นเกี่ยวกับการฟื้ นฟู
สมรรถภาพในการทางาน
การฟื้ นฟูสมรรถภาพในการทางาน หมายความว่าการจัดให้ลูกจ้างซึง่ ประสบ อันตราย
หรือเจ็บป่ วยและสูญเสียสมรรถภาพในการทางาน ได้รบั การฟื้ นฟูสมรรถภาพของร่างกาย หรือ
จิตใจหรือการฟื้ นฟู เพื่อให้สามารถประกอบอาชีพทีเ่ หมาะสมตามสภาพของร่างกาย
ค่าทาศพ หมายความว่า ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดการศพของลูก จ้างตามประเพณี
ทางศาสนาของลูกจ้าง หรือตามประเพณีแห่งท้องถิน่ ในกรณีทล่ี ูกจ้างถึงแก่ความตายเนื่องจาก
ประสบอันตรายหรือเจ็บปวยหรือสูญหาย
เงินสมทบ หมายความว่า เงินทีน่ ายจ้างจ่ายสมทบเข้ากองทุนเงินทดแทนเพื่อใช้เป็ นเงิน
ทดแทนให้แก่ลกู จ้าง
กองทุน หมายความว่ากองทุนเงินทดแทน
สานักงาน หมายความว่าสานักงานประกันสังคม หรือสานักงานประกันสังคม
322

จังหวัดแล้วแต่กรณี
คณะกรรมการ หมายความว่าคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน
กรรมการ หมายความว่ากรรมการกองทุนเงินทดแทน
เลขาธิการ หมายความว่าเลขาธิการสานักงานประกันสังคม
พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ หมายความว่ า ผู้ ซ่ึง รัฐ มนตรีแ ต่ ง ตัง้ ให้ ป ฏิบ ัติ ก ารตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี

การเรียกเก็บเงิ นสมทบ และการคานวณเงิ นสมทบ


1. ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบเป็ นรายปี
2. เงินสมทบให้คานวณจากค่าจ้างทีจ่ ะต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้างทัง้ ปี คนละไม่เกิน 240,000
บาทต่อปี
3. กาหนดอัตราเงินสมทบตามความเสีย่ งภัยของกิจการของนายจ้าง
4. เมือ่ ชาระเงินสมทบติดต่อกัน 3 ปี ท่ี 4 จะคานวณหาอัตราการสูญเสีย เพื่อหาค่าอัตรา
เงินสมทบตามประสบการณ์ และนามาเรียกเก็บในปี ท่ี 5 หากนายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีความ
ปลอดภัยในการทางานจะได้รบั การลดอัตราเงินสมทบ หากไม่ดูแลเรื่องความปลอดภัยจะต้อง
ถูกต้องเพิม่ อัตราเงินสมทบการเพิม่ หรือลดจะคิดเพิม่ ลดจากอัตราเงินสมทบหลักของนายจ้าง
5. นายจ้างทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ผ่อนชาระเงินสมทบเป็ นงวด จะต้องจ่ายเงินฝากไว้จานวน
ร้อยละ 25 ของเงินสมทบโดยประมาณทัง้ ปี ภายในเดือนมกราคมและจ่ายเงินสมทบเป็ นรายงวด 4
งวด ภายในเดือนเมษายน กรกฎาคม ตุลาคม และมกราคมของปี ถดั ไป
6. ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี นายจ้างต้องแจ้งจานวนค่าจ้างทัง้ หมดของปี ทล่ี ่วง
มาแล้วทีจ่ ่ายจริงให้แก่ลูกจ้างตามแบบทีก่ าหนดเพื่อคานวณเงินสมทบทีถ่ ูกต้องและนาส่งเงินสมทบ
ทีช่ าระต่าไปภายในวันที่ 31 มีนาคม ของทุกปี
เงิ นเพิ่ ม
นายจ้างทีไ่ ม่จา่ ยเงินสมทบภายในกาหนดหรือจ่ายไม่ครบ ต้องเสียเงินเพิม่ อีกร้อยละ 3
ต่อเดือนของเงินสมทบทีค่ า้ งชาระ
การคืนเงิ นนายจ้าง
นายจ้า งที่จ่า ยเงิน สมทบ หรือ เงิน เพิ่ม เกินกว่ า ความเป็ น จริง จากสาเหตุ ต่ า ง ๆ ให้
เจ้าหน้าทีแ่ จ้งให้นายจ้างทราบ เพื่อมารับเงินส่วนทีเ่ กินคืนไป
เงิ นทดแทน หมายถึง เงินทีจ่ ่ายเป็ นค่าทดแทนการทางาน ค่ารักษาพยาบาล ค่าฟื้ นฟู
สมรรถภาพในการทางานและค่าทาศพ
สิ ทธิ ได้รบั เงิ นทดแทนภายหลังการสิ้ นสภาพการเป็ นลูกจ้าง
กรณีท่กี ารเจ็บป่ วยเกิดขึ้นภายหลังการสิ้นสภาพการเป็ นลูกจ้างให้ลูกจ้างยื่นคาร้อ ง
ขอรับเงินทดแทนภายใน 2 ปี นบั แต่วนั ทีท่ ราบการเจ็บป่ วย
323

สิ ทธิ ประโยชน์ ของลูกจ้างในการได้รบั ค่าทดแทนดังนี้


1. กรณี เจ็บป่ วยหรือประสบอันตราย
1.1 ค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริงตามความจาเป็ นไม่เกิน 35,000 บาท ต่อการ
เจ็บป่ วยหรือประสบอันตราย 1 ครัง้ หากเกินเบิกเพิม่ ได้ตามเกณฑ์ทก่ี าหนดในกฏกระทรวงอีก
ไม่เกิน 200,000 บาท
1.2 ค่าทดแทนรายเดือนในอัตรา 60 % ของค่าจ้าง หากแพทย์ให้หยุดพักรักษาตัว
ติดต่อกันเกิน 3 วัน แต่ไม่เกิน 1 ปี
หมายเหตุ
(1) ลูกจ้างเข้ารักษาในสถานพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแทน ไม่
ต้องจ่ายค่ารักษา
(2) ถ้าเข้ารักษาในสถานพยาบาลอื่น ให้ทดรองจ่ายค่ารักษาไปก่อน แล้วเบิก
คืนจากกองทุนเงินทดแทนภายใน 90 วัน
(3) นายจ้างมีหน้าทีส่ ่งแบบแจ้งการประสบอันตราย (กท.16) พร้อมแบบส่งตัว
ลูกจ้างเข้ารักษาพยาบาล (กท. 44) ภายใน 15 วัน นับตัง้ แต่วนั ทีน่ ายจ้างทราบ
2. ค่าทดแทนกรณี สญ ู เสียอวัยวะ
2.1 ค่าทดแทนรายเดือนในอัตรา 60 % ของค่าจ้าง ตามประเภทการสูญเสียอวัยวะ
และระยะเวลาทีก่ าหนด
กรณี ที่ ลูก จ้ า งจาเป็ นต้ อ งได้ รบั การฟื้ นฟูจะได้ ร บั การฟื้ นฟูที่ ศูนย์ฟื้นฟู
สมรรถภาพคนงาน ของสานักงานประกันสังคม ดังนี้
2.2 ค่าใช้จ่ายในการฟื้ นฟูด้านการแพทย์ และอาชีพเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 20,000
บาท
2.3 ค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดเพื่อประโยชน์ ในการฟื้ นฟู สมรรถภาพในการทางานไม่
เกิน 20,000 บาท
3. ค่าทดแทนกรณี ทุพพลภาพ
ค่าทดแทนรายเดือนในอัตรา 60 % ของค่าจ้าง เป็ นเวลาไม่เกิน 15 ปี
4. กรณี ตายหรือสูญหาย
4.1 ค่าทาศพจ่ายให้แก่ผจู้ ดั การศพ 100 เท่าของอัตราสูงสุดของค่าจ้างขัน้ ต่ ารายวัน
ปั จจุบนั
4.2 ค่าทดแทนรายเดือนในอัตรา 60 % ของค่าจ้าง เป็ นเวลา 8 ปี แก่ทายาท
324

หน่ วยงานภาครัฐที่ มีบทบาทหน้ าที่ ด้านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และ


สภาพแวดล้อมในการทางาน
ในประเทศไทยงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
จะมุ่งเน้นในภาคอุตสาหกรรมเป็ นหลัก อย่างไรก็ตาม กระทรวงแรงงานได้มกี ารขยายการให้
ความคุม้ ครองดูแลไปยังแรงงาน ภาคเกษตรกรรม และแรงงานที่รบั งานไปทาทีบ่ า้ นด้วย ทัง้ นี้
หน่ ว ยงานภาครัฐที่มหี น้ าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน มี 3 กระทรวงหลักได้แก่ 1) กระทรวงแรงงาน 2) กระทรวง
สาธารณสุข และ 3) กระทรวงอุตสาหกรรม
1. กระทรวงแรงงาน เป็ นองค์กรหลักที่มบี ทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการ
คุม้ ครองดูแลด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของแรงงานทัว่
ประเทศ โดยมีก ารประกาศ และบัง คับ ใช้ก ฎหมาย หรือ มาตรฐานด้า นความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และตรวจตราให้เป็ นไปตามกฎหมาย และ
มาตรฐานดังกล่าว ตลอดจนส่งเสริมให้มกี ารปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทางานให้เหมาะสมกับ
ผูป้ ฏิบตั งิ าน เพื่อส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัย และอาชีวอนามัย รวมทัง้ การแก้ไขฟื้ นฟูดูแลผูใ้ ช้
แรงงานที่ประสบอันตรายเนื่อ งจากการทางาน โดยมีห น่ ว ยงานที่ร บั ผิดชอบงานด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัย คือกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และสานักงานประกันสังคม
กรมสวัส ดิก าร และคุ้มครองแรงงาน เป็ น หน่ ว ยงานที่มอี านาจหน้ า ที่ใ นการดาเนินการและ
ส่งเสริม ให้มคี วามปลอดภัย และอาชีวอนามัย รวมทัง้ ศึกษา วิจยั เสริมสร้าง และพัฒนาสภาพ
และสิง่ แวดล้อมในการทางาน หน่ วยงานของกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน ที่มหี น้าที่
รับผิดชอบงานความปลอดภัย และอาชีวอนามัยโดยตรง คือ สานักความปลอดภัยแรงงาน ซึ่ง
เกิดขึน้ จากการปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการและอานาจหน้าทีข่ องกรมสวัสดิการ และคุม้ ครอง
แรงงานใหม่ โดยการรวม 2 หน่ วยงานเดิมในสังกัดคือกองตรวจความปลอดภัย และสถาบัน
ความปลอดภัยในการทางาน จัดตัง้ เป็ นสานักความปลอดภัยแรงงาน เพื่อให้การบริหารจัดการ
ด้า นความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างานเป็ น ระบบและมี
ประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น ลดความซับซ้อนในการทางาน เพิม่ ความคล่อ งตัวในการให้บริการโดย
กระจายภารกิจลงสู่ศูนย์ความปลอดภัยแรงงานพืน้ ที่ 12 แห่งทัวประเทศ
่ มุ่งเน้นการมีส่วนร่วม
ของภาคีเครือข่าย และเพื่อรองรับการเป็ นเจ้าภาพหลักที่จะขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ
“แรงงานปลอดภัย และสุขภาพอนามัยดี”ให้บรรลุผลสัมฤทธิ ์โดยการจัดตัง้ สานักความปลอดภัย
แรงงานนี้ได้ประกาศลงในราชกิจจานุ เบกษา และมีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.
2552 สานักความปลอดภัยแรงงาน มีอานาจหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
1.1 กาหนดและพัฒนามาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
325

1.2 ควบคุมดูแลนายจ้างและลูกจ้าง รวมทัง้ บุคคล นิติบุคคล หรือหน่ วยงานที่


เกี่ยวข้อง ให้ปฏิบตั ิ ตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน
1.3 ดาเนินการเกีย่ วกับการอนุญาตการขึน้ ทะเบียน และกากับดูแลมาตรฐานการ
ให้บริการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.4 พัฒนาระบบการคุม้ ครองความปลอดภัยแรงงานมาตรการ และวิธปี ฏิบตั ดิ า้ น
การตรวจความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.5 พัฒนาระบบสารสนเทศความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน
1.6 ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั ส่งเสริม และพัฒนาเกีย่ วกับความปลอดภัยอาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.7 ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
1.8 ปฏิบตั งิ านร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง หรือที่
ได้รบั มอบหมาย โดยมีศูนย์ความปลอดภัยในการทางานพืน้ ที่ จานวน 12 แห่ง ทัง้ ในส่วนกลาง
และส่วนภูมภิ าค ครอบคลุมทัวประเทศเพื
่ ่อเป็ นหน่ วยปฏิบตั กิ ารรวมถึงให้บริการทีเ่ กี่ยวข้องกับ
สถานประกอบกิจการ นอกจากนี้ ยังมีสานักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัด 76 แห่ง
ทีม่ สี ่วนร่วมในการกา กับดูแลด้านความปลอดภัยฯ ในระดับจังหวัด และกลุ่มงานสวัสดิการและ
คุ้ม ครองแรงงานพื้น ที่ 10 พื้น ที่ ดูแ ลรับ ผิด ชอบงานด้า นความปลอดภัย ฯ ในเขต
กรุงเทพมหานคร
2. กระทรวงสาธารณสุข เป็ นองค์กรทีม่ บี ทบาทและความรับผิดชอบในการให้บริการ
อาชีวอนามัย ซึ่งครอบคลุม การส่งเสริมสุขภาพ การป้ องกันและควบคุมปั จจัยที่มผี ลต่อการ
เจ็บป่ วยและบาดเจ็บจากการทางาน การรักษาพยาบาล โดยผ่านระบบบริการสาธารณสุขในทุก
ระดับ มีห น่ ว ยงานที่ร บั ผิด ชอบงานอาชีว อนามัย คือ ส านัก โรคจากการประกอบอาชีพ และ
สิง่ แวดล้อม กรมควบคุมโรค สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม มีบทบาทหน้าที่
ดังต่อไปนี้
2.1 ศึกษา วิเคราะห์วจิ ยั และพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นการเฝ้ าระวังป้ องกัน และการ
ควบคุมโรค และภัยทีค่ ุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม
2.2 กาหนดและพัฒนามาตรฐานเกีย่ วกับหลักเกณฑ์และรูปแบบการดาเนินงาน เฝ้ า
ระวังป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยทีค่ ุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม
2.3 ถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีด้านการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน และการควบคุม
โรคและภัยที่คุ ก คามสุ ขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อ มให้แก่ ห น่ ว ยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และประชาชน
326

2.4 ประสานและสนับสนุนการพัฒนาระบบกลไกและเครือข่ายการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน


ควบคุมโรค และภัยทีค่ ุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม
2.5 ประสานและพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นการตรวจวินิจฉัยและการรักษาโรคและภัยที่
คุกคามสุขภาพ จากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม
2.6 ปฏิบตั งิ านร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหน่ วยงานอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง หรือที่
ได้รบั มอบหมาย
3. กระทรวงอุตสาหกรรม มีหน้าที่ในการออกใบอนุ ญาตตัง้ โรงงาน และประกอบ
กิจการโรงงาน ออกกฎหมายเกี่ยวกับโรงงาน ตรวจโรงงานเพื่อดูการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และ
เพื่อการต่ออายุใบอนุ ญาตประกอบกิจการ หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง คือกรมโรงงานอุตสาหกรรม
กรมโรงงานอุ ตสาหกรรม มีอานาจหน้ าที่ใ นการควบคุมโรงงานอุต สาหกรรม ไม่ให้ก่ อความ
เดือ ดร้อ นต่อ สุขภาพอนามัยของประชาชน และไม่ใ ห้ส่ งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม มีบทบาท
สาคัญในการดาเนินงาน ด้านการป้ องกันปั ญหาเกี่ยวกับความปลอดภัยในโรงงาน โดยมีอานาจ
ในการออก และต่ออายุใบอนุ ญาตประกอบกิจการโรงงาน หน่ วยงานในสังกัดที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
สานัก เทคโนโลยีค วามปลอดภัย และส านัก ควบคุ ม วัต ถุ อ ัน ตราย รวมถึง สานัก โรงงาน
อุต สาหกรรมรายสาขา สานัก เทคโนโลยีค วามปลอดภัย เป็ นหน่ ว ยงานวิชาการ มีห น้ าที่
และความรับผิดชอบดังนี้
3.1 ศึกษา และวิเคราะห์เพื่อพัฒนางานด้านความปลอดภัย และสุขอนามัยใน
โรงงาน
3.2 ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานในโรงงาน
3.3 กาหนดนโยบาย แผนงานหลักเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัยและสุขอนามัยใน
โรงงาน
3.4 ส่งเสริมสนับสนุ นผูป้ ระกอบกิจการโรงงานด้านเทคโนโลยีความปลอดภัย การ
บริหารความปลอดภัยและสุขอนามัยในโรงงาน
3.5 ตรวจสอบโรงงานที่มคี วามเสี่ยงภัยสูง หรือที่จะต้องใช้ความชานาญพิเศษ
เฉพาะด้าน
3.6 ป้ องกันประสานการระงับภัยจากโรงงานและวัตถุอนั ตราย
3.7 กากับดูแลเอกชนที่ได้รบั การรับรองฐานะซึ่งดาเนินงานด้านความปลอดภัย
และสุขอนามัย ในโรงงาน
3.8 ทาหน้าที่เป็ นศูนย์กลาง (National Focal Point) ในเรื่องการประสานแผน
เตรียมพร้อมรับภาวะฉุ กเฉินในระดับท้องถิน่ ตามโครงการ Awareness and Preparedness for
EmergencyatLocalLevel (APELL) ตามที่กรมโรงงานอุ ต สาหกรรมได้รบั มอบหมายจาก
องค์การสหประชาชาติ (UNEP/IE)
327

3.9 ประสานการดาเนิ นงานกับหน่ ว ยงาน องค์ก รด้า นความปลอดภัย ทัง้ ใน


และต่างประเทศ
3.10 จัดทาคู่มอื เอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขอนามัยใน
โรงงาน เพื่อเผยแพร่ และนาสู่การปฏิบตั ิ
3.11 ปฏิบตั งิ านร่วมกับหน่ วยงานอื่น และสนับสนุ นการปฏิบตั งิ านของหน่ วยงาน
อื่นที่เกี่ยวข้อง หรือตามที่ได้รบั มอบหมาย สานักควบคุมวัตถุอนั ตรายมีหน้ าที่และความ
รับผิด ชอบเกี่ย วกับ การดาเนินการตามกฎหมายว่ าด้ว ยวัต ถุ อ ัน ตราย กฎหมายว่ าด้ว ยการ
ป้ องกัน และการใช้สารระเหย การกาหนดและจัดทาหลักเกณฑ์และมาตรการ ต่างๆ เพื่อป้ องกัน
อันตรายและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากเคมีภณ ั ฑ์ นอกจากนี้ยงั ทาหน้ าที่ในฐานะหน่ วยงาน
กลางร่ว มก าหนดข้อ ตกลงระหว่างประเทศที่เ กี่ยวกับกิจการอุ ต สาหกรรม สานักโรงงาน
อุตสาหกรรมรายสาขา มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการควบคุม กากับดูแล ตรวจสอบโรงงาน
และการดาเนินการอื่น ๆ ตามกฎหมายโรงงาน กฎหมายวัตถุอนั ตราย และกฎหมายป้ องกันการ
ใช้ ส ารระเหย โดยเป็ น หน่ ว ยงานที่ท าหน้ า ที่ใ นการบัง คับ ใช้ก ฎหมาย มีข อบเขตการดู แ ล
ครอบคลุมจังหวัดต่างๆ ทัวประเทศ

หน่ วยงาน สมาคม และองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานความปลอดภัย


และอาชีวอนามัย
1. สมาคมส่ ง เสริ มความปลอดภัย และอนามัย ในการท างาน (ประเทศไทย)
(Safety and Health at Work Promotion Association (Thailand) เมื่อปี พ.ศ. 2529
ประเทศไทยได้จดั งานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทางานแห่งชาติครัง้ แรกขึน้ ระหว่างวันที่ 1-
3 มิถุนายน และคณะกรรมการจัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทางานแห่งชาติในครัง้ นัน้ ได้
เสนอให้ จัดตัง้ สมาคมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานขึน้ และควรจัดงานสัปดาห์ความ
ปลอดภัยในการทางานแห่งชาติต่อไป ทุกปี โดยให้สมาคมทีจ่ ะจัดตัง้ ขึน้ นี้เข้ามามีส่วนร่วมด้วย
และมีกรมแรงงาน (ในขณะนัน้ ) เป็ นผู้ประสานงานจากการเสนอ ดังกล่าว ทาให้มกี ารจัดตัง้
สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน (ประเทศไทย) ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์
ดังนี้
1.1 เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย และอนามัยในการทางาน
1.2 เผยแพร่ความรู้ และประสบการณ์เกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน
1.3 ร่วมมือกับส่วนราชการและองค์การต่างๆ รวมทัง้ เอกชน เพื่อจัดกิจกรรม
เกีย่ วกับความปลอดภัย และอนามัยในการทางาน
1.4 สนับสนุ นให้มกี ารประสานงานระหว่างส่ว นราชการและองค์การต่างๆ
รวมทัง้ เอกชน เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน
328

1.5 ไม่ดาเนินการใดๆ ทีเ่ กี่ยวกับการเมืองสมาคมส่งเสริมความปลอดภัย และ


อนามัยในการทางาน (ประเทศไทย) ได้จดทะเบียนก่อตัง้ ขึน้ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2530
มีสานักงานอยูท่ อ่ี าคารกรมสวัสดิการ และคุม้ ครองแรงงานส่วนแยกตลิง่ ชัน กรุงเทพมหานคร
2. สมาคมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน (Occupational Health
and Safety at Work Association) สมาคมอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทางาน
จัดตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้

2.1 เพื่อ ส่ ง เสริม วิช าการด้ า นอาชีว อนามัย และความปลอดภัย แก่ ส มาชิก
และสังคมโดยรวม
2.2 เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยใน
การทางาน
2.3 เพื่อสนับสนุ นและประสานงานกับสถานประกอบการ และชุมชนอุตสาหกรรมใน
การพัฒนา ความปลอดภัย สุขภาพ และคุณภาพชีวติ ของผูป้ ระกอบอาชีพ
2.4 เพื่อประสานงานร่วมมือทางวิชาการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการ
ทางานกับหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน หรือสมาคมทัง้ ภายในและต่างประเทศ
2.5 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ และการกระชับความสัมพันธ์ภายในกลุ่มสมาชิก
2.6 เพื่อจัดหาแหล่งประโยชน์สนับสนุ นทางวิชาการด้านอาชีวอนามัย และความ
ปลอดภัยในการทางานให้แก่สมาชิก
2.7 ไม่ดาเนินการใดๆ เกี่ยวกับการเมืองสมาคมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยใน
การทางาน มีสานักงานอยู่ทภ่ี าควิชาอาชีวอนามัย และความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร
3. สมาคมการยศาสตร์ไทย (Ergonomics Society of Thailand) สมาคมการย-
ศาสตร์ไทย จัดตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
3.1 เป็ นศูนย์ก ลางแลกเปลี่ยนความรู้ค วามคิดเห็น ประสบการณ์และเผยแพร่
ข่าวสาร รวมทัง้ ผลิตและเผยแพร่ส่อื สิง่ พิมพ์ และเอกสารทางวิชาการเกีย่ วกับการยศาสตร์
3.2 ให้การส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
เกีย่ วกับการยศาสตร์แก่สถานประกอบการ และผูส้ นใจอื่นๆ
3.3 ร่วมมือและประสานงานกับองค์กรเอกชน และส่วนราชการเพื่อจัดกิจกรรมต่างๆ
เกีย่ วกับการยศาสตร์
3.4. ส่ ง เสริม และสนับ สนุ น การศึก ษา ค้น คว้า วิจ ัย เกี่ย วกับ การพัฒ นางาน
การยศาสตร์
329

3.5 ร่วมมือและประสานประโยชน์ ระหว่างส่วนราชการ และองค์กรเอกชนทั ง้ ใน


ประเทศ และต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมงานการยศาสตร์
3.6 ส่งเสริมงานการยศาสตร์ของประเทศ สมาคมการยศาสตร์ไทย ได้รบั อนุ ญาตจด
ทะเบียนจัดตัง้ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2544 ปั จจุบนั มีสานักงานอยู่ทภ่ี าควิชาอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร
4. มูลนิ ธิเพื่อส่งเสริ มความปลอดภัยในการทางาน (Safety at Work Promotion
Foundation) กรมสวัสดิการ และคุม้ ครองแรงงาน ได้จดั ตัง้ มูลนิธเิ พื่อส่งเสริมความปลอดภัยใน
การทางาน (Safety at Work Promotion Foundation) โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
4.1 เพื่อ ส่ ง เสริมและสนับ สนุ นให้มกี ารด าเนิน การเพื่อ ให้ลูก จ้างได้รบั ความ
ปลอดภัยในการทางาน มีสุขภาพอนามัยดีและมีสวัสดิภาพในการทางาน
4.2 เพื่อรับและให้ความช่วยเหลือเกือ้ กูลทัง้ การเงิน วิชาการ และทรัพย์สนิ อื่น เพื่อ
เสริมสร้างความปลอดภัย สุขภาพอนามัย และสวัสดิภาพในการทางานแก่ลกู จ้าง
4.3 เพื่อประสานงานส่วนราชการและองค์การเอกชน เพื่อดาเนินการให้ลูกจ้างมี
ความปลอดภัยในการทางาน มีสุขภาพอนามัยดีและมีสวัสดิภาพในการทางาน
4.4 เพื่อดาเนินการเกีย่ วกับสาธารณประโยชน์ หรือร่วมมือกับองค์กรการกุศลอื่นๆ
เพื่อสาธารณประโยชน์
4.5 ไม่ดาเนินการใดๆ เกี่ยวกับการเมืองมูลนิธ ิเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการ
ทางาน ได้รบั อนุญาตจดทะเบียนจัดตัง้ เมือ่ วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2536 มีสานักงานตัง้ อยู่ทอ่ี าคาร
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ส่วนแยกตลิง่ ชัน กรุงเทพมหานคร
5. สมาคมโรคจากการประกอบอาชี พ และสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ประเทศไทย
(Occupational and Environmental Diseases Association of Thailand) สมาคมโรคจาก
การประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมแห่งประเทศไทย จัดตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
5.1 เป็ นศูนย์กลางวิชาการและข้อมูลสาขาอาชีวเวชศาสตร์และสิง่ แวดล้อม รวมทัง้
สาขาอื่น ทีเ่ กีย่ วข้อง
5.2 สนับสนุ นและจัดกิจกรรมการศึกษาและฝึ กอบรม สาขาอาชีวเวชศาสตร์และ
เวชศาสตร์ สิง่ แวดล้อม รวมทัง้ สาขาอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง
5.3 สนับสนุ นการบริการทางวิชาการ เผยแพร่ความรูแ้ ละข้อมูล สาขาอาชีวเวช-
ศาสตร์ และเวชศาสตร์สงิ่ แวดล้อม รวมทัง้ สาขาอื่นที่เกีย่ วข้อง
5.4 สนับสนุ นและพัฒนาผลงานการวิจยั สาขาอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์
สิง่ แวดล้อม รวมทัง้ สาขาอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง
330

5.5 พัฒนาความร่วมมือและการประสานงานทางวิชาการ สาขาอาชีวเวชศาสตร์


และเวชศาสตร์ สิง่ แวดล้อมรวมทัง้ สาขาอื่นทีเ่ กี่ยวข้องกับหน่ วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ทัง้
ในระดับประเทศ และระดับสากล
5.6 ส่ ง เสริม ให้เ กิด ความรัก สามัค คีค วามร่ว มมือ ความเข้า ใจ และกระชับ
ความสัมพันธ์ภายใน กลุ่มสมาชิกของสมาคมเพื่อสร้างคุณประโยชน์จากวิชาชีพ สาขาอาชีวเวช-
ศาสตร์และเวชศาสตร์ สิง่ แวดล้อม รวมทัง้ สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง ให้เกิ ดแก่ประชาชน สังคม
ส่วนรวมและประเทศชาติ
5.7. ส่งเสริมคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม ของผู้ประกอบอาชีพ สาขาอาชีว -
เวชศาสตร์ และเวชศาสตร์สงิ่ แวดล้อม รวมทัง้ สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะสมาชิกของ
สมาคม สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมแห่งประเทศไทยได้รบั อนุ ญาตจด
ทะเบียน จัดตัง้ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2546 มีสานักงานตัง้ อยู่ท่ศี ูนย์อาชีวเวชศาสตร์
สิง่ แวดล้อมโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรุงเทพมหานคร
6. สมาคมการพยาบาลอาชี วอนามัยแห่ งประเทศไทย (Occupational Health
Nursing Association of Thailand) สมาคมการพยาบาลอาชีวอนามัยแห่งประเทศไทย จัดตัง้
ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
6.1 เป็ นองค์กรกลางในการส่งเสริม สนับสนุ นการจัดการศึกษา การวิจยั การ
บริการวิชาการ และกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาชีพการพยาบาลอาชีวอนามัยระหว่างสมาชิก
ภายในระดับประเทศ และระดับสากล
6.2 ประสานความร่วมมือในการพัฒนา และยกระดับมาตรฐานวิชาชีพในกลุ่ม
พยาบาล และงานอาชีวอนามัย หรือสมาคมที่เกี่ยวข้องกับงานด้านอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย ของผูใ้ ช้แรงงาน ทัง้ ในระดับประเทศและระดับสากล
6.3 ประสานความร่วมมือทางวิชาการ เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปั ญหาทางการ
พยาบาล อาชีวอนามัยและความปลอดภัยของผู้ใช้แรงงานร่วมกับหน่ วยงาน องค์การภาครัฐ
และเอกชน ทัง้ ในระดับประเทศ และระดับสากล

สรุป
การบริหารงานกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางานเป็ นกฎหมายทีบ่ ญ ั ญัตขิ น้ึ มาเพื่อนามาใช้กบั สถานประกอบกิจการทีด่ าเนินกิจการที่ม ี
การดาเนินการผลิต ตัง้ อุตสาหกรรมการผลิตและบริการ พาณิชยกรรม ขนส่ง และบริการต่าง ๆ
ซึง่ ใช้บงั คับระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างทีม่ กี ารตกลงว่าจ้างกันทางานตามข้อตกลง ตามกฎหมาย
หมายคุ้ ม ครองแรงงาน โดยทัว่ ไปแล้ ว การบริห ารงานเกี่ย วกับ กฎหมายความปลอดภัย
อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างานนัน้ มีค วามเกี่ ย วข้อ งสัม พัน ธ์กัน โยตรงกับ
331

กฎหมายว่ า ด้ว ยการจ้า งงาน ได้แ ก่ กฎหมายคุ้ม ครองแรงงาน กฎหมายแรงงานสัม พัน ธ์


กฎหมายกองทุนทดแทน เป็ นต้น ซึ่งมีความสัมพันธ์ทงั ้ ในด้านการกระทาที่ต่อเนื่องกันในการ
ปฏิบตั งิ าน เช่น ในกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน หมวด ๔ การใช้แรงงานเด็ก มาตรา ๔๕ ห้ามมิให้
นายจ้างจ้างเด็กต่ ากว่าสิบห้าปี เป็ นลูกจ้าง หากนายจ้างมีการฝ่ าฝื นให้ลูกจ้างต่ ากว่าสิบห้าปี
ทางาน ต่อมาเกิดอุบตั เิ หตุอนั จาการทางานให้กบั นายจ้างจนได้รบั บาดเจ็บรุนแรง ก็ย่อมทาให้
ผิด กฎหมายว่ า ด้ ว ยคุ้ ม ครองแรงงาน และกฎหมายความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานด้วยเช่นกันและยังมีผลกระทบไปสู่กฎหมายกองทุนทดแทนซึ่ง
กฎหมายเกี่ยวกับการทางานของลูก จ้างมีค วามสัมพันธ์เ กี่ย วข้อ งกันไม่มวี นั แยกจากกันได้
ดังนัน้ ลูกจ้างจะต้องได้รบั การคุม้ ครองในการทางานในลักษณะบังคับด้วยกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง
ดังทีก่ ล่าวมาแล้ว อีกทัง้ กฎหมายกองทุนทดแทนทีม่ หี น้าทีด่ ูแลในการรักษาพยาบาล การฟื้ นฟู
และดูแลรับผิดชอบในการทดแทนด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการบาดเจ็บ เจ็บป่ วย ทุพพลภาพ และ
เสียชีวติ อันเนื่องมาจากการทางาน
นอกจากนี้ยงั มีหน่ วยงานหรือองค์กรทัง้ ภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนที่มคี วามเกี่ยวข้อง
และมีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบเกีย่ วกับการทางานในสถานประกอบการของนายจ้างตามกฎหมาย
และตามบทบาทหน้ าที่ โดยหน่ วยงานภาครัฐ ได้แก่ กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข
และ กระทรวงอุตสาหกรรม เป็ นต้น และยังมีองค์กรในประเทศไทยที่มคี วามเกี่ยวข้องโดยตรง
และหน่วยงานระดับสากล ได้แก่ สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยในการทางาน สมาคมอาชีวอนา-
มัย และความปลอดภัยในการทางาน สมาคมการยศาสตร์ไทย มูลนิธเิ พื่อส่งเสริมความปลอดภัย
ในการทางาน สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อมแห่งประเทศไทย สมาคมการ
พยาบาลอาชีวอนามัยแห่งประเทศไทย เป็ นต้น
332

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ที่สดุ
1. ขอบข่ายในการบริห ารกฎหมายความปลอดภัย อาชีว อนามัยและสภาพแวดล้อ มในการ
ทางานของกระทรวงแรงงาน
2. ขอบเขตของการบังคับใช้กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อ มในการ
ทางาน มีขอบเขตการบังคับใช้อย่างไร
3. บทลงโทษผู้ฝ่าฝื นกฎหมายความปลอดภัยในการทางาน อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
4. อานาจของพนักงานตรวจแรงงานต้องกระทาหน้าทีอ่ ย่างไรบ้าง
5. การด าเนิ น การในการลงโทษกรณี น ายจ้ า งมีก ารฝ่ าฝื น หรือ ไม่ ป ฏิบ ัติ ต ามกฎหมาย
ความปลอดภัย ในการท างาน อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้ อ มในการท างานจ าต้ อ ง
ดาเนินการอย่างไร
6. ตาม มาตรา100 ให้มคี ณะกรรมการกฎหมายความปลอดภัยในการทางาน อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางานประกอบด้วยเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานกี่ระดับ
7. ตาม มาตรา100 ให้มคี ณะกรรมการกฎหมายความปลอดภัยในการทางาน อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางานประกอบด้วยเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานมีหน้าที่
8. การเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานในโรงงานอุตสาหกรรมมีหลักการอย่างไรบ้าง
9. ให้นัก ศึก ษาอธิบายเกี่ย วกับ ประกาศกรมสวัส ดิก ารและคุ้ม ครองแรงงาน เรื่อ ง ก าหนด
มาตรฐานอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล พ.ศ. 2554
10. หน่วยงาน สมาคม และองค์กรอื่น ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานความปลอดภัย และ
อาชีวอนามัยมีหน่วยงานใดบ้าง (อธิบาย)
11. หน่วยงานภาครัฐทีม่ บี ทบาทหน้าทีด่ า้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางานมีหน่วยงานใดบ้าง (อธิบาย)
12. ให้อธิบายเกีย่ วกับกฎหมายกองทุนทดแทนมาอย่างสังเขป
333

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงแรงงาน. กองทุนทดแทน, ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, ค้นจาก


http://www.mol.go.th/employee/compensation.
เกษมสัน ต์ วิล าวรรณ.(2559). ค าอธิบ ายกฎหมายแรงงาน.(พิม พ์ค รัง้ ที่2 2). กรุ ง เทพฯ:
สานักพิมพ์วญ ิ ญูชน.
เกษมสัน ต์ วิล าวรรณ.(2550). กฎหมายแรงงานกับ การบริห ารงานบุ ค คล.กรุ ง เทพฯ :
สานักพิมพ์วญ ิ ญูชน.
เกษมสัน ต์ วิล าวรรณ.(2548). คู่ ม ือ ลู ก จ้า ง ชีว ิต ลูก จ้า งกับ กฎหมายแรงงาน. กรุง เทพฯ:
สานักพิมพ์วญ ิ ญูชน.
วิจ ิต รา (ฟุ้ งลัด ดา)วิเ ชีย รชม. (2559). กฎหมายแรงงาน. (พิม พ์ ค รัง้ ที่ 2). กรุ ง เทพฯ:
สานักพิมพ์วญ ิ ญูชน.
334
335

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 6
วิศวกรรมความปลอดภัยเบือ้ งต้น
หัวข้อเนื้ อหา
1. แนวคิดของวิศวกรรมความปลอดภัย ความหมาย และความสาคัญของ
2. วิศวกรรมความปลอดภัย
3. ความหมาย ความสาคัญ วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการวางผังโรงงาน
4. การวางผังโรงงานเพื่อความปลอดภัย
5. ปั จจัยในการวางผังโรงงาน
6. ขัน้ ตอนในการวางผังโรงงาน และระบบการวางผังโรงงาน
7. ความหมายของอัคคีภยั องค์ประกอบของการเกิดอัคคีภยั และแหล่งกาเนิดของ
อัคคีภยั
8. สาเหตุและผลกระทบจากอัคคีภยั
9. หลักการและแนวทางการระงับอัคคีภยั
10. ระบบและอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้องในการระงับอัคคีภยั
11. ชนิดและประเภทของเครือ่ งมือ และอุปกรณ์ในการดับเพลิง
12. แผนป้ องกันและระงับอัคคีภยั
13. สรุป
14.แบบฝึกหัด
15. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1. อธิบายเกี่ยวกับแนวคิด หลักการเกี่ยวกับวิศวกรรมความปลอดภัยในการทางาน
รวมทัง้ สามารถบอกความหมาย ความสาคัญ วัตถุประสงค์และประโยชน์ และข้อดีของการวางผัง
โรงงานได้
2. บอกถึงขัน้ ตอน ระบบการวางผังโรงงาน รวมทัง้ ปั จจัยที่ต้องนามาพิจารณาในการ
วางผังโรงงานได้
3. อธิบ ายและปฏิบตั ิเ กี่ย วกับ การป้ อ งกันและระงับ อัค คีภยั การเขียนแผนการระงับ
อัคคีภยั และการป้ องกันอันตรายในการเกิดอัคคีภยั ในสถานประกอบการได้
4. อธิบ ายเกี่ย วกับ สารเคมี น้ ายา และชนิ ด ประเภทของเครื่อ งมือ อุ ป กรณ์ ใ นการ
ดับเพลิงได้
336

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย (จัดอบรมเกีย่ วกับการป้ องกันอัคคีภยั )
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารคาสอนรายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดที ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
337

บทที่ 6
วิศวกรรมความปลอดภัยเบือ้ งต้น
ความรูพ้ ้นื ฐานโดยทางทฤษฎีเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านในโรงงานหรือ
สถานประกอบการที่มเี ครื่องมือ เครื่องจักร รวมทัง้ ระบบวิศวกรรมต่าง ๆ จะถูกจัดให้มขี น้ึ โดย
อาศัยหลักพืน้ ฐาน 3 ประการ หรือทีเ่ รียกว่า 3 E คือ Engineering หลักการทางด้านวิศวกรรม
Education หลักการศึกษาอบรม และ Enforcement หลักการบังคับให้เป็ นไปตามระเบียบ
ข้อ บังคับขององค์การและบ้านเมือ งความปลอดภัยจะต้อ งสอดแทรกและกลมกลืนเข้าไปใน
ขบวนการผลิตสินค้าของโรงงาน จึงจะบรรลุเป้ าหมายการบริหารงานได้เพราะจุดประสงค์หลัก
ของการบริหารโรงงาน คือ การผลิตที่มปี ระสิทธิภาพที่สุด (การผลิตที่มตี ้นทุนต่ าสุด หรือการ
ผลิตทีม่ ผี ลกาไรสูงสุด) การที่จะบรรลุจุดประสงค์ดงั กล่าวได้ต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบหรือ
ทรัพยากรพืน้ ฐานของโรงงาน 2 ประเภท คือ ประเภทแรก คือ แรงงาน (คน) ประเภทที่ 2 คือ
เครือ่ งจักรเครือ่ งมือ และอุปกรณ์ (ทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิต)
ถึงแม้ว่าหลัก วิศวกรรมความปลอดภัยจะถูกนาเข้ามาใช้การออกแบบ ติดตัง้ ก่อสร้าง
อย่างเป็ นระบบทีม่ กี ารตรวจสอบในเบื้องต้นจากผูท้ ม่ี คี วามรู้ ความสามารถ และเชี่ ยวชาญด้าน
การออกแบบ ก ากับ ควบคุ ม ตามกฎหมายเพีย งใด ในอดีต ที่ผ่ า นมาพบว่ า มีโ รงงานหรือ
อุ ต สาหกรรมการผลิต หลายแห่ ง ที่ต้ อ งประสบกับ เหตุ ก ารณ์ โ ศกนาฏกรรมครัง้ ยิ่ง ใหญ่
ยกตัวอย่าง บริษัท เคเดอร์อนิ ดัสเตรียล ไทยแลนด์ จากัด ตัง้ อยู่อาเภอสามพราน จังหวัด
นครปฐม ซึ่งนักธุรกิจชาวไต้หวันเป็ นนักลงทุน สร้างเป็ น อาคาร 5 ชัน้ เกิดไฟไหม้ ในวันที่ 10
พฤษภาคม 2536 ซึ่งไฟไหม้ชนั ้ ล่างของอาคารทาให้คนงานเสียชีวติ จานวน 188 รายจาก
คนงานกว่า 1,400 คน และต่อมา อาคารถล่มทับซ้าคนงานอีกทาให้เสียชีวติ จากอาคารถล่มอีก
200 ราย คนงานพยายามหนีเอาตัวรอด แต่ไฟลุกไหม้อ ย่างรวดเร็วเนื่องจากเป็ นโรงงานตุ๊กตา
ผลิตเศษผ้า และวัสดุไวไฟอยู่เป็ นจานวนมาก และยังมีเหตุการณ์โรงแรมรอยัลพลาซ่า จังหวัด
นครราชสีมา ซึ่งเป็ นโรงแรมระดับสุดหรูเกิดถล่ม เนื่องจากมีการต่อเติมอาคารที่ผดิ หลักการ
ก่อสร้างและวิศวกรรม โดยผูก้ ่อสร้างและผูร้ บั ผิดชอบด้านการก่อสร้างไม่ได้เอาใจใส่ถงึ กฎความ
ปลอดภัย ทาให้ในวันที่ 13 สิงหาคม 2536 ตัวอาคารเกิดถล่มลงมาอย่างรุนแรง ทาให้ทบั ร่างอยู่
มาใช้บริการของโรงแรมทัง้ หมด รวมเจ้าหน้าทีท่ ป่ี ฏิบตั งิ านในเวลานัน้ ต้องใช้เวลาในการค้นร่าง
ผู้เสียชีว ติ เป็ นเวลานานกว่า 1 สัปดาห์ ทาให้เกิดการเสียชีวติ จานวน 137 ราย ทัง้ ลูกค้าและ
เจ้าหน้าทีข่ องโรงแรม ซึง่ นับว่าเป็ นความสูญเสียในแต่ครัง้ ยิง่ ใหญ่มากกมายมหาศาลทัง้ ชีวติ คน
และทรัพย์สนิ ยังนาไปสู่ความเสียหายต่อชื่อเสียงของธุรกิจและประเทศชาติ
338

ดัง นัน้ การพยายามสร้า งความปลอดภัย ในเบื้อ งต้น เพื่อ ให้เ ป็ น บรรทัด ฐานให้กับ
ผูป้ ระกอบการหรือนายจ้าง นัน้ หลักวิศวกรรมความปลอดภัยเบือ้ งต้นจึงเป็ นทีส่ าคัญ และจาเป็ น
ตัง้ แต่ ก ารออกฎหมาย สร้างกฎระเบียบให้ผู้ใ ดก็ต ามที่ดาเนิ นธุ รกิจจะต้อ งปฏิบตั ิต ามอย่า ง
เคร่งครัดเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานลดความสูญเสีย และเสียหายที่จะเกิดขึน้ ต่อ
บุคคล ธุรกิจ และประเทศต่อไป

แนวคิ ดของวิ ศวกรรมความปลอดภัย


วิศ วกรรมความปลอดภัย เป็ น ระบบการบริห ารจัด การที่ต้ อ งอาศัย หลัก การทาง
คณิตศาสตร์และสถิติ ให้สามารถนามาช่วยในการดาเนินงานเกี่ยวกับการสร้างเสริมระบบความ
ปลอดภัยเพื่อเกิดประสิทธิภาพมากที่สุดในการแผนงาน การวางผัง การดาเนินการก่ อสร้าง
ติดตัง้ เครื่องมือ เครื่องจักร อาคาร และคน ให้สามารถปฏิบตั งิ านให้เกิดความมันใจในความ

ปลอดภัยในการทางานทุกขัน้ ตอน ซึง่ ต้องอาศัย วิศวกรเป็ นผูด้ าเนินการ และเป็ นผูใ้ ห้คาแนะนา
ปรึกษา รวมทัง้ ต้องเป็ นบุคคลที่มคี ุณสมบัตติ ามกฎหมายกาหนด เนื่องจากการจัด ดาเนินการ
ด้า นวิศ วกรรมความปลอดภัย ได้ถู ก ก าหนดและควบคุ ม โดยกฎหมายหลายฉบับ ด้ว ยกัน
ได้แก่ พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 กฎหมายคุม้ ครองแรงงาน กฎหมายความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พระราชบัญญัตสิ ุขภาพอนามัย 2535 เป็ นต้น
ด้ว ยเหตุ ผ ลหลายประการที่ปั จ จุบ ัน ความเจริญ ก้า วหน้ า ทางด้า นเทคโนโลยี และ
วิท ยาศาสตร์ม ีก ารพัฒ นาและเปลี่ย นแปลงไปอย่ า งรวดเร็ว ท าให้ พ ฤติก รรมของมนุ ษ ย์
เปลี่ยนแปลงไปด้ว ย ส่ งผลทาให้การดาเนินงานด้านความปลอดภัยมีค วามซับซ้อ นมากขึ้น
กว่าเดิม โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ผลิตสินค้าและบริการมีแนวโน้มที่จะเกิดอุบตั เิ หตุสูงขึน้
เรื่อยและเกิดได้ง่ายหากขาดความระมัดวัง และกากับควบคุมตัง้ แต่พน้ื ฐานของวิศวกรรมความ
ปลอดภัยเบื้องต้น รวมทัง้ การปฏิบตั งิ านในตาแหน่ งงานต่าง ๆ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบตั งิ านก็ต้องมี
คุณสมบัติ ที่มคี วามรู้ ความเชีย่ วชาญ โดยผ่านการฝึ กอบรมให้เกิดความรู้ ความชานาญ จึงจะ
สามารถช่วยป้ องกันการเกิดเหตุการณ์อนั ทีจ่ ะนาไปสู่การประสบอันตรายบาดเจ็บ หรือเจ็บป่ วย
เกิดจากการทางาน และสภาพแวดล้อมในการทางานยังส่งผลต่อความเสีย่ งหากไม่มกี ารควบคุม
ดูแลอย่างเคร่งครัด นอกจากยังต้องกาหนดและแต่งตัง้ ให้มเี จ้าหน้าทีท่ ค่ี อยทาหน้าที่ กากับ ดูแล
ส่งเสริม สนับสนุ น ให้ความรู้ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานแก่พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ าน ซึง่
โดยทัวไปแล้
่ วในโรงงานอุตสาหกรรมจะมีการแต่งตัง้ ให้มเี จ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน
ตามทีก่ ฎหมายหรือกฎกระทรวงกาหนด
339

ความหมายของวิ ศวกรรมความปลอดภัย
หลัก เกณฑ์ของระบบความปลอดภัยและวิศ วกรรม เป็ นสิ่งที่ผู้บริห ารในโรงงานหรือ
สถานประกอบการต้อ งมีค วามเข้าใจถึงหลัก ความปลอดภัยในการทางานซึ่งเริม่ ตัง้ แต่ การ
ดาเนินงานจะต้องมีแผนงานด้านความปลอดภัยเบื้อ งต้นให้ชดั เจนซึ่งต้อ งทาความเข้าใจใน
ความหมายของวิศวกรรมความปลอดภัยซึ่งต้องได้รบั คาปรึกษาจากวิศวกรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ
และมีประสบการณ์ เ ป็ นอย่า งดี ดังนัน้ จึงต้อ งทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของค าว่ า
“วิศวกรรมความปลอดภัย” ซึง่ สามารถให้ความหมายได้ดงั นี้
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาวะที่ปราศจากภยันตรายใด ๆ ทัง้ ปวง หรือ
สภาวะที่ปราศจากอุบตั เิ หตุในโรงงาน หรือสภาวะที่ปลอดภัยจากความเจ็บปวด การบาดเจ็บ
เจ็บป่ วย ทรัพย์ส ินเสียหาย และ ความสูญ เสียเนื่อ งจากกระบวนการผลิต ซึ่งการควบคุมจะ
รวมถึงการป้ องกันไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุในโรงาน และการดาเนินการให้สูญเสียน้อยที่สุดเมื่อเกิด
อุบตั เิ หตุขน้ึ
วิ ศวกรรมความปลอดภัย (Safety Engineering) หมายถึง เป็ นลักษณะสหวิทยาการ
ที่มุ่งเน้ นศึกษาเกี่ยวกับการประยุกต์ทางการวิศวกรรม เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ และออกแบบ
ระบบที่เกี่ยวข้องกับคน เครื่องจักร องค์การ และสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ ผลกระทบ การป้ องกัน
อุบตั เิ หตุ และอุบตั ภิ ยั ในอุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ เช่น การก่อสร้าง การผลิต การขนส่ง การ
แปรรูป และการบริการ เป็ นต้น โดยเริม่ ตัง้ แต่ กระบวนการออกแบบ (design) การก าหนด
มาตรฐานความปลอดภัย การผลิต การติดตัง้ ขัน้ ตอนและวิธกี ารทางานต่าง ๆ การจัดเก็บรักษา
การส่ งมอบ การบารุงรัก ษา การป้ อ งกันภัยธรรมชาติท่เี กิดขึ้นจากสาเหตุ ท่คี วบคุ มได้ และ
ควบคุมไม่ได้ การมีจติ สานึกทางด้านสิง่ แวดล้อม การป้ องกันมลพิษและภัยจากสารเคมี ตลอด
จนถึงการประเมินความเสีย่ ง (risk assessment) ของอันตรายทีเ่ กิดขึน้ ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ
รวมทัง้ หลักเกณฑ์ของระบบการบริหารความปลอดภัยและวิศวกรรม และองค์ประกอบอื่นๆ
เกีย่ วกับการควบคุมความสูญเสียด้วย

ความสาคัญของวิ ศวกรรมความปลอดภัย
ระบบโครงสร้างของอาคารหรือโรงงานทุกกิจการถึงแม้จะมีความแตกต่างกันในลักษณะ
ของประเภทแต่ ท่สี าคัญ คือ ต้อ งให้มคี วามปลอดภัย นัน่ คือ การออกแบบต้ อ งให้เป็ นไปตาม
กฎหมายข้อ บัง คับ มีก ารออกแบบ ตรวจสอบ ควบคุ ม การก่ อ สร้า งจากวิศ วกรที่ม ีค วามรู้
เชีย่ วชาญโดยตรง และเป็ นไปตามกฎหมายกาหนด หรือเป็ นไปตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน
ในปั จจุบนั ภาครัฐได้มกี ารออกกฎหมายข้อบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัยเกี่ยวกับวิศวกรรม
ความปลอดภัยเพื่อ ให้สถานประกอบการหรือ นายจ้างที่มกี ารก่อ สร้าง การติดตัง้ เครื่อ งจักร
อุ ป กรณ์ ท่ีช่ ว ยในการผลิต และใช้เ กี่ย วกับ คนงาน โดยมีค วามมุ่ ง หมายให้ค นงานมีค วาม
340

ปลอดภัย และลดความเสีย หายหรือ สูญ เสีย ที่จ ะเกิด ขึ้น กับ นายจ้า ง ดัง นัน้ นายจ้า งจึง ให้
ความสาคัญทีจ่ ะทาให้เกิดความปลอดภัยในการทางานด้วยเหตุผลทีส่ าคัญดังนี้
1. ออกกฎหมาย ข้ อบัง คับ ในสถานประกอบการในด้า นการก าหนดหลักเกณฑ์
เกี่ยวกับเครื่องจักรในการผลิต ได้แก่ กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขการ
ทดลองเดินเครือ่ งจักร พ.ศ. 2553 เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานกับลูกจ้าง เครื่องจักร
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
2. สภาพการแข่งขันทางธุรกิ จ การดาเนินธุรกิจสิง่ ทีต่ ้องเกิดขึน้ อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ก็
คือ สภาพการแข่งขัน โดยเฉพาะปั จจุบนั มีความรุนแรงมากขึน้ เรื่อย ๆ องค์การจาเป็ นต้องมีกล-
ยุทธ์ในการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ซึง่ การทาให้เกิดความปลอดภัยในการทงานใน
สถานประกอบการเป็ นสิง่ ทีไ่ ด้โอกาสเนื่องจากช่วยลดต้นทุนในการผลิต สร้างชื่อเสียงและความ
เชื่อมันให้
่ กบั ลูกค้า และพนักงานมีความจงรักภักดีต่อองค์การ
3. ความต้องการให้องค์สามารถเติ บโตและสร้างกาไร เมื่อองค์การมีความปลอดภัย
ในการทางานสูง โอกาสทีจ่ ะทากาไรก็ย่อมมีมากกว่า เพราะองค์การไม่จาเป็ นต้องมีค่าใช้จ่ายใน
การรักษาพยาบาลการเกิดอุบตั เิ หตุของลูกจ้าง การจ่ายค่าชดเชยต่าง ๆ ลูกจ้างไม่มกี ารหยุด
เพราะการเจ็บป่ วย ย่อมส่งผลต่อกาไรทางธุรกิจได้ ดังนัน้ การให้มคี วามปลอดภัยในการทางาน
ก็ยอ่ มส่งเสริมให้ธุรกิจมีความก้าวหน้าเติบโตทางกลางการแข่งขันกันอย่างรุนแรงและก่อให้เกิด
กาไร
4. จริ ยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคมหรือเพื่อส่วนรวม เมื่อองค์การได้มรี ะบบ
การจัดสภาพองค์การให้มคี วามปลอดภัยเป็ นการสะท้อนให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อพนักงาน
ลูกค้า และสังคมในอันที่จะส่งผลต่อความเสียหายต่อสิง่ แวดล้อม และเป็ นการสร้างความเป็ น
ธรรมให้กบั ลูกจ้างในอันจะเกิดอันตรายต่อร่างกายลูกจ้างซึ่งยังส่งผลต่อครอบครัว และสังคม
ประเทศชาติ
5. ภาพลักษณ์ และชื่อเสียงขององค์การ องค์การย่อมต้องการให้ธุรกิจดาเนินการไป
ด้วยความราบรื่น ความปลอดภัยในการทางานเป็ นกิจกรรมหน้ าที่งานสาคัญของผู้บริห ารที่
จะต้องกาหนดนโยบายอย่างชัดเจนเพื่อให้การดาเนินธุรกิจเป็ นที่รจู้ กั ไม่ว่าจะเป็ นด้านคุณภาพ
ของผลิตภัณฑ์ และชื่อเสียงทางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ในองค์การ หากองค์การมีระบบ
การจัดการความปลอดภัยที่ดีก็ย่อ มทาให้พนักงานผู้ปฏิบตั ิงานมีสุขภาพอนามัยที่ดีสามารถ
ปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพส่งผลต่อภาพลักษณ์ขององค์การนาไปสู่การสร้างชื่อเสียงต่อ
สังคมและลูกค้า
จากความสาคัญหากมีการประเมินถึงความคุ้มค่าในการจัดการความปลอดภัยให้เกิด
ผลสาเร็จได้ผไู้ ด้รบั ประโยชน์กจ็ ะเห็นถึงความสาคัญและเป็ นหลักประกันความปลอดภัยให้กบั ผู้
ประกอบกิจการโรงงาน ผู้บริหาร และผู้ปฏิบตั ิงาน และยังให้ความมันใจแก่ ่ ชุมชนผู้อยู่อาศัย
341

ใกล้เคียงกับโรงงานอีกด้วย จึงเท่ากับเป็ นการสร้างจิตสานึกในคุณธรรมจริยธรรมแห่งความ


ปลอดภัย และตระหนักถึงอันตรายให้แก่สงั คม ชุมชนมากขึ้นด้วย ดังนัน้ การวางแผนผังโรงงาน
ด้วยหลักวิศวกรรมความปลอดภัยจึงเป็ นเรื่องทีส่ าคัญมากสาหรับผูบ้ ริหารในสถานประกอบการ
ต้องให้ความเอาใจใส่ เพื่อให้เสริมสร้างให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน หรือเป็ นการป้ องกัน
ก่อนเกิดเหตุอนั ตรายในโรงงาน ซึ่ง ปรากฏเป็ นข่าวกันมาที่เกิดโศกนาฏกรรมหลายครัง้ หลาย
โรงงาน ทีเ่ หตุการณ์ไฟไหม้โรงงานผลิตตุ๊กตา และโรงแรมที่มชี ่อื เสียงระดับชัน้ นาถล่ม ซึง่ เกิด
จากการติดตัง้ และสร้างอาคารหรือ ต่ อ เติมเกินกว่ากฎหมายก าหนด แสดงในภาพที่ 6.1
รวมทัง้ ทาให้เกิดค่าใช้จ่ายในการดาเนินธุรกิจที่เกิดโดยตรง และโดยอ้อมเช่นเดียวกัน ดังแสดง
ในภาพที่ 6.1

ภาพที่ 6.1 ทฤษฎีภเู ขาน้าแข็งเกีย่ วกับค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดจากการเกิดอุบตั เิ หตุ


ทีม่ า: ชัยยุทธ ชวลิตนิธกิ ุล, (2553).
342

ไฟไหม้ บริ ษทั เคเดอร์อินดัสเตรียล ไทยแลนด์ จากัด

เหตุการณ์ โรงแรมรอยัลพลาซ่ าถล่ม ที่จงั หวัดนครราชสีมา

ภาพที่ 6.2 เหตุการณ์การเกิดอุบตั เิ หตุเนื่องจากวิศวกรรมการก่อสร้าง


ทีม่ า: https://hilight.kapook.com/view/68013, (2559).

ความหมายของการวางผังโรงงาน
การวางผังโรงงานเป็ นขัน้ ตอนการต่อจากการก่อสร้างโรงงานเสร็จเรียบร้อย จึงเป็ นเรื่อง
ของการการออกแบบและจัดวางผังโรงงานให้การดาเนินการระบบการผลิตมีกระบวนการที่
ส่งผลให้ขนั ้ ตอนการผลิตดาเนินไปด้วยความเหมาะสม ซึง่ จะทาให้ทราบถึงการวางตาแหน่ งของ
เครือ่ งจักร อุปกรณ์ คน วัสดุ สิง่ ของ และสิง่ อานวยความสะดวกอื่นใดทีส่ นับสนุ นให้มกี ารผลิตที่
มีประสิทธิภาพ ให้อยูใ่ นตาแหน่งทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด เกิดการไหลของงานอย่างต่อเนื่อง การทางาน
343

มีความสัมพันธ์กนั อย่างดี เกิดการเพิม่ ผลผลิต ลดต้นทุนการผลิต และเพิม่ ความปลอดภัยในการ


ทางานของคนงาน และทาให้การดาเนินการผลิตเป็ นไปตามกฎหมายและมาตรฐานสากล
ได้มนี กั วิชาการให้ความหมายของ การวางผังโรงงาน ( Plant Layout) ไว้ดงั นี้
วิภารัตน์ โพธิ ์ขี (2557, หน้า 42) ได้ให้ความหมายของ การวางผังโรงงาน ไว้ว่า การ
วางแผนล่วงหน้า หรือแผนการในการติดตัง้ เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ และวัตถุต่าง ๆ ที่
จาเป็ นในกระบวนการผลิต ภายใต้ขอ้ จากัดของ โครงสร้าง และการออกแบบของอาคารทีม่ อี ยู่
เพื่อทาให้การผลิตมีความสะดวก และมีความปลอดภัยเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
รณภพ สุนทรโรหิต (ม.ป.ป., หน้า 1) ได้ให้ความหมายของ การวางผังโรงงาน ไว้ว่า
การวางผังโรงงานเป็ นส่วนหนึ่งของการออกแบบโรงงานเท่านัน้ ซึ่งการวางผังโรงงานเป็ นการ
วางแผนการจัดวางเครือ่ งจักร เครือ่ งมือ อุปกรณ์ คน วัสดุ และสิง่ อานวยความสะดวกรวมทัง้ สิง่
สนับสนุ นอื่น ๆ ที่ถูกต้องในตาแหน่ งที่เหมาะสม เช่น ระบบงานวิศวกรรม โดยมีวตั ถุประสงค์
เพื่อ ให้การดาเนินงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และประหยัดค่าใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ซึ่งถ้าหาก
โรงงานใดมีการวางผังโรงงานทีด่ ไี ด้เปรียบทางการแข่งขันในธุรกิจเดียวกัน นอกจากนี้ยงั ทาให้
ประหยัดค่าใช้จา่ ยได้ทงั ้ ทางตรงและทางอ้อมได้
วันชัย ริจริ วนิช (2541, หน้า 116) ได้ให้ความหมายของ การวางผังโรงงาน ไว้ว่า การ
จัดระเบียบประสานงานของเครื่องจักรและสถานที่ทางานอย่างได้ผลภายใต้ขอ้ จากัดของพื้นที่
สาหรับการจัดวางผังโรงงงาน โดยมีวตั ถุประสงค์จะให้เกิดกระบวนการผลิตที่มปี ระสิทธิภาพ
สูงสุดจากการดาเนินงาน
อิสรา ธีระวัฒน์สกุล (2549, หน้า 147) ได้ให้ความหมายของ การวางผังโรงงาน ไว้ว่า
แผนงานในการติดตัง้ เครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จาเป็ นและเหมาะสมในการผลิตภายใน
อาคารที่ม ีอ ยู่ รวมทัง้ การวางผัง โรงงาน หรือ ออกแบบอาคาร เพื่อ ท าให้ข บวนการผลิต มี
ประสิทธิภาพสูงสุด
สมศักดิ ์ ตรีสตั ย์ (2554, หน้ า 119) ได้ใ ห้ความหมายของ การวางผังโรงงาน ไว้ว่า
เป็ นการดาเนินการเกีย่ วกับการจัดวางเครือ่ งจักร อุปกรณ์ คน วัสดุ สิง่ อานวยความสะดวก และ
สนับสนุ นการผลิต ให้อยู่ในตาแหน่ งทีเ่ หมาะสม เพื่อให้การปฏิบตั งิ านในโรงงาน เป็ นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพตามเป้ าหมายทีก่ าหนดไว้
จากความหมายที่นักวิชาการได้ให้ไว้ สรุปได้ว่า การวางผังโรงงาน (Plant Layout)
หมายถึง กระบวนการในการวางแผนงานอย่ า งเป็ นระบบเกี่ย วกับ การจัด วางเครื่อ งมือ
เครื่อ งจักร วัส ดุอุ ปกรณ์ วัตถุ อ่ ืน ๆ และสิ่งอ านวยความสะดวกต่ าง ๆ ที่จาเป็ นต่อ การผลิต
เพื่อช่วยสนับสนุ นกระบวนการผลิตภายใต้ขอ้ จากัดของอาคารที่มอี ยู่ให้เหมาะสมกับตาแหน่ ง
รวมทัง้ การวางผังโรงงาน และการออกแบบอาคาร ซึ่ง การวางแผนงานดัง กล่ า วมีผ ลทาให้
กระบวนผลิ ต นั ้น เกิ ด ความสะดวก ประหยัด เวลา ค่ า ใช้ จ่ า ย รวดเร็ ว ปลอดภัย ตาม
มาตรฐานสากล และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
344

ดังนัน้ การวางผังโรงงานจึงจาเป็ นต้องอาศัยวิศวกรประจาโรงงานซึ่งเป็ นผู้มคี วามรู้


ความสามารถในการออกแบบและการจัดวางตาแหน่ งของเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ และจัด
คนให้ทางานได้อ ย่า งเหมาะสม โดยทัว่ ไปแล้ว การจัดวางผังโรงงานย่อ มท าได้เ มื่ อ มีค วาม
จาเป็ นต้องมีการเปลี่ยนแปลง โยกย้าย เครื่องจักร หรือแผนกงานต่าง ๆ และคนให้การจัดวาง
ผังโรงงานให้ดขี น้ึ ตามการเปลีย่ นแปลงของการผลิตในปั จจุบนั ดังนัน้ การวางผังโรงงานจึงต้อง
สามารถให้มกี ารปรับเปลี่ยนได้ตามสภาพการณ์ท่เี ปลี่ยนแปลงไปด้วยเพื่อให้งานสาเร็จลงได้
ด้วยดีให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามวัตถุประสงค์ ดังนัน้ ความจาเป็ นที่ต้องมีการวางผังโรงงาน
จึงมีสาเหตุหลายประการดังนี้
1. การเปลี่ ยนแปลงของลักษณะผลิ ตภัณฑ์ การผลิตสินค้าและบริการบางอย่าง มี
การเปลี่ย นแปลงรวดเร็ว หรือ มีค วามต้อ งการที่ เ ปลี่ยนไปแนวโน้ มของความต้อ งการ และ
พฤติกรรมความต้องการของผูบ้ ริโภค รวมทัง้ สภาพการแข่งขันกัน เช่น โทรศัพท์มอื ถือ กล้อง
ถ่ายรูป และรถยนต์ เป็ นต้น
2. การเปลี่ยนแปลงขององค์การที่ มีการขยายและลดขนาดของหน่ วยงาน ด้วย
ปั จจุบนั เพื่อความคล่องตัวสะดวกและรวดเร็วมากขึน้ ในการบริหารจัดการหน่ วยงาน จาเป็ นต้อง
มีการลดขนาดหน่วยงานลง รวมทัง้ เป็ นการบริหารงบประมาณทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ในขณะเดียวกัน
เมือ่ ความต้องการของลูกค้ามีจานวนมากก็อาจจาเป็ นต้องมีการขนาดกาลังการผลิตเพิม่ มากขึน้
จาเป็ นขยายหน่วยงานเพื่อการสร้างกาไรของธุรกิจ
3. การเปลี่ ย นแปลงเทคโนโลยี ข องเครื่ อ งจัก ร ในปั จ จุ บ ัน ความก้ า วหน้ า ทาง
เทคโนโลยีมคี วามทันสมัยและเปลีย่ นแปลงเร็วเพื่อให้ทนั กับสิง่ ใหม่ทน่ี ามาผลิตสินค้าและบริการ
จึงต้องนาเครื่องจักรทีท่ นั สมัยเข้ามาผลิตสินค้าและบริการทีท่ าให้ลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
พร้อมทัง้ เกิดความทันสมัยด้วย
4. การย้ายหน่ วยงานหรือแผนก บางครัง้ บางสถานการณ์หากมีเหตุการณ์เกิดขึน้ โดย
กะทันหันหรือมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหน่ วยงาน หรือมีการโยกย้ายหน่ วยงานเพื่อสะดวก
รวดเร็วในการทางาน
5. การเพิ่ มชนิ ดของผลิ ตภัณฑ์ใหม่ ในการดาเนินธุรกิจปั จจุบนั การแข่งขันเพื่อเป็ น
ผู้นาทางการค้า จาเป็ นต้องสร้างสรรค์ หรือประดิษฐ์สงิ่ ใหม่ ๆ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ตลอดเวลา
เพื่อให้สามารถแข่งขันกับหน่วยงานภายนอกได้
6. การเปลี่ ย นแปลงสภาพการท างานที่ ไ ม่ เ หมาะสม ความปลอดภัย ในสถานที่
ท างานหรือ สภาพการท างานเป็ น สิ่ง ที่ส าคัญ ต่ อ ชีว ิต ความต้อ งการและจิต ใจของพ นัก งาน
ผู้ปฏิบตั ิงานทุกตาแหน่ ง หากสภาพการทางานไม่เหมาะสมจาเป็ นต้องมีการออกแบบและจัด
สภาพแวดล้อมการทางานให้เหมาะสมเพื่อมีความปลอดภัย และจูงใจให้พนักงานปฏิบตั งิ านให้
ได้ผลิตผลทีด่ ี สอดคล้องความปลอดภัยกับผลผลิต
345

ความสาคัญของการวางผังโรงงาน
การวางผัง โรงงาน จะด าเนิ น การหลัง จากที่ไ ด้ท าการก่ อ สร้า งอาคารโรงงานเสร็จ
เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็ นกิจกรรมในการกาหนดตาแหน่ งของคน เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ และสิง่
สนับสนุ นการผลิตให้อยู่ในตาแหน่ งเหมาะสม การวางผังโรงงานทีด่ จี งึ ช่วยให้กระบวนการผลิต
สามารถลดเวลาที่สูญ เปล่า การไหลของวัส ดุเ ป็ น ไปอย่างต่อ เนื่อง ระยะเวลาการผลิตสัน้ ลง
มีความยืดหยุ่นสูง และนาไปสู่ก ารปฏิบตั ิงานที่ปลอดภัยต่อ พนักงาน ทรัพย์สนิ ขององค์การ
ทาให้แต่ถ้าจัดการวางตาแหน่ งเครื่องจัก ร และอุปกรณ์ไม่เหมาะสมผลที่ตามมาก็อาจจะเกิด
ความสูญเสียในการทางาน เครื่องจักรไม่ได้มาตรฐาน คนงานเกิดบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ
องค์การได้ ในทางกลับกันหากองค์การไม่มกี ารวางผังโรงงานทีด่ เี ป็ นระบบ ย่อมทาให้พนักงาน
เกิด ความสับ สนในการท างานท าให้เ กิด อุ บตั ิเ หตุ ใ นการทางาน ท าให้ห ยุด งาน เสีย ค่ า
รักษาพยาบาล และพนักงานขวัญกาลังใจในการทางาน รวมทัง้ หากวางผังโรงงานผิดพลาดก็
อาจทาให้เครื่องจักรไม่ได้เกิดการใช้งาน คนงานก็ว่างงานได้ ดังนัน้ การวางผังโรงงานจึงมี
ความสาคัญ ดังนี้
1. ช่วยให้เกิดความสมดุลในการปฏิบตั งิ าน ทาให้กระบวนการผลิตมีการแบ่งปริมาณ
งานแต่ ล ะแผนกงานได้เ ท่ากัน ไม่ทาให้ส่ ว นงานบางส่ ว นต้อ งมีก าลังการผลิต ที่เ กินแรงงาน
รวมทัง้ ท าให้เ กิด ความสะดวก รวดเร็ว และมีท รัพ ยากรการผลิต ที่ใ ช้ส นับสนุ นการผลิต ให้
พอเพียง
2. ช่ว ยลดสิ่งรบกวนต่ าง ๆ ที่เ กิดจากเครื่อ งจัก ร เครื่อ งมือ ขณะปฏิบตั ิงาน เช่ น
การสัน่ สะเทือ น เสีย ง ควัน กลิ่น ฝุ่ น ละออง สารพิษ ปนเปื้ อ น และเศษโลหะที่เ กิด ขึ้น ใน
กระบวนการผลิต
3. ช่วยลดอุบตั เิ หตุ และอันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ กับผู้ปฏิบตั งิ าน โดยการติดตัง้ เครื่องจักร
เครื่องมือที่ถูกต้องตามมาตรฐานกฎหมายกาหนด เช่น ฐานการติดตัง้ เครื่องจักรถูกยึดแน่ นไม่
สันสะเทื
่ อน เครือ่ งจักรไม่วางชิดติดกันจนเกินไป เป็ นต้น
4. สุขภาพร่างกาย และจิตใจของพนักงานต้องมาก่อน ทาให้เกิดบรรยากาศการทางาน
ทีด่ ี ลดความขัดแย้งระหว่างพนักงานกับฝ่ ายจัดการ และหัวหน้างาน เกิดความสุขในการทางาน
เช่น สถานทีท่ างานมีระบบถ่ายเทอากาศได้ดี แสงสว่างเพียงพอ เป็ นต้น
5. การใช้ประโยชน์จากโรงงานจาเป็ นต้องใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพ พื้นที่ทุกตาราง
จะต้องสามารถใช้ให้เต็มพืน้ ทีแ่ ละคุม้ ค่า
6. การใช้แรงงานให้เต็มความสามารถอันเนื่องมาจากการวางผังเครื่องมือ เครื่องจักรที่
เหมาะสมกับ การจัด คน ย่ อ มท าให้เ กิด การท างานที่เ ต็ม ประสิท ธิภ าพระหว่ า งแรงงานกับ
เครือ่ งจักรและเทคโนโลยีได้
346

7. เทคโนโลยีสาระสนเทศ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้เข้ามามีบทบาท ค่อนข้างมากต่อ


การผลิตในปั จจุบนั การวางแผน และจัดวางสิง่ อานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตจึง
เปลีย่ นไป
8. กฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบายของภาครัฐทีเ่ คร่งครัดทาให้หน่ วยงานต้องมีการวาง
ผังโรงงานให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานทุก กระบวนการผลิต อันจะทาให้เกิดความ
ปลอดภัยต่อพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ าน
9. พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคได้เปลีย่ นไป จึงต้องมีการปรับเปลีย่ นแผนการผลิต และการ
จัด วางต าแหน่ ง ทรัพ ยากร และสิ่ง อ านวยความสะดวกต่ า ง ๆ ที่ใ ช้ใ นการผลิต เสีย ใหม่อ ยู่
ตลอดเวลา
10. การวางแผนการไหลของวัสดุทม่ี ปี ระสิทธิผล เป็ นสิง่ ที่จาเป็ นอย่างยิง่ ต่อการทีจ่ ะทา
ให้เกิดการผลิตทีป่ ระหยัด

วัตถุประสงค์ในการวางผังโรงงาน
โดยทัวไปการออกแบบโรงงานหรื
่ อการวางผังโรงงานในอุต สาหกรรมการผลิต ที่ดีม ี
ระบบย่อ มท าให้เ กิดความได้เ ปรีย บในเชิงธุ ร กิจ จึง ต้อ งมีก ารก าหนดวัต ถุ ประสงค์ท่จี ะต้อ ง
ดาเนินการว่าจะทาอย่างไร เพื่อ ไม่ใ ห้เ สียเวลา ค่ าใช้จ่ายในการติดตัง้ เครื่องจักร เครื่อ งมือ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในกระบวนการผลิต และเป็ นให้ทราบกระบวนการไหลของการผลิตที่ถูกต้อง
เกิดความปลอดภัยในกระบวนการผลิต ลดต้นทุนในการดาเนินงานต่าง ๆ เช่น การเคลื่อนย้าย
สินค้า การไหลของงาน เครื่องจักร อุปกรณ์ และความสะดวกในการปฏิบตั งิ านของผูป้ ฏิบตั งิ าน
รวมทัง้ ช่วยลดอุบตั เิ หตุในการทางานด้วย หากกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คอื เมื่อใดที่องค์การได้มกี าร
กาหนดวัต ถุ ประสงค์ของการวางผังโรงงานไว้อ ย่างชัดเจนและเหมาะสม ก็ ย่อ มเป็ นไปตาม
เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ท่กี าหนดไว้ ทาให้เกิดประสิทธิภาพทัง้ ด้านต้นทุนการผลิต ใช้พ้นื ที่
ได้คุม้ ค่าเกิดความปลอดภัย การวางผังโรงงานจึงมีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อลดระยะทางและเวลาการเคลื่อนย้ายวัสดุ ในการเคลื่อนย้ายวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ
ในการผลิตหากมีการวางแผนโรงงานทีเ่ หมาะสมว่าจัดวางสิง่ ต่าง ๆ ไว้ตรงไหนอย่างไรแล้วย่อม
ทาให้ประหยัดเวลา และระยะทางในการขนย้าย ส่งผลทาให้ลดอุบตั เิ หตุระหว่างการเคลื่อนย้าย
วัสดุ และชิน้ ส่วนต่าง ๆ
2. เพื่อช่วยให้การไหลของวัตถุดบิ ไปได้อย่างรวดเร็ว และช่วยขจัดปั ญหาเกี่ยวกับการ
ท างานที่ม ีม ากเกิน ไป จะช่ ว ยให้พ นัก งานลดความเมื่อ ยล้า ส่ ง ผลในการลดอุ บ ัติเ หตุ ข ณะ
ปฏิบตั งิ าน
3. เพื่อสะดวกในการดาเนินงาน เพราะการวางผังโรงงานทีเ่ หมาะสมจะช่วยแบ่งเนื้อที่
ได้เป็ นสัดส่วน ช่องทางเดิน พืน้ ทีเ่ ก็บสินค้า พืน้ ทีพ่ กั สินค้า จุดปฏิบตั งิ าน จัดพัก วัตถุดบิ ทาให้
เป็ นการทากิจกรรม 5ส.ได้อย่างเหมาะสม
347

4. เพื่อขจัดสิง่ รบกวน การสันสะเทื


่ อนของพื้นที่ ฝุ่ นละออง ความร้อน กลิน่ การถ่ายเท
อากาศทาให้เกิดสุขภาพอนามัยทีด่ ใี นการทางาน
5. เพื่อ จัด แผนงานต่ า ง ๆ ให้ท างานในกรอบความรับ ผิด ชอบที่ช ัด เจน ให้เ อื้อ ต่ อ
กระบวนการผลิต และง่ายต่อการควบคุมงาน
6. เพื่อ จัด วางพื้น ที่ใ นการใช้ประโยชน์ ไ ด้อ ย่า งเต็ม ที่ เพราะการวางแผนโรงงานที่
เหมาะสมจะทาให้การใช้พน้ื ทีต่ ามลักษณะของการใช้งานได้
7. เพื่อลดความเสีย่ งในการปฏิบตั งิ านของพนักงาน และสร้างเสริมด้านสุขภาพอนามัย
ทีด่ ใี ห้กบั พนักงาน และด้านความปลอดภัยในการทางาน
จากวัต ถุ ป ระสงค์ข องการวางผังโรงงานข้างต้นนี้ ท าให้เ ห็น ได้ว่ าหากมีก ารวางผัง
โรงงานที่ดีมคี วามเหมาะสมต่ อ การใช้ป ระโยชน์ ใ นการผลิต ย่อ มท าให้การด าเนินงานด้า น
กิจกรรมขององค์การเกิดความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานต่อพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ าน
ทาให้ลดค่าใช้จา่ ยด้านต่าง ๆ ขององค์การได้ เช่น ค่าใช้จ่ายในการทาล่วงเวลา ค่าใช้จ่ายในการ
ซือ้ วัสดุอุปกรณ์อนั เนื่องจากของเสียในการผลิต ทาให้ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลอันเกิด
จากอุบตั เิ หตุในการทางาน เป็ นต้น
เป้ าหมายพื้นฐานของการวางผังโรงงาน
กวางผังโรงงานนับว่าเป็ นการออกแบบโรงงานที่ เริม่ การจัดวางตาแหน่ งสิง่ ต่าง ๆ ที่
เกีย่ วกับการผลิต ซึง่ นับว่าเป็ นกระบวนการทีซ่ บั ซ้อน
1. หลักการเกี่ ยวกับการรวมกิ จกรรมทัง้ หมด ผังโรงงานที่ดจี ะต้องรวม คน วัสดุ
เครือ่ งจักร กิจกรรมสนับสนุนการผลิต และข้อพิจารณาอื่นๆ ทีย่ งั ผลทาให้การรวมตัวกันดีทส่ี ุด
2. หลักการเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ในระยะทางสัน้ ที่ สุด ผังโรงงานที่ดี ก็คอื ผัง
โรงงานทีม่ รี ะยะทางการเคลื่อนทีข่ องการขนถ่ายวัสดุระหว่างกิจกรรม หรือ ระหว่างหน่ วยงาน
น้อยทีส่ ุด
3. หลักการเกี่ยวกับการไหลของวัสดุ การไหลของวัสดุต้องเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง ไป
ยังหน่วยงานต่อๆไปโดยไม่มกี ารวกกลับ หรือ วกวน หรือ เคลื่อนทีต่ ดั กันไปมา
4. หลักการเกี่ยวกับการใช้เนื้ อที่ การใช้เนื้อทีใ่ ห้เป็ นประโยชน์มากทีส่ ุดทัง้ แนวนอน
และแนวตัง้
5. หลักการเกี่ยวกับการทาให้คนงานมีความพอใจและมีความปลอดภัย การวาง
ผัง โรงงานที่ไ ม่ถู ก ต้อ งตามสุ ข ลัก ษณะและเหมาะสม ย่อ มเป็ น สาเหตุ ท่ีท าให้ เ กิด อัน ตราย
เกี่ยวกับการประสบอุบตั เิ หตุ และเจ็บป่ วยต่อผู้ปฏิบตั งิ าน และเกิดความเสียหายต่อ ทรัพย์สนิ
ของโรงงาน
348

6. หลักการเกี่ ยวกับความยื ด หยุ่น การจัดวางผังโรงงานที่ดี และเหมาะสมกับ


กระบวนการผลิตสินค้าและบริการต้องสามารถปรับปรุง หรือเปลีย่ นแปลงโดยเสียค่าใช้จ่ายน้อย
ทีส่ ุด และทาได้สะดวก เมือ่ มีสถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป
จากเป้ า หมายพื้นฐานของการวางผัง โรงงานที่กล่ า วมาข้า งต้นจะเห็นว่า การวางผัง
โรงงานมีแนวคิดโดยมีหลักการเพื่อให้การบริหารจัดการการผลิตต้องมีการวางผังทัง้ ระบบของ
โรงงานให้การผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ มีการใช้พน้ื ที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ มีการไหลของ
งานที่ส ะดวก ประหยัดทัง้ เวลาและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ทาให้เ กิดความปลอดภัยในการทางาน
พนักงานสามารถทางานได้สะดวกเหมาะสมเป็ นที่พงึ พอใจ และมีหลักการยืดหยุ่นเมื่อมีการ
เปลีย่ นแปลงต่าง ๆ เกิดขึน้ ในการผลิตเกีย่ วกับเครือ่ งจักร อุปกรณ์ และเทคโนโลยีในการผลิต
เหตุผลที่ต้องมีการพิ จารณาการวางผังโรงงาน
เพื่อ ให้ก ารผลิต ของโรงงานอุ ต สาหกรรมต่ า ง ๆ เกิด ความสะดวก และมีร ะบบการ
ดาเนินการในโรงงานในการจัดวางเครื่องจักร เครื่องมือ สิง่ อานวยการผลิตต่าง ๆ ได้เหมาะสม
รวมทัง้ ทาให้เกิดการประหยัด และเกิดความปลอดภัยในการทางาน จึงต้องมีการพิจารณาการ
วางผังโรงงานว่าจะต้องมีการวางผังโรงงานอย่างไร แบบใด ซึง่ มีเหตุผลดังนี้
1. การออกแบบผลิ ตภัณฑ์เปลี่ยนแปลง ในปั จจุบนั การผลิตสินค้าและบริการมีความ
ล้าสมัยของผลิตภัณฑ์เร็วเนื่องจากเทคโนโลยีมกี ารเปลีย่ นแปลงตามความต้องการของผูบ้ ริโภค
รวมทัง้ การแข่งขันกันรุนแรง ประกอบกับนวัต กรรมเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้การออกแบบ
ผลิต ภัณฑ์จงึ ต้อ งค านึงถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ท่มี กี ารเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ไปตามความ
ต้องการของผูบ้ ริโภค
2. การผลิ ตผลิ ตภัณฑ์ชนิ ดใหม่ การผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ ๆ ย่อมต้องอาศัย
เครื่องมือ เครื่องจักรที่ทนั สมัยมีการออกแบบที่เหมาะสมตามสภาพการณ์โดยเฉพาะอย่างยิง่
ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นการผลิตจานวนทีละมากๆ
3. ปริ มาณการผลิ ตเปลี่ยนแปลง การผลิตผลิตภัณฑ์บางชนิดต้องผลิตในปริมาณที่
มากจึง จะเกิด ความคุ้ม ค่ า และในขณะเดีย วกัน ก็ต้ อ งระมัด ระวัง เกี่ย วกับ ความต้อ งการที่
เปลี่ยนแปลงไปด้วย ดังนัน้ เครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือจึงต้องออกแบบเครื่องมือ อุปกรณ์ท่ี
เปลีย่ นแปลงได้อย่างเหมาะสม
4. เครื่องจักร อุปกรณ์ ล้าสมัย การติดตัง้ เครื่องจักรในกระบวนการผลิต ผู้จดั การ
โรงงานซึ่งจะต้องมีการออกแบบโดยวิศวกรประจาโรงงานในการติ ดตัง้ เครื่องจักร จาเป็ นต้อง
ทราบว่าเครือ่ งจักรชนิดทีม่ คี วามล้าสมัยในประเภทการผลิตสินค้าและบริการนัน้ ๆ
5. เกิ ดอุบตั ิ เหตุบ่อย การวางผังโรงงานทีเ่ หมาะสมก็เป็ นเหตุผลสาคัญอีกประการหนึ่ง
ในการดาเนินการตามกระบวนการผลิตสินค้าและบริการ เนื่องจากหากมีการเกิดอุบตั เิ หตุในการ
ปฏิบตั ิงานของพนักงาน ต้องค้นหาสาเหตุในการเกิดอุบตั ิเ หตุหากสาเหตุเกิดจากการติดตัง้
349

เครื่องจักรที่ไม่ได้มาตรฐาน และไม่เหมาะสมย่อมต้ องมีการปรับปรุงการติดตัง้ เครื่อ งจักรใหม่


เพื่อลดการเกิดอุบตั เิ หตุ
6. สภาพแวดล้อมในการทางานไม่เหมาะสม สาเหตุการเกิดอุบตั เิ หตุในการทางาน
ขึน้ บ่อยครัง้ ในสถานที่ทางาน ที่พบส่วนใหญ่ก็มสี าเหตุมาจากการออกแบบสภาพแวดล้อมใน
การท างานที่ไ ม่เ หมาะสม เช่ น ที่อ ับ อากาศ อากาศไม่ถ่ ายเท การเคลื่อ นย้า ยสิ่ง ของ วัส ดุ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในระยะทางทีไ่ กล เป็ นต้น
7. การโยกย้ายทาเลที่ตงั ้ โรงงานใหม่ การเปลีย่ นแปลงหรือโยกย้ายสถานทีต่ งั ้ โรงงาน
ใหม่ย่อมมีผลต่อการวางผังโรงงานใหม่ในการที่ตดิ ตัง้ เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ ให้
เกิดความทันสมัยเหมาะสมเพื่อการขนส่งสินค้า หรือวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
8. ความต้ องการของตลาดเปลี่ยนไป ในการผลิตสินค้าและบริการเมื่อมีการความ
ต้อ งการของผู้บริโ ภคเปลี่ยนแปลงไปก็ห มายความถึง ต้อ งมีก ารเปลี่ย นแปลงการผลิต ใหม่
จึงต้อ งให้ค วามสาคัญกับความต้องการของผู้บริโภคดังนัน้ ต้องมีการพิจารณาในการวางผัง
โรงงานในการเปลีย่ นแปลงเครือ่ งมือเครือ่ งจักรใหม่
9. การลดต้ นทุนการผลิ ต การเปลีย่ นแปลงวางผังโรงงานใหม่ สามารถช่วยลดต้นทุน
ในการผลิต หากการวางผังโรงงานของเครื่องจักรในการผลิต มีล้าสมัยหรือ ไม่เ หมาะสม จึง
เหตุผลที่นามาจัดกระบวนการผลิตใหม่โดยการวางผังโรงงานใหม่ เพื่อให้ลดต้นทุนในการผลิต
อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสภาวการณ์ปัจจุบนั การลดต้นทุนเป็ นสิง่ จาเป็ นเพื่อให้เกิด
ความอยูร่ อด

ประโยชน์ ของการวางผังโรงงาน
1. ช่วยทาให้เกิดความสมดุลในกระบวนการผลิต การวางผังโรงงานทีด่ จี ะช่วยแบ่งเบา
ภาระงาน หรือปริมาณงานต่าง ๆ ในหน่ วยงานการผลิตให้เกิดความสมดุลของงาน หมายถึ ง
เกิดความสมดุลระหว่างคน งาน และผลิตทีไ่ ด้รบั
2. ลดระยะทางและเวลาการเคลื่อนย้ายวัสดุ การวางผังโรงงานให้เหมาะสมจะทาให้ลด
ระยะทางและเวลาในการเคลื่อนย้ายทาให้ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย และส่งผลทาให้ลดการเกิด
อุบตั เิ หตุ
3. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการลงทุนเกี่ยวกับเครื่องจักร หากมีการวางผังโรงงานเกี่ยวกับ
เครื่องจักรให้เหมาะสมมีความสมดุล ทาให้กระบวนการผลิตราบรื่นไม่ต้องปรับรือ้ เครื่องจักรทา
ให้ลดค่าใช้จา่ ยในกระบวนการผลิตได้
4. ช่วยทาให้วตั ถุดบิ ไหลไปได้รวดเร็ว และราบรื่นพร้อมทัง้ ขจัดปั ญหาเกี่ยวกับการ
ทางานทีม่ มี ากเกินไป
350

5. ช่วยลดอุบตั เิ หตุอนั จะเกิดขึน้ การปฏิบตั งิ าน หากมีการวางผังโรงงานทีด่ ยี ่อมทาให้


กระบวนการผลิต มีข นั ้ ตอนการไหลของงานเป็ น ไปอย่า งเหมาะสมท าให้พ นัก งานสามารถ
ปฏิบตั งิ านได้อย่างปลอดภัยในทุกขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน
6. เพื่อสะดวกในการดาเนินงาน โดยแบ่งเนื้อที่ภายในโรงงานให้เหมาะสม เช่น ช่อง
ทางเดินพืน้ ทีเ่ ก็บสินค้า พืน้ ทีพ่ กั วัตถุดบิ และจุดปฏิบตั งิ าน หรือพักชิน้ งานทีเ่ ป็ นสินค้าสาเร็จรูป
7. ช่วยทาให้ลดการรบกวน หรือ ขจัดสิง่ รบกวน การสันสะเทื ่ อนของเครื่องจักร ทาให้
พืน้ ทีไ่ ด้รบั ความเสียหาย หรือ สภาพฝุ่ นละออง ความร้อน กลิน่ การถ่ายอากาศ เป็ นต้น
8. ช่วยทาให้สภาพแวดล้อมในการทางานมีสภาพทีด่ ขี น้ึ จัดแผนงานต่าง ๆ ให้ทางาน
ในกรอบความรับผิดชอบชัดเจน ให้เอือ้ ต่อกระบวนการผลิต และง่ายต่อการควบคุม
9. ช่วยทาให้มกี ารจัดวางพื้นที่ให้มปี ระโยชน์ ใช้สอยอย่างเต็มที่ โดยพื้นที่ไม่ว่างเปล่า
หรือสูญเปล่า จึงสามารถทาให้เกิดความเป็ นระเบียบ และเหมาะสม ลดต้นทุนการจัดเก็บสินค้า
10. ช่วยทาให้ลดความเสีย่ งต่อปั ญหาสุขภาพ และอุบตั เิ หตุในการทางาน ให้นาไปสู่การ
สร้างความปลอดภัยให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ าน และสร้างขวัญกาลังใจในการทางาน
11. ช่วยทาให้มคี วามยืดหยุน่ ต่อการเปลีย่ นแปลงหรือสภาวการณ์ทจ่ี ะเกิดขึน้ ในอนาคต
จะเห็นได้ว่าการวางผังทีด่ จี ะต้องมีความยืดหยุน่ เพียงพอ เช่น ช่องทางเดินไว้สาหรับการขนย้าย
สับเปลี่ยนตาแหน่ ง และเพิม่ เติมเครื่องจักรสาหรับออกแบบกระบวนการผลิตใหม่ในกรณีท่มี ี
ความจาเป็ นที่อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ ท่ามกลางสถานการณ์ท่ไี ม่แน่ นอน เช่น
วิธกี ารทางาน เปลีย่ นผลิตภัณฑ์ เป็ นต้น
12. ลดการขนถ่ายวัสดุ จัดให้การไหลของชิน้ งานผ่านกระบวนการต่าง ๆ อย่างคล่องตัว
ไม่ตดิ ขัด และสะดวกต่อการเคลื่อนย้าย ประหยัดเวลาและค่าใช้จา่ ย
หลักการในการวางผังโรงงาน
การวางผัง โรงงานที่ดีทาให้มกี ารผลิต สิน ค้าและบริก ารหรือ ดาเนินการทางธุ รกิจให้
เป็ นไปตามเป้ าหมายทีต่ อ้ งการ นันหมายความว่
่ า อุตสาหกรรมการผลิตสามารถดาเนินการผลิต
สินค้า และบริก ารได้อ ย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ทาให้ กิจกรรมต่ างๆ สามารถบรรลุ ได้ต าม
เป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ วิศวกรโรงงานผูท้ ต่ี อ้ งออกแบบวางผังโรงงานย่อมต้ องอาศัยหลักการของ
การวางผังโรงงานด้ว ยหลัก การ การที่จะทาให้ก ารออกแบบโรงงานเป็ นไปตามเป้ าหมายที่
ต้องการ จะเกีย่ วข้องกับกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ (วิภารัตน์ โพธิ ์ขี, 2557, หน้า 40-44)
1. การเลือกทาเลที่ตงั ้ โรงงาน
ทาเลทีต่ งั ้ หมายถึง สถานทีป่ ฏิบตั กิ ารหรือทาการผลิตเพื่อให้การดาเนินกิจการบรรลุ
ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ท่ตี งั ้ ไว้ ทาเลที่ตงั ้ ของธุรกิจการผลิตไม่เหมาะที่จะตัง้ ในแหล่ ง
ชุมชนต้องคานึงถึงปั จจัยต่าง ๆ เช่น แหล่งวัตถุดบิ แหล่งพลังงาน แหล่งแรงงาน ระบบกาจัด
น้าเสีย เป็ นต้น นอกจากนัน้ ทาเลทีต่ งั ้ มีผลต่อการวางแผนการผลิต การออกแบบ ระบบการผลิต
351

และการลงทุ น ดัง นั ้น การเลื อ กท าเลที่ ต ัง้ ของโรงงานจะต้ อ งพิจ ารณาอย่ า งรอ บคอบ
ทาการศึกษาปั จจัยเกีย่ วข้องเพื่อให้ได้ทาเลทีต่ งั ้ ทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด
1.1 ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกทาเลที่ ตงั ้ โรงงาน การพิจารณาเลือกทาเลทีต่ งั ้
โรงงานต้องคานึงถึงปั จจัยต่าง ๆ ดังนี้
1.1.1 แหล่งวัตถุดบิ โรงงานทีต่ ้องอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดบิ เช่น อุตสาหกรรม
แปรรูป อาหารทีต่ อ้ งการวัตถุดบิ สด และลดการขนส่ง
1.1.2 ตลาด พิจารณาถึงลูกค้าที่รบั บริการเป็ นสาคัญ มีการปรับเปลี่ยน
กระบวน การผลิตให้ทนั กับความต้องการของลูกค้า
1.1.3 แรงงานและค่าจ้าง โรงงานที่ต้องใช้แรงงานจานวนมาก เลือกทาเล
ทีต่ งั ้ ในบริเวณทีม่ แี รงงานเป็ นจานวนมาก
1.1.4 สาธารณูปโภค น้า ไฟฟ้ า ประปา โทรศัพท์ต่าง ๆ
1.1.5 การจราจรขนส่ง การขนส่งเป็ นต้นทุนการผลิตทีส่ าคัญ ควรพิจารณา
การขนส่งทางบก ทางน้า ทางอากาศ และปั ญหาการจราจร
1.1.6 สิ่งแวดล้อ ม โรงงานทุก ประเภทก่ อ ให้เ กิดมลพิษ ด้านสิ่งแวดล้อ ม
เช่น แหล่งน้าเน่าเหม็น อากาศเป็ นพิษ โรคจากสารพิษ แหล่งเสื่อมโทรม เป็ นต้น
1.1.7 กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง เช่น พระราชบัญญัตโิ รงงาน พระราชบัญญัติ
สิง่ แวดล้อม และอาชีวอนามัย รวมทัง้ เขตส่งเสริมการลงทุนและกฎหมายผังเมือง เป็ นต้น
1.2 การตัดสิ นใจเลือกที่ตงั ้ ทาเล ได้แก่
1.2.1 พื้นที่ทาเลที่ตงั ้ โรงงาน ที่มผี ลต่อการสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน การ
จ้างแรงงาน ความต้องการแรงงานท้องถิน่ เป็ นต้น
1.2.2 เป็ นศูนย์กลางด้านต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง เช่น ทีต่ งั ้ ตลาด แหล่งวัตถุดบิ
ทีส่ าคัญ และตลาดแรงงาน การคมนาคม เป็ นต้น
1.2.3 ราบรวมข้อมูลทางเลือกที่เป็ นไปได้จากพื้นที่ และส่วนที่เกี่ยวข้อ ง
และสภาพปั จจุบนั
1.2.4 วิเคราะห์และประเมินทางเลือกทีเ่ ป็ นไปได้มากทีส่ ุดเพื่อการตัดสินใจ
1.3 พิ จารณาทาเลที่ตงั ้ โรงงานเพื่อความปลอดภัย ได้แก่
1.3.1 ผังโรงงานที่มพี ้นื ที่เพียงพอสาหรับการจัดระบบกระบวนผลิตให้ม ี
ความปลอดภัยด้วยการบริหารจัดการที่มคี วามปลอดภัยตามหลักความปลอดภัย และรองรับ
ขยายโรงงานในอนาคตโดยหลักการความยืดหยุ่น
1.3.2 หน่ วยงานทีส่ นับสนุ นฝ่ ายผลิตให้ตงั ้ อยู่บริเวณรอบนอก เพื่อลดการ
เกิด อุ บ ัติเ หตุ จ ากการขนย้า ยวัส ดุ อุ ป กรณ์ เนื่ อ งจากต้อ งการลดการจราจรภายในโรงงาน
ลดแรงสันสะเทื่ อนจากการผลิตและลดอันตรายจากสารพิษ สารเคมีต่าง ๆ
352

1.3.3 จัดให้มแี หล่งน้ าในโรงงาน เมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ หรือ


ใกล้สถานีดบั เพลิง และการคมนาคมสะดวก เป็ นต้น รวมทัง้ มีแหล่งสถานพยาบาลทีใ่ กล้เคียง
4) การวางแนวตัวอาคารของโรงงาน มีทางเข้า – ออกที่สะดวกและ
ปลอดภัยในกรณีท่ีเกิดเพลิงไหม้ หรือเหตุฉุ กเฉิ นต้อ งสามารถเข้าออกได้สะดวก ทางสัญจร
เข้า–ออก บริเวณจุดรับสินค้าและวัตถุดบิ
1.4 การวางผัง โรงงานเพื่ อ ความปลอดภัย ในการอพยพเมื่ อ เกิ ด เหตุ
ฉุ ก เฉิ น การวางผัง โรงงานมีค วามส าคัญ ต่ อ สภาพแวดล้ อ มและความปลอดภัย ในงาน
อุตสาหกรรมเป็ นปั จจัยสาคัญในการทาให้เกิดสิง่ แวดล้อมหรือการจัดระบบสิง่ แวดล้อมที่ดแี ละ
เกิดความปลอดภัยในการทางาน ดังนัน้ เพื่อให้การจัดวางผังโรงงานให้เกิด ความปลอดภัยต้อง
พิจารณาสิง่ ประกอบ ดังนี้
1.4.1 พื้นที่บริเวณทางเดินต้องสะดวกและกว้างพอต่อการทางาน การ
อพยพเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน รวมทัง้ ท่างออกฉุ กเฉิน ทางหนีไฟ ต้องพร้อมต่อการใช้งานและไม่ม ี
สิง่ กีดขวาง หรือไม่ปิดถาวร
1.4.2 การจัดทาระบบระบายอากาศ การกาจัดภาวการณ์ เกิดมลพิษใน
อากาศ และระบบการจัดการระดับความดังของเสียงเครื่องจักร ให้ถูกต้องตามกฎหมาย รวมทัง้
ระบบแสงสว่างต้องมีความเหมาะสมกับสถานหรือสภาพของการทางาน
1.4.3 จัด ท าระบบการป้ อ งกัน อัค คีภ ัย และอุ ปกรณ์ ด ับเพลิงอย่า งมี
ประสิทธิภาพตามมาตรฐานกาหนด และจัดทาระบบความร้อนจากแหล่งผลิตและเครือ่ งจักร
1.4.4 จัด ท าระบบไฟฟ้ าด้ ว ยการออกแบบที่ถู ก ต้ อ ง เหมาะสม และ
ปลอดภัยตามระบบมาตรฐานสากล
1.4.5 มีหน่ วยงานซ่อมบารุงรักษาทีเ่ ป็ นระบบด้วยเครื่องมือทีท่ นั สมัย และ
มีวศิ วกรประจาโรงงานเฉพาะด้านทีม่ คี วามชานาญกากับควบคุมให้มมี าตรฐาน
1.4.6 จัดระบบสภาพแวดล้อมการทางานและสภาพแวดล้อมทีเ่ กี่ยวกับ
การทางานให้เหมาะสมมีความปลอดภัย และปราศจากสารเคมีอนั ตรายต่าง ๆ
1.5 การจัดวางระบบทางหนี ไฟ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยให้มากทีส่ ุดสาหรับ
อาคาร หรือ โรงงานที่มกี ารผลิต ควรจะต้อ งมีระบบการจัดเตรียมเส้น ทางหนี ไฟ โดยมีการ
ดาเนินการดังนี้
1.5.1 เส้นทางหนีไฟต้องไม่มสี งิ่ กีดขวาง หรืออุปกรณ์เครื่อง เครื่องจักร
กล่องต่าง ๆ ปิ ดกัน้ ทางออกหนีไฟจนทาให้เป็ นอุปสรรค ทางหนีไฟที่ถูกต้องจึงต้องสามารถใช้
หนีไฟได้ตลอดเวลา
1.5.2 เส้นทางหนีไฟต้องชัดเจนไม่ว่าอยู่จุดใดของอาคารและมีการป้ องกัน
การสับสน สามารถระบุตาแหน่งได้แม้จะไม่ใช่คนทีค่ ุน้ เคยกับสถานทีน่ นั ้
353

1.5.3 ผู้ออกแบบโรงงานต้องจัดให้ม ีทางหนีไฟอย่างน้อย 2 ทาง โดยไม่ม ี


สิง่ กีดขวางทางหนีไฟ และระวังทางปิ ดกันทางหนีไฟพร้อม ๆ กันจากเพลิงไหม้
1.5.4 กรณีทางหนีไฟถูกเชื่อมต่อกัน วัส ดุในการก่อสร้างต้องเป็ นวัสดุทน
ไฟไหม้ไม่น้อยกว่า 1 ชัวโมง
่ และประตูทต่ี ดิ ตัง้ ทางหนีไฟ ต้องเปิ ดออกไปตามทิศทางของการ
หนีไฟยกเว้นประตูของห้องหรือพืน้ ทีท่ เ่ี ปิ ดสู่ทางหนีไฟโดยตรง
1.5.5 บันไดหนีไฟต้องมีราวจับ 2 ด้าน หากบันไดหนีไฟกว้างเกิน 1.80
เมตร ต้องมีราวจับกึ่งกลาง ระยะห่างระหว่างราวจับต้องไม่เกินกว่า 0.90 เมตร ราวจับติดตัง้ ไม่
ต่ ากว่า 0.75 เมตร และสูงไม่เกิน 0.95 เมตร ราวจับต้องมีระยะห่างจากผนังด้านที่เชื่อมติดไม่
น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร ดังภาพที่ 6.3
1.5.6 เส้น ทางหนี ไ ฟต้ อ งมีแ สงสว่ า งที่เ พีย งพอและต่ อ เนื่ อ ง ขณะที่ใ ช้
เส้นทางหนีไฟแสงสว่างไม่น้อยกว่า 10 ลักซ์ (Lux)
1.5.7 ต้องจัดทาป้ ายหรือสัญลักษณ์ เพื่อบอกตาแหน่ งและทิศทางการหนี
ไฟให้เห็นชัดเจน และทัวถึ
่ งตลอดเส้นทางหนีไฟ

ภาพที่ 6.3 ทางหนีไฟ และไฟฉุกเฉินทางเดินช่องหนีไฟ


ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag. 2559.
354

2. การออกแบบโครงสร้างและระบบในอาคาร
การออกแบบแผนผังอาคารให้โครงสร้างที่มคี วามมันคงแข็ ่ งแรงสอดคล้องกับชนิด
ของการผลิตผลิตภัณฑ์ทส่ี ามารถทาให้มคี วามปลอดภัย จัดวางเครื่องมือ เครื่องจักรอุปกรณ์ใน
การปฏิบตั ิงานได้อย่างเหมาะสม ง่ายในการไหลของงาน สะดวก รวดเร็วไม่ทาให้เกิดความ
ยุ่ง ยากในการปฏิบตั ิง านของพนัก งาน โดยให้เ กิด การประหยัด เวลา และลดต้ น ทุ น ในการ
กระบวนการผลิตได้
3. การออกแบบผังโรงงาน
การออกแบบผังโรงงานทีเ่ หมาะสม ถูกต้องตามทีว่ ศิ วกรโรงงานได้มกี ารออกแบบจะ
ทาให้มกี ารควบคุมโรงงานให้มกี ารผลิตที่ปลอดภัยในการกระบวนการทางาน การจัดวางผัง
โรงงานเราจาเป็ นต้องจัดให้เป็ นไปตามรูปแบบหรือรูปร่างลักษณะอาคารทีจ่ ะสร้างขึน้ มาใหม่ก็
ควรจะสร้า งให้ม ีรูป ร่า งเป็ น ไปตามผัง โรงงานที่ดี ฉะนัน้ รูป แบบการไหลของงานลัก ษณะ
โรงงานผลิตที่ดกี ว่าสาหรับรูปแบบการไหลของอาคารชัน้ เดียวย่อมมีความซับซ้อนน้ อ ยกว่า
อาคารหลายชัน้ โดยส่ ว นใหญ่ ก ารออกแบบผังโรงงานจะต้อ งได้ร บั การอนุ ญ าตจากวิศ วกร
โรงงานผู้ท่มี คี วามเชีย่ วชาญด้านการออกแบบโรงงานทีก่ ฎหมายกาหนด โรงงานอุตสาหกรรม
การผลิตมักจะมีการออกแบบให้มคี วามเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของลักษณะของผลิตภัณฑ์
หรือการผลิตสินค้าและบริการนัน้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน และสะดวกรวดเร็ว
ประสิทธิภาพสูงสุด และทันสมัย รวมทัง้ ให้เกิดการประหยัด
การวางผังโรงงานเป็ นส่วนหนึ่งของการออกแบบโรงงาน ซึ่งการวางผังโรงงานเป็ น
การจัดวางตาแหน่ งของเครื่อ งจักร เครื่องมือ อุ ปกรณ์ คนงาน วัต ถุดบิ และสิง่ อานวยความ
สะดวกต่าง ๆ ในกระบวนการผลิต รวมทัง้ สิง่ สนับสนุ นอื่น ๆ ตามทีถ่ ูกต้องเหมาะสมให้สามารถ
ด าเนิ น งานไปได้อ ย่า งราบรื่น และเกิด ความปลอดภัย อาชีว อนามัย ในการท างาน ดัง นั น้
การออกแบบผังโรงงานจึงต้องดาเนินการตัง้ แต่ การวางระบบวิศวกรรมโรงงาน การออกแบบ
สภาพแวดล้อมภายนอกโรงงาน ได้แก่ บ่อบาบัดน้ าเสีย เส้นทางการจราจร เข้า – ออกโรงงาน
เพื่อความปลอดภัยในการเคลื่อนย้าย ขนส่ง ลาเลียงต่าง ๆ ให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว และ
ประหยัดเวลา ต้นทุนด้วย ดังภาพที่ 6.4
355

ภาพที่ 6.4 ตัวอย่างการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรม


ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag.

4. การออกแบบระบบขนถ่ายลาเลียงวัสดุ
ในระบบการผลิตต้องมีการออกแบบระบบขนถ่ายลาเลียงวัสดุ การจัดเตรียมสถานที่
และตาแหน่ งของวัสดุเพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย หรือเก็บ รักษา ซึง่ การทีจ่ ะทา
ให้เ กิด สิ่งเหล่ านี้ไ ด้ต้อ งอาศัยศิล ปะในการจัด หาเครื่อ งมือ อุ ปกรณ์ การขนถ่ ายวัส ดุมาใช้ใ ห้
เหมาะสมกับงาน ในระบบการผลิต ต้อ งมีการเคลื่อ นที่ห รือ เคลื่อ นย้ายระบบการขนถ่ ายวัส ดุ
ลาเลียงไปยังจุด
องค์ประกอบสาคัญของการขนถ่ายวัสดุ
ในระบบการขนถ่ า ยวัส ดุ หรือ เคลื่ อ นย้ า ยวัส ดุ ส ิ น ค้ า และบริก าร ควรค านึ ง ถึ ง
องค์ประกอบทีส่ าคัญ 4 ประการคือ
1. การเคลื่อนที่ เป็ นการเคลื่อนย้ายวัสดุสนิ ค้าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือการ
เคลื่อนย้ายวัสดุ สินค้าจากจุดต้นทาง (จุดทีเ่ อาของขึน้ ) ไปยังจุดปลายทาง (จุดทีเ่ อาของลง) ซึง่
356

การเคลื่อนย้ายของวัสดุสนิ ค้าแต่ละประเภทย่อมมีการเคลื่อนย้ายทีแ่ ตกต่างกันไปทาอย่างไรจึง


จะให้วธิ กี ารเคลื่อนย้ายทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงกว่า
2. เวลา นับเป็ นปั จจัยทีส่ าคัญตัวหนึ่งเป็ นตัวทีบ่ ่งบอกถึงประสิทธิภาพของการเคลื่อนที่
หรือเคลื่อนย้ายว่างงานสูงหรือต่าแค่ไหน ในแต่ละขัน้ ตอนของกระบวนการผลิตต่างก็อาศัยเวลา
เป็ นตัว ก าหนดการทางานทัง้ การป้ อนวัตถุ ดิบ และเอาชิ้นงานออกที่มคี วามสัมพันธ์กันอย่าง
ต่อเนื่องนอกจากนัน้ เวลายังเป็ นกาหนดการของการเคลื่อนที่โดยอาจควบคุมทีจ่ ุดต้นทาง หรือ
ปลายทางก็ได้แล้วแต่กรณี
3. ปริ มาณ ในการออกแบบระบบขนถ่ายวัสดุสนิ ค้าที่ต้องสัมพันธ์กบั ปริมาณความ
ต้องการของจุดต่าง ๆ ต้องสอดคล้องกับเวลาทีเ่ หมาะสมของระบบ และประหยัดค่าใช้จา่ ย
4. เนื้ อ ที่ การออกแบบระบบขนถ่ า ยวัส ดุ ส ิน ค้า เป็ น องค์ป ระกอบที่ส าคัญ ของการ
เคลื่อนย้ายหรือการขนถ่ายวัสดุ จาเป็ นต้องใช้เนื้อทีส่ าหรับตัง้ กลไกของระบบการขนถ่ายวัสดุท่ี
มีประสิทธิภาพ

การเคลื่อนที่

เนื้ อที่ การขนถ่ายวัสดุ เวลา

ปริมาณ

ภาพที่ 6.5 องค์ประกอบสาคัญของการขนถ่ายวัสดุ


ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.

ลักษณะของงานในการขนถ่ายวัสดุ
ในการออกแบบระบบขนถ่ายลาเลียงวัสดุ ประกอบด้วยหน้าทีห่ ลัก 2 ประการ คือ
1. ลักษณะของงานเคลื่อนย้ายวัสดุ หมายถึง การเคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีก
จุดหนึ่งในตาแหน่งทีท่ างานเอง หรือระหว่างตาแหน่งทีท่ างาน ระหว่างเครื่องจักร ระหว่างแผนก
ระหว่างโรงงาน หรือระหว่างอาคาร ตลอดจนการขนวัสดุขน้ึ และลง
2. ลัก ษณะงานจัด เก็ บ พัส ดุ หมายถึง การเก็ บ วัต ถุ ดิบ ที่ส่ ง เข้า มาก่ อ นป้ อนเข้ า
กระบวนการผลิต การเก็บพัก วัสดุในขัน้ ตอนงานผลิต ตลอดจนการเก็บผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป
ก่อนทีจ่ ะส่งออกไปยังผูใ้ ช้หรือเข้าสู่กระบวนการผลิต
357

5. การวางแผนกิ จกรรมการขาย
การวางแผนกิจ กรรมการขายเป็ น หน้ า ที่อ ย่ า งหนึ่ ง ของฝ่ ายการจัด การที่ต้อ งมี
จัดเตรียมสิง่ ที่จะดาเนินการนาสินค้าไปสู่ผู้บริโภคหรือตลาด การวางแผนกิจกรรมการขายจึง
หมายถึง กระบวนการคิดวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ ด้านการตลาดและการขายแล้ว
ตัดสินใจไว้ล่วงหน้าโดยอาศัยข้อมูลในอดีตการพยากรณ์อนาคต เพื่อกาหนดแผนงาน วิธกี าร
ทางานไว้ล่วงหน้าให้มโี อกาสและสาเร็จผลด้วยดีอย่างมีประสิทธิภาพ
การวางแผนกิจกรรมการขายจึง มีล กั ษณะหรือ รูป แบบที่ห ลากหลายเมื่อ ก่ อ น จะใช้
บุคคลในการนาสินค้าไปสู่ผู้บริโภค หมายถึง บุคคล สื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือพิมพ์ สื่อสิง่ พิมพ์
วิทยุ โทรทัศน์ เป็ นต้น โดยเฉพาะในปั จจุบนั ที่มคี วามทันสมัยด้านเทคโนโลยีท่มี กี ารนาระบบ
อินเตอร์เน็ตเข้ามามีส่วนช่วยในการจัดดาเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมการขายโดยอาศัยช่องทางที่
สามารถน าไปสู่ ก ารเพิ่ม ประสิท ธิภ าพได้เ ป็ น อย่ า งดี ได้แ ก่ ทางไปรษณีย์ ทางตู้อ ัต โนมัติ
และทางอินเตอร์เน็ต เป็ นต้น
หลักเกณฑ์ในการวางผังโรงงาน
1. ความคล่องตัว คือในการเคลื่อนย้ายวัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ จะต้องมี
ความคล่องตัว สามารถเปลีย่ นแปลงได้งา่ ย
2. การประสานงาน คือแต่ละแผนกงานจะต้องมีการประสานทีด่ แี ละสอดคล้องกันเพื่อ
ทาการผลิต สามารถดาเนินการผลิตให้สมั พันธ์ซง่ึ กันและกัน
3. การใช้ประโยชน์ของเนื้ อที่ คือทุกส่วนของพืน้ ทีโ่ รงงาน จะต้องใช้ให้เกิดประโยชน์
มากทีส่ ุด
4. เข้าถึงง่ายที่ สุด หรือหยิ บใช้ ได้ง่ายสะดวก คืออุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรต่าง ๆ
จะต้องมีทางผ่านเข้าถึงได้งา่ ย สะดวก และไม่ควรมีสงิ่ กีดขวางทางเดิน
5. มองเห็นได้ชดั เจน คือบริเวณของโรงงานมีแสงสว่ างที่สามารถมองเห็นได้ชดั เจน
เครือ่ งจักรควรมีการจัดไว้ให้เป็ นสัดส่วนและเป็ นระเบียบเพื่อช่วยลดอุบตั เิ หตุทอ่ี าจจะเกิดขึน้ ได้
6. การเคลื่อนย้ายน้ อย คือควรจะหลีกเลี่ยงการเคลื่อนย้ายวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์
ระหว่างการผลิตโดยไม่จาเป็ นและควรเลือกใช้อุปกรณ์ในการขนถ่ายให้เหมาะสมกับลักษณะงาน
เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการทางาน
7. เคลื่อนย้ายวัสดุทางเดียว คือเส้นทางในกระบวนการผลิตควรที่จะเป็ นเส้นทาง
เดียวกันไม่ควรที่จะสวนทางกัน เพราะอาจทาให้เกิดความสับสนเกิดความล่าช้าในการทางาน
หรืออาจจะเกิดอุบตั เิ หตุเกิดขึน้ ได้เช่นกัน
8. ระยะทางสัน้ ที่สุด คือในการเคลื่อนย้ายวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์จะต้องมีระยะทางที่
สัน้ ที่สุดเพื่อ ทาให้ก ารดาเนินการผลิต เป็ นไปได้อย่างต่ อเนื่องสม่ าเสมอ ซึ่งจะช่วยประหยัด
และลดต้นทุนการผลิต
358

9. ความปลอดภัย คือในการทางานจะต้องคานึงความปลอดภัย โดยเป็ นเรื่องทีส่ าคัญ


มากอันดับแรกในการทางาน อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรต่าง ๆ ทีใ่ ช้ในโรงงาน จะต้องมีป้าย
แสดงเตือนภัยต่าง ๆ เพื่อให้สามารถมองเห็นได้ชดั เจนและควรปลูกฝั งจิตสานึกให้กบั พนักงาน
หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เช่น ถังดับเพลิง ประตู ฉุกเฉิน สัญญาณเตือนภัย แสงสว่างเพียงพอ
และ อื่น ๆ เป็ นต้น
10. สภาพแวดล้อมดี คือสร้างสภาพแวดล้อมในการทางานที่ดี คนงานมีความพึง -
พอใจในการทางาน การออกแบบผังของโรงงานควรที่จะมีอากาศถ่ายได้สะดวก การถ่ายเท
ความร้อน การควบคุมเสียง การสันสะเทื ่ อน ห้องพักผ่อน ห้องพยาบาล และสิง่ อานวยความ
สะดวกอื่น ๆ ซึง่ สิง่ เหล่านี้ช่วยให้การปฏิบตั งิ านของคนงานมีสภาพแวดล้อมทีด่ ขี น้ึ
การวางผังโรงงานเพื่อให้เกิ ดความปลอดภัย
การวางแผนนับว่ามีความสาคัญในการดาเนินการประกอบการด้านต่าง ๆ ให้สาเร็จ
ลุล่วงได้ การวางผังโรงงานจึงเป็ นจัดวางเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุ หรือวัตถุดบิ ต่าง ๆ
สิง่ อานวยความสะดวกอันเป็ นทรัพยากรทางการบริหารจัดการหน่วยงานทีม่ กี ารออกแบบวิธกี าร
ในการทางานไว้ล่วงหน้า เพื่อ รองรับการปฏิบตั งิ านที่จะเกิด ขึน้ จริงจะได้ปฏิบตั งิ านได้ทนั เวลา
ลดความผิดพลาดทีจ่ ะเกิดขึน้ เกี่ยวกับอุบตั เิ หตุในการปฏิบตั งิ านและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดซึ่ง
การวางผังโรงงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานในกระบวนการผลิตต้องมีแนว
ดาเนินการ ดังนี้
1. การออกแบบโรงงานต้องมีการจัดวางเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ วัสดุ รวมทัง้
วัตถุดบิ และสิง่ อานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตให้อยู่ในตาแหน่ งที่จะทาให้เกิดการ
ทางานทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั อย่างดีซง่ึ หมายถึงกระบวนการไหลของงานในการผลิตให้เกิดความ
ปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ ทาให้ผลิตภัณฑ์ในการผลิตไม่มคี วามเสียหาย และเกิดอุบตั เิ หตุ
ของผูป้ ฏิบตั งิ านทีจ่ ะก่อให้เกิดต้นทุนทีเ่ พิม่ ขึน้
2. การออกแบบโรงงานวิศวกรโรงงานผูอ้ อกแบบต้องทราบถึงขัน้ ตอนการผลิต เพื่อจัด
ให้สถานทีป่ ฏิบตั งิ าน และการจัดวางเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์คนงาน ให้มคี วามเหมาะสม
สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและเพื่อ เป้ าหมายขององค์กรในการดาเนินการ
ทางธุรกิจให้เกิดกาไรสูงสุดได้ ในขณะเดียวกันก็จาเป็ นต้องมีการเพิม่ ผลผลิตให้สอดคล้องกับ
ความปลอดภัยของพนักงานเป็ นสาคัญ
3. การออกแบบโรงงาน จะเป็ นการออกแบบตาแหน่งทีต่ งั ้ ของสิง่ อานวยความสะดวกทัง้
ภายในและภายนอกโรงงาน และส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อส่งผลต่อการลดอุบตั เิ หตุทจ่ี ะเกิดขึน้ ในการ
ผลิต โดยเฉพาะการติด ตัง้ เครื่อ งจัก รที่ม ีก ารเคลื่อ นย้า ย หรือ เปลี่ย นแปลงได้ห ากมีค วาม
จาเป็ นต้องปรับปรุง
359

4. การออกแบบโรงงานส่งผลต่อการออกแบบระบบไฟฟ้ า เพื่อให้การปฏิบตั งิ านเกิด


ความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบตั งิ าน ป้ องกันความเสียหายที่จะเกิดกับเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์
ต่าง ๆ และระบบสุขาภิบาลทีถ่ ูกต้องตามกฎหมายโรงงาน
จากเหตุผลของการวางผังโรงงานที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน
ของผู้ปฏิบตั งิ าน และความเสียหายในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จึง นาภาพมาแสดงให้เห็นถึง
การวางผังโรงงานทีม่ หี ลักเกณฑ์ทท่ี าให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน ดังภาพที่ 6.6

ภาพที่ 6.6 หลักการจัดวางผังโรงงานเพื่อความปลอดภัยในโรงงาน


ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.
ดังนัน้ การการวางผังโรงงานเพื่อความปลอดภัย ในโรงงานนัน้ นอกเหนือจากเหตุผล
ดังกล่าวข้างต้นแล้ว การติดตัง้ ไฟฉุ กเฉินย่อมมีความสาคัญและจาเป็ นมากที่สุดในการวางผัง
ติดตัง้ อุ ปกรณ์ ใ นด้านความปลอดภัยในการทางาน หากเมื่อ มีไฟฟ้ าดับหรือ เกิดเหตุ ฉุ กเฉิ น
เกิดขึน้ ในโรงงานไฟฉุกเฉินจะเป็ นอุปกรณ์ทช่ี ่วยให้เกิดความปลอดภัยได้ดี
360

ระบบไฟส่องสว่างฉุกเฉิ น
ระบบไฟฉุกเฉินถือเป็ นการรักษาความปลอดภัยอีกระบบ หนึ่งทีม่ คี วามสาคัญอย่างมาก
ในทุกอาคาร โรงงานอุตสาหกรรม หรือแม้กระทังบ้ ่ านที่อยู่อาศัย ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุ กเฉิน
(Emergency Light System) จะใช้สาหรับสารองไฟฟ้ ากรณีไฟฟ้ า ดับกะทันหัน อุปกรณ์ไฟฟ้ า
ไฟฟ้ าฉุกเฉินก็จะทางานทันที
หลักการทางานของไฟฉุ กเฉิน ไฟฉุ กเฉินเป็ นอุปกรณ์ทเ่ี ก็บพลังงานไว้ในแบตเตอรี่ ซึง่
แบตเตอรีจ่ ะมี 2 แบบ คือ แบบชนิดเติมน้ ากลัน่ และ ชนิดแห้ง ไม่ต้องเติมน้ ากลัน่ และเมื่อ
ไฟฟ้ าดับจะใช้ไฟฟ้ าจากแบตเตอรีไ่ ป On หน้า Contact ของ Relay และจะทาให้หลอดไฟสว่าง
เมื่อ กระแสไฟฟ้ าจ่ายให้ไฟฉุ กเฉินก็จะมีวงจรลดแรงดันไฟฟ้ าและแปลง กระแสไฟฟ้ าให้เป็ น
กระแส DC เพื่อประจุให้แบตเตอรีแ่ ละมี วงจร off หน้า Contact relay เพื่อไม่ให้หลอดไฟสว่าง
โดยการ ทางานของไฟฉุ กเฉินต้องสามารถทางานได้เมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้ า ปกติลม้ เหลว หรือ
เมื่อเครื่องป้ องกันกระแสเกินเปิ ดวงจร และ แหล่งจ่ายไฟฟ้ าฉุ กเฉินต้องทางานได้อย่างต่อเนื่อง
และทางานได้ อีกโดยอัตโนมัติ โดยการเปลีย่ นจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ าปกติมาเป็ น แหล่งจ่ายไฟฟ้ า
ฉุกเฉิน ต้องทาสมบูรณ์ภายใน 5 วินาที
สิ่ งที่ต้องพิ จารณาในการเลือกซื้อไฟแสงสว่างฉุกเฉิ น (Emergency Light)
1. หลังจากไฟดับไฟแสงสว่างฉุกเฉินควรติดขึน้ มาภายใน เวลาไม่เกิน 3 วินาที
2. ต้องมีระบบการอัดประจุแบบช้าเพื่อป้ องกันความร้อ นที่เกิดจากการอัดประจุแบบเร็ว
ซึง่ จะใช้กระแสสูง ความร้อนจะ ทาให้อายุแบตเตอรีต่ ่าลง
3. มีระบบป้ องกันการลัดวงจรทัง้ ด้านไฟ AC และไฟ DC
4. ควรมีระบบแสดงผลหน้าเครือ่ งเพื่อดูสถานะ การทางานของเครือ่ งและแบตเตอรี่
5. ต้องมีสวิทซ์ควบคุมการเปิ ด ปิ ดหลอดไฟ
ข้อควรระวังในการใช้งานไฟฉุกเฉิ น
1. ไม่ควรติดตัง้ โคมไฟฉุ กเฉินชนิดแบตเตอรี่แบบเติม น้ ากลัน่ ไว้บริเวณที่มอี ากาศ
ถ่ายเทไม่ดี เพราะจะทา ให้ไอตะกัวระเหย
่ กระจายในอากาศ เป็ นอันตรายต่อระบบทางเดิน
หายใจ
2. การติดตัง้ โคมไฟฉุ กเฉิน ต้องมันคงแข็
่ งแรง เพราะ แบตเตอรีจ่ ะมีน้ าหนักมากอาจ
จะร่วงหล่นเป็ นอันตรายได้
3. ควรเสียบปลักไฟฟ้
๊ า เพื่อ ประจุไ ฟฟ้ า ให้แ บตเตอรี่เ ต็ม อยู่เ สมอ พร้อ มใช้งาน
ตลอดเวลาหากกระแสไฟฟ้ าในเวลาปกติดบั ลง
361

การติ ดตัง้ โคมไฟให้แสงสว่างฉุกเฉิ น


1. ตาแหน่งทีต่ ดิ ตัง้ ควรอยูห่ ่างจากพืน้ ไม่น้อยกว่า 2 เมตร
2. ควรติดตัง้ ในพื้นที่ท่เี หมาะสมตามความจาเป็ นของแต่ละ อาคารสถานที่ อาทิเช่น
บริเวณทางออก บริเวณเส้นทางหนีไฟ ทางแยกทางเลีย้ ว พืน้ ทีเ่ ปลีย่ นระดับ หรือพืน้ ที่ทเ่ี ป็ นจุด
ใหญ่ เช่น จุดรวมพล เป็ นต้น
3. วิธกี ารติดตัง้ คือ ติดตัง้ โคมไฟฉุกเฉินโดยวางบนพืน้ ทีร่ บั หรือแขวนติดกับผนัง
4. เสียบปลักโคมไฟฉุ
๊ กเฉินเข้ากับปลักไฟที
๊ จ่ ดั เตรียมไว้ โดยมีขอ้ สังเกตคือ
4.1 LED “AC” สีแดงจะติดสว่างแสดงว่าไฟเข้าเครือ่ งแล้ว
4.2 LED “ CHARGE” สีเหลืองจะติดสว่างแสดงสภาวะการ ชาร์จแบตเตอรี่
4.3 LED “BATT. FULL” สีเขียวติดสว่างแสดงว่าแบตเตอรีเ่ ต็ม
5. ทดสอบวงจรและแบตเตอรีโ่ ดยการกดปุ่ม TEST ค้างไว้ หลอดไฟจะติด และปล่อย
มือออกจากปุ่ม หลอดไฟจะดับ
6. ทดสอบโดยการถอดปลักไฟออก ๊ ไฟจะติดสว่าง และ กดปุ่ม OFF ไฟจะดับ และ
กดปุ่ม ON ไฟจะติด (หากเป็ นไปตาม ลักษณะนี้แสดงว่าทุกอย่างปกติ)
7. จากนัน้ เสียบปลักตามเดิ
๊ มเพื่อให้โคมไฟพร้อมกับการ ใช้งาน
8. โดยข้อควรระมัดระวังคือ ไม่ควรติดตัง้ โคมไฟฉุ กเฉิน กับผนังทีม่ คี วามร้อนสูง เพราะ
จะทาให้อายุของแบตเตอรีเ่ สื่อมเร็ว รวมทัง้ ไม่ควรติดตัง้ ในห้องที่มคี วามชืน้ สูง เพราะจะทาให้
เกิดเป็ นสนิม และอาจเกิดการลัดวงจรได้
การเลือกไฟฉุ กเฉิน ควรเลือกสินค้าที่มคี วามน่ าเชื่อถือได้ ในด้านของคุณภาพและ
มาตรฐาน คือผ่านการออกแบบและคัดเลือก อุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพเข้ามาทาเป็ นส่วนประกอบของ
ระบบไฟฉุ กเฉิน หรือผ่านการรับรองตามข้อ กาหนดของระบบบริหารคุณภาพ ISO รวมถึงผ่าน
การทดสอบตามมาตรฐานของสานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เพื่อให้มนใจได้ ั่ ว่ า
ระบบไฟฉุกเฉินทีจ่ ะนามาใช้จะสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อ เวลาทีเ่ กิด
เหตุ ก ารณ์ จ่ายกระแสไฟฟ้ าตามปกติดบั ขึ้นมาจริงๆ หรือ เกิดกระแสไฟฟ้ าขัดข้อ ง เป็ นต้น
ดังภาพที่ 6.7
362

ภาพที่ 6.7 การติดตัง้ ไฟฉุกเฉินในสถานประกอบการ


ทีม่ า: ระบบไฟฉุกเฉินโรงงาน , https://www.google.co.th/search., 2559.

ปัจจัยที่ใช้ในการพิ จารณาในการวางผังโรงงาน
1. ความต้ อ งการส าหรับ ผลิ ต ภัณ ฑ์ ซึ่ง ต้อ งการเครื่อ งจัก รในการผลิต ส าหรับ
วัตถุประสงค์ก็แตกต่างไปในการผลิตแต่ละชนิด ซึ่งการวางแผนทีค่ วรจะให้มคี วามยืดหยุ่นเพื่อ
การเปลีย่ นแปลงในเรื่องการใช้เครื่องจักรต่าง ๆ ควรมีการวางแผนไว้สาหรับการใช้เครื่องจักร
โดยทัว่ ๆ ไปเมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงก็อาจจะเปลีย่ นได้โดยง่าย
2. การเสี่ยงภัยของความล้าสมัยของเครื่องจักร โดยในปั จจุบนั มีความล้าสมัยเร็ว
เพราะโรงงานผลิตได้พยายามปรับปรุงและผลิตรูปแบบใหม่ ๆ มันจึงเป็ นเรื่องเสี่ยงภัย และไม่
ฉลาดเลยในการจะลงทุนซือ้ เครือ่ งจักรทีใ่ กล้จะล้าสมัยมาติดตัง้ ใช้ในโรงงาน
3. คุณภาพของผลผลิ ต เป็ นสิง่ หนึ่งทีต่ ้องคานึงในเรื่องการวางแผนผังโรงงาน เพราะ
วัตถุประสงค์ของการผลิต คือต้องการให้สนิ ค้ามีคุณภาพสูงดังนัน้ ในบางครัง้ คุณภาพของสินค้า
อาจจะลดลง เพราะแบบการติดตัง้ เครื่องจักรไม่ถูกต้องจึงทาให้คุณภาพของสินค้าอาจลดลง
ด้ว ยสาเหตุ จ ากการใช้เ ครื่อ งจัก รล้า สมัย จึง ท าให้ส ิน ค้า นัน้ ล้า สมัย ไปด้ว ย ดัง นัน้ จึง ควรใช้
เครื่อ งจัก รใหม่ เพื่อ ปรับ ปรุ ง คุ ณ ภาพของสิน ค้า ให้ใ หม่ ต ามไปด้ว ย ซึ่ง เป็ น การลดต้ น ทุ น
ค่าใช้จา่ ยในการผลิตไปในตัว
4. ค่ าใช้ จ่ายในการบารุงรักษา เครื่องจักรมักจะเสียค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาน้อย
และถ้ า หากติด ตัง้ เครื่อ งจัก ร เพื่อ ที่จ ะใช้ ผ ลิต ต่ อ เนื่ อ งกัน ได้ ก็ นั บ ว่ า จะลดต้ น ทุ น ในการ
บารุงรักษาให้น้อยลงได้
การเตรียมข้อมูลพื้นฐานในการวางผังโรงงาน
ผูบ้ ริหารอุตสาหกรรมควรจะเตรียมข้อมูลพืน้ ฐานในการวางผังโรงงานเอาไว้ดงั นี้ (ฉลวย
ธีระเผ่าพงษ์ และอุทยั วรรณ สุวคันธกุล, 2553 หน้า 63 – 64)
1. วางผังโรงงานขัน้ ต้นก่อนทีจ่ ะมีการวางผังอย่างละเอียดอีกครัง้ หนึ่ง
363

2. เตรียมที่ดที ่สี ุดไว้ก่อนขัน้ แรก แล้วจึง นาผังนี้ไปเป็ นหลักในการวางผังให้ตรงกับ


จุดประสงค์ทต่ี งั ้ ไว้
3. พิจารณาเลือกวิธกี ารผลิต และเครือ่ งจักรทีใ่ ช้ในการผลิต
4. เลือกแบบผังโรงงาน
5. เลือกระบบการขนย้ายวัสดุ
6. วางผังโรงงานให้เข้ากับตัวอาคารโรงงาน
7. วางผังโดยใช้รปู วาด หรือแบบจาลองเป็ นเครือ่ งช่วย
8. ติดต่อขอทราบความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากบุคลทีเ่ กีย่ วข้อง
9. วางผังโรงงานไว้หลาย ๆ แบบจึงเลือกแบบทีด่ ที ส่ี ุดไว้เพียงแบบเดียว
10. ขออนุญาตเจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วของให้เป็ นทีเ่ รียบร้อย

ขัน้ ตอนการวางผังโรงงาน
ในการวางผังโรงงาน เป็ นขัน้ ตอนที่ผู้บริห ารโรงงานจะวางผังโรงงาน จากการสร้าง
โรงงานใหม่ หรือวางผังโรงงานอาคารทีส่ ร้างไว้แล้ว หรือเป็ นการขยายโรงงาน ผูบ้ ริหารโรงงาน
ก็จะต้องดาเนินการ 3 ขัน้ ตอน ดังนี้
1. วางผังโรงงานขัน้ ต้น
2. วางผังโรงงานอย่างละเอียด
3. ติดตัง้ เครือ่ งจักรตามผังทีว่ างไว้แล้ว
1. การวางผังโรงงานขัน้ ต้น ในการวางผังโรงงานขัน้ ต้นจะต้องพิจารณาถึงการขนย้าย
วัสดุและพื้นที่บริเวณทัง้ ภายในและภายนอกโรงงานอุตสาหกรรม สาหรับบริเวณภายนอก
จะต้องกาหนดบริเวณที่ตงั ้ ของ โรงงาน สนามหญ้า ถนน ที่จอดรถ สถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจ
โกดังเก็บของหน่ วยบริการอื่น ๆ และหน่ วยขนส่งตลอดจนสิง่ อานวยความสะดวกอื่น ๆ ส่วน
สาหรับพืน้ ทีบ่ ริเวณภายในโรงงานก็ จะต้องรูว้ ่าจะแบ่งส่วนงานอย่างไร ติดตัง้ เครื่องมือบริเวณ
ใด ส่วนไหนของตัวอาคารโรงงานจะ ทาอะไร การไหลเวียนของชิน้ งานเป็ นอย่างไร ซึ่งการผัง
โรงงานในขัน้ ต้นนี้จะมีขอ้ ทีต่ อ้ ง พิจารณาอยู่ 2 ประการ คือ
1.1 การขนย้ายวัสดุ (material handling) ในการวางผังโรงงาน จะต้องพยายาม
หาวิธที จ่ี ะทาให้การขนย้ายวัสดุ (material handling) เป็ นไปอย่างสะดวกทีส่ ุด และการขนย้าย
วัสดุทด่ี จี ะต้องให้เป็ นเส้นตรงสายการผลิต ไม่ยอ้ นเส้นทางเดิม ปั จจุบนั มีการประดิษฐ์เครื่องมือ
ใหม่ ๆ สาหรับใช้ในการขนย้ายวัสดุ ในการวางผังการขนย้ายวัสดุ ผู้รบั ผิดชอบจะต้องรูว้ ่าทาง
โรงงาน จะเลือกเครื่องมือทีใ่ ช้ในการขนย้าย วัสดุแบบใด และในอนาคตจะนาเครื่องมือแบบใด
เข้ามาใช้ในการขนย้ายวัสดุ การวางผังเส้นทาง การขนย้ายวัสดุ จะต้องวางผังให้สอดคล้องกับ
เครือ่ งมือ เครื่องจักร ในการขนย้ายวัสดุทจ่ี ะมาใช้ ด้วย เช่น ลักษณะเครื่องขนย้าย ขนาดความ
364

กว้าง ความสูง ทิศทาง การเคลื่อนที่ ซึง่ ลักษณะ เครื่องมือ เครื่องจักรที่นามาใช้ในการขนย้าย


นัน้ มีดว้ ยกันหลายอย่าง คือ
1.1.1 ขนย้ายวัสดุเป็ นหน่ วย (a unit load system) เป็ นการขนย้าย
วัสดุเป็ นหน่วย หรือเป็ นชุดสาหรับงานทีเ่ ส้นทางขนย้ายเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ หรือเส้นทางขน
ย้ายวัสดุมขี นาด กว้างใหญ่พอ เครื่องมือทีน่ ิยมใช้ขนย้ายวัสดุแบบเป็ นหน่ วย คือ รถยก (forklift
truck) การขนย้ายวัสดุโดยใช้รถยก (forklift truck) จะเป็ นการขนย้ายที่ไม่ไกลเกินไป เช่น
อาจขนย้ายวัส ดุจากโรงเก็บ ไปยังแผนกต่ า ง ๆ ภายในโรงงาน แต่ ถ้า เป็ นการขนย้า ยระยะ
ทางไกล ๆ ส่วนมากจะ ใช้รถบรรทุก รถไฟ รถพ่วง ถ้าหากเป็ นการขนย้ายไปต่างประเทศก็จะ
ใช้เรือขนส่งสินค้าผ่านทางท่าเรือคลองเตย หรือไม่กใ็ ช้เครือ่ งบินลาเลียง
1.1.2 การขนย้ายโดยใช้สายพานลาเลียง (conveyor systems) การขน
ย้ายวัสดุ โดยใช้สายพานลาเลียง เป็ นการขนย้ายชนิดหนึ่งทีน่ ิยมกันมาก ก็เนื่องจากการขนย้าย
แบบนี้ เป็ นการขนย้ายได้มากและขนย้ายวัดสุเกือบตลอดเวลา โดยการขนย้ายแบบใช้สายพาน
ลาเลียงนี้จะไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงเส้นทางลาเลียง เช่น การลาเลียงกระป๋ องอาหารทีบ่ รรจุสาเร็จ
เรีย บร้อ ย การล าเลีย งดิน หรือ ถ่ า นหิน ลิก ไนต์ใ นเหมือ งแร่แ ม่เ มาะของการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต
(EGAT--Electricity Generation Authority of Thailand)
1.1.3 การขนย้ายวัสดุแบบแขวน (overhead handling equipment)
เป็ นการขนย้ายวัสดุวธิ หี นึ่งทีใ่ ช้วธิ กี ารขนย้ายวัสดุแบบธรรมดา ทาได้ไม่สะดวกเนื่องจากพืน้ ที่
โรงงานไม่ เพียงพอ หรือวัสดุทข่ี นย้ายมีขนาดใหญ่จะเป็ นการลาบากมากหรือทาไม่ได้หากจะใช้
วิธกี ารขนย้ายธรรมดา จึงจะต้องใช้ วิธขี นย้ายวัสดุแบบแขวน (overhead handling equipment)
เช่น การลาเลียงโครงข้างตัวถังรถบัสโดยสาร ของโรงงานประกอบรถบัส บริษทั ทีผ่ ลิต แห่งหนึ่ง
ขึน้ ประกอบการลาเลียงตู้บรรจุหบี ห่อ (containers) จากเรือบรรทุกขึ้นฝั ง่ เป็ นต้น ตัวอย่าง
เครือ่ งมือขนย้ายแบบนี้ ได้แก่ ปนจันแขวนแบบต่
่ าง ๆ เป็ นต้น
1.2 การเลือกใช้เครื่องมือขนย้ายวัสดุ ในอุตสาหกรรมการผลิต ค่าใช้จ่าย
ทางอ้อมมีผลต่อค่าใช้จ่ายทัง้ หมดของการผลิต ค่าใช้จ่ายในการขนย้ายวัสดุเป็ นค่าใช้จ่ายที่
สาคัญมากอย่างหนึ่ง ดังนัน้ เราจะเลือกเครือ่ งมือขน ย้ายวัสดุแบบใด
จะต้องพิจารณาและยึดหลักปฏิบตั ิ ดังนี้ (วิชยั แหวนเพชร, 2547, หน้า 107) คือ
1.2.1 เครื่องมือดังกล่าวจะต้องทาให้ค่าใช้จ่ายในการขนย้ายวัสดุต่ าสุด
(save cost transport)
1.2.2 เวลาในการขนย้ายวัสดุลดลง (save time)
1.2.3 ทาให้การขนส่งเป็ นไปด้วยความรวดเร็ว (rapid transport)
1.2.4 บริเวณโรงงานใช้ประโยชน์ดา้ นต่าง ๆ ได้มากขึน้
1.2.5 ทาการขนย้ายได้งา่ ยและมีประสิทธิภาพมากขึน้ (easy transport)
365

1.2.6 ลดความเสียหายอันเนื่องมาจากการขนย้าย (reduce defect of


transportation)
1.2.7 การขนย้ายมีความปลอดภัยต่อ ผู้ท่เี กี่ยวข้อ งในการขนย้ายสูง
(safety) เครื่องมือขนย้ายวัสดุนอกจากจะคานึงถึงหลักการต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว เรายังจะต้อง
คานึงถึงลักษณะของเครื่องมือทีอ่ อกแบบมาด้วย ซึง่ (สมศักดิ ์ ศรีศกั ดิ ์, 2547, หน้า 143) ได้
เสนอเอาไว้ ดังนี้
1.2.7.1 ชานชาลารับส่งของในโรงงานกว้างขวางและสูงต่าแค่ไหน
1.2.7.2 ความสูงของประตูโรงงาน เป็ นอย่างไร
1.2.7.3 ความสูงของเพดานโรงงาน
1.2.7.4 ความแข็งแรงของตัวอาคารโรงงาน
1.2.7.5 การใช้กระแสไฟฟ้ า
6. ลักษณะผังภายในโรงงาน
2. การกาหนดพื้นที่ภายในโรงงาน (area setting)
2.1 การกาหนดพืน้ ที่ให้หน่ วยการผลิตแต่ละหน่ วย จะต้องพิจารณาถึงพืน้ ที่สาหรับ
การติดตัง้ เครื่องจักร จานวนเครื่องจักร ทางเดิน หน่ วยซ่อมบารุง หน่ วยบริการที่เก็บวัตถุดบิ
สินค้าระหว่างผลิตเสร็จแล้ว รวมทัง้ พืน้ ทีส่ าหรับการติดตัง้ สิง่ อานวยความสะดวกด้วย
2.2 การกาหนดพืน้ ที่เป็ นทางเดิน ทางเดินภายในโรงงาน (plant foot bath) มี
ความสาคัญมาก เนื่องจากพนักงานใช้ทางเดินเป็ นเส้นทางการขนส่งวัสดุ การจัดทางเดินมีผล
ต่อประสิทธิภาพของโรงงาน ทัง้ นี้เพราะการจัดพื้นทางเดินจะมีผลต่อเวลาในการขนย้ายวัสดุ
ชัวโมงใช้
่ งานของเครื่อ งขนย้ายวัส ดุ วัยของคนงาน ความปลอดภัยภายในโรงงานและการ
เคลื่อนทีข่ องวัสดุการกาหนดพืน้ ที่ไว้สาหรับเป็ นทางเดินจะทาให้เรามีพน้ื ที่ทส่ี ามารถใช้ในการ
ผลิต น้ อ ยลง แต่ ก็เ ป็ นสิ่งที่จะต้อ งทาถ้าหากลดพื้นที่ท่ใี ช้เ ป็ นทางเดินภายในลงจะทาให้เ กิด
ปั ญหาในการขนย้ายวัสดุ เพราะวัสดุบางอย่างเมื่อบรรจุกล่องแล้ว อาจจะทาให้ไม่สะดวกในการ
ขนย้าย และจะเสียเสลามากในการเคลื่อนย้ายเส้นทางเดินแคบ ๆ แต่ถ้าใช้พ้นื ที่เ ป็ นทางเดิน
มากเกินไปก็จะเสียพืน้ ที่ท่ใี ช้ทางาน และเมื่อมีทางเดินกว้างบางทีอาจจะปรับเป็ นทีเ่ ก็บของได้
ด้วย ทางเดินหลัก คือ ทางเดินระหว่างแผนกต่าง ๆ และทางเดินเข้าและออกจากโรงงานทุก
โรงงานควรจะจัด พื้น ที่ไ ว้เ ป็ น ทางเดิน หลัก เพื่อ สะดวกในการด าเนิ น งานภายในองค์ก าร
โดยคานึงถึงความคล่องในการเดิน เข้า -ออก ของพนักงาน สะดวกในการเคลื่อนย้ายวัสดุจาก
แผนก หนึ่งไปยังแผนกหนึ่ง และง่ายต่อการติดตามประเมินผลตรวจการทางานของฝายบริหาร
ทางเดินหลักในโรงงาน (สมศักดิ ์ ศรีสตั ย์ ,2554, หน้า 121 และ วิชยั แหวนเพชร, 2547, หน้า
187) ได้เสนอแนะเอาไว้ว่า ควรให้อยู่ตรงกลาง โรงงานระหว่างแผนก และการจัดทางเดินหลัก
นัน้ ควรจะ จัดให้มกี ารหักมุมน้อยทีส่ ุดทางเดินในแผนกจะแคบกว่าทางเดินหลัก ทางเดินนี้จะ
อยู่ดา้ นข้าง ของเครื่องจักร หรือข้างบริเวณทางาน ทางเดินในแผนกก็จะต่อเชื่อมกับทางเดิน
366

หลัก ข้อมูลทีจ่ าเป็ นในการพิจารณากาหนดบริเวณทางเดิน และความกว้างของทางเดินมีดงั นี้


คือ
1. ระบบการขนย้ายวัสดุเป็ นอย่างไร
2. เครือ่ งจักรทีใ่ ช้ในการขนย้ายวัสดุและรัศมีการทางานเป็ นอย่างไร
3. ชนิดของวัสดุทจ่ี ะใช้ขนย้าย
4. จานวนวัสดุทจ่ี ะใช้ขนย้ายในแต่ละครัง้
5. การขนย้ายจะขนย้ายแบบใด จะเป็ นแบบทางเดียวหรือแบบสวนทางกัน
6. จานวนเทีย่ วของการขนย้าย มากน้อยอย่างไรในแต่ละวัน
7. ลักษณะการเคลื่อนทีข่ องวัสดุ แนวตัง้ แนวนอน เป็ นต้น
3. การวางผังโรงงานอย่างละเอียด
หลังจากการวางผังโรงงานขัน้ ต้นแล้ว ต่อไปก็จะเป็ นการวางผังโรงงานอย่างละเอียด
ใน การวางผังโรงงานอย่างละเอียด ผูว้ างแผนจะต้องกาหนดบริเวณสาหรับติดตัง้ เครื่องจักร โต๊ะ
ทางาน ชัน้ วางเครื่อง ทีเ่ ก็บอุปกรณ์ช่วยในการผลิต ตลอดทัง้ จะต้องกาหนดบริเวณทีจ่ ะใช้เป็ น
ทางเดินภายในโรงงานด้วย หลักการวางผังโรงงานอย่างละเอียด การวางผังโรงงานอย่าง
ละเอียด มีหลักการ เช่นเดียวกับการวางผังโรงงานขัน้ ต้น เว้นแต่ในการวางผังโรงงานอย่าง
ละเอียด เรามุ่งถึงการ วางผังในบริเวณย่อย ๆ หรือในแผนกแต่ละแผนกนัน้ เท่านัน้ การวางผัง
โรงงานขัน้ ต้น ผู้วางผัง จะวางผังก่อนลาดับแรก เพื่อกาหนดกรอบขอบเขตภายในโรงงาน
ทัง้ หมดอย่างคร่าว ๆ ก่อน ต่อไปก็จะกาหนดลงไปในรายละเอียดว่าในแต่ละแผนกนัน้ จะติดตัง้
เครือ่ งจักรตรงไหน ทางเดิน ภายในแผนกจะผ่านตรงไหน กว้างใหญ่แค่ไหน ซึง่ ทัง้ หมดทีก่ ล่าว
มานี้เป็ นการวางผังในแผนก หรือวางผังอย่างละเอียด
การวางผังโรงงานอย่างละเอียดนัน้ มีเทคนิคการวางผังอย่างละเอียดโดย เทคนิคในการ
วางผังโรงงานอย่างละเอียด ทีน่ ิยมใช้กนั 3 วิธกี าร ดังนี้คอื
1) วิ ธีการวาดรูป และแบบแปลนโรงงาน (drawing) รูปวาดหรือเขียนแบบ
แปลนโรงงาน เหมาะที่จะนามาใช้กบั วางผังโรงงานแบบจัดตามกระบวนการผลิต (process
layout) ซึง่ ในการ ผลิตแบบนี้มกั จะต้องใช้เครื่องจักรเครื่องมือจาเป็ นจานวนมาก และบริเวณที่
ผลิตจะต้องมีพน้ื ที่ กว้างขวางเพียงพอ การวางผังโรงงานโดยใช้วธิ กี ารวาดรูป หรือเขียนแบบ
แปลนโรงงานใช้ได้ดี กับการกาหนดพื้นที่ สาหรับวิธกี ารวาผังโรงงานโดยใช้วธิ วี าดรูป หรือ
เขียนแบบแปลนนัน้ เริม่ แรกผูว้ างผัง จะต้องเตรียมผัง ซึง่ วาดตามาตราส่วน และกาหนดว่าจะ
วางเครื่องจักรใดในบริเวณใดจนครบทุก เครื่องของแต่ละแผนกจากนัน้ ก็นาไปปรึกษากับบุคคล
ทีเ่ กีย่ วข้องให้ได้ขอ้ คิดเห็น ข้อเสนอแนะ แล้วนากลับมาร่างผังโรงงานใหม่อกี ครัง้ หนึ่ง เท่านัน้ ก็
จะทาให้ได้ผงั โรงงานทีด่ ไี ด้การใช้รูปวาด หรือเขียนแบบแปลนโรงงาน เพื่อช่วยในการวางผัง
โรงงานนัน้ เป็ นวิธเี บือ้ งต้นที่นิยมมากที่สุด หากต้องการให้เห็นภาพชัดเจนขึน้ อาจจะสร้างรูป
367

หุ่นจาลอง (models) ตามขึน้ มาได้ ในบางครัง้ การวางผังโรงงานโดยใช้รปู วาด หรือเขียนแบบ


แปลนเป็ นเพียงวิธเี ดียวเท่านัน้ ทีจ่ ะทาได้
2) วิ ธีการสร้างแผ่นภาพจาลอง (templates) วิธกี ารสร้างแผ่นภาพจาลอง
ผูส้ ร้างแผ่นภาพจาลอง ตัดแผ่นกระดาษแข็ง และให้พอดีมองเห็นชัดเจน ควรเป็ นกระดาษแข็งสี
แทนเครื่องจักร แต่ละเครื่องควรเป็ นเครื่องละสี ตัดแล้ วนาไปวางลงบนแผนกระดาษแข็งทีเ่ ป็ น
พืน้ โรงงาน ซึง่ ถูกย่อมาตราส่วนให้เล็กลงแล้ว การหาตาแหน่ งและระยะห่างของเครื่องจักร ก็ให้
วัดจากแผ่นภาพ จาลองได้เลย เพราะย่อมาตราส่วนไว้แล้ว
3) วิ ธีสร้างรูปหุ่นจาลอง (models) การวางแผนผังโรงงานอุตสาหกรรมของ
ทุกประเทศ ในปั จจุบนั นิยมใช้วธิ กี ารสร้างหุ่นจาลองในการวางแผนผังโรงงาน เพราะสะดวกใน
การเคลื่อ นย้า ยรูป หุ่ น จ าลองเครื่อ งมือ และเครื่อ งจัก รต่ า ง ๆ เมื่อ ต้ อ งการปรับ ปรุ ง หรือ
เปลี่ยนแปลงผังโรงงานใหม่รูปหุ่นจาลองนิยมทาด้วยไม้ซ่งึ ทาสีต่างกัน และลดขนาดลงมาตรา
ส่วน (scale) นาไปวางลงบนแผ่นพื้นรูปโรงงานตามที่ลดสัดส่วนตามมาตราส่วนเหมือนกัน
หลังจากทีม่ กี าร วางผังปรับปรุงผังโรงงานใหม่ สิง่ ที่ผวู้ างต้องดาเนินการขัน้ ต่อไปก็คอื จัดทา
แผนภูมกิ ารไหล ของกระบวนการผลิต (process flow chart) ของสายการผลิต การใช้แผนภูม ิ
แสดงการไหลของ กระบวนการผลิต จะมีการบันทึกข้อ มูล ที่เ กี่ยวข้อ งกับการผลิต ไว้เ ป็ น
รูปลักษณ์การใช้สญ ั ลักษณ์ แทนการเขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร กาหนดสัญลักษณ์จะทาให้
เข้าใจกระบวนการผลิตได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกรณีการผลิตที่ต้องมีการประกอบ
ชิน้ ส่วนต่าง ๆ เป็ นขัน้ ตอนตามลาดับ ของสายการผลิต การไหลของกระบวนการผลิต แสดงให้
เห็นถึงขัน้ ตอนและกรรมวิธกี ารผลิตโดยใช้ สัญลักษณ์แทนกิจกรรมต่าง ๆ ในกระบวนการผลิต
สัญลักษณ์การไหลของกระบวนการผลิต ดังกล่าว สมาคมวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศ
สหรัฐอเมริกา (American Society of Mechanical Engineers--A.S.M.E.) เป็ นผูก้ าหนดขึน้ มา
ด้วยกัน 6 ลักษณะ ดังนี้
(1) การดาเนินงาน (operation) ใช้เมื่อมีการเปลี่ยนสภาพวัสดุในการ
เปลีย่ นแปลงสภาพ อาจจะเป็ นการเปลี่ยนรูป เปลีย่ นคุณสมบัตทิ างเคมี หรือเป็ นการประกอบ
วัสดุเข้ากับชิ้นส่วนอื่น ๆ หรือถอดวัสดุออกจากชิ้นส่วนอื่น ๆ การเตรียมวัสดุ เพื่อการขนส่ง
เพื่อการตรวจสอบ หรือ เพื่อการเก็บรักษา ทัง้ หมดนับเป็ นการดาเนินงานอย่างหนึ่ง นอกจากนี้
การดาเนินงานยังรวมถึง การรับส่งข้อมูลข่าวสาร การวางแผนการวิเคราะห์คานวณค่าต่าง ๆ
อีกด้วย
(2) การตรวจสอบ (inspection) เป็ นการพิจารณาถึงคุณสมบัตวิ ่าเป็ นไป
ตามมาตรฐาน หรือไม่ ทัง้ ลักษณะรูปร่างทัง้ กายภาพ (physical) และทางเคมี (chemical) ตลอด
ทัง้ จานวนหรือ ปริมาณว่าเป็ นไปตามกาหนดหรือไม่
368

(3) การขนส่ง (transportation) เป็ นช่วงของการขนย้ายชิน้ งานผลิตจาก


หน่วยผลิตหนึ่ง ไปยังหน่วยผลิตอีกหน่วยถัดไป เพื่อดาเนินการผลิตในขัน้ ตอนต่อไป ทัง้ นี้จะไม่
นับการขนย้ายภายในหน่วยผลิต
(4) การหยุดชัวขณะ
่ (delay) เป็ นการเสียเวลาในการผลิตหรือการหยุด
ชัวขณะ
่ เพื่อรอเรียงลาดับก่อนหลัง หรือรอเพื่อให้หน่ วยผลิตที่อยู่ถดั ไปว่าง จึงจะส่งเข้าหน่ วย
ผลิตต่อไป
(5) การเก็บรักษา (storage) การเก็บรักษาในความหมายนี้คอื การเก็บ
วัสดุใด ๆ สาหรับกระบวนการผลิต หรือเก็บผลิตภัณฑ์สาเร็จ เพื่อรอเวลาทีจ่ ะนาออกไปใช้งาน
(6) กิจกรรมผสม (multiple operation) หรือการรวมกิจกรรม (combined
activities) เมื่อ มีกจิ กรรมหลาย ๆ กิจกรรมทาร่วมกัน จะใช้ส ัญลักษณ์วงกลมภายในสีเ่ หลีย่ ม
ซึง่ การทา กิจกรรมผสมนี้ อาจจะทาโดยพนักงานคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ วงกลมในหมายถึง
การดาเนินงาน และสีเ่ หลีย่ มภายนอกหมายถึงการตรวจสอบคุณภาพไปพร้อม ๆ กัน ณ หน่ วย
ผลิต จากการที่ได้ก ล่ าวมาแล้ว ทุกครัง้ ที่มกี ารปรับปรุงผังโรงงานใหม่ส ิ่ง ที่ผู้ว างแผนจะต้อ ง
ดาเนินการต่อไป คือ จัดทาแผนภูมกิ ารไหลของกระบวนการผลิต (process flow chart) เพื่อ
วิเคราะห์หาการไหลของกระบวนการผลิตทีส่ นั ้ ทีส่ ุด
การจัดทาแผนภูมิการไหลกระบวนการผลิ ต (Process Flow Chart)
เป็ นการบันทึกข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องกับการผลิต โดยมีการกาหนดสัญลักษณ์แทนกิจกรรม
ต่าง ๆ ไว้ เพื่อทาให้เข้าใจกระบวนการผลิตได้งา่ ยขึน้ ซึง่ สมาคมวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศ
สหรัฐอเมริกา (American Society of Mechanical Engineer: ASME) เป็ นผูก้ าหนดสัญลักษณ์
ขึน้ มามี 6 ชนิดคือ
1. การดาเนินงาน (Operation) เป็ นการเปลีย่ นแปลงแปรสภาพวัตถุดบิ การถอด
ประกอบวัสดุ การเตรียมวัสดุ และอื่น ๆ ซึง่ นับว่าเป็ นการดาเนินการอย่างหนึ่ง
2. การตรวจสอบ (Inspection) เป็ น การตรวจสอบนั บ จ านวน พิจ ารณาถึง
คุณสมบัตวิ ่าเป็ นไปตามมาตรฐานหรือไม่ และจานวนปริมาณว่าเป็ นไปตามกาหนดหรือไม่
3. การขนส่ง (Transportation) เป็ นการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ จากทีห่ นึ่งไปยังอีก
ทีห่ นึ่ง เพื่อทาให้การผลิตดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง
4. การรอคอย (Delay) เป็ นขัน้ ตอนที่ว ตั ถุ ดบิ หรือ ผลิตภัณฑ์ต้อ งหยุดรอการ
เสียเวลาในการผลิต หรือ เป็ นการหยุดชัวขณะ
่ เพื่อให้ห น่ ว ยผลิต ที่อ ยู่ถดั ไปว่างจึงจะส่ งเข้า
หน่วยผลิตได้ หรือรอการขนย้าย
5. การเก็บรักษา เป็ นการรักษาวัตถุดบิ หรือผลิตภัณฑ์ ไว้ใช้สาหรับกระบวนการ
ผลิตและเก็บไว้สาหรับนาออกไปใช้งาน
369

6. กิจกรรมผสม (Multiple Operation) หรือ การรวมกิจกรรม (Combined


Activity) คือจะมีกจิ กรรมหลาย ๆ กิจกรรมรวมกัน ซึง่ จะใช้สญ ั ลักษณ์วงกลมอยู่ภายในกรอบ
สีเ่ หลีย่ ม วงกลม หมายถึง การดาเนินงาน และสีเ่ หลีย่ ม หมายถึง การตรวจสอบไปพร้อม ๆ กัน
ณ บริเวณหน่วยผลิตนัน้ ๆ
แผนภูมกิ ารไหล คือแสดงผังบริเวณทีท่ างานและตาแหน่ งของเครื่องจักรทีเ่ กี่ยวข้องกับ
การผลิต โดยจะกาหนดสเกลหรือไม่กาหนดก็ได้ ขึน้ อยู่กบั ความเหมาะสม สามารถแบ่งออกได้
2 ชนิดคือ
1. ผังการไหลของวัสดุ (Material Type) เป็ นการแสดงถึง การเคลื่อนทีข่ องวัตถุดบิ ใน
กระบวนการผลิต
2. ผังการไหลของคน (Man Type) เป็ นการแสดงถึงการเคลื่อนทีข่ องคนในการทางาน
ขัน้ ตอนการวางผังโรงงานทีก่ ล่าวมา เป็ นการเตรียมการเบือ้ งต้นก่อนทีจ่ ะทาการวางผัง
โรงงาน ซึง่ เมือ่ ได้ประชุมปรึกษา หารือเรียบร้อยแล้ว ก็จะใช้เทคนิคต่าง ๆ มาช่วย เช่น การวาด
รูป การสร้างแผ่นภาพ และการสร้างหุ่นจาลอง หลังจากนัน้ ก็จดั ทา แผนภูมกิ ารไหลของ
กระบวนการผลิต เพื่อจะได้ปรับปรุงกระบวน การผลิตให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป

ระบบการวางผังโรงงาน
เพื่อให้โรงงานมีระบบการผลิตสินค้าและบริการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และเน้นให้เกิดความ
ปลอดภัย ในการทางาน ซึ่ง การบริห ารระบบการผลิต ในกระบวนการผลิต นัน้ จ าเป็ น ต้อ งมี
ผลผลิตมีค วามสอดคล้องไปกับความปลอดภัยในการทางาน เมื่อผลผลิตเพิม่ มากขึ้น ความ
ปลอดภัยในการทางานก็ยอ่ มสูงขึน้ ด้วย ปั จจุบนั การวางผังโรงงานมีดว้ ยกัน 4 ระบบ คือ
1. การวางผังโรงงานแบบตามกระบวนการผลิต
2. การวางผังโรงงานแบบตามชนิดของผลิตภัณฑ์
3. การวางผังโรงงานแบบผสม
4. การวางผังโรงงานแบบชิน้ งานอยูก่ บั ที่
1. การวางผังโรงงานแบบตามกระบวนการผลิ ต (Process Layout)
เป็ นการวางเครือ่ งจักรให้เป็ นหมวดหมูต่ ามลักษณะของกระบวนการผลิต เช่น เครื่อง
ตัด เครือ่ งปั ม๊ เครือ่ งบรรจุหบี ห่อ การวางผังตามกระบวนการนี้สนิ ค้าทีผ่ ลิตจะต้องเคลื่อนย้ายไป
ตามกระบวนการต่ า งๆ ตามขัน้ ตอนในการผลิต สิน ค้านัน้ ตามกระบวนการผลิต ซึ่งเหมาะ
สาหรับการผลิตประเภทไม่ต่อเนื่อง หรือการผลิตตามคาสัง่ แบบสินค้ามีหลากหลาย แต่ละรุ่น
การผลิตจะผลิตไม่มาก นอกจากการวางผังกระบวนการผลิตในโรงงานแล้ว ยังมีการวางผังตาม
กระบวนการผลิต ที่พ บโดยทัว่ ไป คือ อู่ ซ่ อ มรถยนต์ ซูเ ปอร์ม าร์เ ก็ต ห้า งสรรพสิน ค้า
โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย โรงกลึง โรงงานผลิต เครื่องปรับอากาศ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย
ธนาคาร และห้อ งสมุด โรงพยาบาลมีแ ผนกต่ างๆ เช่น แผนกทันตกรรม แผนกสูตินารีเ วช
370

แผนกอายุรเวช แผนกการเงิน แผนกจ่ายยา เป็ นต้น ซึ่งคนไข้จะต้องไปตามแผนกต่างๆ ที่จะ


ให้บริการเองเปลีย่ นแปลงรูปแบบของผลิตภัณฑ์ หรือออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ดังภาพที่ 6.8

ภาพที่ 6.8 การวางผังโรงงานแบบตามกระบวนการผลิต (Process Layout)


ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.

ตารางที่ 6.1 การเปรียบเทียบข้อดี และข้อเสียของการวางผังโรงงานแบบตามกระบวนการผลิต


ข้อดี ข้อเสีย
1. ทาให้ลงทุนในเครื่องจักรและอุปกรณ์น้อยลง เนื่องจาก 1. มีก ารใช้ พ้ืน ที่ ภ ายในของโรงงานมาก เนื่ อ งจากมี
ผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตมีหลายๆ ชนิ ด ที่สามารถใช้เ ครื่องมือ ผลิตภัณฑ์หลายชนิด
เครื่องจักรชนิดเดียวกัน
2.สามารถใช้แรงงานคนและเครื่องจักรในแต่ละแผนกได้ 2. การวางแผนควบคุม การผลิตทาได้ยาก และมีความ
อย่างเต็มที่ ซับซ้อน
3. หากเครื่ อ งจัก รเสี ย ก็ ไ ม่ ท าให้ ก ระบวนการผลิ ต 3.การใช้เครื่องมือเครื่องจักรไม่คอ่ ยมีประสิทธิภาพ
หยุดชะงักทัง้ หมด
4. มีความคล่องตัวในการเปลีย่ นแปลงกรรมวิธกี ารผลิต
4.ต้ อ งใช้ เ วลาในการฝึ กอบรม และมี ป ริ ม าณสิ น ค้ า
คงเหลือมาก
5. ระบบการผลิตมีความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนแปลง 5. การขนย้ายผลิตภัณฑ์ท่ที าการผลิตจากกระบวนการ
ปริมาณการผลิต หนึ่งไปยังอีกกระบวนการหนึ่งซึง่ จะต้องเสียเวลา
ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.
371

2. การวางผังโรงงานตามชนิ ดของผลิ ตภัณฑ์ (Product Layout)


เป็ นลักษณะการวางผังที่เน้นการผลิตผลิตภัณฑ์ในปริมาณสูง เครื่องจักร เครื่องมือ
ในการผลิต จะเรีย งตามขัน้ ตอนการผลิต ของผลิต ภัณ ฑ์ ๆ ตัง้ แต่ ว ัต ถุ ดิบ ป้ อ นเข้า จนเป็ น
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป สายการผลิตจะถูกออกแบบมาเพ่ อ ให้การป้ อ นของชิ้นส่ ว นและวัตถุ ดิบ
เป็ นไปอย่างต่อเนื่องและไม่ขาดตอน ชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์มกั ต้องเคลื่อนย้ายไปบนสายพาน
เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการผลิต เหมาะสาหรับการผลิตสินค้าแบบต่อเนื่องเป็ นจานวนมาก
เช่น การผลิต รถยนต์ อาหาร เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้ ารองเท้ากีฬ า เป็ นต้น การวางผังในลักษณะนี้
บางครัง้ เรียกว่า Flow Shop หรือ Assembly Line) ในการวางผังโรงงาน แบบตามชนิดของ
ผลิตภัณฑ์ วิธกี าร คือ ต้องมีการจัดเรียงเครื่องจักรให้เรียงกันไปตามขัน้ ตอนการผลิต โดยเริม่
จากวัตถุดบิ ไปถึงกระบวนการผลิตแต่ละหน่ วยการผลิตจนสาเร็จเป็ นผลิตภัณฑ์สาเร็จ ดังแสดง
ในภาพที่ 6.9

ภาพที่ 6.9 การวางผังโรงงานตามชนิดของผลิตภัณฑ์ (Product Layout )


ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.
372

ตารางที่ 6.2 การเปรียบเทียบข้อดี และข้อเสียของการวางผังโรงงานแบบตามชนิดผลิตภัณฑ์


ข้อดี ข้อเสีย
1. ควบคุมการจัดตารางผลิตทาได้งา่ ยการผลิตทีแ่ น่ นอน 1. จานวนเงินทุนในการซือ้ เครื่องมือเครื่องจักรสูง
2. การขนย้ายวัสดุทาได้ในระยะเวลาสัน้ ๆ ระยะระหว่าง 2. การหยุดการผลิตของเครื่องจักรในหน่ วยผลิต หน่ วย
จุดปฏิบตั กิ ารต่างๆ นัน้ และไม่มกี ารขนย้ายวัตถุดบิ ย้อน ใดหน่วยหนึ่ง กระบวนการผลิตจะหยุดทัง้ ระบบการผลิต
ทางเดิน
3. พืน้ ทีโ่ รงงานใช้ทาประโยชน์ได้มากกว่า 3. ยอดผลิตจะสูงและสม่าเสมอ
4. ในการผลิตเป็ นจานวนมาก ๆ อัตราการใช้เครื่องจักร 4. หากจะแยกเครื่องจักรในระบบผลิตที่เป็ นปั ญ หาออก
จะดีขน้ึ และเครื่องจักรได้ทางานอย่างเต็มที่ จากกระบวนการผลิตจะทาให้ยงุ่ ยากและลาบาก
5. ผลิตภัณฑ์ก่ึงสาเร็จที่ค ั ่งค้าง ณ จุดปฏิบตั ิงานต่าง ๆ 5. การเปลี่ย นแปลงผลิ ต ภัณ ฑ์ท่ี ผ ลิ ต จะส่ ง ผลต่ อ การ
จะมีน้อยลง ปรับเปลีย่ นเครื่องมือเครื่องจักร
6. เวลาทีเ่ สียไปในการติดตัง้ เครื่องจักรจะลดลง 6. พนักงานจะไม่มที กั ษะด้านอื่นๆ
7. ไม่จาเป็ นต้องอบรม หรือให้ความรูพ้ นักงานบ่อย ๆ
8. ต้นทุนการผลิตต่อชิน้ จะถูกลง
9. การไหลของชิน้ งานผลิตจะเร็วขึน้
10. การควบคุมงานผลิตจัดได้เป็ นระบบมากกว่า
ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.

3. การวางผังโรงงานแบบผสม (Mixed Layout)


ในปั จจุบนั โรงงานส่วนใหญ่จะใช้ระบบการวางผังโรงงานแบบผสมกล่าวคือ
ในแผนกซ่ อ มบ ารุ ง (Maintenance Engineer) แผนกงานหล่ องานเชื่ อ มท าแบบหล่ อ
(Mole Maintenance) จะวางผังเป็ นแบบตามกระบวนการผลิต (Process Layout) ส่วนแผนก
ผลิตชิ้นงานหรือหล่อชิ้นงานจะใช้วธิ กี ารวางผังโรงงานแบบตามชนิดของผลิตภัณฑ์ (Product
Layout) ส่วนแผนกผลิตชิ้นงานหรือหล่อชิ้นงานจะใช้ วธิ กี ารวางผังโรงงานแบบตามชนิดของ
ผลิตภัณฑ์ (Product Layout) ดังแสดงในภาพที่ 6.10

วัตถุดิบ A

การผลิ ตชัน้ ที่ 1 การผลิ ตชัน้ ที่ 2


การผลิ ตชัน้ ที่ 3 การผลิ ตชัน้ ที่ 4
การผลิ ตชัน้ ที่ 1 การผลิ ตชัน้ ที่ 2
สิ นค้าสาเร็จรูป

วัตถุดิบ B
ภาพที่ 6.10 แสดงลักษณะการแปรสภาพการผลิตสินค้าแบบผสม, 2559.
373

4. การวางผังโรงงานแบบชิ้ นงานอยู่กบั ที่ (Fixed Location Layout)


การจัดวางผังโรงงานแบบนี้จะยึดเอา ส่วนประกอบหลักของงานเป็ นหลักซึง่ มักจะมี
ขนาดใหญ่อยู่กบั ทีแ่ ล้ว มีการผลิตผลิตภัณฑ์ขนาดที่ค่อนข้างใหญ่ ไม่สะดวกในการเคลื่อนย้าย
ผลิตภัณฑ์ส่วนมากมักจะอยู่กบั ที่ หรือถ้ามีการเคลื่อนย้ายจะค่อนข้างลาบาก ส่วนประกอบ
เครือ่ งจักร อุปกรณ์ แรงงาน พร้อมวัสดุอุปกรณ์เข้าไปหาส่วนประกอบหลักเพื่อทาการผลิต เช่น
โรงงานซ่อมสร้างเครื่องบิน เครื่องบิน เรือเดินสมุทร การก่อสร้าง เขื่อน การก่อสร้างอาคาร
อู่ต่อเรือ สะพานหรือโครงสร้างขนาดใหญ่ทเ่ี คลื่อนย้ายลาบากจาเป็ นต้องเคลื่อนย้ายการผลิตอื่น
เข้าไปแทน การวางผังแบบนี้เหมาะสาหรับการผลิตทีม่ ขี นาดใหญ่ จานวนการผลิตไม่มาก มักมี
ลักษณะเฉพาะตามความต้องการ ดังภาพที่ 6.11

ภาพที่ 6.11 แสดงการวางผังโรงงานแบบชิน้ งานอยูก่ บั ที่ (Fixed Location Layout)


ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.

ตารางที่ 6.3 การเปรีย บเทีย บข้อ ดี และข้อ เสียของการวางผัง โรงงานแบบชิ้นงานอยู่กับ ที่


(Fixed Location Layout)
ข้อดี ข้อเสีย
1. มีการติดตัง้ ลงทุนครัง้ เดียว 1.พืน้ ทีม่ ขี อบเขตจากัด ไม่สะดวกต่อการปฏิบตั งิ าน
2. สะดวกไม่ตอ้ งเคลื่อนย้าย 2.กระบวนการทางานมีความยุ่งยาก ซึ่งอาจต้องใช้
วัสดุ อุปกรณ์ไม่ซ้ารูปแบบ
ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.

ความหมายของอัคคีภยั
ไฟเป็ นพลังงานชนิดหนึ่งซึ่งก่อประโยชน์ต่อมนุ ษย์มหาศาล เพราะเป็ นตัวกาเนิดของ
พลังงานต่าง ๆ มนุ ษย์นาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน “แต่ไฟ” อาจก่อให้เกิดภัยอย่างมหันต์ได้ หาก
374

ขาดความรูห้ รือขาดความระมัดระวังในการใช้และควบคุมดูแลแหล่งกาเนิดไฟ อย่างไรก็ตาม


ถึงแม้ว่ากฎหมายได้ประกาศพระราชบัญญัตเิ กี่ยวกับการป้ องกันอัคคีภยั ขึน้ ก็ตามยังทาให้เกิด
ความเสียหายจากเพลิงไม้บ่อยครัง้ และแต่ละครัง้ สร้างความเสียต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของมนุ ษย์
อย่างมหาศาล หน่วยงานทีม่ สี ่วนรับผิดชอบจึงมีการกาหนดแนวทางหรือมาตรการทีจ่ ะให้ทุกคน
ไม่ว่าประชาชนทัวไป ่ และหน่ วยงานภาคธุรกิจเอกชนที่มกี ารประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องการ
เครือ่ งจักรทีต่ อ้ งใช้ไฟฟ้ า สารเคมี และ วัตถุอนั ตรายต่าง ๆ เป็ นต้นให้ได้รบั ความรูเ้ กี่ยวกับการ
เกิดอัคคีภยั เพื่อนามาสู่การป้ องกันและหากเกิดเพลิงไหม้ก็สามารถช่วยเหลือให้นาชีวติ รอด
ออกมาได้
สมาคมความปลอดภัย และอนามัย ในการท างาน, (2560) ได้ใ ห้ค วามหมายของ
อัคคีภยั ไว้ว่า ภยันตรายอันเกิดจากไฟที่ขาดการควบคุมดูแล ทาให้เกิดการติดต่อลุกลามไป
ตามบริเวณ ทีม่ เี ชือ้ เพลิงเกิดการลุกไหม้ต่อเนื่อง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากขึน้ ถ้าการลุกไหม้
ที่มเี ชื้อเพลิงหนุ นเนื่อง หรือมี ไอของเชื้อเพลิงถูกขับออกมามากความร้อนแรงก็จะมากยิง่ ขึ้น
สร้างความสูญเสียให้ทรัพย์สนิ และชีวติ
ความหมายของคาว่าไฟ
พจนานุ กรมฉบับบัณฑิตยสถาน (2525) ได้ให้ความหมายของคาว่า ไฟ ไว้ว่า เป็ นผล
จากปฏิกิรยิ าเคมีซ่งึ ก่อให้เกิดความร้อน แสงสว่าง และเปลว คือ กลุ่มก๊าซที่กาลังลุกไหม้สงิ่
ต่าง ๆ ได้

องค์ประกอบที่สาคัญของการเกิ ดอัคคีภยั
องค์ประกอบของไฟ มี 3 อย่าง คือ
1. ออกซิ เจน (Oxygen) เป็ นก๊าซทีช่ ่วยให้ตดิ ไฟ ซึง่ ต้องมีออกวิเจนไม่ต่ ากว่า 16 %
(ในบรรยากาศ ปกติจะมีออกซิเจนอยู่ประมาณ 21 %) ซึ่งโดยทัวไปมนุ ่ ษย์เราจะหายใจเอา
ออกซิเจนเข้าไปไม่เกิน 21%
2. เชื้อเพลิ ง (Fuel) ส่วนทีเ่ ป็ นไอเท่านัน้ (เชือ้ เพลิงไม่มไี อ ไฟไม่ตดิ ) หมายถึง อะไรก็
ได้ทส่ี ามารถติดไฟได้ เช่น เสือ้ ผ้า เฟอร์นิเจอร์ ม่าน พรม น้ามัน สารไวไฟต่าง ๆ
3. ความร้อน (Heat) เพียงพอทาให้เกิดการลุกไหม้ ความร้อนเป็ นองค์ประกอบหนึ่งที่
ทาให้เกิดการติดไฟ เพราะเป็ นสิง่ จาเป็ นทีท่ าให้เชือ้ เพลิงมีอุณหภูมถิ งึ จุดวาบไฟ (ถ้าจุดวาบไฟ
สูงกว่าอุณหภูมบิ รรยากาศ) และเพื่อใช้ในการจุดไอทีไ่ วไฟให้ตดิ ไฟ
ดังนัน้ การเกิดไฟ หรืออัคคีภยั จะเกิดขึน้ ได้ต้องมีองค์ประกอบครบ 3 อย่าง การลุกติด
ของไฟอย่างต่อเนื่องหรือที่เรียกว่า การเกิดเพลิงไหม้ นัน้ จะต้องมีองค์ประกอบอีกหนึ่งตัว คือ
ปฏิกิรยิ าลูกโซ่ของการเผาไหม้ หรือ มีการทาปฏิกิรยิ าทางเคมีต่อเนื่องเป็ นลูกโซ่ (Chemical
Chain Reaction) จะเห็นได้ว่าปฏิกริ ยิ าลูกโซ่ของการเผาไหม้ เป็ นปฏิกริ ยิ าทางเคมีทจ่ี ะทาให้ไฟ
375

ลุกลามอย่างต่อเนื่อง ซึง่ จะดาเนินต่อหรือจะหยุดชะงักขาดช่วงได้ ถ้าสัดส่วนของไอเชือ้ เพลิงกับ


ออกซิเจนแปรเปลีย่ นไป ดังนัน้ การลุกไหม้จะเกิ ดขึ้นอย่างต่อเนื่ องจนกระทัง่
(1) เชือ้ เพลิงหมดไป
(2) สัดส่วนของออกซิเจนกับไอเชือ้ เพลิงไม่เหมาะสม
(3) อุณหภูมกิ ารลุกไหม้ลดลง ทาให้อุณหภูมขิ องเชือ้ เพลิงลดต่าลงไม่สามารถ
ติดไฟได้
(4) ปฏิกริ ยิ าลูกโซ่ถูกตัดตอนลง ทาให้การหนุนเนื่องหยุดชะงัก การลุกไหม้ก็
จะสิน้ สุดลง
ดังนัน้ การป้ องกันไฟ และการดับไฟ คือ การกาจัดองค์ประกอบของไฟ หากจะทาการ
ดับเพลิงต้องทาการปิ ดกัน้ หรือยับยัง้ องค์ประกอบของการเกิดไฟส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วน
ออกจากกระบวนการเผาไหม้ ดังภาพที่ 6.12

ภาพที่ 6.12 องค์ประกอบของการเกิดไฟ


ทีม่ า: https://www.google.co.th., 2559.

องค์ประกอบของไฟที่เป็ นเชื้อเพลิ ง
สถานะของเชื้อเพลิง สารที่เ ป็ นเชื้อ เพลิงที่พบในงานอุ ตสาหกรรมต่ าง ๆ อาจอยู่ใ น
สถานะดังนี้
1. ของแข็ง ได้แก่ ไม้ กระดาษ พลาสติก ผลิตภัณฑ์ยาง เสือ้ ผ้า และเส้นใย ตลอดจนฝุ่ น
ลออกงและเศษผงต่างๆ
2. ของเหลว ได้แก่ น้ ามันเตา น้ ามันเชื้อ เพลิง น้ า มันหล่ อ ลื่น สี น้ ามัน และสารท า
ละลายต่าง ๆ เช่น ทินเนอร์ แอลกอฮอล์ โทลูอนี เป็ นต้น
3. ก๊ า ซ เช่ น ก๊ า ซเอททิล ลีน และก๊ า ซโพรไพรี ที่เ ป็ น วัต ถุ ดิบ ส าคัญ ในการผลิต ใด
พลาสติกต่าง ๆ รวมทัง้ สารเชือ้ เพลิงทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าเคมี
376

คุณสมบัติของเชื้อเพลิ ง
1. จุดวาบไฟ (flash point)
2. อุณหภูมติ ดิ ไฟ (ignition temperature)
3. อุณหภูมติ ดิ ไฟได้เอง (auto – ignition temperature)
4. เปอร์เซ็นต์ส่วนผสมของเชือ้ เพลิงในอากาศ (percentage mixture) คือ ปริมาณไอ
ของสารเชือ้ เพลิงทีแ่ ขวนลอยหรือผสมอยูใ่ นอากาศ
5. ความสามารถในการละลายน้าได้ (water solubility)
6. ความถ่วงจาเพาะ (specific gravity)
7. ความหนาแน่นไอ (vapor density)
วิ ธีการดับไฟ
การที่จะทาให้ไฟดับหรือไม่เกิดไฟไหม้ จึงต้องทาการตัดไฟจาเป็ นตัด อย่างน้อย 3 วิธ ี
คือ
1. ทาให้อบั อากาศ ขาดออกซิเจน
2. ตัดเชือ้ เพลิงกาจัดเชือ้ เพลิงให้หมดไป
3. ลดความร้อน ทาให้เย็นตัวลง และ การตัดปฏิกริ ยิ าลูกโซ่
ระยะของการเกิ ดไฟไหม้มี 3 ระยะ ดังนี้
1. ไฟไหม้ขนั ้ ต้น คือ ตัง้ แต่เห็นเปลวไฟจนถึง 4 นาที สามารถดับได้ โดยใช้เครื่อง
ดับเพลิงเบือ้ งต้น แต่ผใู้ ช้จะต้องเคยฝึกอบรมการใช้เครือ่ งดับเพลิงมาก่อน จึงจะมีโอกาสระงับได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ไฟไหม้ขนั ้ ปานกลางถึงรุนแรง คือ ระยะเวลาไฟไหม้ไปแล้ว 4-8 นาที อุณหภูมจิ ะสูง
กว่า 400 องศาเซลเซียส หากจะใช้เครือ่ งดับเพลิง ต้องมีความชานาญ และต้องมีอุปกรณ์จานวน
มากพอ จึงควรใช้ระบบดับเพลิงขัน้ สูง จึงจะมีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพมากกว่า
3. ไฟไหม้ขนั ้ รุนแรง คือ ระยะเวลาไฟไหม้ต่อเนื่องเกิน 8 นาที และยังมีเชื้อเพลิงอีก
มากมายอุณหภูมจิ ะสูงกว่า 600 องศาเซลเซียส ไฟจะลุกลามขยายตัวไปทุกทิศทางอย่างรุนแรง
และรวดเร็วการดับเพลิงจะต้องใช้ผทู้ ไ่ี ด้รบั การฝึกฝนมาเป็ นอย่างดีและถูกต้อง พร้อมอุปกรณ์ ใน
การระงับเหตุขนั ้ รุนแรง

การป้ องกันและระงับเหตุอคั คีภยั


เมื่อทราบว่ามีภยันตรายจากไฟหรือไฟไหม้แล้ว การป้ องกันมิให้เกิดจะเป็ นหนทางแรก
ทีจ่ ะให้ทุกคนไม่ว่าในสถานประกอบการหรือ ประชาชนทีอ่ ยู่อาศัยตามตึกอาคาร บ้านควรเลือก
ปฏิบตั ิ ซึง่ การป้ องกันนัน้ มีหลักอยูว่ ่า
1. กาจัดสาเหตุ
377

2. คุมเขตลุกลาม
3. ลดความสูญเสีย

สาเหตุและผลกระทบจากอัคคีภยั
สาเหตุของอัคคีภยั
การเกิดไฟทีผ่ ่านมานัน้ สาเหตุโดยส่วนใหญ่ลว้ นนามาซึง่ ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และ
ชีว ิต มนุ ษ ย์ บ่ อ ยครัง้ การเกิ ด ไฟจะส่ ง ผลให้ ม ีก ารลุ ก ลามจนกลายเป็ นอัค คีภ ัย ในสถาน
ประกอบการ และอาจสร้างความเสียหายต่อสิง่ แวดล้อม หรือชุมชนใกล้เคียงด้วยนัน้ อาจเกิดขึน้
ได้ใน 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ (ธัญวัฒน์ โพธิศริ ,ิ 2558, หน้า 78)
1) สาเหตุของอัคคีภยั อันเกิดจากความตัง้ ใจ เช่น การลอบวางเพลิงหรือการก่อ
วิน าศกรรม ซึ่ง เกิด จากการจูง ใจอัน มีมูล สาเหตุ จูง ใจที่ท าให้ เ กิด การลอบวางเพลิง อาจ
เนื่องมาจากเป็ นพวกโรคจิต เกิดขึน้ โดยความตัง้ ใจ การวางเพลิงเพื่อประโยชน์ บางอย่างของ
ตนเอง เป็ นต้น
2) สาเหตุของอัคคีภยั ทีเ่ กิดขึน้ จากความผิดพลาด ซึง่ เกิดในหลายลักษณะ เช่น
ขาดความระมัดระวังในการควบคุมเชื้อเพลิง ขาดความระมัดระวัง และการใช้ความร้อน ขาด
ความรู้ ความเข้าใจในงานนัน้ จนทาให้เกิดอัคคีภยั ขาดความชานาญ มีความบกพร่อง ประมาท
เลินเล่อ ขาดความระมัดระวัง และไม่ได้ตงั ้ ใจ เป็ นต้น
ผลกระทบจากอัคคีภยั
หากเมื่อใดมีก ารเกิดเพลิงไหม้ใ นโรงงานอุตสาหกรรม หรือ สถานประกอบการ ย่อ ม
เกิดผลกระทบตามมาอย่างหาที่เปรียบไม่ได้ นามาซึ่งความเสียหายทัง้ ร่างกายชีวติ ทรัพย์สนิ
ความเชื่อมันของบุ
่ คคลภายนอก พนักงานเสียขวัญกาลังใจ และ ชื่อเสียงองค์การ ที่สาคัญคือ
การประกอบกิจการย่อมมีความสูญเสียต่อธุรกิจทัง้ ภายในองค์การและเศรษฐกิจของประเทศ
โดยสรุปได้ถงึ ผลกระทบจากการเกิดอัคคีภยั ได้ ดังนี้
1. ผลกระทบต่อความปลอดภัยของชีวติ
2. ผลกระทบต่อความปลอดภัยของทรัพย์สนิ
3. ผลกระทบต่อความปลอดภัยของธุรกิจ
4. ผลกระทบต่อความปลอดภัยของสิง่ แวดล้อม
แหล่งกาเนิ ดของอัคคีภยั
แหล่งกาเนิดของอัคคีภยั ที่เป็ นสาเหตุของเพลิงไหม้ในสถานประกอบการหรือโรงงาน
อุต สาหกรรม เกิดเพลิงไหม้นัน้ เกิดขึ้นเนื่องจากปฏิกิรยิ าระหว่างความร้อ นของเชื้อไฟ และ
ออกซิเ จนใน อากาศเมื่อ ทราบว่ าอะไรบ้างที่ส ามารถผลิตความร้อนสูงพอที่จะติดไฟได้ก็
จาเป็ นต้องควบคุม ไม้ให้มอี งค์ประกอบอีก 2 อย่างเข้าไปอยูร่ ว่ มด้วย แต่ถ้าควบคุมไม่ได้ทงั ้ สอง
378

อย่าง ซึ่งปกติเรา ควบคุมออกซิเจนไม่ได้เพราะมันมีอยู่ในอากาศ เราก็ต้องคอยดูแลควบคุม


ไม่ให้มเี ชื้อไฟเข้าไป สัมผัสกับสิง่ ที่ทาให้เกิดความร้อนสูง ข้อแนะนาสาหรับการดูแลควบคุม
แหล่งกาเนิดอัคคีภยั นัน้ อาจทาได้โดยการลดความร้อน และ/หรือ การกาจัดหรือป้ องกันไม่ให้ม ี
เชื่อไฟทีจ่ ะไปสัมผัส ความร้อน พบว่ามีสาเหตุและแหล่งกาเนิดแตกต่างกัน ซึง่ กล่าวโดยสังเขป
ได้ดงั นี้
1. อุปกรณ์ ไฟฟ้ าสถิ ตย์ ควรใช้สายไฟ มอเตอร์สะพานไฟ ฯลฯ ทีเ่ หมาะสมกับ
งาน ต้องแน่ ใจว่า การต่อสายไฟทาอย่างถูกต้อง ควรมีการตรวจสอบสายไฟ และรอยต่ อสายไฟ
อยูเ่ สมอๆ เพื่อความแน่ ใจว่าจะไม่เกิดการช็อต นอกจากนี้การทาความสะอาดอุปกรณ์ ไฟฟ้ าควร
ใช้น้ายาเฉพาะและควรเป็ นชนิดทีไ่ ม่ไวไฟ การลดความเสียดทาน อาจทาได้โดยการใช้ สาหรับ
หล่อลื่นที่ไม่ไวไฟและเป็ นชนิดที่ได้รบั การแนะนาจากผู้สร้างอุปกรณ์หรือฝ่ ายวิศวกรรม ควรมี
การทาความสะอาดอุปกรณ์เสมอๆ เพื่อไม่ให้เกิดการสะสมของฝุ่ นซึง่ อาจเป็ นเชือ้ ไฟ วัสดุไวไฟ
ชนิ ด พิเ ศษ ควรเก็ บ รัก ษาให้ ถู ก ต้ อ ง ซึ่ง ควรเป็ นการเสนอแนะจากฝ่ ายวิศ วกรรมหรือ
ผูเ้ ชีย่ วชาญ การเชื่อมและการตัดโลหะ ควรจัดเป็ นบริเวณแยกต่างหากจากงานอื่นๆ ควรอยู่ใน
บริเวณที่มกี ารถ่ ายเทอากาศสะดวกและพื้นที่จะต้ องเป็ นชนิดทนไฟ แต่ ถ้าหากจัดให้อยู่แยก
ต่างหากไม่ได้กค็ วรทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามกรรมวิธตี ่อไปนี้ คือ
1.1 ต้องเป็ นบริเวณทีฝ่ ่ ายป้ องกันอัคคีภยั รับรองว่าใช้ได้
1.2 ต้องมีการจัดเตรียมบริเวณและหลักปฏิบตั สิ าหรับการป้ องกัน
อัคคีภยั อันอาจ จะเกิดขึน้ จากเหตุต่างๆ
2. การจัดเตรียมบริ เวณสาหรับการตัดและการเชื่ อม จาเป็ นต้องคานึงถึง
พื้น ที่ท นไฟ การป้ อ งกัน ประกายไฟจากการเชื่อ มหรือ ตัด ไม่ ใ ห้ก ระเด็น ไปบริเ วณอื่น ๆ
โดยเฉพาะต้องไม่ม ี เชื้อไฟอยู่ในบริเวณใกล้เคียง และควรจัดหาอุปกรณ์ สาหรับดับเพลิงไว้ใน
บริเวณนี้ดว้ ย
3. การใช้ เตาเผาแบบเปิ ดหรือเปลวไฟที่ ไม่มีสิ่งปิ ดคลุม ต้องมีการป้ องกัน
การกระเด็นของ ลูกไฟต้องไม่เก็บสารที่เป็ นเชื้อไฟไว้ในบริเวณที่ใกล้เคียง รวมทัง้ ต้องมีการ
ถ่ายเทอากาศ ทีเ่ หมาะสม หัวแร้งสาหรับเชื่อมหรือสิง่ ทีใ่ ห้เปลวไฟโดยไม่มสี งิ่ ปิ ดคลุมไม่ควรทิง้
ไว้โดยไม่มกี ารดูแล

4. การสูบบุห รี่และการประจุไฟ ฝ่ ายจัดการควรจัดให้มบี ริเ วณสาหรับให้


พนักงานสูบบุหรี่ ถ้าบริเวณใดที่สูบบุหรี่ไม่ ได้ควรจัดป้ ายแสดงบอกไว้และต้องเข้มงวดให้
พนักงานทาตามบริเวณ ทีอ่ นุญาตให้สบู บุหรีค่ วรจัดภาชนะสาหรับใส่ขบ้ี ุหรีแ่ ละจัดเตรียมบริเวณ
สาหรับป้ องกันการเกิด อัคคีภยั ทีอ่ าจเกิดจากความเลินเล่อ รวมทัง้ ประกาศหลักปฏิบตั ใิ นการใช้
บริเวณนี้เพื่อให้พนักงานเข้าใจและให้ความร่วมมือป้ องกันอัคคีภยั ในบริเวณใดที่ห้ามการสูบ
379

บุหรีค่ วรห้ามจุดไฟ ด้วย สาหรับบริเวณที่ต้ องการจุดไฟ เช่น การจุดไฟหัวแร้งสาหรับเชื่อม


ควรมีภาชนะสาหรับ ใส่ไม้ขดี หรือสิง่ ทีใ่ ช้จุดไฟอื่นๆ ที่ใช้แล้ว วัตถุท่ผี วิ ร้อนจัดในกรณีของไฟ
ท่อไอน้า ท่อน้าร้อน ฯลฯ ไม่ควรเดินท่อเหล่านี้ผ่านส่วนทีเ่ ป็ นพืน้ หรือเพดาน ควรจัดให้ผ่านผนัง
ทนไฟ หรือมี การหุม้ ห่อด้วยสารทนไฟและถ่ายเทความร้อนได้สาหรับพวกโลหะทีถ่ ูกทาให้รอ้ น
จัดควรบรรจุ ในภาชนะและผ่านไปตามอุปกรณ์ทจ่ี ดั ไว้โดยเฉพาะเท่านัน้
5. ความเสียดทานการเสียดสี ของส่วนประกอบทีเ่ ครื่องจักร เครื่องยนต์ เช่น
ตลับ ลูก ปื น เพลา ซึ่ง ทาให้เ กิด ความร้อ นสูง เมื่อ ถู ก กับ เชื้อ ไฟ เช่ น ฝุ่ นผง ใยผ้า พลาสติก
สารเคมีบางชนิด ขีเ้ ลื่อย ฯลฯ อาจเกิดลุกไหม้
6. ไฟฟ้ าสถิ ตประจุไฟฟ้ าสถิ ต ส่วนใหญ่ เกิดขึ้นเนื่องจากการเสียดสีกนั ของ
สารทีไ่ ม่เป็ น ตัวนาซึง่ เมื่อเกิดการถ่ ายเทประจุไฟฟ้ า ก็จะทาให้เกิดประกายไฟ และถ้าประกาย
ไฟสัมผัสกับ เชือ้ ไฟก็อาจเกิดการลุกไหม้การป้ องกันไม่ให้เกิดไฟฟ้ าสถิตเป็ นไปไม่ได้วธิ แี ก้ไขที่
นิยมใช้ โดยทัวไปก็
่ คือ
6.1 การต่อสายลงดิน (Grounding)
6.2 การต่อกับวัตถุทท่ี าหน้าทีเ่ ป็ นตัวรับประจุได้ (Bonding)
6.3 รักษาระดับความชืน้ สัมพัทธ์ในระดับทีเ่ หมาะสม
6.4 การทาให้บรรยากาศรอบๆ เป็ นประจุไฟฟ้ า ซึ่งจะทาหน้ าทีเ่ ป็ นตัวนา
ประจุไฟฟ้ า ออกจากวัตถุทเ่ี ก็บประจุไฟฟ้ าสถิตไว้ในตัวมัน แต่วธิ นี ้ีควรใช้ภายใต้คาแนะนาของ
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้เ ท่านัน้ เพราะมิฉะนัน้ กรรมวิธใี นการทาให้ เกิดประจุไฟฟ้ า อาจเป็ นตัว
ก่อให้เกิด การลุกไหม้เสียเอง
7. วัสดุไวไฟชนิ ดพิ เศษ เช่น โซเดียม โปรแตสเซียม ซึง่ สามารถลุกไหม้ได้เอง
ในน้าฟอสฟอรัส ซึง่ ลุกไหม้ได้เองเมือ่ ถูกกับอากาศ หรือวัสดุอ่นื ๆ
8. เครื่องทาความร้อน เชื้อเพลิงที่ใช้สาหรับเครื่องทาความร้อนควรมีจุดติด
ไฟทีอ่ ุณหภูมสิ ูง บริเวณทีต่ ดิ ตัง้ เครื่องควรมีการระบายอากาศทีด่ เี พราะเชือ้ เพลิงถ้ าเผาไหม้ไม่
สมบูรณ์จะเกิด ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ซ่งึ เป็ นอันตรายต่อคน ควรอยู่ห่างจากสารไวไฟใน
กรณีทม่ี เี ปลวไฟ ควรมีฝาปิ ดกัน้ ทีท่ นไฟและไม่ตดิ ไฟ มีปล่องสาหรับปล่อยอากาศร้อนหรือก๊าซ
ที่เ กิด จากการเผาไหม้พวกขี้เ ถ้ าที่เ กิดขึ้นจากการเผาไหม้ไ ม่ค วรตัก ออกจนกว่ า ไฟจะมอด
หมดแล้ว พวก เครือ่ งทาความร้อนทีห่ ว้ิ หรือย้ายเปลีย่ นทีไ่ ด้ ควรมีทส่ี าหรับหิว้ หรือการขนย้ายที่
เหมาะสม
9. การลุกไหม้ด้วยตนเอง เกิดจากปฏิกริ ยิ าการสันดาปของออกซิเจนกับเชื้อ
ไฟจนกระทัง่ ติดไฟและเกิดการลุกไหม้ขน้ึ ส่วนมากมักจะเกิดขึน้ ในบริเวณทีม่ อี ากาศพอทีจ่ ะ
เกิดการสันดาป แต่ไม่มากพอทีจ่ ะถ่ายเทอากาศซึง่ จะทาให้เกิดความร้อนสูง ดังนัน้ ในทีท่ ่เี ก็บ
สารทีอ่ าจเกิด การสันดาปได้ควรมีการถ่ายเทอากาศทีเ่ หมาะสม และปราศจากเชือ้ ไฟทีอ่ าจเร่ ง
380

ปฏิกริ ยิ า การสันดาป การใช้ถงั ขยะชนิดทีม่ ฝี าปิ ดมิดชิดสาหรับขยะทีเ่ ปื้ อนน้ ามันหรือสีจะช่วย


ป้ องกัน การลุกไหม้ดว้ ยตนเองได้

ตารางที่ 6.4 แหล่งเกิดเพลิงไหม้ (Ignition Sources)


ลาดับที่ ลักษณะเพลิ งไหม้ที่เกิ ดขึน้ จานวนร้อยละที่เกิ ด(%)
1. เกิดจากไฟฟ้ า 23
2. เกิดจากการสูบบุหรี่ 18
3. เกิดจาการเสียดสี 10
4. เกิดจากความร้อนจัด 8
5. เกิดจากผิวโลหะร้อน 7
6. เกิดจากเปลวไฟ 7
7. เกิดจากประกายไฟ 5
8. เกิดจากลุกติดไฟขึน้ เอง 4
9. เกิดจากการตัดหรือเชื่อม 4
10. เกิดจากการปล่อยปะละเลย 3
11. เกิดจากการลอบวางเพลิง 3
12. เกิดจากการสปาร์คของเครื่องจักรกล 2
13. เกิดจากการหลอมโลหะ 2
14. เกิดจากปฏิกริ ยิ าเคมี 1
15. เกิดจากฟ้ าผ่า 1
16. เกิดจากไฟฟ้ าสถิต 1
17. เกิดจากสาเหตุอ่นื 1
ทีม่ า: เฉลิมชัย ชัยกิตติกรณ์, สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์ และเนตรชนก เจริญสุข, 2560,
หน้า 11-60.

หลักการและแนวทางป้ องกันอัคคีภยั
หลักการป้ องกันอัคคีภยั
โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ต้องป้ องกันไม่ให้เกิดการรวมตัวขององค์ประกอบของการ
เกิดไฟหรือ ทาการแยกองค์ประกอบเหล่ านี้อ อกจากกัน เพื่อ มิใ ห้เ กิดการลุ กไหม้และติดต่ อ
ลุกลาม โดยปฏิบตั ติ ามหลักการดังนี้
1. การจัดเก็บเพลิง หรือวัสดุท่อี าจทาให้เกิดอัคคีภยั ได้ง่าย โดยแยกให้ห่างจากแหล่ง
ความร้อนหรือประกายไฟทีอ่ าจทาให้เกิดการจุดติดได้
2. การแยกหรือป้ องกันแหล่งความร้อนทีเ่ ป็ นเหตุให้เกิดลุกไหม้ ความร้อนหรือประกาย
ไฟทีเ่ กิดขึน้ นี้อาจมาจากกระบวนการผลิต จากการไม่เข้มงวดในการใช้ไฟและความร้อนรวม ทัง้
การไม่ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบด้านความปลอดภัย ซึง่ เป็ นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ได้
381

3. การกาจัดอากาศเพื่อป้ องกันการเผาไหม้ อากาศทีม่ อี ออกซิเจนไม่ต่ ากว่าร้อยละ 15


ช่วยให้เกิดการสันดาป จึงเป็ นการยากที่จะควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ท่ปี ลอดภัย เพราะคนเราก็
ต้องการออกซิเจนในการหายใจในปริมาณไม่ต่ากว่านี้เช่นนัน้
แนวทางในการป้ องกันอัคคีภยั ในสถานประกอบการ
1. การดูแลความเป็ นระเบียบเรียบร้อย เป็ นพื้นฐานขัน้ ต้นของการป้ องกันอัคคีภยั
ซึง่ ทาได้โดยการจัดสถานทีใ่ ห้สะอาดทัง้ ภายในและบริเวณรอบโรงงาน มีการจัดเก็บทีด่ แี ละเป็ น
ระเบียบ แยกหมวดหมู่วตั ถุดบิ เครื่องมือ เครื่องใช้ และสินค้าให้เป็ นสัดส่วน ไม่ปล่อยให้มกี าร
สะสมวัสดุไว้ในบริเวณการผลิต โดยเฉพาะวัสดุท่เี ป็ นเชื้อเพลิงติดไฟได้ง่ายจะต้องแยกเก็บให้
ห่ า งจากแหล่ ง ความร้อ นหรือ ประกายไฟ มีก ารก าจัด เศษวัส ดุ แ ละทิ้ง ขยะทุ ก ๆ วัน อย่ า ง
สม่าเสมอ
2. การตรวจซ่ อมบารุงเครื่อ งมือ เครื่ องจักรอุปกรณ์ ในการทางาน ในโรงงาน
อุตสาหกรรมผลิตเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานหน่ วยงานซ่อมบารุงเป็ นหน่ วยงานที่
หน้าที่ตรวจตราอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรให้มกี ารใช้งานที่ดไี ด้ตลอดเวลาโดยมีวศิ วกรที่ม ี
ความรู้ ชานาญในการตรวจสอบเพื่อให้เครือ่ งมือ เครือ่ งจักรเหล่านัน้ เช่น เครื่องทาความร้อนให้
อยู่ใ นสภาพที่ส มบูร ณ์ และความปลอดภัย ก็ส ามารถป้ อ งกัน มิใ ห้เ กิด อัค คีภ ัย ได้ รวมทัง้ มี
ประสิทธิภาพในการทางานตลอดเวลา ซึ่งจะต้องมีการกาหนดระยะเวลาในการตรวจสอบตาม
ระยะเวลาทีก่ าหนดโดยติดวัน เดือน ปี ทห่ี มดอายุไว้ชดั เจน
3. กฎระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานด้ านการป้ องกันอัคคี ภยั ในสถาน
ประกอบการ เช่น
3.1 มีการฝึ กอบรมพนักงานเข้างานใหม่ทุกคนให้มคี วามรูเ้ กี่ยวกับการทางาน และ
พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านกับเครือ่ งจักรทีเ่ กี่ยวข้องกับไฟฟ้ า
3.2 บริเวณที่มกี ารลุกไหม้หรือเกิดติดไฟง่ายต้องมีการควบคุมอย่างใกล้และมีข้อ
ห้าม ติดป้ ายอย่างชัดเจน เช่น ห้ามสูบบุหรี่ ห้ามจุดไฟ ห้ามเข้าโดยไม่ได้รบั อนุญาต เป็ นต้น
เทคนิ คการสังเกตควันไฟ
ตามหลักการระงับอัคคีภยั เมื่อเกิดไฟไหม้ พนักงานดับเพลิงต้องเข้าถึงจุดเกิดเหตุหรือ
เพลิงไหม้ให้ได้เร็วทีส่ ุด แต่ทงั ้ ต้องขึน้ อยูก่ บั สถานการณ์ เช่น ถ้าเพลิงไหม้มากพนักงานดับเพลิง
อาจมองเห็นได้จากภายนอก ก็สามารถลงมือปฏิบตั กิ ารได้ แต่ถ้าเพียงเห็นแค่กลุ่มควัน ซึ่งไม่
แน่ ใจว่าเป็ นเพลิงไหม้อะไรตรงจุดไหน การฉีดน้ าเข้าไปในที่เกิดเหตุท่ามกลางกลุ่มควันอาจ
ก่อให้เกิดความเสียหายเนื่องจากการใช้น้ า และยังเป็ นการปล่อยโอกาสให้เพลิงทีก่ าลังลุกไหม้
เริม่ ติดต่อลุกลามและขยายตัวมากขึน้ ดังนัน้ การสังเกตควัน สี และกลิน่ กับทางเดิน ของกลุ่ม
ควันก็ตอ้ งทราบถึงสภาพของสีเชือ้ เพลิงทีก่ าลังไหม้ไฟด้วยซึง่ สามารถสรุปได้ดงั ตารางที่ 6.5
382

ตารางที่ 6.5 การสังเกตสีของกลุ่มควันทีบ่ ่งบอกถึงประเภทและชนิดของเชือ้ เพลิงทีล่ ุกไหม้


สีของควัน ประเภทของเพลิ งไหม้
กลุ่มควันสีเทาอ่อนหรือสีขาว แสดงว่าเป็ นเพลิงไหม้ประเภทกระดาษ แต่ถา้ กลายเป็ นสีดา แสดงว่าเพลิงลุก
ไหม้อยู่ในทีอ่ บั อากาศ
กลุ่มควันสีเทาแก่ เป็ นเพลิงไหม้ประเภทวัสดุหรืออุปกรณ์ท่มี สี ่วนประกอบของไม้หรือผ้า และ
บริเวณผนังอาคาร
กลุ่มสีน้าตาลอ่อน เป็ นเพลิงไหม้วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ
กลุ่มควันสีดาจัด เป็ นเพลิงไหม้ในบริเวณที่มวี สั ดุหรือสิง่ ของจัดเก็บอยู่เป็ นจานวนมาก และ
แสดงถึงเพลิงกาลังลุกไหม้รุนแรง
กลุ่มควันสีดาสภาพม้วนตัว เป็ นเพลิงไหม้น้ามันหรือประเภทคล้ายคลึงองเหลว
กลุ่มควันสีเทา เป็ นเพลิงไหม้วตั ถุเส้นใย ฟางข้าว หรือหญ้า
กลุ่มสีขาวปนเหลือง เป็ นเพลิงไหม้เกีย่ วข้องกับสารเคมี
ทีม่ า: วีระ ซื่อสุวรรณ, 2550, หน้า 97.
ประเภทของไฟ (Classification of Fire)
การจัดประเภทของไฟนัน้ จัดตามชนิดของเชือ้ เพลิงและการกาหนดสารดับเพลิงของไฟ
แต่ละชนิด ซึ่งสมาคมป้ องกันอัคคีภยั แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (National Fire Protection
Association: N.F.P.A) ได้แบ่งประเภทไฟออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี้
1. ไฟประเภท เอ มีสญ ั ลักษณ์เป็ น รูปตัว A สีขาวหรือดา มีสขี องพืน้ ทีส่ ามเหลีย่ มเป็ น
สีเขียวอยู่ในสามเหลีย่ ม ไฟประเภทเอ หมายถึง ไฟทีเ่ กิดจากวัสดุตดิ ไฟทัวไปเป็
่ นเชือ้ เพลิงทีม่ ี
ลักษณะรูปสถานะของแข็งเชือ้ เพลิงธรรมดา เช่น ฟื น ฟาง ยาง ไม้ ผ้า กระดาษ พลาสติก
หนังสติก หนังสัตว์ ปอ นุ่น ด้ายรวมทัง้ ตัวเราเอง
วิธกี ารดับไฟประเภท A ทีด่ ที ส่ี ุด คือ การลดความร้อน (Cooling) โดยใช้น้ า ดังภาพที่
6.13

ภาพที่ 6.13 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภทเอ


ทีม่ า: https://www.google.co.th., 2559.
383

2. ไฟประเภท บี มีสญ ั ลักษณ์เป็ นรูปตัว B สีขาวหรือดา อยู่ในรูปสี่เหลีย่ ม สี


แดงไฟประเภท B หมายถึง ไฟทีเ่ กิดจากเชือ้ เพลิงทีม่ ลี กั ษณะเป็ นของเหลวและก๊าซ เช่น น้ามัน
ทุกชนิด สารทาละลาย แอลกอฮอล์ ทินเนอร์ ยางมะตอย จารบี โพรเพน น้ ามันผสมสีน้ า น้ ามัน
ชักเงา น้ ามันดิน ก๊าซหุงต้มและก๊าซติดไฟทุกชนิด เป็ นต้น สัญลักษณ์ของไฟประเภทนี้เป็ นรูป
B และมีสขี องพืน้ ทีส่ เ่ี หลีย่ มเป็ นสีแดง
วิธกี ารดับไฟประเภท B ทีด่ ที ่สี ุด คือ นิยมดับด้วยวิธกี ารกัน หรือ แยกออกซิเจน และ
กาจัดออกซิเจน ทาให้อบั อากาศ โดยคลุมดับ ใช้ผงเคมีแห้ง การใช้ฟองโฟมคลุมเชือ้ เพลิง และ
อีกวิธหี นึ่งคือ การแยกเชือ้ เพลิง เช่น การปิ ดวาล์ว เป็ นต้น

ภาพที่ 6.14 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภทบี


ทีม่ า: https://www.google.co.th.,2559.

3. ไฟประเภท ซี มีสญ ั ลักษณ์เป็ นรูป C สีขาวหรือดา อยู่ในวงกลมสีฟ้าไฟประเภท C


คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงทีม่ ลี กั ษณะเป็ นของแข็งที่มกี ระแสไฟฟ้ าไหลอยู่ เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้ า
ทุกชนิด การอาร์ค การสปาร์ค
วิธกี ารดับไฟประเภท C ที่ดที ่สี ุด คือ ตัดกระแสไฟฟ้ า แล้วจึงใช้ก๊าซคาร์บอนไดออก
ไซด์หรือน้ายาเหลวระเหยทีไ่ ม่ม ี CFC ไล่ออกซิเจนออกไป

ภาพที่ 6.15 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภทซี


ทีม่ า: https://www.google.co.th
384

4. ไฟประเภท ดี มีสญ ั ลักษณ์เป็ นรูปตัว D สีขาวหรือดา อยู่ในดาว 5 แฉก สีเหลืองไฟ


ประเภท D คือไฟทีเ่ กิดจากเชื้อเพลิงที่มลี กั ษณะเป็ นโลหะและสารเคมีตดิ ไฟ เช่น วัตถุระเบิด
ปุ๋ ยยูเรีย (แอมโมเนียไนเตรท) ผงแมกนีเซียม ฯลฯ
วิธดี บั ไฟประเภท D ทีด่ ที ส่ี ุด คือการทาให้อบั อากาศ หรือ ใช้สารเคมีเฉพาะ (ห้ามใช้น้ า
เป็ นอันขาด) ซึง่ ต้องศึกษาหาข้อมูลแต่ละชนิดของสาร เคมีหรือโลหะนัน้ ๆ

ภาพที่ 6.16 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภทดี


ทีม่ า: https://www.google.co.th., 2559.

5. ไฟประเภท K มีสญ ั ลักษณ์เป็ นรูปตัว K สีขาว อยู่ในรูปแปดเหลีย่ มสีดา ไฟประเภท


K หมายถึง ไฟทีเ่ กิดจากน้ ามันทีต่ ดิ ไฟยาก เช่น น้ ามันพืชทา อาหาร น้ ามันพืช น้ ามันติดไฟ
เป็ นต้น
วิธกี ารดับไฟประเภท K ที่ดที ่สี ุด คือ การกาจัดออกซิเจน การทาให้อบั อากาศ ซึ่งจะมี
ดังดับเพลชนิดพิเศษทีส่ ามารถดับไฟชนิดนี้โดยเฉพาะ

ภาพที่ 6.17 การแสดงสัญลักษณ์ไฟประเภท เค


ทีม่ า: https://www.google.co.th
385

การใช้อปุ กรณ์ ป้องกันอัคคีภยั


ระบบการป้ องกันอัค คีภยั ที่สมบูรณ์ แบบจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้ องรวมถึงการดับเพลิง
เพราะไม่ว่าจะมีระบบการป้ องกันอัคคีภยั ทีด่ อี ย่างไร อุบตั เิ หตุอาจเกิดขึน้ ได้เสมอ เมื่อเกิด เพลิง
ไหม้สงิ่ สาคัญสองสิง่ ทีจ่ ะต้องระลึกถึงเสมอก็คอื
(1) กดปุ่มเตือนอัคคีภยั ทนทัน ไม่ว่าขนาดของเพลิงนัน้ จะเล็กหรือใหญ่
(2) พยายามดับเพลิงหรือควบคุมเพลิง ด้วยเครือ่ งมือดับเพลิงทีเ่ หมาะสมเพื่อลดภัย อัน
เกิดจากเพลิงไหม้ให้เหลือน้อยทีส่ ุด
ชนิ ดของเครื่องดับเพลิ งแบบมือถือ (Portable Fire Extinguishers)
เครื่อ งดับ เพลิง แบบมือ ถือ หรือ อาจเรีย กว่ า แบบยกหิ้ว มีป ระโยชน์ ใ นการระงับ ไฟ
เบือ้ งต้น ไม่ควรฉีดถ้าไม่เห็นแสงไฟ เครื่องดับเพลิงมีมากกว่า 20 ชนิด แต่ทน่ี ิยมนามาใช้และ
ใช้ได้โดยไม่มคี วามยุ่งยาก สามารถใช้ได้ง่ายทัวไปในกรณี
่ ท่มี เี หตุการณ์ฉุกเฉิน ในปั จจุบนั นี้ มี
6 ชนิด ดังนี้
1. เครื่องดับเพลิ งชนิ ดกรดโซดา (Soda Acid) (นิยมบรรจุในถังสีแดงไม่ม ี
สายไม่มคี นั บีบ) เวลาใช้ต้องทาให้หลอดบรรจุกรดโซดาแตก (โดยการทุบปุ่มเหนือถัง) เพื่อทา
ปฏิกริ ยิ ากับน้ า เกิดแก๊ส ขับดันให้ถือถังคว่ าลง แล้วน้ าจะพุ่งผ่านหัว ฉี ดเข้าดับไฟ ซึ่งยุ่งยาก
ซับซ้อน ตรวจสอบยากปั จจุบนั ไม่นิยมใช้ ไม่มจี าหน่ ายในเมืองไทยแล้ว แต่ในต่างประเทศยังมี
ใช้อยู่ ใช้ดบั ไฟประเภท A อย่างเดียว

ภาพที่ 6.18 เครือ่ งดับเพลิงชนิดกรดโซดา (Soda Acid)


ทีม่ า: https://www.google.co.th., 2559.
386

2. เครื่องดับเพลิ งชนิ ดฟองโฟม ( Foam ) (นิยมบรรจุในถังอลูมเิ นียมสีครีม


หรือถังสแตนเลส มีหวั ฉีดเป็ นหัวฝั กบัว ) บรรจุอยู่ในถังที่มนี ้ ายาโฟมผสมกับน้ าแล้วอัดแรงดัน
เข้าไว้ (นิยมใช้โฟม AFFF) เวลาใช้ต้องถอดสลักและบีบคันบีบแรงดันจะดันน้ าผสมกับโฟมผ่าน
หัวฉีดฝั กบัว พ่นออกมาเป็ นฟองกระจายไปปกคลุมบริเวณที่เกิดไฟไหม้ ทาให้อบั อากาศขาด
ออกซิเจน และลดความร้อนใช้ดบั ไฟประเภท B และ A

ภาพที่ 6.19 เครือ่ งดับเพลิงชนิดฟองโฟม (Foam)


ทีม่ า: https://www.google.co.th., 2559.

3. เครื่องดับเพลิ งชนิ ดน้าสะสมแรงดัน (Water Pressure) (นิยมบรรจุถงั


แสตนเลส ต่ างประเทศบรรจุถงั กันสนิมสีแดง) บรรจุน้ าอยู่ใ นถัง แล้วอัดแรงดันน้ าเข้าไว้ จงึ
เรียกว่า น้าสะสมแรงดัน ใช้ดบั ไฟประเภท A

ภาพที่ 6.20 เครือ่ งดับเพลิงชนิดฟองโฟม (Foam)


ทีม่ า: https://www.google.co.th
387

4. เครื่ อ งดั บ เพลิ งชนิ ดก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ห รื อ ซี โ อทู


(Carbondioxide) (นิยมบรรจุถงั สีแดงต่างประเทศบรรจุถงั สีดา) บรรจุก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ไว้ในถังทีท่ นแรงดันสูง ประมาณ 800 –1200 ปอนด์ ต่อตารางนิ้วทีป่ ลายสายฉีดจะมีลกั ษณะ
เป็ นกระบอก หรือกรวย เวลาฉีดดับเพลิงจะมีเสียงดังเล็กน้อยพร้อมกับพ่นหมอกหิมะออกมาไล่
ความร้อน และออกซิเจนออกไป ควรใช้ภายในอาคารทีต่ ้องการความสะอาดโดยฉีดเข้าใกล้ฐาน
ของไฟให้มากทีส่ ุด ประมาณ 1.5 – 2 เมตร เมื่อใช้งานแล้วจะไม่มสี งิ่ สกปรกหลงเหลือ ใช้ดบั ไฟ
ประเภท C และ B

ภาพที่ 6.21 เครือ่ งดับเพลิงชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หรือ ซีโอทู (Carbondioxide)


ทีม่ า: https://www.google.co.th., 2559.

5. เครื่องดับเพลิ งชนิ ดผงเคมีแห้ง (Dry Chemical Powder) (นิยมบรรจุถงั สี


แดงต่างประเทศบรรจุถงั สีฟ้า) บรรจุผงเคมี ซึ่ง มีหลายชนิด หลายคุณภาพไว้ในถัง แล้วอัด
แรงดัน เข้า ไป เวลาใช้ ผงเคมีจ ะถู ก ดัน ออกไปคลุ ม ไฟท าให้ อ ับ อากาศ และสารเคมีต ัด
กระบวนการทางเคมี ควรใช้ภายนอกอาคาร เพราะผงเคมีเป็ นฝุ่ นละอองฟุ้งกระจายทาให้เกิด
ความสกปรก และเป็ นอุปสรรคในการเข้าผจญเพลิงอาจทาให้อุปกรณ์ไฟฟ้ าราคาแพงเสียหายได้
ใช้ดบั ไฟได้ดคี อื ไฟประเภท B ผงเคมีไม่เป็ นสื่อไฟฟ้ า สามารถดับไฟประเภท C ได้ (แต่
อุปกรณ์ไฟฟ้ าอาจเสียหาย) การดับไฟประเภท A ต้องมีความชานาญและควรใช้น้าดับถ่าน
388

ภาพที่ 6.22 เครือ่ งดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง (Dry Chemical Powder)


ทีม่ า: https://www.google.co.th

6. เครื่องดับเพลิ งชนิ ดน้ ายาเหลวระเหย ฮาโลตรอน (Halotron) (นิยม


บรรจุถงั สีเขียว) แต่เดิมบรรจุน้ ายาเหลวระเหย ชนิดโบรโมคลอโร ไดฟลูออโร ซึง่ เป็ นสาร CFC
ไว้ในถังใช้ดบั ไฟได้ดแี ต่มสี ารพิษ และในปั จจุบนั องค์การสหประชาชาติ ประกาศให้เลิกผลิต
พร้อมทัง้ ให้ทุกประเทศ ลด ละ การใช้จนหมดสิน้ เพราะเป็ นสารที่ทาลายสิง่ แวดล้อมโลก บาง
ประเทศถือว่าเป็ นสิง่ ผิดกฎหมาย ปั จจุบนั น้ ายาเหลวระเหยทีไ่ ม่มสี าร CFC มีหลายยีห่ ้อ และ
หลายชื่อใช้ดบั ไฟประเภท C และ B ส่วนไฟประเภท A ต้องมีความชานาญ สามารถฉีดใช้ได้
ไกลกว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไซด์ คือระยะ 3-4 เมตร

ภาพที่ 6.23 เครือ่ งดับเพลิงชนิดน้ายาเหลวระเหย ฮาโลตรอน (Halotron)


ทีม่ า: https://www.google.co.th., 2559.
389

7. ถัง ดับเพลิ ง เอนกประสงค์แห้ ง (Multi –purpose Chemical Fire


Extinguisher) ดับเพลิงเอนกประสงค์ชนิดผงเคมีแห้ง ใช้ง่ายปลอดภัย ใช้ดบั ไฟที่เกิดจากไม้
กระดาษ สิง่ ทอ ยาง น้ามัน ก๊าซ และไฟฟ้ า ดับไฟประเภทเอ บี และซี

ภาพที่ 6.24 ถังดับเพลิงเอนกประสงค์แห้ง (Multi –purpose Chemical Fire Extinguisher)


ทีม่ า: http://www.c-safetyfirst.com/13805913/112-ถังดับเพลิง

จากชนิดถังดับเพลิงข้างต้น สามารถสรุปชนิด/ประเภทของถังดับเพลิง ด้ว ยการแสดลง


ให้เห็นคุณลักษณะของถังดับเพลิงแต่ละชนิดที่มคี ุณลักษณะตามการใช้งานแต่ละประเภทและ
รายละเอียด ดังแสดงไว้ในตารางที่ 6.6

ตารางที่ 6.6 การแสดงชนิด/ประเภทของถังดับเพลิง


ชนิ ด/ประเภทของ คุณลักษณะของการใช้ถงั ดับเพลิ ง ลักษณะการใช้งาน
ถังดับเพลิ ง
เหมาะสมสาหรับ ใช้ในที่โล่งแจ้ง
ชนิ ดผงเคมีแห้ง เป็ นลักษณะการบรรจุถงั สีแดง ภายในบรรจุผงเคมี บ้า น อาคารขนาดใหญ่ โรงงาน
แห้งและก๊าซไนโตรเจน ลักษณะน้ ายาที่ฉีดออกมา อุตสาหกรรม โรงเรียน
เป็ นฝุ่ นละอองสามารถดับ เพลิง ไหม้ทุ ก ชนิ ด ได้ - ขนาดตัง้ แต่ 5 ปอนด์ 10 ปอนด์
อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูง เช่นเพลิงไหม้ และ 15 ปอนด์
ที่เ กิด จากไม้ กระดาษ สิ่ง ทอ ยาง น้ า มัน แก๊ ส
และเครื่อ งใช้ ไฟฟ้ าต่ า งๆ ไม่ เ ป็ นอัน ตรายต่ อ
มนุษย์และสิง่ มี ชีวติ ทุกประเภท
390

ตารางที่ 6.6 การแสดงชนิด/ประเภทของถังดับเพลิง (ต่อ)


ชนิ ด/ประเภทของ คุณลักษณะของการใช้ถงั ดับเพลิ ง ลักษณะการใช้งาน
ถังดับเพลิ ง

ชนิ ด CO2 บรรจุ เป็ น น้ าแข็ง แห้ง ที่บ รรจุไ ว้ใ นถัง ที่ท นแรงดัน สูง เหมาะส าหรับ ใช้ภ ายในอาคาร
ถังสีแดง ประมาณ 1800 PSI ต่อตารางนิ้ว ที่ปลายสายฉีด ไ ฟ ที่ เ กิ ด จ า ก แ ก๊ ส น้ า มั น
จะมี ล ัก ษณะเป็ นกระบอกหรื อ กรวย เวลาฉี ด และไฟฟ้ า
ลัก ษณะน้ า ยาที่อ อกมา จะเป็ นหมอกหิม ะ ที่ไ ล่ - ขนาดตัง้ แต่ 5 ปอนด์ 10 ปอนด์
ความร้อน และออกซิเจน สามารถใช้กบั ไฟชนิด B และ 15 ปอนด์
และ C

ชนิ ดน้ า ยาเหลวระเหย บรรจุถงั สีเ หลือ ง ใช้ด บั เพลิง ได้ดีโดย คุณสมบัติ เหมาะสาหรับ ที่ใช้อุปกรณ์ กบั
บีซีเอฟ ฮาลอน1211 ของสารเคมีคอื มีความเย็นจัด และมีประสิทธิภาพ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ส่อื สาร
ทาลายออกซิเจนทีท่ าให้ตดิ ไฟ น้ ายาชนิดนี้ ในอุ ต สาหกรรม อิเ ลคทรอนิ ก ส์
ไม่ท้งิ คราบสกปรก หลังการดับเพลิงและสามารถ เรือ เครื่องบิน และรถถัง
ใช้ได้หลายครัง้ ข้อเสีย ของน้ ายาดับเพลิงชนิ ดนี้
คือ มีสาร CFC ที่ส่งผลกระทบต่อ
สภาพแวดล้อม
-ขนาดตัง้ แต่ 5 ปอนด์ 10 ปอนด์
และ 15 ปอนด์
ชนิ ด HCFC-123
(Halatron) เป็ นสารดับเพลิงทีใ่ ช้ทดแทนสารฮาลอน 1211 เ ห ม า ะ ส า ห รั บ ที่ ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์
ไม่ท าลายชัน้ โอโซนและเป็ น มิต รต่ อสิ่ง แวดล้อ ม คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ส่อื สาร
สามารถใช้กบั ไฟชนิด A B และ C ลักษณะการฉีด ในอุ ต สาหกรรม อิ เ ลคทรอนิ ก ส์
ออกเป็ นแก๊สเหลวระเหย น้ ายาชนิดนี้ ไม่ท้งิ คราบ เรือ เครื่องบิน และรถถัง
สกปรก ไม่ ท าลายสิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ หลั ง การ - ขนาด ตัง้ แต่ ปอนด์ 10 ปอนด์
ดับเพลิงและสามารถใช้ได้หลายครัง้ และ 15 ปอนด์

ตัวถังดับเพลิงทาด้วยสแตนเลส ภายในเป็ นน้ ายา เหมาะส าหรับ บ้ า นพัก อาศั ย


ชนิ ดน้ายาโฟม โฟม โดยแรงดัน ที่อ ัดไว้จะดัน น้ าผสมกันโฟมยิง ร้ า นจ าหน่ ายน้ ามั น และสี ปั ้ ม
ผ่ า นหัว ฉี ด ฝั กบัว พ่ น ออกมาเป็ นฟองกระจาย น้ ามัน หรือดับไฟที่เกิดจากน้ ามัน
ไปปกคลุมบริเวณทีเ่ กิดเพลิงไหม้ ทาให้เกิดการอับ ชนิ ดต่ างๆ น้ ายาโฟมชนิ ด นี้ ห้า ม
อากาศ ทาให้ไฟขาดออกซิเจนและลดความร้อ น ดับ เพลิ ง ที่ เ กิ ด จากระบบไฟฟ้ า
มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษโดยมีแผ่นฟิ ลม์ น้ าปิ ดไอเชือ้ - เ ด็ ด ข า ด เ พ ร า ะ เ ป็ น สื่ อ น า
เพลิง ปกคลุ ม ไม่ ใ ห้ไ ฟย้อ นติด ขึ้น มาอีก สามารถ กระแสไฟฟ้ า
ใช้ได้กบั ไฟชนิด A และ B - ขนาด 20 ปอนด์
391

ตารางที่ 6.6 การแสดงชนิด/ประเภทของถังดับเพลิง (ต่อ)


ชนิ ด/ประเภทของ
ถังดับเพลิ ง คุณลักษณะของการใช้ถงั ดับเพลิ ง ลักษณะการใช้งาน
น้ ายาเป็ นสารเหลวระเหยชนิด BF 2000 (FE 36) เ ห มาะ ส าห รั บ ที่ ใ ช้ อุ ป กร ณ์
ชนิ ด BF 2000 สาหรับเครื่องดับเพลิงชนิดหูหว้ิ น้ ายาดับเพลิง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ส่อื สาร
บรรจุถงั สีเขียว ชนิดทดแทนนี้ ได้รบั การยอมรับว่าไม่ส่งผลกระทบ ในอุ ต สาหกรรม อิเ ลคทรอนิ ก ส์
ต่อสิ่งแวดล้อม ประสิท ธิภ าพ การทดสอบโดยใช้ เรือ เครื่องบิน และรถถัง
cup-burn ชี้ให้เห็นว่าน้ ายา BF 2000 (FE 36) - ขนาดตัง้ แต่ 5 ปอนด์ 10 ปอนด์
จะต้องมีความเข้มข้น อย่างน้อยร้อยละ 7.5 และ 15 ปอนด์
ในการใช้สารดับเพลิงสามารถใช้ได้กบั ไฟชนิด A B
C และ E , BF 2000 (FE 36) ไม่แสดงปฎิกริ ยิ า
กับ วัส ดุ ก่ อ สร้ า งโดยทั ว่ ไป เช่ น อลู ม ิ นั ม่ สตี ล
ทองแดง ในระดับ อุ ณ หภู มิป กติ เครื่อ งดับ เพลิง
ชนิด BF 2000 ลักษณะการฉีดออกเป็ นแก๊สเหลว
ระเหย น้ ายาชนิดนี้ ไม่ท้งิ คราบสกปรก ไม่ทาลาย
สิง่ ของเครื่องใช้ หลังการดับเพลิงและสามารถใช้ได้
หลายครัง้
ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.

จากตารางที่ 6.6 ชนิดหรือประเภทของถังดับเพลิง มีคุณลักษณะของการใช้ถงั ดับเพลิง


และลักษณะการใช้งานที่มคี วามแตกต่างกัน ตามชนิดของถังเพลิงที่มคี ุณลักษณะการใช้งานที่
ไม่เหมือนกันย่อมมีการศึกษาลักษณะ คุณสมบัติ วิธใี ช้ในถูกต้ อง และเหมาะสมกับลักษณะของ
การเกิดดับเพลิงหากเกิดเพลิงไหม้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน
ประจาองค์การซึง่ ทาหน้าทีต่ ามกฎหมายความปลอดภัยย่อมได้รบั การอบรมเป็ นอย่างดี รวมทัง้
ต้องมีประสบการณ์ในการทางานเกี่ยวกับการดับเพลิง และชนิดประเภทของถังดับ เพลิง ฉะนัน้
เมื่อมีพนักงานเริม่ งานใหม่กบั องค์การเจ้าหน้าที่ดงั กล่าวจะทาหน้าที่ในการฝึ กอบรมพนักงาน
ใหม่เหล่านี้ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการใช้เครื่องดับเพลิงในแต่ละประเภทที่ต้องใช้
งานลักษณะใดบ้างเมื่อเกิดมีเพลิงไหม้เกิดขึน้ ถังดับเพลิงตามชนิดหรือประเภทจะต้องมีความ
พร้อมที่จะใช้งานหรือมีประสิทธิภาพเสมอ และการใช้ดบั เพลิงนอกจากจะทาการฝึ กอบรมและ
สอนให้รจู้ กั และเข้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะ การใช้งานแล้วจะต้องมีการเขียนวิธใี ช้ให้ชดั เจนที่
เครือ่ งดับเพลิงหรือบริเวณทีม่ กี ารติดตัง้ ถังดับเพลิงนัน้ เพื่อให้ผใู้ ช้งานใช้ให้ถูกต้อง ดังแสดงไว้ใน
ตารางที่ 6.6 วิธใี ช้เครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือ
392

ตารางที่ 6.7 วิธใี ช้เครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือ


ขัน้ ตอน ท่องจาให้ขึน้ ใจ ข้อสังเกตและข้อควรระวัง
การหิว้ ถัง สี่น้ิ วเรียงชิดติดกัน จับใต้คนั บีบด้านล่ างหัน ห้ามยกหิว้ ทีโ่ คนสายฉีดเพราะอาจทา
สายฉีดไปด้านหน้า ให้หกั ขาด จนใช้งานไม่ได้
ควรนาไปที่เกิดเหตุ 2 ถัง เพื่อสารอง ถ้าระงับไม่
การนาพา แล้วนาพาไป
อยูใ่ นถังเดียว
พอเห็นแสงไฟ ไม่เห็นแสงไฟอย่าฉีด
การเข้าดับ ให้เข้าเหนือลม หากเข้าใต้ลม ก๊าซพิษควันไฟจะถูกพัดเข้าหาตัว
ระยะเหมาะสม 3 ถึง 4 ม.ถ้าชนิดซีโอทู 1½ ม. ถึง 2 ม.
การดึงสลัก ดึงสลักออกมา หมุนให้เส้นพลาสติกทีค่ ล้องสลัก ขาดก่อน
ควรสัง เกตให้แ น่ ใ จว่ า จะน าสายฉี ด ออกใช้ ไ ด้
ยกสายฉีด ยกสายฉีดตรงหน้า
อย่างไร
บีบคันบีบ บีบคันบีบฉับพลัน บีบคันบีบอย่างแรง และต่อเนื่อง
ส่ายหัวฉีดเพื่อให้สารดับไฟจากถัง ครอบคลุมฐาน
ส่ายหัวฉีด ส่ายหัวฉีดไปมา
ของไฟ
ตามองเป้ าหมาย ก้มหรือย่อตัวเล็กน้ อยเพื่อหลบ
เป้ าหมายตรงหน้า
ควันและความร้อน
ฉีดทีฐ่ านไฟ ฉีดกลบฐานของไฟ
เมื่อแรงดันในถังลดลง ควรก้าวเดินเข้าสู่เป้ าหมาย
ฉีดจากใกล้ไปไกล
อย่างระมัดระวัง
ดับให้สนิท ดับได้แน่นอน ต้องแน่ใจว่าไฟดับ ก่อนถอยอกจากทีเ่ กิดเหตุ
ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag., 2559.

การตรวจสอบแรงดันในถังดับเพลิ ง
ถ้ามีมาตรวัด (Pressure Gauge) ต้องดูท่เี ข็ม “เข็มตัง้ ยังใช้ได้ เข็มเอียงซ้ายไม่ได้
การ” หากแรงดันไม่ม ี เข็มจะเอียงมาทางซ้ายต้องรีบนาไปเติมแรงดันทันที อย่าติดตัง้ ไว้ให้คน
เข้า ใจผิด คิด ว่ า ยัง ใช้ไ ด้ การตรวจสอบนี้ ค วรเป็ น หน้ า ที่ข องผู้ท่ีดูแ ลบริเ วณที่ติด ตัง้ เครื่อ ง
ดับเพลิงนัน้ ๆ ควรตรวจสอบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง้ ถ้าไม่มมี าตรวัด (Pressure Gauge) คือ
เครื่องดับเพลิงชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (ซีโอทู) ใช้วธิ ชี งน ั ่ ้ าหนักก๊าซทีอ่ ยู่ในถัง หากลดลง
ต่ากว่า80 % ควรนาไปอัดเพิม่ เติม
393

ภาพที่ 6.25 มาตรวัด (Pressure Gauge) เครือ่ งดับเพลิง


ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag. 2559.

การบารุงรักษาเครื่องดับเพลิ ง
เครื่องดับเพลิงเป็ นอุปกรณ์ท่สี าคัญต่อ ชีวติ และทรัพย์สนิ เป็ นอย่างยิง่ จึงควรได้รบั การ
ดูแลเอาใจใส่ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพในระยะยาวนานขัน้ ตอนที่สาคัญในการ
บารุงรักษา คือ
1. อย่าติดตัง้ อุปกรณ์ดบั เพลิงไว้ในอุณหภูมสิ งู มีความชืน้ หรือเกิดความ สกปรกได้ง่าย
เช่น ตากแดด ตากฝนติดตัง้ ใกล้จุดกาเนิดความร้อนต่างๆอาทิ หม้อต้มน้ า เครื่องจักรทีม่ คี วาม
ร้อนสูง เตาหุงต้ม ห้องอบต่างๆ เป็ นต้น
2. ทาความสะอาดตัวถังและอุปกรณ์ประกอบ (สายฉีด หัวฉีด) เป็ นประจา สม่าเสมอ
(อย่างน้อยเดือนละ1 ครัง้ ) เพื่อให้ดดู มี รี ะเบียบและพร้อมใช้งาน
3. หากเป็ นเครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ควรเคลื่อนผงเคมีทบ่ี รรจุอยู่ภายใน โดยยก
ถังพลิกคว่า-พลิกหงาย 5-6 ครัง้ (จนแน่ ใจว่าผงเคมีแห้งไม่จบั ตัวเป็ นก้อน) อย่างน้อยเดือนละ
1 ครัง้
4. ตรวจสอบสลากวิธใี ช้ป้ายบอกจุดติดตัง้ ป้ าย แสดงกาหนดการบารุงรักษาและผูต้ รวจ
สอบ (Maintenance Tag) ให้สามารถอ่านออกได้ชดั เจนตลอดเวลา

การติ ดตัง้ เครื่องดับเพลิ ง


ให้ตดิ ตัง้ สูงจากพื้น โดยวัดถึงส่วนทีส่ ูงที่สุดของเครื่องดับเพลิง ต้องไม่เกิน 140 ซม.
สาหรับถังดับเพลิงขนาดเบาที่มนี ้ าหนักรวมไม่เกิน 10 กก.เพื่อให้ทุกคนสามารถหยิบใช้ได้
สะดวกและติดตัง้ สูงไม่เกิน 90 ซม.สาหรับถังขนาดหนัก พร้อมติดตัง้ ป้ ายชี้ตาแหน่ งไว้เหนือ
เครื่อ งดับ เพลิง เพื่อ ให้ม องเห็น ได้ช ัด เจนในระยะไกล จากทุ ก มุม มอง และทัง้ กลางวัน และ
กลางคืนเครื่องดับเพลิงทุกเครื่องที่ตดิ ตัง้ ในประเทศไทย ต้องมีรายละเอียดเป็ นภาษาไทยด้วย
และจะต้องมีป้ายระบุระยะเวลาการตรวจสอบบารุงรักษา (Maintenance Tag) ทีเ่ ครื่องดับเพลิง
ทุกๆ เครือ่ งด้วย (ซึง่ กาหนดให้ตรวจสอบอย่างน้อยเดือนละ1 ครัง้ )
394

ดัง นั น้ การติด ตัง้ เครื่อ งดับ เพลิง ควรอยู่ใ นที่ท่ีเ ห็น ได้ง่า ยใช้ไ ด้ส ะดวกและติด ตัง้ ใน
ลักษณะทีใ่ ช้ได้สะดวก เช่น ควรติดอยูต่ ามผนัง หรือเสา และอยู่สูงจากพืน้ ไม่เกิน 5 ฟุต สาหรับ
เครือ่ งดับเพลิงขนาดไม่เกิน 40 ปอนด์ และไม่เกิน 3.5 ฟุต จากพืน้ สาหรับเครื่องดับเพลิง ขนาด
มากกว่า 40 ปอนด์ ผูค้ วบคุมงานต้องถือเป็ นหน้าทีท่ จ่ี ะต้องดูแลไม่ให้มสี งิ่ ใด ไปขัดขวางการเข้า
ไปใช้เครื่องดับเพลิง บริเวณทีต่ ดิ ตัง้ เครื่องดับเพลิงควรทาสีแดงเพื่อสังเกต เห็นได้ง่าย ควรมี
การตรวจสอบการบารุงรักษาเครื่องดับเพลิงอย่างสม่ าเสมอ เพราะเครื่องดับเพลิงบางชนิดจะ
ต้องมีการบรรจุน้ายาใหม่ทุกๆ ระยะ และการละเลยอาจหมายถึง ความสูญเสียจากอัคคีภยั อย่าง
มหาศาล ดังแสดงการติดตัง้ เครือ่ งดับเพลิงทีถ่ ูกต้อง ดังแสดงในภาพที่ 6.26

ภาพที่ 6.26 การติดตัง้ เครือ่ งดับเพลิง


ทีม่ า: http://www.thailandindustry.com/onlinemag.2559.

สาหรับการตัดสินใจซื้อหรือติดตัง้ เครื่องดับเพลิงชนิดใดยี่ห้อใดเป็ นการตัดสินใจของ


ฝ่ ายจัดการอย่างไรก็ดเี มื่อมีการติดตัง้ เครื่องดับเพลิง ก็ควรจะให้ผขู้ ายอธิบายถึงประโยชน์และ
การใช้เครื่องดับเพลิงนัน้ แก่ผู้ควบคุมงานและพนักงานด้วย เพราะในปั จจุบนั วิวฒ ั นาการของ
เครื่องมือดับเพลิงเจริญขึน้ เรื่อยๆ เครื่องดับเพลิงบางชนิดอาจใช้ได้เฉพาะชนิดของเพลิง บาง
ชนิดอาจใช้ได้กบั เพลิงทุกชนิด เครื่องดับเพลิงบางชนิดอาจจะทาลายผลิตภัณฑ์บางอย่าง เช่น
สิง่ ทอ แต่บางชนิดไม่มปี ฏิกริ ยิ ากับสิง่ ทอ ฯลฯ
395

การป้ องกันอัคคีภยั ในอาคารสูง


สิง่ แรกที่เราควรจะศึกษาและสารวจ เมื่อเราต้องเข้าไปใช้อาคารสูง ไม่ว่าจะเป็ นส่วนที่
พัก อาศัยถาวร โรงแรม หรือที่ทางาน ก็คอื ทางหนีไฟ ซึ่งทางหนีไฟก็คอื เส้นทางที่เราใช้หรือ
ออกจากอาคารเมื่อ เกิดไฟไหม้ข้นึ โดยทางหนีไฟของอาคารสูงจะประกอบด้ว ยส่ ว นสาคัญ
3 ส่วน ได้แก่
1. เส้นทางสู่บนั ไดหนีไฟ เส้นทางบันไดหนีไฟต้องมีการบอกทางให้เห็นชัดเจน
โดยเขีย นรูป ภาพ หรือ สัญ ลัก ษณ์ ท่ีใ ห้เ ข้า ใจเป็ น สากลพร้อ มท าเป็ น ตัว หนั ง หรือ เขีย นทัง้
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อให้คนอ่านได้ทุกภาษาและสัญลักษณ์ตอ้ งมีความชัดเจน
2. บันไดหนีไฟ ต้องมีการติดสัญญาณไฟฉุ กเฉินเพื่อให้มองเห็นง่ายเมื่อเกิด
กรณีไ ฟไหม้ จะได้มองเห็น ทางออกที่เ ป็ นบัน ไดหนี ไฟ และต้อ งมีข นาดตามที่ข้อ กฎหมาย
กาหนด
3. ช่องทางเปิ ดสู่ทางออก ช่องทางการเปิ ดออกประตูหนีไฟจะต้องไม่มสี งิ่ กีด
ขวาง เช่น มีการปิ ดด้วยกล่อง หรือมีการเก็บของกีดขวางช่องทางออกเมื่อมีกรณีไฟไหม้กจ็ ะไม่
สามารถหนีออกได้ และควรมีการทา 5ส. เก็บกวาดให้สะอาดโดยไม่ให้มสี งิ่ ใดกีดขวาง
การป้ อ งกัน อัค คีภ ัย ในอาคารสู . มีค วามจ าเป็ น ต้ อ งปฏิบ ัติต ามกฎหมายความ
ปลอดภัยของโรงงาน และอาคารสูงอย่างเคร่งครัด เพื่อ ทาให้เ กิดความปลอดภัยทัง้ ลู กจ้า ง
นายจ้าง และสถานทีท่ างาน รวมทัง้ ความเสียทีจ่ ะเกิดขึน้ กับองค์การต่อไป

หลักการออกแบบอาคารให้ปลอดภัยจากอัคคีภยั
การป้ องกันและระงับอัคคีภยั ทีม่ ปี ระสิทธิภาพนัน้ จะต้องมีการออกแบบป้ องกันอัคคีภยั
ตัง้ แต่การวางผังการก่อสร้างอาคารโดยแนวคิดสาหรับการวางระบบป้ องกันอัคคีภยั ทีม่ กี ารนามา
ประยุ ก ต์ ใ ช้อ ย่ า งกว้ า งขวางในปั จ จุ บ ัน เป็ น แนวคิด ของ National Fire Protection
Association หรือ NFPA (National Fire Protection Association, Quincy, Massachusetts,
1998) ซึง่ เป็ นแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการกับอัคคีภยั โดยได้กาหนดการแบ่งการจัดการอัคคีภยั
ออกเป็ น 3 ส่วนได้แก่ (1) การควบคุมกระบวนการเผาไหม้ (2) การระงับเมื่อเกิดอัคคีภยั และ
(3) การควบคุ มไฟโดยการออกแบบโครงสร้างที่เ หมาะสม (National Fire Protection
Association.,2000) ซึง่ ในแต่ละส่วนยังมีการจาแนกสิง่ ทีต่ ้องจัดการควบคุมแตกแขนงแยกย่อย
ออกไปคล้ายแผนภูมติ ้นไม้ โดยในแต่ ล ะแขนงมีการก าหนดในสิ่งที่ต้อ งควบคุ มหรือ จัดการ
ร่วมกันหรือสามารถเลือกควบคุมหรือจัดการอีกสิง่ หนึ่งแทนได้ซง่ึ สามารถอธิบายในแต่ละส่วนได้
ดังนี้
ส่ วนที่ 1 การควบคุมกระบวนการเผาไหม้จะต้องมีการควบคุมที่เชื้อเพลิงและควบคุม
สภาพแวดล้อมในบริเ วณนัน้ ควบคู่กนั ซึง่ การควบคุมกระบวนการเผาไหม้ก็จะต้องมีการมีการ
ควบคุมคุณสมบัตขิ องเชือ้ เพลิง การควบคุมปริมาณเชื้อเพลิง และการควบคุมการแพร่กระจาย
396

ของเชื้อ เพลิง ร่ว มกัน ไป โดยในส่ ว นของการควบคุ ม สภาพแวดล้อ มก็จ ะต้อ งมีก ารควบคุ ม
สภาพแวดล้อมทางกายภาพร่วมกับทางเคมี
ส่วนที่ 2 การระงับอัคคีภยั จะต้องมีการดาเนินงาน 2 ส่วนร่วมกัน คือ การใช้ระบบระงับ
อัคคีภยั อัตโนมัตซิ ง่ึ อาจจะใช้ระบบตรวจจับไฟ หรือใช้อุปกรณ์ระงับอัคคีภยั ทีเ่ พียงพอ และการ
ใช้ระบบระงับอัคคีภยั ด้วยมือซึง่ อาจจะเลือกระบบการตรวจจับไฟ ระบบสัญญาณเตือนภัย การ
ดาเนินการตามข้อกาหนด การตอบสนองภายในพืน้ ที่ การใช้อุปกรณ์ระงับอัคคีภยั ทีเ่ พียงพอซึง่
เราสามารถเลือกการจัดการในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือหลายรูปแบบพร้อมกันก็ได้
ส่วนที่ 3 การควบคุมไฟโดยการออกแบบโครงสร้างทีเ่ หมาะสม โดยสามารถเลือกการ
ดาเนินการควบคุมโดยการจัดให้มโี ครงสร้างที่มเี สถียรภาพ เช่นการสร้างกาแพงทนไฟ การใช้
วัสดุทนไฟหรือการควบคุมการเคลื่อนทีข่ องไฟ ซึ่งในกรณีทเ่ี ลือกการควบคุมการเคลื่อนทีข่ อง
ไฟจะต้องควบคุมทิศทางลมของไฟและควบคุมขอบเขตของไฟให้ได้ดว้ ย
ประเทศไทยมีแ นวความคิด ในการน าการออกแบบทางด้า นสถาปั ต ยกรรมกับ การ
ป้ องกันอัคคีภยั ผนวกไว้รว่ มกัน ซึง่ จะแบ่งเป็ น 2 ส่วน คือ (เกชา ธีระโกเมน, 2545, หน้า 20)
(1) การออกแบบเพื่อการป้ องกันอัคคีภยั เชิงรุก (Active) และ
(2) การออกแบบเพื่อ ป้ อ งกันอัค คีภ ัยเชิง รับ (Passive) เป็ น การออกแบบเพื่อ การ
ป้ องกันอัคคีภยั เชิงรุกจะประกอบด้วย การแบ่งส่วนพืน้ ทีอ่ าคารให้เหมาะแก่การใช้งาน การสร้าง
เส้นทางหนีไฟให้เหมาะสมและเป็ นไปตามมาตรฐาน การปิ ดในส่วนของช่องเปิ ดต่างๆ ของตัว
อาคาร เช่น ช่องลิฟท์ ช่องระบายอากาศเพื่อไม่ให้ไฟลุกลามผ่านไปยังส่วนอื่นของอาคาร ส่วน
การออกแบบเพื่อป้ องกันอัคคีภยั เชิงรับ ได้แก่การติดตัง้ ระบบเฝ้ าระวังอัคคีภยั เช่น อุปกรณ์แจ้ง
เหตุเพลิงไฟชนิดต่างๆ ตามความเหมาะสมการติดตัง้ ระบบป้ องกันอัคคีภยั เช่น ระบบดับเพลิง
แบบหัวกระจายน้ าดับเพลิง และการติดตัง้ ระบบควบคุมควันไฟไม่ให้แพร่กระจายไปยังส่วน
พืน้ ทีป่ ลอดภัย เช่น ระบบอัดอากาศเข้าสู่บนั ไดหนีไฟ ซึง่ แสดงให้เห็นได้ในภาพที่ 6.27
397

Fire Safety

Passive Active

Fire Mean of Fire Seal Fire Fire Smoke


Compartment Egress Monitoring Protection Control

ภาพที่ 6.27 การออกแบบทางด้านสถาปั ตยกรรมกับการป้ องกันอัคคีภยั


ทีม่ า: เกชา ธีระโกเมน, 2545, หน้า 20.

จากภาพที่ 6.27 หลักการออกแบบอาคารให้ปลอดภัยจากอัคคีภยั โดยแนวความคิดใน


การนาการออกแบบทางด้านสถาปั ตยกรรมกับการป้ องกันอัคคีภยั มีลกั ษณะ 2 ส่วน คือ การ
ออกแบบเพื่อ การป้ อ งกันอัค คีภยั เชิงรุก (Active) และ การออกแบบเพื่อ ป้ อ งกันอัค คีภยั เชิง
รับ (Passive) สามารถอธิบายในรายละเอียดได้ ดังนี้
1.1 การป้ องกันอัคคี ภยั เชิ งรับ (Passive Fire Safety) เป็ นการเน้นการป้ อ งกันใน
ส่วนของการออกแบบโครงสร้างอาคารเพื่อจากัดการลุกลามของไฟ
1.1.1 ควบคุมการเกิดควันไฟและการกระจายตัวของควันไฟ เพื่อระบายควัน
ไฟออกนอกบริเวณขณะเกิดเพลิงไหม้อาคาร ลดหรือป้ องกันการแพร่กระจายของควัน ด้วยการ
ออกแบบการใช้งาน การติดตัง้ การทดสอบ และซ่อมบารุงระบบรวมถึงการเพิม่ เติมอุปกรณ์
ให้แก่ระบบปรับอากาศและระบบหัวกระจายน้ าในระบบดับเพลิงให้ทางานร่วมกับระบบควบคุม
ควันไฟได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.1.2 การป้ องกันการลามไฟเมื่ออพยพหนีไฟให้เป็ นไปอย่างปลอดภัยโดยที่
ผนังปิ ดล้อมพืน้ ทีต่ อ้ งมีอตั ราทนไฟ 2 ชัวโมง
่ และมีระบบอัดอากาศเพื่อป้ องกันการแพร่กระจาย
เข้ามาในพื้นที่ปิดล้อ มมีค วามดันขณะใช้งานไม่น้อ ยกว่า 38.6 ปาสคาล โดยมีการพิจารณา
ความเร็วอากาศที่ผ่านประตูหนีไฟเพื่อป้ องกันควันย้อนกลับ โดยให้อาคารทีม่ รี ะบบหัวกระจาย
น้ าดับเพลิง มีความเร็วอากาศที่ผ่านประตูต่ าสุดที่ยอมได้คอื 0.30 เมตรต่อวินาที และอาคารที่
ไม่ ม ี ร ะบบหั ว กระจายน้ าดั บ เพลิ ง มี ค วามเร็ ว อากาศที่ ผ่ า นประตู ต่ าสุ ด ที่ ย อ มได้
เท่ากับ 0.80 เมตรต่ อ วินาที ในขณะที่ค วามเร็ว ของอากาศที่จ่ายออกจากช่อ งท่อ อัดอากาศ
398

จะต้อ งอยู่ใ นช่วง 2-3 เมตรต่อวินาที วัสดุท่ใี ช้ในงานท่อ ลมทัง้ หมดจะต้องไม่ติดไฟ และวัส ดุ
จะต้องมีค่าอุณหภูมขิ องการหลอมละลายไม่น้อยกว่า 1,000 องศาเซลเซียส
1.1.3 การใช้วสั ดุประเภทไม่ลามไฟหรือสร้างความเสถียรภาพของโครงสร้าง
เป็ นวัสดุประเภทป้ องกันโครงสร้างของอาคารขณะเกิดเพลิงไหม้ ไม่ให้เกิดการแตกร้าว การ
ทลายตัวเป็ นการเลือกวัสดุของสร้างอาคารให้มโี ครงสร้างทนไฟตัง้ แต่เริม่ การออกแบบ
1.2 การป้ องกันอัคคีภยั เชิ งรุก (Active Fire Safety) เป็ นการป้ องกันอัคคีภยั เมื่อไฟ
ได้เกิดขึน้ แล้ว ซึง่ จะต้องมีการติดตัง้ อุปกรณ์การเฝ้ าระวัง อุปกรณ์การป้ องกันการลุกลามของไฟ
และอุปกรณ์สาหรับการควบคุมควันไฟ
1.2.1 ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้นัน้ ความสามารถของอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้
จะจาแนกตามระยะเวลาของการเกิดไฟเริม่ ต้นตัง้ แต่การเป็ นสถานะของเชือ้ เพลิงทีเ่ ป็ นของแข็ง
กลายเป็ นเชื้อเพลิงที่อยู่ในสถานะก๊าซ จากนัน้ ควันไฟจะก่อตัวขึน้ ต่อมาจะเกิดเปลวไฟ และใน
ทีส่ ุดจะเกิดความร้อนจากเปลวไฟแพร่กระจายออกไปดังแสดงในภาพที่ 6.28

ภาพที่ 6.28 ขัน้ ตอนการเกิดไฟซึง่ จะเป็ นตัวกาหนดอุปกรณ์ตรวจจับของไฟ


ทีม่ า: National Fire Protection Association (1999).
399

จากภาพ 58 เมื่อมีเหตุการณ์เกิดไฟไหม้ ไฟจะลุกขึน้ ตามลาดับขัน้ ตอนในการเกิดไฟ


ซึง่ สามารถแบ่งระยะเวลาการเกิดไฟเป็ น 4 ระยะคือ
ระยะที่ 1 ระยะเริ่ มต้น (Incipient Stage) ซึง่ ระยะนี้จะไม่สามารถมองเห็นอนุ ภาคของ
ควัน ควันไฟ เปลวไฟ และจะไม่รู้ส ึกถึงความร้อ น อุ ปกรณ์ ตรวจจับที่เหมาะสมคือ อุ ปกรณ์
ตรวจจับไอออน และก๊าซจากการเผาไหม้
ระยะที่ 2 ระยะเกิ ดควัน (Smoldering Stage) ซึง่ ระยะนี้เราไม่สามารถมองเห็นเปลว
และจะไม่รู้ส ึก ถึงความร้อ น แต่ จะมองเห็นควันไฟ อุ ปกรณ์ ตรวจจับที่เ หมาะสมคือ อุ ปกรณ์
ตรวจจับควันไฟ
ระยะที่ 3 ระยะเกิ ดเปลวไฟ (Flame Stage) ซึง่ ระยะนี้เราสามารถมองเห็น เปลวไฟ
ควันไฟ และเริม่ รูส้ กึ ถึงความร้อน อุปกรณ์ตรวจจับทีเ่ หมาะสมคือ อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ
ระยะที่ 4 ระยะเกิ ดความร้อน (Heat Stage) ซึง่ ระยะนี้เราสามารถมองเห็นเปลวไฟ
ควันไฟ จะไม่สามารถควบคุมความร้อนได้ อากาศร้อนจะแผ่ขยายตัวออกไป อุปกรณ์ตรวจจับที่
เหมาะสมคือ อุ ป กรณ์ ต รวจจับความร้อ น Incipient Stage Smoldering Stage Flame
Stage Heat Stage
2.2.2 ระบบดับเพลิงอัตโนมัตซิ ง่ึ เป็ นระบบทีใ่ ช้ระงับไฟเมือ่ เกิดเพลิงไฟขึน้ โดย
ปกติอุปกรณ์ทส่ี าคัญในระบบนี้คอื หัวกระจายน้าดับเพลิง
2.2.3 ระบบควบคุ ม ควัน เนื่ อ งจากควัน ไฟเป็ นสาเหตุ ส าคัญ ที่สุ ด ที่ท าให้
เสียชีวติ ขนาดเกิดเพลิงไฟ จึงต้องมีระบบควบคุมควันไฟ เพื่อระบายควันไฟไปยังพืน้ ทีท่ ไ่ี ม่เป็ น
อันตรายต่อชีวติ
อาคารที่ปลอดภัย
องค์ประกอบสาคัญทีเ่ กีย่ วกับความปลอดภัยของอาคาร ได้แก่
การทนไฟ อาคารที่ปลอดภัยควรจะมีโครงสร้างหลักที่มคี วามสามารถในการทนไฟได้
โดยไม่พงั ทลาย ได้ไม่ น้อยกว่า 2 ชัวโมง ่ และควรจะใช้ วัสดุประกอบอาคารที่ไม่ตดิ ไฟ และไม่
ก่อให้เกิดก๊าชพิษเมื่อไฟเผา หากมีพน้ื ทีเ่ ก็บสารอันตรายควรจะมีผนังกันไฟที่สามารถทนไฟได้
ไม่น้อยกว่า 4 ชัวโมง
่ ซึง่ สามารถอธิบายได้ตามลักษณะของการเกิดอัคคีภยั ในอาคารโดยแยก
ลักษณะของการผนังกันไฟได้ดงั นี้
(1) การทนไฟ มาจากคาว่า Fire Rating หรืออัตราการทนไฟ เชน 1.5 ชัวโมง ่
2 ชัวโมง
่ หรือ 4 ชัวโมง ่
(2) การติด ไฟ มาจากค าว่ า Combustible ถ้ า วัส ดุ ติด ไฟได้ เรีย กว่ า
Combustible Material
400

(3) วัสดุทนไฟ มาจากคาว่า Fire Resistant Material แต่วสั ดุทถ่ี ูกไฟแล้วดับได้


เอง เรียกว่า Self Extinguished Material หรือชนิดที่ไม่ลามไฟจะเรียกว่า Fire Retardant
Material
(4) สารไวไฟ มาจากคาว่า Flammable เชน Flammable Liquid พวกน้ ามัน
แอลกอฮอล์ เป็ นต้น
(5) วัสดุอุดกันไฟ มาจากคาว่า Fire Seal หมายถึงสารทีใ่ ช้อุดช่องว่างระหว่าง
พืน้ หรือผนังกันไฟ เพื่อป้ องกันไฟลาม
ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิ งไหม้ (Fire Alarm System)
ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ หมายความว่า เครื่องตรวจจับควันหรือความร้อน
หรือ เปลวไฟที่ทางานโดยอัตโนมัติ และอุ ปกรณ์ แจ้งเหตุเ พลิงไหม้แบบกดหรือดึง เพื่อ ให้
สัญญาณเตือนภัย ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ มีส่วนประกอบหลักทีส่ าคัญคือ
1. อุปกรณ์แจ้งเหตุ เพลิงไหม้
2. ตูค้ วบคุมระบบ
3. อุปกรณ์เตือนภัย
โดยแต่ละส่วนประกอบเชื่อมต่อกัน ด้วยสายสัญญาณไฟฟ้ า ซึง่ ระบบจะทางานตรวจจับ
เพลิงไหม้และส่งสัญญาณเตือนภัย เพื่อให้ ผู้อยู่ภายในอาคารอพยพออกไปนอกอาคารหรือ
อพยพไปยังพืน้ ทีท่ ป่ี ลอดภัยซึง่ มีการกาหนดไว้
ในขณะทีเ่ มื่อเกิดไฟไหม้ ความสาคัญของ “เวลา” เมื่อเริม่ เกิดไฟจนขยายตัวกลายเป็ น
อัคคีภยั สามารถใช้เวลาเพียงไม่ก่นี าทีเท่านัน้ เอง ดังนัน้ ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ หรือที่
เรียกว่า Fire Alarm System หรือ Fire Monitoring System จึงถือว่าเป็ นระบบที่มคี วามสาคัญ
เนื่องจากเป็ นระบบที่จะทาหน้าที่เตือนที่ เรียกว่า Early Warning คือเตือนเมื่อแรกเกิดอัคคีภยั
ในปั จจุบนั ระบบนี้ ยงั ได้มกี ารพัฒนาให้สามารถทางานร่วมกับ ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ
ระบบประกาศเหตุฉุกเฉินระบบสอสารสาหรับพนักงานดับเพลิงด้วย อุปกรณ์หลักในระบบนี้คอื
อุปกรณ์ตรวจจับเพลิง (Fire Detector) ซึง่ ทัง้ ชนิดทีท่ างานโดยอาศัยอุณหภูมคิ วามร้อน (Heat
Detector) และ ชนิดทีท่ างานโดยอาศัยควันไฟ (Smoke Detector) นอกจากนี้ยงั อาจจะมีชนิด
พิเศษอื่น ๆ เช่น ชนิดที่ตรวจจับรังสีความร้อนอินฟราเรด (Infrared Detector) ระบบสัญญาณ
แจ้งเหตุเพลิงไหม้ ได้แสดงไว้ในภาพที่ 6.29
401

ภาพที่ 6.29 แสดงอุปกรณ์ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search, 2560.

แผนป้ องกันและระงับอัคคีภยั
ในสถานประกอบการย่อ มต้อ งมีแผนป้ องกันและระงับอัค คีภยั ตามกฎหมายก าหนด
ประกอบด้วย
1. แผนการตรวจตรา
2. แผนการอบรม
3. แผนการรณรงค์ป้องกันอัคคีภยั
4. แผนการดับเพลิง
5. แผนอพยพหนีไฟ
6. แผนบรรเทาทุกข์
1. แผนการตรวจตรา เป็ นแผนการสารวจความเสีย่ งและตรวจตรา เพื่อเฝ้ า
ระวังป้ อ งกันและขจัด ต้น เหตุ ของการเกิด เพลิง ไหม้ ก่ อ นจัดท าแผนควรมีข้อ มูล ต่ า ง ๆ
ดังต่อไปนี้เชือ้ เพลิง สารเคมีสารไวไฟ ระบบไฟฟ้ าจุดทีม่ โี อกาสเสีย่ ง ต่อการเกิดเพลิงไหม้ และ
ต้องมีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ คุณสมบัตลิ กั ษณะการลุกไหม้ ปริมาณของสารอันตราย ทีม่ อี ยู่
สูงสุด ชนิดของสารดับเพลิงและปริมาณทีต่ ้องใช้เพื่อประกอบการวางแผน การตรวจตรา ควรมี
การกาหนดบุคคล พืน้ ทีท่ ่รี บั ผิดชอบ หัวข้อและจุดที่ต้องตรวจ ระยะเวลา ความถี่ผตู้ รวจสอบ
รายงาน การส่งรายงานผล การแจ้งข้อบกพร่องในการตรวจตราทีช่ ดั เจน
402

ตัวอย่างของหัวข้อทีค่ วรตรวจตรา เช่น


1.1 จุดทีเ่ สีย่ งต่อการเกิดเหตุเพลิงไหม้
1.2 การใช้และการเก็บวัตถุไวไฟ
1.3 วัสดุสงิ่ ของเสียทีต่ ดิ ไฟง่าย
1.4 เชือ้ เพลิง
1.5 แหล่งความร้อนต่าง ๆ
1.6 อุปกรณ์ดบั เพลิง
1.7 ทางหนีไฟ
2. แผนการอบรม เป็ นการอบรมให้ความรูก้ บั พนักงานทัง้ ในเชิงป้ องกันและ
การปฏิบตั เิ มือ่ เกิดเหตุ ซึง่ การเกิด อัคคีภยั ภายในสถานประกอบการ ย่อมนามาซึง่ ความสูญเสีย
ต่อธุรกิจการค้าทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็ น ทรัพย์สนิ เสียหาย การผลิต การบริการ
หยุดชะงัก เสียโอกาสการขาย หรืออาจถึงขัน้ มีผู้ท่ไี ด้รบั บาดเจ็บหรือเสียชีวติ ดังนัน้ ในการ
ป้ องกันและลดความเสีย่ งด้านการเกิดอัคคีภยั จึงจาเป็ นต้องจัดให้มแี ผนการอบรม โดยกาหนด
ผูร้ บั ผิดชอบ ระยะเวลาดาเนินการ และงบประมาณให้ชดั เจน
ตัวอย่างของหลักสูตรทีต่ อ้ งจัดทาในแผนการอบรม เช่น
2.1 การจัดฝึกอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้นให้กบั พนักงาน
2.2 การฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ
ตัวอย่างของหลักสูตรทีค่ วรจัดทาในแผนการอบรม เช่น
2.3 การปฐมพยาบาล
2.4 การผายปอดและนวดหัวใจ
3. แผนการรณรงค์ป้องกันอัคคีภยั แผนการรณรงค์ป้องกันอัคคีภยั เป็ นแผน
เพื่อป้ องกันการเกิดอัคคีภยั ในสถานประกอบการ โดยเป็ นการสร้างความสนใจ และส่งเสริมใน
เรื่องการป้ องกันอัคคีภยั ให้เกิดขึน้ ในทุกระดับของพนักงาน ในแผนการรณรงค์ป้องกันอัคคีภยั
ควรกาหนดผูร้ บั ผิดชอบ ระยะเวลาดาเนินการ และงบประมาณให้ชดั เจน ตัวอย่างหัวข้อทีจ่ ะทา
การรณรงค์ป้องกันอัคคีภยั เช่น
3.1 กิจกรรม 5 ส.
3.2 การลดการสูบบุหรี่
3.3 การจัดนิทรรศการ
3.4 จัดทาโปสเตอร์
3.5 การใช้ส่อื ต่าง ๆ
403

4. แผนการดับเพลิ ง สถานประกอบการจะต้องมีการเขียนแผนการดับเพลิงให้
ถูกต้องชัดเจนสอดคล้องกับกฎหมายกาหนด หรือเป็ นไปตามกฎหมายความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
แผนป้ อ งกันและระงับอัค คีภยั จาเป็ นต้อ งมีก ารจัดทาแผนเพื่ อ ให้มกี ารเตรียมความ
พร้อมรองรับสิง่ ที่จะเกิดขึน้ ให้สามารถมีประสิทธิภาพและเป็ นไปตามกฎหมายกาหนด ได้แก่
แผนการตรวจตรา แผนการอบรม แผนการรณรงค์ป้อ งกัน อัค คีภยั แผนอพยพหนี ไฟ และ
แผนการดับเพลิง เป็ นต้น
402

แผนการดับเพลิ ง
ตัวอย่างลาดับขัน้ ตอนการปฏิบตั เิ มือ่ พนักงานพบเหตุเพลิงไหม้

เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย
ในการทางาน ผูอ้ านวยการดับเพลิง
ระดับวิชาชีพ หรือผูจ้ ดั การโรงงาน
แจ้ง หรือผูร้ บั ผิดชอบ

ให้รายงาน รายงาน รายงาน


ถ้าดับได้ ผูบ้ งั คับบัญชา หัวหน้าหน่ วย หัวหน้าแผนก ผูจ้ ดั การฝ่ าย
ตามลาดับขัน้

พนักงาน แจ้งเพื่อนร่วมงาน
ทีพ่ บเหตุ ดับได้ แจ้ง
หรือหัวหน้างาน
เพลิงไหม้ และเข้าดับเพลิงทันที

- ใช้แผนปฏิบตั กิ ารระงับ ผูอ้ านวยการดับเพลิง


เหตุเพลิงไหม้ขนั ้ ต้น หรือผูจ้ ดั การโรงงาน
ถ้าดับไม่ได้ - แจ้งประชาสัมพันธ์ ถ้าดับไม่ได้ ตัดสินใจแจ้งหน่ วยงาน
- แจ้งเจ้าหน้าทีค่ วาม ดับเพลิงจากภายนอก
ปลอดภัยในการทางาน หรือใช้แผนปฏิบตั กิ าร
รายงาน
ระดับวิชาชีพหรือ เมื่อเกิดเหตุขนั ้ รุนแรง
ผูร้ บั ผิดชอบ (ถ้ามี)
403

ตัวอย่าง
การกาหนดตัวบุคคลและหน้าที่เพื่อระงับเหตุเพลิงไหม้ขนั ้ ต้น

ฝ่ าย / แผนก..........................................................
บริเวณ................................................................. หัวหน้าชุดดับเพลิงขัน้ ต้น
ชุด........................................................................ ชื่อ........................................................................

พนักงานทีป่ ฏิบตั งิ านอื่น


ในขณะเกิดเพลิงไหม้ พนักงานผจญเพลิงขัน้ ต้น

ผูร้ บั ผิดชอบ 1. ชื่อ................................................................. ผูร้ บั ผิดชอบ 1. ชื่อ.................................................................


2.ชื่อ................................................................. 2.ชื่อ..................................................................
3.ชื่อ................................................................. 3.ชื่อ..................................................................
หน้าที่ 1....................................................................................... หน้าที่ 1........................................................................................
2...................................................................................... 2.......................................................................................
3...................................................................................... 3.......................................................................................
หมายเหตุ ๑. พนักงานทีป่ ฏิบตั งิ านอื่นในขณะเกิดเหตุเพลิงไหม้ หมายถึง ผูค้ วบคุมเครื่องจักร ผูค้ วบคุมไฟฟ้ า ทีมควบคุมหรือสูบน้ าดับเพลิง เป็ นต้น
ซึง่ จะต้องกาหนดตามความจาเป็ นของสถานประกอบการ
๒. หน้าทีใ่ ห้ระบุตามทีก่ าหนดให้ปฏิบตั งิ านในขณะเกิดเพลิงไหม้ เช่น ปฏิบตั งิ านควบคุมเครื่องจักร ควบคุมไฟฟ้ า ควบคุมเครื่องสูบน้ าดับเพลิง
404

ตัวอย่าง โครงสร้างหน่วยงานป้ องกันระงับอัคคีภยั เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ขนั ้ รุนแรง (ถ้ามี)

ผูอ้ านวยการดับเพลิง
ชื่อ........................................

ฝ่ ายไฟฟ้ า ฝ่ ายปฏิบตั กิ าร ฝ่ ายสื่อสารและประสานงาน ฝ่ ายเคลื่อนย้ายภายใน ภายนอก ฝ่ ายส่งเสริมปฏิบตั กิ าร


ชื่อ.............................. ชื่อ............................ ชื่อ..................................... ชื่อ........................................... ชื่อ.........................................

พนักงาน หน่ วยดับเพลิง


หน่ วยจัดหาและ หน่ วยสนับสนุ น หน่ วยยาม หน่ วยเดินเครื่อง หน่ วยดับเพลิง
ควบคุมเครื่อง ชื่อ.........................
สนับสนุนการดับเพลิง ชื่อ................... รักษาการณ์ สูบน้ าฉุกเฉิน จากพืน้ ทีอ่ ่นื
ชื่อ.......................
ชื่อ............................ ชื่อ.................. ชื่อ................... ชื่อ..................

ช่วยชีวติ ยานพาหนะ ช่วยชีวติ ยานพาหนะ


ชื่อ...................... ชื่อ.................. ชื่อ........................ ชื่อ........................
ชื่อ..................... ชื่อ.................. ชื่อ........................ ชื่อ........................

หมายเหตุ 1. การปฏิบตั ติ ามแผนปฏิบตั กิ ารเต็มรูปแบบนี้จะใช้เมือ่ เกิดเพลิงไหม้อย่างรุนแรง


2. การเกิดเพลิงไหม้ภายในพืน้ ทีต่ ่าง ๆ เพียงเล็กน้อย ให้หวั หน้าแผนกดาเนินการสังการดั
่ บเพลิงตามแผนการปฏิบตั กิ ารเมือ่ เกิดเพลิง ไหม้ขนต้
ั ้ นและโทรศัพท์แจ้งศูนย์รวม ข่าวและสือ่ สาร
หรือผูอ้ านวยการดับเพลิง หรือเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ
405

หน้ าที่ ของผู้ปฏิ บตั ิ งานตามโครงสร้างหน่ วยงานป้ องกันระงับอัคคี ภยั เมื่อเกิ ดเหตุเพลิ ง
ไหม้ขนั ้ รุนแรง (ถ้ามี)
ผู้ปฏิ บตั ิ งาน หน้ าที่รบั ผิดชอบ
ผูอ้ านวยการดับเพลิง ให้ปฏิ บตั ิ ดงั นี้
1. รับฟังรายการต่าง ๆ เพือ่ สังการการใช้ ่ แผนต่าง ๆ
2. ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง
3. รายงานผลการเกิดเพลิงไหม้ตอ่ ผูบ้ งั คับบัญชาระดับสูงขึน้ ไป
4. ให้ขา่ วแก่สอ่ื มวลชน
ฝ่ ายไฟฟ้ า ให้ปฏิ บตั ิ ดงั นี้
1. เมื่อเกิดเพลิงไหม้ให้รบี เข้าไปที่เกิดเหตุ เพื่อรับคาสังตั ่ ดไฟ จากฝ่ าย
ปฏิบตั กิ าร
2. รับคาสังจากผู
่ อ้ านวยการดับเพลิง
ฝ่ ายปฏิ บตั ิ การ หัวหน้ าฝ่ ายปฏิ บตั ิ การให้ถือปฏิ บตั ิ ดงั นี้
1. เมื่อเกิดเพลิงไหม้ในพืน้ ที่ให้หวั หน้าฝ่ ายปฏิบตั กิ ารแยกชุด ปฏิบตั กิ าร
ออกเป็ น 2 ชุด คือ (1) ชุดควบคุมเครื่องจักร และ (2) ชุดดับเพลิง
1.1 ชุดควบคุมเครื่องจัก ร เมื่อเกิดเพลิงไหม้ในพืน้ ที่ใด ให้ชุดควบคุม
เครื่องจักร ทาการควบคุมเครื่องจักรให้ทางานต่อไปจนกว่าจะได้รบั คาสังให้ ่
หยุด เครื่องจากหัวหน้าฝ่ ายปฏิบตั กิ ารกรณีท่ี ไมสามารถเดินเครื่อง หรือ
ได้รบั คาสังให้
่ หยุดเครื่องให้ชุดควบคุมเครื่องจักรไปช่วยทาการ ดับเพลิง
1.2 ชุดดับเพลิง เมื่อเกิดเพลิงไหม้ในพืน้ ทีต่ วั เองไม่ว่ามากหรือน้อย ชุด
ปฏิบตั ิก ารชุด นี้จ ะแยกตัว ออกจากการควบคุมเครื่องจัก ร ออกทาการ
ดับเพลิงโดยทันทีทเ่ี กิดเพลิงไหม้โดยไม่ตอ้ ง หยุดเครื่องและ ให้ปฏิบตั กิ าร
ภายใต้คาสังของหั ่ วหน้าฝ่ าย ปฏิบตั กิ ารในพืน้ ที่ ใน การปฏิบตั กิ ารหาก
จาเป็ นต้องขอ ความช่วยเหลือจากหน่วยอื่นให้หวั หน้าฝ่ ายปฏิบตั ิการ สัง่
ดาเนินการ
2. ทันทีทท่ี ราบเหตุเพลิงไหม้ในพืน้ ทีข่ องตัวเอง ให้แจ้งข่าว โทรศัพท์ถงึ เข้า
หน้าทีค่ วามปลอดภัยถึงผูอ้ านวยการดับเพลิง และโทรศัพท์แจ้งศูนย์รวม
ข่าว
ฝ่ ายสื่อสารและประสานงาน ให้ปฏิ บตั ิ ดงั นี้
1. คอยช่วยเหลือประสานงานระหว่างบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง
2. รับคาสังจากผู ่ อ้ านวยการดับเพลิงและติดต่อผ่านศูนย์รวมข่าว
3. สังการแทนผู
่ อ้ านวยการดับเพลิง ถ้าได้รบั มอบหมาย
ห น่ ว ย จั ด ห า แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ใ น ก า ร ให้เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยคอยช่วยเหลือดังนี้
ดับเพลิง 1. คอยช่วยเหลือประสานงานระหว่างผูอ้ านวยการดับเพลิง ยามรักษาการณ์
- ผูป้ ระสานงาน และผูเ้ กีย่ วข้อง
2. คอยรับ-ส่งคาสังจากผู ่ อ้ านวยการดับเพลิงในการติดต่อ ศูนย์ขา่ ว
3. สังการแทนผู
่ ้อ านวยการดับเพลิง ในกรณีท่ีผู้อ านวยการ ดับเพลิง
มอบหมาย
406

หน้ าที่ ของผู้ปฏิ บตั ิ งานตามโครงสร้างหน่ วยงานป้ องกันระงับอัคคี ภยั เมื่อเกิ ดเหตุเพลิ ง
ไหม้ขนั ้ รุนแรง (ถ้ามี) (ต่อ)
ผู้ปฏิ บตั ิ งาน หน้ าที่รบั ผิดชอบ
- ยามรักษาการณ์ 1. ให้รบี ไปยังจุดเกิดเหตุคอยรับคาสั ่งจากผู้อานวยการดับเพลิง และ
หัวหน้าฝ่ ายประสานงาน
2. ป้ องกันมิให้บุคคลภายนอกที่ไม่ม ีหน้ าที่เกี่ยวข้องเข้าก่อ น ได้รบั
อนุญาต
3. ควบคุมป้ องกันทรัพย์สนิ ทีฝ่ ่ ายเคลื่อนย้ายนามาเก็บไว้
ฝ่ ายเคลื่อนย้ายภายใน - ภายนอก 1. ให้รบั ผิดชอบในการกาหนดจุดปลอดภัยอัคคีภยั ในการเก็บ วัสดุ
ครุภณั ฑ์
2. อานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายขนส่งวัสดุครุภณ ั ฑ์
3. จัดยานพาหนะและอุปกรณ์ขนย้าย
ฝ่ ายส่งเสริมปฏิ บตั ิ การ ให้ปฏิ บตั ิ ดงั นี้
- หน่วยติดต่อดับเพลิงจากพืน้ ทีอ่ ่นื 1. ให้แจ้งสัญญาณ SAFETY ORDER SYSTEM (SOS)
2. พนักงานที่ทราบเหตุเพลิงไหม้และต้องการเข้ามาช่วยเหลือ ดับเพลิง
ให้รายงานตัวต่อผูอ้ านวยการดับเพลิงเพื่อทาการ แบ่งเป็ นชุดช่วยเหลือ
ส่งเสริมการปฏิบตั งิ าน
3. สาหรับการเกิดอัคคีภยั ในบริเวณเครื่องจักร ชุดดับเพลิง ควรมาจาก
ชุดดับเพลิงในสถานทีน่ นั ้ ผูท้ ่มี าช่วยเหลือควร ช่วยเหลือในการลาเลียง
อุปกรณ์ดบั เพลิง
4. คอยคาสั ่งจากผูอ้ านวยการดับเพลิง ให้คอยอยูบ่ ริเวณทีเ่ กิด เพลิงไหม้
- หน่วยเดินเครื่องสูบน้ าฉุกเฉิน ให้ปฏิ บตั ิ ดงั นี้
1. ให้เดินเครื่องสูบน้ าดับเพลิงทันทีทไ่ี ด้รบั แจ้งเหตุเพลิงไหม้
2. ทาการควบคุมดูแลเครื่องสูบน้ าดับเพลิงขณะทีเ่ กิดเพลิงไหม้
3. ในเวลาปกติให้ตรวจสอบเครื่องมือ อุปกรณ์ ใช้งานตาม รายการ
ตรวจเช็ค
ศูนย์รวมข่าว / สื่อสาร ให้ปฏิ บตั ิ ดงั นี้
1. เมื่อทราบข่าวเกิดเพลิงไหม้จะต้องทาการตรวจสอบข่าว
2. แจ้งเหตุเพลิงไหม้
3. ติดตามข่าว แจ้งข่าวเป็ นระยะ
4. ติดต่อขอความช่วยเหลือ (ถ้ามีการสื่อสาร)
5. แจ้งข่าวอีกครัง้ เมื่อเพลิงสงบ
ทีม่ า: กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน, 2541.
407

ตัวอย่างผูร้ บั ผิดชอบในตาแหน่ งต่ าง ๆ ตามผูป้ ฏิ บตั ิ งาน


ตามโครงสร้างหน่วยงานป้ องกันระงับอัคคีภยั เมือ่ เกิดเหตุเพลิงไหม้ขนั ้ รุนแรง (ถ้ามี)
ตาแหน่ ง เวลาปกติ (วันธรรมดา) นอกเวลาปกติ (วันธรรมดา) วันหยุด
08.00-17.00 น. 17.00-08.00 น. 08.00-24.00-08.00 น.
1. ผูอ้ านวยการดับเพลิง - ผูอ้ านวยการฝ่ าย - หัวหน้าแผนก/หน่วย ประจา - หัวหน้าแผนก/หน่วย ประจาพืน้ ที่
2. หัวหน้าฝ่ ายไฟฟ้ า ปฏิบตั กิ าร หรือผูไ้ ด้รบั พืน้ ทีห่ รือใกล้เคียง หรือใกล้เคียง
มอบหมาย - พนักงานนอนเวร........ - พนักงานนอนเวร.....
- หัวหน้าแผนกไฟฟ้ า
3. หัวหน้าฝ่ าย - ผูจ้ ดั การฝ่ ายโรงงานหรือ - ....................................... - .......................................
ปฏิบตั กิ าร ผูไ้ ด้รบั มอบหมาย - พนักงานคุมเครื่องจักรปกติ - พนักงานคุมเครื่องจักรปกติ
- หน่วยคุม เครื่องจักร -พนักงานคุมเครื่องจักร - ทีม Emergency Response - ทีม Emergency Response
ปกติ ………………………… …………………………
- ทีม Emergency …………………………
Response
4. หัวหน้าฝ่ ายสือ่ สาร - ผูจ้ ดั การฝ่ ายบุคคลหรือ - ........................................ - .........................................
และประสานงาน ผูร้ บั มอบหมาย - ทีมปฐมพยาบาล - ทีมปฐมพยาบาล
- หน่วยสนับสนุ น - พยาบาลประจาบริษทั - พนักงานขับรถพยาบาล - พนักงานขับรถพยาบาล
- พยาบาล - พนักงานขับรถ พยาบาล -…………………………. -…………………………
- เจ้าหน้าทีย่ านพาหนะ - พนักงานรับโทรศัพท์
- เจ้าหน้าทีศ่ นู ย์ รวม - เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย
ข่าวและสือ่ สาร (อยูร่ ะหว่างการรอ
- หน่วยจัดหาและ อุปกรณ์ดบั เพลิง)
สนับสนุนการ ดับเพลิง - หัวหน้าฝ่ ายปฏิบตั กิ าร
- ผูป้ ระสานงาน (ตอนต้น) จป. (เมื่อไปถึง
- ผูจ้ า่ ยอุปกรณ์ ทีเ่ กิดเหตุ)
ดับเพลิง - ผูป้ ระสานงานยาม
- ผูส้ อ่ื ข่าวผ่าน ศูนย์รวม รักษาการณ์
ข่าว และสือ่ สาร
- หน่วยยาม - หัวหน้ายามรักษาการณ์ - หัวหน้ายามรักษาการณ์
รักษาการณ์
5. หัวหน้าฝ่ าย - หัวหน้าฝ่ ายแผนกธุรการ - นายเวรประจาวัน - นายเวรประจาวันหยุด
เคลื่อนย้ายภายใน / หรือผูไ้ ด้รบั มอบหมาย
ภายนอก
6. หัวหน้าฝ่ าย ส่งเสริม - ผูจ้ ดั การฝ่ าย - ……………………… - …………………………
ปฏิบตั กิ าร - จากหน่วยธุรการ/ซ่อม - จากหน่วยธุรการ/ซ่อมบารุง - จากหน่วยธุรการ / ซ่อมบารุง
- หน่วยเดินเครื่องสูบ บารุง ชื่อ..................................... - ชื่อ......................................
น้าฉุกเฉิน ชื่อ.............................. ผูก้ ดสัญญาณแจ้งเหตุ จาก -ผูก้ ดสัญญาณแจ้งเหตุ
- หน่วยติดต่อ ดับเพลิง - ผูก้ ดสัญญาณแจ้งเหตุ SOS ………………… จาก SOS ……………………
จาก พืน้ ทีอ่ ่นื จาก SOS ……………
- ใช้ Safety Order
System (SOS)
408

5. แผนอพยพหนี ไฟ แผนอพยพหนีไฟนัน้ กาหนดขึน้ เพื่อความปลอดภัยของชีวติ และทรัพย์สน


ของพนักงาน และของสถานประกอบการในขณะเกิดเพลิงเหตุไหม้ แผนอพยพหนีไฟทีก่ าหนด
ขึน้ นัน้ มีองค์ประกอบต่างๆเช่น หน่ วยตรวจสอบจานวนพนักงาน ผู้นาทางหนีไฟ จุดนัดพบ
หน่วยช่วยชีวติ และยานพาหนะ ฯลฯ ควรได้กาหนดผู้รบั ผิดชอบในแต่ละ หน่ วยงานโดยขึน้ ตรง
ต่อผูอ้ านวยการอพยพหนีไฟหรือผูอ้ านวยการดับเพลิง ดังนี้
1) ผูอ้ านวยการอพยพหนีไฟหรือผูอ้ านวยการดับเพลิง
ชื่อ ...............................................................................................
1) ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการอพยพหนีไฟหรือผูช้ ่วยผูอ้ านวยการดับเพลิง
ชื่อ ...............................................................................................
ในแผนดังกล่าวควรกาหนดให้มกี ารปฏิบตั ดิ งั นี้
(1) ผู้น าทางหนี ไ ฟ จะเป็ น ผู้น าทางพนั ก งานอพยพหนี ไ ฟไปตาม
ทางออกทีจ่ ดั ไว้
(2) จุดนัดพบหรือ เรียกอีกอย่างว่า “จุดรวมพล” จะเป็ นสถานที่ท่ี
ปลอดภัย ซึง่ พนักงาน สามารถทีจ่ ะมารายงานตัวและทาการตรวจสอบนับจานวนได้
(3) หน่วยตรวจสอบจานวนพนักงาน มีหน้าทีต่ รวจนับจานวนพนักงาน
ว่ามีการอพยพหนีไฟ ออกมาภายนอกบริเวณทีป่ ลอดภัยครบทุกคนหรือไม่ หากพบว่าพนักงาน
อพยพหนี ไ ฟออกมาไม่ค รบตามจ านวนจริง ซึ่ง หมายถึง ยัง มีพ นัก งานติด อยู่ใ นพื้น ที่ท่ีเ กิด
อัคคีภยั
(4) หน่ วยช่วยชีวติ และยานพาหนะ จะเข้าค้นหาและทาการช่วยชีวติ
พนักงานที่ยงั ติดค้างอยู่ ในอาคารหรือในพื้นที่ท่ไี ด้เกิดอัคคีภยั รวมถึงกรณีของพนักงานที่
ออกมาอยูท่ จ่ี ดุ รวมพลแล้วมีอาการเป็ นลม ช็อคหมดสติหรือบาดเจ็บเป็ นต้น หน่ วยช่วยชีวติ และ
ยานพาหนะจะทาการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและติดต่อ หน่ วยยานพาหนะให้ในกรณีทพ่ี ยาบาล
หรือแพทย์พจิ ารณาแล้วต้องนาส่งโรงพยาบาล
409

ตัวอย่าง
แผนอพยพหนี ไฟ

ผูอ้ านวยการ หรือผูช้ ่วยผูอ้ านวยการดับเพลิง


สั ่งใช้แผนอพยพหนีไฟไปยังประชาสัมพันธ์

ประชาสัมพันธ์ประกาศ
พร้อมกดสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้

ผูน้ าทางจะถือ (ป้ ายสัญลักษณ์) ยกหรือชูป้าย


นาพนักงานออกจากพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านตาม
ช่องทางทีก่ าหนด

ผูน้ าทางนาพนักงานไปยังจุดรวมพล

ผูน้ าทาง & ผูต้ รวจสอบยอดพนักงาน

รีบนาผูป้ ่ วยหรือ ผูต้ รวจสอบยอดแจ้งต่อผูอ้ านวยการ หรือ


ผูบ้ าดเจ็บส่งหน่วย ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการดับเพลิง ณ จุดรวมพล
ยอดไม่ครบ
พยาบาลหรือ
สถานพยาบาล ยอดครบ
ใกล้เคียง ผูอ้ านวยการ หรือผูช้ ่วยผูอ้ านวยการดับเพลิง ผูอ้ านวยการดับเพลิง
แจ้งให้พนักงานอยูใ่ นจุดรวมพลจนกว่า หรือผูช้ ่วยสัง่
เหตุการณ์สงบ หน่วยงานช่วยชีวติ
(ถ้ามี) หรือเจ้าหน้าที่
ดับเพลิงจากภายนอก
ค้นหาผูต้ ดิ ค้าง

หน่ วยช่วยชีวติ หรือ


เจ้าหน้าทีด่ บั เพลิง
จากภายนอกค้นหาผู้
ติดค้างและรายงาน
ผลให้ผอู้ านวยการ
หรือผูช้ ่วย
ผูอ้ านวยการทราบ
410

6. แผนบรรเทาทุกข์ แผนบรรเทาทุกข์จะประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้


6.1 การประสานงานกับหน่ วยงานของรัฐ ได้แก่ ศูนย์ความปลอดภัยเขต
โรงพยาบาลจังหวัด ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สถานี
ตารวจ และสานักงานประกันสังคมจังหวัด เป็ นต้น
6.2 การสารวจความเสียหาย โดยมีเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยประจาโรงงาน
และทีมงานความปลอดภัยประจาโรงงาน ทาหน้ าที่สารวจเกี่ยวกับเครื่อ งจักร อุ ปกรณ์ และ
สถานทีท่ างานต่าง ๆ เป็ นต้น
6.3 การรายงานตัว ของเจ้าหน้ าที่ทุก ฝ่ ายและกาหนดจุดนัดพบเพื่อ รอรับ
คาสัง่ หัวหน้างาน หรือผูน้ าจะต้องทาหน้าทีใ่ นการตรวจสอบจานวนสมาชิกของตนเองทีท่ างาน
ในแผนกตนเอง เพื่อ แจ้งรายงานจานวนให้ค รบถ้ว นเพื่อ ให้ท ราบว่า มีพนักงานยัง ติดอยู่ใ น
สถานทีท่ เ่ี กิดเพลิงไหม้
6.4 การช่วยชีวติ และขุดค้นหาผู้เสียชีวติ เจ้าหน้าที่ผู้ช่วยเหลือ ต้องเป็ น
เจ้าหน้าที่ท่ไี ด้รบั มอบหมายตามกฎกระทรวงทาหน้าที่ในการผจญเพลิงเพื่อค้นหาผู้ท่ตี ดิ อยู่ใน
สถานทีเ่ กิดเหตุในโรงงาน
6.5 การเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย ทรัพย์สนิ และผู้เสียชีวติ เมื่อมีการค้นหา
และพบว่ามีผปู้ ระสบภัยติดอยูใ่ นสถานทีท่ เ่ี กิดเหตุเพลิงไหม้ ต้องมีการเคลื่อนย้ายออกมาโดยถูก
วิธ ีโ ดยเจ้า หน้ า ที่ด ับ เพลิง ที่ไ ด้ ร ับ อบรม ท าหน้ า ที่ใ นการเคลื่อ นย้า ยผู้ ป ระสบเหตุ หรือ
ผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บออกมาเพื่อส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
6.6 การประเมินความเสียหาย ผลการปฏิบ ัติงานและรายงานสถานการณ์
เพลิงไหม้ ผูท้ ท่ี าหน้าทีเ่ กีย่ วข้องด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ทีท่ าหน้าทีใ่ นการประเมิน
ความเสียหายจากการเกิดเพลิงไหม้เพื่อรายงานบันทึกเก็บข้อมูลไว้เป็ นหลักฐาน และนาไป
วางแผนงานป้ องกันการป้ องกันและระงับอัคคีภยั ในสถานประกอบการ
6.7 การช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบภัย เมื่อมีการเกิดเหตุขน้ึ ในสถาน
ประกอบการหรือโรงงาน ผู้บริหารโรงงานต้องมีการเยียวยา หรือช่วยเหลือ ดูแลตามสมควร
ให้แก่ผปู้ ระสบเหตุ เพื่อเป็ นการเอาใจใส่ และสร้างขวัญกาลังใจในการทางานให้กบั พนักงาน
6.8 การปรับปรุงแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าเพื่อให้ธุรกิจสามารถดาเนินการได้
โดยเร็วที่สุด เมื่อเกิดเหตุประสบเพลิงไหม้ในโรงงาน ผู้บริหารสถานประกอบการจะต้องรีบ
ดาเนิน การแก้ไ ขปรับ ปรุงให้ค ืนกลับ สู่ส ภาพเดิม ให้โดยเร็ว ที่ สุ ด เพื่อ การสร้างชื่อ เสียงและ
ภาพลักษณ์ขององค์การ
411

สรุป
วิศวกรรมความปลอดภัย เป็ นลักษณะสหวิทยาการที่มุ่งเน้ นให้โรงงานอุตสาหกรรมมี
โครงสร้างความปลอดภัยด้วยการประยุกต์ทางวิศวกรรมทีต่ อ้ งควบคุมเกี่ยวกับการวางแผน และ
ออกแบบโรงงานโดยวิศวกรโรงงานที่เป็ นผู้เชีย่ วชาญ เพื่อให้เป็ นไปตามกฎหมายกาหนดหลัง
จากนัน้ ต้องนามาวางผังโรงงานให้ตาแหน่ งของเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุต่าง ๆ ทีเ่ ป็ น
สิง่ สนับสนุ นอานวยความสะดวกเพื่อให้กระบวนการผลิตสามารถดาเนินการไปโดยเพิม่ ผลผลิต
ให้มากขึน้ และในขณะเดียวกันก็สอดคล้องกับให้เกิดความปลอดภัยในการทางานของพนักงาน
ด้วย วิศวกรรมความปลอดภัยจึงมีความสาคัญ คือ การกาหนดข้อบังคับ และออกกฎหมายใน
สถานประกอบการ สภาพการแข่งขันทางธุรกิจทาให้หนั มาใส่ใจกับชีวติ ความเป็ นอยู่ท่ดี ขี อง
พนัก งาน ความต้อ งการให้อ งค์ก ารสามารถเติบ โตและสร้า งก าไรให้กับ องค์ก ารด้ว ยการที่
พนักงานมีสุขภาพอนามัยทีด่ พี ร้อมปฏิบตั งิ านให้กบั องค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังเป็ น
ความรับผิดชอบต่อสังคมและจริยธรรม คุณธรรมของนายจ้างหรือผู้ประกอบการ รวมทัง้ การ
ต้องการสร้างภาพลักษณ์ท่ดี ใี ห้กบั องค์การ องค์การจึงต้องการมีการวางผังโรงงานด้วยสาเหตุ
ดังนี้ การเปลีย่ นแปลงของลักษณะผลิตภัณฑ์ การเปลีย่ นแปลงขององค์การทีม่ กี ารขยาย และลด
ขนาดองค์การ การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี การย้ายหน่ วยงาน การเพิม่ ชนิดของผลิตภัณฑ์
ใหม่ และการเปลี่ยนแปลงสภาพการทางานที่ไม่เ หมาะสม เป็ นต้น การวางผังโรงงานจึง มี
วัตถุประสงค์เพื่อลดระยะเวลาในการเคลื่อนย้ายวัสดุส่องของ ช่วยให้การไหลของงานเป็ นไป
อย่างรวดเร็วประหยัดเวลา ต้นทุน ขจัดสิง่ รบกวน และทาให้แผนกต่าง ๆ สามารถทางานได้
อย่างดีเอือ้ ต่อกระบวนการผลิต และทาให้การทางานเกิดความปลอดภัยและมีสุขภาพอนามัยทีด่ ี
ดัง นัน้ การวางผัง โรงงานจึง มีห ลัก การส าคัญ คือ การเลือ กท าเลที่ต ัง้ ของโรงงาน
การออกแบบโครงสร้างและระบบในอาคาร การออกแบบผังโรงงาน และการออกแบบระบบขน
ถ่ายลาเลียงวัสดุ ซึง่ องค์ประกอบสาคัญของการขนถ่ายวัสดุ ได้แก่ การเคลื่อนที่ เวลา ปริมาณ
และเนื้อที่ การวางผังโรงงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยจึงออกแบบให้มกี ารจัดวางเครื่องจักร
เครื่อ งมือ อุ ปกรณ์ และสิ่งสนับสนุ นให้มคี วามสะดวกเหมาะสมสัมพันธ์กับกระบวนการผลิต
ผู้ออกแบบโรงงานจะต้องทราบถึง ขัน้ ตอนการผลิต รวมทัง้ ตาแหน่ งในการจัดวางให้เกิดความ
ปลอดภัยในการทางานทัง้ ภายในและภายนอกและต้องส่งผลต่อการออกแบบระบบไฟฟ้ าเพื่อ
ความปลอดภัยทัง้ โรงงาน การออกแบบและวางผังโรงงานจึงต้อ งมีขนั ้ ตอน ดังนี้ การวางผัง
โรงงานขัน้ ต้น การกาหนดพืน้ ทีภ่ ายในโรงงาน และการวางผัง โรงงานอย่างละเอียด การวางผัง
โรงงานจึงมีก ารจัดดาเนินการวางผังโรงงานให้เ ป็ นระบบซึ่งในปั จจุบนั มีการวางผังโรงงาน
ด้วยกัน 4 ระบบ ดังนี้ การวางผังโรงงานแบบตามกระบวนการผลิต การวางผังโรงงานแบบตาม
ชนิดของผลิตภัณฑ์ การวางผังโรงงานแบบผสม และการวางผังโรงงานแบบชิ้นงานอยู่ กบั ที่
การวางผังโรงงานจึงต้องคานึงถึงการป้ องกันอัคคีภยั เพื่อเป็ นการป้ องกันไม่ให้เกิดอัคคีภยั ใน
412

สถานประกอบการ จึงต้องจัดทาแผนป้ องกันและระงับอัคคีภยั ตามกฎหมายความปลอดภัย อาชี


วอนา-มัย และสภาพแวดล้อ มในการท างาน ซึ่ง ประกอบด้ว ย (1) แผนการตรวจตรา (2)
แผนการอบรม (3) แผนการดับเพลิง (4) แผนอพยพหนีไฟ และ(5) แผนบรรเทาทุกข์ การ
ป้ องกันในเบื้องต้นจึงให้สถานประกอบการดาเนินการป้ อ งกันโดยการติดตัง้ อุ ปกรณ์ป้อ งกัน
อัคคีภยั ให้ถูกต้องและครบถ้วนตามกฎหมายกาหนดและมีการซักซ้อมการอพยพจริงเพื่อเป็ น
การเตรียมความพร้อม
413

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ที่สดุ
1. จงบอกถึงความหมายและอธิบายคาว่า “วิศวกรรมความปลอดภัย”
2. จงบอกถึงความหมายของการวางผังโรงงานมาอย่างละเอียด
3. จงบอกถึงวัตถุประสงค์ของการวางผังโรงงานมาอย่างน้อย 6 ข้อ (พร้อมอธิบายโดยสังเขป)
4. ให้บอกถึงความสาคัญของการวางผังโรงงานมาอย่างน้อย 6 ข้อ (พร้อมอธิบายโดยสังเขป)
5. ให้บอกถึงประโยชน์ของการวางผังโรงงานมาอย่างน้อย 6 ข้อ (พร้อมอธิบายโดยสังเขป)
6. ปั จจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการวางผังโรงงานได้แก่ปัจจัยอะไรบ้าง
7. ลักษณะทีด่ ขี องการวางผังโรงงานมีลกั ษณะอย่างไรบ้าง
8. การจัดวิศวกรรมความปลอดภัยในสถานทีท่ างาน จะต้องมีการดาเนินการจัดอย่างไรบ้าง
เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
9. ระบบไฟฉุกเฉิน (Emergency Lighting System) มีความจาเป็ นอย่างไรในสถานประกอบการ
10. จงบอกความหมายของคาว่า “อัคคีภยั ”
11. องค์ประกอบทีส่ าคัญของการเกิด “อัคคีภยั ”มีอะไรบ้าง (พร้อมอธิบายโดยสังเขป)
12. ชนิดของถังดับเพลิงทีใ่ ช้ในการดับเพลิงเมือ่ เกิดอัคคีภยั มีกช่ี นิดแต่ละชนิดมีองค์ประกอบ
หรือคุณสมบัตอิ ย่างไร
13. ชนิดของสารดับเพลิงมีกช่ี นิดอะไรบ้าง (อธิบายพอสังเขป)
14. ให้นกั ศึกษาเขียนแผนป้ องกันและระงับอัคคีภยั ในสถานประกอบการ
414

เอกสารอ้างอิ ง

กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน.พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ.


2541.,กรุงเทพฯ: หจก.อรุณการพิมพ์.
เกชา ธีระโกเมน.(2554).ปั ญหาในการจัดระบบการป้ องกันอัคคีภยั สาหรับอาคาร. สมาคม
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์: กรุงเทพมหานคร.
คณาทัต จันทร์ศริ .ิ (2559). ความรูเ้ รือ่ งอัคคีภยั . ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, จาก
http://www.firefara.org/infot3.html.
คู่มอื การปฏิบตั งิ านตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การป้ องกันและระงับอัคคีภยั
ในโรงงาน 2552.กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.,ค้นเมือ่
25 ธันวาคม 2559., ค้นจาก http://www.diw.go.th/km/safety/pdf.
ธัญวัฒน์ โพธิศริ .ิ (2558). การออกแบบโครงสร้างเพื่อความปลอดภัยด้านอัคคีภยั .
(พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิต ยา งามภัก ตร์.(2554).การคัดเลือ กผังและการจาลองสถานการณ์ ค อมพิว เตอร์เ พื่อ การ
ออกแบบผังโรงงานแบบเซลลูลาร์.(วิทยานิพนธ์).วิศวกรรมมหาบัณฑิต
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เมธินพัฐ บวรธรรมรัตน์.(2557). ระบบป้ องกันและระงับอัคคีภยั (กฎหมายโรงงานอุตสาหกรรม).,
ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559. ,จาก http://www.pumpsandvalves-asia.com/.
ยุทธ ไกยวรรณ์.(2556). การบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรม.กรุงเทพ ฯ :
บริษทั พิมพ์ดี จากัด.
ย้อนรอยโศกนาฏกรรม 18 ปี ไฟไหม้โรงงานตุ๊กตาเคเดอร์. ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, จาก
https://hilight.kapook.com/view/68013.
รณภพ สุนทรโรหิต.(ม.ป.ป.). การออกแบบโรงงานและการวางโรงงาน., ค้นเมือ่
25 ธันวาคม 2559, จาก www.drauditor.com/default.asp.
ระบบป้ องกันอัคคีภยั ภายในอาคาร.(ม.ป.ป.,ม.ป.น.). ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, จาก
http://she.cpportal.net.
วันชัย ริจริ วนิช.(2541). การออกแบบผังโรงงาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชยั แหวนเพชร.(2547). การวางแผนและควบคุมการผลิต. กรุงเทพ ฯ : หจก.ธรรกมล
วิภารัตน์ โพธิ ์ขี.(2557). การจัดการด้านวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม.
ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วีระ ซื่อสุวรรณ.(2550). Safety ปลอดภัย 52 Weeks. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สมาคมส่งเสริม
เทคโนโลยี(ไทย-ญีป่ ่ นุ ).
415

สมศักดิ ์ ศรีสตั ย์.(2554)(ก).การออกแบบและการวางผังโรงงาน. กรุงเทพฯ:


ส.เอเชียเพรส.
สมศักดิ ์ ศรีสตั ย์.(2552)(ข). การออกแบบและการวางผังโรงงาน. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริม
เทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ่ นุ ).
สานักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน.(2556). แนวการจัดทาแผน
ป้ องกันและระงับอัคคีภยั ตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและ
ดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน.,ค้นเมื่อ
25 ธันวาคม 2559, จาก www.oshthai.org.
อุปกรณ์หลักของระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้.(ม.ป.ป.), ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, จาก
https://www.google.co.th/search.
เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.(2560).หน่ วยที่ 8-15.
(พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Apple, J.M.,(1977).Plant Layout and Material Handling. 3rd Edition.John Welley & Sons,
New York.
National Fire Protection Association.(1999). NFPA 72 National Fire Alarm Code1999.
Nation Fire Protection Association,Quincy,Massachusetts. (2002). edition. National Fire
Protection Association, Quincy, Massachusetts.
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล, สานักงานความปลอดภัยแห่งชาติ,สถาบันความปลอดภัย.
ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2560., จาก http://www.samsenfire.com/article/83-fire-
calss.html,
ประเภทของไฟ. ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2560., จาก http://www.safety.com/
10_fire/04_fireknowledge.html.
416
417

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 7
การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
หัวข้อเนื้ อหา
1. แนวคิด ความหมายของการจัดการความเสีย่ ง
2. กรอบของการจัดการความเสีย่ ง
3. ข้อกาหนดและกระบวนการในการบริหารความเสีย่ ง
4. การรับรูค้ วามเสีย่ ง
5. การบ่งชีอ้ นั ตรายและการประเมินความเสีย่ ง
6. ประเภทความเสีย่ ง
7. การวิเคราะห์ความเสีย่ ง
8. หลักเกณฑ์ทใ่ี ช้ในการประเมิน และการพิจารณาตอบสนองต่อความเสีย่ งอันตราย
9. กระบวนการจัดการความเสีย่ ง
10. การบาบัดความเสีย่ ง การเฝ้ าระวัง และการทบทวน
11. สรุป
12. แบบฝึกหัด
13. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1. อธิบายความหมายของความเสีย่ ง กรอบของการจัดการความเสีย่ ง และแนวทางการ
กาหนดระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้
2. บอกถึง การก าหนดมาตรการควบคุ มความเสี่ย งอัน ตรายในแต่ ล ะระดับ ได้อ ย่า ง
เหมาะสมได้
3. อธิบายการรับรูส้ มั ผัสถึงความเสีย่ งของมนุ ษย์ และการบ่งชีอ้ นั ตรายความเสีย่ ง และ
การประเมินความเสีย่ งได้
4. อธิบายเกีย่ วกับการสื่อสารความเสีย่ ง และคาศัพท์เกีย่ วกับความเสีย่ งได้

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
418

5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ
สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารการเรียนการสอน (เอกสารประกอบคาสอน)
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดทิ ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
419

บทที่ 7
การจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
เครือ่ งมือสาคัญในระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการการทางานใน
สถานประกอบการเพื่อให้ผปู้ ฏิบตั งิ านลดอุบตั เิ หตุ ความเจ็บป่ วยต่าง ๆ อันเนื่องจากการทางาน
ซึ่ง เป็ น เครื่อ งมือ ในการช่ ว ยให้ผู้บ ริห ารน ามาใช้ใ นการวางแผนและจัด กิจ กรรมด้า นความ
ปลอดภัยอย่างเป็ นระบบ ซึง่ จะช่วยให้คน้ พบสิง่ ทีเ่ ป็ นอันตราย หรือความเสีย่ งในการปฏิบตั งิ าน
ในทุกตาแหน่ งงาน อันจะนาไปสู่การหาแนวทาง มาตรการ และการแก้ไขปรับปรุง เครื่องมือ
อุปกรณ์ เครื่องจักร คน และสภาพแวดล้อมในการทางานให้เกิดความปลอดภัยให้ มากทีส่ ุด ซึ่ง
จะสามารถกระทาได้หลายวิธกี าร โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากจะดาเนินการในการสารวจเพื่อบ่งชี้
ความเสี่ยงในการปฏิบตั งิ าน เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ได้แก่ แบบสารวจ (check-list) แบบประเมินความเสี่ยง (risk assessment) เพื่อช่วยในการ
สารวจและประเมินความเสี่ยงต่ าง ๆ ได้ค รบถ้ว นและได้ข้อ มูลที่ส ามารถบ่งชี้อ ันตราย และ
ประเมินความเสี่ยงได้ชดั เจน นอกจากนี้ยงั สามารถนาข้อมูลอื่น ๆ ทีเ่ ก็บรวบรวมเป็ นหลักฐาน
ในการวิเคราะห์ความเสีย่ งในการทางานได้
การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานนับว่าเป็ น
การดาเนินการตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542) และ 4 (พ.ศ. 2552)
เรื่อง มาตรการคุม้ ครองความปลอดภัยในโรงงาน กาหนดให้โรงงานทีม่ คี วามเสี่ยง 12 ประเภท
ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ความเสีย่ งจากอันตรายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน
เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการโรงงาน เพื่อให้ผู้ประกอบการทราบถึงอันตรายและจัดให้ มมี าตรการ
ป้ อ งกัน อันตรายที่เ หมาะสม แต่ จ ากการด าเนิน งานที่ผ่ า นมาพบว่ า แม้ว่า โรงงานได้จ ดั ท า
รายงานการวิเ คราะห์ค วามเสี่ยง แต่ ก็ยงั พบอุ บตั ิเ หตุ เ กิดขึ้นในโรงงาน ดังนัน้ กรมโรงงาน
อุตสาหกรรมจึงได้มกี ารพิจารณาทบทวนแนวทางการบริหารจัดการความเสีย่ งในโรงงานเพื่อให้
มีมาตรการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้

แนวคิ ดเกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยง
การปฏิบ ัติง านในทุ ก ต าแหน่ ง ในสถานประกอบการ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง สถาน
ประกอบการทีม่ กี ารใช้เครือ่ งมือ เครือ่ งจักรทีม่ กี ารผลิตจานวนมาก และต้องการความรวดเร็วใน
การผลิตสินค้าและบริการย่อมทาให้เกิดความเสีย่ งทีม่ อี ยู่ในการปฏิบตั งิ านซึง่ อาจส่งผลกระทบ
ชีวติ และทรัพย์สนิ ของผูป้ ฏิบตั งิ านและนายจ้างโดยตรง ดังนัน้ ทัง้ ผูป้ ฏิบตั งิ านและนายจ้างก็ต้อง
มีว ิธกี าร หรือ แนวทางในการป้ อ งกันเพื่อ ที่ล ดความเสี่ยงหรือไม่ใ ห้ค วามเสี่ยงเกิดขึ้นในการ
ปฏิบตั ิงานให้ไ ด้ การจัดการความเสี่ยงจึงเป็ นแนวทางการป้ อ งกันควบคุมความเสี่ยงที่ต้อ ง
420

ดาเนินการให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ได้มนี ักวิชาการได้ให้ความหมายของ ความเสีย่ ง (risk)


ไว้ดงั นี้
ศีข ริน ทร์ สุ ข โต (2553, หน้ า 236) ได้ใ ห้ค วามหมายของ ความเสี่ย ง (risk) ไว้ว่ า
ผลลัพธ์ของความน่าจะเกิดอันตราย และผลจากอันตรายนัน้
คู่มอื การจัดทารายงานการบริหารจัดการความเสีย่ งสาหรับโรงงาน (2557, หน้า 6) ได้
ให้ความหมายของ ความเสี่ยง (risk) ไว้ว่า ผลลัพธ์ของความน่ าจะเกิดอันตราย และผลจาก
อันตรายนัน้ (ความเสีย่ งประเมินได้จาก ความเสีย่ ง (risk) = โอกาส x ความรุนแรง)
โกสท์ เดวิด (Goetsch, David L., 2005, p.595) ได้ให้ความหมายของ ความเสี่ยง
(risk) ไว้ว่ า โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรัวไหล ่ ความสูญ เปล่ า หรือ
เหตุการณ์ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ หรือการกระทาใด ๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ภายใต้สถานการณ์ทไ่ี ม่แน่ นอน ซึง่
อาจเกิดขึ้นในอนาคตและมีผ ลกระทบหรือ ท าให้ก ารดาเนิ น งานไม่ประสบความส าเร็จตาม
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายขององค์กร ทัง้ ในด้านยุทธศาสตร์ การปฏิบตั งิ าน การเงินและการ
บริหาร
https://www.set.or.th/th (2015, หน้า 1) ความเสีย่ ง (risk) หมายถึง โอกาส/เหตุการณ์
ที่มคี วามไม่แน่ นอน หรือ สิ่งที่ทาให้แ ผนงานหรือ การด าเนิ นการอยู่ ณ ปั จจุบนั ไม่ บ รรลุ
วัตถุประสงค์/เป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ โดยก่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสียหายต่อองค์กรในทีส่ ุด
ทัง้ ในแง่ ของผลกระทบทีเ่ ป็ นตัวเงินได้หรือผลกระทบทีม่ ตี ่อภาพลักษณ์และชื่อเสียงองค์กร
นิวซัม บรูช (Newsome, Bruce, 2014, p.25) ได้ให้ความหมายของ ความเสีย่ ง (risk)
ไว้ว่า เป็ น เหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นที่ไม่เป็ นไปตามความคาดหวัง มีโอกาสที่จะประสบกับความ
สูญเสียหรือ สิง่ ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ ซึง่ ได้แก่ การบาดเจ็บ ความเสียหาย เหตุรา้ ย การเกิดอันตราย
เกิดความไม่แน่ นอน การไม่พทิ กั ษ์สทิ ธิหรือศักดิ ์ศรีหรือเกิดความสูญเสียจนต้องมีการชดใช้
ค่าเสียหาย
จากความหมายทีน่ กั วิชาการได้ให้ไว้สรุปว่า ความเสีย่ ง หมายถึง โอกาสหรือเหตุการณ์
ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ทจ่ี ะส่งผลกระทบทาให้ วัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายเบีย่ งเบนไป ซึง่ อาจเกิดขึน้
ในอนาคต และมีผลกระทบหรือ ทาให้การดาเนินงานไม่ประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์
เป้ าประสงค์และเป้ าหมายขององค์กร โดยการวัดจากผลกระทบ (Impact) ทีไ่ ด้รบั และโอกาสที่
จะเกิด (Likelihood) ของเหตุการณ์
421

ความหมายของการจัดการความเสี่ยง
มีนักวิชาการได้ให้ความหมายของการจัดการความสีย่ งในงานด้า นความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัยไว้หลายท่าน พอจะสรุปได้ดงั นี้
สานักงานมาตรฐานแห่งชาติออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ (Standards New Zealand) ได้
ให้ความหมายของคาว่า การจัดการความเสี่ยง (risk management) ไว้ว่า การประยุกต์อย่าง
เป็ น ระบบในการใช้น โยบายการจัด การ ขัน้ ตอนการด าเนิ น งาน (procedure) และปฏิบ ัติ
(practice) เพื่อชี้บ่ง วิเคราะห์ ประเมินผล แก้ไข และเฝ้ าระวังความเสี่ยงที่ มอี ยู่ในงาน (task)
หนึ่งๆ
(The Royal Society) ได้ใ ห้ค วามหมายของค าว่า การจัดการความเสี่ยง (risk
management) ไว้ว่า กระบวนการตัดสินใจที่จะยอมรับความเสี่ยงที่ผ่านการประเมิน (assess)
แล้ว และ/หรือการลงมือดาเนินการทีจ่ ะลดความรุนแรงหรือโอกาสเกิดเหตุการณ์นัน้ ๆ
สเต็บเฟว่น(Stephenson,2001, p.219) ได้ให้ความหมายของคาว่า การจัดการความ
เสีย่ ง (risk management) ไว้ว่า กระบวนการทัง้ หมดของการชีบ้ ่ง ประเมินผล ควบคุม หรือลด
และยอมรับความเสีย่ ง
สานัก งานปลัดกระทรวงการคลัง (2557, หน้ า 3) ได้ใ ห้ค วามหมายของ การจัดการ
ความเสีย่ ง (risk management) ไว้ว่า การจัดการความเสีย่ ง ( Risk Management) หมายถึง
กระบวนการที่ใช้ในการระบุความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยงและการกาหนดแนวทางการ
ควบคุมเพื่อป้ องกันหรือลดความเสีย่ ง การบริหารความ เสีย่ งแบบบูรณาการ (Enterprise Risk
Management : ERM) คือ ขบวนการทีจ่ ดั ทาโดยฝ่ ายบริหาร เพื่อ ประยุกต์ใช้ในการจัดทาแผน
กลยุทธ์ทวทั ั ่ ง้ องค์กร ซึง่ ออกแบบมาเพื่อระบุเหตุการณ์ทอ่ี าจเกิดขึน้ มีผลกระทบกับองค์กรและ
จัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับยอมรับได้ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร กรอบการ
บริหารความเสีย่ งประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบหลัก ดังนี้
1. วัฒนธรรมองค์กร (Culture) เป็ นเครื่องมือสาคัญในการสร้างค่านิยม ปลูกฝั ง
ให้ผมู้ สี ่วนเกีย่ วข้องในการทางานได้มสี ่วนร่วมในการปฏิบตั งิ านในองค์การให้เกิดผล โดยเฉพาะ
ด้านความปลอดภัยในการทางาน วัฒนธรรมองค์การจะมีผลสะท้อนให้แสดงเห็น ถึงศักยภาพ
ขององค์การและพนักงานในองค์การ
2. โครงสร้างการบริหารความเสีย่ ง (Structure) การจัดทาโครงการควบคุมโดย
พิจารณาจาก ความสัมพันธ์ของทรัพยากรต่าง ๆ กระบวนการทางาน กระบวนการบริหาร
ภายในองค์กรนัน้ ๆ ซึง่ จะต้องมีการแต่งตัง้ ในรูปแบบคณะกรรมการมาจากหลาย ๆ ส่ว นงานทีม่ ี
ความเกีย่ วข้องทัวทั ่ ง้ องค์การ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูบ้ ริหารระดับสูงจะต้องเป็ นผูก้ าหนดนโยบาย
อย่างชัดเจนเพื่อให้การดาเนินการด้านการจัดการความเสีย่ งบรรลุตามเป้ าหมายทีก่ าหนดไว้
422

3. กระบวนการ (Process) การดาเนินที่มเี ป้ าหมาย จัดลาดับก่อนหลังอย่าง


เป็ นระบบ ด้วยการนาทรัพยากรต่าง ๆ เข้ามา และมีผลผลิตหรือผลสาเร็จของงานที่มกี ารวัด
ประเมิน ได้อ ย่ า งเป็ นรู ป ธรรม แต่ ไ ม่ ม ีจุ ด สิ้น สุ ด ในตัว เอง ไม่ ไ ด้เ ป็ น เพีย งเหตุ ก ารณ์ ห รือ
สถานการณ์เพียงครัง้ เดียวแต่มลี กั ษณะเป็ นชุดของการกระทาที่ซมึ ซับเข้าไปเป็ นกิจกรรมของ
องค์กรในการดาเนินธุรกิจ
4. ปั จจัยพื้นฐาน (Infrastructure) ในการประกอบการใด ๆ ปั จจัยพื้นฐานเป็ น
สิง่ สาคัญในการดาเนินการ ซึ่งได้แก่ จุดมุ่งหมาย การวางแผน การกาหนดนโยบาย การจัด
องค์การ การจัดการทรัพยากรมนุ ษย์ การอานวยการ การประสานงาน กฎระเบียบข้อบังคับ
ข่าวสารข้อมูล และการตรวจสอบ เป็ นต้น
ศีขรินทร์ สุขโต(2553, หน้ า 236) ได้ให้ความหมายของ การจัดการความเสี่ยง (risk
management) ไว้ว่า กระบวนการวิเคราะห์ถงึ ปั จจัยหรือสภาพการณ์ต่าง ๆ ทีเ่ ป็ นสาเหตุทาให้
อันตรายทีม่ แี ละแอบแฝงอยูก่ ่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ และอาจก่อให้เกิดเหตุการณ์ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ เช่น
การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรัวไหลของสารเคมี
่ หรือวัตถุอนั ตราย โดยพิจารณาถึงโอกาส
และความรุนแรงของเหตุการณ์เหล่านัน้ ซึง่ อาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือความเสียหายต่อชีวติ
ทรัพย์สนิ และสิง่ แวดล้อม
สราวุธ สุธรรมาสา, (2553, หน้ า 5-5) ได้ใ ห้ความหมายของคาว่า การจัดการความ
เสีย่ ง (risk management) ไว้ว่า การจัดการความเสีย่ งเป็ นเรื่องของการชีบ้ ่งอันตรายที่มอี ยู่ใน
การดาเนินงานโดยการประมาณระดับความเสีย่ งและการควบคุมความเสีย่ ง รวมถึงการเฝ้ าระวัง
ตรวจประเมินและทบทวนการดาเนินงานทีผ่ ่านมา
เจริญ เจษฎาวัลย์ (2548, หน้า 63) ได้ให้ความหมายของคาว่า การจัดการความเสี่ยง
(risk management) ไว้ว่า ความเป็ นไปได้ทเ่ี หตุการณ์ใดเหตุการณ์ หนึ่งจะเกิดขึน้ และส่งผลให้
องค์การไม่สามารถบรรลุวตั ถุ ประสงค์ซ่งึ วัดได้จากโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ และผลกระทบที่
อาจจะเกิดขึน้ ต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์การ โอกาส (Opportunity) ในทีน่ ้หี มายถึง
ความ เป็ นไปได้ทเ่ี หตุการณ์ได้เหตุการณ์หนึ่งจะเกิดขึน้ และส่งผลดีต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์
สุรพงษ์ ชูรงั สฤษฏ์ (2547, หน้า 51) ได้ให้ความหมายของคาว่า การจัดการความเสีย่ ง
(risk management) ไว้ว่า เหตุการณ์ทท่ี าให้วตั ถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้ไม่บรรลุผลตามทีต่ ้องการ
หรือสิง่ ทีไ่ ม่อยากให้เกิดขึน้ และระดับของความเสีย่ งนัน้ จะประเมินจากโอกาสที่จะเกิดและความ
รุนแรงหากเหตุการณ์นนั ้ มีระดับสูง
(https://www.set.or.th/th, 2015, หน้า 1) ได้ให้ความหมายของคาว่า การจัดการความ
เสีย่ ง (risk management) กระบวนการทีป่ ฏิบตั โิ ดยคณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และบุคลากรทุกคน
ในองค์กร เพื่อช่วยในการกาหนดกลยุทธ์และดาเนินงาน โดยกระบวนการบริหารความเสี่ยง
ได้รบั การ ออกแบบเพื่อให้สามารถบ่งชีเ้ หตุการณ์ท่ีอาจเกิดขึน้ และมีผลกระทบต่อองค์กรและ
423

สามารถจัดการความเสี่ยงให้อ ยู่ใ นระดับ ที่องค์กรยอมรับ เพื่อ ให้ได้รบั ความมันใจอย่


่ าง
สมเหตุสมผล ในการบรรลุวตั ถุประสงค์ทอ่ี งค์กรกาหนดไว้
จากความหมายข้างต้นสรุปว่า การจัดการความเสี่ยง (risk management) หมายถึง
การดาเนินการอย่างเป็ นระบบทีจ่ ะตัดสินใจยอมรับความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ แล้วมีการประยุกต์อย่าง
เป็ นระบบในการใช้นโยบายเพื่อจัดการตามขัน้ ตอนที่ได้กาหนดไว้ตงั ้ แต่การชี้บ่งอันตราย การ
ประเมินผล การควบคุมหรือลด การแก้ไข การเฝ้ าระวัง และการทบทวนให้นาไปการดาเนินการ
อย่างมีประสิทธิภาพด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน

การรับรู้สมั ผัสความเสี่ยง (Risk Perception)


การรับรู้สมั ผัสความเสี่ยง (Risk Perception)
ความปลอดภัยในการทางานเป็ นสิง่ ที่ผู้บริหารต้องทาหน้าที่ตงั ้ แต่เริม่ กาหนดนโยบาย
เพื่อให้พนักงานทุกคนในสถานประกอบการได้ตระหนักและมีการจัดการดาเนินการให้เกิดขึ้น
อย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความสาเร็จ โดยธรรมชาติของมนุ ษย์การรับรูส้ มั ผัสความเสี่ยงต้องมี
การอาศัยความรู้ ทฤษฎีเ กี่ยวกับพฤติก รรมของมนุ ษ ย์เ กี่ยวกับการรับรู้ข องมนุ ษ ย์ ซึ่ง การ
ปฏิบ ัติง านในสถานประกอบการย่อ มมีค วามเสี่ย งเกิด ขึ้น ในการปฏิบ ัติง าน ดัง นั น้ สถาน
ประกอบการจาเป็ นต้องมีการจัดการความเสี่ยงซึ่งเริม่ ตัง้ แต่มกี ารพัฒนาและการกาหนดการ
จัดการความเสีย่ ง บ่งชีค้ วามเสีย่ ง กระบวนการจัดการความเสีย่ ง การบาบัด ความเสีย่ ง การเฝ้ า
ระวัง และการทบทวน เป็ นต้ น ซึ่ง ล้ ว นแล้ ว แต่ ไ ด้ ร ับ ผลมาจากการรับ รู้ ปั จ จัย การรับ รู้
กระบวนการรับรู้ มาพิจารณาในการรับรู้สมั ผัสความเสี่ยง จึงมีนักวิชาการได้ให้ความหมาย
กระบวนการ และปั จจัยการรับรู้ ไว้ดงั นี้
เบรินสติน (Bernstein,1999 , p.72) ได้ให้ความหมายของ การรับรู้ (perception) ไว้ว่า
ขบวนการที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่สงิ่ เร้ากระตุ้นการรู้สกึ และถูกตีความเป็ นสิง่ ที่มคี วามหมาย
โดยใช้ความรูป้ ระสบการณ์ และความเข้าใจของบุคคล ซึง่ ขบวนการในการประมวล และแปลผล
สิง่ ทีไ่ ด้ สัมผัสการรับรู้ ในสิง่ ทีส่ มั ผัส (inputs) อย่างเดียวกันอาจจะมีการรับรู้ ทีแ่ ตกต่างกัน ทัง้ นี้
ขึน้ อยูก่ บั พืน้ ฐาน และเงือ่ นไขภายในของแต่ละคน
สชิฟแมน และ คานุ ค (Schiffman & Kanuk ,2007, p. 251) ได้ให้ความหมายของ การ
รับรู้ (perception) ไว้ว่า กระบวนการที่บุคคลแต่ละคนมีการเลือกประมวลและตีความหมาย
เกีย่ วกับตัวกระตุน้ ออกมาให้ความหมายและ ได้ภาพของโลกทีม่ เี นื้อหา
คาซท์ และ โรเซ่นซ์วงิ ค์ (Kast & Rosenzweig ,1985, p.197) ได้ให้ความหมายของ
การรับรู้ (perception) ไว้ว่า เป็ นการแปลความหมายของสิง่ เร้าและ การตอบสนองของร่างกาย
ของคนต่อสิง่ เร้าจะแตกต่างกันในแต่ละบุคคลขึน้ อยูก่ บั ประสบการณ์ เดิมและทาให้บุคคลจะมี
พฤติกรรมแตกต่างกันของแต่ละบุคคลจะเลือกรับรูเ้ ฉพาะข้อมูลทางตรง กับความต้องการและ
ความพอใจ
424

กมลวัฒน์ ยะสารวรรณ (2547, หน้า 7) ได้ให้ความหมายของ การรับรู้ (perception)


ไว้ว่า ขบวนการแปลความหมายของสิง่ เร้า ที่มากระทบประสาทสัมผัส ของเราและแปล
ความหมายอย่างไรนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ประสบการณ์ในอดีตของแต่ละบุคคล
บัณฑิต เผ่าวัฒนา (2548, หน้า 7) ได้ให้ความหมาย ของการรับรูค้ อื กระบวนการทีเ่ กิด
ภายในตัวของแต่ละบุคคล และการรับรูเ้ กิดขึ้นกับสิง่ ต่าง ๆ ที่อยู่ รอบตัว โดยการสัมผัส การ
เห็น การได้ยนิ การรูส้ กึ การได้กลิน่ การสัมผัส ซึง่ สิง่ เร้าเหล่านี้จะผ่าน ทางประสาทสัมผัส แล้ว
แปลออกมาโดยการอาศัยประสบการณ์เดิม
ศูนย์พฒ ั นาทรัพยากรการศึกษา (2558) ได้ให้ความหมายของ การรับรู้ (perception) ไว้
ว่า กระบวนการทีบ่ ุคคลเลือกสรรจัดระบบ และแปลความหมายของสิง่ เร้า ทีบ่ ุคคลสัมผัสได้ให้
เป็ นภาพทีม่ คี วามหมาย ตามความรูส้ กึ นึกคิดของตน
การรับรูเ้ ป็ นสิง่ ที่ตอ้ งเรียนรู้ (perception is learned) ดังนัน้ ถ้าขาดการเรียนรูห้ รือ
ประสบการณ์จะมีเพียงการรับสัมผัสเท่านัน้
พฤติก รรมการรับรู้เ ป็ นกระบวนการตอบสนองต่ อ สิง่ แวดล้อ มที่ต่ อเนื่องจากการรู้ส ึก
สัมผัสรับรู้เป็ น กระบวนการแปลความหมายของสิง่ เร้าที่ผ่านเข้ามาในกระบวนการรู้สกึ เมื่อ
เครื่องรับหรืออวัยวะรับสัมผัส สัมผัส สิง่ เร้า เราจะเกิดความรู้สกึ แล้วส่งความรูส้ กึ นัน้ ไปตีความ
หรือแปลความหมายกลายเป็ นการรับรู้
กระบวนการรับรู้
การรับรู้เป็ นเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นในตัวบุคคล ซึ่งไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง การรับรู้
เป็ นกระบวนการ ทีม่ นี ักวิชาการได้ให้ความหมายและกระบวนการรับรู้ ว่าประกอบด้วยขัน้ ตอน
ต่าง ๆ ตามทีน่ กั วิชาการได้ให้ไว้ ดังนี้
โรท์ดิเจอร์ (Roediger,2007, p.146) ได้กล่ าวถึงกระบวนการรับรู้จะเกิดขึ้นได้ต้อ ง
ประกอบด้วยกระบวนการทีส่ าคัญต่อไปนี้
1. การสัมผัส
2. ชนิดและธรรมชาติของสิง่ เร้า
3. การแปลความหมายจากการสัมผัส
4. การใช้ความรูเ้ ดิมหรือการใช้ประสบการณ์เพื่อแปลความหมาย
เชคส์เม็นฮอนล์, ฮันท์ และ ออสบอน (Shcmenhorn, Hunt and Osborn,1982, p.55)
ได้ใ ห้ค วามหมายของ กระบวนการรับรู้ ไว้ว่า เป็ นกระบวนการทางจิตวิทยาเบื้อ งต้นในการ
ตีความสิง่ เร้าที่สมั ผัสต่าง ๆ เพื่อสร้างประสบการณ์ทม่ี คี วามสาคัญสาหรับผู้รูก้ ารรับรู้เป็ นสิง่ ที่
ทาให้บุคคลมีความแตกต่างกันเมือ่ บุคคลได้รบั สิง่ เร้า ก็จะประมวลสิง่ รับรู้นนั ้ เป็ นประสบการณ์ม ี
ความหมายเฉพาะตนเอง
425

กมลวัฒน์ ยะสาวรรณ (2550, หน้า 29) ได้ให้ความหมายของ กระบวนการรับรู้ ไว้ว่า


การรับรู้เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้น และเป็ นขบวนการแปลความหมายของสิ่งเร้าที่มกี ระทบ
ประสาทสัมผัสของเราและแปลความหมายอย่างไรนัน้ ขึน้ อยู่กบั ประสบการณ์ในอดีตของแต่ละ
บุคคล การรับรูจ้ งึ มีกระบวนการรับรู้ ทีป่ ระกอบด้วย
1. อาการสัมผัส หมายถึง อาการที่อวัยวะสัมผัสกับสิง่ เร้าที่ผ่านมา และเข้ากระทบกับ
อวัยวะทีร่ บั สัมผัสกับสิง่ ต่าง ๆ เพื่อให้คนเราได้รบั รูภ้ าวะแวดล้อมทีอ่ ยู่รอบตัว แล้วเกิดปฏิกริ ยิ า
ตอบสนองขึน้
2. การแปลความหมายจากอาการสัมผัส สิง่ สาคัญที่จะช่วยแปลความหมายได้ดแี ละ
ถูกต้องนัน้ คือ สติปัญญา การสังเกต การพิจารณา ความสนใจ ความตัง้ ใจ และคุณภาพของ
จิตใจขณะนัน้
3. ความรู้หรือประสบการณ์เดิม ได้แก่ ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ และการกระทา
ของผู้รบั รู้ใ นอดีต ที่จะต้อ งประกอบด้ว ยความถู กต้อ ง ความแน่ นอน ความชัดเจน รวมทัง้ มี
ปริมาณข้อมูลมากพอ หรือมีความรอบรูใ้ นหลาย ๆ ด้าน

จากกระบวนการรับรูข้ า้ งต้นสามารถแสดงเป็ นแผนภาพได้ดงั นี้

สิ่ งเร้า อาการสัมผัส การแปลความหมาย การรับรู้

ประสบการณ์เดิ ม
ความสนใจ ความตัง้ ใจ

ภาพที่ 7.1 กระบวนการรับรู้


ทีม่ า: กมลวัฒน์ ยะสาวรรณ, 2550, หน้า 230.

ดังนัน้ การรับรูข้ องแต่ละบุคคลจึงแตกต่างกันออกไป และสิง่ นี้ส่งผลต่อประสิทธิผล ของ


การสื่อความเข้าใจและพฤติกรรมทีแ่ สดงออกถ้าการรับรูข้ องบุคคลสองคนต่อสิง่ เดียวกัน ใกล้
เคียงกันโอกาสทีจ่ ะเข้าใจกันและลงรอยกันจะเกิดได้มากในขณะเดียวกันการรับรูข้ องบุคคลสอง
คนต่อสิง่ ของสิง่ เดียวกันเป็ นไปคนละทิศทางก็อาจก่อให้เกิดปั ญหาและก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
การทางานร่วมกันได้ในทีส่ ุด
426

ความสาคัญของการรับรู้
ความปลอดภัยในการทางานจะเริม่ ตัง้ แต่การตระหนักถึงความปลอดภัยในตนเองซึง่ เกิด
การการรับรูถ้ งึ สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ดังนัน้ ความสาคัญของการรับรูแ้ บ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ (สิทธิโชค
วรานุสนั ติกกุล, 2546, หน้า 269)
1. การรับรูม้ คี วามสาคัญต่อการเรียนรูโ้ ดยทีก่ ารรับรูท้ าให้เกิดการเรียนรูถ้ ้าไม่มกี ารรับรู้
จะเกิดการเรียนรู้ไม่ได้ในทานองเดียวกันการเรียนรู้มผี ลต่อการรับรู้ครัง้ ใหม่ เนื่องจากความรู้
ประสบการณ์เดิม จะแปลความหมายให้ทราบว่าคืออะไร
2. การรับรูม้ คี วามสาคัญต่อเจตคติอารมณ์และแนวโน้มพฤติกรรม เมื่อรับรู้แล้ว ยอม
เกิดความรูส้ กึ และมีอารมณ์พฒ ั นาเป็ นเจตคติแล้วเกิดพฤติกรรมตามมาในทีส่ ุด
ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้
ปั จจัยทีม่ ผี ลต่อการรับรู้ ซึง่ เป็ นสิง่ ทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การรับรู้ สามารถแบ่งออกได้ดงั นี้
(บัณฑิต เผ่าวัฒนา, 2548, หน้า 9)
1. ปั จ จัย ทางกายภาพของผู้ร บั รู้ ได้แ ก่ ระบบประสาทสัม ผัส เช่ น หู ตา จมูก ลิ้น
ผิวหนัง เป็ นต้น
2. ปั จจัยทางด้านบุคลิกภาพของผู้รบั รู้ ได้แก่ ทัศนคติ อารมณ์ ค่านิยม ความต้องการ
ความสนใจ ความพอใจ ความรู้ และประสบการณ์ เป็ นต้น
3. ปั จจัยทางด้านสิง่ เร้าภายนอก ได้แก่ ลักษณะของสิง่ เร้า ความแตกต่างของสิง่ เร้า
เช่น สิง่ เร้าทีม่ คี วามเข้มกว่า สิง่ เร้าทีม่ คี วามชัดเจน สิง่ เร้าทีม่ กี ารกระทาซ้าบ่อย ๆ เป็ นต้น
การรับรูถ้ อื ว่าเป็ นกระบวนการแปลความหมายจากการสัมผัสการรับรูข้ องแต่ละบุคคล
นัน้ แตกต่างกันต้องอาศัยปั จจัยหลายอย่าง และปั จจัยทีส่ าคัญ คือ ความสนใจต่อสิง่ เร้าซึ่งมีผล
ต่อการเลือกรับ โดยเฉพาะความปลอดภัยในการทางานผู้ปฏิบตั งิ านย่อมเป็ นผูท้ ่รี บั รูใ้ นสิง่ ที่จะ
ทาให้ตนเองทีป่ ฏิบตั งิ านไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ หรือเจ็บป่ วยในการทางาน นอกจากนี้การ
จะรับรูไ้ ด้ดมี ากน้อยเพียงใดขึน้ อยู่กบั สิง่ ที่มอี ทิ ธิพลต่อการรับรูข้ องบุคคล เช่น อวัยวะรับสัมผัส
และประสบการณ์ทผ่ี ่านมา
คู่มอื บริหารความเสี่ยง (2558, หน้า 9) ได้ให้ความหมายของ การรับรูค้ วามเสี่ยง ไว้ว่า
ความสามารถในการประเมินค่าความเสีย่ งทีล่ ูก ค้าต้องเผชิญในการตัดสินใจใช้บริการ ซึง่ การมี
ความสามารถดังกล่าวทีแ่ ตกต่างกันของลูกค้า มีผลกระทบทาให้พฤติกรรมของลูกค้าแตกต่าง
กันออกไป
กรอบการบริหารความเสี่ยง (2558, หน้า 7) ได้ให้ความหมายของ การรับรูค้ วามเสี่ยง
ไว้ว่า ความสามารถในการตัดสินใจ ทีจ่ ะยอมรับในเหตุการณ์ทจ่ี ะเกิดขึน้ ซึง่ จะต้องมีการประเมิน
ค่าความเสี่ยงที่ผู้ปฏิบตั งิ านหรือพนักงานที่ต้องเผชิญ เมื่อการการรับรู้ และยอมรับความเสี่ยง
นัน้ ก็ย่อมนาไปสู่การวิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยงเพื่อการลดความเสี่ยง หรือหาแนวทาง
มาตรการและการแก้ไขไม่ให้เกิดเหตุการณ์ทเ่ี ป็ นความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ อีก
427

การรับ รู้ถึง ความเสี่ย งของมนุ ษ ย์ม ีล ัก ษณะที่แ ตกต่ า งกัน ตามแนวคิด ของทฤษฎี
นัก จิต วิท ยา ซึ่ง น ามาอธิบ ายในการจัด การความเสี่ย งในสถานประกอบการเกี่ย วกับ การ
ปฏิบตั งิ านของพนักงานมีทฤษฎีหลายทฤษฎีจะนามากล่าวได้ดงั นี้ (สราวุธ สุธรรมาสา, 2560,
หน้า 5-8)
ทฤษฎีท่เี ป็ นพื้นฐานที่สุ ด คือ Knowledge Theory ซึ่งระบุว่าการที่คนเราจะรับรูว้ ่า
สิง่ ของหรือสถานการณ์ใดทีเ่ ป็ นอันตรายนัน้ มาจากความรูข้ องเขาว่าสิง่ ของหรือสถานการณ์นัน้
เป็ นอันตราย ซึง่ บุคคลนัน้ ก็จะมีพฤติกรรม หรือทัศนะทีส่ อดคล้องกับความรูเ้ กี่ยวกับความเสีย่ ง
นัน้
สาหรับทฤษฎีอ่นื ๆ เช่น Personality Theory เป็ นทฤษฎีทบ่ี ่งชี้ คนเราจะพฤติกรรม
รับรูส้ มั ผัสถึงความเสีย่ งแตกต่างกัน บางคนจะมีพฤติกรรมไม่ยอมรับรูค้ วามเสีย่ ง (risk –averse
behavior) ขณะที่บางคนมีพฤติกรรมรับรู้ถึงความเสี่ยง (risk - taking behavior) หรือ
Economic Theory ซึง่ เป็ นทฤษฎีท่วี างอยู่บนพืน้ ฐานด้านเศรษฐกิจว่าหากยอมรับความเสีย่ ง
มากขึ้น อาจจะได้รบั รางวัลมากขึ้น และ Cultural Theory ที่มฐี านความคิดว่าอันตราย
(Hazards) ใดทีค่ น (Individual) หรือกลุ่มคนกลัว และกลัวมากแค่ไหนก็กาหนดขึน้ มาเป็ นระดับ
การยอมรับความเสีย่ งนัน้
นัก จิต วิทยาหลายคนได้พยายามที่จะวัดการยอมรับความเสี่ยงโดยใช้เครื่องมือหรือ
เทคนิคทีเ่ รียกว่า Psychometric – Paradigm ดังเช่น Slovic, P.(1897) ได้ทาการวัดหลายครัง้
ในปี 1984 และปี 1987 สามารถระบุถงึ ปั จจัยหลัก 2 ประการทีม่ ผี ลต่อการยอมรับความเสีย่ ง
ของมนุ ษย์ คือ “น่ ากลัว/ไม่น่ากลัว (Dread/Non – Dread)” และ “รู้ /ไม่รู้ (Know /Unknown)”
ดังตารางที่ 20
428

ตารางที่ 7.1 ลักษณะ (Characteristics) หรือ พารามิเตอร์ (Parameter) ทีส่ มั พันธ์กบั ปั จจัย
การยอมรับความเสีย่ ง “กลัว/ไม่กลัว” และ “รู/้ ไม่ร”ู้
ปัจจัย ลักษณะหรือพารามิเตอร์ที่สมั พันธ์กบั ปัจจัย
น่ากลัว กลัว
ควบคุมไม่ได้
ผลทีเ่ กิดทั ่วโลก
ผลทาให้ตาย
เกิดผลเสียหายอย่างหนัก
ความเสีย่ งสูงต่อคนรุน่ ต่อไป
ยากต่อการควบคุม
ระดับความเสีย่ งเพิม่ ขึน้
ไม่เต็มใจสัมผัสความเสีย่ ง
ไม่น่ากลัว ไม่กลัว
ควบคุมได้
ผลทีเ่ กิดไม่ท ั ่วโลก
ไม่ตาย
ไม่เสียหายมาก
ความเสีย่ งต่าต่อคนรุน่ ต่อไป
ง่ายต่อการควบคุม
ระดับความเสีย่ งต่าลง
เต็มใจสัมผัสความเสีย่ ง
รู้ ความเสีย่ งทีส่ งั เกตเห็น
คนทีส่ มั ผัสรูว้ า่ เสีย่ ง
ผลเสียหายทันที
ความเสีย่ งทีเ่ ป็ นวิทยาศาสตร์
ไม่รู้ สังเกตไม่เห็น
ไม่รวู้ า่ เสีย่ ง
ความเสียหายอาจล่าช้า
ความเสีย่ งไม่เป็ นวิทยาศาสตร์
ทีม่ า: สราวุธ สุธรรมาสา, 2560, หน้า 5-8,5-9.

การสื่อสารความเสี่ยง (risk communication)


การสื่อ สารมีค วามส าคัญ เป็ น อย่ า งยิ่ง ในการจัด การความเสี่ย ง เพราะเมื่อ สถาน
ประกอบการหรือโรงงานมีความต้องให้พนักงานทุกคนมีความรับผิดชอบในการปฏิบตั งิ านให้ม ี
ความปลอดภัยในการทางาน หากเมื่อใดมีความเสี่ยงเกิดขึ้นก็มคี วามจาเป็ นที่ต้องสื่อสารให้
ผูเ้ กี่ยวข้องรับทราบ ไม่ว่าจะเป็ นนายจ้าง ผู้บริหารหรือฝ่ ายจัดการ ลูกจ้าง และประชาชนที่อยู่
อาศัยโดยรอบโรงงานหรือสถานประกอบการ
429

การสื่อสาร หมายถึง กระบวนการในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สกึ หรือ


กระบวนการส่งข่าวสารข้อมูลจากผูส้ ่งข่าวสารไปยังผูร้ บั ข่าวสาร มีวตั ถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ผรู้ บั
ข่าวสารมีปฏิกริ ยิ าตอบสนองกลับมา โดยคาดหวังให้เป็ นไปตามทีผ่ สู้ ่งต้องการ
ซึง่ องค์ประกอบของการสื่อสาร ประกอบด้วย
1. ผูส้ ่งข่าวสาร (sender)
2. เข้ารหัส (encode)
3. ข้อมูลข่าวสาร (message)
4. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (media)
5. ถอดรหัส (decode)
6. ผูร้ บั ข่าวสาร (receivers)
7. สิง่ รบกวน (noise)
8. ข้อมูลย้อนกลับ (feedback)
9. การตอบสนอง (response)
การสื่อสารความเสีย่ งสามารถเขียนเป็ นภาพได้ดงั นี้

สื่อ
ผู้ส่งสาร เข้ารหัส (media) ถอดรหัส ผู้รบั สาร
(Sender) (encode) ข่าวสาร (decode) (Receiver)
(message)

สิ่ งรบกวน
(noise)

ข้อมูลย้อนกลับ การตอบสนอง
(feedback) (response)

ภาพที่ 7.2 องค์ประกอบของการสื่อสารความเสีย่ ง


430

การสื่อสารความเสี่ยงที่จะประสบความสาเร็จ ผู้ส่อื สารต้องมีวตั ถุประสงค์การสื่อสาร


ความเสี่ยงเพื่อ ให้พนักงานได้รบั ข่าวสารและผู้ส่งข่าวสารต้อ งการส่ งข่าวสารเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยในการทางาน ด้วยการยอมรับความเสี่ยงทีส่ ามารถยอมรับได้ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ซึ่งผู้
ส่งสารต้องสร้างความไว้วางใจ ความน่ าเชื่อถือให้เป็ นที่ยอมรับของรับสาร และข่าวสารที่ถูก
นาเสนอออกไปต้องมีค วามชัดเจน มีค วามสมบูรณ์ ใ นเนื้อ หาที่ต้องการจะสื่ อ สาร การรับส่ ง
ความรูส้ กึ ทีด่ ี และมุง่ รักษามิตรภาพต่อกัน เป็ นการนาเสนอเรื่องราวหรือสิง่ อื่นใดทีจ่ ะทาให้ผรู้ บั
สารเกิดความพึงพอใจ และการนาเสนอข่าวสารเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ในการจัดการความ
เสีย่ ง หรือสิง่ อื่นใดเพื่อจูงใจให้เกิดความร่วมมือ สร้างกาลังใจ เพื่อ ให้ผรู้ บั สารเกิดความคิดคล้อย
ตาม หรือปฏิบตั ติ ามทีผ่ สู้ ่งสารต้องการ และนาไปสู่การปรับปรุงแก้ไข
คาศัพท์ที่สาคัญเกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยง
ในการจัดการความเสีย่ ง จะมีคาศัพท์ทเ่ี กีย่ วข้องหรือทีใ่ ช้เรียกหลายคา ซึง่ มีความหมาย
ทีแ่ ตกต่างกัน โดยมีผู้นิยามความหมายและความสาคัญในลักษณะการใช้อธิบาย จึงทาให้เกิด
ความสับสนกับผู้ท่ใี ช้เรียก ดังนัน้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจกับผู้ท่จี ะศึกษาเรื่องการจัดการความ
เสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิง่ คานิยามบางคาที่จาเป็ นต้องเกี่ยวข้องที่ต้องกาหนดขึ้นโดยองค์การ
ความปลอดภัยในการทางาน ซึ่งจะมีคาศัพท์สาคัญ ๆ ทีไ่ ด้นิยามในมาตรฐานการจัดการความ
เสี่ยงของสถาบันกาหนดมาตรฐานแห่งชาติออสเตรเลีย (Standards Australia) และสถาบัน
มาตรฐานแห่งชาตินิวซีแลนด์ (Standards New Zealand) คือ AS/NSS 4360 มาตรฐาน
คาศัพท์ของทัง้ สองสถาบันได้มรการกาหนดเมื่อปี 1995 และ ปรับปรุงใหม่ปี 1998 ได้นิยาม
คาศัพท์ทส่ี าคัญ ๆ ดังนี้ (สราวุธ สุธรรมาสา, 2560, หน้า 5-11)
อันตราย (hazard) หมายถึง แหล่งของภัยอันตราย หรือสถานการณ์ทม่ี ศี กั ยภาพทา
ให้เกิดความสูญเสีย (เมือ่ เวลาจะจัดการความเสีย่ ง ต้องเริม่ ทีช่ ้บี ่งอันตรายให้ได้ถึงถือว่าการ
จัดการความเสีย่ งตรงประเด็น)
ความเสี่ยง (risk) หมายถึง โอกาสที่บางสิง่ จะเกิดขึ้นซึ่งมีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์
(objective) ความเสี่ยงจะถูกวัดในด้านความเป็ นไปได้ท่จี ะเกิดบางสิง่ (นัน้ ) และความรุนแรง
(บางสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นนิยามนี้ ก็คอื อันตรายหรือ hazard นันเอง)

ความเป็ นไปได้ (likelihood) หมายถึง ใช้ในความหมายเชิงคุณภาพของโอกาสทีน่ ่ าจะ
เป็ นไปได้ (probability) และความถี่ (frequency)
โอกาสที่ น่า จะเป็ นไปได้ (probability) หมายถึง ความเป็ นไปได้ท่ีจะเกิดผลลัพ ธ์
เฉพาะ (specific outcome) ซึ่งวัดได้จากอัตราส่วนของผลลัพธ์เฉพาะต่อผลลัพธ์นั ้น และ “1”
หมายถึง มีโอกาสเกิดแน่นอน
ความถี่ (frequency) หมายถึง การวัดความเป็ นไปได้ แสดงในรูปจ านวนการเกิด
เหตุการณ์ในช่วงเวลาหนึ่งทีก่ าหนดไว้
431

ความรุน แรง (consequence) หมายถึง ผลลัพธ์ของเหตุ ก ารณ์ ห รือ สถานการณ์ ท่ี


แสดงออกมาในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ อาจเป็ นผลลัพธ์ทเ่ี ป็ นการสูญเสีย กรบาดเจ็บ การ
เสียประโยชน์หรือการได้รบั (gain) ก็เป็ นได้
การจัดการความเสี่ยง (risk management) หมายถึงการประยุกต์อย่างเป็ นระบบใน
การใช้นโยบายการจัดการขัน้ ตอนการดาเนินงาน และการปฏิบตั ิ เพื่อชีบ้ ่ง วิเคราะห์ ประเมินผล
แก้ไข และเฝ้ าระวังความเสีย่ งทีม่ อี ยูใ่ นงานหนึ่ง ๆ
การประเมิ นความเสี่ยง (risk assessment) หมายถึง กระบวนการทัง้ หมดของการ
วิเคราะห์ความเสี่ยง (risk analysis) และการประเมินผลความเสี่ยง (risk evaluation) รวมทัง้
เป็ นการประมาณระดับความเสีย่ ง และการตัดสินว่าความเสีย่ งนัน้ อยู่ในระดับใด ซึง่ การประเมิน
ความเสีย่ งจะสะท้อนให้เห็นถึงการเกิดดังนี้
1. โอกาสที่จะเกิด (Likelihood) เป็ นการพิจารณาความเป็ นไปได้ท่จี ะ เกิด
เหตุการณ์ความเสี่ยงในช่วงเวลาหนึ่ง หรือจะเรียกว่า ความถี่หรือ โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์
ความเสีย่ งก็ได้ ได้แก่ หากพนักงานปฏิบตั ิหน้าทีก่ บั เครื่องจักรทีม่ คี วามเสีย่ งอันตรายพนักงาน
ต้องมีการป้ องกันร่างกายโดยการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เพราะโอกาสที่จะ
เกิดอุบตั เิ หตุท่พี ลาดจากเครื่องตัดอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย จึงต้องมีการป้ องกันไม่ให้ม ี
โอกาสทีจ่ ะเกิดอันตรายได้ เป็ นต้น
2. ผลกระทบ (Impact) ระดับความรุนแรงของผลเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จากความ
เสี่ย งและมีผ ลกระทบต่ อ องค์ก ารซึ่ง อาจเป็ น ไปได้ เช่ น หากได้รบั อัน ตรายจากเครื่อ งจัก ร
กระแทก หรือ ตัด จนทาให้ได้รบั อุบตั เิ หตุถงึ ขัน้ รุนแรงย่อมทาให้ได้รบั ผลกระทบต่อพนักงาน
ผู้ปฏิบตั งิ าน ครอบครัว เพื่อนร่วมงาน นายจ้าง ลูกค้า และประเทศชาติ เป็ นต้น ไม่ว่าจะเป็ น
ภาระต่าง ๆ ต้องเกิดกับผู้ประสบอันตราย หรือบาดเจ็บ ดังนัน้ เพื่อเป็ นการป้ องกันไม่ให้เกิด
อุบตั เิ หตุหรือประสบอันตรายเนื่องจากการทางานจาเป็ นต้องอาศัยการประเมินความเสีย่ งทีต่ ้อง
มีการเคราะห์สาเหตุการเกิดเพื่อหาแนวทางในการป้ องกันเหตุการณ์ทจ่ี ะเกิดขึน้ ต่อไป
การวิ เคราะห์ความเสี่ยง (risk analysis) หมายถึง การใช้ขอ้ มูลข่าวสารทีม่ อี ยู่อย่าง
เป็ นระบบเพื่อพิจารณา หรือกาหนดว่าเหตุการณ์นนั ้ ๆ จะเกิดขึน้ บ่อยเพียงใด และขนาดความ
รุนแรงของเหตุการณ์นนั ้ ๆ
การบาบัดความเสี่ ยง (risk treatment) หมายถึง การเลือกและการดาเนินการของ
วิธกี ารที่เหมาะสมสาหรับการดูแล (dealing) ความเสี่ยง (ค าว่า “การบาบัดความเสีย่ ง” จะมี
ความหมายครอบคลุมถึง “การควบคุมความเสีย่ ง” ด้วย)
การควบคุมความเสี่ยง (risk control) หมายถึง เป็ นส่วนหนึ่งของการจัดการความ
เสีย่ งทีจ่ ะกาจัด หลีกเลีย่ ง หรือ ลดความเสีย่ งทีอ่ งค์การเผชิญ (มี) อยู่
432

การลดความเสี่ยง (risk reduction) หมายถึง การคัดเลือกเทคนิคที่เหมาะสมและ


หลักการจัดการในการลดความเป็ นไปได้และ/หรือความรุนแรงของเหตุการณ์
การย้ายความเสี่ยง (risk transfer) หมายถึง การย้ายความรับผิดชอบหรือภาระความ
สูญเสียไปยังองค์การอื่นผ่านทางกฎหมาย การตกลง (สัญญา) การประกันภัย หรือวิธกี ารอื่น ๆ
การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (risk avoidance) หมายถึง การตัดสินใจที่แจ้งไว้ ที่จะไม่
เข้าไปเกีย่ วข้องกับสถานการณ์ความเสีย่ ง
การเฝ้ าระวัง (monitor) หมายถึง การตรวจ การแนะนา การสังเกตอย่างละเอียดหรือ
การบันทึกความก้าวหน้าของกิจกรรม การกระทา หรือของระบบบนพืน้ ฐานการทางานตามปกติ
เพื่อนาไปสู่การชีบ้ ่งการเปลีย่ นแปลง(ทีจ่ ะเกิดขึน้ )
การชี้บ่งอันตราย (identification) หมายถึง กระบวนการในการค้นหาอันตรายทีม่ อี ยู่
ในแต่ละลักษณะงานและกิจกรรมแล้วระบุลกั ษณะของอันตราย
ระดับความเสี่ ย งที่ ย อมรับ ได้ หมายถึง ระดับ ความเสี่ย งที่อ งค์กรยอมรับ โดยไม่
จาเป็ นต้องเพิม่ มาตรการควบคุมอีกซึ่งได้รบั การพิจารณาจากการประเมินความเสี่ยงแล้วว่า
โอกาสที่จะเกิด และความรุนแรงที่จะเกิดขึน้ มีเพียงเล็ก น้อย ระดับความเสีย่ งที่ยอมรับได้ อาจ
เป็ นผลจากการมีมาตรการทีเ่ หมาะสมในการลด หรือควบคุมความเสีย่ ง
ความเจ็บป่ วยจากการทางาน หมายถึง ความเจ็บป่ วยทีไ่ ด้ผ่านการพิจารณาแล้วว่ามี
สาเหตุเกิดจากการทางาน หรือสิง่ แวดล้อมของสถานทีท่ างาน
เหตุการณ์ เกื อ บเกิ ดอุบตั ิ เหตุ หมายถึง เหตุการณ์ท่ไี ม่พงึ ประสงค์ มีแนวโน้ มที่จะ
ก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ
การเตื อ นอัน ตราย หมายถึง การประกาศหรือ บอกให้ท ราบด้ว ยวิธ ีก ารใด ๆ ถึง
อันตรายหรือความเสีย่ ง
ขัน้ ตอนการปฏิ บตั ิ ง าน (operating procedure) หมายถึง เอกสารที่อ ธิบ ายถึง
ขัน้ ตอนการทางานหรือ การดาเนินงานในเรื่อ งใดเรื่อ งหนึ่งเพื่อ การปฏิบตั ิงานที่ถู กต้อ งและ
ก่อให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านหรือเพื่อเป็ นการลดหรือควบคุมความเสีย่ ง
การดาเนิ นงานในโรงงาน หมายถึง ระบบกระบวนการ การออกแบบ กระบวนการ
ผลิต การรับจ่าย การเก็บ การขนถ่ายหรือขนย้าย การใช้วตั ถุดบิ เชื้อเพลิง สารเคมีอนั ตราย
ผลิตภัณฑ์และวัตถุทก่ี ่อให้เกิดคุณค่า วิธกี ารปฏิบตั งิ าน เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการผลิต
และกิจกรรมหรือสภาพการณ์ต่าง ๆ ภายในโรงงาน เป็ นต้น
โรงงาน (factory) หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะทีใ่ ช้เครื่องจักรมีกาลังรวม
ตัง้ แต่หา้ แรงม้าหรือกาลังเทียบเท่าตัง้ แต่หา้ แรงม้าขึน้ ไป หรือใช้ผปู้ ฏิบตั งิ านตัง้ แต่เจ็ดคนขึน้ ไป
โดยใช้เ ครื่อ งจัก รหรือ ไม่ ก็ต าม ส าหรับ ท าผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่ อ ม ซ่ อ มบ ารุ ง ทดสอบ
433

ปรับปรุง แปรสภาพ ลาเลียง เก็บรักษา หรือทาลายสิง่ ใด ๆ ทัง้ นี้ตามประเภทหรือชนิดของ


โรงงานทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
ประกอบกิ จการโรงงาน หมายถึง การดาเนินการทาผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อม
บารุง ทดสอบปรับปรุง แปรสภาพ ลาเลียง เก็บรักษา หรือทาลายสิง่ ใด ๆ ตามลักษณะกิจกรรม
ของโรงงานแต่ไม่รวมถึงการทดลองเดินเครือ่ งจักร
ผูป้ ฏิ บตั ิ งาน หมายถึง ผูซ้ ง่ึ ทางานในโรงงาน ทัง้ นี้ ไม่รวมผูป้ ฏิบตั งิ านฝ่ ายธุรการ
ผู้ประกอบกิ จการโรงงาน หมายถึง ผู้ประกอบกิจการโรงงาน ตามกฎหมายว่าด้วย
โรงงาน
สารเคมีอนั ตราย (hazardous substance) หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุอนั ตราย ซึ่ง
เป็ นสารบริสุทธิ ์สารประกอบ สารผสม ในสถานะของแข็ง ของเหลว ก๊าซ ทีท่ าให้เกิดการระคาย
เคือง แพ้ หรือเป็ นอันตรายต่อชีวติ และ/หรือสุขภาพอนามัย
กระบวนการผลิ ต (process) หมายถึง กิจ กรรมต่ า ง ๆ ที่เ กี่ย วข้อ งกับ สารเคมี
อันตราย ซึง่ รวมถึงการใช้เก็บ ผลิต เคลื่อนย้าย ครอบครอง ภายในพืน้ ทีโ่ รงงาน
ผู้ร บั เหมา (contractor) หมายถึง ผู้ร บั เหมาหลัก และหมายรวมถึง ผู้รบั เหมาช่ ว ง
(sub-contractor)
การจัด การความเสี่ย งในสถานประกอบการได้ ม ีก ารออกเป็ นประกาศกระทร วง
อุตสาหกรรม ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2542) ออกตามความในพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 เรื่อง
มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน ซึ่งจะนามาเสนอไว้เพื่อแสดงให้เห็นว่ า
ผูร้ บั ผิดชอบเกีย่ วผูป้ ฏิบตั งิ าน หรือลูกจ้าง จะต้องทางานด้วยความปลอดภัย ด้วยรัฐบาลได้ออก
กฎหมายเพื่อ มาคุ้ม ครองให้ ม ีค วามปลอดภัย ส าหรับ ลู ก จ้า ง และให้ น ายจ้า ง หรือ สถาน
ประกอบการได้มคี วามรับผิดชอบ และมีมนุ ษยธรรมหรือให้เกิดความธรรมกับลูกจ้าง รวมทัง้
ต้องปฏิบตั ติ ่อลูกจ้างเปรียบเสมือนเป็ นบุคคลในครอบครัวเดียวกัน ดังจะกล่าวรายละเอียดไว้
ดังนี้
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542)
ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
เรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนิ นงาน
อาศัยอานาจตามความในข้อ18 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม กาหนดมาตรการ
คุม้ ครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ผู้ใ ดประสงค์จะขอรับใบอนุ ญ าตประกอบกิจการโรงงานหรือ ใบอนุ ญ าตขยาย
โรงงาน โรงงานจาพวกที่ 3 ตาม ประเภทหรือชนิดของโรงงานทีร่ ะบุในบัญชีทา้ ยประกาศนี้ให้
จัดทารายงานการวิเคราะห์ความเสีย่ งจากอันตรายที่อาจเกิดจากการ ประกอบกิจการโรงงาน
434

ตามรายละเอียดที่กาหนดในข้อ 2 จานวนหนึ่งฉบับ พร้อมกับการยื่นคาขอรับใบอนุ ญ าต


ประกอบกิจการโรงงาน หรือคาขอรับใบอนุ ญาตขยายโรงงาน แล้วแต่กรณีโดยให้โรงงานในเขต
กรุงเทพมหานครยืน่ ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนโรงงานในจังหวัดท้องทีท่ โ่ี รงงานตัง้ อยู่
สาหรับโรงงานที่ไ ด้รบั ใบอนุ ญาตประกอบกิจการโรงงานหรือใบอนุ ญาตขยายโรงงาน
ก่อนวันที่ประกาศนี้มผี ลบังคับใช้ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานจัดทารายงานการวิเคราะห์ความ
เสีย่ งจากอันตรายทีอ่ าจเกิดจากการประกอบกิจการโรงงานตามวรรค หนึ่ง ภายในสามร้อยหก
สิบวันนับแต่วนั ที่ประกาศนี้มผี ลบังคับใช้ทงั ้ นี้ให้มกี ารทบทวนและจัดทารายงานการวิเคราะห์
ความเสีย่ ง จากอันตรายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการโรงงานในคราวต่อไป พร้อมกับการ
ยืน่ คาขอต่ออายุใบอนุญาตทุกครัง้
โรงงานที่ตงั ้ อยู่ในนิค มอุตสาหกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุต สาหกรรมให้ผู้
ประกอบกิจการโรงงานจัดทาและยืน่ รายงานการวิเคราะห์ความเสีย่ งจากอันตรายทีอ่ าจเกิดจาก
การประกอบกิจการโรงงาน ตามรายละเอียดทีก่ าหนดในข้อ 2 จานวน สองฉบับ โดยยื่นต่อการ
นิค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยหนึ่งฉบับ และยื่น ต่ อ กรมโรงงานอุ ต สาหกรรมหนึ่งฉบับ
ภายในระยะ เวลาทีก่ าหนด โดยให้นาความในวรรคหนึ่งและวรรคสองเกี่ยวกับระยะเวลาการยื่น
มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
ผู้ใดประสงค์ท่จี ะตัง้ โรงงานในเขตประกอบการอุตสาหกรรม ตามมาตรา 30 แห่ ง
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานจัดทาและยื่นรายงานการ
วิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน ตามรายละเอียดที่
กาหนดในข้อ 2 จานวนหนึ่งฉบับพร้อมกับการยื่นแจ้งการประกอบกิจการตามมาตรา 13 วรรค
หนึ่ง แห่งพระราช บัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 โดยให้โรงงานที่จะตัง้ ในเขตประกอบการ
อุตสาหกรรมทีอ่ ยูใ่ นเขตกรุงเทพมหานครยืน่ ต่อกรมโรงงาน อุตสาหกรรม ส่วนโรงงานทีจ่ ะตัง้ ใน
เขตประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัดอื่นให้ย่นื ต่อสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ท้องทีท่ ่เี ขต
ประกอบการอุตสาหกรรมตัง้ อยู่
สาหรับโรงงานทีป่ ระกอบกิจการอยู่ในเขตประกอบการอุตสาหกรรม ตามมาตร 30 แห่ง
พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 ก่อนวันทีป่ ระกาศนี้มผี ลบังคับใช้ให้ผูป้ ระกอบกิจการโรงงาน
จัดทาและยื่นรายงานการวิเคราะห์ความเสีย่ งจากอันตรายที่ อาจเกิดจากการประกอบกิจการ
โรงงาน ตามรายละเอียดที่กาหนดในข้อ 2 จานวนหนึ่งฉบับ ภายในสามร้อยหกสิบวันนับแต่
วันที่ ประกาศนี้มผี ลบังคับใช้โดยให้โรงงานทีต่ งั ้ อยู่ในเขตประกอบการอุตสาหกรรมทีอ่ ยู่ในเขต
กรุง เทพมหานครยื่น ต่ อ กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม ส่ ว นโรงงานที่ต ัง้ อยู่ ใ นเขตประกอบการ
อุตสาหกรรมในจังหวัดอื่นให้ย่นื ต่อสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ท้องที่ท่เี ขต ประกอบการ
อุตสาหกรรมตัง้ อยู่
435

โรงงานที่ตงั ้ และประกอบกิจการอยู่ ในเขตประกอบการอุตสาหกรรม ตามวรรคสี่และ


วรรคห้าจะต้องทบทวน จัดทาและ ยื่นรายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิด
จากการประกอบกิจการโรงงาน ครัง้ ต่อไปทุก ๆ ห้าปี ภายในวันที่ 30 ธันวาคมของปี ทห่ี า้ นับแต่
ปี ถดั จากปี ทย่ี น่ ื ครัง้ ก่อน
ข้อ 2 รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการ
โรงงานประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้
2.1 ข้อมูลรายละเอียดการประกอบกิจการ
2.1.1 แผนทีแ่ สดงทีต่ งั ้ โรงงาน รวมทัง้ สถานทีต่ ่าง ๆ เช่น ที่พกั อาศัย
โรงเรียน โรงงาน โรงพยาบาล สถาบันการ ศึกษาเส้นทางการจราจรและชุมชนทีอ่ ยู่ใกล้เคียงใน
ระยะ 500 เมตร โดยรอบ เป็ นต้น
2.1.2 แผนผังรวมทีแ่ สดงตาแหน่ งของโรงงาน ทีอ่ าจก่อให้เกิดอุบตั ภิ ยั
ร้ายแรง เช่น การเกิดเพลิงไหม้การระเบิด การรัวไหลสารเคมี ่ หรือวัตถุอนั ตรายในกรณีทห่ี ลาย
โรงงานอยูใ่ นบริเวณเดียวกัน
2.1.3 แผนผังโรงงานขนาดมาตราส่วน 1:100 หรือขนาดทีเ่ หมาะสม
แสดงรายละเอียดการติดตัง้ เครือ่ ง จักร สถานทีเ่ ก็บวัตถุดบิ เชือ้ เพลิง สารเคมีหรือวัตถุอนั ตราย
ผลิตภัณฑ์และวัตถุพลอยได้ท่พี กั คนงาน โรงอาหาร อุปกรณ์ และ เครื่องมือเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยและสิง่ อื่น ๆ ที่มคี วามสาคัญ ต่ อการเกิดการป้ องกัน หรือการควบคุมเพลิงไหม้การ
ระเบิด การรัว่ ไหลของสารเคมีหรือวัตถุอนั ตราย
2.1.4 ขัน้ ตอนกระบวนการผลิต พร้อ มแผนภูม ิก ารผลิต รวมทัง้
รายละเอียดของอุณหภูมคิ วามดัน ชนิดและ ปริมาณวัตถุดบิ เชือ้ เพลิง สารเคมีหรือวัตถุอนั ตราย
ผลิตภัณฑ์และวัตถุพลอยได้เฉลีย่ ต่อปี
2.1.5 จานวนผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงาน และการจัดช่วงเวลาการทางาน
2.1.6 ข้อมูลอื่น ๆ เช่น สถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุการบาดเจ็บ การเจ็บ ป่ วย
รายงานการสอบสวนอุบตั เิ หตุหรือ รายงานการตรวจประเมินความปลอดภัยเป็ นต้น
2.2 ข้อมูลรายละเอียดการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ ง
การชี้บ่งอันตราย (Hazard Identification) หมายถึง การแจกแจงอันตราย
ต่าง ๆ ทีม่ แี ละทีแ่ อบแฝงอยู่ซง่ึ อาจ เกิดขึน้ จากการประกอบกิจการทุกขัน้ ตอนตัง้ แต่การรับจ่าย
การเก็บ การขนถ่ายหรือขนย้าย การใช้การขนส่ง วัตถุดบิ เชือ้ เพลิง สารเคมีหรือวัตถุอนั ตราย
ผลิตภัณฑ์ และวัตถุพลอยได้ กระบวนการผลิต วิธกี ารปฏิบตั งิ าน เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ใน
การผลิต และกิจกรรมหรือสภาพการณ์ต่าง ๆ ภายในโรงงาน เป็ นต้น
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) หมายถึงกระบวนการวิเคราะห์ถงึ
ปั จจัยหรือสภาพการณ์ต่าง ๆ ที่ เป็ นสาเหตุ ทาให้อนั ตรายที่มแี ละที่แอบแฝงอยู่ ก่อให้เกิด
อุบตั ิเหตุแ ละอาจก่ อ ให้เกิดเหตุการณ์ ท่ไี ม่พงึ ประสงค์ เช่น การเกิดเพลิง ไหม้ การระเบิด
436

การรัวไหลของสารเคมี
่ หรือวัตถุอนั ตราย เป็ นต้น โดยพิจารณาถึงโอกาสและความรุนแรงของ
เหตุการณ์ เหล่านัน้ ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือความเสียหายแก่ ชวี ติ ทรัพย์สนิ และ
สิง่ แวดล้อม เป็ นต้น
2.3 ข้อมูลรายละเอียดแผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง
แผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง (Risk Management Program) หมายถึง
แผนการดาเนินงานในการกาหนด มาตรการความปลอดภัยที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพใน
การจัดการความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้น รวมทัง้ การจัดหาสิง่ อานวยความสะดวก
เครื่องมือหรืออุปกรณ์ และบุคลากรที่เหมาะสม เพื่อดาเนินการตามระเบียบปฏิบตั ใิ นมาตรการ
ความปลอด ภัยเพื่อป้ องกัน ควบคุม บรรเทาหรือลดความเสี่ยงจากอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ จาก
การประกอบกิจการนัน้ ๆ โดยต้องคานึงถึงผล กระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ จากแผนงานบริหารจัดการ
ความเสีย่ งดังกล่าวต่อระบบเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม รวมทัง้ ปั จจัยอื่น ๆ เช่น ความเป็ นไป
ได้ของเทคโนโลยี เป็ นต้น
ข้อ 3 การชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ ง ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานอาจเลือกใช้
วิธกี ารใดวิธกี ารหนึ่งหรือหลาย วิธที ่เี หมาะสมตามลักษณะการประกอบกิจการหรือลักษณะ
ความเสีย่ งจากอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการประกอบกิจการโรงงาน ดังต่อไปนี้
3.1 Checklist
3.2 WHAT - IF Analysis
3.3 Hazard and Operability Studied (HAZOP)
3.4 Fault - Tree Analysis (FTA)
3.5 Failure Modes and Effects Analysis (FMEA)
3.6 Event - Tree Analysis หรือวิธกี ารอื่นใดทีก่ รมโรงงานอุตสาหกรรม
เห็นชอบ
ข้อ 4 แผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานต้องดาเนินการจัดทา
แผนงานเพื่อกาหนดมาตรการ ความปลอดภัยที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพในการจัดการ
ความเสีย่ งเพื่อป้ องกันและควบคุม บรรเทาหรือลดความเสีย่ งจาก อันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการ
ประกอบกิจการ ซึง่ ได้ผา่ นการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ ง ในข้อ 3 มาตรการความ
ปลอดภัย เหล่ า นัน้ ให้ พิจ ารณาถึง ทุ ก ขัน้ ตอนการทางานตัง้ แต่ ก ารออกแบบ การสร้ าง การ
ประกอบกิจการและการบริหารงาน เป็ นต้น โดยองค์ประกอบหลักในแผนงานบริหารจัดการ
ความเสีย่ งต้องประกอบด้วย
4.1 มาตรการป้ อ งกัน และควบคุ ม สาเหตุ ของการเกิดอัน ตราย (Control
Measure) ได้แก่
4.1.1การออกแบบ การสร้างและการติดตัง้ เครื่องจักรอุปกรณ์ เครื่องมือ
ตลอดจนการใช้วสั ดุทไ่ี ด้มาตรฐาน
437

4.1.2 การทางานหรือการปฏิบตั งิ านตามขัน้ ตอนทีถ่ ูกต้อง


4.1.3 การซ่อมบารุงเครือ่ งจักรอุปกรณ์และเครือ่ งมือ
4.1.4 การทดสอบ ตรวจสอบ เครือ่ งจักรอุปกรณ์และเครือ่ งมือ
4.1.5 การเปลีย่ นแปลงต่างๆเช่น กระบวนการผลิตวัตถุดบิ เครือ่ งจักร
4.1.6 การฝึกอบรม (Training)
4.1.7 การตรวจประเมินความปลอดภัย (Safety Audit)
4.1.8 การปฏิบตั ติ ามข้อกาหนด (Code of Practice)
4.1.9 และหรืออื่น ๆ
4.2 มาตรการระงับและฟื้ นฟูเหตุการณ์ (Recovery Measure) ได้แก่การ
วางแผน แผนฉุ กเฉิน และการซ่ อมแผนฉุ กเฉิน (Emergency Response Plan and Drill) การ
สอบสวนอุบตั เิ หตุ (Accident Investigation) เป็ นต้น
4.3 แผนงานปรับปรุงแก้ไข (Corrective Action Plan) ใช้ในกรณีสาหรับ
โรงงานทีไ่ ด้แจ้งเริม่ ประกอบกิจการโรงงานตาม มาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ.
2535 แล้ว ได้แก่ แผนงานกาหนดการปรับปรุงแก้ไขเพิม่ เติมในมาตรการป้ องกันและ ควบคุม
สาเหตุของการเกิดอันตรายและมาตรการระงับและฟื้ นฟูเหตุการณ์เป็ นต้น
ข้อ 5 หลักเกณฑ์การชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งในข้อ 3 ให้เป็ นไปตาม
ระเบียบปฏิบตั ทิ ่กี รมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด หรือวิธกี ารอื่นใดที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม
เห็นชอบ
ข้อ 6 หลักเกณฑ์การจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสีย่ งในข้อ 4 ต้องเป็ นมาตรการ
ทีส่ ามารถทาให้ความเสีย่ งที่อาจ ก่อให้เกิดอันตรายอยู่ในระดับที่ยอมรับได้และให้เป็ นไปตาม
ระเบียบปฏิบตั ทิ ก่ี รมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด หรือวิธกี ารอื่นใดที่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
เห็นชอบ
ทัง้ นี้ ใ ห้ใ ช้ บ ัง คับ เมื่อ พ้ น ก าหนดสามร้ อ ยห้ า สิบ วัน นั บ แต่ ว ัน ประกาศในราชกิจ จา-
นุเบกษาเป็ นต้นไป

ประกาศ ณ วันที1่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542


สุวจั น์ ลิปตพัลลภ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
438

กฎหมายคุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ได้ออกกฎหมายมาเพื่อคุม้ ครองแรงงานให้เกิด


ความปลอดภัย ในการท างานทุ ก ประเภทของการท างาน และได้ม ีก ารดาเนิ น การเกี่ย วกับ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเพิม่ เติมให้นายจ้างได้จดั ทาหรือดาเนินการด้านความปลอดภัยใน
โรงงานอุ ต สาหกรรมให้ ม ีค วามเข้ ม งวดมากยิ่ง ขึ้น ทัง้ นี้ เ พื่อ ให้ ผู้ ป ฏิบ ัติ ง านในโรงงาน
อุตสาหกรรมมีความปลอดภัยในการทางานสูง รวมทัง้ ให้อุบตั เิ หตุท่เี กิดจากการทางานไม่มเี ลย
(Zero Accident) จึงได้มที าบัญชีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเพิม่ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542)
เรือ่ งการคุม้ ครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน ทีม่ รี ายการเพิม่ เติม ดังแสดงในตารางที่ 7.2

ตารางที่ 7.2 บัญชีทา้ ยประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542) เรือ่ ง มาตรการ


คุม้ ครองความปลอดภัยในการดาเนินงาน
รายการที่ ลาดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีทา้ ยกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535)
ออกตามความในพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535
1. 7(1) (4) โรงงานสกัดน้ ามันจากพืช สัตว์หรือไขมันสัตว์เฉพาะที่ใช้สารตัวทา
ละลายในการสกัด
2. 42(1) (2) โรงงานประกอบกิจการเกีย่ วกับ เคมีภณ ั ฑ์สารเคมีหรือวัตถุอนั ตราย
3. 43(1) (2) โรงงานประกอบกิจการเกีย่ วกับปุ๋ ย หรือสารป้ องกัน หรือกาจัดศัตรูพชื
หรือสัตว์
4. 44 โรงงานประกอบกิจการเกีย่ วกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห์ยางอีลาส
โตเมอร์พลาสติก หรือ เส้นใยสังเคราะห์ซง่ึ มิใช้ใยแก้ว
5. 45(1) (2) โรงงานประกอบกิจการเกีย่ วกับสีน้ ามันชักเงา เชลแล็ค แล็กเกอร์หรือ
ผลิตภัณฑ์สาหรับใช้ยา หรืออุด
6. 48(4) โรงงานประกอบกิจการเกีย่ วกับการทาไม้ขดี ไฟ วัตถุระเบิด หรือ
ดอกไม้ไฟ
7. 49 โรงงานกลั ่นน้ ามันปิ โตรเลียม
8. 50(4) โรงงานประกอบกิจการเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์จากปิ โตเลีย่ ม ถ่านหิน หรือ
ลิกไนต์
9. 89 โรงงานผลิตก๊าซซึง่ มิใช้ก๊าซธรรมชาติสง่ หรือจาหน่ายก๊าซ
10. 91(2) โรงงานบรรจุก๊าซ
11. 92 โรงงานห้องเย็น
12. 99 โรงงานผลิต ซ่อมแซม ดัดแปลง เครื่องกระสุนปื นวัตถุระเบิด หรือสิง่
อื่นใดทีม่ อี านาจในการ ประหาร ทาลายหรือทาให้หมดสมรรถภาพ ใน
ทานองเดียวกับอาวุธปื น เครื่องกระสุนปื น หรือ วัตถุระเบิด และ
รวมถึงสิง่ ประกอบของสิง่ ดังกล่าว
ทีม่ า: ราชกิจจานุเบกษา, 2542, หน้า 29.
439

องค์ประกอบรายงานการบริ หารจัดการความเสี่ยง
การจัดทารายงานการวิเ คราะห์ค วามเสี่ยงจากอันตรายที่ อ าจเกิดจากการประกอบ
กิจการโรงงาน ต้องประกอบด้วยองค์ประกอบอย่างน้อย ดังนี้
1. ข้อมูลทัวไปของโรงงาน

2. แผนทีแ่ สดงที่ตงั ้ โรงงาน รวมทัง้ สถานที่ต่าง ๆ เช่น ที่พกั อาศัย โรงงาน โรงเรียน
โรงพยาบาล สถาบันการศึกษา เส้นทางจราจร และชุมชนใกล้เคียง ในระยะ 500 เมตร
3. แผนผังรวมทีแ่ สดงตาแหน่ งของโรงงาน ที่อาจก่อให้เกิดอุบตั ภิ ยั ร้ายแรง เช่น การ
เกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรัวไหลสารเคมี
่ หรือวัตถุอนั ตราย ในกรณีท่มี หี ลายโรงงานอยู่ใน
บริเวณเดียวกัน

4. แผนผังโรงงานขนาดมาตราส่วน 1 :100 หรือขนาดทีเ่ หมาะสม แสดงรายละเอียดการ


ติดตัง้ เครือ่ งจักร สถานทีเ่ ก็บวัตถุดบิ เชือ้ เพลิง สารเคมี หรือวัตถุอนั ตราย ผลิตภัณฑ์ และวัตถุ
พลอยได้ ทีพ่ กั คนงาน โรงอาหาร อุปกรณ์และเครือ่ งมือเกีย่ วกับความปลอดภัย และสิง่ อื่น ๆ ที่
มีความสาคัญต่อการเกิด การป้ องกัน หรือการควบคุมเพลิงไหม้ การระเบิด การรัวไหลขอ ่ ง
สารเคมีหรือวัตถุอนั ตราย
(กรณี ผู้ป ระกอบกิ จ การขออนุ ญ าตขยายโรงงานจะต้ อ งระบุ ร ายละเอี ย ด
เครื่องจักร และกระบวนการผลิ ตในส่วนขยายให้ชดั เจนด้วย)
5. จานวนผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงาน วันทางาน และการจัดช่วงเวลาในการทางาน จานวน
กะ (ถ้ามี)
6. ข้อมูลอื่น ๆ เช่น สถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุ การบาดเจ็บ การเจ็บป่ วย การสอบสวนการ
เกิดอุบตั เิ หตุ
7. ชื่อ – นามสกุล ตาแหน่ง วุฒกิ ารศึกษาผูท้ าการชีบ้ ่งอันตราย อย่าง 3 ท่าน
8. ขัน้ ตอนกระบวนการผลิตพร้อมแผนภูมกิ ระบวนการผลิต รวมทัง้ ระบุรายละเอียดของ
อุณหภูม ิ ความดัน ชนิดและปริมาณวัตถุดบิ เชื้อเพลิง สารเคมี หรือวัตถุอนั ตราย ผลิตภัณฑ์
และวัตถุพลอยได้เฉลีย่ ต่อปี
9. บัญชีรายการสิง่ ทีเ่ ป็ นความเสีย่ งและอันตราย
10. การชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ ง
11. การจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง (แผนงานควบคุมความเสีย่ ง/แผนงาน
ลดความเสีย่ ง)
12. บทสรุปผลการศึกษา วิเคราะห์และทบทวนการดาเนินงาน ที่มคี วามเสี่ยงภายใน
โรงงาน
440

13. จัดทาแผนฉุ ก เฉิ นกรณีไฟไหม้ และ/หรือ สารเคมีรวไหล


ั่ (กรณีมกี ารใช้ส ารเคมี
อันตราย)
หากสถานประกอบการหรือโรงงานที่ประกอบกิจการมีความเสีย่ งและอันตรายเกี่ยวกับ
สารเคมี หรือวัตถุอนั ตรายก็ให้ดาเนินการจัดทาบัญชีรายการสิง่ ที่เป็ นความเสี่ยงและอันตราย
แจ้งหรือรายงานต่อหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดทาบัญชีให้จดั ทาบัญชีรายการสิง่ ที่เป็ นความ
เสี่ย งและอัน ตราย โดยให้ แ จกแจงการด าเนิ น งานทัง้ หมดในโรงงานให้ ค รบถ้ ว น ตัง้ แต่
กระบวนการรับและการจัดเก็บวัตถุดบิ และสารเคมี การเตรียมวัตถุดบิ และสารเคมีขนั ้ ตอนการ
ผลิต การบรรจุ การจัดเก็บผลิตภัณฑ์ รวมทัง้ กระบวนการสนับสนุ น เช่น ระบบไฟฟ้ า การซ่อม
บารุง ตามแบฟอร์มที่กาหนดตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่าด้วยหลักเกณฑ์การชี้บงั
อันตรายการประเมินความเสีย่ ง และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง ดังตาราง
บัญชีรายการสิ่ งที่เป็ นความเสี่ยงและอันตราย

ชื่อโรงงาน ..............................................................................................................................
วัน เดือน ปี ทีท่ าการวิเคราะห์ และทบทวนการดาเนินงานในโรงงาน .......................................
ตารางที่ 7.3 การจัดทาบัญชีรายการสิง่ ทีเ่ ป็ นความเสีย่ งและอันตราย
การดาเนินการในโรงงาน สิง่ ทีเ่ ป็ นความเสีย่ งและ ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ หมายเหตุ
อันตราย
ให้ระบุกจิ กรรมการ ให้ระบุสภาวะหรือการกระทา ระบุผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ระบุวธิ กี ารชีบ้ ่ง
ดาเนินการโดยเรียงลาดับ ทีอ่ าจก่อให้เกิดการบาดเจ็บ ต่อบุคคล ชุมชน สิง่ แวดล้อม อันตรายทีใ่ ช้
ดังนี้ หรือความเจ็บป่ วยจากการ และทรัพย์สนิ
1. กระบวนการรับวัตถุดบิ ทางาน ความเสียหายต่อ
และสารเคมี บุคคล ชุมชน สิง่ แวดล้อม
1.1 กลุ่มไวไฟ และทรัพย์สนิ
1.2 กลุ่มกัดกร่อน
1.3 กลุ่มเป็ นพิษ
2. กระบวนการจัดเก็บ
วัตถุดบิ และสารเคมี
2.1 กลุ่มไวไฟ
2.2 กลุ่มกัดกร่อน
2.3 กลุ่มเป็ นพิษ
3. กระบวนการเตรียม
วัตถุดบิ และสารเคมี
4. กระบวนการผลิตให้ระบุ
ขัน้ ตอนการผลิตทุก
ขัน้ ตอนการผลิตทุก
ขัน้ ตอน และทุกกลุ่ม
441

ตารางที่ 7.3 การจัดทาบัญชีรายการสิง่ ทีเ่ ป็ นความเสีย่ งและอันตราย (ต่อ)


การดาเนินการในโรงงาน สิง่ ทีเ่ ป็ นความเสีย่ งและ ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ หมายเหตุ
อันตราย
ผลิตภัณฑ์(ตามBlock flow
diagram)
5. กระบวนการจัดเก็บ
ผลิตภัณฑ์
6. กระบวนการสนับสนุน
เช่น ระบบไฟฟ้ า การซ่อม
บารุง

กระบวนการประเมิ นความเสี่ยง
โดยหลักการประเมินความเสีย่ ง เป็ นขัน้ ตอนทีร่ ะบุลาดับความเสีย่ งของอันตรายทัง้ หมด
ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของงานที่ครอบคลุมสถานที่ เครื่องจักร อุปกรณ์ บุคลากรและวิธกี าร
ขัน้ ตอนในการปฏิบ ัติงาน ที่อ าจจะเกิดให้ เ กิดการบาดเจ็บ หรือ เจ็บ ป่ วย ความเสียหายต่ อ
ทรัพ ย์ส ิน ความเสีย หายต่ อ สิ่ง แวดล้ อ ม หรือ สิ่ง ต่ า ง ๆ การประเมิน ความเสี่ย งอย่ า งมี
ประสิทธิภาพ จึงจาเป็ นต้อ งประเมินความเสี่ยงด้วยการประมาณระดับความเสี่ยงที่สามารถ
ยอมรับได้เพื่อลดความเสี่ยงนัน้ ๆ องค์การจาเป็ นต้องมีการดาเนินการตามเกณฑ์ท่จี ะทาให้ม ี
การประเมินความเสี่ยงให้เกิดประสิทธิภาพสามารถบ่งชี้อนั ตรายและความเสี่ยงที่จะเกิดการ
ยอมรับความเสีย่ งนัน้ ดังนี้
1. จาแนกประเภทของกิ จกรรมของงาน
ให้สารวจและศึกษาชนิดของกิจกรรมของงานแล้วเขียนชนิดของกิจกรรมของงานที่
ปฏิบตั หิ น้ าที่อยู่ประจา และให้เขียนขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านของแต่ละกิจกรรมโดยให้ครอบคลุม
สถานทีป่ ฏิบตั งิ าน สภาพการทางาน เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ และบุคลากร รวมทัง้ ทาการ
จัดเก็บรวบรวมข้อมูลทีไ่ ด้สารวจและศึกษาไว้ ซึง่ ถือว่าเป็ นการจาแนกประเภทของกิจกรรมของ
งานไว้อย่างละเอียด
2. ชี้บ่งอันตราย
กิจกรรมของงานใด ๆ ที่ได้สารวจ และศึกษารวบรวมข้อมูลไว้แล้วต้องนามาชี้บ่งอันตราย
ทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้อง แต่ละกิจกรรม พิจารณาว่าตาแหน่งงานผูป้ ฏิบตั งิ านจะได้รบั อันตรายและ จะ
ได้รบั อันตรายอย่างไร รวมทัง้ ผลทีเ่ กิดขึน้ จะมีแนวทางการแก้ไข ป้ องกันอย่างไร
442

3. กาหนดความเสี่ยง
คาดการประมาณความเสีย่ งจากอันตรายแต่ละชนิด โดยมีการตัง้ สมมติฐานว่ามีการ
ควบคุมตามแผน หรือตามขัน้ ตอนการทางานทีม่ อี ยู่ ผูป้ ระเมินความเสีย่ งจะต้องมีการพิจารณา
ประสิทธิภาพของการควบคุม และผลทีจ่ ะเกิดจากความล้มเหลวของการควบคุมด้วย
4. ตัดสิ นว่าความเสี่ยงยอมรับได้หรือไม่
ตัดสินใจว่าแผนงานหรือการเฝ้ าระวังป้ องกันด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยทีม่ ี
อยู่ (ถ้ามี) เพียงพอทีจ่ ะจัดการเกี่ยวกับความเสีย่ งอันตรายให้อยู่ภายใต้การควบคุมและเป็ นไป
ได้ตามข้อกาหนดตามกฎหมายหรือไม่
5. เตรียมแนวทางการปฏิ บตั ิ การควบคุมความเสี่ยง
หากมีการพบว่า ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานข้อใดไม่มกี ารกาหนดระเบียบ ข้อบังคับใน
การปฏิบตั งิ าน จนนามาซึง่ เป็ นการละเลยเกี่ยวกับการปฏิบตั งิ านซึ่งจะนาไปสู่การเกิดอุบตั เิ หตุ
ในขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน หรือการปฏิบตั งิ านไม่ถูกต้ องตามคู่มอื การปฏิบตั งิ าน และต้องมีการ
ปรับปรุงแก้ไข เพื่อนาไปสู่การลดอุบตั เิ หตุหรือ หรืออัตราความเสีย่ งลดลงให้อยู่ในระดับยอมรับ
ได้ ให้มกี ารรวบรวมเตรียมแผนงานทีเ่ กี่ยวข้องกับสิง่ ต่าง ๆ ทีพ่ บในการประเมิน หรือทีค่ วรเอา
ใจใส่ องค์การต้องแน่ ใจว่าการควบคุมทีจ่ ดั ทาแผนการควบคุมความเสีย่ งทีจ่ ดั ทาใหม่และทีม่ อี ยู่
แล้วนาไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างเกิดประสิทธิภาพมากทีส่ ุด
6. ทบทวนแผนการปฏิ บตั ิ การ
มีการประเมินความเสีย่ งอีกครัง้ ก่อนนาแผนลงไปปฏิบตั ิ ด้วยคณะกรรมการทีไ่ ด้ดาเนิน
จัดตัง้ ไว้ และรวบรวมด้วยการประเมินความเสีย่ งใหม่ดว้ ยวิธกี ารควบคุมทีไ่ ด้มกี ารปรับปรุง และ
ตรวจสอบว่ามีความเสีย่ งนัน้ อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้
จากกระบวนการประเมินความเสีย่ งด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน
ขององค์การเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการประเมินความเสี่ยงอย่างเป็ นกระบวนการให้มกี าร
ยอมรับได้ จึงสามารถสรุปกระบวนการประเมินความเสีย่ งได้ ดังภาพที่ 7.4
443

จาแนกประเภทของกิจกรรมของงาน

ชีบ้ ่งอันตราย

ตัดสินใจยอมรับว่าเป็ นความเสีย่ งที่


ยอมรับได้หรือไม่

เตรียมแผนปฏิบตั กิ ารควบคุมความ
เสีย่ ง (ถ้าจาเป็ น)

ทบทวนความเพียงพอของ
แผนปฏิบตั กิ าร

ภาพที่ 7.3 ขัน้ ตอนพืน้ ฐานของการประเมินความเสีย่ ง


ทีม่ า: http://ie.pit.ac.th/sunetr/images/data/safety_engineering/chapter6_risk.pdf.2559.

การพัฒนาระบบและข้อกาหนดการจัดการความเสี่ยง
การพัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยง
โดยส่วนใหญ่สถานประกอบการหรือโรงงาน มุ่งเน้นการพัฒนาระบบการจัดการความ
เสี่ยงขึ้นมาในโรงงาน จาต้อ งพิจารณาถึงสิ่งที่จาเป็ นหรือ กิจกรรมพื้นฐานที่ต ัอ งจัดให้มกี าร
จัดการความเสี่ยงในโรงงานเพื่อ ให้เ กิดความปลอดภัยกับพนัก งาน รวมทัง้ เป็ นหลักในการ
พัฒนาระบบการจัดการความเสี่ย งให้ส ามารถดาเนิ นไปได้ โดยต้อ งมีก ารกระทาเริ่มตัง้ แต่
นโยบายการจัดการความเสีย่ ง องค์การ การทบทวนการจัดการ และการดาเนินโปรแกรมต่าง ๆ
1. นโยบายการจัดการความเสี่ยง (Risk Management Policies)
การก าหนดนโยบายด้ า นการจัด การความเสี่ย งเป็ น หน้ า ที่ค วามรับ ผิด ชอบของ
ผู้บริหารระดับสูงที่ต้องกาหนดนโยบายขึน้ มาให้เป็ นลายลักษณ์อกั ษรที่ชดั เจนในการแสดงถึง
วัตถุประสงค์และเจตจานง (commitment) ที่โรงงานหรือสถานประกอบกิจการมีต่อการจัดการ
ความเสีย่ งทีม่ อี ยู่ในโรงงาน นโยบายนี้จะต้องสอดคล้องกับบริบทหรือสภาพธรรมชาติของธุรกิจ
444

ให้สมั พันธ์กบั วิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ และเป้ าหมาย ตลอดจนวัตถุประสงค์ของสถานประกอบกิจการ


หรือโรงงาน
ดังนัน้ นโยบายการจัดการความเสีย่ งที่ผู้บริหารได้มกี ารกาหนดขึน้ มานัน้ ต้องให้เป็ นที่
รับทราบ เข้าใจ นาไปปฏิบตั ใิ ห้เกิดผล ติดตาม ประเมินผล และรักษาไว้โดยทุก ๆ คน ทุก ๆ
ระดับ ทุก ภาคส่ว นในโรงงานหรือ สถานประกอบการกิจการ ทัง้ นี้ แนวทางที่จะสนับสนุ นให้
ผู้บริห ารระดับสูงได้เ ข้าใจและก าหนดนโยบายการจัดการความเสี่ยงได้ดสี ามารถบรรลุต าม
เป้ า หมายนัน้ อาจท าผ่ า นการให้ค วามรู้ ความเข้า ใจ เรีย นรู้ร่ว มกัน ฝึ ก อบรมกับ ผู้บ ริห าร
ระดับสูง และที่ส าคัญ ผู้บริห ารระดับ สูงจะต้อ งก าหนดนโยบายการจัด การความเสี่ย งอย่า ง
ต่อเนื่อง และนาสิง่ ที่เกิดขึน้ จากการกระทาที่ผ่านที่ต้องได้รบั การปรับปรุงแก้ไขมาดาเนินการ
กาหนดนโยบายต่อไป โดยต้อ งมีความร่วมมือและการสนับสนุ นจากพนักงานทุกระดับอย่าง
เต็มที่
2.1 การแต่งตัง้ ผูแ้ ทนฝ่ ายบริหาร (management representative) ซึง่ ผูบ้ ริหาร
สูงสุดขององค์การต้องเป็ นผูแ้ ต่งตัง้ ผูบ้ ริหารระดับสูง อาจเป็ นผูบ้ ริหารฝ่ ายใดก็ตาม เป็ น ผูแ้ ทน
ฝ่ ายบริหาร ทีม่ หี น้าทีแ่ ละอานาจชัดเจนในการดาเนินงาน 2 อย่าง คือ
2. องค์การ (Organization)
ในการพัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงขึน้ มาในสถานประกอบกิจการหรือโรงงาน
สิง่ ที่สาคัญคือ ต้องมีการจัดองค์การ ซึ่งการจัดองค์การ หมายถึง การแบ่งหน่ วยงาน หรือการ
จัด ระบบของหน่ ว ยงานให้ม ีห น้ า ที่ค วามรับ ผิด ชอบอย่า งชัด เจน โดยผู้ม ีห น้ า ที่ ต ามความรู้
ความสามารถต้อ งปฏิบตั ิห น้ าที่ใ ห้บรรลุ ต ามเป้ าหมายที่อ งค์การได้ก าหนดโดยมีโครงสร้าง
องค์การกาหนดบทบาทหน้าที่ ซึง่ องค์การต้องจัดให้ม ี ดังนี้
2.1 การแต่ งตัง้ ผู้แทนฝ่ ายบริ หาร (management representative) ซึ่ง
ผูบ้ ริหารสูงสุดขององค์การต้องเป็ นผูแ้ ต่งตัง้ ผูบ้ ริหารระดับสูง อาจเป็ นผูบ้ ริหารฝ่ ายใดก็ตาม เป็ น
ผูแ้ ทนฝ่ ายบริหาร ทีม่ หี น้าทีแ่ ละอานาจชัดเจนในการดาเนินงาน 2 อย่าง คือ
2.1.1 สร้างความมันใจว่่ าระบบการจัดการความเสี่ยงถูกพัฒนาขึน้ มีการ
นาไปปฏิบ ัติใ ห้ไ ด้ต ามเป้ าหมายก าหนด และรัก ษาไว้ต ลอดโดยเป็ น ไปตามที่ ก าหนดไว้ใ น
มาตรฐาน และต้องมีการดาเนินการติดตาม และประเมินผล
2.1.2 รายงานผลการปฏิบตั งิ านระบบการจัดการความเสีย่ งไปยังผูบ้ ริหาร
โรงงาน เพื่อทาการทบทวนผลการดาเนินการที่ผ่านมา และนาเป็ นข้อมูลพื้นในการปรับปรุง
อย่างต่อเนื่องต่อไป
2.2 การกาหนดความรับผิ ดชอบและอานาจ โรงงานหรือสถานประกอบการ
ต้องกาหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบและอานาจทีช่ ดั เจนให้กบั บุคลากรทีท่ าหน้าทีใ่ นการทวนสอบ
(verify) งานหรือกิจกรรมที่จะมีผ ลกระทบต่อ การจัดการความเสี่ยง โดยมีการก าหนดหน้ าที่
445

ความรับผิดชอบในการดาเนินกิจกรรม ซึ่ง ต้อ งได้รบั อิสระจากองค์การ เพื่อที่ จะสามารถทา


หน้าทีไ่ ด้ตามมอบหมาย ดังนี้
2.2.1 ริเริม่ ให้มกี ารกระทาทีจ่ ะป้ องกันหรือลดผลเสียหายจากความเสีย่ งที่
อาจจะเกิดขึน้ ในการปฏิบตั งิ าน
2.2.2 ควบคุมการบาบัดความเสีย่ งจนสามารถลดระดับความเสีย่ งมาอยู่ใน
ระดับทีย่ อมรับได้
2.2.3 ชีบ้ ่งและบันทึกปั ญหาใด ๆ ทีม่ ผี ลหรือเกี่ยวข้องกับการจัดการความ
เสีย่ งเพื่อสามารถนาไปเป็ นข้อมูลในการตัดสินใจในการปรับปรุงหรือแก้ไขปั ญหาได้ต่อไป
2.2.4 ทวนสอบกลับถึงการดาเนินการนาสู่แก้ไปปั ญหา
2.3 การชี้บ่งและจัดหาทรัพยากร เป็ นความรับผิดชอบทีอ่ งค์การหรือโรงงาน
จะต้องมีการบ่งชี้ถึงทรัพยากรที่ต้องการเพื่อนามาจัดสรร และจัดหาทรัพยากรต่าง ๆ ซึ่งเป็ น
ทรัพยากรทางการบริห ารทัวไปที ่ ่อ งค์ก ารต้อ งจัดทาให้เ กิดความเพียงพอและคุ้มค่ าต่ อ การ
ดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ทัง้ นี้ในการจัดการความเสี่ยงต้องรวมถึงการฝึ กอบรม
บุคลากรให้ทางานตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
3. การทบทวนการจัดการ (Management Review)
กิจกรรมที่สาคัญหลังจากได้มนี านโยบายการจัดการความเสี่ยงไปปฏิบตั ิแล้วนัน้
หน้าทีส่ าคัญของผู้บริหารระดับสูงจะต้องมีการทบทวนการจัดการระบบความเสี่ยงเป็ นระยะ ๆ
เพื่อสร้างความมันใจได้
่ ว่าโรงงานหรือสถานประกอบการได้มกี ารดาเนินงานอย่างได้ผลตามที่
ข้อกาหนดของมาตรฐานการจัดการความเสี่ยง และเป็ นไปตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของ
การจัดการความเสีย่ งทีส่ ถานประกอบกิจการหรือโรงงานกาหนดขึน้ มาเอง ผูบ้ ริหารโรงงานควร
เป็ นคณะผู้บริห ารท าการทบทวนจัดการ และอาจเพิ่ม คณะบุค คลที่มคี วามเกี่ ยวข้อ งมาร่ว ม
กิจ กรรมการทวนสอบด้ว ย เช่ น คณะกรรมการความปลอดภัย คณะกรรมการสิ่ง แวดล้อ ม
และกรรมการสุขภาพอนามัย เป็ นต้น
4. การดาเนิ นโปรแกรม (Implementation Program)
เป็ นกิจกรรมการกาหนดขัน้ ตอนการดาเนินให้เกิดระบบการจัดการความเสี่ยงขึน้ ใน
สถานประกอบกิจการตัง้ แต่การกาหนดนโยบายการจัดการความเสีย่ ง การสื่อสารนโยบายไปยัง
หน่วยงานต่าง ๆ อย่างทัวถึ ่ ง การจัดตัง้ ทีมงานเพื่อดาเนินงาน การชีบ้ ่งการประเมิน –การบาบัด
ความเสีย่ ง การเฝ้ าระวัง และการทบทวนต่าง ๆ
ในมาตรฐาน AS/NZS 4360 (Standards Australia) (Standards New Zealand) ได้
แนะนาขัน้ ตอนในการพัฒนาและดาเนินการโปรแกรมการจัดการความเสี่ยงในการพัฒนาและ
ดาเนินการโปรแกรมการจัดการความเสีย่ งไว้ 6 ขัน้ ตอน ดังนี้
446

ขัน้ ตอนที่ 1 การสนับสนุนของผู้บริ หารระดับสูง ขัน้ ตอนแรก คือการพัฒนาปรัชญา


การจัดการความเสี่ยงขององค์การ และความห่วงใยในเรื่องความเสี่ยงของผู้บริหารระดับสูง
ซึ่งอาจทาได้โดยการฝึ ก อบรม ให้ค วามรู้ การอธิบายให้ก ับผู้บริห ารระดับสูงให้ทราบข้อ มูล
รายละเอียดอย่างชัดเจน ดังนัน้ ผูบ้ ริหารระดับสูงต้องสนับสนุนการดาเนินงานในเรื่องการจัดการ
ความเสี่ย งอย่า งต่ อ เนื่ อ งเพื่อ ให้พ นัก งานทุก ระดับ ได้เ กิด ความเชื่อ มันและไว้
่ ว างใจในการ
สนับสนุนอย่างจริงจังของฝ่ ายบริหารจัดการ
ขัน้ ตอนที่ 2 การพัฒนานโยบายการจัดการความเสี่ยงขององค์กร ต้องมีการพัฒนา
และจัดทานโยบายขององค์การด้านการจัดการความเสี่ยงไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร นโยบายนี้
ต้องถูกนาไปใช้ทวทั ั ่ ง้ องค์การ สาระสาคัญในนโยบาย อาจประกอบด้วย
1) วัตถุประสงค์ของนโยบาย และหลักการเหตุผลของการจัดการความเสีย่ ง
2) ความเชื่อมโยงระหว่างนโยบายการจัดการความเสีย่ งขององค์กร
3) ขอบเขตของความครอบคลุมของนโยบาย
4) แนะนาว่าอะไรทีอ่ าจถือเป็ นความเสีย่ งทีย่ อมรับได้
5) ผูร้ บั ผิดชอบ
6) การสนับสนุนผูร้ บั ผิดชอบ
7) ระดับของเอกสารทีต่ อ้ งการ
8) แผนสาหรับการทบทวนผลการปฏิบตั ติ ามนโยบาย
ขัน้ ตอนที่ 3 การสื่ อ สารนโยบาย เป็ น ขัน้ ตอนของการพัฒ นา ก าหนดและการ
ดาเนินการให้มโี ครงสร้าง (infrastructure) หรือการเตรียมการต่างๆ เพื่อให้เกิดความมันใจว่ ่ า
การจัดการความเสีย่ งถือเป็ นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการและเป็ นวัฒนธรรมองค์การ ซึง่ อาจ
รวมถึงสิง่ ต่อไปนี้
1) จัดตัง้ ทีมงานที่มผี ู้บริหารระดับสูงเป็ นหัวหน้าทีม รับผิดชอบในการสื่อสาร
ภายในองค์การเกีย่ วกับนโยบายการจัดการความเสีย่ งขององค์การ
2) ยกระดับความตื่นตัว (awareness) ในเรือ่ งการจัดการความเสีย่ ง
3) สร้างความสามารถ ความชานาญให้กบั คนในองค์การ รวมถึงการปรึกษาที่
ปรึกษา
4) สร้างความแน่ใจในระดับทีเ่ หมาะสมของการตระหนัก การให้รางวัล และการ
ลงโทษ
5) กาหนดกระบวนการการจัดการปฏิบตั งิ าน (performance management
processes)
ขัน้ ตอนที่ 4 การจัดการความเสี่ยง ณ ระดับองค์กร เป็ นการพัฒนาและกาหนด
โปรแกรมการจัดการความเสีย่ งในองค์การหรือโรงงาน โดยการประยุกต์ใช้ตามข้อกาหนด ทัง้ นี้
447

ต้อ งให้ก ารจัด การความเสี่ย งเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง หรือ บู ร ณาการเข้า กับ การวางแผนกลยุท ธ์แ ละ
กระบวนการจัดการของโรงงานหรือสถานประกอบการ ซึง่ รวมถึงเรือ่ งต่อไปนี้
1) องค์การและบริบทของการจัดการความเสีย่ ง
2) การชีบ้ ่งอันตรายขององค์การ
3) การวิเคราะห์และประเมินผลความเสีย่ งเหล่านัน้
4) ยุทธศาสตร์การบาบัดความเสีย่ ง
5) กลไกการทบทวนโปรแกรม
6) ยุทธศาสตร์สาหรับการยกระดับความห่วงใย ความชานาญที่ต้องการ การ
ฝึกอบรม และการใช้ความรูโ้ ปรแกรมการจัดการความเสีย่ ง โดยพื้นทีใ่ นโซนแผนกต่าง ๆ หรือ
ในพืน้ ทีร่ ะดับโปรแกรม โครงการ และ/หรือทีท่ มี งาน โดยการประยุกต์กระบวนการจัดการความ
เสี่ยง สามารถทาได้โดยการบูรณาการเข้ากับกับกิ จกรรมการวางแผนและการจัดการที่มกี าร
ดาเนินการอยูเ่ ดิม
ขัน้ ตอนที่ 5 การจัดการความเสี่ยงที่ระดับโปรแกรม โครงการ และทีมงาน
เป็ นการพัฒนา และกาหนดโปรแกรมการจัด การความเสี่ยง ในแผนกงานต่าง ๆ หรือ
การจัดการความเสี่ยงในระดับโปรแกรม โครงการ และ/หรือ ที่ทีมงาน โดยการประยุก ต์
กระบวนการจัดการความเสีย่ งสามารถทาได้โดยการบูรณาการเข้ากับกิจกรรมการวางแผนและ
การจัดการที่มกี ารดาเนินการเกี่ยวกับความเสี่ยงในสถานที่ปฏิบตั ิงานในตาแหน่ งงานนัน้ ๆ
ซึง่ โดยทัวไปแล้
่ วในระดับการจัดการนี้หวั หน้างานหรือผูน้ าทีมงานทีไ่ ด้จดั ตัง้ ขึน้ มาต้องสามารถ
ดาเนินกิจกรรมเกีย่ วกับแนวทางในการจัดการความเสีย่ งให้เกิดผลสาเร็จ นันหมายความว่
่ า ต้อง
ลดความเสีย่ งในการปฏิบตั งิ านในสถานทีน่ นั ้ คือการลดอุบตั เิ หตุในการทางานลงให้ได้นนเอง ั่
ขัน้ ตอนที่ 6 การเฝ้ าระวังและการทบทวน
การพัฒนาและประยุกต์กลไกทีจ่ าดาเนินการทบทวนความเสีย่ งเป็ นระยะๆ ทาให้เกิดผล
ลัพธ์ทท่ี าให้มคี วามมันใจได้
่ ว่านโยบายและการดาเนินงานเกี่ยวกับความเสีย่ งยังคงเป็ นปั จจุบนั
คือเหมาะสมกับสภาพความเป็ นจริงในขณะนัน้ อันตรายและความเสี่ยงเป็ นสิง่ ที่ไม่ได้อยู่ นิ่งจึง
ต้องมีการเฝ้ าระวังและทบทวนอยู่เสมอ ซึ่งในการทบทวนจาเป็ นต้องมีขอ้ มูลต่าง ๆ จากเกิด
อุบตั เิ หตุ หรือ การประเมินความเสีย่ งเพื่อเป็ นข้อนามาทบทวน และหามาตรการเฝ้ าระวังไม่ให้
เกิดความเสีย่ งเหล่านัน้ ขึน้ มาอีก
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเฝ้ าระวังเป็ นวิธกี าร หรือการหาแนวทางในการป้ องกัน แก้ไข
เกี่ย วกับ ความเสี่ย งซึ่ง ได้ แ ก่ การบาดเจ็บ เจ็บ ป่ วย ที่อ าจเกิด จากการท างานในสถาน
ประกอบการ โดยทีมงานจะต้องมีการประชุมหารือเพื่อทบทวน เพื่อนาไปสู่การแก้ไขปั ญหา
448

ข้อกาหนดและกระบวนการจัดการความเสี่ยง
ข้อกาหนดของการจัดการความเสี่ยง
ข้อก าหนดและกระบวนการจัดการความเสี่ยง มาตรฐาน AS/NZS 4360: 1998
ประกอบด้วยข้อกาหนดหลัก 6 ข้อ แต่ละข้อจะมีความสัมพันธ์ในเชิงกระบวนการจัดการความ
เสีย่ งตามภาพข้างล่างนี้ คือเริม่ จากการกาหนดบริบทของการจัดการ ความเสีย่ ง แล้วตามด้วย
การชี้บ่งความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง การประเมินผลและจัดลาดับความเสี่ยงและการ
บ าบัด ความเสี่ย งในขณะเดีย วกัน ในทุ ก ๆ ข้อ ก าหนดจะมีก ารเฝ้ า ระวัง และการทบทวนกา
ดาเนินการควบคู่กนั ไปด้วย ดังภาพที่ 7.4

การกาหนดบริบท

การชีบ้ ่งความเสีย่ ง

การเฝ้ าระวังและ
การวิเคราะห์ความเสีย่ ง การทบทวน
การ
ประเมิน
ความเสีย่ ง การประเมินผลและจัดทาลาดับความเสีย่ ง

การบาบัดความเสีย่ ง

ภาพที่ 7.4 ภาพรวมระบบการจัดการความเสีย่ ง


ทีม่ า: สราวุธ สุธรรมาสา, 25560, หน้า 5-20.

นอกจากแนวทางต่าง ๆ ที่ได้กล่าวไปแล้ วนัน้ ปั จจุบนั ได้มกี ารพัฒนาแนวทางการ


บริหารความ เสีย่ งออกมาเป็ นมาตรฐานสากลระดับนานาชาติ International Organization of
Standard: ISO โดยกาหนดให้เป็ นมาตรฐาน ISO 31000 ซึง่ ล่าสุด อยู่ในขัน้ ตอนของฉบับร่าง
(draft) โดยคาดว่ามาตรฐานฉบับสากล (international version) จะมีการ ประกาศใช้อย่างเป็ น
ทางการประมาณปี พ.ศ. 2552
449

มาตรฐาน ISO 31000 จะเป็ นมาตรฐานใน ลักษณะของแนวปฏิบตั ิ (guideline) สาหรับ


การ บริหารความเสีย่ ง ไม่ใช่ขอ้ กาหนด (specification) โดยมีช่อื เต็มว่า Risk Management –
Guidelines on principles and implementation of risk management ซึง่ เนื้อหาของมาตรฐาน
นี้ จะเป็ นการพัฒ นาขึ้น มาจากแนวทางการบริห ารความเสี่ย งตามมาตรฐาน AS/NZS
4360:2004
เนื้อหาของมาตรฐาน ISO 31000 (ฉบับร่าง) จะแบ่งแนวทางในการบริหารความเสีย่ ง
ออกเป็ น 3 ส่วนหลัก ๆ ประกอบด้วย
1. หลักการพืน้ ฐานในการบริหารความเสีย่ ง
2. กรอบการบริหารความเสีย่ ง
3. กระบวนการในการบริหารความเสีย่ ง
จากภาพที่ 7.4 แสดงถึงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่ าง ๆ และข้อ กาหนดใน
มาตรฐานการบริหารความเสีย่ ง
หลักการพื้นฐานในการบริหารความเสี่ยง ในการบริหารความเสี่ยงจะประกอบด้วย
หลักการพืน้ ฐาน ที่สาคัญทัง้ หมด 11 หลักการ ประกอบด้วย
1. การบริหารความเสี่ยงจะต้องสร้างให้เกิดคุณค่ากับองค์การ การบริหารความเสี่ยง
จะต้องมีส่วนในการสร้างความสาเร็จให้กบั วัตถุประสงค์ขององค์การ เช่น ความมีประสิทธิภาพ
ในการปฏิบตั งิ าน การปกป้ องสิง่ แวดล้อมผลประกอบการด้านการเงิน การดาเนินการตามหลัก
ธรรมาภิบาล ความปลอดภัยและสุขอนามัยส่วนบุคคล คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ความสอดคล้อง
ตามข้อกฎหมายและระเบียบบังคับ การยอมรับจากสาธารณะและชื่อเสียงขององค์การ
2. การบริหารความเสีย่ งจะเป็ นส่วนทีส่ าคัญของ กระบวนการในองค์การ การบริหาร
ความเสีย่ งจะต้องเป็ นความรับผิดชอบของฝ่ ายบริหาร และเป็ นส่วนทีส่ าคัญของกระบวนการใน
องค์การ เช่นเดียวกับโครงการ และกระบวนการบริหารการเปลีย่ นแปลงการบริหารความเสีย่ ง
จะไม่ใช่กจิ กรรมทีเ่ ป็ นอิสระ หรือถูกแยกออกมาจากกิจกรรมและกระบวนการหลักขององค์การ
3. การบริหารความเสีย่ งจะเป็ นส่วนหนึ่ งของกระบวนการตัดสินใจ การบริหารความ
เสีย่ งสามารถช่วยในการจัดลาดับความสาคัญของการดาเนินการ และช่วยในการแยกแยะความ
แตกต่างของทางเลือกต่าง ๆ เพื่อให้ง่ายต่อการตัดสินใจ นอกจากนัน้ การบริหารความเสีย่ งยัง
ช่วยในการตัดสินใจ ไม่ว่าความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จะไม่สามารถยอมรับได้ หรือการจัดการความเสีย่ ง
จะมีอย่างเพียงพอหรือมีประสิทธิผลก็ตาม
4. การบริหารความเสีย่ งจะแสดงถึงความไม่แน่ นอนได้อย่างชัดเจน การบริหารความ
เสีย่ งจะเกีย่ วข้องกับการตัดสินใจในความไม่แน่นอน สภาพของความไม่แน่ นอน และแนวทางใน
การจัดการกับความไม่แน่นอนนัน้ ๆ
5. การบริหารความเสีย่ งจะต้องดาเนินการอย่างเป็ นระบบมีโครงสร้าง และทันเวลาการ
ดาเนินการอย่างเป็ นระบบ ทันเวลา และมีโครงสร้างที่ชดั เจน สาหรับการบริหารความเสี่ยงจะ
450

ช่วยให้เกิดการดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสอดคล้องกัน สามารถเปรียบเทียบได้


และมีความน่าเชื่อถือ
6. การบริหารความเสีย่ งจะดาเนินการบนข้อมูลทีด่ ที ่สี ุด สิง่ ที่นามาใช้ในกระบวนการ
บริหารความเสี่ยงจะนามาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น จากประสบการณ์ ข้อมูลป้ อนกลับ การ
สังเกตการณ์ การพยากรณ์ และมุมมองจากผู้เชี่ยวชาญ อย่างไรก็ตาม ผู้ทาหน้าที่ตดั สินใจ
จะต้องได้รบั ทราบ และคานึงถึงข้อจากัดของข้อมูลแบบจาลองการตัดสินใจที่นามาใช้ รวมถึง
ความแตกต่างทีอ่ าจเกิดขึน้ จากมุมมองของผูเ้ ชีย่ วชาญต่าง ๆ
7. การบริหารความเสี่ยงจะต้องปรับให้เหมาะสมกับองค์การ การบริหารความเสี่ยง
จะต้องมีความสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับสภาพแวดล้อมทัง้ ภายในและภายนอกของ
องค์การ รวมถึงโครงร่างของความเสีย่ ง (risk profile)
8. การบริหารความเสีย่ งจะต้องคานึงถึงปั จจัยด้านมนุ ษย์และวัฒนธรรมด้วยการบริหาร
ความเสีย่ งขององค์การจะต้องรับรูถ้ งึ ขีดความสามารถ การยอมรับและความตัง้ ใจของบุคลากร
ทัง้ ภายในและภายนอก ซึ่งอาจจะมีส่วนช่วย หรือขัดขวางต่อความสาเร็จของวัตถุประสงค์ของ
องค์การ
9. การบริหารความเสี่ยงจะต้องมีความโปร่งใส และครอบคลุม การมีส่วนร่วมอย่าง
เหมาะสมของผูม้ สี ่วนได้เสีย รวมถึงผูท้ าหน้าทีต่ ดั สินใจในทุก ๆ ระดับขององค์การ จะช่วยสร้าง
ความมันใจได้
่ ว่า การบริหารความเสี่ยงจะยังมีความเกี่ยวข้อง และทันสมัย นอกจากนัน้ การมี
ส่วนร่วมยังรวมไปถึงการยอมให้ผู้มสี ่วนได้เสียได้รบั ข้อมูลอย่างเหมาะสม รวมถึงมุมมองและ
ความคิดเห็นต่าง ๆ ได้รบั การนามาพิจารณาในการกาหนดเกณฑ์ความเสีย่ ง
10. การบริหารความเสี่ยงจะต้อ งเป็ นพลวัตสามารถทาซ้า และตอบสนองต่ อการ
เปลี่ยนแปลง ในกรณีท่เี กิดเหตุการณ์ข้นึ ทัง้ ภายในและภายนอก หรือมีการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมหรือองค์ความรู้ หรือสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการเฝ้ าติดตามหรือการทบทวน หรือมีความ
เสี่ยงใหม่ๆ เกิดขึ้นหรือ ลดลง องค์การจะต้อ งมันใจได้ ่ ว่าการบริห ารความเสี่ยงสามารถ
ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ได้ อย่างต่อเนื่อง
11. การบริหารความเสี่ยงจะต้องสามารถปรับปรุง และทาให้ดขี ้นึ ได้อย่างต่อเนื่อง
องค์การจะต้องมีการพัฒนา และดาเนินการกลยุทธ์ในการ ปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงใน
ทุกๆ ด้านอย่างต่อเนื่อง
กรอบการบริ หารความเสี่ยง
การบริหารความเสีย่ งของสถานประกอบการสามารถจะนาไปสู่การจัดการความเสีย่ งให้
เกิดความสาเร็จ และสร้างความยังยื ่ น การจะพัฒนาความเสีย่ งมีปัจจัยที่ทาให้การดาเนินธุรกิจ
ในส่วนของกรอบการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐานจะ แบ่งออกเป็ น 4 ส่วน โดยขับเคลื่อน
ผ่านวงจร PDCA ซึ่งประกอบด้วย การวางแผน (plan) การลงมือทา (do) การตรวจสอบ
(check) และการปรับปรุงแก้ไข (act) ดังแสดงในภาพที่ 7.5
451

A D

C
ภาพที่ 7.5 กรอบการบริหารความเสีย่ ง
ทีม่ า: ดัดแปลงมาจาก Deming, (1989)

ในการบริหารความเสีย่ งให้ประสบความสาเร็จจะต้อง สร้างให้เป็ นส่วนหนึ่งขององค์การ


และได้รบั การสนับสนุ นเป็ น อย่างดีจากฝ่ ายบริหาร ทัง้ นี้กรอบการบริหารความเสี่ยงจะช่วย
องค์การในการจัดการกับความเสีย่ งได้อย่างมีประสิทธิผล จาก การใช้กระบวนการบริหารความ
เสีย่ งในระดับต่าง ๆ และภายใต้ สภาพแวดล้อมขององค์การ เช่นเดียวกัน กรอบการบริหารยัง
ช่วย สร้างความมันใจได้
่ ว่าข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงทีไ่ ด้จาก กระบวนการต่าง ๆ จะมีอย่าง
เพียงพอ เพื่อใช้เป็ นพืน้ ฐานสาหรับ การตัดสินใจในระดับต่าง ๆ ขององค์การด้วย กรอบการ
บริหารนี้ไม่ได้อธิบายถึงระบบการบริหารงาน แต่ จะช่วยให้องค์การในการเชื่อมโยงการบริหาร
ความเสีย่ งเข้ากับ ระบบการบริหารงานโดยรวมขององค์การ ทัง้ นี้ องค์การขนาดใหญ่ จานวน
มากต่างก็ได้นาองค์ประกอบของการบริหารความเสีย่ งรวม- เข้ากับแนวปฏิบตั ิ และกระบวนการ
ในการบริหารงานอยูแ่ ล้ว
การควบคุมและความมุ่งมัน่
ในการบริหารความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิผลจะต้องการความมุ่งมันและการสนั
่ บสนุ น
อย่างดีจากผูบ้ ริหารระดับสูงของ องค์การ โดยฝ่ ายบริหารจะต้อง
1. ประกาศ และให้การรับรองต่อนโยบายการบริหารความเสีย่ ง
2. สื่อ สารถึงประโยชน์ ท่จี ะได้จากการบริหารความเสี่ยงไปยังผู้มสี ่ วนได้เสีย
ทัง้ หมด
3. กาหนดดัชนีวดั ผลการดาเนินงานบริหารความเสีย่ งทีส่ อดคล้องกันกับผลการ
ดาเนินงานขององค์การ
4. ดูแลให้วตั ถุประสงค์การบริหารความเสีย่ งสอดคล้องกันกับวัตถุประสงค์และ
กลยุทธ์ขององค์การ
5. ดูแลความสอดคล้องตามข้อกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับ
452

6. มอบหมายหน้าทีค่ วามรับผิดชอบทีเ่ หมาะสมภายในองค์การ


7. ดูแ ลทรัพยากรที่จาเป็ น ได้รบั การจัดสรรเพื่อ การบริหารความเสี่ยงอย่าง
เพียงพอ
8. ดูแลถึงความเหมาะสมของกรอบการบริหารความเสีย่ งอย่างต่อเนื่อง

การออกแบบกรอบเพื่อการบริ หารความเสี่ยง (plan)


การทาความเข้าใจสภาพแวดล้อมองค์การในขัน้ ตอนของการวางแผน หรือการออกแบบ
กรอบในการบริหารความเสีย่ ง ขององค์การจะเริม่ ต้นจากการทาความเข้าใจในสภาพแวดล้อม
ทัง้ ภายในและภายนอกขององค์การเสียก่อน โดยสภาพแวดล้อมภายในองค์การจะประกอบด้วย
1. ขีดความสามารถ ความเข้าใจในรูปของทรัพยากรและความรู้ เช่น เงินทุน
บุคลากร ความสามารถ กระบวนการ ระบบ และเทคโนโลยี
2. การไหลของข้อมูล และกระบวนการตัดสินใจ
3. ผูม้ สี ่วนได้เสียภายในองค์การนโยบาย วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ เพื่อให้
ประสบความสาเร็จ
4. การรับรู้ การให้ความสาคัญ และวัฒนธรรมขององค์การ
5. มาตรฐาน หรือ รูปแบบทีใ่ ช้ในการอ้างอิง
6. โครงสร้า ง เช่ น การควบคุ ม บทบาทหน้ า ที่ และความรับ ผิด ชอบส่ ว น
สภาพแวดล้อมภายนอกขององค์การทีจ่ ะต้องได้รบั การพิจารณา จะประกอบด้วย
1. วัฒ นธรรม การเมือ ง กฎหมาย ข้อ บัง คับ การเงิน เศรษฐกิจ และ
สภาพแวดล้อมในการแข่งขันทัง้ ในระดับประเทศ และระดับภูมภิ าค
2. ตัว ขับเคลื่อ นที่สาคัญ และแนวโน้ มที่ส่ งผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ของ
องค์การ
3. การรับรู้ และการให้ความสาคัญของผูม้ สี ่วนได้เสียภายนอกองค์การ

นโยบายการบริ หารความเสี่ยง
จากนัน้ ผู้บริหารระดับสูงขององค์การจะต้อง กาหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยง
(risk management policy) โดยนโยบายในการบริหาร ความเสี่ยงจะต้องมีความชัดเจนใน
วัตถุประสงค์ ขององค์การ และแสดงถึงความมุง่ มันต่ ่ อการบริหารความเสีย่ ง
ทัง้ นี้ นโยบายจะต้องระบุถงึ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบในการบริหารความเสีย่ งของส่วนต่าง ๆ
ใน องค์การ แนวทางในการจัดการกับความขัดแย้งที่ อาจเกิดขึน้ มีการดาเนินการทบทวนเป็ น
ระยะ ๆ และทวนสอบถึงความถูกต้องของนโยบายการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงนโยบายจะต้อง
เชื่อมโยงเข้ากับวัตถุประสงค์ขององค์การด้วย
453

1. การบูรณาการเข้ากับกระบวนการขององค์การ
การบริห ารความเสี่ย งจะต้ อ งน ามาเป็ นส่ ว น หนึ่ ง ของแนวปฏิบ ัติ ห ลัก
และกระบวนการทางธุรกิจ ขององค์การ ซึง่ มีความเกี่ยวข้อง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและ
สร้างให้เ กิดความสาเร็จอย่างยังยื ่ นให้ก ับองค์ก าร โดยเฉพาะการบริห ารความเสี่ยงจะต้อ ง
ผสมผสานเข้ากับการถ่ายทอดนโยบาย การวางแผนธุรกิจและกลยุทธ์ และกระบวนการบริหาร
การเปลีย่ นแปลง
2. ความรับผิดชอบ (accountability)
องค์การจะต้องกาหนดความรับผิดชอบ และอานาจหน้าทีใ่ นการจัดการความเสีย่ ง
รวมถึง การดาเนินการกระบวนการบริหารความเสีย่ ง และ การดูแลความเพียงพอและความมี
ประสิทธิผลของ การควบคุมความเสีย่ ง โดยการกาหนดผูร้ บั ผิดชอบในการพัฒนา การนาไป
ปฏิบตั ิ และการดูแลรักษากรอบการบริหาร ความเสีย่ ง กาหนดเจ้าของความเสีย่ ง (risk owner)
ในการดาเนินการจัดการความเสีย่ ง การควบคุม ความเสี่ยง และการรายงานข้อมูลความเสีย่ ง
ต่าง ๆ กาหนดการวัดผลการดาเนินงาน และการจัดทารายงานทัง้ ภายในและภายนอกองค์การ
การดูแลระดับทีเ่ หมาะสมของการยอมรับ การให้รางวัล การอนุมตั ิ และการเข้าแทรกแซง
3. ทรัพยากร
องค์การจะต้องจัดทาแนวทางในการจัดสรรทรัพยากรที่ เหมาะสม สาหรับการบริหาร
ความเสีย่ ง โดยจะต้องพิจารณาถึง เอกสารวิธกี ารปฏิบตั งิ าน และกระบวนการระบบการจัดการ
สารสนเทศ และความรูบ้ ุคลากร ทัก ษะ ประสบการณ์ และความสามารถทรัพยากรที่จาเป็ นใน
แต่ละขัน้ ตอนของกระบวนการบริหารความเสีย่ ง
4. การกาหนดกลไกในการสื่อสาร และการรายงานภายในองค์การ
องค์การจะต้องจัดทากลไกในการสื่อสารและการรายงานภายในองค์การเพื่อให้
4.1 องค์ประกอบของกรอบการบริหารความเสีย่ ง และการเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ได้รบั
การสื่อสารอย่างเหมาะสม
4.2 มีการรายงานภายในเกี่ยวกับกรอบการบริหารความเสี่ยง ความมีประสิทธิผล
และผลลัพธ์ทไ่ี ด้
4.3 มีขอ้ มูลที่เกี่ยวข้องที่ได้จากการบริหารความเสี่ยงพร้อมสาหรับใช้งานในระดับ
และเวลาทีเ่ หมาะสม
4.4 มีกระบวนการในการให้คาปรึกษากับผูม้ สี ่วนได้เสียภายในองค์การ
กลไกดังกล่าวจะประกอบด้วยกระบวนการในการรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงที่
เหมาะสมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ภายในองค์การ โดยคานึงถึงความอ่อนไหวของข้อมูลนัน้ ๆ
454

5. การกาหนดกลไกในการสื่อสาร และการรายงานภายนอกองค์การ
องค์การจะต้องจัดทา และดาเนินการตามแผนการสื่อสาร กับผูม้ สี ่วนได้เสียภายนอก
องค์การ โดยจะต้อง
5.1 สื่อสารกับผูม้ สี ่วนได้เสียถึงเหตุวกิ ฤต หรือเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้
5.2 สร้างการมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสมกับผูม้ สี ่วนได้เสียจากภายนอกองค์การ และ
เกิดการแลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่างกัน อย่างมีประสิทธิผล
5.3 รายงานให้กบั ภายนอกองค์การตามข้อกฎหมาย QualityTips For Quality
February 2009 121 ฉบับหน้า อ่านต่อ ระเบียบบังคับ และหลักธรรมาภิบาล
5.4 เปิ ดเผยข้อมูลต่าง ๆ ตามทีก่ าหนดในข้อกฎหมาย
5.5 รับรูข้ อ้ มูลป้ อนกลับและการรายงานจากการสื่อสาร และการให้คาปรึกษา
5.6 ใช้กระบวนการสื่อสารในการสร้างความโปร่งใส และความเชื่อมันให้ ่ กบั องค์การ
6. การดาเนิ นการบริ หารความเสี่ยง (do)
ในการดาเนินการตามกรอบการบริหารความเสีย่ ง องค์การจะต้อง
6.1 กาหนดช่วงเวลาและกลยุทธ์ทเ่ี หมาะสมสาหรับการดาเนินการตามกรอบ
การบริหารความเสีย่ ง
6.2 การนานโยบายและกระบวนการบริหารความเสีย่ งมาใช้กบั กระบวนการ
ต่าง ๆ ในองค์การ
6.3 ดาเนินการให้สอดคล้องกับข้อกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ
6.4 จัดทาเอกสารอธิบายถึงการตัดสินใจ รวมถึงการจัดทาวัตถุประสงค์
6.5 จัดให้มขี อ้ มูลสารสนเทศ และการฝึกอบรม
6.6 สื่อ สารและให้ ค าปรึก ษากับ ผู้ ม ีส่ ว นได้ เ สีย เพื่อ ให้ ม ัน่ ใจได้ ถึ ง ความ
เหมาะสมของกรอบการบริหารความเสีย่ ง
การบริหารความเสีย่ งจะถูกดาเนินการเพื่อให้มนใจว่ ั ่ า กระบวนการบริหารความเสีย่ ง
ต่าง ๆ ได้รบั การนาไปปฏิบตั ใิ นทุกระดับและหน้าทีง่ านทีเ่ กี่ยวข้องในองค์การ โดยเป็ นส่วนหนึ่ง
ของการปฏิบตั งิ านขององค์การ และกระบวนการทางธุรกิจ
7. การเฝ้ าติ ดตามและการทบทวน กรอบการบริ หารงาน (check)
ในการดูแลรักษาความสาเร็จอย่างยังยื ่ น ของระบบบริหารความเสีย่ งขององค์การให้
เป็ นไป อย่างมีประสิทธิผลต่อเนื่อง องค์การจะต้อง
7.1 กาหนดการวัดผลการดาเนินงาน
7.2 ทาการวัดความก้าวหน้าเทียบกับแผนการบริหารความเสีย่ งเป็ นระยะๆ
7.3 ทาการทบทวนถึงกรอบการบริหาร ความเสีย่ ง นโยบาย และแผนงานอย่าง
สม่าเสมอ
455

7.4 จัดทารายงานถึงความเสีย่ ง ความก้าวหน้าของแผนการบริหารความเสีย่ ง และ


การดาเนินการสอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเสีย่ ง
7.5 ทบทวนถึงความมีประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสีย่ ง
8. การปรับปรุงกรอบการบริ หารงาน อย่างต่อเนื่ อง (act)
เมื่อองค์การได้ทาการทบทวนระบบแล้ว ผลของการทบทวนจะนาไปสู่การตัดสินใจ
ถึงแนวทาง ในการปรับปรุงกรอบการบริหารความเสีย่ ง นโยบาย และแผนงาน ซึ่งการตัดสินใจ
นี้จะช่วยในการปรับ ปรุงการบริหารความเสี่ยง และวัฒนธรรมการบริหาร งานขององค์การ
รวมถึงจะช่วยการปรับปรุงความ คล่องตัว การควบคุม และความรับผิดชอบทีม่ ตี ่อ เป้ าหมาย
ขององค์การด้วย

การบ่งชี้อนั ตรายและการประเมิ นความเสี่ยง


1. การชี้บ่งอันตราย
คือการแจกแจงความเป็ นอันตรายที่แอบแฝงอยู่ใ นสถานที่ทางานในการประกอบ
กิจ กรรมทัง้ หมด ตัง้ แต่ ก ารเก็บ การขนถ่ า ย การใช้ว ตั ถุ ดิบ เชื้อ เพลิง สารเคมี ผลิต ภัณ ฑ์
เครือ่ งจักร อุปกรณ์ทใ่ี ช้ ตลอดจนกระบวนการผลิต และขัน้ ตอนวิธปี ฏิบตั งิ าน ต้องมีการชีบ้ ่งโดย
การทาดังนี้
1.1 Checklist
เป็ นวิธที ใ่ี ช้ในการชีบ้ ่งอันตราย โดยการนาแบบตรวจไปใช้ในการตรวจสอบ
การดาเนินงานในโรงงาน เพื่อค้นหาอันตาย ซึง่ แบบตรวจ ประกอบด้วยหัวข้อคาถามทีเ่ กี่ยวข้อง
กับการดาเนินงานต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบว่าได้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการออกแบบ มาตรฐานการ
ปฏิบตั งิ าน หรือกฎหมาย เพื่อนาผลจากการตรวจสอบมาทาการชีบ้ ่งอันตราย
1.2 What-if Analysis
เป็ นกระบวนการในการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนเพื่อชี้บ่งอันตรายใน
การดาเนินงานต่าง ๆ ในโรงงานอุ ตสาหกรรมโดยการใช้คาถาม “จะเกิดอะไรขึ้น .....ถ้า....”
(What if) และหาคาตอบในคาถามเหล่านัน้ เพื่อชีบ้ ่งอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ ในการดาเนินงานใน
โรงงาน
1.3 HAZOP (Hazard and Operability Study)
เป็ นเทคนิคการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนเพื่อชี้บ่งอันตรายและค้นหา
ปั ญหาที่อาจเกิดขึน้ จากการดาเนินงานในโรงงาน โดยการวิเคราะห์หาอันตรายและปั ญหาของ
ระบบต่างๆ ซึ่งอาจเกิดจากความไม่สมบูรณ์ในการออกแบบที่เกิดขึน้ โดยไม่ได้ตงั ้ ใจ ด้วยการ
ตัง้ คาถามทีส่ มมติสถานการณ์ของการผลิตในภาวะต่าง ๆ
456

1.4 Fault Tree Analysis


เป็ น เทคนิ ค การชี้บ่ ง อัน ตรายที่เ น้ น ถึง อุ บ ัติเ หตุ หรือ อุ บ ัติภ ัย ร้า ยแรงที่
เกิดขึน้ หรือคาดว่าจะเกิดขึน้ เพื่อนาไปวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดเหตุ เป็ นเทคนิคในการคิด
ย้อนกลับทีอ่ าศัยหลักการทางตรรกวิทยาในการใช้หลักการและเหตุผล เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุ
ของการเกิดอุบตั ิเหตุหรืออุบตั ิภ ัยร้ายแรง โดยเริม่ วิเคราะห์จากการเกิดอุบตั เิ หตุหรืออุบตั ภิ ยั
ร้ายแรงที่เกิดขึน้ หรือคาดว่าจะเกิดขึน้ เพื่อพิจารณาหาเหตุการณ์แรกที่เกิดขึน้ ก่อน แล้วนามา
แจกแจงขัน้ ตอนการเกิดเหตุก ารณ์ว่ามาจากเหตุ การณ์ย่อยอะไรได้บ้าง และเหตุ การณ์ ย่อ ย
เหล่านัน้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร การสิ้นสุดการวิเคราะห์เมื่อพบว่าสาเหตุของการเกิดเหตุการณ์ย่อย
เป็ นผลเนื่องจากความบกพร่องของเครือ่ งจักรอุปกรณ์ หรือความผิดพลาดจากการปฏิบตั งิ าน
1.5 FMEA (Failure Modes and Effects Analysis)
เป็ นเทคนิคการชีบ้ ่งอันตรายในการวิเคราะห์ในรูปแบบความล้มเหลว และ
ผลทีเ่ กิดขึน้ ซึ่งเป็ นการตรวจสอบชิ้นส่วนเครื่องจักรอุปกรณ์ ในแต่ละส่วนของระบบแล้วนามา
วิเคราะห์หาผลทีจ่ ะเกิดขึน้ เมือ่ เกิดความล้มเหลวของเครือ่ งจักรอุปกรณ์
1.6 Event Tree Analysis
เป็ น เทคนิ ค การชี้บ่ ง อัน ตรายเพื่ อ วิเ คราะห์แ ละประเมิน ผลกระทบที่จ ะ
เกิดขึน้ ต่อเนื่อง เมื่อเกิดเหตุการณ์แรกขึน้ (initiating event) ซึง่ เป็ นการคิดคาดการณ์ล่วงหน้า
เพื่อวิเคราะห์หาผลสืบเนื่องที่จะเกิดขึน้ เมื่อเครื่องจักรอุปกรณ์เสียหายหรือคนทางานผิดพลาด
เพื่อให้ทราบสาเหตุว่าเกิดขึน้ ได้อย่างไร และมีโอกาสที่จะเกิดขึน้ มากน้อยเพียงใด รวมทัง้ เป็ น
การตรวจสอบว่าระบบความปลอดภัยทีม่ อี ยูม่ ปี ั ญหาหรือไม่อย่างไร
2. การประเมิ นความเสี่ยง
คือการวิเคราะห์พจิ ารณาถึงโอกาส และความรุนแรงของอันตรายทีช่ บ้ี ่งออกมาได้ ซึง่
อาจจะก่อให้เกิดเพลิงไหม้ การระเบิด การรัวไหลของสารเคมี
่ การประเมินความเสีย่ งเป็ นการจัด
ระดับของความเสี่ยง ว่าเป็ นการเสีย่ งเล็กน้อย หรือ ความเสี่ยงทีย่ อมรับได้ ความเสี่ยงสูง หรือ
ความเสีย่ งทีย่ อมรับไม่ได้ เพื่อจะได้เป็ นข้อมูลในการดาเนินงานควบคุมความเสีย่ ง การประเมิน
ความเสีย่ งให้ใช้หลักเกณฑ์พจิ ารณาดังนี้
2.1 พิ จารณาถึงโอกาสในการเกิ ดเหตุการณ์ ต่าง ๆ โดยจัดระดับโอกาส
เป็ น 4 ระดับ คือการจัดระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ระดับ รายละเอียด

1. มีโอกาสในการเกิดยาก เช่น ไม่เคยเกิดเลยในช่วงเวลาตัง้ แต่ 10 ปี ขน้ึ ไป


2. มีโอกาสในการเกิดน้อย เช่น ความถีใ่ นการเกิด 1 ครัง้ ในช่วง 5-10ปี
3. มีโอกาสในการเกิดปานกลาง เช่น ความถีใ่ นการเกิด 1 ครัง้ ในช่วง1-5 ปี
4. มีโอกาสในการเกิดสูง เช่น ความถีใ่ นการเกิด มากกว่า 1 ครัง้ ใน1ปี
457

2.2 พิ จ ารณาถึ ง ความรุน แรงของเหตุ ก ารณ์ ต่ า ง ๆ ว่ า จะก่ อ ให้เ กิด


ผลกระทบทีเ่ กิดต่อบุคคล ชุมชน ทรัพย์สนิ หรือสิง่ แวดล้อมมากน้อยเพียงไร โดยจัดระดับความ
รุนแรงเป็ น 4 ระดับ การจัดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อบุคคล
ได้แก่ ระดับความรุนแรง รายละเอียด โดยมีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 7.4 ความรุนแรงของเหตุการณ์ ทีส่ ่งผลกระทบต่อบุคคล ชุมชน ทรัพย์สนิ และ


สิง่ แวดล้อม
ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด
1 เล็กน้อย มีการบาดเจ็บเล็กน้อยในระดับปฐมพยาบาล
2 ปานกลาง มีการบาดเจ็บทีต่ อ้ งได้รบั การรักษาทางการแพทย์
3 สูง มีการบาดเจ็บหรือเจ็บป่ วยทีร่ นุ แรง
4 สูงมาก ทุพลภาพหรือเสียชีวติ
ทีม่ า: สราวุธ ธรรมาสา, 2560, หน้า 5-33.

หากเมื่อพิจารณาถึงการจัดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่า ง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ
ชุมชน ดังมีระดับความรุนแรง ดังนี้

ตารางที่ 7.5 ระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ทีส่ ่งผลกระทบต่อชุมชน


ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด
1 เล็กน้อย ไม่มผี ลกระทบต่อชุมชนรอบโรงงาน หรือผลกระทบเล็กน้อย
2 ปานกลาง มีผลกระทบต่อชุมชนรอบโรงงาน และแก้ไขได้ในระยะเวลาสัน้
3 สูง มีผลกระทบต่อชุมชนรอบโรงงาน และต้องใช้เวลาในการแก้ไข
4 สูงมาก มีผลกระทบรุนแรงต่อชุมชนเป็ นบริเวณกว้าง หรือหน่วยงานของ
รัฐต้องเข้าดาเนินการแก้ไข
ทีม่ า: สราวุธ ธรรมาสา, 2560,หน้า 5-33.

หมายเหตุ ผลกระทบต่อชุมชน หมายถึง เหตุราคาญต่อชุมชน การบาดเจ็บ เจ็บป่ วยของ


ประชาชน ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ของชุมชน และประชาชน

หากเมื่อพิจารณาถึง การจัดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ


สิง่ แวดล้อมมีระดับความรุนแรง และรายละเอียด ดังนี้
458

ตารางที่ 7.6 ระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ทีส่ ่งผลกระทบต่อทีส่ ่งผลกระทบต่อ


สิง่ แวดล้อม
ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด
1 เล็กน้อย ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมเล็กน้อย สามารถควบคุมหรือแก้ไขได้
2 ปานกลาง ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมปานกลาง สามารถแก้ไขได้ในระยะเวลาสัน้
3 สูง ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมรุนแรง ต้องใช้เวลาในแก้ไข
4 สูงมาก มีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมรุนแรงมาก ต้องใช้ทรัพยากรและเวลานาน
ในการแก้ไข
ทีม่ า: สราวุธ ธรรมาสา, 2560,หน้า 5-33.

หมายเหตุ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม หมายถึง การเสื่อมโทรมและเสียหายของสิง่ แวดล้อม เช่น


อากาศ ดิน แหล่งน้า เป็ นต้น

หากเมื่อพิจารณาถึง การจัดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ


ทรัพย์สนิ มีระดับความรุนแรง และรายละเอียด ดังนี้

ตารางที่ 7.7 ระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ทีส่ ่งผลกระทบต่อทีส่ ่งผลกระทบต่อ


ทรัพย์สนิ
ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด
1 เล็กน้อย ทรัพย์สนิ เสียหายน้อยมาก หรือไม่เสียหายเลย
2 ปานกลาง ทรัพย์สนิ เสียหายปานกลางและสามารถดาเนินการผลิตต่อไปได้
3 สูง ทรัพย์สนิ เสียหายมากและต้องหยุดการผลิตในบางส่วน
4 สูงมาก ทรัพย์สนิ เสียหายมากและต้องหยุดการผลิตทัง้ หมด
ทีม่ า: สราวุธ ธรรมาสา, 2560,หน้า 5-33.

หมายเหตุ ความเสียหายของทรัพย์สนิ ในแต่ละระดับโรงงานสามารถกาหนดขึน้ เองตามความ


เหมาะสมโดยพิจารณาถึงขีดความสามารถของโรงงาน

2.3 จัดระดับความเสี่ยง โดยพิจารณาถึงผลลัพธ์ของระดับโอกาสคูณกับระดับ


ความรุนแรงทีม่ ผี ลกระทบต่อบุคคล ชุมชน ทรัพย์สนิ หรือสิง่ แวดล้อม หากระดับความเสีย่ งที่ม ี
ผลกระทบต่อบุคคล ชุมชน ทรัพย์สนิ หรือสิง่ แวดล้อม มีค่าแตกต่างกันให้เลือกระดับความเสีย่ ง
ทีม่ คี ่าสูงกว่าเป็ นผลของการประเมินความเสีย่ งในเรือ่ งนัน้ ๆ ระดับความเสีย่ งจัดเป็ น 4 ระดับ
การจัดระดับความเสีย่ งอันตราย
459

ตารางที่ 7.8 จัดระดับความเสีย่ ง 4 ระดับ


ระดับความเสี่ยง ผลลัพธ์ รายละเอียด
1 1-2 ความเสีย่ งน้อย
2 3-6 ความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ ต้องมีการทบทวนมาตรการควบคุม
3 8-9 ความเสีย่ งสูง ต้องมีการดาเนินงานเพื่อลดความเสีย่ ง
4 12-16 ความเสีย่ งที่ยอมรับไม่ได้ ต้องหยุดดาเนินการและปรับปรุง
แก้ไขเพื่อลดความเสีย่ งลงทันที
ทีม่ า: ทีม่ า: สราวุธ ธรรมาสา, 2560, หน้า 5-33.

3. แผนงานบริ หารจัดการความเสี่ยง
คือ แผนงานลดความเสีย่ ง และแผนงานควบคุมความเสีย่ ง ซึง่ ผูป้ ระกอบกิจการ
โรงงานต้องดาเนินการจัดทาแผนงานเพื่อ กาหนดมาตรการความปลอดภัยที่เ หมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ ในการลดและควบคุมความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดจากการประกอบกิจการ
ดังต่อไปนี้
3.1 หากผลการประเมินความเสี่ยงของสิง่ ที่เป็ นความเสี่ยงและอันตรายเป็ น
ระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับไม่ได้ ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องหยุดดาเนินการทันที และทาการ
ปรับปรุงแก้ไข เพื่อลดความเสี่ยง ก่อนดาเนินการต่อไป โดยจัดทาแผนงานลดความเสี่ยง และ
แผนงานควบคุมความเสีย่ ง
3.2 หากผลการประเมินความเสี่ยงของสิง่ ที่เป็ นความเสี่ยงและอันตราย เป็ น
ระดับความเสี่ยงสูง ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัด ทาแผนงานลดความเสี่ยง และแผนงาน
ควบคุมความเสีย่ ง
3.3 หากผลการประเมินความเสี่ยงของสิง่ ที่เป็ นความเสี่ยงและอันตราย เป็ น
ระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานต้องจัดทาแผนควบคุมความเสีย่ ง
3.4 แผนงานลดความเสีย่ ง เป็ นแผนงานปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงานในเรื่อง
ต่างๆ ในการลดความเสี่ยงให้อยู่ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ซึ่งต้องประกอบด้วยมาตรการ
หรือ กิจกรรมหรือการดาเนินการเพื่อลดความเสีย่ ง โดยระบุรายละเอียดของขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ
ผูร้ บั ผิดชอบ ระยะเวลา ในการดาเนินงาน รวมทัง้ การตรวจติดตามการดาเนินงาน
3.5 มาตรการหรือกิจกรรมหรือการดาเนินการเพื่อลดความเสีย่ ง ประกอบด้วย
3.5.1 มาตรการป้ องกันและควบคุมสาเหตุของการเกิดอันตราย
3.5.2 ลดหรือกาจัดอันตรายด้วยวิธกี ารทางวิศวกรรม
3.5.3 กาหนดวิธกี ารทางานหรือการปฏิบตั งิ านตามขัน้ ตอนทีถ่ ูกต้อง
3.5.4 กาหนดวิธกี ารทดสอบ ตรวจสอบ และการซ่อมบารุงเครือ่ งจักร
อุปกรณ์และระบบความปลอดภัย
460

3.5.5 กาหนดกระบวนการ วิธกี าร หรือขัน้ ตอนสาหรับการเปลี่ยนแปลง


กระบวนการผลิต วัตถุดบิ เครื่องจักรอุปกรณ์ โดยให้มกี ารพิจารณาทบทวนการชี้บ่งอันตราย
และการประเมินความเสีย่ งก่อนเริม่ ดาเนินการ
3.5.6 จัดให้มกี ารฝึกอบรม
3.5.7 จัดให้มกี ารตรวจประเมินความปลอดภัย
3.5.8 กาหนดวิธคี วบคุมให้มกี ารปฏิบตั ติ ามข้อกาหนด
3.5.9 จัดให้มกี ารทบทวนการชีบ้ ่งอันตราย และการประเมินความเสีย่ ง
3.5.10 ดาเนินการอื่นๆ เพื่อป้ องกันและควบคุมการเกิดอันตราย
มาตรการระงับและฟื้ นฟูเหตุการณ์ ได้แก่
(1) จัดทาและจัดให้มกี ารซ้อมแผนฉุกเฉิน
(2) จัดให้มกี ารสอบสวนอุบตั เิ หตุและอุบตั กิ ารณ์
(3) จัดให้มแี ผนฟื้ นฟูโรงงาน ชุมชน และสิง่ แวดล้อม ซึ่งเป็ นผล
จากการชีบ้ ่งอันตราย และการประเมินความเสีย่ ง
3.6 แผนงานควบคุมความเสี่ยง เป็ นแผนงานในการควบคุม และตรวจสอบ
มาตรการป้ องกันและควบคุมสาเหตุของการเกิดอันตราย และมาตรการระงับและฟื้ นฟูเหตุการณ์
ให้ค งประสิทธิภ าพ และประสิทธิผ ลในการป้ อ งกัน ลด และควบคุ มความเสี่ยง ซึ่ง เป็ น การ
ควบคุมและตรวจสอบการดาเนินงานเพื่อรักษาความเสีย่ งให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ตลอดเวลา
ซึง่ ประกอบด้วย
3.6.1 มาตรการ หรือ กิจกรรมหรือการดาเนินการเพื่อลดความเสี่ยงหรือ
ขัน้ ตอนการปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นความเสีย่ ง
3.6.2 ผูร้ บั ผิดชอบ
3.6.3 หัวข้อเรือ่ งทีค่ วบคุม
3.6.4 เกณฑ์หรือค่ามาตรฐานทีใ่ ช้ควบคุม
3.6.5 ผูต้ รวจติดตาม

วิ ธีการชี้บ่งความเสี่ยง
อันตรายหรือการเกิดอุบตั เิ หตุในโรงงานหรือสถานประกอบการส่วนใหญ่ทพ่ี บสรุปได้ 3
ประการใหญ่ๆ คือ
1. การกระทาที่ ไม่ปลอดภัย (Unsafe Acts) เป็ นสาเหตุใหญ่ท่กี ่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ
ได้แก่
1.1 การใช้เครื่องมือ เครื่องจักร และการทางานโดยไม่มคี วามรู้ ทาให้ไม่ถูกวิธ ี และ
ไม่ถูกขัน้ ตอน
461

1.2 การมีทศั นคติท่ไี ม่ถูกต้อง เช่น อุบตั ิเหตุเ ป็ นเรื่องของเคราะห์กรรม แก้ไ ข


ป้ องกันไม่ได้
1.3 ความไม่เอาใจใส่ในการทางาน
1.4 ความประมาท ความพลัง้ เผลอเหม่อลอย
1.5 การมีนิสยั ชอบเสีย่ ง
1.6 การไม่ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบความปลอดภัยของโรงงาน
1.7 การทางานโดยไม่ใช้อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
1.8 การแต่งกายไม่เหมาะสม
1.9 การถอดเครือ่ งกาบังส่วนอันตรายของเครื่องจักรออกด้วยความรูส้ กึ ราคาญ ทา
ให้การทางานไม่สะดวก หรือถอดเพื่อซ่อมแซมแล้วไม่ใส่คนื
1.10 การใช้เครือ่ งมือ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่เหมาะสมกับงาน เช่น การใช้ขวดแก้ว
ตอกตะปูแทนการใช้คอ้ นตอกตะปู
1.11 การหยอกล้อกันระหว่างทางาน
1.12 การทางานโดยทีร่ า่ งกายและจิตใจไม่พร้อมหรือผิดปกติเช่น ไม่สบายใจ
เมาค้าง มีปัญหาครอบครัว ทะเลาะกับแฟน เป็ นต้น
2. สภาพการณ์ ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Conditions) เป็ นสาเหตุรอง ได้แก่
2.1 ส่วนทีเ่ ป็ นอันตราย (ส่วนทีเ่ คลื่อนไหว) ของเครือ่ งจักรไม่มเี ครือ่ งกาบังหรือ
อุปกรณ์สวมใส่ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
2.2 การวางผังโรงงานทีไ่ ม่ถูกต้อง
2.3 ความไม่เป็ นระเบียบเรียบร้อย และสกปรกในการจัดเก็บวัสดุสงิ่ ของ
2.4 พืน้ โรงงานขรุขระเป็ นหลุมเป็ นบ่อ
2.5 สภาพแวดล้อมในการทางานที่ไม่ปลอดภัยหรือไม่ถูกสุขอนามัยเช่น แสง
สวางไม่เพียงพอเสียงดังเกินควรความร้อนสูงฝุ่ นละอองไอระเหยของสารเคมีทเ่ี ป็ นพิษ เป็ นต้น
2.6 เครือ่ งจักรกลเครือ่ งมือ หรืออุปกรณ์ชารุดบกพร่อง
3. ด้านสภาพแวดล้อมในสถานที่ทางาน ได้แก่
3.1 ระดับอุณหภูมบิ ริเวณสถานทีท่ างาน (Degree Temperature)
3.2 ความเร็วหรืออัตราเร่งของงาน (Working Speed)
3.3 ระดับเสียง (Noise Level)
3.4 ระดับแสงสว่าง (Light Level)
3.5 อายุการทางานและประสบการณ์ทางาน (Age and Experience)
3.6 สุขภาพกาย (Physical Health)
3.7 ขวัญและกาลังใจ (Work Morale)
462

หลัก เกณฑ์ที่ ใ ช้ ในการประเมิ น และการพิ จ ารณาตอบสนองต่ อ ความเสี่ ย ง


อันตราย
1. พิ จารณาจากหลักเกณฑ์ที่ใช้ประเมิ นระดับความเสี่ยง
ตารางที่ 7.9 หลักเกณฑ์ประเมินระดับความเสีย่ งในการทางาน
โอกาสในการเกิ ด ระดับความรุนแรง ระดับความรุนแรง ระดับความรุนแรง
อันตราย สูง ปานกลาง ตา่
ความเสี่ยงสูง ความเสีย่ งที่ไม่อาจ ความเสีย่ งสูง (4) ความเสีย่ งปานกลาง (3)
ยอมรับได้ (5)
ความเสี่ยงปานกลาง ความเสีย่ งสูง (4) ความเสีย่ งปานกลาง (3) ความเสีย่ งที่ยอมรับได้ (2)
ความเสี่ยงตา่ ความเสีย่ งปานกลาง (3) ความเสีย่ งที่ยอมรับได้ (2) ความเสีย่ งต่า (1)
ทีม่ า: จักรกฤษณ์ สิวะเดชาเทพ,2559, หน้า 12-33.

จากตารางข้างต้น สามารถอธิบายถึงการพิจารณาการประมาณความเสีย่ งที่แท้จริงหรือ


เกิดขึน้ จริงจากการปฏิบตั งิ าน ดังนี้
1. กรณีความเสีย่ งอันตรายเกี่ยวข้องกับกฎหมายหรือข้อกาหนดอื่น ๆ แต่หน่ วยงานไม่
มีมาตรการควบคุมกิจกรรมดังกล่าวให้ถอื ว่าเป็ นความเสี่ยงอันตรายที่มีนัยสาคัญ
2. กรณีความเสีย่ งอันตรายเกี่ยวข้องกับกฎหมายหรือข้อกาหนดอื่น ๆ แต่หน่ วยงานมี
มาตรการควบคุมกิจกรรมดังกล่าว ระดับความเสีย่ งทีแ่ ท้จริงให้พจิ ารณาตามหลักเกณฑ์ปกติ
3. กรณีท่คี วามเสี่ยงอันตรายไม่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย และหน่ วยงานไม่มมี าตรการ
ควบคุมกิจกรรมดังกล่าว ระดับความเสีย่ งที่แท้จริงเท่ากับระดับความเสีย่ งอันตรายตัง้ แต่ระดับ
ปานกลางถึงระดับสูงถือว่าเป็ นความเสี่ยงอันตรายที่มีนัยสาคัญ
4. กรณีทค่ี วามเสีย่ งอันตรายไม่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย แต่หน่ วยงานมีมาตรการควบคุม
กิจกรรมดังกล่าว ระดับความเสีย่ งทีแ่ ท้จริงให้พจิ ารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินปกติ

2. พิ จารณาจากโอกาสในการเกิ ดอันตราย
ตารางที่ 7.10 พิจารณาจากโอกาสในการเกิดอันตราย
โอกาสในการเกิ ดอันตราย เกณฑ์ในการพิจารณา
ระดับความเสี่ยงตา่ (1) มีโอกาสเกิดขึ้น "ต่ า" เช่น ไม่เกิดขึน้ เลยในระยะเวลา 6
เดือน
ระดับความเสี่ยงปานกลาง (2) มีโอกาสเกิดขึ้น "ปานกลาง" เช่น เกิดขึ้นอย่างน้ อย 1
ครัง้ ในระยะเวลา 6 เดือน
ระดับความเสี่ยงสูง (3) มีโอกาสเกิดขึน้ "สูง" เช่น เกิดขึน้ เป็ นประจาทุกเดือน ทุก
สัปดาห์หรือทุกวัน
ทีม่ า: จักรกฤษณ์ สิวะเดชาเทพ,2559, หน้า 12-32.
463

3. การพิ จารณาจากระดับความรุนแรงของการเกิ ดอันตราย


ตารางที่ 7.11 การพิจารณาจากระดับความรุนแรงของการเกิดอันตราย
ระดับความรุนแรง เกณฑ์ในการพิจารณา
ระดับตา่ (1) เหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั เิ หตุ (Near Miss/Incident) หรือ
อุ บ ัติเ หตุ ท่ีท าให้ม ีก ารบาดบาดเจ็บ หรือ เจ็บ ป่ วยเพีย ง
เล็กน้อย ซึง่ อาจต้องการความช่วยเหลือในระดับการปฐม
พยาบาล หรืออาจจะต้องได้รบั การช่วยเหลือโดยการส่ง
เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลแต่ไม่จาเป็ นต้องหยุดงาน
และหรือมูลค่าความเสียหายของธุรกิจและทรัพย์สินไม่
เกิน 5000 บาท
ระดับกลาง (2) เกิด อุ บ ัติเ หตุ ท าให้ม ีก ารบาดเจ็บ หรือ เจ็บ ป่ วยซึ่ง ต้ อ ง
ได้ ร ั บ การช่ ว ยเหลื อ โดยการส่ ง เข้ า รับ การรัก ษาที่
โรงพยาบาลเป็ นการเร่งด่วน และแพทย์อนุ ญาตให้หยุด
งานไม่เกิน 3 วัน และหรือมูลค่าความเสียหายของธุรกิจ
และทรัพย์สนิ มากกว่า 5000 บาท แต่ไม่เกิน 30000 บาท
ระดับสูง (3) เกิด อุ บ ัติเ หตุ ท าให้ม ีก ารบาดเจ็บ หรือ เจ็บ ป่ วยซึ่ง ต้ อ ง
ได้ ร ั บ การช่ ว ยเหลื อ โดยการส่ ง เข้ า รับ การรัก ษาที่
โรงพยาบาลเป็ นการเร่งด่วน และแพทย์อนุ ญาตให้หยุด
งานตัง้ แต่ 4 วันขึน้ ไป และหรือมูลค่าความเสียหายต่อ
ธุรกิจและทรัพย์สนิ มากกว่า 30000 บาท ขึน้ ไป และหรือ
เกิดอุบตั เิ หตุจนเป็ นเหตุให้มกี ารประกาศใช้แผนฉุ กเฉิน

4. หลักเกณฑ์ในการตอบสนองต่อความเสี่ยงระดับต่างๆ
ตารางที่ 7.12 หลักเกณฑ์ในการตอบสนองต่อความเสีย่ งระดับต่าง ๆ
ระดับความเสี่ยง หลักเกณฑ์การพิจารณาตอบสนองต่อความเสี่ยง
ระดับความเสี่ยงตา่ (1) 1. ไม่ตอ้ งมีการควบคุมเพิม่ เติม การพิจารณาความเสีย่ ง
อาจทาเมื่อเห็นว่า คุ้มค่า หรือการปรับปรุงไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้
2. การติด ตามตรวจสอบยัง คงต้อ งท าเพื่อ ให้แ น่ ใ จว่า
ความเสีย่ งได้รบั การควบคุมต่อเนื่อง
3. รายงานถึงการดาเนิ นงานตามระยะเวลาที่กาหนด
อย่างต่อเนื่อง

ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (2) 1. ไม่ตอ้ งมีการควบคุมเพิม่ เติม การพิจารณาความเสีย่ ง


อาจทาเมื่อเห็นว่า คุม้ ค่า หรือการปรับปรุงไม่ตอ้ งเสีย
ค่าใช้จา่ ยเพิม่ ขึน้
464

ตารางที่ 7.12 หลักเกณฑ์ในการตอบสนองต่อความเสีย่ งระดับต่าง ๆ (ต่อ)


ระดับความเสี่ยง หลักเกณฑ์การพิจารณาตอบสนองต่อความเสีย่ ง
ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (2) (ต่อ) 2. การติดตามตรวจสอบยังคงต้องทาเพื่อให้แน่ ใจว่า
ความเสีย่ งได้รบั การควบคุมต่อเนื่อง

3. รายงานถึงการดาเนินงานตามระยะเวลาทีก่ าหนด
อย่างต่อเนื่อง

ระดับความเสี่ยงปานกลาง (3) 1. จะต้องใช้ความพยายามทีจ่ ะลดความเสีย่ ง แต่


ค่าใช้จา่ ยของการป้ องกันจะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ
ซึง่ จะต้องกาหนดแผนลดความเสีย่ ง และจากัดวงเงิน
งบประมาณ
2. จะต้องมีการดาเนินลดความเสีย่ งภายในแผนที่
กาหนด

3. เมื่อความเสีย่ งระดับปานกลางมีความสัมพันธ์กบั การ


เกิดความเสียหายร้ายแรง ควรประเมินทบทวนเพื่อ
ตัดสินความจาเป็ นสาหรับมาตรการควบคุมว่าจะต้องมี
การปรับปรุงเพิม่ เติมหรือไม่
4. เฝ้ าติดตามการดาเนินงานเพื่อให้ทราบผลและ
รายงานผลตามระยะเวลาทีก่ าหนดอย่างต่อเนื่อง

5. นาไปกาหนดแผนการป้ องกัน และมาตรการต่าง ๆ

1. ต้องลดความเสีย่ งลงก่อนทีจ่ ะเริม่ ทากิจกรรมได้


ระดับความเสี่ยงสูง (4) 2. ต้องจัดสรรทรัพยากรและมาตรการอย่างเพียงพอเพื่อ
ลดความเสีย่ ง
3. กรณีความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับกับกิจกรรมทีก่ าลังจะ
เริม่ หรือกิจกรรมทีก่ าลังดาเนินอยู่จะต้องทาการแก้ไข
โดยเร่งด่วน
4. เฝ้ าติดตามการดาเนินงานเพื่อให้ทราบผลและ
รายงานผลตามระยะเวลาทีก่ าหนดอย่างต่อเนื่อง
5. นาไปกาหนดแผนการป้ องกัน และมาตรการต่าง ๆ
1. การทางานหรือกิจกรรมทีจ่ ะเริม่ หรืองานทีท่ าอยูจ่ ะไม่
ระดับความเสี่ยงที่ไม่อาจยอมรับได้ (5) สามารถดาเนินต่อไปได้ จนกว่าจะลดความเสีย่ งลงให้อยู่
ในขัน้ ยอมรับได้
2. ถ้าไม่สามารถลดความเสีย่ งได้ ถึงแม้จะพยายาม
อย่างเต็มทีแ่ ล้วจะต้องหยุดการทางานหรือกิจกรรมนัน้
ทันทีเพื่อไม่เกิดความเสียหายร้ายแรง
ทีม่ า: ชัยเสฎฐ์ พรหมศรี, 2550, หน้า 76
465

5. การเตือนอันตราย
1. เตือนโดยการประกาศให้ทราบหลังจากทราบผลการประเมินความเสีย่ งใน
งานนัน้ ๆ แล้วเสร็จ
2. เตือนเมื่อมีอุบตั เิ หตุจากการทางานเกิดขึน้ โดยจะต้องทาการเตือนอันตราย
ให้เร็วทีส่ ุดเพื่อป้ องกันการเกิดเหตุซ้า
3. การเตือ นอันตรายอาจใช้วธิ ีการจัดทาคู่มอื การปิ ดประกาศ การอบรมให้
ทราบ การจัดทาป้ ายห้าม ป้ ายเตือน ป้ ายบังคับอย่างชัดเจน การตรวจสอบควบคุมโดยสามารถ
ทาอย่างหนึ่งหรือทุกวิธรี วมกันตามความเหมาะสม
การชี้บ่งอันตรายตามวิธที ่กี าหนดและการประเมินความเสี่ยงจะต้องกรอกข้อมูลลงใน
แบบฟอร์ม โดยมีรายละเอียดใน ตารางที่ 7.13
466

ตารางที่ 7.13 แบบฟอร์มการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งด้วยวิธกี าร Checklist


ผลการศึกษา วิ เคราะห์ และทบทวนการดาเนิ นงานในโรงงานเพื่อการชี้บ่งอันตรายและการประเมิ นความเสี่ยงด้วยวิ ธี Checklist
ฝ่ าย/แผนก/สังกัด .....................................................................................................
พืน้ ที่ / เครือ่ งจักร /กระบวนการผลิต/ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน /กิจกรรม ..............................................................................................................................
โรงงาน (สายการผลิต) ....................................................................................................................................................................................................
วัน/เดือน /ปี (ทีท่ าการวิเคราะห์/บ่งชีอ้ นั ตรายและการประเมิน) ..........................................................................................................................................

ผลจากการทา Checklist อันตรายหรือผลทีเ่ กิดขึน้ มาตรการป้ องกันและควบคุม ข้อเสนอแนะ การประเมินความเสีย่ ง


ตามมา อันตราย
โอกาส ความ ผลลัพธ์ ระดับความ
รุนแรง รุนแรง
นาผลการตรวจสอบมาชีบ้ ่ง ให้ระบุอนั ตรายที่เกิดขึน้ และ ให้ระบุมาตรการป้ องกันและ ให้ระบุมาตรการความปลอดภัย ระบุระดับ ระบุระดับ ระบุระดับ
อันตรายเพื่อหาแนวโน้มของ อันตรายทีเกิดขึน้ ตามมาที่ ควบคุมอันตรายทีโ่ รงงานมี ทีโ่ รงงานยังไม่มแี ต่จะดาเนินการ โอกาส ความ ความเสีย่ ง
อันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ จากพืน้ ที่ เป็ นผลจากเหตุการณ์แรก การดาเนินการอยูใ่ นปั จจุบนั เพิม่ เติมเพื่อให้เกิดความ รุนแรง และระบุ
การทางาน เครื่องจักร จนถึงอันตรายสุดท้ายทีอ่ าจ เพื่อป้ องกันอันตรายที่ระบุใน ปลอดภัยยิง่ ขึน้ (โดยเฉพาะกรณี แผนควบคุม
เครื่องมือ อุปกรณ์ และกิจกรรม เกิดขึน้ ได้และระบุผลกระทบ ช่อง ผลจากการทา Checklist ประเมินความเสีย่ งได้ระดับ และแผนลด
ต่าง ๆ จากอันตรายดังกล่าวทีม่ ี (โดยเน้นมาตรการในเชิงการ ความเสีย่ ง 3 ขึน้ ไป)
ผลกระทบต่อบุคคล ชุมชน ควบคุมทางด้านการบริหาร
โอกาส x ความรุนแรง = ผลลัพธ์
สิง่ แวดล้อมหรือทรัพย์สนิ จัดการ รวมทัง้ มาตรการระงับ
และฟื้ นฟูเหตุการณ์)
467

ตารางที่ 7.14 แบบฟอร์มการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งด้วยวิธ ี What if Analysis


ผลการศึกษา วิ เคราะห์ และทบทวนการดาเนิ นงานในโรงงานเพื่อการชี้บ่งอันตรายและการประเมิ นความเสี่ยงด้วยวิ ธี What if Analysis
ฝ่ าย/แผนก/สังกัด ...........................................................................................................................................................................................................
พืน้ ที่ / เครือ่ งจักร /กระบวนการผลิต/ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน /กิจกรรม ..............................................................................................................................
โรงงาน (สายการผลิต) ....................................................................................................................................................................................................
วัน/เดือน /ปี (ทีท่ าการวิเคราะห์/บ่งชีอ้ นั ตรายและการประเมิน) ..........................................................................................................................................

คาถาม อันตรายหรือผลทีเ่ กิดขึน้ มาตรการป้ องกัน ข้อเสนอแนะ การประเมินความเสีย่ ง


What if ตามมา และควบคุมอันตราย
โอกาส ความ ผลลัพธ์ ระดับความ
รุนแรง รุนแรง
นาผลการตรวจสอบมาชีบ้ ่ง ให้ระบุอนั ตรายที่เกิดขึน้ และ ให้ระบุมาตรการป้ องกันและ ให้ระบุมาตรการความปลอดภัย ระบุระดับ ระบุระดับ ระบุระดับ
อันตรายเพื่อหาแนวโน้มของ อันตรายทีเกิดขึน้ ตามมาที่ ควบคุมอันตรายทีโ่ รงงานมี ทีโ่ รงงานยังไม่มแี ต่จะดาเนินการ โอกาส ความ ความเสีย่ ง
อันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ จากพืน้ ที่ เป็ นผลจากเหตุการณ์แรก การดาเนินการอยูใ่ นปั จจุบนั เพิม่ เติมเพื่อให้เกิดความ รุนแรง และระบุ
การทางาน เครื่องจักร จนถึงอันตรายสุดท้ายทีอ่ าจ เพื่อป้ องกันความล้มเหลวหรือ ปลอดภัยยิง่ ขึน้ (โดยเฉพาะกรณี แผนควบคุม
เครื่องมือ อุปกรณ์ และกิจกรรม เกิดขึน้ ได้และระบุผลกระทบ ความผิดพลาดที่ระบุในช่อง ประเมินความเสีย่ งได้ระดับ และแผนลด
ต่าง ๆ จากอันตรายดังกล่าวทีม่ ี คาถาม What if (โดยเน้น ความเสีย่ ง 3 ขึน้ ไป)
ผลกระทบต่อบุคคล ชุมชน มาตรการในเชิงการควบคุม
โอกาส x ความรุนแรง = ผลลัพธ์
สิง่ แวดล้อมหรือทรัพย์สนิ ทางด้านการบริหารจัดการ
รวมทัง้ มาตรการระงับและ
ฟื้ นฟูเหตุการณ์)
468

ตารางที่ 7.15 แบบฟอร์มการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งด้วยวิธ ี FMEA


ผลการศึกษา วิ เคราะห์ และทบทวนการดาเนิ นงานในโรงงานเพื่อการชี้บ่งอันตรายและการประเมิ นความเสี่ยงด้วยวิ ธี FMEA
ฝ่ าย/แผนก/สังกัด ..............................................................................................................................................................................................................
พืน้ ที่ / เครือ่ งจักร /กระบวนการผลิต/ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน /กิจกรรม .................................................................................................................................
โรงงาน (สายการผลิต) ........................................................................................................................................................................................................
ตามเอกสารหมายเลข ..................... วัน/เดือน /ปี (ทีท่ าการวิเคราะห์/บ่งชีอ้ นั ตรายและการประเมิน) .....................................................................................
เครือ่ งจักร/อุปกรณ์/ ความล้มเหลว สาเหตุของ ผลทีจ่ ะเกิดขึน้ มาตรการป้ องกัน/ การประเมินความเสีย่ ง
ระบบไฟฟ้ า ความล้มเหลว ควบคุม/แก้ไข
โอกาส ความ ผลลัพธ์ ระดับ
รุนแรง ความ
รุนแรง
เครือ่ งจักร อุปกรณ์ ระบบ ระบุสงิ่ ทีเ่ ป็ นความล้มเหลว ระบุปัจจัยทีท่ าให้เกิดความ ให้ระบุอนั ตรายทีเ่ กิดขึน้ ให้ระบุมาตรการป้ องกัน ระบุ ระบุระดับ ระบุระดับ
ไฟฟ้ าทีท่ าการศึกษา ทีเ่ กิดขึน้ เป็ นประจา ของ ล้มเหลวทีเ่ กิดขึน้ ของแต่ละ และอันตรายทีเ่ กิดขึน้ และควบคุมอันตรายที่ ระดับโอกาส ความ ความเสีย่ ง
วิเคราะห์ เครือ่ งจักรอุปกรณ์ ระบบ ประเด็น ตามมาทีเ่ ป็ นผลตามมาที่ โรงงานมีการดาเนินการอยู่ รุนแรง และระบุ
ไฟฟ้ าทีท่ าการศึกษา เป็ นผลจากเหตุการณ์แรก ในปั จจุบนั เพื่อป้ องกัน แผน
วิเคราะห์ จนถึงอันตรายสุดท้ายที่ สาเหตุของความล้มเหลว ควบคุม
อาจเกิดขึน้ ได้ และระบุ
(โดยเน้นมาตรการในเชิง และแผน
ผลกระทบจากอันตราย
การควบคุมทางด้าน ลด
ดังกล่าวทีม่ ผี ลกระทบต่อ โอกาส x ความรุนแรง = ผลลัพธ์
บุคคล ชุมชน สิง่ แวดล้อม วิศวกรรมก่อน และ
หรือ ทรัพย์สนิ มาตรการด้านการบริหาร
จัดการ รวมทัง้ มาตรการ
ระงับและฟื้ นฟูเหตุการณ์)
469

ตารางที่ 7.16 แบบฟอร์มการชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งด้วยวิธ ี HAZOP


ผลการศึกษา วิ เคราะห์ และทบทวนการดาเนิ นงานในโรงงานเพื่อการชี้บ่งอันตรายและการประเมิ นความเสี่ยงด้วยวิ ธี HAZOP
หน่วยงาน ..................................................................... รายละเอียด ............................................................................................................................
ปั จจัยการผลิต ....................................................................ค่าควบคุม ................................................... แบบแปลนหมายเลข .......................................
วัน/เดือน /ปี (ทีท่ าการวิเคราะห์/บ่งชีอ้ นั ตรายและการประเมิน) ..........................................................................................................................................
สถานการณ์จาลอง เหตุการณ์ทเ่ี กิดตามมา มาตรการป้ องกัน/
ข้อบกพร่อง ควบคุม/แก้ไข ข้อเสนอแนะ การประเมินความเสีย่ ง
โอกาส ความ
ระดับ ผลลัพธ์
รุนแรง
ความ
รุนแรง
ให้นา Guideword มา เหตุการณ์ สถานการณ์ ผลกระทบทีเ่ กิดจาก ให้ระบุมาตรการป้ องกัน ให้ระบุมาตรการความ ระบุระดับ ระบุระดับ ระบุระดับ
ประกอบกับความ อุปกรณ์ หรือสาเหตุทท่ี า สถานการณ์ อุปกรณ์ท่ี และควบคุมอันตรายที่ ปลอดภัยทีโ่ รงงานยังไม่มี โอกาส ความ ความเสีย่ ง
บกพร่องหรือผิดปกติใน ให้เกิดข้อบกพร่องในจุด ทาให้เกิดข้อบกพร่อง โรงงานมีการดาเนินการ แต่จะดาเนินการเพิม่ เติม รุนแรง และระบุ
การทางาน (operating ทีก่ าลังศึกษาวิเคราะห์ (ให้ระบุผลจาก อยูใ่ นปั จจุบนั เพ่อ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย แผน
development) เหตุการณ์แรกจนถึง ป้ องกันสาเหตุทท่ี าให้ ยิง่ ขึน้ (โดยเฉพาะกรณี ควบคุม
เหตุการณ์สุดท้ายทีอ่ าจ เกิดข้อบกพร่องในช่อง ประเมินความเสีย่ งได้ระดับ และแผน
เกิดขึน้ ทีม่ ผี ลกระทบต่อ สถานการณ์จาลอง(โย ความเสีย่ ง 3 ขึน้ ไป) ลด
โอกาส x ความรุนแรง = ผลลัพธ์
บุคคล ชุมชน เน้นมาตรการในเชิงการ
สิง่ แวดล้อม หรือ ควบคุมทางด้าน
ทรัพย์สนิ ) วิศวกรรมก่อน และ
มาตรการด้านการ
บริหารจัดการ รวมทัง้
มาตรการระงับและ
ฟื้ นฟูเหตุการณ์)
470

การจัด ท าแผนงานบริ ห ารจัด การความเสี่ ย ง (แผนงานควบคุม ความเสี่ ย ง/


แผนงานลดความเสี่ยง)
แผนงานบริห ารจัด การความเสี่ย ง หมายถึง แผนงานลดความเสี่ย ง และแผนงาน
ควบคุ ม ความเสี่ย งซึ่ง ผู้ป ระกอบกิจ การโรงงานต้อ งด าเนิ น การจัด ท าแผนงานเพื่อ ก าหนด
มาตรการความปลอดภัยที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพในการลดและควบคุมความเสี่ยงจาก
อันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการประกอบกิจการ
ให้จดั ทาแผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง (แผนงานควบคุมความเสีย่ งและแผนงานลด
ความเสีย่ ง) ดังนี้
(1) แผนงานควบคุมความเสี่ยง
กรณีประเมินความเสีย่ งแล้วได้ ระดับความเสีย่ ง 2 ต้องจัดทาแผนงานควบคุมความ
เสี่ยงโดยให้นา มาตรการป้ องกันและควบคุมอันตราย ที่ระบุใน ตารางการบ่งชี้อ ันตราย มา
จัดทาแผนงานควบคุมความเสี่ยง โดยนามาตรการป้ องกันและควบคุมอันตรายของทุกข้อที่ได้
ระดับความเสี่ยงจาก 2 มาจัดทาแผนงานควบคุมความเสีย่ ง โดยระบุลงในช่อง “มาตรากรหรือ
กิจกรรมหรือการดาเนินการเพื่อลดความเสี่ยงหรือขัน้ ตอนการปฏิบตั ิท่เี ป็ นความเสี่ยง” และ
กาหนดหัวข้อเรือ่ งทีค่ วบคุม และหลักเกณฑ์หรือมาตรฐานทีใ่ ช้ควบคุม กาหนดผูร้ บั ผิดชอบและ
ผูต้ รวจติดตาม (ต้องไม่ใช่บุคคลหรือหน่วยงานเดียวกัน)
การจัดทาแผนงานควบคุมความเสีย่ งจะต้องกรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์ม แสดงดัง ตาราง
ที่ 7.16

(2) แผนงานลดความเสี่ยง
กรณีประเมิน ความเสี่ยงแล้ว ได้ระดับความเสี่ยง 3 และ 4 ต้อ งจัดทาแผนงานลด
ความเสี่ยงสาหรับการจัดทาแผนงานลดความเสี่ยง ให้นาข้อเสนอแนะ ที่ระบุในตารางการชี้บ่ง
อันตราย มาจัดทาแผนงานลดความเสีย่ ง โดยนาข้อเสนอแนะของทุก ข้อทีไ่ ด้ระดับความเสีย่ ง 3
และ 4 มาจัดทาแผนงานลดความเสี่ยง โดยระบุลงในช่อง : มาตรการ/กิจกรรม/การดาเนินการ/
กิจกรรม/การดาเนินงานลดความเสี่ยง” และกาหนดระยะเวลาดาเนินการ (โดยให้ระบุเป็ น วัน
เดือน ปี ที่แน่ นอนที่จะดาเนินการให้แล้วเสร็จ) พร้อมกาหนดผู้รบั ผิดชอบและผู้ตรวจติดตาม
(ซึ่ง ต้ อ งไม่ ใ ช่ บุ ค คลหรือ หน่ ว ยงานเดีย วกัน ) เมื่อ จัด ท าแผนงานลดความเสี่ย งด าเนิ น การ
เรียบร้อยแล้วให้นาแหนงานลดความเสีย่ งมาจัดทาเป็ นแผนงานควบคุมความเสีย่ งต่อไป
การจัดทาแผนงานลดความเสี่ยงจะต้องกรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์ม แสดงดัง ตารางที่
7.17
471

ตารางที่ 7.17 แบบฟอร์มการจัดทาแผนงานควบคุมความเสีย่ ง


แผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง (แผนงานควบคุมความเสีย่ ง)
หน่วยงาน ....................................... รายละเอียด (ระบุกจิ กรรมทีด่ าเนินการ) .......................................................................................................................
วัตถุประสงค์ ........................................................................................................................................................................................................................
เป้ าหมาย .............................................................................................................................................................................................................................
ลาดับที่ มาตรการหรือกิจกรรมการดาเนินงานเพื่อลดความเสีย่ ง หรือ ผูร้ บั ผิดชอบ หัวข้อเรื่องทีค่ วบคุม หลักเกณฑ์หรือมาตรการที่ ผูต้ รวจติดตาม
ขัน้ ตอนการปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นความเสีย่ ง ใช้ควบคุม
ให้น ามาตรการป้ อ งกัน และควบคุม อัน ตราย หรือ มาตรการ ระบุตาแหน่งผูร้ บั ผิดชอบ ระบุวธิ กี ารทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ ระบุเกณฑ์หรือมาตรฐาน ระบุ ต าแหน่ ง ผู้ ต รวจ
ป้ องกัน/ควบคุม /แก้ไข ตามแบบฟอร์ม การชี้บ่งอันตรายและ ติดตาม
การประเมินความเสีย่ งตามวิธตี ่าง ๆ มาระบุเพื่อจัดทาแผนงาน
ควบคุมความเสีย่ ง
472

ตารางที่ 7.18 แบบฟอร์มการจัดทาแผนงานลดความเสีย่ ง


แผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง (แผนงานลดความเสีย่ ง)
หน่วยงาน ....................................... รายละเอียด (ระบุกจิ กรรมทีด่ าเนินการ) .......................................................................................................................
วัตถุประสงค์ ........................................................................................................................................................................................................................
เป้ าหมาย .............................................................................................................................................................................................................................
ลาดับที่ มาตรการ/กิจกรรม/การดาเนินงานลดความเสีย่ ง ผูร้ บั ผิดชอบ หัวข้อเรื่องทีค่ วบคุม หลักเกณฑ์หรือมาตรการที่ ผูต้ รวจติดตาม
ใช้ควบคุม
ให้นามาตรการความปลอดภัยที่ระบุไว้ในช่องข้อเสนอแนะตาม ระบุตาแหน่งผูร้ บั ผิดชอบ ให้ระบุวนั เดือนปี ทเ่ี ริม่ ต้น ถึง ระบุตาแหน่งผูต้ รวจติดตาม
แบฟอร์ม การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยงตามวิธี วันทีด่ าเนินการแล้วเสร็จ
ต่าง ๆ มาระบุเพื่อจัดทาแผนงานลดความเสีย่ ง
473

บทสรุปผลการศึกษา วิ เคราะห์ และทบทวนการดาเนิ นงานที่ มีความเสี่ยงภายใน


โรงงาน
ให้จดั ทาบทสรุปการศึกษาต้องมีทะเบียนความเสี่ยง ซึ่งประกอบด้วยสาระสาคัญอย่าง
น้อย ดังต่อไปนี้
1. สรุปกิจกรรมหรือขัน้ ตอนทีก่ ่อให้เกิดอุบตั ภิ ยั หรืออุบตั ิเหตุรา้ ยแรงโดยให้ระบุลกั ษณะ
ของการเกิดอุบตั ภิ ยั ร้ายแรงตามกิจกรรมหรือขัน้ ตอนด้วย
2. สรุปความเสีย่ งระดับ 2 และ 3 พร้อมทัง้ มาตรการป้ องกันและควบคุมทีม่ อี ยูเ่ ดิมและ
ทีจ่ ะจัดทาเพิม่ เติม
จากการดาเนินการชีบ้ ่งอันตรายและประเมินความเสีย่ งของ บริษทั ..............................
พบว่า มีจุดวิกฤต หรือ อุปกรณ์ท่มี คี วามวิก ฤตที่อาจก่ อให้เกิดอุ บตั ิภยั ร้ายแรง เช่น ไฟไหม้
สารเคมีรวไหล
ั่ หรือระเบิดได้ เช่น
1. ระดับความเสีย่ ง ................ รายการ
2. ระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ ................ รายการ
3. ระดับความเสีย่ งเล็กน้อย ................ รายการ
และจัดทาแผนบริหารจัดการความเสีย่ ง ดังนี้
1. แผนงานลดความเสีย่ ง ................. แผน
2. แผนงานควบคุมความเสีย่ ง ................. แผน
จัดทาแผนฉุ กเฉิ นกรณี ไฟไหม้ และหรือสารเคมีรวไหล ั่ (กรณี มีการใช้ สารเคมี
อันตราย)
ให้จดั ทาแผนฉุกเฉินกรณีไฟไหม้ และหรือสารเคมีรวไหล ั่
สาหรับแผนฉุ กเฉินกรณีไฟไหม้ ควรประกอบด้วยแผนการตรวจสอบความปลอดภัย
และแผนการอพยพหนีไฟ ทัง้ นี้ ให้ ระบุแหล่งรองรับน้ าจากการดับเพลิ งกรณี ไฟไหม้ เพื่ อ
ไม่ให้น้าจากการดับเพลิ งที่ปนเปื้ อนสารเคมีลงสู่แหล่งสาธารณะ
หมายเหตุ การใช้แบบฟอร์มในการจัดทาบัญชีรายการสิง่ ทีเ่ ป็ นความเสีย่ งอละอันตราย การชีบ้ ่ง
อันตรายด้วยวิธตี ่าง ๆ การจัดทาแผนงานควบคุมความเสี่ยงและแผนงานลดความเสี่ยง ให้ใช้
แบบฟอร์มตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนดใน :ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่าด้วย
หลักเกณฑ์การชีบ้ ่งอันตรายการประเมินความเสีย่ ง และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความ
เสีย่ ง พ.ศ. 2543”
474

กระบวนการจัดการความเสี่ยง
การจัดการความเสี่ยงเป็ นกระบวนการดาเนิน งานต่อเนื่องทีต่ ้องทาเป็ นวงจรเริม่ ตัง้ แต่
การกาหนดบริบทความสัมพันธ์ระหว่างสถานประกอบการหรือ กับสิง่ แวดล้อมโดยรอบไปจนถึง
การบาบัดความเสี่ยงที่อยู่ในระดับที่ไม่อาจยอมรับได้ กระบวนการจัดการความเสี่ยงควรเป็ น
กระบวนการทีส่ อดคล้องสัมพันธ์หรือถือเป็ นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการบริหารจัดการของสถาน
ประกอบการหรือโรงงาน ไม่ควรแยกออกมาเป็ นกระบวนการต่างหาก
ในปั จจุบนั พบว่า อุบตั เิ หตุทเ่ี กิดจากการทางานนัน้ มีอตั ราทีส่ ูงขึน้ ซึง่ สาเหตุท่เี กิดนัน้ มี
หลายประการ ผู้ประกอบการหรือ เจ้า ของโรงงานอุ ต สาหกรรมจะต้อ งปฏิบ ัติอ ย่างไรหรือ มี
นโยบายทีช่ ดั เจนอย่างไรในการลดอุบตั เิ หตุอนั เกิดจากการทางานในสถานประกอบการ และให้
ความเชื่อมันความปลอดภั
่ ยในการทางานแก่คนงาน การทางานทีม่ คี วามปลอดภัยคือสภาพทีไ่ ม่
มีภยันตราย ดังนัน้ ความปลอดภัยในการทางานจึงหมายถึงการทางานที่ปราศจากอันตราย
ไม่เสี่ยงต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ กล่าวคือ ไม่ก่อให้เกิดสิง่ ต่าง ๆ ได้แก่ การเจ็บป่ วย หรือเป็ นโรค
การบาดเจ็บ พิการ หรือตาย ทรัพย์สนิ เสียหาย เสียเวลา ขบวนการผลิตหยุดชะงัก คนงานเสีย
ขวัญและกาลังใจในการทางาน กิจการเสียชื่อเสียง ซึง่ ทัง้ หมดนี้ลว้ นแต่เป็ นผลเสียทัง้ สิน้ การกีด
กันทางการค้าระหว่างประเทศ ก็ได้ยกเอาประเด็นเรื่อ งความปลอดภัยในการทางานมาเป็ น
เครื่องมือพิจารณาในการค้าขายระหว่างประเทศ เนื่องจากความปลอดภัยในการทางานนัน้ เป็ น
ปั จ จัยพื้น ฐานในการเพิ่ม ผลผลิต ที่ม ีคุ ณ ภาพ รัฐบาลจึง สนับ สนุ นส่ ง เสริม ให้ผู้ประกอบการ
เสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตสินค้าทีม่ คี ุณภาพ โดยเน้นให้สถานประกอบการคานึงถึงความ
ปลอดภัยในการทางาน ได้มกี ารออกระเบียบโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์
การชีบ้ ่งอันตราย การประเมินความเสีย่ ง และการจัดทาแผนงานบริหารความเสี่ยง พ.ศ. 2543
ขึ้น เพื่อ ให้ผู้ป ระกอบกิจ การโรงงาน หรือ ผู้ข อรับ ใบอนุ ญ าตประกอบกิจ การโรงงาน หรือ
ใบอนุ ญาตขยายโรงงาน ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ความเสีย่ งจากอันตรายทีอ่ าจเกิด จาก
การประกอบกิจการโรงงาน โดยต้องทาการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการดาเนินงานเพื่อชีบ้ ่ง
อัน ตราย ประเมิน ความเสี่ย ง และจัด ท าแผนงานการจัด การความเสี่ย งจึง น ามาเขีย นเป็ น
กระบวนการจัดการความเสีย่ งได้ดงั ภาพที่ 7.6
475

กาหนดบริบท

บริบท ด้านยุทธศาสตร์
บริบทด้านองค์กร
บริบทด้านการจัดการความเสีย่ ง

ตัดสิ นใจเรื่องโครงสร้าง
จัดทาเกณฑ์

บ่งชี้ความเสี่ยง

อันตรายอะไรอาจจะเกิดขึน้
เกิดขึน้ ได้อย่างไร

วิ เคราะห์ความเสี่ยง การเฝ้ าระวัง


พิจารณาการควบคุมทีม่ อี ยู่ และการทบทวน
พิจารณาเรื่อง พิจารณาเรื่อง
ความเป็ นไปได้ ความรุนแรง

กาหนดระดับความเสี่ยง

ประเมินผลความเสี่ยง
เปรียบเทียบกับเกณฑ์
กาหนดลาดับความสาคัญ

การบาบัดความเสี่ยง
ชีบ้ ่งทางเลือกการบาบัด
-ประเมินผลทางเลือก
-จัดเตรียมแผนบาบัด
-ดาเนินการตามแผน

ภาพที่ 7.6 กระบวนการจัดการความเสีย่ ง


ทีม่ า: ดัดแปลงมาจาก AS/NZS 4360: 1998.
476

การบาบัดความเสี่ยง การเฝ้ าระวัง และการทบทวน


การบาบัดความเสี่ยง (risk treatment)
การบาบัดความเสี่ยง เป็ นขัน้ ตอนในการะบวนการจัดการความเสี่ยงที่ผู้รบั ผิดชอบ
จะต้องดาเนินการตามลาดับขัน้ ตอน ดังนี้ (สราวุธ สุธรรมาสา, 2560, หน้า 5-35)
1. ทางเลือก (options) ต่าง ๆ ทีจ่ ะนามาจัดการกับความเสีย่ งทีย่ อมรับไม่ได้ โดยการ
พิจ ารณาปั จ จัย ต่ า ง ๆ ที่เ กี่ย วข้อ งเพื่อ หาแนวทางก าจัด ความเสี่ย งเพื่อ ไม่ใ ห้เ กิด ขึ้น ซึ่ง ไม่
สามารถยอมรับต้องมีการดาเนินการทันที
2. ทาการประเมินทางเลือกเหล่านัน้ เพื่อได้ทางเลือกทีเ่ หมาะสม การประเมินทางเลือก
ต้องมีการหาข้อมูลเพื่อการสนับสนุ นเพื่อจะประเมินทางเลือกไม่มกี ารความผิดพลาดโดยอาจ
เป็ นการเก็บข้อมูลและการประเมินความเสี่ยงต่าง ๆ เพื่อทาการหาทางเลือกที่เป็ นไปได้มาก
ทีส่ ุด
3. จัดเตรียมแผนงาน เป็ นขัน้ การเตรียมการเพื่อกาหนดแนวทางไว้ล่วงหน้า ว่าจะทา
อย่างไร ทาเมื่อไหร่ ทาอะไรบ้าง ใครจะต้อ งเป็ นผู้กระทา และทาไมถึงต้อ งทาวิธ ีการแบบนี้
เพื่อจะได้มที ศิ ทางในการดาเนินการทีป่ ้ องกันความผิดพลาดหรือลดความสูญเสีย
4. ลงมือดาเนินการบาบัดความเสีย่ งตามแผน ขัน้ ลงมือปฏิบตั ติ ามแผนทีก่ าหนดไว้โดย
มีการดาเนินการตามทีก่ าหนดไว้ และต้องมีการประเมินผลและติดตามผลด้วย
กระบวนการบาบัดความเสีย่ งทีป่ ระกอบด้วย 4 กิจกรรมนี้ สามารถแสดงรายละเอียดได้
ตาม ภาพที่ 7.7
477

ชีบ้ ่งทางเลือก
ความเสีย่ งที่เหลืออยูย่ อมรับไม่ได้
การบาบัด
ความเสีย่ ง
ลดโอกาสเกิด ลดความรุนแรง ย้ายความเสีย่ ง หลีกเลีย่ ง
ทัง้ หมดบางส่วน

ชีบ้ ่งทางเลือก
การบาบัด พิจารณาความเป็ นไปได้ ค่าใช้จ่าย ประโยชน์ และระดับความเสีย่ ง
ความเสีย่ ง
แนะนายุทธศาสตร์การบาบัด
การเฝ้ าระวัง
เลือกยุทธศาสตร์การบาบัด และ
การทบทวน
เตรียมแผน
เตรียมแผนบาบัดความเสีย่ ง
บาบัด
ความเสีย่ ง
ดาเนินการ ลดโอกาสเกิด ลดความ ย้ายความเสีย่ ง หลีกเลีย่ ง
ตามแผน รุนแรง ทัง้ หมด/บางส่วน
บาบัด
ความเสีย่ ง ความเสีย่ ง ย้ายความเสีย่ ง

บางส่วนยังคงอยู่ บางส่วนไป

ยอมรับความ ได้
เสีย่ งทีเ่ หลืออยู่ คงความเสีย่ งไว้
ได้หรือไม่

ไม่ได้

ภาพที่ 7.7 กระบวนการบาบัดความเสีย่ ง


ทีม่ า: สราวุธ สุธรรมาสา, 2560, หน้า 5-36.
478

1. ชี้บ่งทางเลือกการบาบัดความเสี่ยง (indentify options for risk treatment)


การบาบัดความเสีย่ งมีทางเลือกหลักอยู่ 4 ทางเลือก คือ
1.1 หลีกเลีย่ งความเสีย่ ง (risk avoidance) เป็ นทางเลือกทีต่ ดั สินใจจะไม่ให้เกิด
ปั ญหาความเสี่ยงด้วยการหลีกเลี่ยงออกไปจากสถานการณ์ท่จี ะเกิดความเสี่ยงนัน้ ๆ วิธกี าร
หลีกเลีย่ งทาได้โดยการยกเลิกโครงการนัน้ ๆ
1.2 เคลื่อนย้ายความเสี่ยงไปให้คนอื่น (risk transfer) เมื่อโรงงานตัดสินใจทา
โครงการหรือกิจกรรมที่มคี วามเสี่ยง การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงจึงไม่สามารถทาได้ แนวคิดของ
ทางเลือ กในการเคลื่อ นย้ายความเสี่ยงไปให้ ค นอื่น จึงเป็ นทางเลือ กที่อ าจทาได้ โดยการท า
ประกันภัย การทาสัญญา หรือแม้กระทังการย้ ่ ายโครงการ/กิจกรรมนัน้ ๆ ไปยังสถานทีอ่ ่นื แทน
1.3 ลดความเป็ นไปได้ของการเกิดเหตุการณ์นนั ้ ๆ เช่น ลดระดับความเป็ นไป
ได้มาก (ระดับ A) ลงมาเป็ นระดับมีความเป็ นไปได้ปานกลาง (ระดับ C) วิธกี ารลดระดับความ
เป็ นไปได้มหี ลายวิธ ี ยกตัวอย่าง เช่น
(1) โปรแกรมตรวจประเมิน
(2) ทบทวนในเรื่ อ งข้ อ ก าหนด (requirement) ลัก ษณะจ าเพาะ
(specification) แบบ (design) วิศวกรรม (engineering) และการดาเนินปฏิบตั กิ าร (operation)
(3) การตรวจตราและการควบคุมกระบวนการ
(4) การบารุงรักษาเชิงป้ องกัน
(5) การให้คาแนะนา (supervision)
(6) การทดสอบ
(7) การควบคุมเทคโนโลยี
1.4 ลดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์นนั ้ ๆ โดยพยายามหาวิธที จ่ี ะลดระดับ
ความรุนแรงลงให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทาได้โดยพิจารณาทัง้ ในแง่มุมของเทคโนโลยีและค่าใช้จา่ ย
ตัวอย่างวิธกี ารลดความรุนแรง เช่น
1) แผนรับเหตุฉุกเฉิน
2) แผนฟื้ นฟูสภาพ
3) ลักษณะแบบ (design features)
4) แผงกัน้ (engineering and structural barriers)
5) จากัดจานวนการสัมผัสแหล่งความเสีย่ ง
6) แยกโครงการ/กิจกรรมนัน้ ๆ ออกไป
2. ประเมิ นทางเลือกการบาบัดความเสี่ยง (assessing risk treatment options)
แนวทางที่จะประเมินดูว่าจะเลือกวิธบี าบัดความเสี่ยงใดดี จะวางอยู่บนพื้นฐานที่ว่าการลงทุน
และค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ สาหรับทางเลือกนัน้ ๆ คุม้ ค่ากับผลทีจ่ ะได้รบั
479

3. จัดเตรียมแผนการบาบัดความเสี่ยง (preparing treatment plan) เมื่อตัดสินใจ


เลือ กวิธ ีก ารบ าบัด ความเสี่ย งได้แ ล้ว ก็ต้อ งจัด เตรีย มท าแผนการด าเนิ น งานว่ า ใครจะเป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบแผนดาเนินการ ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั งบประมาณและการทบทวนแผน
4. ดาเนิ นการตามแผนการบาบัดความเสี่ยง (implementing treatment plans)
เป็ นการดาเนินงานโดยผู้รบั ผิดชอบที่กาหนดไว้ตามระยะเวลาที่กาหนด และหากปรากฏหลัง
การดาเนินงานพบว่ายังคงมีความเสี่ยงอยู่ (residual risk) ก็จะเป็ นการตัดสินใจว่าจะยังคง
ยอมรับความเสี่ยงที่เหลืออยู่นัน้ ได้หรือไม่ หรือให้นาความเสี่ยงที่เหลือนัน้ มาเข้ากระบวนการ
บาบัดความเสีย่ งต่อไป
กระบวนการบาบัดความเสี่ยง (Risk treatment to process)
เมื่อผู้บริหารได้รบั รายงานการประเมินความเสี่ยงแล้วจาเป็ นต้องทาการตัดสินใจโดย
พิจารณา จากหลักเกณฑ์การยอมรับความเสีย่ งทีอ่ งค์กรมีอยูว่ ่าจะยอมรับโดยไม่ทาอะไร หรือจะ
ดาเนินการบาบัด ความเสีย่ ง ซึง่ ได้แก่กระบวนการดังต่อไปนี้
1. การยอมรับความเสี่ยง (acceptance) เป็ นการยอมรับในความเสีย่ งโดยไม่ทาอะไร
และ ยอมรับในผลทีอ่ าจตามมา เช่น
2. การเลี่ยงความเสี่ยง (avoidance) การหลีกเลีย่ งความเสีย่ ง เช่น
3. การโอนยายความเสี่ ยง (transfer) เช่น สถานประกอบการหรือ นายจ้างอาจเลือก
ซือ้ ประกันชีวติ หรือประกันความเสีย่ งต่าง ๆ จากหน่ วยงานภายอก ซึง่ อาจได้แก่ บริษทั ประกัน
ชีวติ ประกันวินาศภัย เป็ นต้น หรือ กรณีเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ ต้องมีการทาสัญญา การ
บารุงรักษาหลังขาย (Maintenance service) ทีร่ บั ผิดชอบในสัญญาตัง้ แต่การดูแล บารุงรักษา
การฝึกอบรม และบริการต่าง ๆ เป็ นต้น
4. การลดความเสี่ยง (reduction) ได้แก่ การมีมาตรการควบคุมมากชนิดขึน้ หรือ
ชนิดที่ เข้มงวดมากขึน้ เพื่อลดความเสี่ยง เช่น คณะกรรมการความปลอดภัยประจาโรงงาน
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย เหล่านี้ต้องมีมาตรการทีเ่ ข้มงวดในการให้ความรู้ ส่งเสริม ฝึกอบรมให้
พนักงานผู้ปฏิบตั งิ านได้มคี วามรู้ และสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างถูกต้อง และมีการตรวจสอบ
ติดตาม ดูแ ล และให้ค วามช่ว ยเหลือ เกี่ยวกับด้านความปลอดภัยและอาชีว อนามัยในสถาน
ประกอบการ
การเฝ้ าระวังและการทบทวน
การเฝ้ า ระวัง (monitor) เป็ น สิ่ง จ าเป็ น ที่ต้ อ งด าเนิ น การ โดยเฉพาะเพื่อ ติด ตามดุ
ประสิทธิภาพของแผนการบาบัดความเสี่ยง การดาเนินตามยุทธศาสตร์ และระบบการจัดการ
ของโรงงาน
ผูร้ บั ผิดชอบในการเฝ้ าระวัง ควรเป็ นผู้ทไ่ี ด้รบั ข้อมูลข่าวสารครบถ้วนเกี่ยวกับแผนการ
บาบัดความเสี่ยง กลยุทธ์และระบบการจัดการความเสี่ยงของโรงงานหรือสถานประกอบการ
480

เพื่อจะได้นามาเป็ นเอกสารตัง้ ต้นทีจ่ ะทาการเฝ้ าระวังว่าการดาเนินงานของโรงงานเป็ นไปตาม


แผนงานทีก่ าหนดไว้หรือไม่
การทบทวน (review) เป็ นการทบทวนการจัดการความเสี่ยงในทุกกระบวนการ หรือ
เป็ นการทบทวนประสิทธิภาพของแนวนโยบายในการจัดการความเสีย่ งของโรงงานทุกขัน้ ตอน
ซึง่ เป็ นการวัดผลการดาเนินงานว่าเป็ นไปตามแผนการจัดการความเสีย่ งว่าเหมาะสมเป็ นจริงกับ
สถานการณ์ ท่ีม ีก ารเปลี่ย นแปลงหรือ ไม่ กฎระเบีย บเกี่ย วกับ ความปลอดภัย ที่อ าจมีก าร
เปลีย่ นแปลง จานวนอัตราการเกิดอุบตั เิ หตุมแี นวโน้มลดลง หรือไม่เกิดอุบตั เิ หตุในจุดทีไ่ ม่ควร
เกิดอุบตั เิ หตุอย่างไรเป็ นการทบทวน เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและพัฒนาการจัดการความ
เสีย่ ง รวมทัง้ ทาให้ระบบการจัดการความเสีย่ งของโรงงานสามารถรับมือกับการเปลีย่ นแปลงได้
อย่างทันเวลา ด้งนัน้ การทบทวนนี้จาเป็ นต้องดาเนินการโดยผู้บริหารระดับสูง เพื่อจะได้เป็ นมี
พลังในการผลักดันให้การจัดการความเสีย่ งมีการปรับปรุงแก้ไขในส่วนทีย่ งั ไม่ได้รบั การแก้ไขทีม่ ี
ปั ญหาเกิดขึน้ บ่อยครัง้ โดยไม่ได้รบั การแก้ไข หรือทีไ่ ม่ดี และป้ องกันควบคุมไม่ให้เกิดจุดอ่อนใน
การทางาน รวมทัง้ เป็ นการยกระดับการทางานให้ดขี น้ึ สร้างความมันใจให้ ่ ผู้ปฏิบตั งิ านในด้าน
ความปลอดภัยในการทางาน ให้ส่งผลถึงการเพิ่มผลผลิตให้กบั สินค้าและบริการ ในทางปฏิบตั ิ
อาจทาการทบทวนการจัดการความเสี่ยงในที่ประชุมผู้บริหารโรงงานหรือในที่ประชุมทบทวน
การจัดการระบบ ISO 9000 ISO 14000 และมอก./OHSAS 18000 ขึน้ อยูแ่ ต่กรณี

สรุป
การจัดการความเสี่ยง หมายถึง การดาเนินการอย่างเป็ นระบบที่จะตัดสินใจยอมรับ
ความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ และมีการประยุกต์อย่างเป็ นระบบในการใช้นโยบายเพื่อจัดการตามขัน้ ตอน
ที่ได้กาหนดไว้ตงั ้ แต่การชี้บ่งอันตราย การประเมินผล การควบคุมหรือลด การแก้ไข การเฝ้ า
ระวัง และการทบทวนให้นาไปการดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพด้า นความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัยในการทางาน การรับรูส้ มั ผัสความเสีย่ ง หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจที่
จะยอมรับในเหตุ ก ารณ์ ท่จี ะเกิดขึ้นซึ่งจะต้อ งมีการประเมินค่ าความเสี่ยงที่ผู้ปฏิบตั ิงานหรือ
พนั ก งานที่ต้ อ งเผชิญ เมื่อ การรับ รู้แ ละยอมรับ ความเสี่ย งนั น้ ก็ย่ อ มน าไปสู่ ก ารวิเ คราะห์
และประเมินความเสีย่ งเพื่อการลดความเสีย่ ง หรือหาแนวทาง มาตรการและการแก้ไขไม่ให้เกิด
เหตุการณ์ท่เี ป็ นความเสี่ยงที่จะเกิดขึน้ อีก กระบวนการจัดในการจัดการความเสีย่ งต้องมีการ
ดาเนินการตามเกณฑ์ทจ่ี ะทาให้มกี ารยอมรับความเสีย่ งนัน้ ได้แก่ จาแนกประเภทของกิจกรรม
ของงาน ชีบ้ ่งอันตราย กาหนดความเสีย่ ง ตัดสินว่าความเสีย่ งยอมรับได้หรือไม่ เตรียมแนวทาง
การปฏิบตั กิ ารควบคุมความเสี่ยง และทบทวนแผนการปฏิบตั กิ าร เมื่อจะให้การจัดการความ
เสีย่ งในโรงงานให้สามารถดาเนินไปได้จะต้องมีการพัฒนาระบบการจัดการความเสีย่ ง ซึง่ ได้แก่
นโยบายการจัดการความเสี่ยง องค์การ การทบทวนการจัดการการดาเนินโปรแกรม เป็ นต้น
481

และต้องมีขอ้ กาหนดและกระบวนการจัดการความเสีย่ ง ซึง่ เป็ นมาตรฐาน AS/NZS 4360:1998


ประกอบด้วยข้อกาหนดหลัก 6 ข้อ ได้แก่ การกาหนดบริบท การชีบ้ ่งความเสีย่ ง การวิเคราะห์
ความเสี่ยง การประเมินผลและจัดทาลาดับความเสี่ยง และการบาบัดความเสี่ยง รวมทัง้ กรอบ
การกาหนดความเสีย่ งจะต้องมีการตรวจสอบและติดตามประเมินผลมาตรวจสอบคือ ระบบวงจร
PDCA ในการทบทวนความเสีย่ ง
การบ่งชี้อนั ตรายและการประเมินความเสี่ยง โดยจะต้อ งเริม่ ตัง้ แต่การบ่งชี้อนั ตราย
ต้องมีการบ่งชีท้ เ่ี ป็ นการนาแบบตรวจไปใช้ในการตรวจสอบการดาเนินงานในโรงงาน เพ่อค้นหา
อันตราย กรบวนการวิเคราะห์ และทบทวนเพื่อชี้บ่งอันตราย บ่งชี้อนั ตรายถึงอุบตั ิเหตุ หรือ
อุบตั ิเหตุท่รี ้ายแรง การวิเคราะห์รูปแบบความล้มเหลว และบ่งชี้อนั ตรายเพื่อ วิเ คราะห์ และ
ประเมินผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อเนื่อง ดังนัน้ การประเมินความเสีย่ งจึงต้องมีการประเมินโอกาส
ในการเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ขึน้ โดยมีการจัดระดับโอกาส ระดับความรุนแรง ผลกระทบ ซึง่ การ
จัดระดับความเสีย่ งเพื่อตัง้ แต่ระดับทีม่ คี วามเสีย่ งน้อยไปจนความเสีย่ งทีย่ อมรับไม่ได้ ต้องหยุด
ดาเนินการและปรับปรุงแก้ไ ขเพื่อ ลดความเสี่ยงลงทันที จะเห็นได้ว่า วิธ ีการบ่งชี้ค วามเสี่ยง
สามารถสรุปได้ คือ การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย สภาพการณ์ทไ่ี ม่ปลอดภัย และสภาพแวดล้อมใน
สถานที่ทางาน ในการประเมินความเสีย่ งจะต้องมีหลักเกณฑ์ในการประเมิน และการพิจารณา
ตอบสนองต่อความเสีย่ งอันตราย โดยพิจารณาจากหลักเกณฑ์ทใ่ี ช้ประเมินระดับความเสีย่ งตัง้
ตัง้ แต่ความเสีย่ ง 3 ระดับ คือ ความเสีย่ งระดับสูง ความเสี่ยงระดับปานกลาง ความเสี่ยงระดับ
ต่ า และการเกิดอันตรายในระดับที่มคี วามเสีย่ งต่ า ปานกลาง และสูง เป็ นต้น การจัดการความ
เสี่ยงต้องดาเนินการด้วยการบาบัดความเสี่ย ง เฝ้ าระวัง และการทบทวน ซึ่งการบาบัดความ
เสีย่ งเป็ นกระบวนการจัดการความเสีย่ งทีผ่ รู้ บั ผิดชอบจะต้องดาเนินการตามลาดับมี 4 ขัน้ ตอน
คือ (1) ทางเลือกต่าง ๆ ทีจ่ ะนามาจัดการความเสีย่ งทีย่ อมรับไม่ได้ (2) ทาการประเมินทางเลือก
เหล่านัน้ เพื่อได้ทางเลือกที่เหมาะสม (3) จัดเตรียมแผนงาน (4) ลงมือดาเนินการบาบัดความ
เสี่ยงตามแผน และการฝ้ าระวัง และการทบทวนความเสี่ยงประกอบด้วยลาดับขัน้ ตอน ได้แก่
ชีบ้ ่งทางเลือกการบาบัดความเสี่ยง ประเมินทางเลือกการบาบัดความเสี่ยง จัดเตรียมแผนการ
บาบัดความเสี่ยง ดาเนินการตามแผนการบาบัดความเสี่ยง และกระบวนการบาบัดความเสี่ยง
ได้แก่ การยอมรับความเสีย่ ง การเลีย่ งความเสีย่ ง การโอนย้ายความเสีย่ ง และการลดความเสีย่ ง
482

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องสมบูรณ์ที่สดุ
1. ให้อธิบายความหมายของ ความเสีย่ ง พร้อมยกตัวอย่าง
2. ให้อธิบายความหมายของการจัดการความเสีย่ ง พร้อมยกตัวอย่าง
3. ให้อธิบายความหมายของ อันตราย (hazard) ทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับความเสีย่ ง
4. การประเมินความเสีย่ ง หมายถึง
5. การควบคุมความเสีย่ ง (risk control)
6. การประเมินความเสีย่ ง หมายถึง และสามารถทาให้การประเมินความเสีย่ งได้อย่างไรบ้าง
7. การพัฒนาระบบการจัดการความเสีย่ งในสถานประกอบการมีขนั ้ ตอนทีส่ าคัญอย่างไรบ้าง
8. การบ่งชีค้ วามเสีย่ งทีพ่ บในสถานประกอบการส่วนใหญ่มลี กั ษณะเป็ นอย่างไร และมีการบ่งชี้
อันตรายทีพ่ บในสถานประกอบการมีอะไรบ้าง
9. ให้บอกถึงกระบวนการในการจัดการความเสีย่ งมีกระบวนการอย่างไรบ้าง
10. การสื่อสารความเสีย่ ง หมายถึง และมีลกั ษณะอย่างไร
11. การรับรูส้ มั ผัสถึงความเสีย่ งสามารถนาทฤษฎีใดมาอธิบายได้บา้ ง
12. ให้เขียนแบบฟอร์มการประเมินความเสีย่ ง หรือ การวิเคราะห์ความเสีย่ งในสถานทีท่ างาน
มา 1 เหตุการณ์
483

เอกสารอ้างอิ ง

กมลวัฒน์ ยะสารวรรณ.(2550). การรับรูก้ ฎระเบียบของพนักงานท่าเรือแหลมฉบัง. ปั ญหา


พิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ.ชลบุร:ี
มหาวิทยาลัยบูรพา.
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2549.
กรอบบริ หารความเสี่ยง(ERP Framework).บริษทั สินมันคงประกั ่ นภัย (จากัด) มหาชน.,
ค้นเมือ่ 23 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.smk.co.th/WEBSMK/upload.
คู่มือการบริ หารความเสี่ยง.ศูนย์ความบริหารความเสีย่ ง มหาวิทยาลัยมหิดล., ค้นเมือ่
25 พฤศจิกายน 2559, จาก https://www.mahidol.ac.th.
เจริญ เจษฎาวัลย์. (2550). การบริหารความเสีย่ ง. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. พอดีการพิมพ์ : กรุงเทพฯ.
ชัยเสฎฐ์ พรหมศรี. (2550). การบริหารความเสีย่ ง.กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ทครีเอชัน.่
บัณฑิต เผ่าวัฒนา.(2548). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปั ญหาน้ าเสียในคลอง
แม่ขา่ ตาบลช้างคลาน เทศบาลนครเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระเศรษฐศาสตร์
มหาบัณฑิต.เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พัชราวัล พันธศิลาโรจน์.(2551). ปั จจัยทีม่ ผี ลต่อการรับรู.้ กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ดอกหญ้า.
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสีย่ ง
และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง พ.ศ.2543., ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, จาก
http://www.diw.go.th/hawk/law/safety/ind16.pdf.
วิภารัตน์ โพธิ ์ขี. (2557). การจัดการด้านวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม.
ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศีขรินทร์ สุขโต.(2553). วิศวกรรมความปลอดภัย. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). ขอนแก่น:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศูนย์พฒั นาทรัพยากรการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2558). จิตวิทยาการบริการ.
ค้นเมือ่ 18 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/
1010311/unit09_2_2.html.
สิทธิโชค วรานุสนั ติกกุล. (2546). จิตวิทยาสังคม : ทฤษฎีและการประยุกต์. กรุงเทพฯ :
ซีเอ็ดยูเคชัน.่
สุรพงษ์ ชูรงั สฤษฏ์.(2547). การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management).สมาคมผูต้ รวจสอบ
ภายในแห่งประเทศไทย., ค้นเมือ่ 18 พฤศจิกายน 2559,
จาก http://www.conc.tbs.tu.ac.th/.
484

เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาขาวิชาวิทยาศาสตร์
สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ฉบับปรับปรุง หน่วยที่ 1-7.(2560).
กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
เอกสารการสอนชุดอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ฉบับปรับปรุง หน่ วยที่ 1-7.(2559).กรุงเทพฯ: อรุณ
การพิมพ์.
Bernstein,D. A.(1999).Essentials of Psychology. Boston : Houghton Mifflin
Company.
Colin W.Fuller และ Luise H.Vassie.(2004). Health and Safety Management : Principles
and Best Practice. Essex :Prentice Hall.
Goetsch, David L.(2005). Occupational Safety and Health.,15th Edition Person Prentice
Hall,Upper Saddle River,New Jersey : United States of America.
Kast. Fremont E. and Rosenzweig. James E. (1985). Organization and Contingency
Approach. 4th ed. Singapore : McGraw – Hill.
Newsome,Bruce.(2014). A Practical introduction to Security and Risk Management.
SAGE Publications India Pvt.Ltd.: New Delhi.
Roediger, H. L.(2007). Science of memory: Concepts. Oxford: Oxford University
Press.
Schiffman, Leon G. and Kanuk, Leslie L (2007).Consumer Behavior. 9th ed. New
Jersey: Prentice Hall.
Slovic, P. (1987). Perception of Risk. Science 236(17 April): 280-285. Page 2. Page 3.,
ค้นเมือ่ 25 ตุลาคม 2559, ค้นจาก https://www.unc.edu/~fbaum/teaching/articles/
Science-1987-Slovic.pdf.
Standards Australia/Standards New Zealand,AS/NZS 4360:1995.Risk Management.
New Zealand,1995.
485

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 8
พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน
หัวข้อเนื้ อหา
1. แนวคิดเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
2. พืน้ ฐานการเกิดพฤติกรรมมนุษย์
3. ทฤษฎีเกีย่ วข้องในการพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์
4. พฤติกรรมมนุษย์เพื่อความปลอดภัยในการทางาน
5. รูปแบบผูน้ าด้านความปลอดภัยและวัฒนธรรม บรรยากาศในการทางาน
6. รูปแบบทีมงานความปลอดภัยในสถานประกอบการ
7. รูปแบบการทางานเป็ นทีมทีม่ ผี ลต่อความปลอดภัยในการทางาน
8. สรุป
9. แบบฝึกปฏิบตั ิ
10. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1. อธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุ ษย์ ความหมาย ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของ
พฤติกรรมมนุษย์ได้
2. บอกถึง ทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อ งกับ พฤติกรรมมนุ ษ ย์ และการพัฒนาพฤติก รรมมนุ ษ ย์
รวมทัง้ พืน้ ฐานของการเกิดพฤติกรรมมนุษย์ได้
3. อธิบายถึงพฤติกรรมมนุษย์เพื่อความปลอดภัยในการทางาน และบอกถึงรูปแบบผูน้ า
รูปแบบทีมงานด้านความปลอดภัยและวัฒนธรรม บรรยากาศในการทางานเพื่อความปลอดภัย
ในการทางานได้
4. อธิบายเกีย่ วกับหลักของกิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยในการทางานได้

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ
486

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารคาสอนวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมบทที่ 8
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดทิ ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
487

บทที่ 8
พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน
โดยธรรมชาติของมนุ ษย์มพี ฤติกรรมที่แสดงออกมา หรือปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ กับ
มนุษย์เมือ่ ได้เผชิญกับสิง่ เร้า พฤติกรรมที่แสดงออกมานัน้ จะเป็ นพฤติกรรมทีไ่ ม่สามารถควบคุม
ได้หรือเรียกว่าปฏิกริ ยิ าสะท้อน และพฤติกรรมทีส่ ามารถควบคุมได้และจัดระเบียบได้ เนื่องจาก
มนุษย์มสี ติปัญญา และอารมณ์ เมื่อมีสงิ่ เร้ามากระตุ้น ทาให้ความคิดหรือสติปัญญาทาหน้าทีใ่ น
การรับรูแ้ ละตัดสินใจว่าควรจะต้องทาอย่างไร จึงทาให้มนุ ษย์แสดงให้เห็นถึงตัวตนของตนเอง ที่
มีความรูส้ กึ อารมณ์ ทีม่ อี ทิ ธิพลทีม่ พี ลังในการเกิดปฏิกริ ยิ าทีแ่ สดงอารมณ์ ความรูส้ กึ เนื่องจาก
มนุ ษย์ทุกคนมีค วามรัก ความโลภ ความโกรธ ความหลง และต้อ งการทาให้พฤติกรรมของ
มนุ ษย์ส่วนใหญ่เป็ นไปตามความรู้สกึ และอารมณ์เป็ นพื้นฐาน มนุ ษย์จ ึ งมีรูปแบบพฤติกรรมที่
แสดงออกมา 2 อย่างคือ พฤติกรรมเปิ ดเผย หรือพฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรมปกปิ ดหรือ
พฤติกรรมภายใน ทัง้ สองพฤติกรรมที่แสดงออกมาย่อมเกิดความความรูส้ กึ นึกคิด อารมณ์ กา
รับรู้ โดยมนุ ษย์แสดงออกมาที่เกิดขึน้ จากแรงผลักดันภายในตัวมนุ ษย์ท่มี าจากความต้องการ
ทางร่างกาย และความต้องการทางจิตใจ ซึง่ ไม่ว่าจะทัง้ ทางร่างกายและจิตใจก็ย่ อมทาให้มนุ ษย์
ต้องการความอยูร่ อดและปลอดภัยให้กบั ตนเอง
ดังนัน้ การทีบ่ ุคคลได้แสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ของตนเองออกมานัน้ ย่อมล้วนแล้วแต่เป็ น
ปกป้ องให้ตนเองเกิดความปลอดภัย หรือเพื่อทาให้ตนเองปลอดภัยในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ
ภายใต้สภาพแวดล้อมทางกายภาพการที่จะอธิบายถึ งพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน
ของบุคคลในการทาหน้ าที่ของแต่ละตาแหน่ งงานย่อมต้องแสดงพฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความ
ปลอดภัย ในการท างาน ผู้ทาหน้ าที่ด้า นการจัด การความปลอดภัยในการทางานของสถาน
ประกอบการจาเป็ นต้องศึกษาพฤติกรรมมนุ ษย์ท่มี คี วามแตกต่างกันตามหลักการ ทฤษฎี และ
แนวคิดเพื่อนามาสนับสนุ นในการจัดกิจกรรมเพื่อให้บุคคลในองค์การหรือสถานประกอบการได้
เกิดความปลอดภัยในการทางาน ซึง่ ในบทนี้จะกล่าวถึงแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมความ
ปลอดภัย เป้ าหมายและความสาคัญของการศึกษาพฤติกรรม องค์ประกอบ ประเภทของ
พฤติกรรม อันจะนาไปสู่การสร้างจิตสานึกในความปลอดภัยในการทางาน

แนวคิ ดและทฤษฎีเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน
มนุ ษ ย์โ ดยส่ ว นใหญ่ เ กิด มาต้อ งท างานเพื่อ แสดงให้เ ห็นถึง ความสามารถ และการ
แสดงออกถึงศักยภาพ รวมถึงการอยูร่ อด มนุ ษย์อยู่ลอ้ มรอบโดยธรรมชาติทม่ี มี าแต่กาเนิด และ
สิง่ ทีเ่ ป็ นการกระทาของมนุ ษย์สร้างขึน้ มนุ ษย์ย่อมต้องการความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ
ของตนเอง เมื่อ มนุ ษ ย์ต้อ งท างานแม้ใ นอดีต ที่ม ีค วามปลอดภัย ค่ อ นข้า งสูง เนื่ อ งจากเกิด
ธรรมชาติและการกระทาจากเรีย่ วแรงของมนุ ษย์ จนโลกมีการพัฒนาก้าวหน้าขึน้ มากจากหน้า
488

มือเป็ นหลังมือจึงทาให้ มีเครื่องมือ เครื่องจักรที่ทนั สมัยมาใช้แทนแรงงานมนุ ษย์ ทาให้มนุ ษย์


ต้องประสบอันตราย บาดเจ็บ เจ็บป่ วยด้วยสารเคมีต่าง ๆ มนุ ษย์จงึ ต้องปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
ให้เกิดความปลอดภัยให้มากทีส่ ุด ดังนัน้ สถานประกอบการจาเป็ นต้องมีการศึกษาถึงพฤติกรรม
มนุษย์เพื่อให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมออกมาให้เกิดความปลอดภัยให้มากทีส่ ุด

แนวคิ ดเกี่ยวกับพฤติ กรรมความปลอดภัย


พฤติกรรมเป็ นกิจกรรมต่างๆ ซึง่ บุคคลแสดงออกโดยผูอ้ ่นื อาจเห็นได้ เช่น การยิม้ การ
เดิน หรือผูอ้ ่นื อาจเห็นได้ยากต้องใช้เครื่องมือช่วย เช่น การเต้นของหัวใจ พฤติกรรมทุกอย่างที่
บุคคลแสดงออกมานัน้ มีผ ลมาจากการเลือกปฏิกิรยิ าตอบสนองที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุดตาม
สถานการณ์นนั ้ ๆ พฤติกรรมหรือการกระทาใดๆ จะมีพน้ื ฐานมาจากความรู้ และทัศนคติทค่ี อย
ผลักดันให้เกิดพฤติกรรม ซึง่ แต่ละคนจะมีพฤติกรรมแตกต่างกันออกไป เนื่องจากได้รบั ความรู้
จากแหล่งต่าง ๆ ไม่เท่ากัน มีการตีความสารทีร่ บั มาไปคนละทิศคนละทางทาให้เกิดการเรียนรู้
และการสังสมประสบการณ์
่ ในเรือ่ งความรูท้ ไ่ี ม่เท่ากัน
นัก จิต วิทยามักสนใจศึก ษาเกี่ยวกับความรู้ส ึกภายในจิต ใจของมนุ ษ ย์ เช่น ทัศ นคติ
นาไปสู่ พฤติกรรมของมนุษย์อย่างไร ซึง่ เมือ่ ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ภายใน
จิตใจของมนุ ษย์ แล้ว สิง่ ที่เข้ามาเกี่ยวข้องอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้คอื พฤติกรรมของมนุ ษย์ท่ี
แสดงออกต่อผูอ้ ่นื ในบทที่ 8 จะมุง่ สนใจทีจ่ ะศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ทม่ี คี วามสอดคล้องกับความ
ปลอดภัยในการทางาน ซึ่งมนุ ษย์เราจะมีพฤติกรรมที่มคี วามแตกต่างกันทีม่ ี พน้ื ฐานมาจากการ
รับรู้ การเรียนรู้ ประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติท่แี ต่ละได้รบั รูม้ าที่แตกต่างกันที่
ไม่เท่ากัน ดังนัน้ องค์การจาเป็ นต้องมีการศึกษาพฤติกรรมมนุ ษย์เพื่อให้ดาเนินการหาแนวทาง
ในการบริหารจัดการให้เกิดความปลอดภัยในสถานทีท่ างานให้ได้มากทีส่ ุด

ความหมายของพฤติ กรรม
ได้มนี กั วิชาการได้ให้ความหมายของคาว่า พฤติกรรม ไว้ในทัศนะทีแ่ ตกต่างกันดังนี้
Allen and Santrock (1993, p.8) ได้ให้ความหมายของ พฤติกรรม (behavior) ไว้ว่า
ทุก ๆ สิง่ ทีบ่ ุคคลทาซึง่ สามารถ สังเกตได้โดยตรง หรืออยู่ในกระบวนการทางจิตใจ ซึ่ง ได้แก่
ความคิด ความรูส้ กึ และแรงขับซึ่งเป็ นประสบการณ์ของแต่ละบุคคลที่ไม่สามารถจะสังเกตได้
โดยตรง
Lewin (1951, p.197) ได้ให้ความหมายของ พฤติกรรม (behavior) ไว้ว่า มนุ ษย์นนั ้ เกิด
จากความสัม พัน ธ์ร ะหว่ า งอิท ธิพ ลภายในตัว บุ ค คลกับ อิท ธิพ ลภายนอกที่แ ต่ ล ะบุ ค คลรับ รู้
บุคคลจะมีพฤติกรรมอะไร อย่างไร และเมื่อไร จึงไม่ได้ถูกกาหนดโดยความต้องการของมนุ ษย์
หรือโดยสิง่ เร้าภายนอกอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ถูกกาหนดโดยอิทธิพลมากมายหลากหลายทัง้
ภายในและภายนอกทีส่ มั พันธ์กนั ตามทีเ่ ป็ นประสบการณ์ของบุคคล
489

Gochman (1988, p.197) ได้ใ ห้ ค วามหมายของ พฤติก รรม (behavior) ไว้ว่ า


พฤติกรรมทีเ่ ป็ นสิง่ บอกให้รวู้ ่ามนุ ษย์พยายามกระทาหรือหลีกเลี่ยงการกระทาซึง่ บางครัง้ ก็อาจ
เป็ นไปโดยไม่รตู้ วั ก็ได้
ฉันทนา จันทวงศ์ (2554, หน้า 13) ได้ให้ความหมายของ พฤติกรรม (behavior) ไว้ว่า
กิรยิ าอาการต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับมนุ ษย์หรือทีม่ นุ ษย์ได้แสดง หรือปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ กับมนุ ษย์เมื่อ
ได้เผชิญกับสิง่ เร้า พฤติกรรมต่าง ๆ ทีก่ ล่าวมาแล้ว อาจจะจาแนกออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
1. พฤติกรรมทีไ่ ม่สามารถควบคุมได้เรียกว่า เป็ นปฏิกริ ยิ าสะท้อน เช่น การสะดุง้ เมือ่ ถูก
เข็มแทง การกระพริบตา เมือ่ มีสงิ่ มากระทบกับสายตา ฯลฯ
2. พฤติกรรมที่สามารถควบคุมและจัดระเบียบได้ เนื่องจากมนุ ษย์มสี ติปัญญา และ
อารมณ์ (emotion) เมื่อมีสงิ่ เร้ามากระทบ สติปัญญาหรืออารมณ์ จะเป็ นตัวตัดสินว่า ควรจะ
ปล่ อ ยกิรยิ าใดออกไป ถ้าสติปัญญาควบคุ มการปล่ อ ยกิรยิ า เราเรียกว่าเป็ นการกระทาตาม
ความคิดหรือ ทาด้วยสมอง แต่ถ้าอารมณ์ควบคุมเรียกว่า เป็ นการทาตามอารมณ์ หรือปล่อย
ตามใจ นัก จิตวิทยาส่ว นใหญ่ เชื่อว่า อารมณ์ อิทธิพลหรือ พลังมากกว่าสติปัญญา ทัง้ นี้เ พราะ
มนุ ษ ย์ทุ ก คนยัง มีค วามโลภ ความโกรธ ความหลง ท าให้พ ฤติก รรมส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ไปตาม
ความรูส้ กึ และอารมณ์เป็ นพืน้ ฐาน
สิทธิโชค วรานุ สนั ติกุล (2556, หน้า 14) ได้ให้ความหมายของ พฤติกรรม (behavior)
ไว้ว่า การกระทาของอินทรีย์ (organism) หรือสิง่ มีชวี ติ การกระทานี้รวมถึงการกระทาทีเ่ กิดขึน้
ทัง้ ทีก่ ารกระทาทีร่ สู้ กึ ตัวและไม่รสู้ กึ ตัว รวมทัง้ การกระทาที่สงั เกตได้หรือไม่ ได้ดว้ ย ดังนัน้ การ
กระทาหรือ การแสดงออกของบุคคลต่ อ สิ่งหนึ่งสิ่งใดภายใต้ส ถานการณ์ ห นึ่ง ทัง้ ที่สงั เกตได้
โดยตรงและสังเกตไม่ได้โดยตรง ซึง่ สามารถใช้เครือ่ งมือวัดการแสดงออกได้
ณรัฐ วัฒนพานิช (2554, หน้า 23) ได้ให้ความหมายของ พฤติกรรม (behavior) ไว้ว่า
เป็ นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างมีเป้ าหมายโดยทัวไปแล้
่ วพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ จะถูกจูงใจด้วยความต้องการ
เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายบางอย่างซึง่ ก็คอื กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์
จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า พฤติกรรม หมายถึง การกระทาหรือ แสดงออกของ
มนุ ษ ย์จากภายในที่มสี ิ่ง เร้า มากระทบ ท าให้เ กิด ความรู้ อารมณ์ หรือ ปฏิกิร ิยาออกมาทัง้ ที่
รูส้ กึ ตัว และไม่รสู้ กึ ตัวภายใต้สถานการณ์ใด สถานการณ์หนึ่ง ดังนัน้ การแสดงออกของมนุ ษย์
จากการกระทาจึงสังเกตได้โดยตรงและโดยอ้อมนัน่ เอง
490

เป้ าหมายและความสาคัญของการศึกษาพฤติ กรรม


1. เป้ าหมายของการศึกษาพฤติ กรรม
ลาเฮย์ (Lahey, 2001, p.5) ได้กล่าวไว้ว่า เป้ าหมายของศาสตร์ทางจิตวิทยาอันเป็ น
ศาสตร์ทศ่ี กึ ษา เกีย่ วกับพฤติกรรมว่า มีเป้ าหมายเป็ น 4 ประการ คือ
1.1 เพื่อการอธิบายพฤติกรรม
1.2 เพื่อการเข้าใจพฤติกรรม
1.3 เพื่อการพยากรณ์พฤติกรรม และ
1.4 เพื่อการควบคุมพฤติกรรม
จากเป้ าหมายข้างต้นจะเห็นได้ว่า การเรียนรูเ้ กี่ยวกับพฤติกรรมจะเป็ นประโยชน์อย่าง
ยิง่ ทัง้ แก่ตนเองและสังคม เพราะช่วยให้รู้และบอกได้ถงึ สาเหตุท่มี าของพฤติกรรม แล้วนา
ความรูเ้ หล่านัน้ มาวิเคราะห์ให้เกิดความเข้าใจตนเอง เข้าใจผูอ้ ่นื ช่วยทานายแนวโน้มพฤติกรรม
และได้แนวทางเสริมสร้างพัฒนาพฤติกรรมเพื่อดารงชีวติ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ฝ่ าวิกฤติชวี ติ
ได้ และอยูร่ วมกับผูอ้ ่นื โดยสันติสุข
2. ความสาคัญของการศึกษาพฤติ กรรม
จากเป้ าหมายของการศึกษาพฤติกรรมอันประกอบด้วยเป้ าหมายเพื่อการอธิบาย
พฤติกรรม เป้ าหมายเพื่อการพยากรณ์พฤติกรรม เป้ าหมายเพื่อการเข้าใจพฤติกรรม และ
เป้ าหมายเพื่อการควบคุม พฤติกรรมนัน้ หากการศึกษาพฤติกรรมบรรลุเป้ าหมายดังกล่าวก็ จะ
ส่งผลดีต่อผูศ้ กึ ษาและมีความสาคัญต่อ บุคคลและสังคม ซึง่ อาจกล่าวเป็ นข้อ ๆ ถึงความสาคัญ
ของความรูเ้ กีย่ วกับพฤติกรรม ได้ดงั นี้
2.1 ความรู้เ กี่ยวกับพฤติกรรมช่ว ยให้ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจตนเอง คือ จาก
การศึกษา ธรรมชาติพฤติกรรมของมนุ ษย์ในแง่มุมต่าง ๆ จะช่วยให้ผู้ศกึ ษาเกิดความเข้าใจ
ตนเองไปด้วย จากความเข้าใจตนเองก็นาไปสู่การยอมรับตนเอง และได้แนวทางปรับตน พัฒนา
ตน เลือกเส้นทางชีวติ ที่ เหมาะสมแก่ตน
2.2 ความรูเ้ กี่ยวกับพฤติกรรมช่วยให้ผศู้ กึ ษาเกิดความเข้าใจผู้อ่นื คือ ความรูด้ ้าน
พฤติกรรมอันเป็ นข้อสรุปจากคนส่วนใหญ่ ช่วยเป็ นแนวทางเข้าใจบุคคลใกล้ตวั และผู้แวดล้อม
ช่วยให้ ยอมรับข้อดีขอ้ จากัดของกันและกัน ช่วยให้เกิดความเข้าใจ ยอมรับ มีสมั พันธภาพที่ดี
และช่วยการจัดวางตัวบุคคลได้เหมาะสมขึน้
2.3 ความรูเ้ กี่ยวกับพฤติกรรมช่วยบรรเทาปั ญหาสังคม คือเรื่องปั ญหาสังคมอันมี
ปั จจัย หลายประการนัน้ ปั จจัยของปั ญหาสังคมทีส่ าคัญมากส่วนหนึ่งมาจากปั ญหาพฤติกรรม
ของบุคคลในสังคม อาจจะเป็ นปั ญหาสุขภาพจิต ปั ญหาเบี่ยงเบนทางเพศ ปั ญหาพฤติกรรม
ก้าวร้าว ลักขโมย ความเชื่อทีผ่ ดิ การลอกเลียนแบบทีไ่ ม่เหมาะสม เป็ นต้น ซึง่ ความรูเ้ กี่ยวกับ
491

พฤติกรรมจะช่วยให้ได้แนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม
การปรับตัวของบุคคลต่อไป
2.4 ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมช่วยเสริมสร้างพัฒนาคุณภาพชีวติ คือ จากความ
เข้าใจใน อิทธิพลของพันธุกรรมและสิง่ แวดล้อมต่อพฤติกรรม ช่วยให้ผู้ศึกษารู้จกั เลือกรับ
ปรับเปลีย่ นสิง่ แวดล้อมอย่างเหมาะสมเพื่อพัฒนาตนทัง้ ทางกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ช่วย
ให้เข้าใจธรรมชาติภายในตน เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล ซึ่งเป็ นแนวทางไปสู่การ
เสริมสร้างตนและบุคคลอื่น ๆ ได้อย่างเหมาะสม

วิ ธีการศึกษาพฤติ กรรม
วิธกี ารศึกษาพฤติกรรม คือ วิธกี ารที่ถูกนามาใช้ในการแสวงหาความรูต้ ่าง ๆ เกี่ยวกับ
พฤติกรรม ซึง่ วิชาใด ๆ ที่มคี วามเป็ นศาสตร์ จะนาวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษา
แสวงหาความรู้เพื่อ ให้มคี วามเท็จจริงที่ต้อ งการทราบ ซึ่งวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์น้ี สาหรับ
วิธกี ารศึกษาพฤติกรรม กระทาได้ห ลายวิธ ี ตามลักษณะของพฤติกรรมที่ศึกษา (ลักขณา
สริวฒ ั น์, 2544, หน้า 13) ดังนี้
1. การทดลอง (Experimental Method) เป็ นการศึกษาพฤติกรรมในทางจิตวิทยาทีเ่ ป็ น
วิทยาศาสตร์สงู มาก โดยมุ่งศึกษาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างเหตุการณ์สองเหตุก ารณ์
และเหตุการณ์ทเ่ี ป็ นเหตุ เรียกว่า ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ส่วนเหตุการณ์ทเ่ี ป็ น
ผล เรียกว่า ตัวแปรตาม (Dependent Variable) การปฏิบตั ติ ่อตัวแปรอิสระ เรียกว่า การจัด
กระทา (Treatment) ใน การทดลองแต่ละครัง้ ผูท้ ดลองต้องตัง้ สมมุตฐิ านก่อนแล้วทาการทดลอง
2. การสารวจ (Survey Method) เป็ นการศึกษาในเชิงวิทยาศาสตร์เช่นกัน แม้ว่าจะไม่
เข้มข้น นักก็ยงั มีวธิ กี ารศึกษาตัวแปรเหมือนการทดลอง แต่ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรจะเป็ น
เหตุเป็ นผลแก่กนั ไม่ได้ และผูศ้ กึ ษาไม่มกี ารจัดกระทาต่อตัวแปร กระทาเพียงแค่ศกึ ษาตัวแปร
อย่างมีระบบในสถานการณ์ท่ีพบการสารวจจาเป็ นต้องอาศัยเครื่องมือ ที่มที งั ้ ความเชื่อถือได้
(Reliability) ความเที่ยงตรง (Validity) รวมทัง้ กลุ่มตัวอย่างที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างด้วย
วิธกี ารทีเ่ หมาะสม
3. วิธกี ารตรวจสอบจิตตนเอง (Introspection Method) วิธกี ารตรวจสอบจิตตนเอง หรือ
วิ ธ ี ก ารพิ นิ จ ภายใ นนี้ หมา ยถึ ง วิ ธ ี ก ารที่ บุ ค คล สั ง เก ตตนเอง หรื อ ส าร ว จตนเอ ง
โดยการให้บุคคลพิจารณา ความรูส้ กึ ของตนเอง สารวจตรวจสอบตนเอง แล้วรายงานถึงสาเหตุ
และความรูส้ กึ ของตนเองออกมา
4. วิธที างคลินิก (Clinical Method) เป็ นการศึกษาพฤติกรรมแบบลึก (In-Depth Study)
รายใดรายหนึ่ ง โดยใช้เ ครื่อ งมือ หลาย ๆ อย่ า งเพื่อ ให้ไ ด้ข้อ มูล หลาย ๆ ด้า น และใช้ร ะยะ
เวลานานเพื่อให้ทราบสาเหตุของพฤติกรรมของบุคคลนัน้ ๆ ตลอดจนได้ขอ้ ความรูใ้ หม่ ๆ ทีจ่ ะ
นาไปใช้กบั กรณีอ่นื ๆ ได้
492

5. การสังเกตอย่างมีระบบ (Systematic Observation) พฤติกรรมเป็ นจานวนไม่น้อย


จาเป็ นต้องศึกษาในสถานการณ์ปกติท่สี ถานการณ์ นัน้ เกิดขึ้น โดยการเฝ้ าสังเกตและบันทึก
พฤติกรรมของ กลุ่มตัวอย่างซึง่ เรียกว่า การสังเกตอย่างมีระบบวิธกี ารนี้ต้องนิยามพฤติกรรมที่
จะสังเกตให้ชดั เจนและวัดได้ เรียกว่า นิยามปฏิบตั กิ าร (Operational Definition)
6. การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) การใช้แบบสอบถามเหมาะส าหรับใน
การศึกษา พฤติกรรมของบุคคลที่มจี านวนมาก ๆ และต้องการคาตอบอย่างรวดเร็ว ทาให้
ประหยัดเวลาค่าใช้จา่ ยอื่น ๆ การสัมภาษณ์ การสังเกต เป็ นต้น
7. การทดสอบทางจิตวิทยา (Psychological Testing) แบบทดสอบทางจิตวิทยาเป็ น
เครื่องมือที่ ใช้วดั ลักษณะพฤติกรรมทีแ่ อบแฝงอยู่ภายในตัวบุคคลซึง่ เป็ นสิง่ ทีบ่ ุคคลพยามยาม
ปกปิ ดซ่อนเร้นไว้ จะโดยรูต้ วั หรือไม่รตู้ วั ก็ตาม

องค์ประกอบของพฤติ กรรม
ครอนบาค (Cronbach,1963, p. 68-70) ได้อธิบายว่าพฤติกรรมของบุคคลจะเกิดขึน้
จาก องค์ประกอบ 7 ประการ ดังนี้
1. เป้ าหมายหรือ ความมุ่งหมาย (goal) เป็ นความต้องการหรือวัตถุประสงค์ทท่ี าให้เกิด
กิจกรรม คนเรามีพฤติกรรมเกิดขึน้ ก็เพราะต้องการตอบสนองความต้องการของตนเอง หรือ
ต้องการทาตามวัตถุประสงค์ท่ี ตนได้ตงั ้ ไว้ คนเรามักมีความต้องการหลาย ๆ อย่างในเวลา
เดียวกัน และมักจะเลือกสนองต่อความต้องการ ทีร่ บี ด่วนก่อนความต้องการอื่นๆ
2. ความพร้อม (readiness) ระดับวุฒภิ าวะ หรือความสามารถทีจ่ าเป็ นในการประกอบ
พฤติกรรมเพื่อสนองต่อความต้องการ คนเราจะมีความพร้อมในแต่ละด้านทีไ่ ม่เหมือนกัน ดังนัน้
พฤติกรรมของทุกคนจึงไม่จาเป็ นต้องเหมือนกัน และไม่สามารถจะประกอบพฤติกรรมได้ทุก
รูปแบบ
3. สถานการณ์ (situation) คนเรามักจะประกอบพฤติกรรมที่ตนเองต้องการ เมื่อมี
โอกาสหรือ สถานการณ์นนั ้ ๆ เหมาะสมสาหรับการประกอบพฤติกรรม
4. การแปลความหมาย (interpretation) แม้จะมีโอกาสในการประกอบพฤติกรรมแล้ว
คนเราก็ มักจะประเมินสถานการณ์ หรือคิดพิจารณาก่อนทีจ่ ะทาพฤติกรรมนัน้ ๆ ลงไป เพื่อให้
พฤติกรรมนัน้ มีความเสี่ยงน้ อยที่สุด และสามารถที่จะตอบสนองความต้องการของเขาได้มาก
ทีส่ ุด
5. การตอบสนอง (respond) หลังจากได้แปลความหมาย หรือได้ประเมินสถานการณ์
แล้ว พฤติกรรมก็จะถูกกระทา ตามวิธกี ารทีไ่ ด้เลือกในขัน้ ตองของการแปลความหมาย
6. ผลที่ได้รบั (consequence) เมื่อประกอบพฤติกรรมไปแล้วผลที่ได้จากการกระทา
นัน้ ๆอาจจะ ตรงกับความต้องการ หรืออาจะไม่ตรงกับความต้องการทีต่ นเองได้คาดหวังไว้
493

7. ปฏิกริ ยิ าต่อความผิดหวัง (reaction to threat) เมื่อคนเราไม่สามารถตอบสนองความ


ต้องการ ของตนเองได้ก็จะประสบกับความผิดหวัง ซึ่งเมื่อเกิดความผิดหวังแล้วคน ๆ นัน้ ก็
อาจจะกลับไปแปล ความหมายใหม่ เพื่อทีจ่ ะหาวิธที จ่ี ะสนองความต้องการของตนเองใหม่ จาก
แนวคิดดังกล่าวสรุปได้ว่า พฤติกรรมมนุ ษย์นัน้ จะขึ้นอยู่ก ับองค์ประกอบหลายอย่างด้ว ยกัน
ได้แก่ เป้ าหมาย ความพร้อม สถานการณ์ การแปลความหมาย การตอบสนอง ผลลัพธ์ทต่ี ามมา
และ ปฏิกริ ยิ าต่อความผิดหวัง สิง่ ต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนเป็ นตัวกาหนดพฤติกรรมต่าง ๆ เกิดขึน้
ทัง้ สิน้ นับว่าเป็ น เงือ่ นไขทีจ่ ะก่อให้เกิดพฤติกรรมของมนุษย์นนเอง
ั่

ประเภทของพฤติ กรรม
สุภทั ทา ปิ ณฑะแพทย์ (2542, หน้า 2-5) ได้แบ่งประเภทของพฤติกรรมที่เกิดขึน้ ใน
ลักษณะต่าง ๆ ได้ ดังนี้
1. พิจารณาจากพฤติกรรมที่ปรากฏด้วยการสังเกตหรือเปิ ดเผย พฤติกรรมภายนอก
(Overt Behavior) คือ พฤติกรรมที่ปรากฏเห็นได้อย่างชัดเจน เป็ นพฤติกรรมที่บุคคลแสดง
ออกมาทาให้ผอู้ ่นื สามารถมองเห็นได้ สังเกตได้ เช่น การเดิน การหัวเราะ การพูด ฯลฯ
2. พฤติกรรมปกปิ ดหรือพฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) คือ พฤติกรรมที่ไม่
ปรากฏให้สามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน เป็ นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงแล้ว แต่ผู้อ่นื ไม่
สามารถมองเห็นได้ สังเกตได้โดยตรงจนกว่าบุคคลนัน้ จะเป็ นผู้บอกหรือแสดงบางอย่างเพื่อให้
คนอื่นรับรูไ้ ด้ เช่น ความคิด อารมณ์ การรับรู้ เป็ นต้น
3. พิจารณาจากแหล่งทีเ่ กิดพฤติกรรม พฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ ภายในร่างกายเมื่อบุคคลมี
วุฒภิ าวะ เป็ นพฤติกรรมความพร้อมที่เกิดขึ้นโดยมีธรรมชาติเป็ นตัวกาหนดให้เป็ นไปตาม
เผ่าพันธุ์ และวงจรชีวติ และพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ โดยมีสงิ่ แวดล้อมเป็ นตัวกระตุ้น เป็ นพฤติกรรม
ทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากประสบการณ์ซง่ึ ก่อให้เกิดการเรียนรูข้ น้ึ
4. พิจารณาจากภาวะทางจิตของบุคคล พฤติกรรมที่กระทาโดยรู้ต ัว (Conscious)
เป็ นพฤติกรรม ที่อยู่ในระดับจิตสานึก และพฤติกรรมที่ก ระทาโดยไม่รู้ตวั (Unconscious)
เป็ นพฤติกรรมทีอ่ ยูใ่ นระดับจิต ไร้สานึก หรือจิตใต้สานึก หรือเรียกอีกอย่างว่า พฤติกรรมทีข่ าด
สติสมั ปชัญญะ
5. พิจารณาจากแหล่งพฤติกรรมการแสดงออกของอิ นทรีย์ พฤติกรรมทางกายภาพ
(Physiological Activities) เป็ นพฤติกรรมที่แสดงออกโดยใช้อวัยวะของร่างกายอย่างเป็ น
รูปธรรม เช่น การ เคลื่อนไหวร่างกายด้วยแขนหรือขา การปรับเปลี่ยนอิรยิ าบถของร่างกาย
การพยักหน้า การโคลงตัว เป็ นต้น และพฤติกรรมทางจิตใจ (Psychological Activities) เป็ น
พฤติกรรมทีอ่ ยูใ่ นระดับความคิด ความเข้าใจ หรือเกิดอารมณ์ เป็ นต้น
6. พิจารณาจากการทางานของระบบประสาท พฤติกรรมที่ควบคุมได้ (Voluntary)
เป็ นพฤติกรรมที่อยู่ในความควบคุม และการสังการด้ ่ วยสมอง จึงสามารถแสดงพฤติกรรมได้
494

ตามที่ต้องการ และพฤติกรรม ที่ควบคุมไม่ได้ (Involuntary) เป็ นพฤติกรรมการทางานของ


ระบบร่างกายทีเ่ ป็ นไปโดยอัตโนมัติ เช่น กิรยิ า สะท้อน สัญชาตญาณ และการทางานของระบบ
อวัยวะภายใน เป็ นต้น จากแนวคิดข้างต้นชี้ใ ห้เห็น ว่า พฤติกรรมของมนุ ษย์แบ่งออกได้ 2
ประเภทใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมทีเ่ กิดจากภาวะทางกาย และพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ จากสภาวะทาง
จิตใจ ซึง่ มีทงั ้ ประเภททีร่ ตู้ วั และไม่รตู้ วั แบ่งออกเป็ นทีค่ วบคุมได้ และแบบทีไ่ ม่สามารถควบคุ ม
สภาวะของตัวเองได้
นักจิตวิทยาแบ่งพฤติกรรมมนุษย์ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. พฤติ กรรมที่ มีมาแต่ กาเนิ ด ซึง่ เกิดขึน้ โดยไม่มกี ารเรียนรู้มาก่อน ได้แก่ ปฏิกริ ยิ า
สะท้อนกลับ (Reflect Action) เช่น การกระพริบตา และสัญชาตญาณ (Instinct) เช่น ความกลัว
การเอาตัวรอด เป็ นต้น
2. พฤติ กรรมที่ เกิ ดจากอิ ทธิ พลของกลุ่ม ได้แก่ พฤติกรรมที่เกิดจากการที่บุคคล
ติดต่อสังสรรค์และมีความสัมพันธ์กบั บุคคลอื่นในสังคม
ดังนัน้ การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของมนุ ษย์ให้เหมาะสมกับสิง่ แวดล้อมแบ่งออกได้เป็ น
4 ลักษณะคือ
1. การปรับเปลีย่ นทางด้านของสรีระร่างกาย เช่น การปรับปรุงบุคลิกภาพ การแต่ง
กาย การพูด
2. การปรับเปลีย่ นทางด้านอารมณ์และความรูส้ กึ นึกคิด ให้มคี วามสัมพันธภาพทีด่ ี
กับบุคคลอื่น ปรับอารมณ์ความรูส้ กึ ให้สอดคล้องกับบุคคลอื่น รูจ้ กั การยอมรับผิด
3. การปรับเปลี่ยนทางด้านสติปัญญา เช่น การศึกษาค้นคว้าเพื่อให้มคี วามรู้ท่ี
ทันสมัย ทันเหตุการณ์ การมีความคิดเห็นคล้อยตามความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่
4. การปรับเปลี่ยนอุดมคติ หมายถึง การสามารถปรับเปลี่ยนหลักการ แนวทาง
บางส่วนบางตอนเพื่อให้เข้ากับสังคมส่วนใหญ่ได้ โดยพิจารณาจากความจาเป็ น และเหตุการณ์
ทีเ่ กิดขึน้ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย เป็ นประโยชน์แก่ตนเอง เพื่อสวัสดิภาพของตนเองและของกลุ่ม
พฤติ กรรมที่เกิ ดขึ้นจากแรงผลักดันภายในด้านมนุษย์
แรงผลักดันที่ทาให้มนุ ษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมาก็คอื ความต้องการ ซึ่งความ
ต้องการนี้จะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ความต้องการทางร่างกาย และความต้องการ
ทางจิตใจ
1.1 ความต้ องการทางด้ านร่างกาย เป็ นแรงผลักดันที่อยู่ในระดับพื้นฐานที่สุด แต่ม ี
พลังอานาจสูงสุด เพราะเป็ นแรงผลักดันที่จะทาให้ชวี ติ อยู่รอด มนุ ษย์จะต่อสู้ด้นิ รนทุกวิถที าง
เพื่อให้ได้มาซึง่ สิง่ ทีจ่ ะมาบาบัดความต้องการทางร่างกาย ทาให้มนุ ษย์แสดงพฤติกรรมต่างๆ ซึง่
อาจจะเป็ นทัง้ ทางทีด่ ที ถ่ี ูกต้องหรือทางทีไ่ ม่ถูกต้องก็ได้ความต้องการทางร่างกายทีจ่ ะทาให้ชวี ติ
อยู่รอด ได้แก่ ความต้องการอาหาร น้ า อากาศ อุณหภูมทิ ่พี อเหมาะ การพักผ่อน การขับถ่าย
495

การสืบพันธุ์ ความปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ การตอบสนองความต้องการทางร่างกาย


อันทาให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมออกมานัน้ สามารถกระทาได้ 2 ระดับ คือ
1.1.1 กิร ิย าสะท้ อ น เป็ นการแสดงพฤติก รรมของมนุ ษ ย์ ท่ีเ ป็ นไปได้ โ ดย
ธรรมชาติ เช่ น เมื่อ ร่า งกายมีอุ ณ หภูม ิสูงกว่าปกติ ร่างกายก็จ ะขับ เหงื่อ ออกมาเป็ นการลด
อุณหภูมใิ ห้อยูใ่ นระดับพอเหมาะ
1.1.2 พฤติกรรมเจตนา เป็ นการแสดงพฤติกรรมของมนุ ษย์ต่อสิง่ เร้าโดยความ
ตัง้ ใจหรือความพอใจของตนเอง เช่น เมือ่ รูส้ กึ ตัวว่าร้อนก็จะไปอาบน้า หรือเปิ ดพัดลม เป็ นต้น
1.2 ความต้องการทางจิ ตใจ เป็ นแรงผลักดันทีอ่ ยูใ่ นระดับสูงขึน้ กว่าความต้องการทาง
ร่างกาย แต่มพี ลังอานาจน้ อยกว่า เพราะความต้องการทางจิตใจนี้ ไม่ใช่ความต้องการที่เป็ น
ความตายของชีวติ จะเป็ นความต้องการทีม่ าช่วยสร้างเสริมให้ชวี ติ มีความสุขความสบายยิง่ ขึน้
เท่านัน้ มีนกั จิตวิทยาหลายคนได้อธิบายถึงแรงผลักดันภายในร่างกาย อันมีผลทาให้มนุ ษย์แสดง
พฤติกรรมต่าง ๆ ดังนี้
ซิ กมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) นักจิตวิทยาชาวออสเตรีย ได้วเิ คราะห์
จิตมนุษย์ออกเป็ นองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ
1.1 อิด (Id) เป็ นส่วนทีต่ ดิ ตัวมาโดยกาเนิด เป็ นความต้องการขัน้ พืน้ ฐานของ
มนุษย์ ซึง่ รวมถึง ความอยาก สัญชาตญาณ และแรงขับ เพื่อให้ได้ม าเพื่อความต้องการของตน
โดยไม่คานึงถึงความถูกต้องชัวดี ่
1.2 อีโก้ (Ego) เป็ นพลังส่ วนที่ผ่ านกระบวนการเรียนรู้มาแล้ว เป็ นส่ว นที่
ควบคุม การแสดงพฤติกรรมของคน ๆ นัน้ ให้ดาเนินไปอย่างเหมาะสม ภายใต้อทิ ธิพลของอิด
และซุปเปอร์ อีโก้ พยายาม แก้ไขความขัดแย้งต่าง ๆ ของอิดและซุปเปอร์อโี ก้ ไม่ให้มคี วาม
ขัดแย้งกันมากเกินไปจนก่อให้เกิดโรคจิต หรือโรคประสาท
1.3 ซุปเปอร์อโี ก้ (Super Ego) เป็ นพลังทีพ่ ฒั นาขึน้ จากการเรียนรูใ้ นสังคมที่
เกี่ยวกับ หลักศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม อุดมคติในการดาเนินชีวติ ข้อบังคับทางสังคม
ซุปเปอร์อโี ก้อาจได้มาจาก การอบรมเลีย้ งดูของพ่อแม่ ครูอาจารย์
แรงผลักดันของอิดจะทาให้เ กิดความตึงเครียด อีโก้จะต้องพยายามตอบสนองความ
ต้องการของอิดเพื่อลดความตึงเครียด แต่ค วามต้องการของอิดบางอย่าง อีโก้ก็ไม่อาจทาตาม
เพราะไปขัดกับมโนธรรมในซุปเปอร์อโี ก้ จึงทาให้เกิดความตึงเครียด และความวิตกกังวลใจ
เกิดขึน้ ความวิตกกังวลนี้จงึ เป็ นแรงผลักดันพฤติกรรมอีกแรงหนึ่ง เพื่อปกป้ องตนเองให้รอดนัน้
ความวิตกกังวล อีโก้จงึ ต้องพัฒนาพฤติกรรมป้ องกันทีเ่ รียกว่า ‚กลไกป้ องกัน‛ ซึง่ เป็ นไปโดยไม่
รูส้ กึ ตัว ตัวอย่างพฤติกรรมป้ องกัน ได้แก่
496

1) การเก็บกด (repression) คือการที่อีโก้จะพยายามเก็บความรู้สกึ ที่เป็ นความ


ปรารถนาทีส่ งั คมไม่ยอมรับต่างๆ เช่น ความอิจฉาพ่อแม่ พีน่ ้องของตนเอง ซึง่ ถ้าแสดงออกมาก็
จะถูกสังต ่ าหนิ
2) การถอดแบบ (identification) เป็ นการยอมรับในสิง่ ที่อดิ เกิดความอิจฉาและนาเอา
พฤติกรรมของสิง่ นัน้ มาเป็ นแบบแผนในการแสดงพฤติกรรมของตนเอง ซึง่ ทาให้ความวิตกกังวล
หมดไปได้
3) การยึดแน่ น (fixation) เป็ นการยึดแน่ นในพฤติกรรมทีต่ นต้องการ แต่ไม่ได้รบั การ
ตอบสนองตัง้ แต่ตอนวัยเด็ก จนเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ ก็จะแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึง่ สิง่
ตอบสนองความต้องการ
4) การแสดงพฤติกรรมตรงข้าม (reaction formation) คือ การแสดงทีต่ รงข้ามกับความ
ต้องการของอิดที่ไม่เป็ นที่ยอมรับของสังคม เช่น ผู้หญิงอิจฉาแม่ แต่แสดงพฤติกรรมเป็ นห่ วง
หรือเอาอกเอาใจตลอดเวลา
5) การตาหนิผู้อ่นื (projection) เป็ นการคิดว่า ผู้อ่นื มีลกั ษณะไม่ดี เพื่อกลบเกลื่อน
ลักษณะทีม่ ใี นตนเอง เพื่อตนเองจะได้เกิดความสบายใจ
6) การถดถอย (regression) เป็ นการแสดงพฤติกรรมทีถ่ ดถอยไปสู่วยั เด็ก
7) พฤติกรรมเบีย่ งเบน (sublination) เป็ นการแสดงพฤติกรรมอย่างอื่นเพื่อทดแทน
พฤติกรรมทีต่ นต้องการ แต่ไม่สามารถแสดงออกได้ เช่น ความต้องการทางเพศ ความก้าวร้าวก็
แสดงออกในรูปการเขียนกลอน การร้องเพลง การทางานหนัก เป็ นต้น
8) การทดแทน (displacement) คือ การแสดงความปรารถนากับอีกบุคคลหนึ่งหรือสิง่
หนึ่งเพื่อเป็ นการทดแทน เช่น ถูกนายจ้างดุด่า ก็ไประบายกับลูกเมียทีบ่ า้ น ขาดแม่กอ็ าจจะหลง
รักใครเหมือนกับรักแม่ของตน
มาสโลว์ (Maslow’s Hierachy of Needs) มนุ ษย์เราทุกคนต่างพยายามดิน้ รนเพื่อ
ต่อสู้สู่จุดมุ่งหมายของตนเองแต่ เนื่องจากการทีม่ นุ ษย์มคี วามแตกต่างกัน ฉะนั น้ การที่จะได้รบั
การตอบสนองถึงขัน้ ไหนย่อมขึน้ อยู่กบั ศักยภาพของแต่ละบุคคล ซึง่ มนุ ษย์เองเมื่อทางานก็ย่อม
ต้องการความปลอดภัยในการทางาน ในขณะเดียวกันความต้องการที่จะได้สงิ่ ที่ตอบแทนตาม
ตนเองต้อ งการมีค วามเสี่ยงภัยอัน ตราย อัน อาจเกิดจากปั จจัยหลายอย่า ง แต่ มนุ ษ ย์ก็ย่ อ ม
ต้องการความอยู่รอดในแต่ละสถานการณ์ และความต้องการของมนุ ษย์มลี าดับขัน้ ตามลาดับ
ดังนี้
ขัน้ ที่ 1 ความต้ องการทางร่างกาย (Physiological Needs) เป็ นระดับความต้องการ
ปั จจัย พื้นฐานของมนุ ษย์ ได้แก่ ปั จจัย 4 อาหาร เครื่องนุ่ งห่มเสื้อผ้า ยารักษาโรค และที่อยู่
อาศัย
497

ขัน้ ที่ 2 ความต้ องการความมันคงและความปลอดภั


่ ย (Security and Safety
Needs) เช่น ปราศจากการประสบอุบตั เิ หตุ การบาดเจ็บ การเจ็บป่ วย เศรษฐกิจตกต่ า การถูก
ข่มขืนบุคคลอื่น และการถูกโจรกรรมทรัพย์สนิ เป็ นต้น
ขัน้ ที่ 3 ความต้องการทางสังคม (Social Needs) ได้แก่ ความต้องการการยอมรับ
การเข้าเป็ นสมาชิก การให้ความรัก การให้อภัย และความเป็ นมิตร เป็ นต้น
ขัน้ ที่ 4 ความต้ องการการยอมรับนั บถือและเห็นว่ าตนเองมีคุณค่ าต่ อสังคม
(Esteem or Ego Needs) มาสโลว์ ได้ให้ความหมายไว้ 2 ประการ คือ (1) ความต้องการการ
ยกย่องนับถือ และ (2) ความต้องการทีเ่ กีย่ วกับการมีช่อื เสียง
ขัน้ ที่ 5 ความต้องการความสาเร็จ (Actualization Needs) เป็ นความต้องการระดับ
สูงสุดของมนุ ษย์ เป็ นความพยายามของมนุ ษย์ท่จี ะให้บุค คลอื่นยอมรับนับถือตนเองรวมกับ
ความต้องการและความสาเร็จของตนเอง ซึง่ มาสโลว์เรียกว่า ความต้องการความเจริญก้าวหน้า
(Growth Needs)
มาสโลว์ได้กล่าวเน้นว่า ความต้องการต่าง ๆ เหล่านี้ต้องเกิดเป็ นลาดับขัน้ และจะไม่ม ี
การ ข้ามขัน้ ถ้าขัน้ ที่ 1 ไม่ได้รบั การตอบสนอง ความต้องการในลาดับขัน้ ที่ 2-5 ก็ไม่อาจเกิดขึน้
ได้ การตอบสนองทีไ่ ด้รบั ในแต่ละขัน้ ไม่จาเป็ นต้องได้รบั ทัง้ 100% แต่ต้องได้รบั บ้างเพื่อจะได้
เป็ นบันไดนาไปสู่การพัฒนาความต้องการในระดับทีส่ งู ขึน้ ในลาดับขัน้ ต่อไป
ทฤษฎีของมาสโลว์ สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการสร้างประสิทธิภาพในการจูงใจได้
โดยทาให้เราได้แง่คดิ ที่ว่า ก่อนที่เราจะสามารถจูงใจบุคคลให้เกิดพฤติกรรมอย่า งหนึ่งอย่างใด
นัน้ เราได้ค านึ งถึง ล าดับ ขัน้ ของความต้อ งการของบุ ค คลเสียก่ อ นหรือ ไม่ เช่น ถ้า นายจ้า ง
ต้องการทีจ่ ะจูงใจให้ลูกจ้างสามารถปฏิบตั งิ านให้เกิดความปลอดภัยควบคู่ไปกับผลผลิตทีส่ ูงขึน้
โดยให้ลูกจ้างปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบข้อบังคับในการทางาน โดยให้ค่าจ้าง หรือค่าตอบแทนเมื่อ
ลูกจ้างปฏิบตั งิ านถูกต้องตามกฎระเบียบในการทางาน ผลมาก็คอื อุบตั เิ หตุลดลงก็ย่อมทาให้
นายจ้างมีตน้ ทุนการผลิตต่า และยังช่วยให้ลูกจ้างมีความปลอดภัยในการทางานสูง ซึง่ เป็ นแรง
จูงใจผลัก ดันให้ลูก จ้างต้อ งปฏิบตั ิต ามกฎระเบียบข้อ บัง คับการท างานอย่างเคร่ง ครัดต่ อไป
ดังนัน้ การจูงใจจึงต้องคานึงถึงความพร้อมของบุคคลด้วย ประสิทธิภาพของการจูงใจจึงขึน้ อยู่
กับข้อสาคัญทีว่ ่า เราได้ทาการจูงใจได้ถูกช่วงจังหวะ หรือเหมาะสมกับเงือ่ นไขหรือไม่
498

ต้องการเข้าใจตนเอง
อย่างแท้จริงทาตามสิ่ ง
ที่ตนเองใฝ่ ฝัน
ความต้องการยกย่อง
ชมเชยจากตนเองและ
ผู้อื่น
ต้องการได้รบั การยอมรับจาก
ตนเองและผู้อื่น

ความต้องการความปลอดภัยในชีวิต

ความต้องการพืน้ ฐานทางกายภาพ

ภาพที่ 8.1 ปิ รามิดแสดงลาดับขัน้ ความต้องการของมาสโลว์

ทฤษฎีการจูงใจของแมคเคิ ลแลนด์ (McClelland’s Motivation Theory)


(David C. McClelland) แมคเคิลแลนด์ ได้มบี ทบาทช่วยในการพัฒนาการ จูงใจ โดย
แบ่งการจูงใจตามความต้องการขัน้ พืน้ ฐานของบุคคลเป็ น 3 แบบ ดังนี้
แบบที่ 1 ความต้ องการอานาจ (Need for Power) บุคคลมีความต้อ งการการมี
อานาจเป็ นอย่างมาก เพราะจะได้อาศัยการใช้อานาจเพื่อสร้างอิทธิพล และควบคุมในการทางาน
แบบที่ 2 ความต้องการความผูกพัน (Need for Affiliation) บุคคลมีความต้องการ
ความผูกพันเป็ นอย่างมาก แต่ละบุคคลชอบทีจ่ ะรักษาสัมพันธภาพทีด่ ที างสังคม เพื่อทาให้เกิด
ความรู้ส ึก ยิน ดี มีค วามคุ้น เคยกัน เข้า ใจกัน พร้อ มที่จ ะเป็ น ที่พ่ึง ในการปลอบใจ ให้ค วาม
ช่วยเหลือผูอ้ ่นื เมือ่ เกิดความทุกข์ มีการติดต่อสัมพันธ์กนั กับบุคคลอื่น อย่างเช่น เพื่อนสนิท
แบบที่ 3 ความต้ องการความสาเร็จ (Need for Achievement) บุคคลมีความ
ปรารถนาอย่างแรงกล้าทีจ่ ะได้รบั ความสาเร็จมีความหวาดกลัวอย่างรุนแรงต่อการประสบความ
ล้มเหลว และมีอารมณ์หงุดหงิดเมื่อได้รบั ความล้มเหลวหรือผิดหวัง และชอบการทางานด้วย
ตนเองเสมอ
แมคเคิลแลนด์ได้พบว่า รูปแบบการจูงใจที่ทาให้เกิดความสาเร็จที่สุดคือ บุคคลที่
ทางานอยูใ่ นบริษทั ขนาดเล็ก มีประธานบริษทั ทีม่ กี ารจูงใจทาให้เกิดความสาเร็จได้สูงมาก แต่ใน
499

บริษทั ทีม่ กี จิ การขนาดใหญ่พบว่า หัวหน้าผู้บริหารมีการจูงใจทาให้เกิดผลสาเร็จ ในระดับปาน


กลางเท่ า นั น้ ดัง นั ้น เมื่อ นายจ้า งเห็น ว่ า ลู ก จ้า งต้ อ งการความปลอดภัย ในการท างานใน
ขณะเดียวกันผลผลิตในการทางานมาจากความสามารถทักษะในการทางานที่มปี ระสิทธิภาพ
ของลูกจ้างส่วนหนึ่ง และการทาให้ต้นทุนการผลิตลดลงสิง่ สาคัญอีกอย่างหนึ่งคือการจูงใจให้
ลูกจ้างเห็นความสาคัญของการทางานที่ปลอดภัยเมื่อต้องการให้ลูกจ้างมีความต้องการผูกพัน
กับงาน และองค์ก ารก็จูงใจให้ทางานด้ว ยความระมัดระวังปฏิบตั ิต ามกฎระเบียบด้านความ
ปลอดภัยให้สูงเมื่อมีความปลอดภัยก็ย่อมทาให้พนักงานหรือ ลูกจ้างปฏิบตั ิงานให้ได้ผลผลิต
ควบคู่ไปกับความปลอดภัย

สิ่ งที่กาหนดพฤติ กรรมมนุษย์


มนุ ษย์เราย่อมถูกกาหนดขึ้นจากเหตุการณ์ตงั ้ แต่ภูมหิ ลัง สังคม การเรียนรู้ เป็ นสิง่ ที่
กาหนดพฤติก รรมมนุ ษย์หรือสิ่งที่ทาให้มนุ ษย์แสดงพฤติกรรมต่ าง ๆ มีห ลายประการ อุ ดม
ทุมโฆสิต (2544, หน้า 203-225) ได้อธิบายว่าสิง่ ทีก่ าหนดพฤติกรรมของมนุ ษย์ม ี 2 ประเภท
คือ
1. ลักษณะนิ สยั ส่วนตัวของมนุษย์แต่ละคน ประกอบด้วย
1.1 ความเชื่ อ หมายถึง การที่บุ ค คลคิด ว่ า การกระท าบางอย่ า งหรือ
ปรากฏการณ์ บางอย่าง หรือ สิ่งของบางอย่าง หรือ คุณสมบัติของสิ่งของ หรือ ของบุค คล
บางอย่างมีอยู่จริง หรือเกิดขึน้ จริงๆ กล่าวโดยสรุปคือ การที่บุคคลหนึ่งคิดถึงอาจจะดีในแง่
ข้อเท็จจริงได้ แต่ถา้ เขาคิดว่าความจริงเป็ น เช่นนัน้ แล้ว นันคื
่ อความเชื่อของเขา
1.2 ค่านิ ยม หมายถึง แนวความคิดทัง้ ทีเ่ ห็นได้อย่างชัดเจน และไม่เด่นชัดซึง่
เป็ นลักษณะพิเศษของบุคคลหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่งเกี่ยวกับว่าอะไรเป็ นสิง่ ดี ซึ่งเป็ นความคิดที่ม ี
อิทธิพลให้บุคคล เลือกกระทาการอันใดอันหนึ่งทีม่ อี ยูห่ ลายวิธ ี หรือเลือกเป้ าหมายอันใดอันหนึ่ง
จากหลายๆ อันทีม่ อี ยู่
1.3 ทัศนคติ หรือเจตนคติ ทัศ นคติเป็ นแนวโน้ มหรือขัน้ เตรียมพร้อมของ
พฤติกรรม นักจิตวิทยาบางท่านเรียกว่า ทัศนคติเป็ นการตอบสนองสิง่ เร้าทางจิตใจ ซึง่ คล้ายกับ
การตอบสนองทางร่างกาย ต่างกันแต่ว่ายังไม่ได้ออกกาลังกายเท่านัน้ (กันยา สุวรรณแสง,
2544, หน้า 92) ทัศนคติแม้จะเป็ นผู้ กาหนดทิศทางของพฤติกรรม แต่ทศั นคติมไิ ด้กาหนดเวลา
ที่ค วรแสดงพฤติก รรม ทัง้ ยังมิไ ด้ก าหนดว่าควร แสดงพฤติกรรมมากน้ อ ยเพียงใด สิ่ง ที่
กาหนดเวลาและปริมาณของพฤติกรรมนัน้ เรียกว่าแรงจูงใจ ดังนัน้ ทัศนคติจงึ เป็ นผูว้ างแนว
หรือทิศทางให้แรงจูงใจ และแรงจูงใจเป็ นผูก้ าหนดพฤติกรรมอีกทอดหนึ่ง
1.4 บุคลิ กภาพ เป็ นสิง่ ทีบ่ อกว่าบุคคลจะปฏิบตั อิ ย่างไรในสถานการณ์หนึ่งๆ
การอธิบายว่าบุค ลิก ภาพได้มาอย่างไรนัน้ จะต้องอาศัยทฤษฎีทางจิตวิทยา หรือ ทฤษฏีการ
เรียนรู้ มาอธิบาย หลักของทฤษฎีน้ีบ่งว่าคนหรือสัตว์กต็ ามถ้าพฤติกรรมใดนามาซึง่ รางวัล สัตว์
500

หรือคนสถานการณ์หนึ่งๆ การอธิบายว่าบุคลิกภาพได้มาได้อย่างไรนัน้ จะมีแนวโน้มที่จะมี


พฤติกรรมแบบนัน้ เมื่อ มีโอกาส แต่ ถ้า พฤติกรรมใดนามาซึ่งการลงโทษ สัตว์ห รือคนนัน้ จะมี
แนวโน้มทีจ่ ะไม่ทาเช่นนัน้ อีก
2. กระบวนการอื่ นๆ ทางสังคมซึ่ งไม่เกี่ ยวกับลักษณะนิ สัยส่ วนตัวของมนุ ษย์
สามารถแบ่งเป็ น ประเด็นได้ ดังนี้
2.1 สิ่ งกระตุ้นพฤติ กรรม (Stimulus Object) และความเข้มข้นของสิ่ ง
กระตุ้น พฤติ กรรม (Strength of Stimulus Object) พฤติกรรมจะเกิดขึน้ ไม่ได้ถ้าไม่มสี งิ่
กระตุ้นพฤติกรรม สิง่ กระตุ้นพฤติกรรมนัน้ เป็ นอะไรก็ได้ เช่น อาหาร เสียงปื น คาสบประมาท
ฯลฯ
2.2 สถานการณ์ (Situation) หมายถึง สิง่ แวดล้อมทัง้ ทีเ่ ป็ นบุคคล และไม่ใช่
บุคคล ซึง่ อยูใ่ นสภาวะทีบ่ ุคคลกาลังจะมีพฤติกรรม
จากแนวคิดเรื่องพฤติกรรมข้างต้น ทาให้ทราบว่าพฤติกรรม จะมีพน้ื ฐานมาจากความรู้
และทัศนคติทค่ี อยผลักดันให้เกิดพฤติกรรม ซึง่ ในแต่ละบุคคลจะมีพฤติกรรมแตกต่างกันออกไป
สืบเนื่องมาจากการได้รบั ความรูจ้ ากแหล่งต่างๆไม่เท่ากัน รวมถึงการตีความหมายของสารที่
ได้รบั มาไปคน ละทิศคนละทางอีกด้วย ซึง่ ชีใ้ ห้เห็นว่าการสื่อสารผ่านสื่อต่าง ๆ มีประโยชน์ใน
การทาให้บุคคลมีความรู้ นาความรูท้ ไ่ี ด้มาสร้างทัศนคติ สุดท้ายจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมของบุคคล สามารถนา แนวคิดที่ได้มาเป็ นอ้างอิงในการสรุปผลการศึกษาในด้าน
แนวโน้มการเกิดพฤติกรรมของบุคคลว่าต้องอาศัย ปั จจัยในด้านใดบ้าง ทีม่ สี ่วนให้แต่ละบุคคลมี
แนวโน้มการเกิดพฤติกรรมจากการเปิ ดรับข่าวสารจากสื่อต่าง จึงมีพฤติกรรมการแสดงออกที่
แตกต่างกัน
โดยเฉพาะในเรื่อง ความต้องการของ คนตามหลักทฤษฎีของ Maslow ทีเ่ รียกว่าลาดับ
ขัน้ ความต้องการ (Hierarchy of Needs) คือ ความต้องการ ของคนจะเป็ นไปตามลาดับจาก
น้อยไปมากมีทงั ้ หมด 5 ระดับดังนี้
1.1 ความต้องการทางด้านสรีระวิทยา (Physiological Needs) เป็ นความ
ต้องการ ขัน้ พื้นฐานของมนุ ษย์ (Survival Needร) ได้แก่ ความต้องการทางต้านอาหาร ยา
เครือ่ งนุ่งห่ม ทีอ่ ยูอ่ าศัย ยารักษาโรคและ ความต้องการทางเพศ
1.2 ความต้องการความมันคงปลอดภั
่ ยของชีวติ (Safety and Security Needs)
ได้แก่ความต้องการ ทีอ่ ยู่อาศัยอย่างมีความปลอดภัยจากการถูกทาร้ายร่างกาย หรือถูก ขโมย
ทรัพย์สนิ หรือความมันคงในการท่ างานและการมีชวี ติ อยูอ่ ย่างมันคงในสั
่ งคม
1.3 ความต้องการทางด้านสังคม (Social Needs) ไต้แก่ ความต้องการความรัก
ความต้องการทีจ่ ะ ให้สงั คมยอมรับว่าตนเป็ นส่วนหนึ่งของสังคม
501

1.4 ความต้องการทีจ่ ะมีเกียรติยศชื่อเสียง (Self-Esteem Needs) ไต้แก่ ความ


ภาคภูมใิ จ ความต้องการดีเด่นในเรื่องหนึ่งทีจ่ ะให้ไต้รบั การยกย่องจากบุคคลอื่น ความต้องการ
ต้านนี้เป็ นความต้องการ ระดับสูงที่เกี่ยวกับความมันใจในตั่ วเองในเรื่องความสามารถและ
ความสาคัญของบุคคล
1.5 ความต้องการความสาเร็จแห่งตน (Self-Actualization Needs) เป็ นความ
ต้องการในระบบสูงสุ ด ที่อยากจะให้เกิดความสาเร็จในทุก สิง่ ทุกอย่างตามความนึกคิด ของ
ตนเองเพื่อจะพัฒนาตนเองให้ดี ทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทาได้ความต้องการนี้จงึ เป็ นความต้องการ พิเศษ
ของบุคคลทีจ่ ะพยายามผลักดันชีวติ ของตนเอง ให้เป็ นแนวทางทีด่ ที ส่ี ุด

ระดับพฤติ กรรมและการวัดพฤติ กรรม


ระดับพฤติ กรรม
มนุ ษย์เป็ นสัตว์สงั คมที่มกี ารอยู่รวมกันเป็ นกลุ่มก้อนเพื่อความต้องการกระทากิจกรรม
ร่วมกันโดยมีวตั ถุประสงค์ต่าง ๆ ให้กจิ กรรมนัน้ บรรลุต ามเป้ าหมายทีต่ งั ้ ไว้ ทาให้มนุ ษย์ต้องมี
บทบาทตามที่ได้กาหนดไว้ของกลุ่มสมาชิก และบทบาทนัน้ ต้องมีการแสดงออกตามบทบาท
หน้ าที่ใ นฐานะที่เ ป็ นสมาชิก ของกลุ่ ม ดังนัน้ เจ้าหน้ าที่ด้านความปลอดภัยและอาชีว อนามัย
จาเป็ นศึก ษาและให้ค วามสาคัญ เกี่ยวพฤติก รรมของมนุ ษ ย์ใ นระดับต่ าง ๆ ซึ่งแบ่งออกเป็ น
3 ระดับ คือ ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับสังคม ดังจะอธิบายดังนี้
1. ระดับบุคคล (individual behavior) หมายถึง พฤติกรรมทีแ่ สดงออกของบุคคลตาม
ตัวตนของตนเองเป็ นพฤติกรรมเฉพาะของตนเอง เช่น การเรียนรู้ การรับรู้ ทักษะของตนเอง
แสดงออกเป็ นคุณลักษณะของบุคลิกภาพต่าง ๆ เช่น การพูดคุย การยิม้ การหัวเราะ การเศร้า
โศก เสียใจ การประสานงานร่วมมือระหว่างกัน เป็ นต้น
2. พฤติ กรรมระดับกลุ่ม (group behavior) หมายถึง พฤติกรรมทีบ่ ุคคลตัง้ แต่ 2 คน
ขึน้ ไปมารวมตัวกันเพื่อทากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งตามเหตุผลความต้องการของบุ คคลนัน้ ๆ
หรือความต้องการของกลุ่มธรรมชาติบุคคลต้องการรวมตัวกันโดยหลักธรรมชาติ เพื่ออยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุข ให้ตนเองเกิดความปลอดภัย และต้องการรวมตัวกันเพื่อสิทธิบางอย่างตามความ
ต้อ งการ เช่ น กลุ่ ม สหภาพแรงงานไทเรยอน กลุ่ ม สมาคมชาวไร่อ้ อ ย และกลุ่ ม พนั ก งาน
รัฐวิสาหกิจ เป็ นต้น
3. พฤติ กรรมระดับสังคม หมายถึง พฤติกรรมของบุคคลในการรวมตัวกันเป็ นกลุ่มทีม่ ี
ขนาดใหญ่มาก จาเป็ นต้องมีการจัดระเบียบ ระบบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ ขึน้ ในสังคม และมี
วัฒนธรรม ประเพณีอนั ดีงามจึงสามารถอยู่รว่ มกันได้โดยสันติและสงบสุข
ปั จจัยทีเ่ ป็ นตัวกาหนดพฤติกรรมมนุษย์ในระดับสังคม ได้แก่
1) ปั จจัยพืน้ ฐานในการดารงชีพ เป็ นสิง่ ทีส่ อดคล้องกับสังคมและเป็ นทีส่ งั คม
502

ยอมรับในการดารงชีพอยู่ร่วมกัน ได้แก่ ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ อากาศ ความสูง ต่ าของพื้นที่


ทางภูมศิ าสตร์ มีผลต่อการรวมตัวและการมีกิจกรรมหรือพฤติกรรมที่แตกต่างกันบุคคลที่อยู่
อาศัยในพืน้ ทีร่ าบก็จะมีพฤติกรรมรักความสะดวกสบาย ในขณะเดียวกันทีพ่ ฤติกรรมของบุคคล
ที่อยู่ในที่สูง เช่น ภูเขา ที่ราบสูงก็จะมีลกั ษณะพฤติกรรมที่เข้มแข็ง อดทน แข็งแรง สามารถ
ทางานหนัก ๆ ได้ดี เป็ นต้น
2) กระบวนการขัดเกลาทางสังคม เป็ นการแสดงออกถึงพฤติกรรมที่กระทา
เนื่องจากการเลีย้ งดูจากครอบครัว สังคม หรือการมีลกั ษณะสังคมทีค่ ล้ายคลึงกัน ทาให้เกิดการ
รวมตัวกันเป็ นพฤติกรรมระดับสังคม
ดังนัน้ พฤติกรรมระดับบุคคล พฤติกรรมระดับกลุ่ม และพฤติกรรมระดับสังคมต่างก็ม ี
ความสัมพันธ์ส อดคล้อ งกันเพราะบุคคลเป็ นหน่ ว ยของสังคมและกลุ่มสังคมก็เป็ นหน่ วยของ
สังคมและปั จจัยสาเหตุท่เี ป็ นตัวกาหนดพฤติกรรมในแต่ละระดับอาจจะแตกต่างกันบ้าง จะเห็น
ได้ว่า การทางานในสถานประกอบการบุคคลจะมีพฤติกรรมแสดงออกมาด้านความปลอดภัยที่
แตกต่างกัน ด้วยเป็ นเพราะปั จจัยสาเหตุทบ่ี ุคคลมีภมู หิ ลัง ประสบการณ์การเรียนรูท้ แ่ี ตกต่างกัน
หากแต่ต้องได้รบั การรับรูท้ ่เี หมือนกันจะทาให้บุคคลสามารถเรียนรูท้ ่จี ะป้ องกันอันตรายที่เกิด
จากการทางานได้เพื่อให้ตนเองมีความปลอดภัยในการทางาน

การวัดพฤติ กรรม
1. การวัดพฤติกรรมโดยตรง สามารถดาเนินการจัดกระทาได้ดงั นี้
1.1 การสังเกตแบบมีส่วนร่วมหรือโดยให้ผถู้ ูกสังเกตรูต้ วั คือ มีการแจ้งให้ทราบ
ล่วงหน้าว่าจะมีการเข้าร่วมในการกระทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือ จะมีการนัด
เวลาในการเข้าร่วมสังเกต วิธกี ารนี้จะมีขอ้ ดี คือ ผูเ้ ข้าร่วมสังเกตจะรูต้ วั มาก่อนจะเตรียมตัวและ
ให้ความร่วมมือได้ดหี ากได้มกี ารทาความเข้าใจกับกลุ่มทีเ่ ข้าร่วมสังเกต แต่กม็ กั จะมีขอ้ เสีย คือ
เมือ่ ผูเ้ ข้าร่วมสังเกตทราบอาจจะแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมาด้วยวิธกี ารตรงกันข้าม
1.2 การสังเกตแบบไม่มสี ่วนร่วมหรือโดยธรรมชาติ เป็ นการสังเกตโดยไม่ให้ผู้
สังเกตรู้ตวั มาก่อน หรือไม่มกี ารแจ้งให้ทราบล่วงหน้ า ผู้สงั เกตจะไม่ขดั ขวางการทางานหรือ
กิจกรรมผูถ้ ูกสังเกตเลย วิธกี ารนี้หากทาในการเฝ้ าสังเกตดูกจิ กรรมการปฏิบตั งิ านของพนักงาน
ว่าปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบข้อบังคับด้านความปลอดภัยในการทางานจะทาให้ทราบถึงพฤติกรรม
ทีป่ ลอดภัยหรือเสีย่ งอันตรายได้ หากขณะที่หวั หน้ างานไม่ได้ควบคุมตลอดเวลา มีขอ้ ดี คือ ได้
ทราบถึงพฤติกรรมหรือการกระทาที่แท้จริงโดยไม่แต่งเติม หรือเป็ นธรรมชาติมากที่สุด แต่ก็ม ี
ข้อเสีย คือ อาจต้องใช้เวลาในการสังเกตนานมาก
2. การวัดพฤติกรรมโดยทางอ้อม สามารถทาได้โดย การสัมภาษณ์ การทาบันทึก
และการทดลอง เป็ นต้น
503

ทฤษฎีเกี่ยวข้องในการพัฒนาพฤติ กรรมมนุษย์
ทฤษฎีการเรียนรู้
มนุ ษย์เป็ นสัตว์สงั คมเมื่อเกิดมาย่อมต้องการความอยู่รอดทัง้ ทางร่างกาย และจิตใจซึ่ง
ร่างกายนัน้ มนุ ษ ย์มคี วามต้องการตามธรรมชาติห รือ กายภาพต้อ งการที่อ ยู่อาศัยมาปกป้ อ ง
คุม้ ครองตัวเองให้มคี วามสุขสบาย ได้แก่ ความหิว ความร้อน หนาว เจ็บปวด เป็ นความต้องการ
ขัน้ พื้นฐานต้องมีการตอบสนองเมื่อมีภาวะดังกล่าวเกิดขึน้ เมื่อได้รบั ความต้องการแล้วก็ย่อมมี
ความต้องการเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ เพื่อให้ตนเองมีความปลอดภัย มนุ ษย์มกี ารเรียนรูท้ จ่ี ะอยู่รอดด้วย
ประสบการณ์ตนเองที่เกิดขึน้ ทุกวันจนเกิดความชานาญ หรือทักษะ มนุ ษย์จงึ ต้องเรียนรูท้ ุกสิง่
ทุกอย่างในโลกอยูต่ ลอดเวลาเพื่อสนองตอบความต้องการของตนเองและผูอ้ ่นื
มีนกั วิชาการต่าง ๆ ได้เสนอแนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับการเรียนรูไ้ ว้ดงั นี้
(Klein,1991,p. 2) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้ (Learning) ไว้ว่า กระบวนการของ
ประสบการณ์ท่ที าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมนี้ไม่ได้มาจากภาวะชัวคราว ่ วุฒภิ าวะ หรือสัญชาตญาณ
(Mednick, 1959, p. 9) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้ (Learning) ไว้ดงั นี้
1) การเรียนรูท้ าให้เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
2) การเรียนรูเ้ ป็ นผลจากการฝึกฝน
3) การเรียนรูเ้ ป็ นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรจนเป็ นนิสยั มิใช่การ
เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมซื่อตรง
4) การเรียนรูไ้ ม่อาจสังเกตได้โดยตรง แต่ทราบจากการกระทาทีเ่ ป็ นผลจากการเรียนรู้
บรูม (Bloom, B p.3) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้ (Learning) ไว้ว่า การเรียนรูข้ อง
มนุ ษย์ท่ที าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสิง่ ใหม่ ๆ ด้วยกัน 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพสิ ยั ซึ่งเป็ นการ
เปลี่ยนแปลงความรู้ ความคิด ความเข้าใจ เป็ นการเกิดขึน้ ทางสมอง ด้านจิตพิสยั เป็ นด้าน
อารมณ์หรือความรูส้ กึ ความเชื่อ เจตคติ และด้านทักษะเป็ นการเคลื่อนไหวของร่างกาย เพื่อให้
เกิดทักษะ และความชานาญ
คลินน์ (Klein,1991,p.2) ได้ใ ห้ค วามหมายของ การเรีย นรู้ (Learning) ไว้ว่ า
กระบวนการของประสบการณ์ท่ที าให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร
ซึง่ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมนี้ไม่ได้มาจากภาวะชัวคราว ่ วุฒภิ าวะ หรือสัญชาตญาณ
คิมเบิล้ และ แกรมเมซี่ (Kimble and Garmezy, 1961, p.11) ได้ให้ความหมายของ
การเรียนรู้ (Learning) ไว้ว่า เป็ นการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมทีค่ ่อนข้าง ถาวร โดยเป็ นผลจาก
การฝึ กฝนเมื่อ ได้รบั การเสริมแรง มิใช่เป็ นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติท่ี เรียกว่า
ปฏิกริ ยิ าสะท้อน
504

จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลง


พฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ท่คี ่อนข้างถาวร และพฤติกรรมใหม่น้ีเป็ นผลมาจาก
ประสบการณ์หรือการฝึ กฝน โดยจะต้องได้รบั ความรู้ ความเข้าใจ ซึ่งสามารถทาให้เกิดการ
เปลีย่ นแปลงเจตคติ และนาไปสู่การพัฒนาทักษะ ความชานาญ มิใช่เป็ นผลจากการตอบสนอง
ตามธรรมชาติหรือสัญชาตญาณ หรือวุฒภิ าวะ หรืออุบตั เิ หตุ หรือความบังเอิญ พฤติกรรมที่
เปลีย่ นไปจะต้องเปลีย่ นไปอย่างค่อนข้างถาวร

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้
ทฤษฏี การเรียนรู้ของสกิ นเนอร์ (Skinner) หรือทฤษฎี การวางเงื่อนไขด้ วยการ
กระทา (Operant Conditioning Theory)
สกินเนอร์ มีความคิดว่าทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของ Pavlov นัน้ จากัดอยู่
กับพฤติกรรมการเรียนรูท้ เ่ี กิดขึน้ เป็ นจานวนน้อยของมนุ ษย์ พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้ วมนุ ษย์จะ
เป็ นผูล้ งมือปฏิบตั เิ อง เป็ นการเรียนรูแ้ บบลงมือกระทา
สกินเนอร์ ได้แบ่ง พฤติกรรมของสิง่ มีชวี ติ ไว้ 2 แบบ คือ
1. Respondent Behavior หมายถึง พฤติกรรมหรือการตอบสนองทีเ่ กิดขึน้ โดย
อัตโนมัติ หรือเป็ นปฏิกริ ยิ าสะท้อน (Reflex) ซึง่ สิง่ มีชวี ติ ไม่สามารถควบคุม ตัวเองได้ เช่น การ
กระพริบตา น้าลายไหล
2. Operant Behavior หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดจากสิง่ มีชวี ติ เป็ นผู้กาหนด
หรือเลือกทีจ่ ะแสดงออกมา ส่วนใหญ่จะเป็ นพฤติกรรมทีบ่ ุคคลแสดงออกในชีวติ ประจาวัน เช่น
กิน นอน พูด เดิน ทางาน ขับรถ
การเรีย นรู้ต ามแนวคิด ของสกิน เนอร์ เกิ ด จากการเชื่อ มโยงระหว่ า งสิ่ง เร้า กับ การ
ตอบสนองเช่นเดียวกัน แต่สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิง่ เร้า จึงมีคน
เรียกว่าเป็ นทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้สกินเนอร์ให้ความสาคัญต่อการ
เสริมแรง (Reinforcement) ว่ามีผลทาให้เกิดการเรียนรู้ท่คี งทนถาวร ยิง่ ขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้
สรุ ป ไว้ ว่ า อัต ราการเกิด พฤติก รรมหรือ การตอบสนองขึ้น อยู่ ก ับ ผลของการกระท า คือ
การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทัง้ ทางบวกและทางลบ
สกินเนอร์ไ ด้อธิบาย ค าว่า "พฤติกรรม" ว่าประกอบด้ว ยองค์ประกอบ 3 ตัว คือ ว่า
ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ตัว คือ
1. Antecedents คือ เงื่อ นไขน าหรือ สิ่ง เร้า ที่ก ระตุ้น ให้เ กิด พฤติก รรม (สิ่ง ที่
ก่อให้เกิดขึน้ ก่อน) ทุกพฤติกรรมต้องมีเงือ่ นไขนา เช่น วันนี้ตอ้ งเข้าเรียนบ่ายโมง พฤติกรรมเรา
ถูกกาหนดด้วยเวลา
2. Behavior คือ พฤติกรรมทีแ่ สดงออก
505

3. Consequences หรือผลกรรม เกิดขึน้ หลังการทาพฤติกรรม เป็ นตัวบอกว่า


เราจะทาพฤติกรรมนัน้ อีกหรือไม่ ดังนัน้ ไม่มใี ครทีท่ าอะไรแล้วไม่หวังผลตอบแทน ซึง่ เรียกย่อๆ
ว่า A-B-C ซึ่งทัง้ 3 จะดาเนินต่อเนื่องไป ผลที่ได้รบั จะกลับกลายเป็ นสิง่ ที่ก่อให้เกิดขึน้ ก่อนอัน
นาไปสู่การเกิดพฤติกรรมและนาไปสู่ผลทีไ่ ด้รบั ตามลาดับ
แนวคิด การเรีย นรู้ต ามการวางเงื่อ นไขด้ว ยการกระท านี้ สามารถอธิบ ายเกี่ย วกับ
พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน จึงนาใช้เป็ นหลักในการวิเคราะห์การเกิดอุบตั เิ หตุในการ
ทางาน ได้คอื ABC Analysis ดังจะแสดงในภาพที่ 8.2

สิ่ งกระตุ้น พฤติ กรรม ผลที่ ตามมา

- ให้ความเอาใจ
- กฎระเบียบ ทางานอย่าง ไม่เกิ ดอุบตั ิ เหตุ
- คุณธรรม ปลอดภัย
-รางวัล
- การลงโทษ

A B C

ภาพที่ 8.2 การวิเคราะห์พฤติกรรมความปลอดภัยตามแนวคิดของสกินเนอร์ (ABC Analysis)

จากภาพที่ 68 การวิเคราะห์พฤติกรรมความปลอดภัยตามแนวคิดของสกินเนอร์ (ABC


Analysis) หากอุ บ ัติเ หตุ เ กิด ขึ้น บ่ อ ยหรือ เป็ น ประจ าเนื่ อ งจากพฤติก รรมในการท าง านของ
พนัก งานไม่เ ปลี่ยนแปลง หรือ ทาให้เ กิดอุ บตั ิเหตุ เ กิดขึ้นจนทาให้นามาซึ่งความเสียหายต่ อ
ร่างกายและทรัพย์สนิ เมื่อนาหลักการทฤษฎีการเรียนรูม้ าอธิบายถึงการกระทาของพนักงานจะ
ทาให้เห็นว่า เมื่อมีการวิเคราะห์ถงึ ต้นตอของผลลัพธ์หรือผลทีต่ ามมาทีจ่ ะไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุ ขน้ึ
ก็ ต้ อ งมีก ารจัด การที่ส ิ่ง กระตุ้ น ก่ อ นว่ า จะต้ อ งน าสิ่ง เร้า หรือ กระตุ้ น อะไรมาให้ พ นั ก งาน
ผู้ปฏิบตั งิ านได้เกิดความต้องการ แล้วจะเกิดการเรียนรูท้ าให้แสดงพฤติกรรมออกมาด้วยการ
กระทาทีเ่ ป็ นสิง่ กระตุ้น จึงทาให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน ผลทีต่ ามมาก็ไม่เกิดอุบตั เิ หตุ
นัน่ เอง การนาการเอาหลักการทฤษฎีการเรียนรูข้ องสกินเนอร์มาเพื่อการวิเคราะห์พฤติกรรม
การทางานให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวติ ของพนักงานต้องศึกษาถึงหลักการเรียนรูข้ องมนุ ษย์มา
506

เป็ นหลัก ในการบริหารจัดการให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน ซึ่งหลักการและแนวคิดที่


สาคัญของสกินเนอร์มดี งั นี้
หลักการและแนวคิ ดที่สาคัญของ สกิ นเนอร์
1. การวัดพฤติ กรรมตอบสนอง จากแนวคิดนี้จะมีการศึกษาเฉพาะพฤติกรรมที่
สามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน และพฤติกรรมทีส่ งั เกตได้นนั ้ สามารถวัดได้โดยพิจารณาจาก
ความถี่ข องการตอบสนองในช่ ว งเวลาใดเวลาหนึ่ ง หรือ พิจ ารณาจากอัต ราการตอบสนอง
(Response rate) นันเอง ่
2. อัตราการตอบสนองและการเสริ มแรง โดยปกติการพิจารณาว่าใครเกิดการเรียนรู้
หรือไม่เพียงใดนัน้ จะสรุปเอาจากการเปลี่ยนแปลงการตอบสนอง (หรือพูดกลับกันได้ว่าการที่
อัตราการตอบสนองได้เปลีย่ นไปนัน้ แสดงว่าเกิดการเรียนรูข้ น้ึ แล้ว) และการเปลีย่ นแปลงอัตรา
การตอบสนองจะเกิดขึน้ ได้เมื่อมีการเสริมแรง (Reinforcement) นัน้ เอง สิง่ เร้านี้สามารถทาให้
อัตราการตอบสนองเปลีย่ นแปลง เราเรียกว่าตัวเสริมแรง (Reinforcer) สิง่ เร้าใดทีไ่ ม่มผี ลต่อการ
เปลีย่ นแปลงอัตราการตอบสนองเราเรียกว่าไม่ใช่ตวั เสริมแรง (Non-reinforcer)
3. ประเภทของตัวเสริ มแรง ตัวเสริมแรงนัน้ อาจแบ่งออกได้เป็ น 2 ลักษณะคือ อาจ
แบ่งเป็ นตัวเสริมแรงบวกกับตัว เสริมแรงลบ หรือ อาจแบ่งได้เ ป็ นตัวเสริมแรงปฐมภูมกิ ับตัว
เสริมแรงทุตยิ ภูม ิ
3.1 ตัวเสริ มแรงทางบวก (Positive Reinforcer) หมายถึง สิง่ เร้าชนิดใดชนิด
หนึ่ง ซึ่งเมื่อได้รบั หรือนาเข้ามาในสถานการณ์นัน้ แล้วจะมีผลให้เกิดความพึงพอใจ และทาให้
อัต ราการตอบสนองเปลี่ย นแปลงไปในลัก ษณะเข้ม ข้น ขึ้น เช่ น อาหาร ค าชมเชย ฯลฯ
3.2 ตัวเสริ มแรงลบ (Negative Reinforcer) หมายถึง สิง่ เร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง
ซึ่งเมื่อตัดออกไปจากสถานการณ์นัน้ แล้ว จะมีผลให้อตั ราการตอบสนองเปลี่ยนไปในลักษณะ
เข้มข้นขึน้ เช่น เสียงดัง แสงสว่างจ้า คาตาหนิ ร้อนหรือเย็นเกินไป ฯลฯ
การลงโทษ (Punishment)
การลงโทษ (Punishment) หมายถึง การทาให้อ ัต ราการตอบสนองหรือ ความถี่ของ
พฤติกรรมลดลง การลงโทษมี 2 ทางได้แก่
1. การลงโทษทางบวก (Positive Punishment)
2. การลงโทษทางลบ (Negative Punishment)
การลงโทษจึงจึงเป็ นเสริมแรงทางลบ และการลงโทษมีลกั ษณะทีค่ ล้ายคลึงกัน
และมักจะใช้แทนกันอยู่เสมอแต่การอธิบายของสกินเนอร์การเสริมแรงทางลบและการลงโทษ
ต่างกัน โดยเน้นว่าการลงโทษเป็ นระงับหรือหยุดยัง้ พฤติกรรม ดังแสดงในตารางที่ 8.1
507

ตารางที่ 8.1 การกระตุน้ ด้วยการเสริมแรงและการลงโทษ


การแสดงออก เงื่อนไข ผลลัพธ์(ผลที่ตามมา)
พฤติกรรม การเสริมแรง เพิม่ พฤติกรรมก่อให้เกิดการกระทาพฤติกรรมนัน้ บ่อยขึน้
พฤติกรรม การลงโทษ ลดพฤติกรรมก่อให้เกิดการกระทาพฤติกรรมนัน้ น้อยลง

ทีม่ า: ชัยวัฒน์ สุทธิรตั น์, 2552, หน้า 67.


จากตาราง ข้างต้น การลงโทษอาจใช้ไม่ได้ผลมากนักกับพฤติกรรมของพนักงานทุก
ระดับหรือทุกประเภทเนื่องจาก การลงโทษเป็ นทาให้พนักงานเกิดความหวาดกลัว แต่ไม่ได้ ทา
ให้เกิดความตระหนักในการกระทาที่ไม่ถูกต้อ งโดยเฉพาะการนามาใช้ในการลงโทษสาหรับ
พนักงานทีไ่ ม่ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัยในการ
ทางาน เพื่อช่วยลดการเกิดอุบตั เิ หตุในการทางานหรือทาให้อุบตั เิ หตุเป็ นศูนย์นนั ้ มักจะเกิดผล
ในทางลบหรือนับว่าเป็ นข้อเสีย ได้แก่
1) การลงโทษไม่ได้ทาให้พฤติกรรมเปลีย่ นเพียงแค่เก็บกดเอาไว้ แต่พฤติกรรม
ยัง คงอยู่ เช่ น พนั ก งานผู้ป ฏิบ ัติง านต้ อ งสวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ องกัน อัน ตรายส่ ว นบุ ค คลขณะ
ปฏิบ ัติง านในโรงงานที่ม ีค วามเสี่ย งอัน ตรายกับ การท างานเครื่อ งจัก ร แต่ พ นัก งานสวมใส่
เนื่องจากกลัวถูกลงโทษ ในขณะเดียวกันหากหัวหน้างานไม่เข้มงวด พนักงานก็ไม่ปฏิบตั ติ ามผล
คือ เกิดอุบตั เิ หตุทาให้ได้รบั บาดเจ็บรุนแรง
2) การลงโทษบ่อยครัง้ หรือเพิม่ โทษขึน้ เรื่อย ๆ อาจทาให้เกิดความไม่พอใจยิง่
ทาให้ก้าวร้าวหรือต่อต้านมากขึน้ กว่าเดิม ทาให้เกิดอารมณ์ ท่แี สดงออกมาไม่เหมาะสม และ
นาไปสู่การหลีกเลีย่ งและหลีกหนี
3) การลงโทษไม่ได้ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เหมาะสมทาให้แสดงออกถึงปั ญหา
ทางสภาพจิตใจและกายได้
3.3 ตัวเสริ มแรงปฐมภูมิ (Primary Reinforcer) เป็ นสิง่ เร้าทีจ่ ะสนองตอบต่อ
ความทางอินทรียโ์ ดยตรง ซึง่ เปรียบได้กบั UCS. ในทฤษฎีของพาฟลอฟ (Pavlov) เช่น เมื่อเกิด
ความต้องการอาหาร อาหารก็จะเป็ นตัวเสริมแรงปฐมภูมทิ จ่ี ะลดความหิวลง เป็ นต้น ตามลาดับ
ของการลดแรงขับของตัวเสริมแรงปฐมภูม ิ ดังนี้
1. ความไม่สมดุลในอินทรียก์ ่อให้เกิดความต้องการ
2. ความต้องการจะทาให้เกิดพลังหรือแรงขับ (drive) ทีจ่ ะก่อให้เกิดพฤติกรรม
3. มีพฤติกรรมเพื่อจะมุง่ สู่เป้ าหมายเพื่อให้ความต้องการได้รบั การตอบสนอง
4. ถึงเป้ าหมาย หรือได้รบั สิง่ ทีต่ อ้ งการ สิง่ ทีไ่ ด้รบั ทีเ่ ป็ นตัวเสริมแรงปฐมภูม ิ ตัว
เสริมแรงทีจ่ ะเป็ นรางวัลทีจ่ ะมีผลให้อยากทาซ้า และมีพฤติกรรมทีเ่ ข้มข้นในกิจกรรมซ้า ๆ นัน้
508

ดังนัน้ ในการกระตุ้นพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางานของตัวเสริมแรงปฐมภูม ิ
ต้อ งทราบว่า พนัก งานปฏิบ ัติงานในลักษณะงานที่มคี วามเสี่ยงในการท างานหัว หน้ า งานจะ
สนับสนุนให้พนักงานเกิดความร่วมมือในการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ข้อบังคับในการทางานโดย
จัด หาอุปกรณ์ส วมใส่ ป้อ งกันอันตรายส่ ว นบุค คลให้กับพนักงานทุกคน ให้ ต ระหนักถึงความ
ปลอดภัยในการทางาน และการชีใ้ ห้เห็นถึงอันตรายทีเ่ กิดขึน้ หากไม่ปฏิบตั ติ าม
3.4 ตัวเสริ มแรงทุติยภูมิ (Second Reinforcer) ตัวเสริมแรงประเภทนี้เป็ นสิง่
เร้าทีเ่ ป็ นกลาง (Natural Stimulus) สิง่ เร้าทีเ่ ป็ นกลางนี้เมื่อนาเข้าคู่กบั ตัวเสริมแรงปฐมภูมบิ ่อย
ๆ เข้า สิง่ เร้าซึ่งแต่ เดิมเป็ นกลางก็กลายเป็ นตัวเสริมแรง และจะมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับตัว
เสริมแรงปฐมภูม ิ ซึง่ จะเรียกตัวเสริมแรงนี้ว่า ตัวเสริมแรงทุตยิ ภูม ิ
ในกรณีท่เี ป็ นตัวเสริมแรงทุ ตยิ ภูมหิ ากมีการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบประจาสม่ าเสมอก็
ต้องกระตุน้ ด้วยการให้มกี ารแข่งขัน ประกวด แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ผ่านการมีส่วนร่วม หรือ
การตอบแทนรางวัล และมีก ารให้ร างวัล หากพนัก งานคนใดปฏิบ ัติต ามกฎระเบีย บประจ า
สม่าเสมอเพื่อสร้างขวัญกาลังใจในการปฏิบตั แิ ละให้เห็นถึงความสาคัญในการปฏิบตั ติ ามให้สร้าง
พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน
ลักษณะของเครื่องมือหรือตัวเสริ มแรง
1. Material Reinforcers คือ ตัวเสริมแรงทีเ่ ป็ นวัตถุ หรือสิง่ ของจับต้องได้ เช่น เงิน
รางวัล เป็ นต้น
2. Social Reinforcers เป็ นสิง่ ทีท่ ุกคนต้องการ เนื่องจากมนุ ษย์เป็ นสัตว์ส ังคมต้องการ
เพื่อน สังคม ความปลอดภัย จึงแสดงออกด้วยการเอาใจใส่ ห่วงใย เห็นอกเห็นใจ การชม เป็ น
3. Activity Reinforcers เป็ นการใช้กจิ กรรมทีก่ ระตุ้นให้พนักงานที่พนักงานชอบหรือ
สนใจทามาเสริมแรงกิจกรรมทีต่ ้องการทาน้อยทีส่ ุด เช่น หากชอบทางานเป็ นทีมก็ให้มอบหมาย
งานที่ต้องทากิจกรรมร่วมกันแล้วให้พนักงานทุกคนสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
โดยให้เ พื่อ นในทีมเป็ นผู้ก ระตุ้นโดยการสวมใส่ และปฏิบตั ิใ ห้เ หมือ นกันเพื่อ ให้พฤติกรรมที่
กระทาติดเป็ นนิสยั เป็ นต้น
4. Positive Feedback จะเป็ นการให้ขอ้ มูลป้ อนกลับทางบวก จะให้กระทากิจกรรมที่
เป็ นบวกเท่านัน้ ที่เป็ นผลของการกระทา เช่น คาชม แต่สงิ่ ที่ผดิ ให้หาแนวทางหรือวิธ ีการให้
คาปรึกษาให้พนักงานหาวิธกี ารเปลีย่ นพฤติกรรมของจนเองให้พบด้วยตนเอง
5. Intrinsic Reinforcers หรือตัวเสริมแรงภายใน เช่น การให้พนักงานมองเห็นสิง่ ที่
ตนเองกระทาแล้วให้ชมตนเอง เมื่อมีการปฏิบตั งิ านถูกต้องตามกฎระเบียบความปลอดภัย หรือ
ปฏิบตั งิ านถูกต้อง
509

ปัจจัยที่มีผลต่อการเสริ มแรง
1. การเสริมแรงต้องกระทาทันทีเ่ มื่อมีการปฏิบตั ถิ ูกต้อง เช่น เมื่อพนักงานปฏิบตั ติ าม
ระเบียบข้อบังคับในการทางานเกีย่ วกับความปลอดภัย เช่น เมื่อพนักงานสวมใส่อุ ปกรณ์ป้องกัน
อันตรายส่วนบุคคลต้องรีบเสริมแรงด้วยการชมทันทีหรือให้รางวัลหากเป็ นข้อตกลง
2. การเสริมแรงต้องมีการตอบสนองการเสริมแรงอย่างพอเหมาะหรือเหมาะสมตาม
ลักษณะของการกระทาไม่ควรมากเกินไปหรือน้อยเกินไป
3. การเสริมแรงต้องมีการกระทาประจาสม่าเสมอ เพื่อให้เกิดการปฏิบตั ิงานอย่างต่อ
เนื่องถือว่าเป็ นการสนับสนุนให้เกิดพฤติกรรมส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน
ทฤษฎีการเรียนรูข้ องสกินเนอร์ หรือ การวางเงื่อนไขแบบการกระทา สามารถสรุปได้
ดังนี้
1. การกระทาใด ๆ ถ้าได้รบั การเสริมแรงจะมีแนวโน้มเกิดขึน้ อีก ส่ วนการกระทาทีไ่ ม่ม ี
การเสริมแรงแนวโน้มทีค่ วามถีข่ องการกระทานัน้ จาลดลง และหยุดทาไปโดยทันที
2. การเสริมแรงทีแ่ ปรเปลีย่ นทาให้เกิดการตอบสนองว่าการเสริมแรงทีต่ ายตัว
3. การลงโทษทาให้เรียนรูไ้ ด้เร็ว และไม่สามารถทาให้เกิดความยังยื ่ นได้เนื่องจากไม่ได้
เกิด จากจิต ส านึ ก ของพนั ก งานหรือ ไม่ เ กิด จากความเข้า ใจหรือ เห็น แจ้ง ด้ ว ยตนเองแล้ ว
เปลีย่ นแปลง
การให้แรงเสริมหรือให้รางวัลเมือ่ มีการแสดงพฤติกรรมทีต่ ้องการ สามารถช่วยปรับหรือ
ปลูกฝั งวินยั ทีต่ อ้ งการได้
การนาทฤษฎีน้ีไปปรับใช้ในการเสริมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความปลอดภัยในการ
ทางานทัง้ ในด้านเสริมแรง และการลงโทษได้แต่การจะใช้วธิ กี ารใดย่อมศึกษาบริบทของสภาพ
การทางานและพนักงานให้ถ่อ งแท้ก่อนเพื่อจะเกิดการเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยในการ
ทางานอย่างแท้จริง
ทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ
ความหมายของแรงจูงใจ (Motivation)
แรงจูงใจ หมายถึง พลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังกาหนดทิศทางและเป้ าหมาย
ของพฤติกรรมนัน้ ด้วย คนทีม่ แี รงจูงใจสูง จะใช้ความพยายามในการกระทาไปสู่เป้ าหมายโดย
ไม่ลดละ แต่คนที่มแี รงจูงใจต่ า จะไม่แสดงพฤติกรรม หรือไม่ก็ล้มเลิก การกระทา ก่อนบรรลุ
เป้ าหมาย
(Walters, 1978, p.218) ได้ให้ความหมายของ แรงจูงใจ ไว้ว่า เป็ นบางสิง่ บางอย่างที่
อยู่ภายในตัว ของบุค คลที่มผี ลทาให้บุคคลต้องกระทา หรือเคลื่อนไหว หรือมี พฤติกรรม ใน
ลักษณะทีม่ เี ป้ าหมาย" กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คอื แรงจูงใจเป็ นเหตุผล ของการกระทานันเอง

510

(Loundon and Bitta, 1988, p.368) ได้ให้ความหมายของแรงจูงใจ ไว้ว่า สภาวะทีอ่ ยู่


ภายในตัวทีเ่ ป็ นพลัง ทาให้รา่ งกายมีการเคลื่อนไหว ไปในทิศทางทีม่ เี ป้ าหมาย ทีไ่ ด้เลือกไว้แล้ว
ซึ่งมักจะเป็ นเป้ าหมายที่มอี ยู่นภาวะสิง่ แวดล้อม จากความหมายนี้จะเห็นได้ว่า แรงจูงใจจะ
เกีย่ วข้องกับองค์ประกอบทีส่ าคัญ 2 ประการ คือ
(1) เป็ นกลไกทีไ่ ปกระตุน้ พลังของร่างกายให้เกิดการกระทา และ
(2) เป็ นแรงบังคับให้กบั พลังของร่างกายทีจ่ ะกระทาอย่างมีทศิ ทาง
ลักษณะของแรงจูงใจ
แรงจูงใจของมนุ ษย์มมี ากมายหลายอย่าง เราถูกจูงใจให้มกี ารกระทาหรือพฤติกรรม
หลายรูป แบบ เพื่อ หาน้ า และ อาหารมาดื่ม กิน สนองความต้อ งการทางกาย แต่ ย งั มีค วาม
ต้องการมากกว่านัน้ เช่น ต้องการความสาเร็จ ต้องการเงิน คาชมเชย อานาจ และในฐานะทีเ่ ป็ น
สัตว์สงั คม คนยังต้องการมีอารมณ์ผูกพันและอยู่รวมกลุ่มกับผู้อ่นื แรงจูงใจ จึงเกิดขึ้นได้จาก
ปั จจัยภายในและปั จจัยภายนอก ลักษณะของแรงงานจูงใจสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทได้แก่
1. แรงจูงใจภายใน (intrinsic motives)
แรงจูงใจภายในเป็ นสิ่ง ผลัก ดันจากภายในตัว บุ ค คล ซึ่งอาจจะเป็ น เจตคติ ความ
คิดเห็น ความสนใจ ความตัง้ ใจ การมองเห็นคุณค่า ความพอใจ ความต้องการ ฯลฯ สิง่ ต่างๆ
ดังกล่าวมาเหล่านี้มอี ทิ ธิพลต่อพฤติกรรมค่อนข้างถาวร เช่น พนักงานเห็นคุณค่าในตัวเองเมื่อ
ได้รบั มอบหมายให้ทางาน ก็ย่อ มปฏิบตั ิงานด้วยความระมัดระวังค านึงถึงผลกระทบในการ
ทางานด้านความปลอดภัยในการทางาน ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบังคับในการทางาน ด้วย
คานึงถึงความปลอดภัยในงาน รับผิดชอบผู้อ่นื ด้วยการใส่ใจในอุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องจักรใน
การทางาน ตรวจตรา ตรวจสอบให้มคี วามพร้อมในการใช้งานประจาสม่าเสมอ เมื่อพนักงาน
สร้างแรงผลักดันในตัวเองที่มกี ารรับรูถ้ งึ ความตระหนัก พฤติกรรม และนิสยั ในการปฏิบตั ติ าม
กฎระเบียบอย่างเคร่งครัดแล้วก็ยอ่ ม กล่าวได้ว่า เป็ นพฤติกรรมทีเ่ กิดจากแรงจูงใจภายใน
2. แรงจูงใจภายนอก (extrinsic motives)
แรงจูงใจภายนอกเป็ นสิ่งผลักดันภายนอกตัวบุค คลที่มากระตุ้นให้เ กิดพฤติกรรม
อาจจะเป็ น การได้ร บั รางวัล เกีย รติย ศ ชื่อ เสีย ง ค าชม การได้ร ับ การยอมรับ ยกย่ อ ง ฯลฯ
แรงจูงใจนี้ไ ม่ค งทนถาวรต่ อ พฤติก รรม บุค คลจะ แสดงพฤติกรรม เพื่อ ตอบสนองสิ่ง จูงใจ
ดังกล่าว เฉพาะในกรณีทต่ี ้องการรางวัล ต้องการเกียรติ ชื่อเสียง คาชม การยกย่อง การได้รบั
การยอมรับ ฯลฯ ตัวอย่างแรงจูงใจภายนอกทีม่ อี ทิ ธิพลต่อพฤติกรรม เช่น การทีค่ นงาน ทางาน
เพียง เพื่อแลกกับ ค่าตอบแทน หรือเงินเดือน การแสดงความขยันตัง้ ใจทางานเพียง เพื่อให้
หัวหน้างานมองเห็นแล้ว ได้ความดีความชอบ เป็ นต้น
ดังนัน้ เมื่อความต้องการของมนุ ษย์เกิดแรงจูงใจจากภายนอกย่อมผลักดันให้เกิดความ
ต้องการ และปรารถนาที่จะแสดงออกมาเพื่อให้ตนเองได้รบั ซึ่งหากองค์การมีการกระตุ้นให้
511

พนักงานปฏิบตั ิต ามกฎระเบีย บเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในการทางาน ก็ย่อ มทาให้เ กิดการ


ส่งเสริมให้พนักงานได้เห็นถึงผลลัพธ์ทจ่ี ะเกิดขึน้ ได้อย่างทีต่ อ้ งการด้วยความชัดเจนได้

ความหมายของพฤติ กรรมความปลอดภัยในการทางาน
สมถวิล เมืองพระ (2537, หน้า 54) กล่าวว่า พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน
หมายถึง ลักษณะของการกระทาหรือแสดงออกของบุคคลต่อสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง ซึง่ อยูภ่ ายใต้สภาวะที่
ปราศจากอันตรายการเกิด อุ บ ัติเ หตุ ร วมถึง ปราศจากโอกาสเสี่ย งต่ อ การเกิด อุ บ ัติเ หตุ กา ร
บาดเจ็บพิการ ตาย อันเนื่องจากการทางาน ทัง้ ต่อบุคคล ทรัพย์สนิ และสิง่ แวดล้อม ตามหลัก
พฤติกรรมศาสตร์แล้ว พฤติกรรมความปลอดภัยจะเกิดขึน้ ได้ ต้องมีปัจจัยต่าง ๆ หลายประการ
ด้วยกัน สามารถจาแนกได้ 3 ลักษณะ คือ ปั จจัยที่ช่วยโน้มน้ าวบุคคลให้เกิดพฤติกรรมความ
ปลอดภัยทีเ่ ป็ นปั จจัยเกีย่ วข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยมของบุคคล
ที่มตี ่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมอนามัยของบุค คล ซึ่งพฤติกรรมนี้เกิดขึน้ จาก
การเรียนรูห้ รือประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั จากการเรียนรูข้ องแต่ละบุคคล ซึง่ ส่วนใหญ่มกั จะได้รบั ทัง้ ใน
ทางตรงและทางอ้อ มหรือจากการเรียนรู้ด้ว ยตนเอง ปั จจัยที่ช่วยสนับสนุ นให้เ กิดพฤติกรรม
ความปลอดภัยเป็ นปั จจัยที่เกิดขึน้ จากการที่แต่ละบุคคลต่างมีโอกาสทีจ่ ะใช้บริการหรืออุปกรณ์
รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่มอี ยู่แ ละจัดหาไว้ให้อ ย่างทัวถึ
่ ง ได้แก่ สถานพยาบาล แหล่ งอาหารหรือ
อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัย เป็ นต้น เป็ นปั จจัยทีช่ ่วยส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมความปลอดภัย
เป็ นปั จจัยทีน่ อกเหนือจากปั จจัยดังกล่าวข้างต้น ได้แก่ ปั จจัยทีเ่ กิดจากการกระทาของบุคคลที่
เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เช่น ครอบครัว ญาติ เพื่อน นายจ้างและ
บุคลากรอื่น ๆ รวมถึงบุคคลทีเ่ ป็ นสิง่ แวดล้อมในสังคมภายนอกบ้านหรือทีท่ างานด้วย ซึง่ บุคคล
เหล่านี้จะมีอทิ ธิพลต่อการปลูกฝั ง หรือเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมอนามัยโดยสังสอน ่ การอบรมการ
กระตุน้ เตือน การชักจูง การเป็ นตัวอย่าง การควบคุมดูแล รวมถึงการส่งเสริมให้เกิดการกระทา
หรือ การปฏิบตั ิท่ถี ู ก ต้อ งและเหมาะสมที่จ ะนาไปสู่การมีสุ ข ภาพหรือ พฤติกรรมอนามัยตาม
เป้ าหมายทีก่ าหนด
สรุปได้ว่า พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน หมายถึ ง การกระทาของบุคคลที่
แสดงออกมาในขณะทางาน ซึง่ มีผลทาให้เกิดความปลอดภัยและปราศจากการเกิดอันตรายใน
ระหว่างการทางาน
การที่จะเข้าใจพฤติกรรมที่เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน หรือสุขภาพอนามัย
ของบุค คลนัน้ ส่ว นใหญ่ จะอาศัยแนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยา เพื่อ แก้ปัญ หาทางสุ ขภาพ
อนามัยของบุคคล จะต้องเปลี่ยนแปลงลักษณะการดาเนินชีวติ ของบุคคลนัน้ ๆ และควบคุ ม
ปั ญหาสิง่ แวดล้อมมากกว่าทีจ่ ะเป็ นการให้บริการทางด้านการรักษาพยาบาล โดยให้การศึกษา
แก่บุคคลเกี่ยวกับความสามารถและความรับผิดชอบของตัวเขาในการที่จะปกป้ องสุขภาพของ
512

ตนเอง ซึง่ เป็ นแนวคิดด้านการป้ องกัน และทฤษฎีทส่ี มั พันธ์กบั พฤติกรรมความปลอดภัยในการ


ทางาน มีดงั นี้
1. การปรับพฤติกรรมด้วยการควบคุมตนเอง (Self-control) กระบวนการควบคุมตนเอง
ซึง่ Cormier, (1991) กล่าวว่าเป็ นวิธกี ารหนึ่งที่ใช้ในการปรับพฤติกรรม ซึ่งมีพน้ื ฐานมาจาก
ทฤษฎีการเรียนรูโ้ ดยอาศัยหลักการเรียนรู้ เงื่อนไขผลกรรมซึง่ กระบวนการนี้บุคคลจะใช้วธิ กี าร
หนึ่ ง หรือ หลายวิธ ีร่ว มกัน เพื่อ เปลี่ย นแปลงพฤติก กรมของบุ ค คล จากพฤติก รรมที่ไ ม่พึง
ประสงค์ ไปสู่ พ ฤติ ก รรมที่พึง ประสงค์ โ ดยบุ ค คลนั ้น เป็ นผู้ ก าหนดพฤติ ก รรมเป้ าหมาย
กระบวนการทีน่ าไปสู่เป้ าหมายและควบคุมทัง้ ตัวแปรภายในและภายนอกของบุคคล อันจะมีผล
ต่อพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์นนั ้ ด้วยตนเอง ส่วนผูป้ รับพฤติกรรมเป็ นเพียงผูใ้ ห้คาปรึกษาหรือฝึก
วิธกี ารที่เหมาะสมให้เท่านัน้ ลักษณะเช่นนี้จะทาให้กระบวนการควบคุมตนเองมีความแตกต่าง
จากกระบวนการปรับพฤติกรรมที่อ าศัยการจัดการกระทาของบุคคลภายนอกในการควบคุ ม
ตนเอง เจ้า ของพฤติก รรมจะมีบ ทบาทในการเลือ กพฤติก รรมเป้ า หมายที่เ ป็ น ปั ญ หาและ
ประเมินผลเป้ าหมายด้วยตนเอง เพื่อเปลี่ยนแปลงจากการตอบสนองที่ไม่มปี ระสิทธิภาพไปสู่
วิธแี ก้ไขอย่างเป็ นระบบ และมีผลระยะยาวให้พฤติกรรมทีเ่ ปลีย่ นใหม่น้ีมคี วามคงทนถาวร และ
จากแนวคิดที่เกี่ยวกับพฤติกรรมโดยการเรียนรู้เ งื่อนไขผลกรรมดังกล่ าวมาแล้ว พฤติกรรม
บางอย่างให้ผลกรรมทางบวกในปั จจุบนั แต่ให้ผลกรรมทางลบในอนาคต เช่น การดื่มสุราการสูบ
บุหรี่ และพฤติกรรมบางอย่างให้ผลกรรมทางลบในปั จจุบนั แต่ให้ผลกรรมทางบวกในอนาคต
เช่น การทนเจ็บจากการถอนฟั น เป็ นต้น เทคนิคทีใ่ ช้ในการควบคุมตนเอง ส่วนใหญ่แล้วนักปรับ
พฤติกรรมจะใช้วธิ กี ารสังเกตและบันทึกพฤติกรรมตนเอง การประเมินตนเอง การให้เสริมสร้าง
ตนเอง และการตัง้ เกณฑ์มาตรฐานของตนเอง นอกจากนี้ยงั ได้มกี ารใช้เทคนิคอื่น ๆ ประกอบ
เช่น การสอนตนเอง การลงโทษตนเอง และการทาสัญญากับตนเอง แต่อย่างไรก็ตามในการ
ควบคุมตนเอง มักใช้วธิ เี หล่านี้ควบคู่กนั ไป และพบว่าการใช้วธิ กี ารเหล่านี้มาผสมผสานกันจะมี
ประสิทธิภาพมากกว่าการใช้เทคนิคเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้การใช้เทคนิคในการควบคุม
ตนเองยังขึน้ อยู่กบั บุคคล สถานการณ์ และพฤติกรรมที่ใช้อกี ด้วย สรุปได้ว่า การที่บุคคลรูจ้ กั
ควบคุมตัวเองในการปฏิบตั ติ นเพื่อก่อให้เกิดความปลอดภัยแล้ว ก็จะมีพฤติกรรมความปลอดภัย
ในการทางาน
2. ทฤษฎีการรับรูป้ ระสิทธิภาพแห่งตน (Theory of self-efficiency) ทฤษฎีน้ีเป็ นทฤษฎี
ที่ Bandura (1979 อ้างถึงใน สิทธิโชค วรานุ สนั ติกุล, 2546, หน้า 18) ได้พฒ ั นามาจากหลักการ
เรียนรูท้ างสังคม (Social learning principles) ทฤษฎีการับรูป้ ระสิทธิภาพผลแห่งตนนี้ม ีขอ้
สมมุตวิ ่าคนเรานัน้ มีกระบวนการเชิงปั ญหา หรือกระบวนการความรู้ (Cognitive ability) ทีจ่ ะ
สามารถแสดงพฤติกรรมออกมาโดยการคิดหรือการดูตวั อย่างจากผูอ้ ่นื หรือลอกเลียนแบบผูอ้ ่นื
513

โดยก่อนที่คนเราจะแสดงพฤติกรรมออกไปนัน้ คนเราจะมีความคาดหวังเกิดขึน้ อย่างน้อย 2


อย่างคือ การคาดหวังผลของการกระทา (Outcome expectation) ถ้าคาดว่าจะได้ผลกรรมทีน่ ่ า
พึงพอใจก็จะกระทา และขณะเดียวกันก็ คาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของตนเอง (Efficacy
expectation) ทีจ่ ะกระทาพฤติกรรมนัน้ ด้วย ถ้าพบว่าตนเองน่ าจะมีความสามารถทีจ่ ะทาได้กจ็ ะ
ทา และจะไม่ทา ถ้าพบว่าตนเองไม่มคี วามสามารถที่จะทาได้ ดังนัน้ การที่คนจะมีพฤติกรรม
ความปลอดภัยในการทางานที่ดี จะต้อ งมีค วามรู้แ ละมั น่ ใจว่ าตนเองสามารถจะกระท าการ
เกีย่ วกับการป้ องกับอันตรายได้
3. แบบจาลองความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพ (Health belief mode) Rosenstock (1974) มี
ข้อสมมติฐานเกี่ยวกับความเชื่อด้านสุขภาพทีว่ ่า สุขภาพทีด่ ี (Good health) ในความคิดของแต่
ละคนไม่เหมือนกัน ทาให้มผี ลต่อการยอมรับและการตัดสินใจทีจ่ ะกระทาหรือมีพฤติกรรมต่าง ๆ
เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายแตกต่างกัน การที่บุคคลจะปฏิบตั หิ รือกระทาสิง่ ใด ๆ เพื่อหลีกเลีย่ งการ
เกิดอุบตั เิ หตุหรือการเจ็บป่ วยนัน้ จะต้องมีความเชื่อหรือการยอมรับเกี่ยวกับอุบตั เิ หตุหรือการ
เจ็บป่ วยอยู่ 3 ประการ อันจะนาไปสู่การมีสุขภาพ หรือการมีพฤติกรรมความปลอดภัย คือ
1. การรับรูถ้ งึ โอกาสเสีย่ งและความเสีย่ งต่อการเจ็บป่ วย (Perceived susceptibility)
หมายถึงการทีบ่ ุคคลแต่ละคนมีการรับรูถ้ งึ โอกาสทีจ่ ะเกิดการเจ็บป่ วยหรือเสี่ยงต่อการเจ็บป่ วย
แตกต่างกันเช่น บางคนอาจจะปฏิเสธไม่เชื่อ หรือบางคนก็เชื่อว่า เขามีโอกาสจะเจ็บป่ วยอย่าง
แน่ น อน หรือ มีโ อกาสเกิด ขึ้น เหมือ นกัน แต่ ไ ม่ ม ากนั ก เป็ นต้ น ซึ่ง ระดับ การรับ รู้ น้ี จ ะมี
ความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการป้ องกันอันตราย หรือการเจ็บป่ วยจากการทางาน
2. การรับรูถ้ งึ ความรุนแรงของการเกิดอุบตั เิ หตุ (Perceived severity) หมายถึงการ
ที่บุค คลตระหนัก ถึงความรุนแรงของการเกิดอุ บตั ิเ หตุ และผลกระทบที่ต ามมาจากการเกิด
อุ บ ัติเ หตุ เช่ น ความเจ็บ ป่ วย พิก าร ตาย และผลที่ต ามมาทางสัง คม เช่ น การหยุ ด งาน
ผลกระทบต่อชีวติ ครอบครัวและความสัมพันธ์กบั บุคคลในองค์กร ซึง่ มีผลทาให้พฤติกรรมการ
ป้ องกันอันตรายแตกต่างกันออกไปแต่ละคน
3. การรับรูเ้ กี่ยวกับผลดีและผลเสียของการปฏิบตั เิ พื่อต่อต้านหรือหลีกเลีย่ งการเกิด
ความเจ็บป่ วย (Perceived benefits and barrier) ซึง่ การรับรูใ้ นข้อ 1 และข้อ 2 นัน้ เป็ นสภาวะ
ของจิต ใจ และความพร้อ มที่จ ะกระท าสิ่ง ใดสิ่ง หนึ่ ง ต่ อ ไป แต่ ไ ม่ ไ ด้เ ป็ น สิ่ง ที่จ ะก าหนดว่ า
พฤติกรรมที่จะกระทานัน้ เป็ นอย่างไร การทีบ่ ุคคลเลือกว่าจะกระทาอะไรขึน้ อยู่กบั ความพร้อม
ทางด้านจิตใจ และการรับรูถ้ งึ ผลดีและอุปสรรค โดยจะปฏิบตั หิ รือไม่ขน้ึ อยู่กบั วิธกี ารทีบ่ ุคคลนัน้
เชื่อว่าจะก่อให้เกิดผลดีต่อตนมากที่สุด และมีอุปสรรคหรือผลเสียน้อยทีส่ ุด ซึ่งต้องสัมพันธ์กบั
การลดโอกาสทีจ่ ะได้รบั อันตรายจากการเกิดอุบตั เิ หตุ และความรุนแรงของการเกิดอุบตั เิ หตุ
514

พฤติ กรรมมนุษย์เพื่อความปลอดภัยในการทางาน
1. ทฤษฎีค่านิ ยม –ทัศนคติ –พฤติ กรรม (value-Attitude –Behavior Theory)
ได้อธิบายถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่มนุ ษย์ได้แสดงออกนัน้ เป็ น ผลมาจากค่านิยมที่มนุ ษย์
เรียนรู้มาจากสิ่งแวดล้อ มรอบตัว เองโดยการสังเกตและเลียนแบบจากตัว แบบ (model) และ
ค่านิยมเป็ นสิง่ ที่ได้รบั การยอมรับที่เป็ นพฤติก รรมที่ทุก คนในองค์การได้แสดงออกทาให้เกิด
ทัศ นคติหรือ เจตคติท่บี ุค คลเห็นว่ามีความเหมาะสมแก่ การประพฤติปฏิบตั ิต ามพฤติกรรมที่
ถูกต้องเหมาะสมดีงาม ซึ่งค่านิยมจะเกิดจากขึ้นจากพันธุกรรมที่บุคคลได้รบั จากบิดา มารดา
บรรพบุรุษตัง้ แต่เกิดมาได้รบั การเลีย้ งดู อบรมสังสอนรวมทั ่ ง้ ได้รบั การขัดเกลาจากสังคม และ
สิง่ แวดล้อมทีอ่ ยูร่ อบตัวของบุคคลนัน้ ค่านิยมจึงมีลกั ษณะดังนี้
1.1 ค่ า นิ ย มเป็ นสิ่ง ที่เ รีย นรู้ ไ ด้ กล่ า วคือ บุ ค คลจะเรีย นรู้ ค่ า นิ ย มได้ จ าก
สิ่ง แวดล้อ ม และด้ว ยการอบรม จดจ า เลีย นแบบ และแนวปฏิบ ัติท่ีเ ป็ น บรรทัด ฐาน เช่ น
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานมีการยึดถือปฏิบตั สิ บื ต่อกันมาในด้านความมีคุณธรรม
จริยธรรม ในการประกอบวิชาชีพจนกลายเป็ นค่านิยมของวิชาชีพ เป็ นต้น
1.2 ค่านิยมเป็ นสิง่ ทีไ่ ด้รบั การยอมรับ เมื่อมีการยอมรับค่านิยมต่าง ๆ ทีม่ อี ยู่ใน
สังคมทีม่ กี ารประพฤติสบื ต่อกันมาจนกลายเป็ นขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมในองค์การ
หรือบริษทั ทีเ่ ป็ นการปฏิบตั แิ ละเกิดการยอมรับทีถ่ อื ปฏิบตั กิ นั จนเป็ นกฎระเบียบข้อบังคับ เช่น
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเมื่อต้องปฏิบตั งิ านในบริเวณที่มคี วามเสี่ยงอันตราย
จากเครือ่ งจักร หรือสารเคมีอนั ตราย ความร้อน ฝุ่ น เสียงดัง เป็ นต้น
1.3 ค่านิยมเป็ นแรงจูงใจ ค่านิยมเป็ นสิง่ ปลุกเร้าหรือกระตุ้ นให้บุคคลเกิดความ
ต้องการที่ต้องแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมาเพื่อให้บรรลุค่านิยมเหล่านัน้ ในสังคม เช่น ความ
มันคงในชี
่ วติ การได้รบั การยอมรับในวิชาชีพ ค าชมเชย รางวัล เกียรติยศชื่อ เสียง ความมี
อานาจ และบารมี เป็ นต้น
1.4 ค่านิยมสามารถเปลีย่ นแปลงไปได้ จากสภาพแวดล้อมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง
ด้า นสัง คม วัฒ นธรรม เศรษฐกิจ การเมือ ง และเทคโนโลยีต่ า ง ๆ ท าให้ค่ า นิ ย มสามารถ
เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และค่านิยมของกลุ่มต่าง ๆ ก็อาจแตกต่างกันไปตามสถานภาพ
ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา และตัวแปรอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
2. การปลูกฝังค่านิ ยมเพื่อความปลอดภัยในการทางาน
การปลูกฝั งค่านิยมสาหรับพนักงานเป็ นสิง่ จาเป็ นและทาให้พนักงานมีการเรียนรู้ รับรูใ้ น
สิง่ ทีด่ ี โดยเฉพาะอย่างยิง่ การปฏิบตั งิ านตามกฎ ระเบียบข้อบังคับของสถานประกอบการ ทัง้ นี้
พนัก งานแต่ ล ะย่อ มมีค วามแตกต่ า งกันตามพื้น ฐานของแต่ ล ะบุ ค คล ทัง้ จากการเลี้ ยงดูและ
สภาพแวดล้อมที่รายล้อมในสังคม ดังนัน้ สถานประกอบการจึงต้องดาเนินการปลูกฝั งค่านิยม
ต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัยในการทางาน ดังนี้
515

2.1 การสร้างศรัทธาในค่านิยมความปลอดภัย เพื่อให้เห็นถึงคุณค่าและเข้าใจ


พนักงานเกิดความพึงพอใจและเกิดความศรัทธาเชื่อถือในค่านิ ยมเหล่านัน้ เช่น ความปลอดภัย
เป็ นสิง่ ที่พนักงานทุกคนต้องปฏิบตั ติ าม การทางานต้องปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบข้อบังคับอย่าง
เคร่งครัด กระตือรือร้นในการทางานตลอดเวลา อุบตั เิ หตุเป็ นสิง่ ที่ป้องกันได้ไม่ใช่เป็ นกรรมเก่า
หรือโชคชะตา เป็ นต้น
2.2 การปฏิบ ัติต ามค่ านิ ยมที่ปลูกฝั ง เมื่อ มีค่ านิยมในความศรัทธา ก็จะเกิด
ความเข้าใจด้วยการตอกย้าในมีการยึดเหนี่ยวฝั งรากลึกจนกลายเป็ นนิสยั ติดตัว โดยผูท้ าหน้าที่
ในการปลูกฝั งต้องดาเนินการดังนี้
2.2.1 การเสริมแรงจูงใจตลอดเวลา เพื่อให้พนักงานมีกาลังใจในการ
ปฏิบตั ติ ามค่านิยมที่พงึ ประสงค์อย่างสม่าเสมอ แรงจูงใจเหล่านี้ ได้แก่ คาชมเชย เช่น ชมเชย
เมือ่ มีการปฏิบตั ติ ามระเบียบความปลอดภัยในการทางาน โดยทีพ่ นักงานสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน
อันตรายส่วนบุคคลเมือ่ ทางานกับความเสีย่ งอันตราย
2.2.2 เปิ ด โอกาสให้พ นั ก งานได้ป ฏิบ ัติต ามค่ า นิ ย มอย่ า งสม่ า เสมอ
เพื่อ ให้เ กิด ค่ า นิ ย มประจ าตัว และเกิด วัฒ นธรรมความปลอดภัย ในองค์ก าร เช่ น เมื่อ มีก าร
ฝึกอบรมแล้วก็ให้ปฏิบตั งิ านกับเครื่องจักรเพื่อเป็ นการฝึกให้เกิดความเคยชินตามขัน้ ตอนความ
ปลอดภัยในการทางานทีถ่ ูกต้อง
2.2.3 การใช้ก ฎระเบีย บบังคับ หรือ การออกกฎระเบีย บมาควบคุ ม
อย่างเคร่งครัด หลัง จากสร้างแรงจูงใจแล้วต้องมีการใช้กฎระเบียบ ข้อบังคับเพื่อให้พนักงาน
ปฏิบตั ติ าม เนื่องจากพนักงานอยูด่ ว้ ยกันเป็ นจานวนมาก จาเป็ นต้องมีกฎระเบียบเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยบังคับให้พนักงานปฏิบตั ติ าม บางครัง้ ต้องลงโทษผูท้ ฝ่ี ่ าฝืน เนื่องจากอาจจะทาให้เกิด
อุบตั เิ หตุ หรือได้รบั อันตรายตามมา

หลักการทางพฤติ กรรมการบริ หารเพื่อความปลอดภัยในการทางาน


ณัฐวัตร มนต์เทวัญ (2541) ได้กล่าวว่า หลักการพฤติกรรมการบริหารนี้ เป็ นหน้าทีข่ อง
ผูบ้ ริหารทุกระดับ หรือเป็ นงานของฝ่ ายจัดการ ซึง่ นับว่าเป็ นหัวใจของงานความปลอดภัยในการ
ทางานเลยทีเดียว เพราะการปฏิบตั งิ านทุกอย่าง ถ้าขาดผูบ้ ริหารทีด่ ลี ะเก่งแล้ว งานนัน้ สาเร็จได้
ยากหรือสาเร็จได้แต่คุ ณภาพของผลผลิตก็อาจต่ าลงได้ ความพอใจในการทางานและความ
ปลอดภัยในการทางานอาจไม่มกี ย็ อ่ มเป็ นได้
พฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทางานก็เช่นเดียวกัน ถ้าขาดผูบ้ ริหารที่
เป็ นผูน้ าทีด่ แี ละมีความสามารถแล้ว ก็อาจทาให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการทางานได้ ผูบ้ ริหาร
เปรียบเสมือนเข็มทิศทีค่ อยบอกทางให้ผเู้ ดินทางไปสู่จุดหมายปลายทางอย่างปลอดภัย และเป็ น
เสมือ นนายท้ายเรือ ที่ค อยควบคุ มเรือ ให้ไปสู่จุดหมายได้อ ย่างปลอดภัย หน้ าที่ของผู้บริห าร
จะต้องกาหนดนโยบาย วางแผนเพื่อให้ผู้ปฏิบตั งิ านมีพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ไม่เสี่ยงต่อการ
516

เกิดอันตรายในการปฏิบตั งิ าน มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน มีความพอใจ มีขวัญ


กาลังใจ เป็ นต้น
ดังนัน้ พฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทางานจึงต้องเน้นการ่วมมือกัน
ของบุคคลทุกระดับ คือ โดยผูบ้ ริหารแต่ละระดับมีหน้าทีแ่ ตกต่างกันจะแสดงให้เห็นข้อแตกต่าง
กันในแง่ของการรับผิดชอบต่องานหรือลักษณะของงานของผู้บริหารระดับต่าง ๆ เพื่อความ
ปลอดภัยในการทางาน โดยผู้บริหารระดับสูงจะรับผิดชอบในด้านการวางแผนเป็ นส่วนใหญ่
ขณะทีผ่ บู้ ริหารระดับต้นจะรับผิดชอบมากในด้านการควบคุมเป็ นต้น
พฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทางานก็คอื การนาหลักวิชาการบริหาร
ซึง่ ได้แก่ ความรูเ้ กีย่ วกับการวางแผน การจัดองค์การ การอานวยการ และการควบคุมงานมา
ประยุก ต์ใ นพฤติก รรมการบริห ารเพื่อ ความปลอดภัยในการทางาน ในที่น้ีจ ะขอกล่าวเฉพาะ
แนวคิดสาคัญของหลักการทางพฤติกรรมบริหารความปลอดภัยในการทางานที่ผู้บริหารควร
ทราบซึง่ ประกอบด้วยหลักการ 4 ประการ
1. การวางแผนเพื่อ ความปลอดภัย ในการท างาน ผู้บ ริห ารจะต้ อ งแสดงพฤติ
กรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทางานอย่างจริงจังและตัดสินใจในการจัดรู ปความคิด
เพื่อ แก้ปัญ หาความปลอดภัยในการทางานเป็ นระบบ โดยสามารถวิเ คราะห์ถึงสถานการณ์
อาการและสาเหตุ ของปั ญ หาความปลอดภัยในการทางานที่จะต้องแก้ไข การประเมินความ
เป็ นไปได้ในกลยุทธ์ของการแก้ไขปั ญหาความปลอดภัยในการทางาน การสรรหาทรัพยากรด้าน
ความปลอดภัยในการทางาน การสร้ างแนวร่ว มทางความคิดกับผู้ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยในการทางานและการวางระบบกากับดูแลแผนงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
การวางแผนเพื่อความปลอดภัยในการทางานเป็ นเครื่องชีค้ วามสามารถ และพฤติกรรม
การบริหารที่สาคัญยิง่ องค์การหรือหน่ วยงานจะประสบความสาเร็จหรือล้มเหลวในด้ านต่าง ๆ
ซึ่งรวมถึงด้านความปลอดภัยในการทางานด้วย ส่วนหนึ่งเกิดจากพฤติกรรม การบริหารของ
ผูบ้ ริหารในองค์การมรความรูแ้ ละทักษะเกี่ยวกับการวางแผนเพื่อความปลอดภัยในการทางาน
มากน้อยเพียงใด
2. การจัดองค์ก ารเพื่อ ความปลอดภัยในการทางาน ผู้บริห ารจะต้อ งแสดงพฤติ-
กรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยอย่างเหมาะสม โดยการวางโครงสร้างการบริหารด้านความ
ปลอดภัย ในการท างานทัง้ ในแนวนอนแนวดิ่ง การก าหนดโครงสร้า งหน่ ว ยงานด้า นความ
ปลอดภัยในการทางานที่เหมาะสมสอดคล้องกับโครงสร้างหลักขององค์การ กาหนดสายงาน
ด้านความปลอดภัยในการทางาน และการบังคับบัญชาที่เอื้ออานวยให้การบริหารงานด้านความ
ปลอดภัยในการทางานมีเ อกภาพและบรรลุ ผ ลส าเร็จ การวางกระบวนการของงานที่ส่ งผล
รวดเร็ว ฉับไว และการวางตัวบุคคลผูร้ บั ผิดชอบซึง่ แต่ละคนสามารถแสดงความรู้ ความสามารถ
ความตัง้ ใจ ความพอใจในการทางาน ได้อย่างเต็มที่ หรือการจัดงานให้เหมาะสมกับคน หรือว่า
517

จัดคนให้เหมาะสมกับงาน เป็ นต้น เพื่อให้ผู้ปฏิบตั งิ านมีพฤติกรรมความปลอดภัยมากขึน้ ตาม


วัตถุประสงค์ทว่ี างไว้
ดังนัน้ การจัดองค์การเพื่อความปลอดภัยในการทางานก็คอื การวางระเบียบกฎเกณฑ์
ให้กจิ กรรมต่าง ๆ ขององค์การด้านความปลอดภัยดาเนินไปให้ได้สดั ส่วนกันโดยกาหนดว่าใครมี
หน้าที่ทาอะไรมีอานาจหน้ าที่ และความรับผิดชอบอย่างไร มีความพร้อมที่จะให้ตรวจสอบได้
ทัง้ นี้เพื่อให้การดาเนินการด้านความปลอดภัยในการทางานขององค์การบรรลุผลตามแผนที่
กาหนดไว้
3. การอ านวยการเพื่อ ความปลอดภัย ในการท างาน ผู้บ ริห ารจะต้อ งแสดงพฤติ
กรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทางานอย่างประสิทธิภาพ โดยการส่งเสริมเพื่อให้
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทุกคนทางานด้วยความเชื่อมัน่ มีเป้ าหมายทีช่ ดั เจนแน่ นอน ด้วยขวัญกาลังใจที่
ดีการพัฒนาทีมงานและผูน้ าในระดับรองเพื่อให้สามารถแทนกันได้อย่างต่อเนื่องและไม่ยดึ ติดตัว
บุคคล การสื่อสารข้อมูลทุกรูปแบบทีส่ ร้างความเข้าใจทีด่ งี าม ในหน่ วยงานและการประสานงาน
ทีม่ หี ลักการร่วมมือหน่วยงาน และความยืดหยุน่ ทีเ่ หมาะสม การจูงใจการสนับสนุน การให้ความ
สะดวก การให้ความสบายใจ การยิ้มแย้มแจ่มใส การให้เกียรติตนเองและให้เกียรติผู้อ่นื การ
ทางานเป็ นทีมเหล่านี้ เป็ นพฤติกรรมบริหารเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน
4. การควบคุ ม งานเพื่อ ความปลอดภัย ในการท างาน ผู้บ ริห ารจะต้อ งแสดงพฤติ
กรรมการบริห ารเพื่อ ความปลอดภัยในการทางานอย่างมีค วามยุติธ รรม โดยการก ากับการ
เพื่อให้นโยบายวัตถุประสงค์และเป้ าหมายขององค์การบรรลุผลสาเร็จตามทีไ่ ด้ตงั ้ ไว้ การติดตาม
ดูแลการทางานในขัน้ ตอนทีส่ าคัญเพื่อช่วยแก้ปัญหาอุปสรรคร่วมปรึกษาหารือเพื่อปรับแผนและ
วิธ ีปฏิบตั ิท่เี หมาะสม การประเมินผลงาน รวมทัง้ การสนใจและการให้ความช่ว ยเหลืออย่าง
ใกล้ชดิ ความเป็ นกันเองทัง้ เรื่องงานและเรื่องส่วนตัวของผู้ใต้บงั คับบัญชา รวมความก็คอื คอย
คบคุมดูแลทัง้ สภาพแวดล้อมในการทางาน และคนในขณะทางานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยใน
การทางานเหล่านี้เป็ นพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทางาน
อย่างไรก็ตามพฤติกรรมการบริหารเพื่อความปลอดภัยในการทางานนัน้ ผู้บริหารต้อง
ตระหนักไว้เสมอว่า จะต้องดาเนินการเพื่อให้บรรลุผลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานโดย
อาศัยผู้อ่นื ผู้บริหารจะต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ วางนโยบาย วางแผน จัดรูปองค์การจัด
อัต ราก าลังการท างบประมาณ การรายงานการควบคุ ม และการประเมิน ผลเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยในการทางาน และผูบ้ ริหารจะต้องมีการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การจูงใจ และการสร้าง
สภาวะผูน้ าเกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน
ปั จจัยในการกาหนดพฤติกรรมเสีย่ ง ถ้าบุคคลมีทศั นคติทด่ี ตี ่อการทางานอย่างปลอดภัย
และเห็นประโยชน์ ท่เี กิดขึ้นต่อการกระทาดังกล่าวแล้วก็จะนาไปสู่ความตัง้ ใจที่จะลงมือปฏิบตั ิ
กิจกรรมต่าง ๆ ซึง่ ทัง้ หมดก็จะแสดงออกมาในรูปของพฤติกรรมนัน้ เอง
518

กล่าวว่ามนุษย์ทุกคนเมือ่ มีความรูแ้ ละความตระหนักเกิดขึน้ จะไปกระตุน้ ให้บุคคลแสดง


พฤติกรรมต่อสิง่ ต่าง ๆ ออกมาและถ้าบุคคลนัน้ ก็จะไปสู่ความตัง้ ใจทีจ่ ะลงมือปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ
ออกมาได้ซ่ึง ทัง้ หมดก็แ สดงออกมาในรูป แบบของพฤติก รรมนัน่ เอง และเช่ น เดีย วกัน กับ
ความหวังทางสังคม ที่อยู่รอบตัวบุคคลของแต่ละคน เมื่อทุกคนเห็นคุณค่าหรือประโยชน์แล้วก็
จะทาให้เกิดบรรทัดฐานทางสังคมของบุคคลขึน้ มา ซึ่งสิง่ เหล่านี้สามารถทาให้บุคคลเกิดความ
ตัง้ ใจที่จะลงมือปฏิบตั เิ ป็ นพฤติกรรมที่แสดงออกมาได้ ซึ่งจากแนวคิดนี้แสดงให้เห็นว่าบรรทัด
ฐานทางสังคม จะมีอทิ ธิพลต่อบุคคลรอบข้างด้วย

การส่งเสริ มพฤติ กรรมความปลอดภัย


การส่ งเสริม พฤติก รรมความปลอดภัย ในการทางาน เป็ นหน้ าที่ของนักบริห ารความ
ปลอดภัยในสถานประกอบการ ซึ่งว่า เป็ นกิจกรรมที่มคี วามสาคัญ ที่จะส่งเสริมให้พ นักงานได้
ปฏิบตั งิ านด้วยความระมัดระวังไม่ให้มกี ารเกิดอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการ
ทางาน ในสถานประกอบการโดยทัวไป ่ ถึงแม้ว่าจะมีการออกแบบด้านความปลอดภัยอย่างเป็ น
ระบบ หรือผูป้ ฏิบตั งิ านได้รบั การฝึกอบรมอย่างทัวถึ ่ ง มีขนั ้ ตอนปฏิบตั งิ าน (work procedure)
อย่างถูกต้อง ยังไม่อาจเพียงพอในการช่วยให้พนักงานลดอุบตั เิ หตุลงได้ จึงจาเป็ นต้องอาศัยให้
มีการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางานด้วยกิจกรรม โดยอาศัยเทคนิค วิธกี าร
และกระทาอย่างต่อเนื่อง ซึง่ ทาให้ช่วยป้ องกันอุบตั เิ หตุ เนื่องจากการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้
พนักงานมีพฤติกรรมที่มกี ารเปลี่ยนแปลง หรือเกิดการตอบสนองที่สามารถนาไปสู่เป้ าหมาย
โดยการเรียนรู้ และประสบการณ์ทส่ี งสมมา ั่ และเมื่อได้รบั การเสริมแรงพฤติกรรมจะยิง่ ทาให้ม ี
การจดจา และเกิดเป็ นนิสยั ในการปฏิบตั งิ านอย่างเคร่งครัดได้ ดังนัน้ หัวหน้างานต้องหาวิธ ี การ
จูงใจให้ผปู้ ฏิบตั งิ านกระตือรือร้นในการสร้างพฤติกรรมการทางานทีป่ ลอดภัย โดยเกิดจากความ
ต้อ งการภายในของตนเอง และกระตุ้น จากภายนอกที่เ ป็ น สิ่ง เร้า ต่ า ง ๆ จนสามารถท าให้
ผูป้ ฏิบตั งิ าน เกิดพฤติกรรมความปลอดภัยต้องอาศัยความคิดของตัวเองและต้องรักษาระเบียบ
วินยั เพื่อให้ตนเองได้มกี ารป้ องกันอันตรายต่าง ๆ ทีจ่ ะเกิดจากการทางาน
จะเห็นได้ว่า การสร้างแรงจูงใจภายใต้การส่งเสริม พฤติกรรมความปลอดภัยให้เ กิด
ประสิทธิภาพ คือ แนวคิดทีว่ ่าพฤติกรรมสามารถและควรจะเปลีย่ นแปลงได้ ดังนัน้ การส่งเสริม
พฤติกรรมให้เกิดความปลอดภัย ควรจะต้องมีการศึกษาถึงพฤติกรรมความต้องการให้ลกั ษณะ
การเสริมแรง หรือการสร้างแรงจูงใจ ที่เกิดจากทัง้ แรงจูงใจภายในและภายนอก ซึ่งไม่เพียงแต่
การให้รางวัล หรือการลงโทษ แล้วก็สน้ิ สุดเท่านัน้ การส่งเสริมความปลอดภัย จะต้องมุ่งให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่สามารถให้พนักงานเข้าใจถึ งการเปลี่ยนแปลงไปสู่สงิ่ ที่ดขี น้ึ ด้วย
การปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง เข้าใจด้วยตนเอง และเกิดผลลัพธ์ต่อตนเอง จึงจะสามารถทาให้เกิดความ
มันคง
่ และยังยื ่ น ซึง่ นับได้ว่าเป็ นการวางรากฐานภายใต้ความสาคัญทีว่ ่า
519

“จิตสานึกต่อหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานเป็ นความเชือ่ ถือในการกระทาของตนเอง และ


ต้องกระทาอย่างสมา่ เสมอทุกเวลานาทีของการขยับร่างกายให้เป็ นนิสยั …อันจะนาไปสู่ชวี ติ ที ่
ปราศจากอุบตั เิ หตุภยันตรายทัง้ ปวงเพือ่ สุขภาพอนามัยทีด่ ”ี

บทบาทผูน้ าในการส่งเสริ มพฤติ กรรมความปลอดภัย


โดยทัว่ ไปแล้ว ผู้นาต้อ งเข้ามามีบทบาทส าคัญ ในการผลักดัน กระตุ้น หรือ จูง ใจให้
พนักงานมีพ ฤติกรรมความปลอดภัยในการทางานเพื่อให้พนัก งานทุกคนได้เ กิดการยอมรับ
เชื่อถือ และปฏิบตั ิตามระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับในการทางานปฏิบตั ิเพื่อไม่ให้เกิดความ
ผิดพลาดในการทางาน โดยต้องเริม่ ดังนี้
1. ชี้บ่ง พฤติก รรมที่ไ ม่พึง ประสงค์ห รือ ไม่ต้อ งการ (Identification) ของพนัก งาน
ผูป้ ฏิบตั งิ าน ซึง่ ปรากฏอย่างชัดเจนในแต่ละคนทีป่ ฏิบตั งิ าน ผูน้ าต้องสะท้อนให้พนักงานเห็นว่า
พฤติก รรมดังกล่ า วจะก่ อ ให้เ กิดความเสี่ย งหรือ อัน ตรายที่จะเกิด ขึ้น ได้ และส่ ง ผลต่ อ ความ
เสียหายทัง้ ตัวพนักงาน และองค์การ
2. วางแผนเตรียมการ และจัดทากลยุทธ์ในการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม (Preparing and
Strategy) โดยแรงกระตุ้น หรือเสริมสร้างแรงจูงใจเชิงบวก (Positive Reinforcement) การ
ดาเนินการเพื่อจัดทาแผนการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัย ผูน้ าต้องมีการศึกษาพฤติกรรม
โดยธรรมชาติของมนุษย์เพื่อให้สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมทีเ่ กี่ยวข้องในการทางานทีเ่ กิดความ
ปลอดภัย รวมทฤษฎีเกีย่ วกับพฤติกรรมของมนุษย์มาดาเนินการจัดทากลยุทธ์ให้เกิดการกระตุ้น
หรือแรงจูงใจให้เกิดขึน้ กับพนักงานให้มคี วามพึงพอใจและสอดคล้องกับบริบทขององค์การด้วย
3. มีระบบการประเมินผลและติดตามผล (Evaluation and Follow up) การส่งเสริม
พฤติก รรมความปลอดภัย ในการท างาน เมื่อ ผู้น าได้ม ีก ารจัด ด าเนิ น การ กิจ กรรมที่ท าให้
พฤติกรรมการทางานของพนักงานมีการเปลีย่ นแปลง หรือสนองตอบความปลอดภัยทีจ่ ะเกิดขึน้
ในการทางานแล้ว สิง่ สาคัญทีจ่ ะดาเนินการคือการประเมินผล และติดตามพฤติกรรมต่าง ๆ ทีไ่ ด้
มีการดาเนินการไปแล้วเพื่อให้สามารถวัดได้ถงึ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่จะนาไปสู่การลด
อุบตั ิเ หตุ ใ นการทางานได้ ซึ่งผู้นาจะต้อ งมีการนาเสนอการประเมินและติดตามผลเป็ นระยะ
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการส่งเสริมพฤติกรรมและนามาซึง่ การปรับปรุงต่อไป
4. กาหนดต้นแบบเพื่อ นาไปสู่ การปฏิบตั ิใ นการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัย
เพื่อใช้ในการส่งเสริมครัง้ ต่อไป ขัน้ ตอนการดาเนินการนี้ผู้นาจะต้องมีการนาระบบการประเมิน
และติดตามผลของกิจกรรมในการส่งเสริมพฤติกรรมที่มนี าไปใช้ในการปฏิบตั ิมาทบทวนและ
กาหนดรูปแบบทีส่ ามารถนามาเป็ นต้นแบบทีด่ ี (best practice) ให้สามารถนาไปเป็ นแนวทางใน
การปฏิบตั ติ ่อไปได้อย่างยังยื ่ น
520

การดาเนิ นการส่งเสริ มความปลอดภัยที่มีประสิ ทธิ ภาพ


(สวินทร์ พงษ์เก่า, ม.ป.ป., www.shawpat.or.th) ได้กล่าวไว้ว่าการดาเนินการส่งเสริม
ความปลอดภัยทีม่ ปี ระสิทธิภาพมีมากมายหลายแบบ โปรแกรมการส่งเสริมโดยทัวไปจะมี ่ ระดับ
ดังนี้
1. ความตระหนัก (awareness) การกระตุ้นความสนใจในโปรแกรมความปลอดภัย
ด้วยการออกแบบให้เกิดความสนใจของบุคคลต่อโปรแกรมความปลอดภัยว่า คิดอะไร และจะทา
อะไร วัตถุประสงค์ของการตระหนักก็คอื การทาให้บุคคลจานวนมากทีส่ ุด คิดและพูดถึงความ
ปลอดภัย กิจ กรรมที่ใ ห้เ กิด การตระหนั ก ควรจะมุ่ ง เน้ น ไปที่ปั ญ หาที่ม ีอ ยู่แ ละการสัม ผัส
(Exposure) ของแต่ละองค์กร และของแต่ละประเภทการปฏิบตั กิ าร (Type of Operation)
ทางเลือกของเครือ่ งมือและวิธกี ารในการส่งเสริมมีมากมายหลายแบบในราคาของการดาเนินการ
ที่ต่ า(ดูรูปที่1เป็ นตัว อย่าง)การพิจารณารูปแบบจะขึ้นอยู่กบั นโยบายของบริษัท การสัมผัส ที่
เฉพาะเจาะจง (Specific Exposure) ความสูญเสียที่เคยเกิดขึ้น และตัวผู้ปฏิบตั งิ าน เช่น
ระดับความชานาญ (Skill Level) พืน้ ฐานด้านเทคนิค และระยะเวลาของประสบการณ์ในงาน
นัน้ องค์กรควรเลือกการส่งเสริมทีต่ รงกับปั ญหาวิกฤต (Critical Problems) และตรงเป้ าหมาย
ของปั ญหาเฉพาะของหน่วยงาน การเปลีย่ นแปลงความสนใจในความปลอดภัยไปสู่นิสยั (Habit)
ของพฤติกรรมความปลอดภัยต้องการความพยายามอย่างต่อเนื่อง โดยทีม่ นั จะเริม่ ต้นจากการ
ตระหนักจนกระทังบุ ่ คคลส่วนใหญ่พร้อมสาหรับระดับต่อไป คือการยอมรับ (Acceptance)
2. การยอมรับ (acceptance) การมีส่วนร่วมในการกระทาการส่งเสริมพฤติกรรมความ
ปลอดภัย นับเป็ นสิง่ สาคัญมากในกิจกรรมความปลอดภัยในการทางาน และกิจกรรมจะส่งผลให้
พนักงานมีการปฏิบตั กิ จิ กรรมร่วมกันอย่างชัดเจนด้วยแนวทางทีไ่ ด้กาหนดไว้ ผลลัพธ์ของการ
กระทากิจกรรมจะอาศัยเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ทส่ี าคัญ โดยทีผ่ บู้ ริหารจะต้องมีพนั ธะสัญญา
(Commitment) ด้วยการกาหนดเป็ นนโยบายและประกาศให้เป็ นทีช่ ดั เจนและให้เกิดการยอมรับ
และปฏิบตั ิต ามด้ว ยการผลักดันจากหัว หน้ างานในทุก ภาคส่ว น ซึ่งจะทาให้เห็นถึงการบรรลุ
เป้ าหมายของกิจกรรมในการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยด้วยการมีส่วนร่วมแบบอาศัยทีม
ทีร่ ่วมแรงร่วมใจในการดาเนินตามกิจกรรมอันเป็ น สิง่ ส่งเสริมให้พนักงานทุกคนได้ช่วยเหลือกัน
ในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของแต่ ละคนให้นาไปสู่ก ารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทาง
ส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน ซึง่ เป็ นการสร้างรูปแบบทีด่ ใี ห้มแี นวปฏิบตั ติ ่อไปให้
คนสู่รุ่นไปในอนาคตได้ อันเป็ นมาจากการสนับสนุ นจากผู้บริหารที่มคี วามมุ่งมัน่ จริงใจต่อ
พนักงานทาให้เกิดการยอมรับแบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงและนาไปสู่การปฏิบตั ทิ ย่ี งยื ั ่ นต่อไป
3. การปฏิ บตั ิ (application) ในขัน้ ของการปฏิบ ัติเ ป็ นการดาเนิน การลงมือ กระท า
โดยระดับทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านมีส่วนร่วมต่อ กิจกรรมที่เป็ นโครงการความปลอดภัยในการทางาน ด้วย
การมีกจิ กรรมและมีส่วนร่วมในทีมและคณะกรรมการความปลอดภัย (Safety teams and
521

committees) และการนาเสนอความคิดเห็นของเขาผ่านระบบข้อเสนอแนะ ซึง่ เป็ นการสะท้อนให้


เห็นถึงการปฏิบตั ใิ นระดับที่บุคคลได้เรียนรูโ้ ดยการปฏิบตั ิ (Leaning by doing) และได้รบั
ประสบการณ์ ท่ีเ กิดกับผู้ปฏิบตั ิจริง ทาให้เกิดผลลัพธ์ท่ี เ ป็ นประโยชน์ ใ นด้านความปลอดภัย
ผูเ้ ชีย่ วชาญความปลอดภัยมืออาชีพเชื่อว่าผูป้ ฏิบตั ิงานทีม่ สี ่วนร่วมในโครงการความปลอดภัยมี
ผลต่ อ การลดสถิติอุ บตั ิเ หตุ ท่ีเ กิด จากการทางาน และเจ็บป่ วยอันเนื่อ งจากการทางานด้ว ย
การปฏิบตั ทิ ่ปี ลอดภัยสามารถนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ (Attitude) และมีส่วนช่วยให้
ผู้ปฏิบตั ิงานเข้าใจวิธกี ารที่พนักงานได้รบั จากการสร้างจิตสานึก ด้านความปลอดภัย (Safety
Concious)
4. การรับไว้ในอุปนิ สยั ที่ เกิ ดใหม่ (assimilation) เมื่อมีการยอมรับในการปฏิบตั ติ าม
การรับไว้จงึ เกิดขึ้นด้วยการมีทศั นคติด้านความปลอดภัยที่เข้าไปลึกถึงความรู้สกึ นึกคิดของ
ตนเอง การมีคุณค่า และเห็นถึงความสาคัญในการปฏิ บตั ิท่สี ่ งผลลัพธ์ท่ดี ใี นพฤติกรรมความ
ปลอดภัย ทีเ่ ป็ นผลผลสะท้อนจากนิสยั ของพฤติกรรมความปลอดภัย จึงแสดงให้เห็นว่าในระดับ
นี้ถอื ว่าการปฏิบตั กิ จิ กรรมส่งเสริมความปลอดภัยต่อการเปลีย่ นพฤติกรรมประสบความสาเร็จ ได้
ดีจ าเป็ น ต้อ งพัฒ นาการตามล าดับ ทัง้ 4 ระดับ ที่ต้อ งน ามาบูร ณาการอย่ า งผสมผสานด้ว ย
กระบวนการทัง้ 4 เพื่อให้เกิดการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยให้เ กิดขึ้นกับพนักงานที่
สามารถลดอุบตั เิ หตุ การบาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางานของผูป้ ฏิบตั งิ านได้
จากการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน จึงทาให้มผี ใู้ ห้ความสนใจไม่ว่ า
จะนักวิชาการ และสถานประกอบการหรือผูท้ ม่ี สี ่วนได้เสียเกี่ยวกับการทางานให้เกิด พฤติกรรม
ความปลอดภัยนัน้ ได้รบั ความสนใจอย่างแพร่หลาย และงานวิจยั ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมความ
ปลอดภัยดังที่ได้กล่าวไปนัน้ ส่วนใหญ่ลว้ นแต่เป็ นการศึกษาเพื่อหาแนวทางการพัฒนาวิธกี าร
ส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัย มีผู้ให้ความหมายของกระบวนการส่งเสริมพฤติกรรมความ
ปลอดภัยไว้ดงั นี้
วีระ ซื่อสุวรรณ (2546, หน้ า 3) ให้ความหมายของการส่งเสริมพฤติกรรมความ
ปลอดภัยคือ การนาหลักการของการวิเคราะห์พฤติกรรมมาทาให้ผลงานด้านความปลอดภัย
พัฒนาขึน้ อย่างต่อเนื่อง ด้วยวิธกี ารชีบ้ ่งพฤติกรรมเสีย่ ง (Risk behavior) แล้วกาจัด
ปฐมมาภรณ์ ทศพล (2551, หน้า 29) ให้ความหมายว่า การส่งเสริมพฤติกรรมความ
ปลอดภัย เป็ น เครื่อ งมือ ในการลดอุ บ ัติเ หตุ เนื่ อ งมาจากเหตุ ผ ลในด้า นพฤติก รรมศาสตร์
การศึก ษาและจัด ทาพฤติก รรมที่ม ีมาตรฐานและเข้า ใจในธรรมชาติข องพฤติก รรม เพื่อ ให้
พนักงานปฏิบตั ติ ามพฤติกรรมที่ถูกต้อง ซึ่งทาให้เกิดการปลูกฝั งความปลอดภัยในการทางาน
อย่างถาวรจึงถือเป็ นกลยุทธ์หนึ่งที่จะช่วยควบคุมให้คนเกิดพฤติกรรมที่ปลอดภัยได้โดยการ
อาศัยหลักการจูงใจ
จากความหมายของการส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยที่กล่าวมานัน้ จึงสรุปได้ว่า
การส่งเสริมพฤติกรรมความปลอดภัย หมายถึง กระบวนการในการชีบ้ ่งพฤติกรรมเสีย่ งจากการ
522

ปฏิบตั ิงาน เพื่อดาเนินการก าจัดหรือ ลดพฤติกรรมเสี่ยงนัน้ ด้ว ยวิธ ีการที่เ หมาะสมและเป็ น


วิธกี ารเกี่ยวข้องกับปั จจัยในการแสดงออกมาของพฤติกรรมความปลอดภัย รวมทัง้ การกระตุ้น
พฤติกรรมความปลอดภัยทีพ่ งึ ประสงค์ดว้ ยการเสริมแรง การให้รางวัลหรือการชมเชย
นอกจากนี้ นคร สะสม, (2551, หน้า 96-107) ได้ศกึ ษาวิจยั พฤติกรรมมนุ ษย์และความ
ปลอดภัยในการทางาน กรณีศึก ษา บริษัทแมทเทล กรุงเทพฯ จากัด พบว่า ขัน้ ตอนในการ
พัฒนาพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางาน มีขนั ้ ตอนดังนี้
1. การวางแผนดาเนินการ ฝึกอบรมการดาเนินการ จัดทาแบบสังเกตพฤติกรรมความ
ปลอดภัย ฝึกอบรมการใช้แบบสังเกตพฤติกรรมให้กบั ผูส้ งั เกตการณ์
2. ทาการสังเกตและค้นหาสาเหตุของพฤติกรรมเสีย่ งหรือปั ญหาความปลอดภัยต่าง ๆ
โดยใช้แบบสังเกต (observation form) แบบบันทึก (memory)
3. วิเคราะห์หาสาเหตุของพฤติกรรมเสีย่ งทีเ่ ป็ นปั ญหา พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนต้อง
สังเกตและวิเคราะห์ปัญหาอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ ในสถานทางาน หรือความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ และ
ให้รายงานต่อหัวหน้างาน หลังจากนัน้ นามาวิเคราะห์ร่วมกัน โดยผูป้ ฏิบตั งิ านจะเป็ นให้ขอ้ มูลที่
เป็ นข้อเท็จจริง
4. จัดทาแผนเพื่อปรับปรุงพฤติกรรมความปลอดภัย เมื่อทราบการวิเคราะห์ความเสีย่ ง
หรือการวิเคราะห์อุบตั เิ หตุของผูป้ ฏิบตั งิ านแต่ละหน้าทีท่ ่อี าจจะเกิดขึน้ แล้วจึงนามาสรุปร่วมกัน
โดยมีก ารเลือ กมาจัด ทาแผนเพื่อ ทาการปรับ ปรุง แก้ไ ขให้เ กิ ด พฤติก รรมที่ทาให้เ กิดความ
ปลอดภัย ถึงแม้ว่าได้มกี ารทาแผนแล้วนัน้ ก็ยงั ไม่สามารถทราบผลที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุง
ดังนัน้ จึงต้องนาไปสู่การดาเนินการปฏิบตั ิ
5. ดาเนินงานตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้ติดตามประเมินผลการดาเนินงานอย่าง
ต่อเนื่องทุกขัน้ ตอน การปฏิบตั ติ ามแผนที่ได้กาหนดไว้แล้วนัน้ หัวหน้างานจะต้องมีสนับสนุ นให้
ความช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ เช่น ความรู้ งบประมาณ ความร่วมมือ เป็ นต้น และต้องมีการกากับ
ติดตาม ตรวจติดตามอย่างต่อเนื่อง หากมีขอ้ ทีต่ ้องปรับปรุงก็จาเป็ นทีจ่ ะต้องนามาปรับปรุงอีก
ได้
อีกทัง้ ยังมีงานวิจยั ของ ปฐมาภรณ์ ทศพล (2551, หน้า 53-57) ได้ศกึ ษาวิจยั การวัด
พฤติกรรมความปลอดภัยที่พงึ ประสงค์สามารถพิจารณาได้จากการศึกษาการพัฒนาพฤติกรรม
ความปลอดภัยของพนักงานช่างซ่อมบารุงโดยใช้หลักการ (Behavior based safety) ใน
โรงงานผลิตปูนปลาสเตอร์ โดยวัดพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางานจากระดับความถี่ของ
พฤติกรรมความปลอดภัยออกมาแสดงออกมา เช่น การแสดงออกทุกครัง้ หมายถึง ได้ปฏิบตั ติ ่อ
สิง่ นัน้ สม่าเสมอเป็ นประจา (ในจานวน 10 ครัง้ ปฏิบตั ิได้ทงั ้ 10 ครัง้ ) โดยวัดพฤติกรรมความ
ปลอดภัยในด้านต่ าง ๆ เช่น การปฏิบตั ิต ามกฎระเบียบความปลอดภัย การส่ งเสริมให้เ กิด
พฤติกรรมความปลอดภัยของเพื่อนร่วมงาน เป็ นต้น ซึ่งจากการศึกษานี้สามารถจัดกลุ่มของ
523

พฤติก รรมความปลอดภัย ที่ท าการวัด เป็ น กลุ่ ม ได้แ ก่ พฤติกรรมความปลอดภัย ในการใช้


เครื่องมือหรืออุปกรณ์ พฤติกรรมความปลอดภัยเกี่ยวกับความพร้อมของร่างกายพฤติกรรม
ความปลอดภัยด้านการยศาสตร์ (Ergonomic) และพฤติกรรมในการดูแลความปลอดภัย ของ
ผู้ร่วมงาน โดยในการศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยนี้ใช้วธิ สี งั เกตการณ์ เกี่ยวกับการทางาน
ของเพื่อนร่วมงานในการชีบ้ ่งหาพฤติกรรมเสีย่ งของผูป้ ฏิบตั งิ านในตาแหน่ งงานนัน้ หัวหน้างาน
จะเป็ นผู้ดูแลเกี่ยวกับวิธกี ารทางาน อุปกรณ์ เครื่องมือในการทางาน อุปกรณ์สวมใส่ป้องกัน
อันตรายส่วนบุคคล หรือหัวหน้างานจะต้องเป็ นผู้ดูแลอานวยความสะดวกต่าง ๆ ให้พนักงาน
หรือลูกน้องมีความปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ เฝ้ าสังเกตการณ์ทางาน พฤติกรรมต่าง ๆ
ในการทางานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานให้มากที่สุ ด และความปลอดภัยในการ
ทางานจะเกิดขึ้นได้กบั ตัวผู้ปฏิบตั ิงานก็คอื การสร้างจิตสานึกและปลูกฝั งให้พนักงานมีความ
ปลอดภัยในการทางานแต่ต้องอาศัยเทคนิค วิธกี าร และกระบวนการต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างให้
เกิดการปฏิบตั งิ านเพื่อความปลอดภัยอย่างต่อเนื่องและเป็ นนิสยั
การสร้างจิ ตสานึ กด้านความปลอดภัยในการทางาน
อุบตั เิ หตุส่วนใหญ่ท่เี กิดขึน้ ในการทางานในสถานประกอบการหากพิจารณาให้ชดั เจน
ด้ว ยหลัก การอย่างเป็ นวิชาการ และเป็ นเหตุ เ ป็ นผลนัน้ จะแบ่งได้ใ น 3 ส่ ว นสาคัญ ๆ ได้แก่
(1) ความผิดพลาดของเครื่องจักร (Mechanical failure) (10%) (2) เกิดจากการะทาของมนุ ษย์
(Human Cause) (88 %) และ (3) เกิดจากโชคชะตา (2%) จากการพิจารณาให้เห็นถึงการเกิด
อุ บ ัติเ หตุ ส่ ว นใหญ่ มาจากการกระท าของมนุ ษ ย์นัน้ ทาให้ส ถานประกอบการต่ า ง ๆ ต้อ งให้
ความสาคัญทีค่ น หรือผูป้ ฏิบตั งิ านทีใ่ กล้ชดิ กับหน้างานมากทีส่ ุด ทาให้โอกาสทีเ่ สีย่ งในการเกิด
เหตุการณ์ท่ไี ม่พงึ ประสงค์มากทีส่ ุด เมื่อเกิดเหตุการณ์เช่นนี้แล้วย่อมมาซึ่งความสูญเสียตัง้ แต่
เล็กน้อยไปจนถึงเสียหายมากทีส่ ุด
การสร้างจิตสานึกความปลอดภัยสาหรับพนักงานหรือลูกจ้างไม่สามารถทาได้ภายใน
ช่ ว งระยะเวลาที่จ ากัด หรือ ระยะสัน้ จ าเป็ น ต้ อ งหาวิธ ีก ารเทคนิ ค ที่ก ระตุ้น จูง ใจ ให้เ ห็น ถึง
เหตุการณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กิดผลร้ายกับการเกิดอุบตั เิ หตุในการทางานหากไม่มคี วามระมัดระวังหรือใส่
ใจกับการปฏิบตั งิ านทีเ่ คร่งครัดหรือตามกฎระเบียบทีอ่ งค์การได้กาหนดไว้ และต้องมีแนวปฏิบตั ิ
และการลงโทษอย่างจริงจัง เนื่องจากผลของข้อบังคับของกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานด้วย

ความหมายของจิ ตสานึ กด้านความปลอดภัย


จิตสานึก (conscious mind) เป็ นสภาวะปกติของบุคคลในการดารงชีวติ รูต้ วั ว่า ทา
อะไร เป็ นใครและอยูท่ ไ่ี หน ซึง่ ก็คอื สภาพทีบ่ ุคคลรูต้ วั ว่าแสดงพฤติกรรมอะไรออกไปและแสดง
ออกไป ตามหลักเหตุผล หรือแสดงตามแรงผลักดันจากภายนอก
524

วีระ ซื่อสุวรรณ (2550, หน้า 60) ได้ให้ความหมายของ จิตสานึก (safety awareness)


ไว้ว่า คุณค่าภายในของบุคคลที่สะท้อนออกมาในรูปพฤติกรรมทีแ่ สดงออกมาในรูปแบบต่าง ๆ
รวมทัง้ เกิดจากการรับรู้ ทัศนคติ และประสบการณ์ เป็ นต้น ทาให้มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไป
ในทางทีด่ ขี น้ึ
วิธใี นการสร้างจิตสานึกความปลอดภัยที่นิยมใช้กนั มากที่สุดก็คอื การกระตุ้นให้เห็น
ความสาคัญของการกระทาหรือละเว้นการกระทาว่าเกิดประโยชน์หรือโทษอย่างไร จึงสามารถ
ทาให้มวี ธิ กี ารสร้างจิตสานึกความปลอดภัย ดังนี้
1. เรียนรู้จากอุบตั ิ เหตุ พนักงานสามารถเรียนรูก้ ารเกิดอุบตั เิ หตุเพื่อสร้างจิตสานึก
ด้านความปลอดภัย ได้แก่
1.1 ความสูญเสียจากอุบตั เิ หตุ บางครัง้ ทรมานกว่าตาย ถ้าเกิดพิ การ หรือทุพพล
ภาพ สูญเสียอวัยวะ แขน ขาขาด อัมพาต ทาให้เป็ นภาระต่อครอบครัว สังคม และประเทศชาติ
1.2 ไม่มใี ครคาดคิด คิดว่าคงไม่เป็ นไรต่ อ เมื่อ เกิดแล้ว จึงเสียใจมากกว่า จึงอาจ
เหมือนโบราณได้กล่าวไว้ว่า ‚ไม่เห็นโรงศพ..ไม่หลังน ่ ้าตา‛
1.3 ผู้ป ระสบอุ บ ัติเ หตุ ม ัก เป็ น คนขยัน แต่ ไ ปท างานที่ต นเองไม่ม ีท ัก ษะ ความ
ชานาญ จึง ทาให้เ กิดอุ บตั ิเ หตุ ซึ่ง ผลมาจากการขาดความรู้ ความช านาญ ดังนัน้ ในส่ ว นนี้
หัวหน้ างานจะต้องมีการฝึ กอบรมให้พนักงานเกิดความรู้ ความชานาญ ก่อนจึงจะสามารถให้
ปฏิบตั งิ านได้
1.4 ความประมาทเป็ นพืน้ ฐานพฤติกรรมของมนุ ษย์จงึ ต้องมีกฎระเบียบ ข้อบังคับที่
เคร่งครัดให้ทุกคนปฏิบตั ติ ามเพื่อไม่ให้เกิดอันตรายจากการทางาน
1.5 อุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ จะมีระดับความรุนแรง มีมากกว่า 1 สาเหตุ
1.6 ไม่มใี ครต้องการอยากให้เกิดอุบตั เิ หตุ แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็ต้องมีการจดจาไว้
เป็ นประสบการณ์เพื่อไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุซ้าอีกและจะต้องนาไปสอนหรือเล่าให้คนอื่นฟั ง
1.7 การปฏิบตั งิ านของพนักงานที่ปฏิบตั งิ านทุกวันประจา ๆ ย่อมมีการเกือบเกิด
อุบตั เิ หตุบา้ งหลายครัง้ ก่อนทีจ่ ะเกิดอุบตั เิ หตุ
1.8 เมือ่ อุบตั เิ หตุเกิดขึน้ แต่ละครัง้ ต้องเป็ นความรับผิดชอบของทุกคน เนื่องจากการ
สร้างความปลอดภัยให้เกิดขึน้ ในสถานทีท่ างานต้องได้รบั ความร่วมมือ
1.9 การแก้ไขการเกิดอุบตั ิเหตุ หากแก้ปัญหาไม่ตรงกับสาเหตุ ก็จะทาให้กลับมา
เกิดอุบตั เิ หตุซ้าอีกได้เสมอ
ดังนัน้ การเรียนรูจ้ ากการเกิดอุบตั เิ หตุนนั ้ คนต้องให้ความร่วมมือในการแก้ ไขปั ญหา
ร่วมกันให้จงได้ โดยเมื่อ มีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้นจะต้องมีการรายงานผู้บงั คับบัญชา และผู้ท่มี สี ่ว น
เกีย่ วข้องโดยตรง
2. ไปเยี่ยมคนบาดเจ็บ หรือได้รบั อุบตั ิ เหตุ การสร้างจิตสานึกความปลอดภัยอาจทา
ได้โดยการให้เห็นสิง่ ที่เกิดขึน้ จริงจะได้เกิดความกลัวทาให้เกิดความระมัดระวังมากขึน้ เพราะ
525

การเกิด อุ บ ัติเ หตุ ไ ม่ ไ ด้เ กิด จากเคราะห์ก รรม เกิด จากการกระท าของมนุ ษ ย์ ท่ีข าดความ
ระมัดระวัง ประมาท เลินเล่อ ขาดความรู้ ความเข้าใจ ดังนัน้ การจะช่วยให้พนักงานได้ตระหนัก
ถึงความปลอดภัยหัวหน้างานจะต้องทาให้เป็ นแบบอย่างทีถ่ ูกต้อง
3. หัวหน้ างานต้ องทาให้ เป็ นแบบอย่างที่ ถกู ต้ อง หัวหน้างานต้องเป็ นผู้มภี าวะผูน้ า
โดยการทาให้ดูเป็ นตัวอย่าง ซึ่งโดยทัวไปแล้ ่ วหัวหน้างานกะลูกน้ องจะมีความใกล้ชดิ กันมาก
ทีส่ ุด ซึง่ พฤติกรรมทีม่ กี ารสังเกต ได้แก่
3.1 ลูกน้องมักจะสังเกตหัวหน้าเมือ่ เวลาทางานเสมอ หัวหน้าจึงต้องทางานด้วยการ
ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการทางานโดยเคร่งครัด เพื่อให้เป็ นแบบอย่างทีถ่ ูกต้องหรือเป็ นตัวอย่างที่ดี
ซึง่ จะสามารถกระตุน้ ลูกน้องได้มากเนื่องจากลูกน้องได้เห็นเป็ นประจาทุกวัน
3.2 หัวหน้างานจะต้องกากับติดตามการทางานของลูกน้องอย่างใกล้ชดิ เมื่อลูกน้อง
ปฏิบตั งิ านอย่างถูกต้องก็ให้การชมเชย หรือรางวัล และหากเมื่อ ลูกน้องปฏิบตั งิ านไม่ถูกต้องก็
ต้องให้ได้รบั การแก้ไขให้ถู กต้อง และต้องอธิบายถึงความเสียหายหากเกิดอันตรายจากการ
ทางานทีไ่ ม่ถูกต้องด้วย
4. พาไปศึ กษาดูงาน โดยผู้ท่รี บั ผิดชอบโดยเฉพาะเจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการ
ทางานควรไปดูงานเพื่อนาเอาเทคนิคความปลอดภัยมาประยุกต์ใช้ในการทางาน และเมื่อเกิดผล
สัมฤทธิ ์ก็นาลูกน้องไปดูเช่นเดียวกัน
5. เข้ า รับ การฝึ กอบรม หัว หน้ า งานจะต้อ งให้ผู้ป ฏิบ ัติง านเข้า รับ การฝึ ก อบรมใน
ลักษณะงานทีล่ กู น้องปฏิบตั เิ นื่องจากจะได้พฒ ั นา และเพิม่ พูนความรู้ ให้สามารถทางานได้อย่าง
ปลอดภัย
กิ จกรรมในการสร้างจิ ตสานึ กด้านความปลอดภัย
1. กิ จกรรม KYT เพื่อความปลอดภัย
กิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อความปลอดภัยทาให้อุบตั เิ หตุเป็ นศูนย์หรือการปราศจากอุบตั เิ หตุ
ในการทางาน (Kiken Yochi Training) หรือ การหยังรู ่ อ้ นั ตรายล่วงหน้า กิจกรรม KYT ซึ่ง
หมายถึง กิจกรรมทีจ่ ดั ทาขึน้ อย่างเป็ นระบบส่งเสริมความปลอดภัยของทุกหน่ วยงานในองค์การ
เป็ นระบบการควบคุมและการจัดการที่กลุ่มกิจกรรมย่อยจัดทาขึน้ เอง ซึ่งเป็ นการรณรงค์เพื่อ
หาทางป้ องกันและแก้ไขปั ญหาด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทางาน และทีมงาน
ต้องยึดหลักการ (หัวใจ) ให้ความสาคัญต่อคน (ปราศจากอุบตั เิ หตุ) อย่างจริงจัง ซึง่ KYT จึง
หมายถึง การวิเคราะห์หรือคาดการณ์ว่าจะมีอ ันตรายใด ๆ แอบแฝงอยู่ในงานที่ทุกคนกาลัง
ปฏิบตั ิ แล้วหาทางป้ องกัน หรือลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ ให้เป็ นศูนย์
โดยทัวไปในสถานประกอบการอุ
่ บตั เิ หตุส่วนใหญ่เกิดจากการปฏิบตั งิ านทีผ่ ดิ พลาดของ
คน ได้แก่ การทางานลัดขัน้ ตอน เผลอเลอ เหม่อลอย ขาดสมาธิหรือขาดสติ เมื่อเป็ นเช่นนัน้
พนักงานสามารถมองเห็นอันตรายล่วงหน้าได้อย่างรวดเร็ว อุบตั เิ หตุกจ็ ะลดลงได้ กิจกรรม KYT
526

เป็ น แนวคิด ของญี่ป่ ุนซึ่ง ใช้ท ดลองและปฏิบ ัติใ ห้ก ับ พนัก งานด้ว ยการฝึ ก ฝนพนัก งานให้ม ี
ความสามารถพิเศษในการมองเห็นอันตรายล่วงหน้าได้ จึงต้องฝึกฝนทุกวัน เสมือนการคิดเลข
เร็ว ถ้ามีการฝึ กฝนทุกวันก็จะทาให้เกิดประสบการณ์ท่จี ะรู้ล่วงหน้ าถึงอันตรายก็จะทาให้เกิด
ความระมัดระวัง ดังนัน้ กิจกรรม KYT จะเป็ นการฝึกฝนมองหาอันตรายทุกวัน สมองก็จะได้รบั รู้
ทัง้ จากมือ ตา หู และปาก กลายเป็ นความสามารถในการหยังรู ่ อ้ นั ตรายล่วงหน้าได้อย่างรวดเร็ว
ซึง่ กิจกรรม KYT ประกอบด้วยหลักการดังนี้
1. Kiken หมายถึง อันตราย
2. Yochi หมายถึง การพยากรณ์หรือคาดการณ์
3. Training หมายถึง การฝึกอบรม หรือการให้ความรู้
ดังนัน้ กิจกรรม KYT เป็ นการฝึ กการหยังรู่ ร้ ะวังอันตราย คือ กิจกรรมที่ปฏิบตั ริ ่วมกัน
เป็ นทีมเพื่อความปลอดภัยในการทางาน ซึ่งไม่สามารถทาเพียงคนเดียวได้ เป็ นกิจกรรมที่ฝึก
การพยากรณ์อนั ตรายภายใต้แนวความคิด ‚ช่วยกันทาอย่างรวดเร็ว แม่นยาถูกต้อง‛ โดยเฉพาะ
การชี้น้ิว พูดย้า หรือ กระทาด้วยมือชี้ปากย้า เป็ นการฝึ กอบรม และเทคนิคการใช้ความเร็ว
ประสาทสัมผัส ด้านอันตราย การมีสมาธิ ความกระตือรือร้น ความร่วมมือร่ว มใจ และความ
สามัคคีเป็ นหนึ่งเดียว กิจกรรม KYT จึงเน้นกิจกรรมการแก้ปัญหาด้วยตนเอง รูจ้ กั คิดแก้ปัญหา
ด้วยตนเองก่อน ส่งเสริมให้พนักงานลงมือทาด้วยตนเอง ไม่มกี ารบังคับ เมื่อพนักงานพบปั ญหา
ก็คดิ แก้ปัญหาด้วยตนเองคิดร่วมกันจุดสาคัญของกิจกรรมนี้ จึงให้ความสาคัญในการสร้างวินัย
ความสามัคคี ความกระตือรือร้น ให้เกิดขึน้ ในการทากิจกรรมให้สาเร็จ
ขัน้ ตอนการทากิ จกรรม KYT
จะดาเนินการตามขัน้ ตอนที่เรียกว่า ทา Touch and Call หรือมือชี้ ปากย้า หรือ
เรียกว่า 4R ดังนี้
1. ค้นหาอันตราย ซึง่ กิจกรรมจะมีการดาเนินการ โดยสมาชิกช่วยกันตอบว่า
1.1 เพราะสมชายหันไปคุย น้ามันจึงหกออกนอกถัง
1.2 เพราะสมชายมัวแต่คุย จึงอาจเติมน้ามันล้นถังได้
1.3 เพราะถังน้ามันวางเกะกะ สมชายจึงอาจสะดุดล้มได้
1.4 เพราะสมชายไม่ได้สวมหน้ากากจึงสูดหายใจเอาไอน้ามันเข้าไปในปอด

2. เลือกอันตราย ซึง่ กิจกรรมจะมีการดาเนินการ โดยสมาชิกช่วยกันเลือกได้ขอ้ สรุปว่า


‚เพราะสมชายมัวแต่คุย จึงอาจเติมน้าล้นถังได้‛
3. หาวิธปี ้ องกัน ซึง่ กิจกรรมจะมีการดาเนินการ โดยให้สมาชิกช่วยกันค้นหา
3.1 เวลาเติมน้ามันให้มองทีถ่ งั อย่ามัวแต่คุย
3.2 หยุดงาน วางหัวจ่าย ก่อนเริม่ คุย
527

3.3 หาคนอื่นมาทาแทน ไม่ทาหลายอย่างพร้อมกัน


4. เลือกวิธปี ้ องกัน ซึง่ กิจกรรมจะมีการดาเนินการ โดยให้สมาชิกได้เลือก
‚หยุดงาน วางหัวจ่าย ก่อนเริม่ คุย‛
จากนัน้ ใช้มอื ชีป้ ากยา้ ว่า
‚ก่อนเริม่ คุยให้หยุดงาน วางหัวจ่าย ตกลง‛
2. กิ จกรรม QCC หรือ Quality Control Cycle
กิ จกรรม QCC หรือ Quality Control Cycle หมายถึง การควบคุมคุณภาพด้วย
กิจกรรมกลุ่ม
การควบคุ ม คุ ณ ภาพ คือ การบริห ารงานคุ ณ ภาพด้า นวัต ถุ ดิบ ขบวนการผลิต
และผลผลิต ให้ได้คุ ณภาพตามต้อ งการของลูกค้า ผู้มสี ่วนเกี่ยวข้อ งหรือตามข้อกาหนดของ
มาตรฐานทีต่ งั ้ ไว้ โดยมีเป้ าหมายป้ องกันและลดปั ญหาการสูญเสียทัง้ วัตถุดบิ ต้นทุนเวลา ต้นทุน
การผลิต
การควบคุมคุณภาพของการผลิตทาให้ส่งผลต่อผลผลิตทีไ่ ด้มาตรฐาน นัน่ หมายถึง
ประสิทธิภ าพในการทางานย่อ มเกิดขึ้น ในขณะเดียวกันต้อ งไม่เ กิด อุ บตั ิเ หตุ ใ นระหว่า งการ
ปฏิบตั งิ าน ซึง่ การทากิจกรรมการควบคุมคุณภาพค่าใช้จา่ ยในการผลิตต้องไม่มคี ่าใช้จ่ายสาหรับ
การหยุดงาน เนื่องจากการเกิดอุบตั เิ หตุในการทางาน และไม่มคี ่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
เกิดขึน้ ดังนัน้ การทากิจกรรมการควบคุมคุณภาพ

รูปแบบการทางานเป็ นทีมที่มีผลต่อความปลอดภัยในการทางาน
ในการจัดการความปลอดภัยในการทางานการสร้างให้พนักงานเกิดพฤติกรรมที่มกี าร
รับรูใ้ นการรับรูถ้ งึ ความปลอดภัยในการทางานผูน้ าจาเป็ นต้องอาศัยทักษะในการทางานเป็ นทีม
ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านให้ความร่วมมือในการปฏิบตั งิ านให้เกิดความปลอดภัยด้วยการปฏิบตั ติ ามผูน้ าที่
แสดงความต้องการให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน ซึง่ สามารถแสดงให้เห็นถึงปั จจัยต่าง ๆ
ดังแสดงให้เห็นในตารางที่ 8.2

ตารางที่ 8.2 ปั จจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการรับรูถ้ งึ ความปลอดภัยในการทางาน


ปัจจัย ผลกระทบ
ความยืดหยุน่ การจัด การความปลอดภัย ที่มีค วามยืด หยุ่น สูง อาจจะส่ง ผลที่ก่ อ ให้เ กิด ความ ไม่ป ลอดภัย หรือ
พนักงานละเลยไม่ใส่ใจในระเบียบกฎเกณฑ์การปฏิบตั งิ านทาให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ตลอดเวลา ในทาง
ตรงกันข้ามถ้าหากมีความเข้มงวดมากเกินไป อาจจะทาให้พนักงานเคร่งเครียดมากเกินไป จนอาจ
ทาให้เกิด การทางานที่ไม่ไ ด้ผลผลิตตามเป้ าหมายได้เ พราะมีค วามหวาดระแวงกลัวที่จะกระท า
ผิดพลาด
528

ตารางที่ 8.2 ปั จจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการรับรูถ้ งึ ความปลอดภัยในการทางาน (ต่อ)


ปัจจัย ผลกระทบ
การ ผูน้ าทีแ่ สดงออกถึงความปลอดภัยมักจะเดินตรวจตรา ดูแล ควบคุมการทางานของลูกน้องให้การปฏิบตั งิ าน
แสดงออก เป็ นไปตามขัน้ ตอนความปลอดภัย และช่วยแก้ไขปั ญหาทีอ่ าจจะเกิดขึน้ หรือ คอยเป็ นผูอ้ านวยความสะดวก
แก่พนักงาน
เน้นการ ผูน้ าทีเ่ น้นการเรียนรูจ้ ากตารามักจะชอบอ้างอิงจาก หนังสือ บทความ และชี้นาให้ลูกน้องปฏิบตั ติ าม
เรียนรู้ แบบที่ตนเองชอบ ในขณะที่ผู้นาที่ชอบเรียนรู้จากการกระทามักชอบให้ลูกน้ องเรียนรู้จากผลการ
ปฏิบตั งิ าน
เน้นการ ผูน้ าที่ประนีประนอมรับฟั งความคิดเห็นของพนักงาน มีการวางแผน และตัดสินใจร่วมกัน และนา
ปรองดอง ข้อมูลมาเป็ น พื้น ฐานในการอธิบายให้ม ีค วามสมเหตุ สมผลให้พนัก งานปฏิบ ัติง านให้ยอมรับใน
กฎระเบียบในการทางาน
ความรอบ ผูน้ าทีม่ คี วามรอบคอบระมัดระวังจะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพด้านความปลอดภัยเป็ นอย่างมาก
รูแ้ ละ
ความ
ระมัดระวัง
ทีม่ า : David L.Goetsch, 2055, p.78.

รูปแบบของผูน้ าด้านความปลอดภัยในการทางาน
ผู้นาด้านความปลอดภัยในการทางาน เป็ นบทบาทหนึ่งที่ผลักดันให้พนักงานสามารถ
ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบข้อบังคับในการทางานอย่างเคร่งครัดได้ โดยอาศัยผูน้ าทีเ่ ป็ นแบบอย่างที่
ดีชกั จูงใจหรือนาพาให้ผู้ตามปฏิบตั ิตามได้ ซึ่งต้องอาศัยคุณลักษณะของผู้นาที่ต้องมีบทบาท
สาคัญ สามารถสรุปได้ตามคุณลักษณะของผูน้ า ดังนี้
1. จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ ลักษณะการแสดงออกกิรยิ าทีด่ งี ามเหมาะสมเกิด
ความดีในทางทีถ่ ูกต้อง ยุตธิ รรม กฎเกณฑ์ หรือกฎหมายทีก่ าหนด และแบบแผนในการปฏิบตั ิ
ที่ดีงาม ดังนัน้ ผู้นาจึงต้อ งมีบทบาทในการประพฤติปฏิบตั ิต ัว ให้เ ป็ นแบบอย่างที่ดใี ห้กับ
พนักงานหรือลูกน้องในด้านการส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ ค่าจ้างทีจ่ ่าย
อย่างเป็ นธรรม การดู แลความเป็ นอยู่การทางานที่ปลอดภัยด้านเครื่องมือ เครื่อ งจักร ไม่ใ ห้
ลูกน้องทางานเกินกว่ากาลังจนนาไปสู่อนั ตรายหรืออุบตั เิ หตุในการทางาน
2. แรงจูงใจ หมายถึง พลังผลักดันให้ค นมีพฤติกรรม และยังกาหนดทิศ ทางและ
เป้ าหมายของพฤติก รรมนัน้ ด้ว ย คนที่มแี รงจูงใจสูง จะใช้ค วามพยายามในการกระทาไปสู่
เป้ าหมายโดยไม่ลดละ แต่คนทีม่ แี รงจูงใจต่ า จะไม่แสดงพฤติกรรม หรือไม่กล็ ม้ เลิก การกระทา
ก่อนบรรลุเป้ าหมาย ดังนัน้ ผู้นาจึงมีบทบาทสร้างแรงจูงใจหรือผลักดันให้พนักงานได้ประพฤติ
ปฏิบตั งิ านด้วยความปลอดภัยในการทางาน
3. ขอบเขตของงาน เมือ่ มอบหมายงานให้พนักงานตามขอบเขตหน้าทีข่ องงานพนักงาน
ย่อ มได้ร บั การสนับ สนุ น สิ่ง อ านวยความสะดวกในการท างานที่เ หมาะสมและถู ก ต้ อ งตาม
529

กฎหมายไม่ว่า จะเป็ นอุ ปกรณ์ เครื่องมือ ในการทางาน วันเวลาในการทางาน และค่าจ้างที่


เหมาะสมตามกฎหมายกาหนด
4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ผูน้ าย่อมสร้างความสัมพันธ์กบั พนักงานด้วยการทางาน
ในหน้ า ที่ใ นบทบาทผู้ ใ ต้ บ ัง คับ บัญ ชาและผู้ บ ัง คับ บัญ ชาเมื่อ มอบหมายงานให้ ก็ ย่ อ มมี
ความสัมพันธ์ทด่ี ตี ่อกันโดยเน้นการปฏิบตั งิ านไม่สร้างความสัมพันธ์ส่วนตัว

ตารางที่ 8.3 รูปแบบของผูน้ าด้านความปลอดภัยในการทางาน


คุณลักษณะของผู้นา ภาวะผู้นาแบบแลกเปลี่ยน ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง
จริยธรรม เน้ น จริย ธรรมการท างานที่เ ป็ นไป เน้นความยุตธิ รรมต่อทุกฝ่ าย
ตามสัญ ญา และจ่ า ยค่ า จ้ า งอย่ า ง
ยุตธิ รรม
แรงจูงใจ เน้ นด้านผลการปฏิบตั ิงานกับการให้ กาหนดวิสยั ทัศน์ในแนวทางสร้างสม
รางวัล เช่ น การก าหนดเป้ า หมาย ความจงรักภักดี และสร้างแรงจูงใจใน
ชั ด เจน การให้ แ นะน าแล ะการ การปฏิบตั งิ าน
ตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ าน
ขอบเขตของงาน พนั ก งานสามารถต่ อ รองผลการ ให้ความสาคัญของบุคคล
ปฏิ บ ั ติ ง านมี ก ารให้ ร างวั ล อย่ า ง พนักงานสามารถเรียกร้องขอรับการ
ยุตธิ รรม สนับสนุนเพื่อช่วยให้พนักงานทางาน
ให้ประสบความสาเร็จ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เน้นการปฏิบตั งิ านไม่เน้นบุคคล เน้นคนให้ความสาคัญกับพนักงาน
พนั ก งานมีส่ ว นร่ ว มในการก าหนด
แนวทางการปฏิบตั งิ าน
ทีม่ า : David L.Goetsch, 2055, p. 194.

สีและเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย
เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย (safety sign)
สลิลทิพย์ สินธุ สนธิชาติ (2557, หน้ า 269) เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย (safety
sign) หมายถึ ง เครื่อ งหมายที่ ต้ อ งการใช้ ส่ ือ ความหมาย โดยใช้ รู ป สี หรือ ข้ อ ความ ที่
เฉพาะเจาะจงกับผู้ท่ีอาจได้รบั อันตรายในสถานที่ทางาน โดยข้อความภายในป้ ายอาจจะสื่อ
ความหมายเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดอุบตั เิ หตุ (prevent accidents), อันตรายต่อสุขภาพ (health
hazards), ระบุสถานทีต่ งั ้ ของอุปกรณ์ป้องกันไฟไหม้ (fire protection) หรือการให้คาแนะนาใน
กรณีทเ่ี กิดเหตุฉุกเฉิน
ตาม มอก. 635 เล่ม 1 ได้กาหนดสีเพื่อความปลอดภัย, รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อ
ความปลอดภัย, เครื่องหมายเสริม และขนาดของเครื่องหมายและตัวอักษรของป้ ายสัญลักษณ์
เพื่อความปลอดภัยทีใ่ ช้ส่อื ความหมายต่าง ๆ แทนการใช้ขอ้ ความ โดยมีสาระสาคัญดังนี้
530

1. สีเพื่อความปลอดภัยและสีตดั
2. รูปแบบของเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย
3. เครือ่ งหมายเสริม
4. ขนาดของเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัยและความหมาย
5. ข้อแนะนาในการเลือกและการใช้เครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย
สีม ีค วามสัม พัน ธ์ เ กี่ย วกับ ความปลอดภัย ต่ อ การปฏิบ ัติง าน การเดิน ทาง และใน
ชีวติ ประจาวันของคน ความสัมพัน ธ์ของสีกบั ความปลอดภัย ซึ่งจะมีแสงมาช่วยให้เกิดความ
สว่างภายในห้องที่กาลังทางานหรือปฏิบตั งิ าน สีและแสงมีความสัมพัน ธ์ต่อความปลอดภัย สี
และแสงมีส่วนช่วยให้ภายในห้อง ทางานสว่างโดยการใช้แสงเท่าเดิม กล่าวคือ สีทใ่ี ช้ทาผนังและ
ฝ้ าเพดานทีอ่ ยู่ในโซนขาว จะทาให้การ สะท้อนของแสงเป็ นไปได้ดี ทาให้ภายในห้องดังกล่าวมี
ความสว่างผู้ปฏิบตั ิงานในห้อ งดังกล่าวเกิดการกระปรี้กระเปร่าอยากปฏิบตั ิงาน ไม่ง่วงนอน
ในทางตรงกันข้ามถ้าภายในห้องดังกล่าวทาสีมดื ทึบ เช่น สี เทา สีดา จะทาให้ผูป้ ฏิบตั งิ านรูส้ กึ
อึดอัด เกิดอาการง่วงนอน การปฏิบตั งิ านก็จะเกิดอันตรายขึน้ ได้
1. สีเพื่อความปลอดภัย
คือ สีท่กี าหนดในการบอกความหมายเพื่อความปลอดภัย ตาม มอก. 635 เล่ ม 1
กาหนดให้ใช้สเี พื่อความปลอดภัย เพื่อผูป้ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบการได้มคี วามรูแ้ ละเข้าใจใน
การเกิดความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน ซึง่ สามารถสรุปได้ดงั ตารางที่ 8.4

ตารางที่ 8.4 แสดงสีและเครือ่ งหมายแสดงความปลอดภัย


สีเพื่อความปลอดภัย ความหมาย ตัวอย่างการใช้งาน สีตดั
1*
หยุด - เครื่องหมายหยุด สีขาว
- เครื่องหมายอุปกรณ์หยุดฉุกเฉิน
- เครื่องหมายห้าม
- บัง คับ ให้ต้ อ งมีเ ครื่อ งป้ อ งกัน อัน ตราย
บังคับให้ตอ้ งปฏิบตั ติ าม ส่วนบุคคล สีขาว
- เครื่องหมายบังคับ
- ทางหนีไฟ
- ทางออกฉุกเฉิน
แสดงภาวะปลอดภัย -ฝั กบัวชาระล้างฉุกเฉิน
- หน่วยงานปฐมพยาบาล สีขาว
- หน่วยกูภ้ ยั
- เครื่อ งหมายสารสนเทศเกี่ย วกับ ความ
ปลอดภัย
531

ตารางที่ 8.4 แสดงสีและเครือ่ งหมายแสดงความปลอดภัย (ต่อ)


สีเพื่อความปลอดภัย ความหมาย ตัวอย่างการใช้งาน สีตดั
2**
ระวังมีอนั ตราย - ชี้ บ่ ง ว่ า อัน ตราย เช่ น ไฟ วัต ถุ ร ะเบิ ด สีขาว
กัมมันตภาพรังสี วัตถุมพี ษิ และอื่น ๆ
- ชีบ้ ่งถึงเขตอันตราย ทางผ่านที่มอี นั ตราย
เครื่องกีดขวาง
ทีม่ า: www.npc-se.co.th, 2560.
หมายเหตุ : 1* สีแดงยังใช้สาหรับอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภยั อุปกรณ์ดบั เพลิงและตาแหน่งทีต่ งั ้ อีกด้วย
2* อาจใช้สแี ดงส้มวาวแสงแทนสีเหลืองได้ แต่ไม่ให้ใช้แทนสีเหลืองกับเครื่องหมายเพื่อ
ความปลอดภัย

2. รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย
เครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย หมายถึง เครือ่ งหมายทีใ่ ช้ส่อื ความหมายเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยโดยมีส ี รูปแบบ และสัญลักษณ์หรือข้อความแสดงความหมายโดยเฉพาะเพื่อความ
ปลอดภัย
1. รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยและสีทใ่ี ช้ แบ่งเป็ น 4 ประเภท
ตามจุดประสงค์ของการแสดงความหมาย ดังตารางที่ 41
2. ให้แสดงสัญลักษณ์ภาพไว้ตรงกลางของเครื่องหมาย โดยไม่ทบั แถบขวาง
สาหรับเครือ่ งหมายห้าม
3. ในกรณีท่ไี ม่มสี ญ ั ลัก ษณ์ ภาพที่เ หมาะสมสาหรับสื่อ ความหมายตามที่
ต้ อ งการ ให้ ใ ช้ เ ครื่อ งหมายทัว่ ไปส าหรับ เครื่อ งหมายเพื่อ ความปลอดภัย แต่ ล ะประเภท
(ดูในภาคผนวก ก.) ร่วมกับเครือ่ งหมายเสริม

ตารางที่ 8.5 รูปแบบของเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย


ประเภท รูปแบบ สีที่ใช้ หมายเหตุ
เครื่องหมายห้าม พื้ น : สี ข า ว -พื้ น ที่ ข อ ง สี แ ด ง
สี ข องแถบตามขอบวงกลม ต้ อ งมี อ ย่ า งน้ อ ย
แ ล ะ แ ถ บ ข ว า ง : สี แ ด ง ร้อ ยละ 35 ของ
สีของสัญลักษณ์ภาพ:สีดา พื้น ที่ท งั ้ หมดของ
เครื่องหมาย
532

ตารางที่ 8.5 รูปแบบของเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย (ต่อ)


ประเภท รูปแบบ สีที่ใช้ หมายเหตุ
เครื่องหมายเตือน สี พื้ น : สี เ ห ลื อ ง -พื้นที่ของสีเหลือง
สี ข องแถบตามขอบ : สี ด า ต้ อ งมี อ ย่ า งน้ อ ย
สีของสัญลักษณ์ภาพ:สีดา ร้อ ยละ 50 ของ
พื้น ที่ท งั ้ หมดของ
เครื่องหมาย

เครื่องหมายบังคับ สี พื้ น : สี ฟ้ า พืน้ ที่ของสีฟ้าต้อง


สีของแถบตามขอบ : สีขาว มี อ ย่ า ง น้ อ ย
ร้อ ยละ 50 ของ
พื้น ที่ท งั ้ หมดของ
เครื่องหมาย

เ ค รื่ อ ง ห ม า ย สี พื้ น : สี เ ขี ย ว - พืน้ ที่ของสีเขียว


ส า ร นิ เ ท ศ สีของแถบตามขอบ : สีขาว ต้ อ งมี อ ย่ า งน้ อ ย
เ กี่ ย ว กั บ ภ า ว ะ ร้อ ยละ 50 ของ
ปลอดภัย พื้น ที่ท งั ้ หมดของ
เ ค รื่ อ ง ห ม า ย
- อาจใช้รูปแบบ
เ ป็ น สี่ เ ห ลี่ ย ม
ผืนผ้าได้
ทีม่ า: www.npc-se.co.th, 2560.

3. เครื่องหมายเสริ ม
หมายถึง เครือ่ งหมายทีใ่ ช้ส่อื ความหมายเกีย่ วกับความปลอดภัยโดยมีส ี รูปแบบ และ
ข้อความเพื่อ ใช้รว่ มกับเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัยในกรณีทจ่ี าเป็ น
3.1 รูปแบบของเครือ่ งหมายเสริม เป็ นสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า หรือสีเ่ หลีย่ มจัตุรสั
3.2 สีพน้ื ให้ใช้สเี ดียวกับสีเพื่อความปลอดภัย และสีของข้อความให้ใช้สตี ดั หรือ
สีพน้ื ให้ใช้สขี าวและสีของข้อความให้ใช้สดี า
3.3 ตัวอักษรที่ใช้ในข้อความ ซึ่ งช่องไฟระหว่างตัวอักษรต้องไม่แตกต่างกัน
มากกว่าร้อยละ 10 และ ลักษณะของตัวอักษรต้องดูเรียบง่าย ไม่เขียนแรงเงาหรือลวดลาย
ดังภาพที่ 8.3
533

ภาพที่ 8.3 ตัวอย่างการแสดงเครือ่ งหมายเสริมเพื่อความปลอดภัย


ทีม่ า: www.npc-se.co.th, 2559.

4. ให้แสดงเครื่องหมายเสริ มไว้ใต้เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย
การแสดงเครื่องหมายเสริมในโรงงานอุตสาหกรรมเป็ นการป้ องกันด้วยการให้ขอ้ มูล
ข่าวสารเพื่อให้พนักงานเกิดความระมัดระวังและช่วยให้พนักงานเตือนความจาเกี่ยวกับอุบตั เิ หตุ
อันจะเกิดขึน้ ในโรงงานขณะมีการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ เป็ นเฝ้ าระวัง และฝึกให้พนักงานเป็ นคนช่าง
สังเกต ไตร่ตรองและ รอบคอบในการปฏิบตั งิ านเมื่ออยู่ในโรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เป็ นการ
ตรวจติดตามการทางานของหัวหน้าเกี่ยวการดูแ ลเอาใจใส่แก่ลูกน้อง และที่สาคัญที่สุดในการ
สื่อสารเพื่อความปลอดภัยในการทางานที่ต้องจัดทาป้ าย สัญลักษณ์เตือนภัยต่าง ๆ ก็เพื่อให้
พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านเกิดความปลอดภัยในการทางาน ดังแสดงในภาพที่ 8.4
534

ภาพที่ 8.4 แสดงเครือ่ งหมายเสริมไว้ใต้เครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย


ทีม่ า: www.npc-se.co.th, 2559.

5. ตัวอย่างเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยและความหมาย
ในโรงงานอุตสาหกรรมทีม่ กี ารผลิตสินค้าและบริการ โดยเฉพาะอย่างโรงงานทีม่ กี าร
ผลิตสินค้าด้วยเครื่องจักรทีม่ อี นั ตราย หรือพืน้ ที่ทม่ี กี ารใช้อุปกรณ์เครื่องมือทีม่ กี ารใช้เครื่องทุ่น
แรงหนัก หรืออุตสาหกรรมหนักย่อมก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดอุบตั เิ หตุค่อนข้าง
สูงการแสดงเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เพื่อให้พนักงานได้ทราบความหมายของการเฝ้ าระวัง
อันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ ก็ส่งผลให้พนักงานได้ลดการเกิดอุบตั เิ หตุลงได้มาก เนื่องจากสามารถทาให้
พนักงานได้มกี ารจดจาสัญลักษณ์และสีท่ชี ่วยในการจาหรือความจาที่แยกสีแตกต่าง ๆ ให้เกิด
ความปลอดภัย ท าให้ติด เป็ น พฤติก รรมในการท างานของพนัก งานได้ ดัง แสดงให้เ ห็น ถึง
เครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัยและความหมายดังตารางที่ 8.6
535

ตารางที่ 8.6 ตัวอย่างเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัยและความหมาย


ประเภทรูปแบบ ความหมาย

เครื่องหมายห้าม

เครื่องหมายเตือน

เครื่องหมายบังคับ

เครื่องหมายสารนิเทศเพื่อความปลอดภัย

ทีม่ า: www.npc-se.co.th, 2559.

6. ข้อแนะนาในการเลือกและการใช้เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย
1. การใช้เครื่องหมายเพื่อ ความปลอดภัยร่วมกับเครื่องหมายเสริม ในกรณีท่ไี ม่ม ี
เครือ่ งหมายทีใ่ ช้สญ
ั ลักษณ์ภาพ ตามทีแ่ สดงในภาคผนวก ก. หากต้องการจะแสดงเครื่องหมาย
ตามทีต่ อ้ งการ ให้เลือกปฏิบตั ดิ งั นี้
1.1 ใช้สญั ลักษณ์ภาพทีเ่ หมาะสม ทีด่ แู ล้วเข้าใจง่ายทีส่ ุด ไม่ต้องแสดงรายละเอียดใน
สัญลักษณ์ภาพทีไ่ ม่จาเป็ นต่อการสื่อความหมาย แต่ใช้เครือ่ งหมายเสริมร่วมด้วยถ้าจาเป็ น
1.2 ใช้เครื่อ งหมายทัวไปส ่ าหรับเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยแต่ละประเภท
ร่วมกับเครือ่ งหมายเสริม
2. การใช้เครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย เพื่อจุดประสงค์ในการสื่อความหมายมากกว่า
1 ความหมาย
536

2.1 ไม่ค วรสื่อ ความหมายโดยการใช้เ ครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย ร่ว มกับ


เครือ่ งหมายเสริมทีม่ ขี อ้ ความสื่อความหมาย 2 ประการ
2.2 ไม่ค วรใช้เ ครื่อ งหมายเพื่อ ความปลอดภัย ประเภทเดียวกัน ที่แ สดง สอง
ความหมายอยูใ่ นเครือ่ งหมายเดียวกัน
3. การใช้เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยสาหรับเงื่อนไขที่แตกต่างกัน เมื่อต้องการใช้
เครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัยทีแ่ สดงไว้ในภาคผนวก ก. เพื่อแสดงความหมายสาหรับเงื่อนไข
ที่แ ตกต่ า งออกไป แต่ ก ารสื่อ ความหมายยัง เหมือ นเดิม ให้ใ ช้ ส ัญ ลัก ษณ์ ภ าพนั น้ ร่ ว มกับ
เครือ่ งหมายเสริมทีใ่ ช้ถอ้ ยคาแตกต่างออกไป

สรุป
พฤติกรรมมนุ ษย์เป็ นเครื่องหมายแสดงออกถึง การกระทาหรือ แสดงออกของมนุ ษย์
จากภายในทีม่ สี งิ่ เร้ามากระทบ ทาให้เกิดความรู้ อารมณ์ หรือปฏิกริ ยิ าออกมาทัง้ ทีร่ สู้ กึ ตัว และ
ไม่รสู้ กึ ตัวภายใต้สถานการณ์ใด สถานการณ์หนึ่ง พฤติกรรมในการทางานของมนุ ษย์ย่อมส่งผล
ต่อความปลอดภัยในการทางาน โดยมีการพิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างอิทธิพลภายในตัว
บุ ค คลกับ อิท ธิพ ลภายนอกที่แ ต่ ล ะบุ ค คลรับ รู้ ซึ่ง จะท าให้ม นุ ษ ย์แ สดงพฤติก รรมออกมา
การศึกษาถึงพฤติกรรมมนุษย์จงึ ทาให้นกั บริหารทรัพยากรมนุ ษย์ดา้ นการจัดการความปลอดภัย
ในการทางานจาเป็ นต้องให้ความสาคัญด้านการศึกษาพฤติกรรมทีเ่ กี่ยวข้องของมนุ ษย์เกี่ยวกับ
ความปลอดภัยในการทางานเพื่อให้เข้าใจตนเอง เพื่อช่วยให้เข้าผู้อ่นื เพื่อช่วยบรรเทาปั ญหา
ทางสังคม และช่ว ยเสริมสร้างพัฒนาคุณภาพชีว ิต ของมนุ ษย์ผู้ปฏิบตั ิงาน องค์ประกอบของ
พฤติกรรมมนุ ษ ย์เ พื่อให้เ กิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดี จงึ มีอ งค์ประกอบ ดังนี้
เป้ าหมาย ความพร้อม สถานการณ์ การแปลความหมาย การตอบสนอง ปฏิกิรยิ าต่ อความ
ผิด หวัง จึง มีก ารแบ่ ง ประเภทของพฤติก รรมของมนุ ษ ย์ม ีเ กิด ขึ้น ในลัก ษณ ะต่ า ง ๆ ดัง นี้
พฤติกรรมที่สงั เกตได้อย่างชัดเจน พฤติกรรมที่ปกปิ ด พฤติกรรมทีเ่ ป็ นแหล่งที่เกิดจากภายใน
ร่างกาย และจิตใจของบุคคล พฤติกรรมทีเ่ กิดจากระบบประสาท ดังนัน้ พฤติกรรมมนุ ษย์จงึ แบ่ง
ออกได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมที่มมี าแต่กาเนิด และพฤติกรรมที่เกิดจากอิทธิพล
ของกลุ่ม ซึ่งพฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุ ษย์มรี ะดับของพฤติกรรมในการกระทาในระดับบุคคล
ระดับกลุ่ม และระดับสังคม เพื่อแสดงออกในเห็นถึงการรับรู้ ทัศนคติ ค่านิยม และความเชื่อ
นามาสู่การศึกษาทฤษฎีการเรียนรูแ้ ละแรงจูงใจของมนุ ษย์ในการพัฒนาพฤติกรรมเพื่อให้มนุ ษย์
ได้เ รีย นรู้จ ากประสบการณ์ ใ ห้เ กิด ความปลอดภัย ในการท างาน ซึ่ง ทฤษฎีก ารเรีย นรู้ข อง
สกินเนอร์ เป็ นการเรียนรูก้ ารวางเงื่อนไขด้วยการกระทา โดยเงื่อนไขนาหรือสิง่ เร้าทีก่ ระตุ้นให้
เกิดพฤติกรรมทีแ่ สดงออกมาทีเ่ ป็ นผลทีต่ ามมา
การสร้างจิตสานึกด้านความปลอดภัยในการทางาน โดยองค์การต้องหาเทคนิควิธกี าร
เพื่อให้พนักงานเกิดความตระหนักถึงอันตรายของการเกิดอุบตั เิ หตุหากขาดจิตสานึกทีด่ ใี นการ
537

ปฏิบตั งิ าน โดยอาศัยการทากิจกรรมเสริมสร้างจิตสานึก ได้แก่ กิจกรรม KYT กิจกรรม QCC


และกิจกรรม 5ส.เพื่อความปลอดภัยซึง่ กิจกรรม 5ส.เป็ นกิจกรรมที่นิยมทามากที่สุดเพื่อลดการ
เกิดอุปบัตเิ หตุในการทางาน ซึง่ ประกอบด้วย สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ และสร้างนิสยั
เป็ นต้น ทัง้ นี้ การจะเกิดพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางานทีด่ ไี ด้นนั ้ ต้องอาศัยรูปแบบการ
ทางานเป็ นทีมซึง่ มีผลต่อความปลอดภัยในการทางาน และผูน้ าต้องมีบทบาทในการช่วยกระตุ้น
หรือผลักดันให้ผู้ตามปฏิบตั ติ ามระเบียบข้อบังคับให้เกิดพฤติกรรมการทางานที่ปลอดภัย โดย
ผู้น าต้อ งมีรูป แบบด้า นความเป็ นผู้นาความปลอดภัย ในการทางาน ดังนี้ มีจ ริย ธรรม สร้า ง
แรงจูงใจ กาหนดขอบเขตของงานที่ชดั เจน และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เน้ นการ
ปฏิบ ัติ ง าน จึง จะสามารถสร้ า งพฤติ ก รรมด้ า นความปลอดภัย ในการท างานได้ อ ย่ า งมี
ประสิทธิภาพ
เครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย หมายถึง เครือ่ งหมายทีใ่ ช้ส่อื ความหมายเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยโดยมีส ี รูปแบบ และสัญลักษณ์หรือข้อความแสดงความหมายโดยเฉพาะเพื่อความ
ปลอดภัย ดังนัน้ สีและเครื่องหมายความปลอดภัยมีความจาเป็ นในการทางานในโรงงานหรือ
สถานประกอบการเป็ นอย่างยิง่ เนื่องจากสี และเครื่องหมายความปลอดภัยเป็ นการตอกย้าให้
พนักงานจดจาและเตือนให้ปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด
538

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ที่สดุ
1. ให้บอกความหมายของ พฤติกรรม
2. สิง่ ทีก่ าหนดพฤติกรรมมนุษย์หรือสิง่ ทีท่ าให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมมีอะไรบ้าง
3. ให้บอกความหมายของพฤติกรรมการรับรู้ และการรับรูห้ มายถึง
4. ให้บอกถึงพฤติกรรมความต้องการของมนุษย์ ตามทฤษฎีแนวคิดของ Maslow’s ทีก่ าหนดว่า
มนุษย์มคี วามต้องการ 5 ขัน้ อย่างไรพร้อมอธิบาย
5. รูปแบบผูน้ าด้านความปลอดภัยและวัฒนธรรม บรรยากาศในการทางาน
6. รูปแบบทีมงานความปลอดภัยในสถานประกอบการ
7. รูปแบบการทางานเป็ นทีมทีม่ ผี ลต่อความปลอดภัยในการทางาน
539

เอกสารอ้างอิง
กุญชรี ค้าขาย และคณะ.(2553).พฤติกรรมกับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ: ,มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนสุนนั ทา.
กิจกรรม 5 ส การทา 5ส พร้อมกับการทางาน.(ม.ป.ป.,ม.ป.น.).สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญีป่ ่ นุ ).,ค้นเมือ่ 26 มกราคม 2560, จากhttp://www.tpif.or.th/2012/shindan.
ชัยวัฒน์ สุทธิรตั น์.(2552). สอนเด็กให้มีจิตสาธารณะ.กรุงเทพฯ: วี พรินท์.
ณรัฐ วัฒนพานิช.(2554). รูปแบบการจัดองค์กรแห่งการเรียนรู้สาหรับกลุ่มโรงเรียนใน
เครือสารสาสน์ .วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
ณัฐวัตร มนต์เทวัญ.(2553).การบริหารงานความปลอดภัย. นนทบุร:ี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีและเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย.(2554).เล่ม 1 สีและ
รูปแบบมาตรฐานเลขที่ มอก. 635 เล่ม 1.
ลักขณา สริวฒ ั น์.(2544). จิตวิทยาในชีวติ ประจาวัน.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
วิทยา อยูส่ ุข.(2554). อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ ง่ แวดล้อม. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.
สวินทร์ พงษ์เก่า.(ม.ป.ป.). การเสริมสร้างทัศนคติความปลอดภัย. สมาคมส่งเสริมความ
ปลอดภัยและอนามัยในการทางาน (ประเทศไทย).,ค้นเมือ่ 27 มกราคม 2560,
จาก http://www.shawpat.or.th.
สิทธิโชค วรานุสนั ติกูล.(2556). จิตวิทยาสังคม: ทฤษฎีและการประยุกต์กรุงเทพฯ:
ซีเอ็ดยูเคชัน.่
สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ.(2557). http://www.eng.mut.ac.th/article_detail.php?id=68
สุภทั ทา ปิ ณฑะแพทย์.( 2542). พฤติกรรมมนุษย์และการพัฒนาคน.กรุงเทพฯ:
สถาบันราชภัฎสวนสุนนั ทา.
สุรวี ลั ย์ ใจกล้า. (2557). พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางานของพนักงาน บริษทั เอสอีไอ
อินเตอร์คอนเนคส์ โปรดักส์ (ประเทศไทย) จากัด. สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและ
ภาคเอกชน วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.(งานนิพนธ์).
สมถวิล เมืองพระ. (2547). พฤติกรรมของคนงานในระดับปฏิบตั กิ ารเรือ่ งป้ องกันอุบตั เิ หตุ
เนื่องจากการทางาน : ศึกษาเฉพาะกรณีอุตสาหกรรมการผลิตภัณฑ์โลหะเครือ่ งจักร
และอุ ป กรณ์ เ ขตบางปะกงจัง หวัดฉะเชิง เทราวิท ยานิพนธ์ ศิล ปศาสตร์มหาบัณฑิต
(สังคมสงเคราะห์) กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สานักความปลอดภัยแรงงาน. (ม.ป.ป.). 5ส.เพื่อความปลอดภัย. กรมสวัสดิการและคุม้ ครอง
แรงงาน., ค้นเมือ่ 12 เมษายน 2560, จาก www.oshthai.org.
540

สานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิ การและคุ้มครองแรงงาน.กระทรวงแรงงาน.


การศึกษาวิเคราะห์การบริหารงานเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน.กรุงเทพฯ.
อุดม ทุมโฆสิต.(2544) การจัดการทรัพยากรมนุษย์.กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์.
เอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.(2553).หน่วยที่ 1-7.
(พิมพ์ครัง้ ที่ 4). ห้างหุน้ ส่วนจากัด อรุณการพิมพ์: กรุงเทพฯ.
Allen,R. and Santrock,J.W.(1993). Psychology : The Contexs of Behavior.
United State of American: Wrn. C. Brown Communication.
Cronbach. Lee. J.(1963). Educational Psychology. New York :Harcourt, Brace and
World.
Goetsch,David L.,(2005). Occupational Safety and Health. 5th edition. Pearson
Education,Inc.,Upper.Saddle River,New Jersey.
Gochman, D.S.(1988). Health behavior: Emerging research perspectives. 15th ed.)
New York: Plenum Press.
Guide to the Safety, Health and Welfare at Work (General Application) Regulations
2007 (Amended May 2010) Published in December 2007 and revised in May
2010 by the Health and Safety Authority, The Metropolitan Building, James
Joyce Street, Dublin 1.
Klein,Stephen B.(2009). Learning Principles and Application.5th ed. SAGE
Publications.Inc.
Krause,Thomas R.(2005). Leading with Safety.John Wiley & Sons,Inc.,Hoboken,
New Jersey.
Loudon, David and Bitta, Albert.(1988) Consumer Behavior : Concepts and Applications.
3rd ed. New York : McGraw Hill.
Lewin, K.(1951). A dynamic theory of personality. New York: McGraw-Hill.
Maslow, A. H. ( 1970 ). Motivation and Personality. New York: Harper & Row.
McClelland, D. C. (1961). Human Motivation. New York: Cambridge University.
Smith,M. K. (2001) ‘Kurt Lewin, groups, experiential learning and action research’, the
encyclopedia of informal education, http://www.infed.org/thinkers/et-lewin.htm
McGregor, D. M. (1960). The Human Side of Enterprise. New York: McGraw-Hill.
Safety signs and signals The Health and Safety Guidance on Regulations, the
Health and Safety Executive.(2009).Second edition.
Walters. (1978). Adaptive Management of Renewable Resources. New York:
541

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 9
กิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยในการทางาน
หัวข้อเนื้ อหา
1. แนวคิด หลักการ ความหมาย และวัตถุประสงค์ของการทากิจกรรม 5ส.
2. ความสาคัญของการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
3. เป้ าหมายองค์การในการจัดดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
4. ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
5. ปั จจัยสาคัญทีม่ ผี ลต่อความสาเร็จในการทากิจกรรม 5ส.
6. ขัน้ ตอนการดาเนินการกิจกรรม 5ส.ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
7. องค์ประกอบสาคัญของกิจกรรม 5ส.
8. สรุป
9. แบบฝึกหัด
10. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนแล้วสามารถ
1. อธิบายแนวคิด ความหมาย วัตถุประสงค์ หลักการ ประโยชน์ และขัน้ ตอนการดาเนิน
กิจกรรม 5ส.ในสถานประกอบการได้
2. ปฏิบ ัติเ กี่ย วกับ การวางแผนส ารวจพื้น ที่ใ นการด าเนิ น กิจ กรรม 5ส.ในสถานที่
ประกอบการได้
3. บอกถึงเป้ าหมาย ขัน้ ตอน และวิธกี ารกาหนดมาตรฐาน 5ส.ให้เกิดความปลอดภัยใน
การทางานได้
4. ปฏิบตั เิ กี่ยวกับการดาเนินกิจกรรม 5ส.ได้อย่างถูกต้อง จนทาให้เกิดความปลอดภัย
ในการทางาน และทาให้อุบตั เิ หตุในการทางานลดลงได้

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. แจกบัตรคาเกีย่ วกับกิจกรรม 5ส. เพื่อเข้าสู่บทเรียน
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. ให้ดวู ดี ที ศั น์กจิ กรรม 5ส. ความปลอดภัยและให้แสดงความคิดเห็น
4. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน - หลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ
542

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารคาสอนวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดทิ ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
543

บทที่ 9
กิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยในการทางาน
การด าเนิ น งานของทุ ก องค์ก ารย่ อ มต้ อ งการให้ ก ารปฏิบ ัติง านทุ ก ขัน้ ตอนมี ค วาม
ปลอดภัย และเกิด ประสิท ธิภ าพต่ อ บุ ค คล สิน ค้า และบริก าร รวมทัง้ ลดต้น ทุ น สิน ค้า และ
ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน นัน่ หมายถึง การบริหารคุณภาพองค์การย่อมเกิดขึน้
แล้ว กิจกรรม 5ส. เป็ นปั จจัยพืน้ ฐานการบริหารคุณภาพทีจ่ ะช่วยให้การปฏิบ ัตงิ านของบุคคลใน
องค์ก ารได้เกิดความปลอดภัย ซึ่งเป็ นผลมาจากการมีสภาพแวดล้อมหรือบรรยากาศในการ
ทางานที่เหมาะสมและดีต่อการปฏิบตั งิ าน เกิดความสะอาดเรียบร้อย ถูกสุขลักษณะ จูงใจให้
บุคคลได้มกี ารพัฒนาตนเองอยูต่ ลอดเวลา และสามารถนาศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มกาลัง
ความสามารถ รวมทัง้ ท าให้บุ ค คลเกิดทัศ นคติท่ดี ีต่ อ การทางาน กิจ กรรม 5ส. เป็ น เทคนิ ค
ทางการบริห ารงานที่ผู้บริห ารจะนามาใช้เ ป็ นกลยุทธ์อีกแนวทางหนึ่ง ที่จะได้ใ ห้บุค ลากรใน
องค์ก ารได้เข้ามามีส่ ว นร่ว มในการทางานด้ว ยความเต็มใจ ร่ว มแรงร่ว มใจกันในการพัฒนา
ตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาองค์การไปพร้อม ๆกัน กิจกรรม 5ส. ยังทาให้บุคลากรทุกคนใน
องค์การได้มกี ารคิดสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ในการพัฒนาองค์การให้เข้าสู่การแข่งขันเพื่อให้เกิดแนวคิด
ใหม่ ๆ ซึง่ เกิดจากพืน้ ฐานของการดาเนินการกิจกรรม 5ส.
ปั จจุบนั กิจกรรม 5ส. นิยมนามาใช้ในการปฏิบตั งิ านทุกกิจกรรมในสถานประกอบการไม่
ว่าในสานักงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ เนื่องเพราะว่า กิจกรรม 5
ส.เป็ นเทคนิคในการปรับปรุงง่าย ไม่ยุ่งยาก เพียงแต่ทุกคนมีความพร้อมและเชื่อมันว่ ่ าการนา
เทคนิคของกิจกรรม 5ส.เป็ นสิง่ ทีท่ าได้ และเมือ่ ทาแล้วจะทาให้บุคลากรทุกคนในองค์การมีความ
เป็ นระเบียบ เรียบร้อย สะดวกในการทางาน ทาให้เกิด สุขภาพอนามัยทีด่ ี และทาสิง่ เหล่านี้จน
ติดเป็ นนิสยั การดาเนินกิจกรรม 5ส.จึงเริม่ ต้นด้วยการสะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ และ
สร้างนิสยั การปฏิบตั กิ จิ กรรม 5ส. อย่างสม่า เสมอจนกลายเป็ นสิง่ ปกติในชีวติ ประจาวันของเรา
ย่ อ มท าให้เ กิด ความเป็ น ระเบีย บเรีย บร้อ ย สร้า งวินั ย ให้ผู้ป ฏิบ ัติง าน ท าให้ก ารท างานมี
ประสิทธิภาพสูง ยังทาให้เป็ นพื้นฐานของการดาเนินกิจกรรมการเพิม่ ผลผลิตอื่น ๆ เช่น ระบบ
บริหารคุณภาพ ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม การบริหารความปลอดภัยในการทางาน และลด
อุบตั เิ หตุในสถานทีท่ างานได้
544

แนวคิ ดเกี่ยวกับกิ จกรรม 5ส.


การดาเนินงานทางธุรกิจโดยส่วนใหญ่องค์การภาคธุรกิจเอกชนต่างมีจุดมุ่งหมายสูงสุด
ในการด าเนิ น ธุ ร กิจ ให้ เ กิด ก าไรในการด าเนิ น งานสู ง สุ ด แสดงให้ เ ห็น ถึง ศัก ยภาพ และ
ประสิทธิภาพ โดยทาให้ของเสียหรือการสูญเสียเป็ นศูนย์ อย่างไรก็ตาม การทีจ่ ะทาให้ธุรกิจไปสู่
เป้ าหมายสูงสุ ดนี้ไ ด้จะต้อ งสร้างพื้นฐานจากเทคนิคการบริหารจัดการด้านการผลิต และการ
ดาเนินงานทัง้ องค์การให้ได้ก่อน โดยนาหลักการ 5ส. เข้ามาใช้ในการดาเนินงาน
ดังนัน้ เครื่องมือที่สาคัญในการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานที่
สถานประกอบการโดยส่วนใหญ่นามาใช้ในประเทศไทยและต่างประเทศมีหลายเครือ่ งมือด้วยกัน
กิจกรรม 5ส. เป็ นอีกเครื่องมือทางการบริหารจัดการอีกวิธหี นึ่งที่ทาให้สถานประกอบการหรือ
หน่ วยงานได้มรี ะบบการจัดการองค์การให้มคี วามเป็ นระเบียบเรียบร้อยของงาน บุคลากร และ
องค์การให้สามารถแข่งขันกับองค์การภายนอกได้ และยังเสริมสร้างให้พนักงานเกิดการปลูกฝั ง
สร้างนิสยั ด้านความปลอดภัยในการทางานได้ ซึ่งการทากิจกรรม 5 ส. ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่าย
และที่สาคัญอีกส่วนหนึ่งคือกิจกรรม 5ส. ช่วยให้พนักงานลดอุบตั เิ หตุในการทางาน เกิดความ
ปลอดภัยในการทางานเป็ นอย่างยิง่ จึงนับได้ว่าเมื่อ องค์การได้มกี ารกาหนดนโยบายเกี่ยวกับ
การดาเนินการกิจกรรม 5ส. เพื่อให้พนักงานทุกระดับได้รบั ทราบเข้าใจ พร้อมทัง้ มีการปฏิบตั ิ
ตามอย่างทัวถึ ่ งทุกระดับก็ย่อมเกิดคุณภาพชีวติ ทีด่ สี ถานทีท่ างานนัน่ คือ การทางานมีความสุข
ในสภาพแวดล้อมที่ดแี ละเหมาะสม สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี ส่งผลให้ผลผลิตมีประสิทธิภาพ
สอดคล้ อ งกับ ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างานของสถาน
ประกอบการ จะเห็นได้ว่ากิจกรรม 5ส.เป็ นการปรับปรุงการทางานให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ทัง้
ด้านการผลิตและสานักงานกว่าที่เป็ นอยู่ เพื่อการสร้างภาพลักษณ์ขององค์การหรือผลิตภั ณฑ์
และลดการเกิดอุบตั เิ หตุในการทางาน

ความหมายของ กิ จกรรม 5ส.


กิจกรรม 5ส. เกิดขึน้ มานานตัง้ แต่โบราณกาลมาจากประเทศแถบตะวันตกก่อน แต่เริม่
มาใช้กนั อย่างชัดเจนและรูปธรรมในประเทศญี่ป่ นุ ทีพ่ ฒ ั นามาจากแนวคิดการควบคุมคุณภาพ
(Quality Control: QC) การทา 5 ส. ปรากฏให้เห็นในช่วงที่ QC มีการพัฒนารูปแบบ กล่าวคือ
หน่ ว ยงานต่ า งๆ ต้ อ งการแนวทางพื้ น ฐานที่ เ ป็ นเหมือ นแรงผลัก ให้ ผู้ ป ฏิ บ ัติ ง านและ
สภาพแวดล้อมในการทางานเอื้อประโยชน์ต่อกระบวนการผลิตมากทีส่ ุด โดย QC เป็ นหลักการ
ทีม่ งุ่ ควบคุมทีต่ วั วัตถุมากกว่า ดังนัน้ จึงมีผคู้ ดิ ค้นหลักการง่าย ๆ ทีส่ นับสนุ นกิจกรรมวิธกี ารจัด
หรือปรับปรุงสถานที่ทางาน หรือสภาพการทางานให้เกิดความสะดวก ความเป็ นระเบียบ
เรียบร้อย สะอาดเพื่อเอือ้ อานวยให้เกิดประสิทธิภาพในการทางาน ความปลอดภัย และคุณภาพ
ของงาน อันเป็ นพืน้ ฐานในการเพิม่ ผลผลิต เพื่อให้อธิบายความหมายของ กิจกรรม 5ส.ให้เกิด
ความเข้าใจมากยิง่ ขึน้ ได้มนี กั วิชาการให้ความหมายไว้ต่าง ๆ ดังนี้
545

(องค์การคลังสินค้า,กระทรวงพาณิชย์,2556) ได้ให้ความหมายของ กิจกรรม 5ส. ไว้ว่า


การจัดระเบียบและปรับปรุงสถานที่ทางานหรือสภาพทางาน และงานของตนด้วยตนเอง เพื่อ
ก่ อ ให้ เ กิ ด สภาพแวดล้ อ มการท างานที่ดี ปลอดภัย มีร ะเบีย บเรีย บร้ อ ย มีคุ ณ ภาพและ
ประสิทธิภาพอันเป็ นพืน้ ฐานในการเพิม่ ผลผลิต
(ส านั ก งานพัฒ นาธุ ร กิจ การค้า จัง หวัด แม่ ฮ่ อ งสอน, 2556) ได้ใ ห้ค วามหมายของ
กิจกรรม 5ส. ไว้ว่า กระบวนการสร้างวินัย สร้างระเบียบชีวติ นิสยั ความรับผิดชอบ และนิสยั ที่
เอื้อให้เกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุดเพื่อเสริมสร้างทรัพยากรมนุ ษย์อนั นาไปสู่ความเข้มแข็งของ
องค์การในภาพรวมโดยพื้นฐานกิจกรรม 5ส. แบ่งออกเป็ น 5 เรื่องใหญ่ ๆ คือ สะสาง สะดวก
สะอาด สุขลักษณะ และสร้างนิสยั
(สุดใจ ธนไพศาล, 2556, หน้ า 13) ได้ให้ค วามหมายของ กิจกรรม 5ส. ไว้ว่า เป็ น
ปั จจัยพื้นฐานในการบริหารงานให้มปี ระสิทธิภาพ โดย 3ส.แรก(สะสาง สะดวก สะอาด) เน้ น
เกี่ยวกับสิง่ ของ สถานทีท่ างานหรือสภาพแวดล้อมในการทางานซึง่ จะทาให้เกิดความปลอดภัย
ในการทางาน และ 2ส.หลัง(สุ ขลักษณะ สร้างนิสยั ) เน้ นเกี่ยวกับตัว คนเพื่อ ให้มกี ารกาหนด
แนวทางและวิธ ีการปฏิบตั ิงานให้รกั ษามาตรฐานความเป็ นระเบียบเรียบร้อยและส่ งเสริมให้
พนักงานปฏิบตั กิ จิ กรรม 5ส.จนเป็ นนิสยั
(กฤษฏ์ อุทยั รัตน์, 2556, หน้า 69) ได้ให้ความหมายของ กิจกรรม 5ส. ไว้ว่า กระบวน
ในการจัดสถานทีท่ างานให้เป็ นระเบียบเรียบร้อย โดยมุง่ เน้นทีจ่ ะก่อให้เกิดประสิทธิภาพของการ
ทางาน และสร้างจิตสานึกในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางาน และเปลีย่ นแปลงทัศนคติ
ของตนเองให้ยอมรับสิง่ ใหม่ ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ตลอดเวลา
จากความหมายที่มนี ักวิชาการได้กล่าวถึงความหมายของของ กิจ กรรม 5ส. จะเห็นได้
ว่าเป็ นกระบวนการที่เป็ นระบบมีแนวปฏิบตั ทิ เ่ี หมาะสมสามารถนามาใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขงาน
และรักษาสิง่ แวดล้อมในสถานที่ทางานให้ดขี น้ึ ทัง้ ในด้านการผลิต และด้านการบริหารจัดการ
ซึง่ จะเห็นได้ว่ากิจกรรม 5ส.เป็ นกิจกรรมพืน้ ฐานที่นาไปสู่แนวทางในการพัฒนาองค์การทัง้ ด้าน
กระบวนการผลิตให้เพิม่ ประสิทธิภาพ และช่วยลดอุบตั เิ หตุในการทางานในกระบวนการผลิต
และในสานักงานด้วย

วัตถุประสงค์ของการทากิ จกรรม 5ส.


กิจกรรม 5ส. ไม่เพียงแต่จะทาให้เกิดประสิทธิภาพในการทางานของพนักงาน และทา
ให้ล ดต้ น ทุ น ในการผลิต สิน ค้า และบริก ารเท่ า นั น้ ที่ส าคัญ คือ น ามาช่ ว ยในการสร้า งความ
ปลอดภัยในการทางานในทุกขัน้ ตอนตัง้ แต่มกี ารสะสางสิง่ ของทีไ่ ม่จาเป็ น แยกแยะพืน้ ทีบ่ ริเวณ
จุดต่าง ๆ รวมทัง้ อุปกรณ์ เครื่องมือ วัสดุสงิ่ ของต่าง ๆ ให้มคี วามสะดวกในการหยิบมาใช้งาน
ลดขัน้ ตอนการทางาน ลดอุบตั เิ หตุในขัน้ ตอนการทางาน พืน้ ทีบ่ ริเวณการทางานก็สะอาดตาทา
ให้เกิดสภาพแวดล้อมในการทางานที่ดเี กิดบรรยากาศในการทางาน ทาให้มสี ุขภาพที่ดี และ
546

สร้างนิสยั ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยในการทางาน และปลอดภัยปราศจากสิง่ ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ใน


การทางาน พนักงานเกิดความสุขในการทางานและมีคุณภาพชีวติ ที่ดปี ระเทศชาติก็ก้าวหน้ า
ดังนัน้ การดาเนินงานของกิจกรรม 5ส.จึงต้องมีวตั ถุประสงค์พอทีจ่ ะสรุปได้ดงั นี้
1. เพื่อเป็ นพืน้ ฐานของระบบคุณภาพในทุกระบบด้านการผลิตและการบริหารจัดการใน
สานักงาน
2. เพื่อให้เกิดความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานทีถ่ ูกต้อง
ตามกฎหมายความปลอดภัย และลดอุบตั ิเหตุอนั เนื่องมาจากสภาพรกรุงรัง รวมทัง้ การสร้าง
นิสยั
3. เพื่อสร้างวินยั และปลูกจิตสานึกให้บุคลากรได้มกี ารทางานให้ดขี น้ึ
4. เพื่อ สร้างระบบ ระเบียบ และการจัดเก็บความเป็ นระเบียบเรียบร้อ ยสวยงามแก่
หน่วยงาน
5. เพื่อสร้างประสิทธิภาพการทางานและปรับปรุงการทางานตลอดเวลาและต่อเนื่อง
6. เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการทางานทีก่ ่อให้เกิดความเปลีย่ นแปลงเชิงประจักษ์แก่
หน่วยงานภายนอกทีม่ ารับบริการ
7. เพื่อทาให้บุคลากรทุกคนมีความสัมพันธ์ทด่ี ี เกิดความสามัคคี การทางานเป็ นทีมใน
รูปแบบการร่ว มมือ ร่ว มใจกัน ในการทางานให้เ กิดความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน เสริมสร้าง
บรรยากาศทีด่ ใี นการทางาน
8. เพื่อสร้างความภาคภูมใิ จให้กบั บุคลากรในองค์การ และสร้างความพึงพอใจแก่ผู้มา
รับบริการและผูม้ าเยีย่ มเยียน
เป้ าหมายองค์การในการจัดดาเนิ นงานกิ จกรรม 5 ส.
ก่อนทีอ่ งค์การจะดาเนินการในการทากิจกรรม 5ส. ผูท้ ร่ี บั ผิดชอบในการจัดทากิจกรรม
5ส. นัน่ หมายถึงพนักงานทุกคนในองค์การ แต่สงิ่ ที่สาคัญในการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.นัน้
ผู้บริหารจะต้องเห็นความสาคัญในการกาหนดนโยบายในการดาเนินงานกิจกรรม 5ส. เพื่อให้
เกิดเป็ นผลสาเร็จขององค์ก าร ผู้ท่มี หี น้ าที่รบั ผิดชอบในการดาเนินงานกิจกรรม 5ส. จะต้อ ง
กาหนดเป้ าหมายองค์การในการดาเนินกิจกรรม 5ส. เพื่อให้การดาเนินงานเป็ นไปตามเป้ าหมาย
องค์การ ดังนี้
1. ต้องมีการกาหนดความชัดเจนของสถานที่ในการจัดทากิจกรรม 5ส. โดยจัด ทาเป็ น
แผนผัง และแบ่งพื้นที่ให้แต่ละส่วนงานรับผิดชอบตามความเหมาะสม ทาให้สถานที่ทางานมี
ความเป็ นระเบียบ เรียบร้อย และมีสภาพแวดล้อมทีม่ คี วามปลอดภัย รวมทัง้ สร้างบรรยากาศใน
การทางานให้น่าอยู่
2. การเปิ ดโอกาสให้บุคลากรในองค์การเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
ทาให้เกิดการร่วมแรง ร่วมใจกัน บุคลากรเกิดความภาคภูมใิ จในความสะอาด ความเป็ นระเบียบ
547

เรียบร้อย ทาให้บุคลากรทุกคนปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดอุบตั เิ หตุอนั เกิดจากการ


ทางานได้
3. การบริหารทรัพยากรองค์การเกิดประสิทธิภาพ อันเกิดจากการจัดกิจกรรม 5ส. โดย
มีการกาหนดเป้ าหมายทีช่ ดั เจน ทาให้เกิดความคุม้ ค่าในการใช้ทรัพยากรทางการบริหาร
4. การบริหารคุณภาพโดยรวมขององค์การเกิดความสาเร็จตามเป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ได้
ในทุกปี
5. สร้างหลักประกันด้านคุณภาพขององค์การ ได้แก่ พนักงาน สินค้า และการบริการ
และลูกค้า และหน่วยงานภาครัฐ
องค์การต้องกาหนดนโยบายดาเนินกิจกรรม 5ส. อย่างชัดเจนเพื่อให้การดาเนินงานมี
แผนและให้ทุกคนได้ร่วมแรงร่วมใจในการดาเนินกิจกรรม 5ส. อย่างมีเป้ าหมายร่วมกันจะทาให้
เกิดความสาเร็จและเกิดประสิทธิภาพในการทางาน

ความสาคัญของการดาเนิ นงานกิ จกรรม 5ส.


1. เป็ นหลักพืน้ ฐานในการปฏิบตั งิ าน เพื่อทาให้หน่ วยงานมีความเป็ นระเบียบเรียบร้อย
โดยการร่วมแรงร่วมใจกันทางานเป็ นทีมให้เกิดความสาเร็จ
2. ความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยทีด่ นี ับเป็ นสิง่ ทีส่ าคัญและจาเป็ นทีส่ ะท้อนให้เห็น
ถึงการปฏิบตั ิงานของพนักงาน เมื่อมีการจัดทากิจกรรม 5ส.ที่เริม่ ตัง้ แต่การกาหนดจุดที่ควร
ก าจัด ออกที่ไ ม่เ กี่ย วข้อ งกับ งาน เพื่อ ให้ส ถานที่ท างานมีค วามสะอาด ปลอดภัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานทีด่ ี
3. ทาให้การผลิตสินค้าและบริการหรือผลิตภัณฑ์เกิดการเพิม่ ผลผลิต (productivities)
สูงสุด สร้างภาพลักษณ์ในการให้บริการ
4. ทาให้เกิดการประหยัดทรัพยากรทางการบริหารต่าง ๆ และช่วยให้ผลิตสินค้าได้
ทันเวลาทีก่ าหนด พร้อมทัง้ ลดต้นทุนด้านเวลาได้
5. ทาให้สร้างความไว้วางใจและเชื่อมันให้ ่ กบั ลูกค้า รวมทัง้ เป็ นการแสวงหาลูกค้าได้
6. ทาให้ลดปั ญหาเกีย่ วกับการจัดการสิง่ แวดล้อมในสถานประกอบการ
7. ทาให้เป็ นหลักการในการสร้างทีมงาน (teamwork) และสร้างความสามัคคีในองค์การ
เกิดความไว้วางใจกันและเชื่อมันยอมรั่ บซึง่ กันและกันก่อให้เกิดความสุขในการทางาน

ประโยชน์ ที่ได้จากการดาเนิ นงานกิ จกรรม 5ส.


เมื่อองค์การได้ดาเนินงานจัด ทากิจกรรม 5ส. ที่เกิดจากการร่วมแรง ร่วมใจ และการมี
ส่วนร่วมของทุกคน ทุกระดับในองค์การ ย่อมหมายถึงผลของกิจกรรมนัน้ ต้องส่งผลในทางทีด่ ตี ่อ
บุคลากร งาน และองค์การ รวมถึงลูกค้าหรือผูม้ ารับบริการของเรา ดังนัน้ การจัดทากิจกรรม 5
ส.ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์การ พนักงาน และ ลูกค้า ดังนี้
548

ประโยชน์ที่ องค์การ ได้รบั จากการดาเนิ นการทากิ จกรรม 5ส.


1. เพิม่ พืน้ ทีใ่ นการทางานมากขึน้ องค์การประหยัดพืน้ ทีใ่ นการเช่าพืน้ ที่
2. เพิม่ ประสิทธิภาพในการทางานให้องค์การ
3. ลัดอัตราการชารุด/เสียของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร และยืดอายุการทางานของ
เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร
4. ลดค่าใช้จา่ ยในการเกิดการสูญเสียต่าง ๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล วัสดุสงิ่ ของ ค่าซ่อม
เครือ่ งจักร ค่าบารุงรักษา เป็ นต้น
5. สถานทีท่ างานสะอาดเป็ นระเบียบเรียบร้อย / ปลอดภัยและเห็นปั ญหาเรื่องคุณภาพ
อย่างชัดเจนบรรยากาศการทางานดีขน้ึ
6. สร้างภาพลักษณ์ และความน่าเชื่อถือให้กบั องค์การ
7. องค์ก ารสามารถยืด อายุ ข องเครื่อ งจัก ร อุ ป กรณ์ เครื่อ งมือ ต่ า งๆ เมื่อ ใช้อ ย่ า ง
ระมัดระวังและดูแลรักษาทีด่ ี และการจัดเก็บอย่างถูกวิธใี นทีท่ เ่ี หมาะสม
8. การไหลเวียนของวัสดุ และ work in process จะราบรืน่ ขึน้
ประโยชน์ ในสิ่ งที่ พนักงาน ได้รบั จากการดาเนิ นการทากิ จกรรม 5ส.
1. เพิม่ ประสิทธิภาพในการทางานให้กบั บุคลากรจะทางานได้รวดเร็วขึน้ มีความถูกต้อง
ในการทางานมากขึน้
2. เพิ่ม ประสิท ธิภ าพในการท างานให้เ กิ ด ความปลอดภัย ในการท างานซึ่ง การลด
อุบตั เิ หตุในการทางานย่อมทาให้เกิดขวัญกาลังใจในการทางานมากขึน้ ด้วย
3. ท าให้ส ร้างบรรยากาศในการท างานดีข้นึ เนื่อ งจากสภาพแวดล้อ มในการทางาน
เหมาะสมบุคลากรมีสภาพจิตทีด่ ขี น้ึ ด้วย
4. เกิดความร่วมมือ ร่วมใจ จะเกิดขึน้ บุคลากรจะรักหน่วยงานมากขึน้
5. บุคลากรปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ และคู่มอื การปฏิบตั ิงานทาให้ค วามผิดพลาดและ
ความเสีย่ งต่างๆ ลดลง
6. ปลูกฝั ง/สร้างนิสยั ให้บุคลากรมีระเบียบวินยั มากขึน้ ส่งผลต่อการเพิม่ ผลิต และกระตุ้น
ให้มกี ารปรับปรุงการทางาน บุคลากรเกิดการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ประโยชน์ ในสิ่ งที่ ลูกค้าได้รบั จากการดาเนิ นการทากิ จกรรม 5ส.
1. ได้รบั ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้คุณภาพตามทีต่ อ้ งการจากการได้ทากิจกรรม 5ส.ทีเ่ กิดคุณภาพ
2. ได้รบั บริการทีด่ ี ได้สนิ ค้าทีม่ มี าตรฐาน ถูกต้อง ครบถ้วน และตามปริมาณทีต่ ้องการ
ทันตามเวลาทีก่ าหนด
3. มีค วามจงรัก ภัก ดีต่ อ สินค้าและบริก าร ยึดมันในคุ ่ ณภาพสินค้า ทาให้เ กิดการ
ประชาสัมพันธ์ในสินค้าและบริการต่อบุคคลภายนอก
549

ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อความสาเร็จในการทากิ จกรรม 5ส
การท ากิจ กรรม 5 ส. จะมีค วามส าเร็จ ได้จ ะต้ อ งมีก ารเตรีย มความพร้อ มภายใน
หน่ ว ยงานประกอบด้ว ย บุ ค คลทุ ก ระดับ ซึ่ง บุค คลตัง้ แต่ ร ะดับ ผู้บ ริห ารซึง จะเป็ น ผู้ก าหนด
นโยบาย วัตถุประสงค์ ทิศทางเป้ าหมาย ไปจนถึงผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนต้องให้ความร่วมแรงร่วมใจ
ในการดาเนินงานให้สาเร็จ ดังนัน้ ปั จจัยสาคัญทีม่ ตี ่อการดาเนินกิจกรรม 5ส. ให้เกิดความสาเร็จ
ได้นนั ้ ต้องอาศัยปั จจัยสาคัญดังนี้
1. ปัจจัยด้านบุคคล ได้แก่
1.1 ผู้บ ริ ห ารระดับ สู ง ซึ่ง ต้ อ งเป็ น ผู้ก าหนดนโยบาย วัต ถุ ป ระสงค์ เป้ า หมาย
กิจกรรม 5ส. ซึง่ จะต้องปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละรับผิดชอบ ดังนี้
1.1.1 ผูบ้ ริหารต้องให้ความสาคัญ และให้การสนับสนุ นอย่างจริงจัง มีส่วนร่วม
ทุกกิจกรรม โดยถือว่าการดาเนินกิจกรรม 5ส. เป็ นส่วนหนึ่งของการทางานปกติของหน่วยงาน
1.1.2 ผู้บริหารต้องให้ความเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชดิ เกี่ยวกับการดาเนินงาน
และติดตามประเมินผลการดาเนินงาน โดยมีการตัง้ คณะกรรมการ หรือคณะทางานเกี่ยวกับ
กิจกรรม 5ส.ให้ทุกระดับ ทุกฝ่ ายเข้ามาทางานเพื่อ เป็ นการสร้างพลังการจูงใจให้สร้างความ
เข้าใจได้ตรงกัน
1.1.3 บทบาทของผูบ้ ริหารในการทาหน้าทีเ่ กี่ยวกับการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
ดังนี้
1) เป็ นแบบอย่างที่ดีในการทากิจกรรม 5ส. เช่น ลงมือ สะสาง และทา
ความสะอาดร่วมกันกับพนักงานทุกระดับเพื่อให้ทุกคนเชื่อมันและไว้ ่ วางใจในความสาเร็จและ
เอาใจใส่ของผูบ้ ริหารอย่างจริงจังและชัดเจน
2) ตรวจสอบติดตาม ประเมิน การดาเนินงาน และประชุมเพื่อทราบการ
ดาเนินงานของกิจกรรม 5ส.อย่างต่อเนื่องและประจาสม่าเสมอ
3) ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณอย่างเหมาะสมพียงพอในกิจกรรมทุก
ขัน้ ตอน
4) สร้างวัฒนธรรมการทางานทีเ่ อื้อต่อการทากิจกรรม 5ส.ให้เป็ นอันหนึ่ง
อันเดียวกันทัวทั ่ ง้ องค์การ
5) ให้คาชมเชย รางวัล และการจัดงานประกวดแข่งขัน ในหน่ วยงาน
อย่างต่อเนื่อง
1.2 หัวหน้ างาน จะเป็ นผูป้ ฏิบตั งิ านเกี่ยวกับกิจกรรม 5ส. อย่างใกล้ชดิ กับพนักงาน
ผูป้ ฏิบตั งิ าน ซึง่ จะมีบทบาทหน้าที่ ดังนี้
1.2.1 หัวหน้างานจะเป็ นผูท้ าหน้าทีใ่ นการผลักดันให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาร่วมมือใน
การปฏิบตั กิ จิ กรรม 5ส. ให้เกิดผลสาเร็จ
550

1.2.2 หั ว หน้ างานต้ อ งอธิ บ ายและสร้ า งค วามเข้ า ใจให้ กั บ พนั ก งาน


ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้เข้าใจเกีย่ วกับขัน้ ตอนการดาเนินงานเกีย่ วกับกิจกรรม 5ส.
1.2.3 หัวหน้างานจะต้องรายงาน บันทึกผลการดาเนินงานกิจกรรม 5ส. ของ
แผนกตนเองทีร่ บั ผิดชอบอย่างต่อเนื่อง
1.2.4 หัวหน้างานต้องตัง้ คณะกรรมการในกลุ่มของผู้ใต้บงั คั บบัญชาเพื่อให้ม ี
หน้าทีใ่ นการรับผิดชอบพืน้ ทีใ่ นการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.อย่างชัดเจน
1.2.5 หัว หน้ างานต้อ งกากับติดตาม และแนะนาให้ผู้ใต้บงั คับบัญชามีค วาม
กระตือรือร้นในการจัดทากิจกรรม 5ส.ให้บรรลุตามเป้ าหมายทีก่ าหนด
1.2.6 หัวหน้างานต้องเป็ นตัวอย่างที่ดใี นเรื่อ งการทากิจกรรม 5ส.เพื่อให้ผู้ใต้
บังคับ บัญชาเชื่อถือ มันใจ ่ และปฏิบตั ติ ามให้เกิดผลสาเร็จ
1.2.7 หัวหน้างานจะต้องกาหนดมาตรการ และวิธกี ารทางานทีแ่ น่ ชดั ว่างานแต่
ละหน้าทีต่ อ้ งมีการจัดทากิจกรรม 5ส.เพื่อความปลอดภัย และปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนอย่างเคร่งครัด
1.28 กระตุน้ จูงใจ และคอยช่วยเหลือให้คาแนะนาแก่ผปู้ ฏิบตั งิ านอยูเ่ สมอ
1.3 พนั กงานผู้ปฏิ บตั ิ งาน ซึ่งเป็ นผู้ปฏิบตั ิงานอยู่หน้ างาน หรือ เป็ นผู้ปฏิบตั ิโดย
ส่ ว นใหญ่ จ ะต้ อ งสัม ผัส กับ งานโดยตรง ที่จ ะท าให้กิจ กรรม 5ส. ไปสู่ ค วามส าเร็จ ในระดับ
ปฏิบตั กิ าร มีหน้าทีด่ งั นี้
1.3.1 ผู้ปฏิบตั ิงานต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขัน้ ตอน กิจกรรมต่าง ๆ
ของการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
1.3.2 ผู้ปฏิบตั ิงานต้องมีส่วนร่วมในการจัดทากิจกรรม 5ส.อย่างต่อเนื่องและ
เป็ นประจาเพื่อให้การปฏิบตั งิ านของตนเองเป็ นระเบียบเรียบร้อย สะอาด สะดวกในการทางาน
เกิดสุขลักษณะอนามัยที่ดี และสร้างนิสยั ให้เป็ นคนมีระเบียบวินัยในตนเองส่งผลให้เกิดความ
ปลอดภัยในการทางาน
1.3.3 ผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนต้องสนับสนุนกิจกรรม 5ส. ด้วยการใส่ใจ เอาใจใส่ดูแล
ส่ ว นงานหรือ พื้น ที่ใ นการท างานของตนเองให้ม ีค วามสะอาด ปลอดภัย ในการท างานอยู่
ตลอดเวลา
1.3.4 ผู้ป ฏิบ ัติง านทุ ก คนต้อ งให้ค วามร่ว มมือ เข้า ร่ว มประชุ ม หารือ และ
รายงานกิจกรรม 5ส. แก่หวั หน้างานของตนเองอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
1.3.5 ผู้ปฏิบตั ิงานทุกคนจะต้องปฏิบตั ิตามหลักของ 5ส.อย่างเคร่งครัด โดย
คานึงถึงความสะดวก ความปลอดภัย และคุณภาพของการทางานเป็ นสาคัญ
1.3.6 ผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนจะต้องหมันบ่ ารุงรักษา ทาความสะอาดสถานทีท่ างาน
อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร บริเวณสถานที่ทางาน และโต๊ะทางานในการทางานของตนเอง
หลังจากทางานเสร็จ
551

1.3.7 ผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนจะต้องมุง่ สร้างสร้างมาตรฐาน ปรับปรุงการทางานให้ดี


ยิง่ ๆ ขึน้ ไป
2. ปัจจัยด้านการดาเนิ นงาน ได้แก่
2.1 หน่ วยงานต้องมีการอบรมให้ความรูเ้ กี่ยวกับกิจกรรม 5ส.ให้แก่บุคลากรใน
องค์การเพื่อสร้างความข้าใจ และให้ทุกคนได้รบั ทราบถึงนโยบาย วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายใน
การดาเนินงานกิจกรรม 5ส. รวมทัง้ ให้มกี ารนาบุคลากรไปศึกษาดูงานในหน่ วยงานที่ประสบ
ความสาเร็จด้านการทากิจกรรม 5ส.เพื่อให้เห็นเป็ นต้นแบบ
2.2 กาหนดมาตรฐาน และปรับระดับมาตรฐานให้สูงขึน้ เพื่อสร้างความเป็ นระบบ
ทีด่ ใี นการดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
2.3 ดาเนินการติดตามประเมินผลอย่างต่ อ เนื่อ ง รวมทัง้ ระบบการรายงานผล
ความคืบหน้าของกิจกรรม 5ส. ให้ทราบทัวกั ่ น
2.4 จัดให้มกี จิ กรรมเพื่อกระตุน้ ส่งเสริมการทากิจกรรม 5ส.เป็ นประจา ได้แก่
2.4.1 การจัดทาป้ ายคาขวัญ โปสเตอร์ กระดานข่าว และสร้างเว็บไซต์
2.4.2 จัดทาคู่มอื แผ่นพับ และเอกสารเผยแพร่ดว้ ยช่องทางต่าง ๆ
2.4.3 การตรวจพื้นที่ทุก ๆ สัปดาห์ โดยตัง้ คณะกรรมการดาเนินงาน 5ส.
ประจาบริษทั หรือองค์การ เช่น จัดให้มกี จิ กรรม Morning Rally โดยไม่แจ้งล่วงหน้า และมีการ
ตรวจสอบเช็คเพื่อรายงานผูร้ บั ผิดชอบ
2.5 จัดทากิจกรรม 5ส. ควบคู่ไปกับกิจกรรมอื่น ๆ เช่น กิจกรรมปรับปรุง หรือ
ระบบข้อเสนอแนะสาคัญทีส่ ุดก็คอื ความขยัน อดทนต่อการดาเนินกิจกรรม 5ส. อย่างต่อเนื่อง

ขัน้ ตอนการดาเนิ นการกิ จกรรม 5ส.


ในการดาเนินการทากิจกรรม 5ส.ให้เกิดความสาเร็จในองค์การจาเป็ นต้องมีขนั ้ ตอนใน
การปฏิบตั ิง านและอาศัยเทคนิ ค ทางการบริห ารจัด โดยสิ่ง แรกที่ต้อ งด าเนิ นการกระท า คือ
ผู้บริหารระดับสูงต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรม 5ส. รวมทัง้ ผู้ปฏิบตั ิกบั ผู้บริหารระดับสูง
ต้องทาความเข้าใจร่วมกันในการทางานให้เป็ นทีมเพื่อให้มแี นวในการดาเนินการอย่างถูกต้อง
เนื่องจากการทากิจกรรม 5ส. ต้องอาศัยการร่วมแรงร่วมใจกันการปฏิบตั ิทุกระดับ ทุกคนใน
องค์การ ทัง้ นี้ผู้บริหารระดับสูงก็ต้องจัดงบประมาณในการดาเนินการพร้อมทัง้ คณะกรรมการ
ต้องอาศัยการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องจนเกิดความสาเร็จตามทีไ่ ด้ตงั ้ เป้ าหมายไว้
ซึง่ การจะทาให้สาเร็จได้ตอ้ งมีการดาเนินการดังนี้
1. ผูบ้ ริหารระดับสูงต้องกาหนดและประกาศนโยบาย 5 ส. ให้พนักงานทุกคนทราบทัว-่
กัน ให้มคี วามจริงจังในการปฏิบตั ิ และลงมือทาอย่างจริงจังอย่างต่อเนื่อง
2. จัดตัง้ คณะกรรมการหรือคณะทางานให้ชดั เจน โดยแบ่งงานและหน้าที่รบั ผิดชอบ
ร่วมกัน ซึง่ คณะกรรมการหรือคณะทางาน จะต้องมาจากตัวแทนของทุกหน่ วยงาน ทุกฝ่ าย ทุก
552

แผนก รวมทัง้ ทุกระดับตาแหน่งงานทีเ่ ป็ นตัวแทนเพื่อเป็ นการประชาสัมพันธ์หรือถ่ายทอดข้อมูล


ไปยังสมาชิกในแผนกของตนเองให้รบั ทราบ
3. จัดให้มกี ารฝึ กอบรมและให้ความรูเ้ กี่ยวกับกิจกรรม 5ส. อย่างละเอียดกับสมาชิกใน
องค์การทุกคนให้เข้าใจในเนื้อหากิจกรรม 5ส. และให้สร้างความเข้าใจถึงนโยบายกิจกรรม 5ส.ที่
ผูบ้ ริหารระดับสูงได้กาหนดเพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักและดาเนินการตามให้สาเร็จ
4. จัดให้มกี ารทา 5 ส. ทัวทั
่ ง้ องค์กร (บริษทั หรือหน่ วยงาน) ให้ครอบคลุมทุกพื้นทีท่ ุก
หน่ ว ยงาน โดยอาจมีก ารแบ่งพื้นที่ค วามรับผิดชอบออกเป็ นหน่ ว ยย่อ ยเพื่อ ให้ง่ายต่ อ ความ
รับผิดชอบในการทา 5 ส. และง่ายต่อการประเมินผล โดยกาหนดโซนพืน้ ทีต่ ามความเหมาะสม
กาหนดพืน้ ทีแ่ ละพร้อมทัง้ มอบหมายผูร้ บั ผิดชอบรวมทัง้ ตัวแทนโซนนัน้ ๆ ด้วย
5. ทุกหน่ วยงาน หรือ ทุกฝ่ ายในสถานประกอบการ จะต้องจัดทาแผนงานกิจกรรม 5ส.
เป็ นรายปี เพื่อให้สามารถปฏิบตั งิ านตามแผนได้ เมื่อขณะลงมือทา 5 ส. ซึง่ ต้องดาเนินงานตาม
แผนงานที่ก าหนดหรือ ตามที่ต ัง้ เป้ า หมายไว้ โดยมีก ารตัง้ เป้ า หมาย หรือ หัว ข้อ กิจ กรรม
(Theme) ให้ชดั เจน เช่น หัวข้อการให้คะแนน และหักคะแนนในจุดต่างๆ และหลักเกณฑ์การ
ประเมินผล เพื่อเป็ นเครื่องมือให้การชีว้ ดั ผลการดาเนินการกิจกรรม 5 ส. รวมทัง้ ข้อแนะนาจาก
คณะทางานหรือกรรมการให้สามารถมีแนวทางในการนาไปวางแผนงานต่อไปได้ตามนโยบาย
ต่อไป
6. องค์การต้องจัดทากิจกรรม 5 ส.ทัวทั ่ ง้ องค์กร ทัง้ สานักงาน และทัง้ โรงงาน สิง่ ที่
สาคัญ คือ ต้อ งจัดให้พนักงานทุกคนมีส่ว นร่ว มในกิจกรรม รวมทัง้ ให้ทุกคนมีค วามเข้าใจใน
หลักการดาเนินกิจกรรม ความหมายของแต่ละหัวข้อซึ่ง สามารถดาเนินการได้หลายแบบ เช่น
การทาบอร์ดกิจกรรม 5ส. การจัดให้มกี ารอบรมเพื่อเพิม่ ความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรม 5ส.
การเลือกตัวแทนคณะกรรมการ 5 ส. เพื่อวัดผลการดาเนินการในองค์กร เป็ นต้น โดยการจัดทา
Big Cleaning Day กิจกรรมต่าง ๆ ที่กล่าวมาต้องมีการกระทาอย่างสม่าเสมอ และต่อเนื่อง
เพื่อให้เกิดความสาเร็จตามแผนงานทีไ่ ด้กาหนดไว้
7. สรุ ป ผลการตรวจพื้น ที่ ดัง นั ้น ทุ ก หน่ ว ยงานจะต้ อ งมีใ บแสดง หรือ Checklist
ความก้าวหน้ าของการทา 5 ส. และติดประกาศให้ทราบโดยทัวกั ่ น หรือเพื่อ ให้เ ห็นความ
ก้า วหน้ า ของกิจ กรรม 5ส. รวมทัง้ สร้า งความภาคภูม ิใ จให้แ ต่ ล ะหน่ ว ยงานที่ไ ด้ร่ว มกัน ท า
กิจกรรม 5ส.นี้ ทีส่ าคัญคือต้องมีการจัดกิจกรรมทีส่ ร้างการกระตุ้น หรือจูงใจด้วยวิธกี ารต่าง ๆ
ได้แก่ ประกวดกิจกรรม 5ส. จัดสัปดาห์ กจิ กรรม 5ส. จัดนิทรรศการ ให้รางวัลอย่างสร้างสรรค์
และศึกษาดูงานนอกสถานทีห่ รือภายนอก เป็ นต้น
8. สื่อสารผลการตรวจ มีการประกาศให้ทราบถึงการดาเนินงานของกิจกรรม 5ส.ทัวทั ่ ง้
องค์การ โดยมีการประกาศในวันที่สาคัญเพื่อที่จะให้เกิดความภาคภูมใิ จและมีขวัญกาลังใจใน
การดาเนินการกิจกรรม 5ส.
553

9. ปรับปรุงแก้ไข เมื่อมีการดาเนินกิจกรรม 5ส. โดยมีการรายงานผลหากมีขอ้ บกพร่อง


หรือมีการจัดทาผลงานต้องมีปรับปรุงโดยเริม่ มาทางาน การวางแผน (Planning) การปฏิบตั ิ
(Doing) การตรวจสอบ (Checking) และการกระทา(Action) เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
จากขัน้ ตอนการดาเนินการกิจกรรม 5ส. สามารถนามาเขียนเป็ นขัน้ ตอนได้ดงั ภาพที่ 9.1

ผูบ้ ริหารระดับสูงกาหนดนโยบาย

ประกาศให้พนักงานทราบทัวทั
่ ง้
องค์การ

แต่งตัง้ คณะกรรมการ

อบรมความรูพ้ น้ื ฐานเกีย่ วกับ


5ส. ให้พนักงานทัวทั
่ ง้ องค์การ
สือ่ สาร/
ประชาสัมพันธ์
กาหนดพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบให้แต่ละ
กิจกรรมต่าง ๆ
หน่วยงานอย่างชัดเจน

จัดทามาตรฐานเพื่อประเมิน
และติดตามผล

จัดทา
Big Cleaning Day

ตรวจพืน้ ทีต่ ามทีก่ าหนดไว้

สรุปผลการตรวจพืน้ ที่

ประชาสัมพันธ์ผลการตรวจพืน้ ทีแ่ ละ
ผลการดาเนินงาน

ปรับปรุงแก้ไข (PDCA)

ภาพที่ 9.1 ขัน้ ตอนการดาเนินการกิจกรรม 5ส.


554

ผลลัพธ์ของการทากิ จกรรม 5ส.


1. ทีท่ างานมีความสะอาด เป็ นระเบียบมากขึน้
2. ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการทางาน
3. ช่วยในการบารุงรักษาเครือ่ งคอมพิวเตอร์
4. การปฏิบตั งิ านมีความสะดวกและปลอดภัยมากยิง่ ขึน้
5. ทุกคนทัง้ ภายในและภายนอกหน่วยงานเห็นการปรับปรุงได้ชดั เจน

องค์ประกอบของกิ จกรรม 5ส.


กิจกรรม 5ส. องค์ประกอบพืน้ ฐานทีส่ าคัญเพื่อให้มกี ารดาเนินงานให้เป็ นไปตามขัน้ ตอน
สาคัญที่ประเทศต้นกาเนิดคือญี่ป่ ุนได้มกี ารพัฒนามาจากการบริหารคุณภาพ หรือการควบคุม
คุณภาพ ซึง่ ได้มกี ารกาหนดองค์ประกอบ ไว้ดงั นี้
1. สะสาง (seiri : เซ-ริ ) หมายถึง การสารวจและแยกให้ชดั เจนว่าของสิ่งใดจาเป็ นและ
สิง่ ใดไม่จาเป็ นในการใช้งาน แล้วขจัดของที่ไม่จาเป็ นออกไปจากพื้นที่ท่รี บั ผิดชอบ โดยการ
กาจัดสิง่ ของที่ไม่จาเป็ นที่ก่อ ให้เ กิดปั ญ หา รวมทัง้ งานระหว่างกระบวนการผลิต (work in
process) และชิน้ ส่วน รวมทัง้ ต้องมีการกาหนดปริมาณทีเ่ หมาะสม
2. สะดวก (seiton : เซ-ตง) หมายถึง การจัดวางของที่จาเป็ นในการใช้งานให้เป็ น
ระบบระเบียบ และง่ายหรือสะดวกในการนาไปใช้ โดยการจัดเก็บวัสดุ สิง่ ของให้เหมาะสมเพื่อ
ป้ องกัน หรือหลีกเลีย่ ง
3. สะอาด (seiso : เซ-โซ) หมายถึง การดูแลรักษาหรือปั ดกวาดเช็ดถู โดยมุ่งเน้นที่
เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร อุปกรณ์ และการทาความสะอาด สถานที่ โต๊ะทางาน ทัง้ นี้เพื่อให้เครื่องมือ
เครือ่ งใช้มคี วามพร้อมต่อการปฏิบตั งิ าน
4. สุขลักษณะ (seiketsu : เซ-เคท-ซึ) หมายถึง การรักษามาตรฐาน การปฏิบตั ิ 3ส.
แรกที่ดีไ ว้ และที่ส าคัญ ในขัน้ ตอนนี้ จะต้ อ งป้ อ งกัน ไม่ใ ห้เ กิด ความสกปรก รวมทัง้ รัก ษา
มาตรฐาน สุขภาพอนามัยที่ดี ในที่น้ีจะต้องรักษาและปรับปรุงการปฏิบตั ิ 3ส แรก โดยกาหนด
เป็ นมาตรฐานและปฏิบตั ใิ ห้ดขี น้ึ และรักษาให้ดี
5. สร้างนิ สยั (shitsuke : ซิ ท-ซิ -เคท) หมายถึง การสร้างนิสยั และมีวนิ ัยในตนเอง
โดยการปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่องจนเกิดจิตสานึก หรือเกิดความเคยชินเป็ นนิสยั
จากองค์ประกอบดังกล่าวได้มกี ารอธิบายถึงความหมายขององค์ประกอบของแต่ล ะ
กิจกรรม 5ส. จะเน้นการปฏิบตั ิ 4ส. แรก การทีจ่ ะทากิจกรรม 5ส. ดาเนินไปในหน่ วยงานอย่าง
ต่อเนื่อง และราบรื่น จะต้องสร้างทีมงานให้มคี วามเข้มแข็งเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จโดยให้เกิด
ความร่วมมือกันทุกฝ่ าย ทุกระดับและสร้างความเข้าใจถึงแนวปฏิบตั ิ รวมทัง้ ให้ทราบถึงผลลัพธ์
ในการปฏิบตั ิ 5ส. ที่ก่อให้เกิดผลด้านการผลิตทาให้ผลผลิตเพิม่ และสร้างประสิทธิภาพในการ
ทางาน และทาให้ลดอุบตั เิ หตุในการทางานได้ ดังสรุปได้โดยย่อ ดังตารางที่ 9.1
555

ตารางที่ 9.1 สรุปความหมายและกิจกรรม 5ส.เพื่อความปลอดภัยในการทางาน


กิ จกรรม 5ส. คานิ ยาม ความหมายในทางปฏิ บตั ิ
สะสาง แยก และกาจัดสิง่ ของทีไ่ ม่จาเป็ น
- แยกสิ่ ง ของที่ ไ ม่ จ าเป็ น และ
เคลื่อนย้ายออกไป รวมทัง้ ปริมาณ
ของที่เ กิน ความจ าเป็ นออกจาก
บริเวณการทางาน
สะดวก จัดให้ง่ายในการใช้ - จัด ให้ง่า ยในการใช้เก็บไว้ใ น
สภาพที่ดี และไม่ ก่ อ ให้ เ กิด การ
ผิดพลาด
สะอาด ทาความสะอาดทุกอย่างในบริเวณ - ทาความสะอาดและตรวจสอบให้
ทีป่ ฏิบตั งิ าน ทัวทั
่ ง้ หมด
สุขลักษณะ รักษามาตรฐานทีด่ ี -ป้ องกันมิให้เกิดความสกปรก และ
รักษาสุขอนามัยทีด่ ไี ว้
สร้างนิสยั การรักษาวินยั ตนเองจนเป็ นนิสยั - การปฏิบตั ติ ามระเบียบกฎเกณฑ์
ของหน่ ว ยงานอย่ า งสม่ า เสมอ
จนกลายเป็ นการกระทาที่เกิดขึ้น
เ อ ง โ ด ย อั ต โ น มั ติ ห รื อ โ ด ย
ธรรมชาติ

ดังนัน้ หลัก การหรือ องค์ป ระกอบของกิจกรรม 5ส. จาเป็ นต้อ งอธิบายลัก ษณะของ
องค์ประกอบของแต่ละ ส. ว่าประกอบด้วยลักษณะ วิธกี าร การปฏิบตั ิ และประโยชน์ของการทา
กิจกรรม 5ส.มีผลต่อการปฏิบตั งิ านเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อด้านการผลิต หรือสานักงาน และ
ช่วยให้ลดอุบตั เิ หตุในการทางาน โดยลักษณะดังนี้
1. ส. ตัวที่ 1 สะสาง (SEIRI : เซริ )
หลักการของสะสาง
เป็ นการแยกของที่ไม่ต้องการออกจากของที่ต้องการ เพราะถ้าเรามีของมากเกินความ
จาเป็ นแล้วจะทาให้เกิดปั ญหาเกี่ยวพืน้ ทีค่ บั แคบ ไม่มพี น้ื ทีใ่ นการวางสิง่ ของหรือใช้สอย จึงต้อง
มีการสารวจแยกแยะให้ชดั เจนว่าจุดใด บริเวณพืน้ ทีท่ ท่ี างาน อุปกรณ์ ลิน้ ชักโต๊ะทางานของแต่
ละคน ตูเ้ ก็บเอกสาร / ตูเ้ ก็บของ / ชัน้ วางของ บริเวณรอบโต๊ะทางาน เป็ นต้น อย่างไรก็ตามการ
สะสาง ไม่ได้มคี วามหมายว่าทิง้ ของ แต่มคี วามหมายว่าแยกแยะของมีค่า และไม่มคี ่า ส่วนของมี
ค่าก็ขาย และบริจาค ขัน้ ตอนของการสะสาง จะต้องทาการสารวจสิง่ ของในพื้ นทีป่ ฏิบตั งิ านโดย
แบ่งสิง่ สารวจ 3 ประเภท
1.1 สิง่ ของทีจ่ าเป็ นในการปฏิบตั งิ าน ได้แก่ เอกสาร อุปกรณ์ เครือ่ งมือ ทีใ่ ช้ทางานเป็ น
556

ประจาควรจัดวางของเหล่านี้ไว้ในบริเวณหรือพืน้ ทีท่ ง่ี ่ายต่อการหยิบจับมาใช้งานได้ง่าย และไม่


ทาให้ตอ้ งเสียเวลาในการเคลื่อนย้าย และไม่ก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุในการทางานได้งา่ ย
1.2 สิง่ ของทีไ่ ม่จาเป็ นในการปฏิบตั งิ าน คือ สิง่ ของทีไ่ ม่จาเป็ นหรือไม่เกี่ยวข้องในการ
ปฏิบตั ิงาน อันจะก่ อ ให้เ กิด การกีดขวางการปฏิบตั ิงาน หรือ ทาให้ขดั ข้อ งในการปฏิบตั ิงาน
สามารถสะสางได้ทนั ที เช่น เอกสารทีไ่ ม่ใช้แล้ว เศษกระดาษ กล่องกระดาษ ลังไม้ ทีไ่ ม่ใช้งาน
หรือใช้งานไม่ได้แล้ว ขยะ เศษเหล็ก เศษวัสดุ ทีจ่ ะก่อให้เกิดอันตรายต่อการทางานเคลื่อนย้าย
กีดขวางทางหนีไฟ หรือทางช่องทางหนีไฟ เป็ นต้น
1.3 พื้นที่ท่มี โี อกาสเสี่ยงต่อการเกิดอุบตั เิ หตุหรือประสบอันตรายในการปฏิบตั งิ าน ซึ่ง
อาจเป็ นพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารให้บริการต่อลูกค้า เช่น บริเวณการบริการซ่อมต่าง ๆ ทีอ่ าจมีวสั ดุกดี ขวาง
น้ ามันลื่นทีพ่ น้ื อาจทาให้เกิดอุบตั เิ หตุระหว่างการปฏิบตั งิ านและการให้บริการต่อลูกค้าได้ เช่น
สถานทีซ่ ่อมรถ สถานทีซ่ ่อมเครือ่ งจักร เป็ นต้น หรืออาจจะเป็ นบริเวณทีเ่ ป็ นทีอ่ บั มุมของห้องทา
ให้มดื มองไม่ชดั เจนก็จาเป็ นต้องมีการสารวจเพื่อให้มกี ารติดไฟให้สว่างเพื่อลดการเกิดอุบตั เิ หตุ
ในการปฏิบตั งิ านได้
หลักการสะสางทีส่ าคัญอีกสิง่ หนึ่ง คือ ต้องมีการถ่ายภาพก่อนทาและ หลังทาการสะสาง
หลักสะสางจึงสามารถเขียนได้ดงั ภาพที่ 9.2

สิ่ งของ

จาเป็ นในการใช้งาน ไม่จาเป็ นในการใช้งาน

จัดสะดวก
ใช้ได้ ใช้ไม่ได้

โอน จัดเก็บ ขาย ทิ้ ง

ภาพที่ 9.2 หลักการของสะสาง


557

สิ่ งที่ควรหลีกเลี่ยงในการสะสาง
1. ให้รบี ลงมือสะสาง “ไม่ผดั วันประกันพรุง่ ”
2. ไม่เกีย่ งงาน หรือขอร้องให้ช่วยสะสางแทน โดยอ้าง “ไม่มเี วลา” เพราะผูท้ ส่ี ะสางแทน
จะไม่กล้าตัดสินใจในการเก็บหรือทาลาย และนี่คอื จุดอ่อนของการสะสาง ที่จะนาไปสู่การไม่
บรรลุวตั ถุประสงค์ของกิจกรรม 5 ส
3. ไม่เป็ นนักสะสมของเก่า เพราะส่วนใหญ่ชอบเก็บของเก่า เช่น นามบัต ร ไว้ใต้กระจก
หรือถ่ายเอกสารต่าง ๆ ไว้เตือนความจา ควรตรวจสอบดูถ้าเอกสารเลยกาหนดเวลาควรกาจัด
ออกไป
ประโยชน์ที่ได้รบั จากการสะสาง
1. ขจัดความสิ้นเปลือ งของการใช้พ้นื ที่ก ล่ าวคือ มีพ้นื ที่ว่ างจากการขจัดสิ่งของที่ไ ม่
จาเป็ นหรือวางเกะกะออกไป
2. ขจัดความสิ้นเปลือ งทรัพยากร วัส ดุ ต่ าง ๆ ที่ใ ช้ใ นการผลิต รวมทัง้ ลดการชารุด
เสียหายของเครือ่ งมือเครือ่ งใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ
3. ลดปริมาณการเก็บ / สารองวัสดุสงิ่ ของ ขจัดสิง่ ทีไ่ ม่จาเป็ นออกประหยัดพืน้ ทีใ่ นการ
เก็บสิง่ ของ
4. ลดการเก็บเอกสารซ้าซ้อน สามารถใช้งานได้อย่างรวดเร็วเมื่อเวลาค้นหาต้องการใช้
เอกสาร หรือลดเวลาในการค้นหาเอกสาร
5. เหลือเนื้อทีข่ องห้องทางาน ตู้ หรือ ชัน้ เก็บเอกสารไว้ใช้ประโยชน์มากขึน้
6. สถานทีท่ างานดูกว้างขวาง โปร่ง / สะอาดตา น่าทางานยิง่ ขึน้
7. ลดข้อผิดพลาดหรือขจัดความผิดพลาดจากการทางาน

ภาพที่ 9.3 การขจัดสิง่ ของทีไ่ ม่ใช้แล้วมาจัดให้เป็ นหมวดหมูแ่ ละมีระเบียบเรียบร้อย


558

2. ส. ตัวที่ 2 สะดวก (SEITON : เซตง)


ในขัน้ ตอนนี้เป็ นการจัดของให้เป็ นระเบียบเพื่อความสะดวกซึง่ ง่ายต่อการใช้งานให้
พนักงานทุกรู้ว่าอะไรเป็ นอะไร และมีความปลอดภัย สุขอนามัยดี หัวใจของสะดวก คือ หยิบ
สิง่ ของง่าย หายก็รู้ ดูก็งามตา เน้ นความคล่องตัว ขจัดการค้นหา ดังนัน้ การจัดสะดวกให้
คานึ งถึง การทางานต้องมี 1) ประสิทธิภาพ 2) คุณภาพ และ 3) ความปลอดภัยให้มากทีส่ ุด
หลักการของสะดวก
1. วางสิง่ ของ เครื่องมือ อุปกรณ์เสร็จแล้วที่ใช้งานให้เป็ นที่เป็ นทาง และมีป้ายบอก
สิง่ ของ
2. การนาสิง่ ของเครือ่ งมือ อุปกรณ์ไปใช้งานให้เน้นการนามาเก็บทีเ่ ดิม
3. สิง่ ของอุปกรณ์เครือ่ งใช้งานบ่อยให้วางใกล้ตวั เพื่อสะดวกรวดเร็วประหยัดเวลาในการ
หยิบใช้งาน และช่วยอุบตั เิ หตุในการทางาน
4. วางสิง่ ของอุปกรณ์ เครือ่ งมือ ทีใ่ ช้งานให้จดั เป็ นหมวดหมู่
ในกรณีในการจัดทาหลักการสะดวกในสานักงาน ต้องดาเนิ นการ ดังนี้
1. งานที่เ กี่ยวข้อ งกับการบริการ หรือ ต้องติดต่ อ บุ ค คลทัวไป ่ ควรอยู่ชนั ้ ล่ างหรือ
ด้านหน้า
2. งานที่ทางานเกี่ยวข้องกัน หรือทางานร่วมกัน ควรมีพ้นื ที่ทางานใกล้กนั หรืออยู่ชนั ้
เดียวกันเพื่อให้กลไกลของงานเร็วขึน้
3. งานหลัก และอุปกรณ์ทต่ี ดิ ตัง้ ยากควรจัดวางในทีท่ จ่ี ะไม่เคลื่อนย้ายบ่อย
4. ช่องทางเดินเข้าออก ควรกว้างเหมาะสมกับจานวนผูใ้ ช้งาน และต้องไม่มสี งิ่ กีดขวาง
มีป้ายแขวน หรือมีเส้นกาหนดชัดเจน
5. มีพ้นื ที่แสดงสถานที่ทางาน มีช่อื กลุ่ม กลุ่มงาน ชื่อและตาแหน่ งของบุคลากรที่
ปฏิบตั งิ าน
6. จัดวางโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์เครื่องใช้ เฉพาะทีใ่ ช้งานได้ดี และมีจานวนเหมาะสมหรือ
เท่ากับจานวนของผูใ้ ช้
7. อุปกรณ์ เครื่องใช้ คอมพิวเตอร์ท่ใี ช้ร่วมกัน จัดวางบนโต๊ะกลาง ทุกคนสามารถใช้
งานได้เมือ่ ต้องการ
8. ตูเ้ อกสาร ควรมีหมายเลขลาดับหรือตัวอักษรลาดับติดไว้ทม่ี ุมบนซ้ายของตู้ เพื่อบอก
ลาดับก่อนหลังของตู้ หรือติดเลขลาดับขนาดย่อมที่มุมซ้ายของตู้ท่มี หี ลายลิน้ ชัก เช่น ตู้ ลิ้นชัก
และมีช่อื ผูร้ บั ผิดชอบแสดงไว้ทม่ี มุ ด้านขวา
9. ลิน้ ชัก หรือชัน้ วาง ทีอ่ ยูร่ ะดับสายตา ควรจัดเป็ นทีจ่ ดั เก็บแฟ้ มทีใ่ ช้งานบ่อย
10. จัดทาบัญชีรายชื่อ หรือคู่มอื การจัดเก็บเอกสารไว้ทโ่ี ต๊ะทางาน
11. แฟ้ มเอกสารมีหมายเลขแฟ้ ม หรือรหัสแฟ้ ม ตามระบบการจัดเก็บเอกสาร
559

12. แบบฟอร์มต่าง ๆ เก็บไว้ในลิน้ ชักตู้ เช่น ตู้ ลิน้ ชัก เพื่อสะดวก ต้องการนามาใช้หรือ
การทางานแทนกัน โดยมีช่อื แบบฟอร์มติดไว้ทล่ี น้ิ ชัก
13. กุญแจ หรือวัสดุต่าง ๆ ควรมีเลขแสดงลาดับ หรือเลขรหัส และจัดวางในพื้นที่
เหมาะสม
14. ป้ ายประกาศ ควรมีจานวนทีเ่ หมาะสมกับความจาเป็ นในการใช้งาน และควรมีป้าย
ของแต่ละกลุ่มที่แสดงถึงความก้าวหน้ากิจกรรม 5ส และควรมีการสะสาง ประกาศทีห่ มดความ
จาเป็ นในการใช้งาน
เนื่อ งจากสานัก งานทัวไป ่ มีจานวนเอกสารค่ อ นข้างมาก ปั ญ หาส่ ว นใหญ่ อ ยู่ท่กี าร
จัดเก็บเอกสารทีถ่ ูกต้อง ผูป้ ฏิบตั งิ านจึงต้องมีความรูค้ วามเข้าใจในระบบของการจัดเก็บเอกสาร
ด้วย เพื่อให้ ส. สะดวก
ประโยชน์ ที่ได้รบั จากการเก็บสิ่ งของที่ตาแหน่ งความสะดวก
1. ลดเวลาการหยิบสิง่ ของมาใช้งาน
2. ลดอุบตั เิ หตุในการทางาน
3. ตรวจสอบสิง่ ของต่าง ๆ ได้ง่ายขึน้ หายก็ทราบ ดูก็มคี วามเป็ นระเบียบเรียบร้อย
สบายตา ทาให้เกิดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการทางานทีด่ ี
4. เพิม่ ประสิทธิภาพการทางานหรือเพิม่ ผลิต ทาให้สร้างกาไรให้องค์การ

ภาพที่ 9.4 ส.สะดวกง่ายต่อการใช้งานเกีย่ วกับเอกสารต่าง ๆ


560

3. ส. ตัวที่ 3 สะอาด (SEISO: เซโซ)


เป็ นการทาความสะอาดสถานที่ทางาน หรือบริเวณที่ทางานที่ตนเองรับผิดชอบ และ
อุปกรณ์เครื่องใช้เป็ นประจาให้ดูสวยงาม และสร้างบรรยากาศในการทางาน และง่ายต่อการ
รักษาความปลอดภัยในการทางาน หัวใจของ ส. สะอาด คือ ดูน่าใช้ ใหม่เสมอ
หลักการของสะอาด
1. กาหนดให้ทาความสะอาดด้วยอุปกรณ์ทาความสะอาดต่าง ๆ
2. กาหนดแบ่งพืน้ ทีด่ ว้ ยการแบ่งเส้นพืน้ ทีใ่ ห้ชดั เจน
3. ขจัดสาเหตุ/กาจัดต้นเหตุอนั เป็ นบ่อเกิดเศษขยะความสกปรก ดูรงุ รังและไม่น่าดู
4. ต้องมีการกาหนดการทาความสะอาดครัง้ ใหญ่เป็ นช่วง เช่น Big Cleaning Day
ประโยชน์ที่ได้จากการหลักการจัดทา ส. สะอาด
1. บริเวณสภาพการทางานสะอาด เหมาะสมกับการปฏิบตั งิ านและทาให้มคี วามสดชื่น
สบายใจในการทางาน
2. เพิม่ ประสิทธิภาพของเครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือในการทางานหรือทาให้ยดื อายุ
การใช้งานของเครือ่ งมือ อุปกรณ์ และเครือ่ งจักร
3. ลดอัตราของเสียของอุปกรณ์เครือ่ งจักรทีใ่ ช้ประกอบในการทางาน
4. สร้างความไว้วางใจกับลูกค้า
จะเห็นได้ ส.ตัวที่ 3 ทาให้เกิดสุขภาพอนามัยทีด่ ตี ่อผูป้ ฏิบตั งิ าน ทาให้ปราศจากการเกิด
โรคต่าง ๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการทางานในตาแหน่งงานต่าง ๆ ได้

ภาพที่ 9.5 ส.สะอาดดูงามตาเป็ นระเบียบเรียบร้อย


561

4. ส. ตัวที่ 4 สุขลักษณะ (SEIKETSU: เซเคทซึ)


หลังจากดาเนินกิจกรรม 3ส ไปแล้ว คือ สะสาง สะดวก สะอาด ส ตัวต่อไป จะเป็ นสิง่
ทีต่ อ้ งเข้าไปเกี่ยวข้องกับบุคคลโดยตรง คือ ส สุขลักษณะ ซึง่ หมายถึง การรักษามาตรฐาน
ที่ดขี องความเป็ นระเบียบเรียบร้อย และความสะอาดในสถานที่ทางานในสานักงาน ให้อยู่ใน
สภาพทีด่ ตี ลอดเวลา รวมทัง้ ต้องพยายามหาทางปรับปรุงให้ดยี งิ่ ขึน้
ดังนัน้ สุขลักษณะต้องการทาให้เกิดสุขลักษณะ โดยทา 3 ส. ต้องทาให้ดขี น้ึ และรักษา
ให้ตลอดไป การทีจ่ ะรักษาสภาพให้มสี ุขลักษณะทีด่ จี ะต้องกาหนดเป็ นมาตรฐาน (Standard) ซึง่
หัวใจของ ส. สุขลักษณะ คือ ต้องทา 3ส.ให้เป็ นนิจ สุขภาพจิตสดใส และทาให้เป็ นผลดีต่อตัว
ผูป้ ฏิบตั งิ านด้านสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยในการทางาน
หลักการของสุขลักษณะ
การรักษาสิง่ ทีท่ าให้ดตี งั ้ แต่ 3 ส. คือ ขจัดสิง่ ทีไ่ ม่จาเป็ น แยกแยะพืน้ ทีใ่ ห้ชดั เจน ระบุจุด
ใดที่เป็ นปั ญหา จะทาให้การทางานสะดวก หยิบจับสิง่ ของอุปกรณ์ก็ง่ายประหยัดเวลา และลด
การเกิด อุ บ ัติเ หตุ ใ นการท างาน ตามมาด้ว ยสถานท างานก็ดู ส ะอาดงามตา น่ า ดู ช ม และ
บรรยากาศน่าทางานด้วย
ขัน้ ตอนการทาสุขลักษณะ
1. กาหนดให้มกี ารปฏิบตั ิกิจกรรม โดยเฉพาะ สะสาง สะดวก อย่างต่อ เนื่อง เช่น
สัปดาห์ละ 1 ครัง้ เดือนละ 1 ครัง้ ตามความเหมาะสมของหน่วยงาน
2. การกาหนดมาตรฐาน หรือแนวทาง ในการปฏิบตั ทิ เ่ี กี่ยวกับ 3 ส. แรก อย่างชัดเจน
และเป็ นที่ยอมรับของสมาชิก ในพื้นที่ โดยทัวไปจะให้ ่ กลุ่ มสมาชิก เป็ นผู้กาหนดในช่ว งเวลา
เริม่ ต้นกิจกรรม เพื่อให้สามารถปฏิบตั ไิ ด้งา่ ย และได้รบั ความร่วมมือจากสมาชิก
3. แต่ งตัง้ คณะกรรมการติดตาม การดาเนินกิจกรรม 5 ส. เพื่อ ให้เ กิดการรักษา
มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง
มาตรฐานโต๊ะทางาน
1. โต๊ ะทางานของบุค ลากรแต่ล ะพื้นที่ควรเหมือ นกัน จะมีแตกต่ างเฉพาะหัวหน้ า
หน่วยงาน/ผูช้ ่วย/หัวหน้าฝ่ าย
2. โต๊ะกระจก โต๊ะทางาน หากมีผ้า กระดาษ หรือวัสดุอ่นื รองกระจกควรเป็ นวัสดุท่ี
เหมือนกัน สีเดียวกัน ในแต่ละพืน้ ที่ และให้ใส่เอกสารที่จาเป็ น และเกี่ยวข้องกับการปฏิบตั งิ าน
เท่านัน้ และจัดวางอย่างมีระเบียบ
3. ไม่วางเอกสาร หรือสิง่ ของใด ๆ ไว้ใต้โต๊ะทางาน ยกเว้น รองเท้า 1 คู่ และถังขยะ
ขนาดเล็ก 1 ใบ
4. บนโต๊ะทางานต้องสะอาด ให้มเี อกสาร และอุปกรณ์ทเ่ี กี่ยวข้องกับการทางานเท่านัน้
จัดวางอย่างมีระเบียบ
562

5. ลิ้นชักบนด้านขวามือของโต๊ะทางาน ใช้เก็บอุปกรณ์ หรือเอกสารในการปฏิบตั งิ าน


และลิน้ ชัดล่างเป็ นลิน้ ชักเก็บของส่วนตัว
6. นอกเวลาทางานงดวางเอกสาร อุปกรณ์สานักงาน หรือสิง่ ของใด ๆ ไว้บนโต๊ะยกเว้น
โทรศัพท์ เครือ่ งคานวณเลขไฟฟ้ า แก้วน้า ปฏิทนิ ตัง้ โต๊ะ
7. เก้าอี้ เมื่อไม่ใช้งานให้เลื่อนเก็บเข้าใต้โต๊ะให้เรียบร้อย ไม่แขวนหรือวางสิง่ ของใด ๆ
ไว้ทเ่ี ก้าอี้
มาตรฐานตู้เอกสาร (ชนิ ด 2 บาน และ 4 ลิ้ นชัก)
1. ก าหนดผู้รบั ผิดชอบดูแ ลตู้เ อกสาร ตู้เ ก็บวัส ดุ อุ ปกรณ์ ส านั ก งาน โดยติด ชื่อ
ผูร้ บั ผิดชอบให้ชดั เจนด้านขวา
2. ตู้เก็บเอกสารชนิดบานทึบ ต้องปิ ดป้ ายแสดงรายการเอกสาร หรืออุปกรณ์ไว้หน้าตู้
เพื่อสะดวกในการใช้งาน
3. เอกสารหรืออุปกรณ์ภายในตู้ ต้องมีการสะสาง และทาความสะอาดเป็ นประจาทุก
เดือน
4. แฟ้ มเอกสารภายในตู้ สันแฟ้ มมีช่อื บอกชัดเจน จัดเป็ นประเภท หมวดหมู่ เรียง
ตามลาดับ และจัดรหัสตู้ รหัสแฟ้ มกากับด้วย
ประโยชน์ที่ได้รบั ของ ส.สุขลักษณะ
1. สถานทีบ่ ริเวณทีท่ างานเป็ นระเบียบ เรียบร้อย สดชื่น เหมาะสมการทางาน
2. ทาให้สุขภาพทางร่างกาย จิตใจ และสังคมดี
3. ทาให้เป็ นการรักษามาตรฐานของความเป็ นระเบียบเรียบร้อยให้คงอยูต่ ลอดไป
การทาให้เ กิดสุ ข ลัก ษณะได้นัน้ จะเข้าใจ ส.ทัง้ 3 ส.ให้เ ข้าใจและมีการปฏิบ ัติอ ย่า ง
สม่ าเสมออย่างเนื่องจนทาให้เกิดสุขลักษณะที่ดี คือ มีความปลอดภัยปราศจากภัยไข้เจ็บอัน
เกิดจากการทางาน

ภาพที่ 9.6 ส.สุขลักษณะสถานทีท่ างานเป็ นน่าอยู่


563

5. ส.ตัวที่ 5 สร้างนิ สยั (SHITSUKE: ชิ ทซึเคท)


สร้างนิสยั คือ การปฏิบตั ติ ามระเบียบกฎเกณฑ์ของหน่ วยงานอย่างสม่าเสมอ จนกลาย
เป็ น การกระทาที่เ กิดขึ้นเอง โดยธรรมชาติ เช่ น ไม่ท้ิงสิ่ง ของต่ า ง ๆ ลงพื้น การเก็บของที่
นามาใช้เข้าทีเ่ ดิมทุกครัง้ หรือดูจากตัวอย่างง่าย ๆ และใกล้ตวั มากทีส่ ุด คือ การเลื่อนเก้าอี้เข้า
ใต้โต๊ะหลังจากเลิกใช้งาน การจะทาให้เกิดสร้างนิสยั หรือปฏิบตั ติ นจนเป็ นนิสยั ได้นัน้ จะต้องมี
การกาหนดแนวทางในการปฏิบตั สิ าหรับเอกสาร อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ สถานที่ และคน
ขึน้ มาก่อน และเป็ นต้นแบบให้บุคลากรในหน่วยงานทาตาม
การสร้า งนิ ส ัย ในการที่ม ีจ ิต ส านึ ก ทัศ นคติท่ีดีใ นการปฏิบ ัติง านตามระเบีย บอย่า ง
เคร่งครัด รวมทัง้ สร้างนิสยั ให้พนักงานเกิดการเรียนรูใ้ ห้มกี ารอบรมพัฒนา และปรับปรุงสถานที่
ทางาน ดังนัน้ การปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ มีวนิ ัยเป็ นนิสยั ทีด่ ยี ่อมก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการ
ท างานโดยเฉพาะอย่า งยิ่ง ความปลอดภัย ในการท างาน ซึ่ง เป็ น ผลจากการปฏิบ ัติต ามกฎ
ระเบียบอย่างเคร่งครัดจนเป็ นนิสยั และมีสุขภาพอนามัยทีด่ ี
หลักการของสุขลักษณะ
การกระตุ้นและติดตามให้บุคลากรปฏิบตั ิตามวิธกี ารของ 4ส.ข้างต้นอย่างต่อเนื่องและ
เคร่งครัดจนกลายเป็ นนิสยั และเป็ นความปลอดภัยในการทางานของชีวติ ประจาวัน ซึง่ หัวใจของ
ส.นิสยั คือ การปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องและติดเป็ นนิสยั นันเอง

ประโยชน์ ของของ ส.สร้างนิ สยั
1. พนักงานทีม่ คี ุณภาพมีทศั นคติทด่ี ใี นการทางาน
2. ทาให้สนิ ค้ามีคุณภาพเป็ นทีย่ อมรับของคนทัวไป ่
3. มุง่ สู่ความเป็ นเลิศในด้านการประกอบธุรกิจ
4. ทาให้เกิดภาพลักษณ์ทด่ี ขี องการทางาน
5. หากมีก ารปฏิบตั ิจนติดเป็ นนิสยั สามารถนาไปปรับใช้ห รือปรับปรุงใช้ได้กับทุก
ลักษณะงาน
6. ทาให้เกิดความปลอดภัยในการทางานและได้ผลผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
7. สถานที่ทางานสะอาดมีความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ประหยัดค่าใช้จ่ายขององค์การ
ทาให้ตน้ ทุนการผลิตลดลงและผลผลิตสูงขึน้ ได้
การปฏิบตั งิ านเพื่อให้เกิดความปลอดภัย อาชีวอนามัยที่ดกี ารปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ
และหลักเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ อย่างเคร่งครัดทุกวันจนเกิดความเคยชิน และติดเป็ นนิสยั รวมไปถึง
การทาให้สมาชิกในองค์การได้ช่วยกันรักษามาตรฐานการทางานทีด่ ใี ห้คงอยูต่ ลอดไปได้
การดารงรักษาไว้และขยายงาน กิ จกรรม 5ส.
กิจกรรม 5ส.เป็ นกิจกรรมทีช่ ่วยให้สถานประกอบการหรือโรงงานเกิดความเป็ นระเบียบ
เรียบร้อย และเป็ นระบบที่ดใี นการทางานอีกหลักการสาคัญหนึ่งที่นิยมนาให้พนักงานปฏิบตั ิ
564

และให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการทากิจกรรมดังกล่าวนี้ให้ประสบความสาเร็จ ซึ่งจะต้องมี
หลักการสาคัญ ๆ ดังนี้
1. กาหนดหัวข้อสาคัญทีจ่ ะดาเนินการในแต่ละเดือนไว้ให้ชดั เจนและแบ่งช่วงระยะเวลา
และผูร้ บั ผิดชอบในการปฏิบตั ิ เช่น การขจัดของทีไ่ ม่ต้องการ การเช็ดถูทาความสะอาด การเก็บ
กวาดทีท่ างานทุกวัน การตรวจตราสิง่ ของทีม่ กี ารชารุดเสียหาย เป็ นต้น
2. การดาเนินงานให้ดาเนินการโดยบุคคลทีม่ คี วามรับผิดชอบในงานตนเองทีอ่ ยู่ในกลุ่ม
ทีจ่ ดั ไว้ ซึง่ เป็ นการทางานแบบร่วมมือกันทางานให้บรรลุเป้ าหมาย
3. หัวหน้างานมีความตัง้ ใจจริงและมีความกระตือรือร้น โดยหัวหน้างานเป็ นผู้นา และ
ปฏิบตั ใิ ห้เป็ นตัวย่างแก่ผใู้ ต้บงั คับบัญชา
4. การตรวจให้ค ะแนน โดยคณะกรรมการตรวจให้ค ะแนน ต้อ งมีการประกาศหรือ
ประชาสัมพันธ์คะแนนของแต่ละกลุ่มรวมทัง้ นาจุดเด่นมาสนับสนุ นและให้กาลังใจ ส่วนหากพบ
จุดบกพร่องต่าง ๆ ให้ดาเนินการปรับปรุงหาแนวทางแก้ไขให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง
5. การกาหนดเป็ นมาตรฐานที่เป็ นแนวปฏิบตั ิ ทาการรวบรวมหลักเกณฑ์แล้วนามา
กาหนดเป็ นมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน และปรับปรุงไปสู่การตรวจเช็คภายในโรงงาน และให้
สอดคล้องกับมาตรฐานทีก่ าหนดไว้
6. สนับ สนุ นให้ด าเนิน การปรับปรุง โดยมุ่งหวัง ว่า งานปรับ ปรุงที่ส ามารถทาได้เ อง
จะต้องให้พนักงานในกลุ่มเป็ นผูด้ าเนินการเอง
7. แจ้งข้อคิดเห็นให้ทราบโดยทัว่ ๆ กัน พร้อมทัง้ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นซึ่งกันและกัน
จัดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการดาเนินงานของแต่ละกลุ่ม ภายในบริเวณกลุ่มของตนเอง และ
ควรติดป้ ายแสดงให้ทราบว่ากลุ่มเป็ นใครบ้าง โดยติดป้ ายเป็ นชื่อต่าง ๆ ตามทีก่ าหนด
การตรวจติดตามและประเมินผลกิจกรรม 5ส. เป็ นงานที่สาคัญเมื่อมีการจัดกิจกรรมการ
ทา 5ส.ขึน้ ในสานักงานหรือสถานประกอบการ คณะกรรมการจึงจาเป็ นต้องมีการตรวจติดตาม
ประเมินผลโดยมีคณะกรรมการเป็ นผูแ้ บ่งงานกันทาและมอบหมายให้แต่ละทีมทาหน้าที่ ในการ
ตรวจติดตามทุก ๆ เดือน ดังมีการออกแบบการประเมินดังนี้
565

แบบการตรวจสอบติ ดตามและประเมิ นผลการดาเนิ นกิ จกรรม 5ส.


ประจาเดือน .......................................
วัน/เดือน/ปี ผูป้ ระเมิ นผล หน่ วยงาน/แผนก /ฝ่ าย หมายเหตุ
566

แบบการประเมิ นผลการดาเนิ นกิ จกรรม 5ส.


ประจาเดือน .......................................
วัน/เดือน/ปี หน่ วยงาน/ ผูป้ ระเมิ นผล ผลการประเมิ น ข้อเสนอแนะ หมายเหตุ
แผนก /ฝ่ าย (ค่าคะแนนที่ได้) ปรับปรุง
567

การกาหนดมาตรฐานในการดาเนิ นการ 5ส.ตามข้อตกลงร่วมกันสาหรับโรงงาน


สถานประกอบการหรือ โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่คณะกรรมการในการตรวจสอบ
ประเมินผลการดาเนินงานกิจกรรม 5ส. เมื่อมีการตรวจสอบ ประเมินผลการดาเนินงานทุกครัง้
จะต้อ งมีการประชุม หารือ ในการตรวจสอบ ให้มกี ารปรับปรุงอย่างต่อ เนื่อ งในความจาเป็ น
คานึงถึง เครือ่ งจักร เครือ่ งมือ อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการทางาน เพื่อให้เกิดคุณภาพในการทางาน และ
ช่วยลดอุบตั เิ หตุ ความสูญ และลดต้นทุนได้ ดังนี้
เครื่องจักร ต้องมีการดูแลรักษา ดังนี้
1. ใช้เครื่องจักรตามมาตรฐานที่ก าหนดเสมอเพื่อคุ ณภาพของสินค้าและการผลิต
ผลิตภัณฑ์
2. เพื่อป้ องกันเครื่องจักรชารุด/เสีย หมันท ่ าความสะอาดและปฏิบตั ติ ามแบบตรวจสอบ
ของฝ่ ายวิศวกรรมประจาโรงงาน
3. ตรวจสอบสวิตซ์ฉุกเฉิน และความพร้อมในการทางานของเครือ่ งจักร
4. กาหนดตารางเวลาในการบารุงรักษา และตรวจสอบเครื่องจักรเพื่อป้ องกันเครื่องเกิด
ขัดข้องระหว่างเครือ่ งจักรเดินเครือ่ ง
รถยก ต้องมีการฝึกให้ตดิ เป็ นนิสยั ในระหว่างทางานกับเครื่องมือ อุปกรณ์ ในการทางาน
ดังนี้
1. พนักงานที่ทาหน้าทีข่ บั รถยกต้องขับให้อยู่ในช่วงความเร็วไม่เกิน 10 กิโลเมตรต่อ
ชัวโมง

2. หลีกเลีย่ งการออกและหยุดรถกะทันหัน เพื่อความปลอดภัยและยืดอายุยางรถ
3. กาหนดเวลาทาความสะอาดและตรวจสอบอย่างสม่าเสมอ
4. การขับขีจ่ ะต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบในการขับรถยก
งานระหว่างกระบวนการผลิ ต ขณะทางานจะต้องปฏิบตั ิ ดังนี้
1. ขณะชิน้ งานผลิตออกมาต้องวางชิน้ งานระหว่างกระบวนการผลิตในทีท่ ก่ี าหนดไว้
2. เพื่อความสะดวกในการหยิบ เดิน ต้องติดป้ ายชื่อบนชิ้นงานแต่ละงาน หรือที่โต๊ะ
ทางาน
3. ไม่วางชิน้ งานบริเวณช่องทางเดิน
4. แยกผลิตภัณฑ์ไม่ดอี อก และวางในทีท่ ก่ี าหนดไว้
5. ในระหว่างกระบวนการผลิตต้องให้การทางานจัดให้มกี ารเคลื่อนย้ายหรือพนักงาน
เดินในระยะทางทีใ่ กล้ทส่ี ุด เนื่องจากลดระยะเวลาในการเกิดอุบตั เิ หตุ
568

การทางานที่ อยู่กบั น้ามันเครื่อง ต้องปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัดเพื่อความปลอดภัยในการ


ทางาน ดังนี้
1. ติดป้ ายชื่อทีภ่ าชนะบรรจุ และเก็บไว้ในทีท่ ก่ี าหนด
2. เทน้ าลงในภาชนะที่รองรับหรือจัดไว้อย่างระมัดระวัง เพื่อป้ องกันการกระเด็นหรือ
กระจายลงพืน้ ที่
3. หากน้ามันกระเด็น ต้องเช็ดทาความสะอาดทันที
4. ห้ามเก็บสารไวไฟในสถานทีท่ างาน หากไม่ได้รบั อนุญาต
5. สารไวไฟควรเก็บและหยิบใช้โดยพนักงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเท่านัน้
6. ร่วมใจป้ องกันพืน้ ทีโ่ รงงานจากน้ ามันและคราบสกปรก
รถเข็น หากมีการใช้อุปกรณ์ในการช่วยในการทางานต้องปฏิบตั ิ ดังนี้
1. หลังจากใช้งาน นารถเข็นเก็บในทีท่ ก่ี าหนด
2. หากรถเข็นหรือล้อรถผิดปกติ ต้องซ่อมแซมแก้ไขทันที
3. ไม่วางสิง่ ของต่าง ๆ ไว้บนรถเข็นอย่างเด็ดขาดในกรณีทไ่ี ม่ใช้งาน
4. เข็นรถอย่างระมัดระวังไม่ให้ชนสิง่ ต่าง ๆ
5. ไม่จอดรถบนทางเดินในโรงงานอย่างเด็ดขาด
เครื่องมือเครื่องใช้ การปฏิบตั ดิ ว้ ยเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
ต้องปฏิบตั ดิ งั นี้
1. กาหนดให้พนักงานต้องมีความรับผิดชอบเครื่องมือเครื่องใช้ทุกชิน้ ด้วยดูค่มู อื ในการ
บารุงรักษาอย่างเคร่งครัดและเอาใจใส่
2. ไม่ว างของอย่า งอื่น ในตู้ ห รือ แขวนเครื่อ งมือ เนื่ อ งจากอาจเกิด อุ บ ัติเ หตุ กับ
ผูป้ ฏิบตั งิ านทีจ่ ะนาเครือ่ งมือ หรือหยิบจับเครือ่ งมือไปใช้
3. เพื่อความสะดวกในการเก็บและหยิบควรจัดทาตาแหน่ งเก็บเครื่องมือเครื่องใช้ในที่
จัดเก็บหรือทีท่ ก่ี าหนด
4. ก าจัดเครื่อ งมือ เครื่อ งใช้ท่ไี ม่จาเป็ นออกจากหน่ ว ยงาน ห้ามน าเครื่อ งมือ จาก
หน่วยงานอื่นมาใช้ก่อนได้รบั อนุญาต
ทางเดิ นในโรงงาน หากผู้ปฏิบตั งิ านมีการปฏิบตั งิ านตามที่กฎระเบียบของโรงงานจะ
ทาให้ไม่เกิดอุบตั เิ หตุในการทางานในโรงงาน ต้องมีการปฏิบตั ดิ งั นี้
1. ในโรงงานเมือ่ กาหนดสีน้าตาลจะเป็ นทางเดิน และใช้สเี หลืองเป็ นเส้นแบ่งเขตพืน้ ทีใ่ น
โรงงาน
2. ห้ามวางของบริเวณทางเดินเข้าออกโดยเด็ดขาด เนื่องจากทางเดินเป็ นเส้นทางทีต่ ้อง
มีความปลอดภัยห้ามมีสงิ่ กีดขวางใด ๆ โดยเฉพาะกรณีมเี หตุฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ และการใช้
เส้นทางเร่งด่วน เป็ นต้น
569

3. ห้ามทางานบริเวณทางเดินหากไม่ได้รบั อนุญาตจากผูท้ ร่ี บั ผิดชอบโดยตรง


4. ทาความสะอาดเส้นแสดงทางเดินทีก่ าหนดเป็ นประจาสม่าเสมอให้มคี วามชัดเจนและ
มองได้อย่างสะดวก
5. พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงานจะต้องเดินบนทางเดินอย่างชัดเจนเพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัย
6. ควรแยกบริเวณทีท่ างานและทางเดินอย่างชัดเจนเพื่อการกาหนดพืน้ ทีส่ ดั ส่วนให้ม ี
ความชัดเจนในการใช้เส้นทาง
สถานที่ทางานในโรงงาน หากจะให้เกิดความปลอดภัย และลดอุบตั เิ หตุในการทางาน
ต้องปฏิบตั ิ ดังนี้
1. รักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรียบร้อยอยูเ่ สมอ
2. ไม่ท้งิ ขยะ กระป๋ อง ขวด ก้นบุหรี่ เศษกระดาษ และวัสดุท่ไี ม่ใช้ภายในบริเวณที่
ทางาน
3. วางถังขยะให้ตรงจุดทีก่ าหนด ภายในทีท่ างาน
4. ไม่วางเอกสารบนเครือ่ งจักรในโรงงาน
อุปกรณ์ ป้องกันและระงับอัคคีภยั ผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงานและสานักงานจาเป็ นต้อง
ได้รบั ความรู้ เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีเพื่อให้สามารถใช้อุปกรณ์เหล่านี้ได้
เมือ่ เกิดเหตุฉุกเฉิน ดังนี้
1. ห้ามนากล่อง อุปกรณ์ หรือ สิง่ ใด ๆ วางกีดขวางการเข้าไปหยิบอุปกรณ์ป้องกัน และ
ระงับอัคคีภยั
2. มันใจว่
่ าทุกคนรูว้ ธิ กี ารใช้อุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีภยั
3. ตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีภยั ตามแบบการตรวจสอบ
4. เจ้าหน้ าที่ประจาโรงงานที่รบั ผิดชอบเกี่ยวกับงานด้านการป้ องกันอัคคีภยั มีหน้ าที่
จัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันและระงับอัคคีภยั อยูใ่ นจุดทีเ่ ห็นได้ง่ายและชัดเจน
ในการตรวจการให้คะแนนการทากิจกรรม 5ส.ในส่วนของสานักงานจะมีความแตกต่าง
กันจากส่วนทีเ่ ป็ นของโรงงานเนื่องจากในส่วนนี้จะมีการผลิต และประกอบจึงทาให้มเี ครื่องจักร
เครื่องมือ และอุปกรณ์ รวมทัง้ วัสดุต่ าง ๆ ในการผลิต และประกอบจึงเน้ นความเป็ นระเบียบ
เรียบร้อย ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยให้มากที่สุด และการเป็ นสร้างความมันใจให้ ่ กับ
ลูกค้า จึงต้องออกแบบการตรวจทีม่ เี ครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ และวัสดุต่างอย่างละเอียดดัง
ตัวอย่างแบบตรวจการให้คะแนนการจัดทากิจกรรม 5ส. ส่วนโรงงาน
570

ตัวอย่างแบบตรวจการให้คะแนนการทากิ จกรรม 5ส.ส่วนโรงงาน


ชื่อหน่วยงาน .......................................................... วัน เดือน ปี ทต่ี รวจ ............................เวลา .............................
(จานวนพนักงานในพืน้ ที่ .................................... คน มีพน้ื ที่ ............................................................... ตารางเมตร)
หัวข้อ รายละเอียดการตรวจ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ รวม
1. สภาพแวดล้อมใน 1. มีคราบน้ ามัน คราบสกปรกหรือกองขยะบนพื้นหรือไม่2. มี 4
พืน้ ที่ 5ส. การจัดเก็บอุปกรณ์เครื่องใช้เป็ นระเบียบหรือไม่ 4
3. มีถงั ขยะมากพอ และตัง้ อยู่ในจุดทีเ่ หมาะสมหรือไม่ 4
4. อุปกรณ์ดบั เพลิงมีการกาหนดทีว่ าง/มีป้ายบอกหรือไม่ 24 4
5. มีความสะอาดเป็ นระเบียบเรียบร้อยหรือไม่ 4
6. มีการติดป้ ายบอกหน่วยงานหรืออื่น ๆ ทีจ่ ะมองเห็นชัดเจน 4
2. อุปกรณ์ไฟฟ้ าและ 1. อุปกรณ์ไฟฟ้ า ปลักไฟ ๊ หลอดไฟ ชารุดเสียหายหรือไม่ 4
เครื่องคอมพิวเตอร์ 2. ตูไ้ ฟมีของไม่จาเป็ นวางอยู่ / สกปรกหรือไม่ 4
3. มีการเก็บและเดินสายไฟ/โทรศัพท์เรียบร้อย ไม่สะดุดหรือ 16 4
เกะกะทางเดินหรือไม่
4. ไฟฟ้ าแสงสว่างใช้งานได้ด/ี แสงสว่างเพียงพอหรือไม่ 4
3) เครื่องจักรและ 1. มีป้ า ยบอกชื่อ ผู้ร ับ ผิด ชอบดู แ ลรัก ษาเครื่อ งมือ อุ ป กรณ์ 4
เครื่องมืออุปกรณ์ ประจาหรือไม่
เครื่องใช้ 2. มีการทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ใช้งานอย่างเป็ น 4
ระบบเป็ นประจาหรือไม่
3. มีสงิ่ ของทีไ่ ม่จาเป็ น/ไม่เกี่ยวข้องวางบนเครื่องจักร/อุปกรณ์ 20 4
ใช้งานหรือไม่
4. จัดทาวิธกี ารหรือมาตรฐานในการเก็บเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง 4
ๆ ไว้หรือไม่
5. เครื่องมือและอุปกรณ์ ใช้งานต่าง ๆ อยู่ ในสภาพปลอดภัย 5
หรือไม่
4. การเก็บเครื่องจักรและ 1. มีฝ่ นุ คราบสกปรกเกาะตามจุดต่าง ๆ หรือไม่ 4
เครื่องมืออุปกรณ์ดแู ล 2. เครื่องมือ/ปกรณ์อยู่ในสภาพทีห่ ยิบง่ายหรือไม่ 4
ทาความสะอาดพร้อมใช้ 3. มีการกาหนดทีว่ างแน่นอนและมีป้ายบอกหรือไม่ 20 4
งานและเก็บไว้ในสภาพ 4. มีการทาสี ตีเส้นกาหนดเขตการวางสิง่ ของ/อุปกรณ์หรือไม่ 4
เดิม 5. มีน้ าหรือน้ ามันหกเลอะเทอะบนพืน้ หรือไม่
4
5. การดาเนินกิจกรรม 1. การแต่ ง กายพนั ก งานถู ก ต้ อ งตามกฎระเบี ย บบริษัท ที่ 4
5ส. กาหนดไว้หรือไม่
2. มีความพยายามในการปรับปรุงพืน้ ทีม่ แี ผนทีแ่ สดงไว้ชดั เจน 4
หรือไม่ 20
3. มีก ารจัด ตัว แทนพื้น ที่ไ ว้ อธิบ ายขัน้ ตอนการด าเนิ น งาน 4
หรือไม่
4. มีการกาหนดมาตรฐานของพืน้ ทีห่ รือไม่ 4
5. มีผงั แบ่งพืน้ ทีด่ ูแลหรือไม่ 4
(คะแนนทีไ่ ด้ครัง้ ก่อน .....................................) คะแนนเต็ม 100

ลงชื่อกรรมการตรวจให้คะแนน/กลุ่มกรรมการผูต้ รวจ
1)....................................................................... 2)....................................................................
3) ..................................................................... 4) ....................................................................
หมายเหตุ : 1) ค่าระดับคะแนนทีป่ ระเมิน ดังนี้
571

ดีมาก เท่ากับ 4,ดี เท่ากับ 3, พอใช้ เท่ากับ 2, และ ต้อ งปรับปรุง เท่ากับ 1
2) การประเมินคะแนนรวมทีไ่ ด้
น้อยกว่า 50 = ต้องปรับปรุง
60 – 69 = ดี
80 - 89 = ดีมาก และ
90 -100 = ยอดเยีย่ ม
การกาหนดมาตรฐานในการดาเนิ นการ 5ส.ตามข้อตกลงร่วมกันสาหรับสานักงาน
สานักงาน หรือ หน่ วยงานที่ไม่ใ ช่โรงงานอุต สาหกรรม ส่ว นใหญ่ คณะกรรมการในการ
ตรวจสอบประเมินผลการดาเนิน งานกิจกรรม 5ส. เมื่อ มีก ารตรวจสอบ ประเมิน ผลการ
ดาเนินงานทุกครัง้ จะต้องมีการประชุม หารือ ในการตรวจสอบ ให้มกี ารปรับปรุงอย่างต่อเนื่องใน
ความจาเป็ นคานึงถึง อุปกรณ์ท่ใี ช้ในการทางาน เพื่อให้เกิดคุณภาพในการทางาน และช่วยลด
อุบตั ิเหตุ ลดขัน้ ตอนในการทางาน ประหยัดค่าใช้จ่าย และเกิดความรวดเร็วในการให้บริการ
ต้องประกอบด้วยสิง่ ต่าง ๆ ดังนี้
โต๊ะทางาน ต้องมีการจัดโต๊ะทางานให้เหมาะสม ดังนี้
1. ไม่วางสิง่ ของทีไ่ ม่จาเป็ นไว้บนโต๊ะ
2. กาจัดสิง่ ต่าง ๆ ทีไ่ ม่จาเป็ นในลิน้ ชักออกให้หมดเพื่อให้งา่ ยต่อการหยิบสิง่ ของใช้งาน
3. จัดสิง่ ของในลิน้ ชักโต๊ะทางานให้เป็ นระเบียบ เพื่อง่ายต่อการหยิบใช้สงิ่ ของ
4. จัดเก็บเอกสารบนโต๊ะให้เป็ นระเบียบ
5. เมือ่ เลิกงานไม่ควรวางเอกสารทีไ่ ม่จาเป็ นไว้บนโต๊ะทางาน
6. ทาความสะอาดให้มคี วามสะอาดเรียบร้อยเสมอ
เก้าอี้ในสานักงาน เพื่อให้การปฏิบตั งิ านมีความเรียบร้อยดูแล้วงามตา และส่งผลต่อ
ความปลอดภัยในการทางาน ต้องปฏิบตั ดิ งั นี้
1. เมือ่ ลุกออกจากทีท่ างานทุกครัง้ จะต้องเลื่อนเก้าอีเ้ ข้าไว้ใต้โต๊ะ
2. ไม่พาดเสือ้ หรือผ้าใด ๆ บนพนักเก้าอี้
3. ต้องทาความสะอาดอยูป่ ระจาสม่าเสมอเพื่อให้ดสู ะอาด และมีสุขลักษณะทีด่ ี
อุปกรณ์ สานักงาน สานักงานมีอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการปฏิบตั งิ านหลายชนิดซึง่ แต่ละชนิด
มีการใช้งานทีแ่ ตกต่างกันเพื่อให้มกี ารยืดอายุงานจะต้องมีการปฏิบตั ิ ดังนี้
1. ทาความสะอาดเครื่องพิมพ์ดดี คอมพิว เตอร์ เครื่อ งถ่ายเอกสาร เครื่องแฟกซ์
เครือ่ งพิมพ์ เป็ นต้น ทีแ่ ต่ละแผนกรับผิดชอบ
2. เก็บเอกสารไวไฟให้เรียบร้อย เพื่อความเป็ นระเบียบเรีย บร้อยและความปลอดภัย
3. เตรียมอุปกรณ์สานักงานให้พร้อมใช้งานตอลดเวลา
572

4. จัดวางกระดาษและอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้องให้เป็ นระเบียบเรียบร้อย


5. ตรวจสอบอุปกรณ์ท่เี กี่ยวข้องกับการทางานที่ใช้ประจาให้มสี ภาพพร้อมใช้งานยู่
สม่าเสมอและแก้ไขทันทีท่ ผ่ี ดิ ปกติ
โทรศัพท์ หากจะทาให้เกิดสุขภาพอนามัยทีด่ จี ะต้องมีการดูแลอุปกรณ์ ดังนี้
1. ต้องทาความสะอาดเครือ่ งมือ และแป้ นโทรศัพท์อยูเ่ สมอ
2. เก็บสายโทรศัพท์อย่างเป็ นระเบียบเรียบร้อย
3. วางโทรศัพท์ในจัดทีส่ ะดวก และทีก่ าหนดพร้อมทีจ่ ะหยิบมาใช้งานได้สะดวก
4. เมือ่ เลิกงานควรวางโทรศัพท์ให้เรียบร้อยไม่เกะกะ
ตู้เอกสาร เป็ นอุปกรณ์ทเ่ี ก็บสิง่ ของให้เกิดความเป็ นระเบียบและให้มพี น้ื ทีใ่ นการใช้งาน
ได้มากขึน้ ต้องปฏิบตั ดิ งั นี้
1. ติดป้ ายชื่อหน้าตูเ้ อกสาร เพื่อบอกรายละเอียดสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นตูเ้ อกสาร
2. แบ่งช่องภายในตูเ้ อกสารเพื่อเก็บของชิน้ เล็กให้สามารถมีพน้ื ทีว่ างได้อย่าง
เหมาะสม
3. มีป้ายชื่อทุกแฟ้ ม เพื่อให้งา่ ยต่อการหยิบใช้
4. เพื่อความเป็ นระเบียบไม่ควรวางของบนหลังตูเ้ อกสาร
5. ทาความสะอาดภายในและภายนอกตูเ้ สมอ
บริ เวณที่ทางาน หากจะให้เกิดความเรียบร้อยและเกิดความสะดวกปลอดภัยในการ
ทางานพนักงานต้องปฏิบตั ิ ดังนี้
1. รักษาความสะอาด และความเป็ นระเบียบเรียบร้อยอยูเ่ สมอ
2. จัดวางอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เป็ นระเบียบเรียบร้อย
ในการตรวจการให้คะแนนการทากิจกรรม 5ส.ในส่วนของสานักงานจะมีความแตกต่าง
กันจากส่ว นที่เป็ นของโรงงาน เนื่องจากการปฏิบตั ิงานในสานักงานจะเน้ นด้านเอกสาร การ
ให้บริการ และช่วยเหลือสนับสนุ นหน่ วยงานหลักคือฝ่ ายผลิต ดังนัน้ การในตรวจประเมินการ
จัดทากิจกรรม 5ส.ของสานักงาน จึงต้องมีการออกแบบตรวจการให้คะแนนที่แตกต่างกันก็คงยัง
ต้องเน้ นความเป็ นระเบียบ เรียบร้อย สะอาด สะดวกในการทางาน ถูกสุขลักษณะ และสร้าง
เสริมนิสยั ให้พนักงานมีวนิ ัยเช่นเดียวกัน ดังตัวอย่างแบบตรวจการให้คะแนนการจัดทากิจกรรม
5ส. ส่วนสานักงาน ดังตัวอย่างข้างล่างนี้
573

ตัวอย่างแบบตรวจการให้คะแนนการจัดทากิ จกรรม 5ส. ส่วนสานักงาน


ชื่อหน่วยงาน .......................................................... วัน เดือน ปี ทต่ี รวจ ................................เวลา ........................
(จานวนพนักงานในพืน้ ที่ ........................................... คน มีพน้ื ที่ ....................................................... ตารางเมตร)
หัวข้อ รายละเอียดการตรวจ คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้ รวม
1. โต๊ะทางาน 1. มีการเก็บสิง่ ของไม่จาเป็ นหรือเกินความจาเป็ นรวมทัง้ ของ 3
(บ นโ ต๊ ะ ใต้ โ ต๊ ะ แล ะ ใช้ส่วนตัวปะปนกับงาน
โดยรอบโต๊ะ) 2. มีความสะดวกในการลุกนังและหยิ
่ บของใช้งาน 17 4
3. ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของลิน้ ชัก (ลิน้ ชักงาน) 4
4. มีความสะอาดโดยทัวไปของโต๊
่ ะทางานแต่ละบุคคล 3
5. โต๊ะทางานโดยรวมของทัง้ ห้องจัดเก็บเป็ นระเบียบ 3
2. ตูเ้ อกสารตูเ้ ก็บของชัน้ 1. มีของทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกับการทางานปะปนอยู่มากเกินความ 4
วางของต่าง ๆ จาเป็ น
2. การจัดเก็บเอกสาร วัสดุต่าง ๆ ในตูเ้ ป็ นระบบมีป้ายบอก 5
3. การวางตู้ ชัน้ ต่าง ๆ สะดวกในการหยิบใช้งาน 21
4. มีเอกสาร และสิง่ ทีค่ วรสะสาง แต่ยงั เก็บไว้ 4
5. มีการนาเอกสารกองตามพืน้ /ใต้โต๊ะทางาน 4
4
3. อุปกรณ์ 1. สายไฟฟ้ า สายโทรศัพท์ อยู่ในสภาพเรียบร้อย เกะกะ ชารุด 4
เครื่องใช้ไฟฟ้ า ความ เสียหายอันตราย
ปลอดภัยในการทางาน 2. มีการปกป้ องอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าเพื่อยืดอายุการ ใช้งาน 4
3. สภาพของอุปกรณ์มกี ารบารุงรักษาและมีความสะอาดน่ าใช้ 16
งานและมีความปลอดภัย 4
4. ช่องทางเดิน ทางเข้าออกห้องสะดวกสบาย ไม่สะดุด หรือ
วางของมากเกินไป 4
4. สภาพแวดล้อมของ 1. ความสะอาดเป็ นระเบียบเรียบร้อยโดยรวมของพืน้ ที่ 4
พืน้ ที(่ บนพืน้ ฝาห้อง 2. มีสงิ่ ของไม่จาเป็ นวางอยู่ตามทีต่ ่าง ๆ ของห้องทางาน 3
เพดาน) 3. มีอ ากาศบริสุ ท ธิ ์ ปราศจากมลภาวะ กลิ่น สารเคมี บุ ห รี่ 18 3
อาหาร
4. มีการติดป้ ายบอกหน่วยงาน หรืออื่น ๆ ทีจ่ าเป็ น 4
5. มีการสะสมอาหาร ขนม ภาชนะต่าง ๆ ปะปนกับการทางาน 4
5. พนักงานกับการ 1. วิธกี ารทางานสะดวก เช่น เอือ้ มหยิบ เบียดเข้า มุดเข้า หรือ 5
ทางาน “กิจกรรม 5ส.” อื่น ๆ ทีท่ าให้เสียเวลา
2. ความพยายาม ความร่วมมือในการดาเนิน “กิจกรรม 5ส.” 4
ของหน่วยงาน 28
3. มีแผนการปรับปรุงพืน้ ทีเ่ พื่อรักสภาพเดิมให้ดขี น้ึ 4
4. มีการประชุม และมีบนั ทึกประชุมประจาเดือน “กิจกรรม 5 5
ส.” อย่างต่อเนื่อง
5. มีบอร์ด 5ส. แสดงพื้น ทีร่ บั ผิดชอบ ภาพถ่ายก่อนหลัง และ 5
มาตรฐานทีช่ ดั เจน
6. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถตอบคาถามเรื่อง 5
5ส.ได้
(คะแนนทีไ่ ด้ครัง้ ก่อน .....................................) คะแนนเต็ม 100
ลงชื่อกรรมการตรวจให้คะแนน/กลุ่มกรรมการผูต้ รวจ
1)....................................................................... 2)....................................................................
3) ..................................................................... 4) ....................................................................
574

หมายเหตุ : 1) ค่าระดับคะแนนทีป่ ระเมิน ดังนี้


ดีมาก = 4, ดี = 3, พอใช้ = 2, ต้องปรับปรุง = 1 และ ไม่สามารถให้คะแนนได้ = 0
2) การประเมินคะแนนรวมทีไ่ ด้ ดังนี้
น้อยกว่า 50 = ต้องปรับปรุง
60 – 69 = ดี
80 - 89 = ดีมาก และ
90 -100 = ยอดเยีย่ ม
เครื่องมือส่งเสริ มกิ จกรรม 5ส
กิจกรรม 5ส.เป็ นแนวทางไปสู่การปรับปรุงงานให้มปี ระสิทธิภาพจึงอาศัยขัน้ ตอนตัง้ แต่
กาหนดนโยบายจากผู้บริหารระดับสูงเพื่อให้ทุกคนได้มกี ารปฏิบตั ติ าม ทาให้องค์ต่าง ๆ นามา
เป็ น เครื่อ งมือ ในการบริห ารจัดการอย่า งหนึ่ง ที่ท าให้ส ินค้าและบริก ารมีช่ ือ เสีย ง ดัง นัน้ การ
ส่ งเสริมกิจกรรม 5ส. จึง มีค วามจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะให้การด าเนินกิจกรรม 5ส เพื่อ เป็ น การ
รณรงค์และกระตุน้ ให้พนักงานมีส่วนร่วมบางครัง้ องค์การจาต้องอาศัยกลยุทธ์ในการจัดทา ดังนี้
1. โปสเตอร์ 5ส (5S Posters) เพื่อให้ความรูค้ วามเข้าใจและเพื่อกระตุ้นเตือนให้
พนักงาน ร่วมมือดาเนินกิจกรรม 5ส อาจให้พนักงานคิดทากันเอง หรือแข่งขันการวาดภาพ
โปสเตอร์ ภายในหน่ วยงาน หรือติดต่อหน่ วยงานภายนอกทีเ่ ขาทากันไว้แล้ว เช่น สถาบันเพิม่
ผลผลิตแห่งชาติ เอามาติดในโรงงานของตน
2. คาขวัญ 5ส (5 S Slogans) อาจจัดให้มกี ารประกวดคาขวัญ และนาคาขวัญทีช่ นะมา
จัดทา เป็ นโปสเตอร์ตดิ ในโรงงาน เช่น 5ส คือ สิง่ สรรค์เพื่อสร้างมูลค่าขององค์การ 5ส. สู่การ
พัฒนางาน พัฒนาคน รณรงค์สบื สาน 5ส.คือปั จจัยสร้างนิสยั ใช้พฒ ั นา เป็ นต้น
3. จัดนิทรรศการ (5S Activities) จัดนิทรรศการให้เกิดกิจกรรมส่งเสริม กระตุ้นแบบมี
ส่ ว นร่ว มในกิจ กรรมการด าเนิ น งาน หรือ รณรงค์ใ ห้พนัก งานในองค์ก ารได้ม ีบ ทบาทมีส่ ว น
เกีย่ วข้องทีจ่ ะได้แลกเปลีย่ นความรูก้ นั ในแต่ละแผนกทัวทั
่ ง้ องค์การ
4. ข่าว 5ส (5S Newsletter) เป็ นเอกสารเผยแพร่การดาเนินกิจกรรม 5ส ในหน่ วยงาน
เพื่อ ให้ พนัก งานได้รบั ข่าวสารต่ าง ๆ โดยเฉพาะสื่อ สารทางอินเตอร์เ น็ ต facebook และ
โซเซียลต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในปั จจุบนั ทาให้องค์การสามารถนามาประชาสัมพันธ์ได้ในทุกช่องทาง
จะได้มคี วามเคลื่อนไหวภายในและภายนอก รวมทัง้ มีสาระเนื้อหาทางวิชาการแทรกอยู่ด้วย
อาจจะมีคอลัมน์ซุบซิบนินทาสังคมชาว 5ส กระเซ้าเย้าแหย่กระตุ้นให้เกิดการอยากมีส่วนร่วมก็
ได้ และข่าว 5ส (5S Newsletter) นี้จะเป็ นสื่อในการประกาศผล การประเมินความคืบหน้าของ
การดาเนินการกิจกรรม 5ส ในแต่ละช่วงทีต่ รวจติดตาม 5ส ด้วย
5. สัญลักษณ์เหรียญ 5 ส (5S Badges) มีหลายหน่ วยงานได้จดั ทาเหรียญ 5ส ติด
หน้าอกเสื้อ แสดงถึง การดาเนินกิจกรรมวัน 5ส หรือ เหรียญแสดงว่าผูต้ ดิ อยู่ในกลุ่ม ทีช่ นะเลิศ
การด าเนิ น กิจ กรรม 5ส ประจาเดือ น / ประจาโครงการ ของบริษัทก็ไ ด้ หลายๆ บริษัท ใน
575

ประเทศไทยก็ได้จดั ทากัน เช่น บริษทั อิเล็คโทรเซรามิค ในนิคมอุตสาหกรรมลาพูนทาป้ ายติด


เสือ้ รูปเหลีย่ ม มีคาภาษาญีป่ ่ นุ ทัง้ 5ส และชื่อบริษทั
6. จัดทาเสือ้ 5ส (5S Shirts) บางหน่วยงานพนักงาน เจ้าหน้าทีจ่ ะจัดทาเสือ้ ยืด 5ส เป็ น
ทีมนัดวัน ในการทา 5ส พร้อมกับสวมเป็ นเครื่องแบบ เพื่อเป็ นการกระตุ้น Promotion การทา 5ส
ของหน่ วยงานของตน และให้เกิดความภาคภูมใิ จให้ผลการดาเนินงานกิจกรรม 5ส. และสร้าง
กาลังใจในการมุง่ มันในการท
่ างาน

ความมุ่งมันของผู
่ บ้ ริหาร
๏ การกาหนดนโยบาย 5ส
๏ บทบาทการสนับสนุนงาน
ในด้านต่าง ๆ

การประเมิ นผลงาน การมีส่วนร่วมในงาน 5ส


๏ จัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ๏ ฝึกอบรมแก่พนักงานทุกระดับ
๏ ขั้นตอนและแบบฟอร์มการ Big Cleaning Day
ตรวจ ๏ การทาแผนปรับปรุงพืน้ ที่
๏ การประกาศผลคะแนน ๏ การปฏิบตั ิ 5ส ของพนักงาน
การรณรงค์ส่งเสริม
ประชาสัมพันธ์งาน

การปรับปรุงอย่างต่อเนื่ อง โครงสร้างคณะกรรมการ

๏ กลไกลการปรับปรุง ๏ คณะกรรมการบริหารงาน
๏ การนางานอื่นมาร่วมกับงาน 5ส ๏ คณะทางาน 5ส
- Visual control ๏ กลุ่มพืน้ ที่ 5ส
- Suggestion scheme
- Internal communication

ภาพที่ 9.7 การทากิจกรรม 5ส ให้ประสบความสาเร็จ


ทีม่ า: http://oknation.nationtv.tv/blog/ratinath, 2558.
576

ขัน้ การปรับปรุงและสร้างมาตรฐาน
การนาผลการตรวจติดตามความคืบหน้าปรับปรุงให้ดยี งิ่ ขึน้ ถือว่าเป็ นขัน้ ตอนของการ
ปรับปรุง ซึ่งเป็ นไปตามหลักการของ PDCA คือ เมื่อได้วางแผนไว้ (Plan) แล้วลงมือปฏิบตั ิ
(Do) พร้อมกับต้องมีการตรวจสอบ (Check) เพื่อหาข้อควรปรับปรุงแล้วจึงนามาดาเนินการ
แก้ไข (Act) ซึง่ จะส่งผลให้มกี ารปรับปรุง 5ส ในแต่ละพืน้ ทีใ่ ห้ดยี งิ่ ขึน้ อันนามาซึง่ ประสิทธิภาพ
คุณภาพ และการเพิม่ ผลผลิตอย่างต่อเนื่อง สามารถอธิบายได้ ดังนี้
1. ขัน้ วางแผน (Plan) หมายถึง เมื่อได้มกี ารประกาศนโยบายทัวทั ่ ง้ องค์การ ทุกคน
รับทราบ ผู้บริหารแต่ละฝ่ ายจะต้อ งมีการประชุมวางแผนการดาเนินงานในแต่ละขัน้ ตอน ให้
พนักงานทุกฝ่ าย ทุกระดับ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการดาเนินงาน กิจกรรม 5ส. โดยทุกอย่างต้อง
จัดทาเป็ นเอกสารลายลักษณ์อกั ษร
2. ขัน้ การลงมือปฏิ บตั ิ (Do) หมายถึง การมอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบให้ทุก
นาไปกระทากิจกรรมตามที่ได้รบั มอบหมาย และมีการร่วมมือ ร่ว มแรงร่วมใจในการดาเนิน
กิจกรรม 5ส. ที่ได้มกี ารวางแผนไว้ทุกขัน้ ตอนอย่างละเอียด รวมทัง้ การเตรียมพร้อมในการให้
ตรวจสอบการดาเนินงาน
3. ขัน้ การตรวจสอบ (Check) หมายถึง แต่งตัง้ กรรมการในการตรวจสอบ ติดตาม
และประเมิน ผลการด าเนิ นงานกิจ กรรม 5ส. โดยแต่ ล ะฝ่ าย แต่ ล ะระดับเป็ น กรรมการร่ว ม
รับผิดชอบในการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลร่วมกัน เพื่อนาไปสู่การปรับปรุง แก้ไขและ
พัฒนา
4. ขัน้ การปรับปรุง แก้ ไข (Act) หมายถึง การยอมรับในการดาเนินงานที่ผ่ านมา
หลังจากได้รบั การตรวจสอบ พบว่ามีข้อบกพร่อง มีปัญ หา ต้องให้มกี ารดาเนินการปรับปรุง
แก้ไขภายในระยะเวลาทีก่ าหนด เพื่อให้การดาเนินกิจกรรม 5ส.ได้ผลสาเร็จตามเป้ าหมายทีไ่ ด้
ตัง้ ไว้
577

(ตัวอย่าง)
นโยบาย วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายกิ จกรรม 5ส.
นโยบาย 5 ส.
เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางานให้มคี วามเป็ นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัย ถูก
สุขลักษณะ เสริมสร้างบรรยากาศทีด่ ใี นการปฏิบตั งิ าน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในการทางานให้เป็ นระเบียบเรียบร้อย สะดวกสะอาด ถูก
สุขลักษณะ และเสริมสร้างนิสยั ให้รกั ความมีระเบียบวินัย
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีความเข้าใจในการปรับปรุงพัฒนางานโดยเห็น
ความสาคัญของกิจกรรม 5 ส และปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่อง
3. เพื่อ พัฒ นาบุค ลากรให้ม ีส่ ว นร่ว มในการด าเนิ น งานในการทางานเป็ น ทีม ที่ม ี
ประสิทธิภาพ มีระเบียบ รักความสะอาด และสร้างความสามัคคีในหน่วยงาน
4. เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของการดาเนินการประกันคุณภาพของกองการเจ้าหน้าที่
5. เพื่อ น ากิจ กรรม 5 ส. มาเป็ นแนวทางในการบริห ารจัด การทรัพ ยากรอย่ า งมี
ประสิทธิภาพ
เป้ าหมาย 5 ส.
1. สถานทีท่ างานของหน่วยงาน สะอาด มีความเป็ นระเบียบ และมีสภาพแวดล้อมดีขน้ึ
2. บุค ลากรมีส่ ว นร่ว มมีค วามภาคภูมใิ จในความสะอาดความเป็ นระเบียบเรียบร้อ ย
สามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้
3. สามารถบริหารจัดการทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้
4. ระดับ ความสาเร็จ ของการด าเนิ น กิจ กรรม 5 ส. เพื่อ รองรับ ความมันใจให้
่ ใ ห้กับ
พนักงาน ผูถ้ อื หุน้ และลูกค้าผูม้ ารับบริการ

(นายขยัน หมันดี ่ )
กรรมการผูจ้ ดั การ
บริษทั สหสยามอิเล็คทรอนิคส์ (ประเทศไทย)จากัด
578

สรุป
กิจกรรม 5ส.เป็ นกระบวนการในการจัดสถานที่ทางานให้เ กิด ความเป็ นระเบีย บ
เรีย บร้อ ย สะดวก สะอาด ถู ก สุ ข ลัก ษณะ และสร้า งนิ ส ัย ให้พ นัก งานปฏิบ ัติง านด้ว ยความ
รับผิด ชอบต่ อ การทางาน วัต ถุ ประสงค์ข องการทากิจกรรม 5ส. เพื่อ เป็ นพื้นฐานของระบบ
คุ ณ ภาพด้า นการผลิต สิน ค้า และการบริห ารงาน เพื่อ ให้ เ กิด ความปลอดภัย และมีสุ ข ภาพ
ช่วยสร้างประสิทธิภาพในการทางาน สร้างสานึกและปลูกจิตสานึกให้พนักงาน เพื่อสร้างระบบ
ระเบียบ และการจัดเก็บความเป็ นระเบียบแก่องค์การ และเพื่อสร้างประสิทธิภาพการทางานและ
ปรับปรุงงานให้ดขี น้ึ และเพื่อทาให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการทางานและการทางานเป็ น
ทีม รวมทัง้ ให้พนักงานเกิดความภาคภูมใิ จในความสาเร็จของกิจกรรม 5ส. ในการดาเนินงาน
กิจกรรม 5ส.ต้องมีเป้ าหมายองค์การในการจัดดาเนินงานกิจกรรม 5ส. จะต้องมีการกาหนด
ความชัดเจนของสถานที่ใ นการจัดท ากิจกรรม โดยจัดท าแผนผัง และแบ่ งพื้นที่รบั ผิด ชอบ
เปิ ดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ต้องจัดการบริหารทรัพยากรองค์การให้
เกิด ประสิท ธิภ าพ และต้ อ งการบริห ารคุ ณ ภาพโดยรวมให้เ กิด ความส าเร็จ ตามเป้ า หมาย
กิจกรรม 5ส.จึงมีความสาคัญที่จะเป็ นหลักพื้นฐานในการปฏิบตั งิ าน ทาให้เกิดความปลอดภัย
และมีสุ ขภาพอนามัยที่ดี ทาให้การผลิต สินค้าและบริการ ทาให้เ กิดการประหยัดทรัพยากร
องค์ก าร และทาให้ส ร้างความไว้ว างให้ก ับลูกค้า ทาให้เ กิดประโยชน์ ต่ อ องค์การ พนักงาน
และลูกค้า และปั จจัยสาคัญทีม่ ผี ลต่อความสาเร็จในการทากิจกรรม 5ส. ได้แก่ ปั จจัยด้านบุคคล
ปั จจัยด้านการดาเนินงาน
กิจกรรม 5ส. จะเกิดความสาเร็จได้นนั ้ จะต้องดาเนินการตามขัน้ ตอนดังนี้ ผูบ้ ริหารต้อง
กาหนดนโยบายและประกาศทัวทั ่ ง้ องค์การ จัดตัง้ กรรมการหรือคณะทางาน จัดให้มกี ารอบรม
ฝึ กอบรมและให้ความรูเ้ กี่ยวกับกิจกรรม 5ส. จัดให้มกี ารทา 5ส. ทัวทั ่ ง้ องค์การ ทุกหน่ วยงาน
หรือทุกฝ่ ายในสถานประกอบการ องค์การต้องจัดทากิจกรรม 5ส.ทัวทั ่ ง้ องค์การ สรุปผลการ
ตรวจพืน้ ที่ สื่อสารผลการตรวจ และปรับปรุงแก้ไข องค์ประกอบของกิจกรรม 5ส. ประกอบด้วย
สะสาง สะดวก สะอาด สุ ข ลัก ษณะ และสร้า งนิ ส ัย ในการด าเนิ น กิจ กรรม 5ส.ใ ห้ป ระสบ
ความสาเร็จจะต้องกระทา ดังนี้ ผูบ้ ริหารต้องมีความมุ่งมัน่ ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5ส.
จัดโครงสร้างคณะกรรมการ มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และประเมินผลงานเป็ นประจา ทัง้ นี้
ต้องจัดให้มกี ารประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องด้วยเช่นกัน
579

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ที่สดุ
1. ให้อธิบายความหมาย และวัตถุประสงค์ของกิจกรรม 5ส. ให้เข้าใจ
2. ให้บอกถึงความสาคัญของกิจกรรม 5ส. ว่ามีความสาคัญอย่างต่อหน่ วยงานบ้าง
3. ประโยชน์ของการดาเนินงานกิจกรรม 5ส. มีอย่างไรบ้าง
4. กิจกรรม 5ส. มีองค์ประกอบอะไรบ้างอธิบาย แต่ละองค์ประกอบมีหลักการ และประประโยชน์
อย่างไรต่อองค์การนัน้ ๆ (อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ)
5. ให้ยกตัวอย่างถึงการดาเนินงานกิจกรรม 5ส. เพื่อความปลอดภัยในการทางาน ทีส่ ามารถทา
ให้ลดอุบตั เิ หตุในการทางานได้ มา 1 ตัวอย่าง
6. การจัดทากิจกรรม 5ส. ให้ประสบความสาเร็จต้องทาอย่างไรบ้าง
7. ให้นกั ศึกษาแบบฟอร์มในการตรวจสอบติดตามและประเมินผลดาเนินงานกิจกรรม 5ส.
8. ให้นกั ศึกษาออกแบบตัวอย่างแบบตรวจการให้คะแนนการทากิจกรรม 5ส.ในส่วนโรงงาน
อุตสาหกรรมมา 1 ตัวอย่าง
9. ให้นักศึกษาออกแบบตัวอย่างแบบตรวจการให้คะแนนการทากิจกรรม 5ส.ในส่วนสานักงาน
มา 1 ตัวอย่าง
580

เอกสารอ้างอิ ง
กิจกรรม 5 ส พร้อมกับการทางาน.(2560).,(ม.ป.น.).สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ่ นุ ).,
ค้นเมือ่ 26 มกราคม 2560, จากhttp://www.tpif.or.th/2012/shindan
กฤษฎ์ อุทยั รัตน์.(2556). ถกคุณภาพ ภาค 2 Quality Story.(พิมพ์ครัง้ ที่ 4). กรุงเทพฯ: บริษทั
ส.เอเชียเพรส จากัด.
สานักความปลอดภัยแรงงาน. (2554). 5ส.เพื่อความปลอดภัย. กรมสวัสดิการและคุม้ ครอง
แรงงาน,กระทรวงแรงงาน., ค้นเมือ่ 12 เมษายน 2560, จาก www.oshthai.org.
สุดใจ ธนไพศาล.(2550). การพัฒนาห้องสมุดให้ก้าวหน้า ด้วยกิจกรรม ๕ส. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2).
ขอนแก่น:โรงพิมพ์ศริ ภิ ณ
ั ฑ์ ออฟเซ็ท.
สวินทร์ พงษ์เ ก่า.(2560). 5ส.เพื่อคุณภาพความปลอดภัยอย่างยังยื ่ น.สมาคมส่งเสริมความ
ปลอดภัยและอนามัยในการทางาน (ประเทศไทย). ค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2560, จาก
www.shawpat.or.th.
องค์การคลังสิ นค้า,กระทรวงพาณิ ชย์. (2559). คู่มอื 5ส. ค้นเมือ่ 25 สิงหาคม 2560, จาก
www.pwo.co.th/ewt_dl_link.php.
581

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 10
องค์กรด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
หัวข้อเนื้ อหา
1. หน่วยงานทีม่ หี น้าทีแ่ ละรับผิดชอบเกีย่ วกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
2. บทบาทของผูท้ เ่ี กีย่ วข้องในงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
3. หน้าทีข่ องผูท้ เ่ี กีย่ วข้องในงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
4. การจัดองค์กรความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
5. รูปแบบการจัดตัง้ องค์กรความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6. คณะกรรมการความปลอดภัยในการทางาน
7. การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
8. สรุป
9. แบบฝึกหัด
10. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1.อธิบายบทบาท หน้ าที่ค วามรับ ผิดชอบของผู้ท่เี กี่ยวข้อ งด้านความปลอดภัย และ
อาชีวอนามัยได้
2. อธิบายถึงการจัดตัง้ องค์กรความปลอดภัยและอาชีวอนามัย และรูปแบบการจัดตัง้
องค์กรความปลอดภัย และอาชีวอนามัยได้
3. อธิบายเกี่ยวกับการสื่อสาร วัตถุประสงค์ และกระบวนการสื่อสารเพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยในการทางานทีม่ ปี ระสิทธิภาพได้

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ
582

สื่อการเรียนการสอน
1.เอกสารคาสอนรายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดที ศั น์
6. สื่อออนไลน์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
583

บทที่ 10
องค์กรความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
งานด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างานในโรงงาน
อุตสาหกรรมเป็ นงานที่ต้องอาศัยองค์ก รหรือ หน่ วยงานที่มหี น้ าที่และบทบาทที่สาคัญในการ
บริหารจัดการให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน ซึ่งที่ทาหน้ าที่และเกี่ยวข้องโดยตรง ได้แก่
ผูบ้ ริหาร หัวหน้างาน นักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูเ้ กี่ยวข้องเหล่านี้ก็
ย่อมมีบทบาทหน้าทีท่ ่ี แตกต่างกันออกไป แต่มคี วามสัมพันธ์เสริมกันในด้านการทางานทีต่ ้อง
อาศัย ความร่ ว มมือ ในการท าให้เ กิด ความปลอดภัย ของผู้ป ฏิบ ัติง าน ผู้ท่ีท าหน้ า ที่ใ นการ
ปฏิบตั งิ านในแต่ละหน้าทีจ่ าเป็ นต้องรับผิด ชอบตามบทบาทหน้าทีท่ ่ไี ด้รบั มอบหมายและปฏิบตั ิ
หน้าที่ให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่เหล่านัน้ บุคลากรในโรงงานเป็ นบุคคลที่ผลักดันเพื่อให้ม ี
การดาเนินการให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน
หน่ ว ยงานที่ม ีห น้ า ที่ใ นการท าให้เ กิด ความปลอดภัย และอาชีว อนามัย คือ การจัด
หน่ วยงานให้เป็ นระบบ โดยการจัดทาโครงสร้างองค์การอย่างชัดเจนซึ่งในองค์การส่วนใหญ่มกั
นิยมจัดรูปแบบโครงสร้างองค์ก าร 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ รูปแบบโครงสร้างองค์การตาม
แนวดิง่ รูปแบบโครงสร้างองค์การตามแนวนอน และรูปแบบโครงสร้างองค์การแบบเมตริกส์ ซึง่
หน่วยงานในการจัดโครงสร้างองค์การจะทาให้มกี ารแบ่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบการทางานอย่าง
ชัดเจน โดยมีผรู้ บั ผิดชอบได้แก่ ผูบ้ ริหาร หัวหน้างาน เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย (จป.) ทุกระดับ
และผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนมีหน้าทีใ่ นการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน รวมทัง้ องค์กรภายนอกที่มหี น้าที่ และบทบาทในการจัดการให้เกิดความปลอดภัย
ด้วยการสนับสนุ น กากับ ดูแล ควบคุมให้เป็ นไปตามกฎหมายที่กาหนดและให้เกิดมาตรฐาน
ด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ซึ่งได้แก่ กระทรวงแรงงาน ประกอบด้วย สานักความ
ปลอดภัยแรงงาน สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน เป็ นต้น กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม และสมาคมทีม่ บี ทบาทด้านอาชีวอ
นามัยและความปลอดภัย
584

หน่ วยงานที่ มีหน้ าที่ และรับผิ ดชอบเกี่ ยวกับความความปลอดภัยและอาชี ว -


อนามัย
ในประเทศไทยงานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย จะมุ่งเน้นในภาคอุตสาหกรรม
เป็ นหลัก โดยหน่วยงานภาครัฐทีม่ หี น้าทีแ่ ละความรับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนา
มัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน ซึง่ เป็ นไปตามนโยบายของรัฐ จะมีหน่ วยงานและองค์กร
ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยดูแลรับผิดชอบงานด้านความปลอดภัย ชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานเพื่อให้สถานประกอบกิจการได้มกี ารปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบอย่าง
เคร่งครัด ซึง่ มุง่ เน้นให้พนักงานได้มคี วามปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ ให้เกิดสภาพแวดล้อมที่
ดีในสังคมและเกิดความรับผิดชอบต่อสังคม ซึง่ ทีม่ หี น้าทีห่ ลักในการกาหนดนโยบาย ควบคุมให้
เกิดความเรียบร้อ ยต่ อ บ้างเมือ ง มี 3 กระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวงแรงงาน กระทรวง
สาธารณสุข และ กระทรวงอุตสาหกรรม
1. กระทรวงแรงงาน
กระทรวงแรงงานเป็ น องค์ก รหลัก ที่ม ีบ ทบาทหน้ า ที่แ ละความรับ ผิด ชอบในการ
คุม้ ครองดูแลด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของแรงงานทัว่
ประเทศ โดยมีการประกาศ และบังคับใช้กฎหมายหรือมาตรฐานด้านความปลอดภัย อาชีวอนา
มัย และสภาพแวดล้อ มในการทางาน และตรวจตราให้เ ป็ น ไปตามกฎหมายและมาตรฐาน
ดังกล่ า ว ตลอดจนส่ งเสริมให้มกี ารปรับปรุง สภาพแวดล้อ มการทางานให้เ หมาะสมกับ
ผูป้ ฏิบตั งิ านเพื่อส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย รวมทัง้ การแก้ไขฟื้ นฟูดูแลผูใ้ ช้
แรงงานที่ประสบอันตรายเนื่องจากการทางาน โดยมีหน่ วยงานที่ รับผิดชอบงานด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัย คือ กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานและ สานักงานประกันสังคม
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เป็ นหน่ วยงานที่มอี านาจหน้ าที่ในการ ดาเนินการและ
ส่งเสริมให้มคี วามปลอดภัยและอาชีวอนามัย รวมทัง้ ศึกษา วิจยั เสริมสร้างและพัฒนา สภาพ
และสิ่งแวดล้อ มในการท างานหน่ ว ยงานของกรมสวัส ดิการและคุ้ม ครองแรงงาน ที่มหี น้ า ที่
รับผิดชอบงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยโดยตรง คือ สานักความปลอดภัยแรงงาน (ซึ่ง
รายละเอียดกล่าวถึงในบทที่ 1)แล้วนัน้ และ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน)
2. กระทรวงสาธารณสุข
เป็ นองค์ ก รที่ม ีบ ทบาทและความรับ ผิด ชอบในการให้ บ ริก ารอาชีว อนามัย ซึ่ง
ครอบคลุมการส่งเสริม สุขภาพ การป้ องกันและควบคุมปั จจัยทีม่ ผี ลต่อการเจ็บป่ วยและบาดเจ็บ
จากการทางาน การรักษาพยาบาลโดยผ่านระบบบริการสาธารณสุขในทุกระดับ มีหน่ วยงานที่
รับผิดชอบงานอาชีวอนามัย คือ สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม กรมควบคุม
โรคสานักโรคจากการประกอบอาชีพ และสิง่ แวดล้อม มีบทบาทหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
585

2.1 ศึกษา วิเคราะห์วจิ ยั และพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นการเฝ้ าระวัง ปูองกัน และการ


ควบคุม โรคและภัยทีค่ ุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม
2.2 กาหนดและพัฒนามาตรฐานเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และรูปแบบการดาเนินงาน เฝ้ า
ระวังป้ องกัน
2.3 ควบคุมโรคและภัยทีค่ ุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม
2.4 ถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีด้านการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน และการควบคุม
โรคและ ภัยที่คุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม ให้แก่หน่ วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และประชาชน
2.5 ประสานและสนับสนุนการพัฒนาระบบ กลไก และเครือข่ายการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน
ควบคุมโรคและภัยทีค่ ุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม
2.6 ประสานและพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นการตรวจ วินิจฉัยและการรักษาโรคและภัยที่
คุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดล้อม
2.7 ปฏิบตั งิ านร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหน่ วยงานอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง หรือที่
ได้รบั มอบหมาย
3. กระทรวงอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรมมีหน้าทีใ่ นการออกใบอนุ ญาตตัง้ โรงงานและประกอบกิจการ
โรงงาน ออก กฎหมายเกี่ยวกับโรงงานตรวจโรงงานเพื่อดูการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและเพื่อการ
ต่ออายุใบอนุ ญาต ประกอบกิจการ หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องคือกรมโรงงานอุ ตสาหกรรมกรม
โรงงานอุ ต สาหกรรม มีอ านาจ หน้ าที่ใ นการควบคุ มโรงงานอุ ต สาหกรรม ไม่ใ ห้ก่อ ความ
เดือดร้อนต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม มีบทบาท
สาคัญในการดาเนินงานด้านการป้ องกันปั ญหาเกี่ยวกับความปลอดภัยในโรงงาน โดยมีอานาจ
ในการออกและต่ออายุใบอนุ ญาตประกอบกิจการโรงงาน หน่ วยงานในสังกัดทีเ่ กี่ยวข้อง ได้แก่
สานัก เทคโนโลยีค วามปลอดภัย และส านัก ควบคุ ม วัต ถุ อันตราย รวมถึงสานัก โรงงาน
อุตสาหกรรมรายสาขา
4. สมาคมที่มีบทบาทด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
เป็ นองค์กรทีม่ บี ทบาทกากับ ดูแล ให้ความช่วยเหลือองค์กรความปลอดภัยให้มกี าร
ท างานเพื่อ ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างานให้เ ป็ น ไปตาม
มาตรฐานสากล โดยมุ่งให้ภาคอุตสาหกรรมมีการบริหารจัดการงานด้านความปลอดภัย อาชีวอ
นามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างานให้เ กิดประสิทธิภาพสูงสุ ด ซึ่ ง ประกอบด้ว ยองค์ก ร
ดังต่อไปนี้
586

4.1 สมาคมส่งเสริ มความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน (ประเทศไทย)


(Safety and Health at Work Promotion Association (Thailand)) องค์กรนี้จดั ตัง้ ขึน้ โดยมี
วัตถุประสงค์ดงั นี้
4.1.1 เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน
4.1.2 เผยแพร่ความรูแ้ ละประสบการณ์เกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน
4.1.3 ร่วมมือ กับส่วนราชการและองค์การต่างๆ รวมทัง้ เอกชน เพื่อจัด
กิจกรรมเกีย่ วกับ ความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน
4.1.4 สนับสนุ นให้มกี ารประสานงานระหว่างส่วนราชการและองค์การต่างๆ
รวมทัง้ เอกชน เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน
4.1.5 ไม่ดาเนินการใดๆ ทีเ่ กีย่ วกับการเมือง
4.2 สมาคมอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน (Occupational
Health and Safety at Work Association) จัดตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
4.2.1 เพื่อส่งเสริมวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแก่สมาชิก
และสังคมโดยรวม
4.2.2 เพื่อ ส่งเสริมความก้าวหน้ าในวิชาชีพด้านอาชีว อนามัยและความ
ปลอดภัยในการ ทางาน
4.2.3 เพื่อ สนับสนุ นและประสานงานกับ สถานประกอบการและชุ มชน
อุตสาหกรรมในการ พัฒนาความปลอดภัย สุขภาพและคุณภาพชีวติ ของผูป้ ระกอบอาชีพ
4.2.4 เพื่อประสานงานร่วมมือทางวิชาการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยใน
การทางาน กับหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน หรือสมาคมทัง้ ภายในและต่างประเทศ
4.2.5 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและการกระชับความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม
สมาชิก
4.2.6 เพื่อจัดหาแหล่งประโยชน์สนับสนุ นทางวิชาการด้านอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัยในการทางานให้แก่สมาชิก
4.2.7 ไม่ดาเนินการใดๆ เกีย่ วกับการเมือง
4.3 สมาคมการยศาสตร์ไทย (Ergonomics Society of Thailand) จัดตัง้ ขึน้
โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
4.3.1 เป็ นศูนย์ก ลางแลกเปลี่ยนความรู้ค วามคิดเห็น ประสบการณ์แ ละ
เผยแพร่ ข่าวสาร
4.3.2 ผลิตและเผยแพร่ส่อื สิง่ พิมพ์และเอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับการย-
ศาสตร์
587

4.3.3 ให้การส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ


ทางาน เกีย่ วกับการยศาสตร์แก่สถานประกอบการ และผูส้ นใจอื่นๆ
4.3.4 ร่วมมือ และประสานงานกับองค์กรเอกชน และส่วนราชการเพื่อจัด
กิจกรรมต่าง ๆ เกีย่ วกับการยศาสตร์
4.3.5 ส่งเสริมและสนับสนุ นการศึกษา ค้นคว้า วิจยั เกี่ยวกับการพัฒนางาน
การยศาสตร์
4.3.6 ร่วมมือและประสานประโยชน์ระหว่างส่วนราชการ และองค์กรเอกชน
ทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมงานการยศาสตร์ของประเทศ
4.4 มูลนิ ธิ เพื่อส่ งเสริ มความปลอดภัยในการทางาน (Safety at Work
Promotion Foundation) กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ได้จดั ตัง้ มูลนิ ธเิ พื่อส่งเสริมความ
ปลอดภัยในการทางาน (Safety at Work Promotion Foundation) โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
4.4.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุ นให้มกี ารดาเนินการเพื่อให้ลูกจ้างได้รบั ความ
ปลอดภัยในการทางาน มีสุขภาพอนามัยดีและมีสวัสดิภาพในการทางาน
4.4.2 เพื่อรับและให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลทัง้ การเงิน วิชาการ และทรัพย์สนิ
อื่น เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยสุขภาพอนามัย และสวัสดิภาพในการทางานแก่ลกู จ้าง
4.4.3 เพื่อประสานงานส่วนราชการและองค์การเอกชน เพื่อดาเนินการให้
ลูกจ้างมีความปลอดภัย ในการทางาน มีสุขภาพอนามัยดีและมีสวัสดิภาพในการทางาน
4.4.4 เพื่อดาเนินการเกี่ยวกับสาธารณประโยชน์หรือร่วมมือกับองค์กรการ
กุศลอื่นๆ เพื่อ สาธารณประโยชน์ ไม่ดาเนินการใดๆ เกีย่ วกับการเมือง
4.5 สมาคมโรคจากการประกอบอาชี พและสิ่ งแวดล้อมแห่ งประเทศไทย
(Occupational and Environmental Diseases Association of Thailand) จัดตัง้ ขึน้ โดยมี
วัตถุประสงค์ดงั นี้
4.5.1 เป็ นศูนย์กลางวิชาการและข้อมูลสาขาอาชีวเวชศาสตร์และสิง่ แวดล้อม
รวมทัง้ สาขาอื่นเกีย่ วข้อง
4.5.2 สนับสนุนและจัดกิจกรรมการศึกษาและฝึกอบรม สาขาอาชีวเวชศาสตร์
และเวช ศาสตร์สงิ่ แวดล้อม รวมทัง้ สาขาอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง
4.5.3 สนับสนุนการบริการทางวิชาการ เผยแพร่ความรูแ้ ละข้อมูล สาขาอาชีว
เวช ศาสตร์และเวชศาสตร์สงิ่ แวดล้อม รวมทัง้ สาขาอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง
4.5.4 สนับสนุ นและพัฒนาผลงานการวิจยั สาขาอาชีวเวชศาสตร์และเวช
ศาสตร์ สิง่ แวดล้อมรวมทัง้ สาขาอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง
588

4.5.5 พัฒนาความร่วมมือและการประสานงานทางวิชาการ สาขาอาชีวเวช-


ศาสตร์ และเวชศาสตร์ส ิ่งแวดล้อ ม รวมทัง้ สาขาอื่นที่เ กี่ยวข้องกับหน่ ว ยงานภาครัฐและ
ภาคเอกชนทัง้ ในระดับประเทศและระดับสากล
4.5.6 ส่งเสริมให้เกิดความรักสามัคคีความร่วมมือ ความเข้าใจ และกระชับ
ความสัมพันธ์ภายในกลุ่มสมาชิกของสมาคม เพื่อสร้างคุณประโยชน์จากวิชาชีพ สาขาอาชีวเวช-
ศาสตร์และเวชศาสตร์สงิ่ แวดล้อม รวมทัง้ สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง ให้ เกิดแก่ประชาชน สังคม
ส่วนรวมและประเทศชาติ
4.5.7 ส่งเสริมคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม ของผูป้ ระกอบอาชีพ สาขา
อาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สงิ่ แวดล้อม รวมทัง้ สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะสมาชิกของ
สมาคม
4.6 สมาคมการพยาบาลอาชี วอนามัยแห่ ง ประเทศไทย (Occupational
Health Nursing Association of Thailand) จัดตัง้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
4.6.1 เป็ นองค์กรกลางในการส่งเสริม สนับสนุ นการจัดการศึกษา การวิจยั
การบริการ วิชาการและกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาชีพการพยาบาลอาชีวอนามัยระหว่าง
สมาชิกภายในระดับประเทศและระดับสากล
4.6.2 ประสานความร่วมมือในการพัฒนา และยกระดับมาตรฐานวิชาชีพใน
กลุ่มพยาบาล และงานอาชีวอนามัย หรือสมาคมทีเ่ กี่ยวข้องกับงานด้านอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยของผูใ้ ช้แรงงาน ทัง้ ในระดับประเทศและระดับสากล
4.6.3 ประสานความร่วมมือทางวิชาการ เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปั ญหา
ทางการพยาบาลอาชีวอนามัย และความปลอดภัยของผูใ้ ช้แรงงานร่วมกับหน่ วยงาน องค์การ
ภาครัฐและเอกชนทัง้ ในระดับประเทศและระดับสากล

บทบาทของผูท้ ี่เกี่ยวข้องงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
บทบาทผูบ้ ริ หารกับงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ผูบ้ ริหารองค์การเป็ นบุคคลทีม่ คี วามสาคัญต่อองค์การ ต่อพนักงาน และความคาดหวัง
ของผู้ถือ หุ้น เนื่อ งจากผู้บริห ารต้อ งเป็ นผู้นาพาองค์การไปสู่เ ป้ าหมายที่ว างไว้ ซึ่งผู้บริห าร
จะต้อ งเป็ นผู้ท่มี คี วามคิดรวบยอด คิดสิง่ ใหม่ ๆ ตามสถานการณ์ ท่เี ปลี่ยนแปลง โดยนาการ
เปลีย่ นแปลงด้านต่าง ๆ มาสู่การเปลีย่ นแปลงวิธกี ารทางานให้สามารถแข่งขันกับองค์การอื่นได้
โดยเฉพาะอย่างยิง่ งานด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางาน
องค์การต้องมองถึงระบบการจัดการมาตรฐานด้วยระบบการจัดการที่เป็ นที่ยอมรับของคนทัว่
โลก ไม่ว่าจะเป็ นมาตรฐาน ISO 9000 , ISO 14000 , หรือ มอก./OHSAS 18000 ก็เป็ นเรื่อง
ของการกาหนดให้เป็ นไปตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ตามกฎหมาย และสากลยอมรับ ผูบ้ ริหารใน
589

บทที่น้ีจะให้ค วามสาคัญ กับบทบาทของผู้บริห ารงานด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ


สภาพแวดล้อมในการทางาน ต้องการขับเคลื่อนให้เป็ นไปตามบทบาทที่ต้องดาเนินงานให้เกิด
ความปลอดภัยในการทางานของพนักงาน เนื่องจากมักจะสะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญของ
ผูบ้ ริหารต่อความสาเร็จขององค์การด้านการจัดการงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานมากยิง่ ขึน้
(สราวุธ สุธรรมาสา, 2557, หน้า 2) ได้เสนอรูปแบบของการแสดงถึงบทบาทผูบ้ ริหารที่
มีความมุ่งมันในการผลั
่ กดันงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน โดยผู้บริหารจะแสดงออกถึงความเป็ นผู้มภี าวะผู้นา (Leadership) ในงานด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ซึง่ ต้องเป็ นการกระทาทีเ่ ป็ นรูปธรรม
รูปแบบของการเป็ นผู้นาด้านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
ผูบ้ ริหารทีจ่ ะเป็ นผูน้ าทีม่ ตี อ้ งอาศัยความเป็ นผูม้ ภี าวะผูน้ าในงานด้านความปลอดภัยอา-
ชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทางาน ต้อ งอาศัย หลัก การพื้นฐานของการบริห าร 3
ประการด้วยกัน คือ
1. ผูบ้ ริหารองค์การต้องแสดงออกถึง ความเป็ นผูน้ าอย่างมุ่งมัน่ (effective and strong
leadership)
2. ผูบ้ ริหารองค์การ สร้างความร่วมมือ ร่วมใจของพนักงาน (involving workers and
their constructive engagement) และ
3. ผู้ บ ริห ารต้ อ ง ประเมิน และทบทวนผลการด าเนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ( ongoing
assessment and review)
ดังนัน้ ผู้บริหารต้องมีบทบาทหน้าทีท่ งั ้ 3 ประการ เพื่อที่จะให้ตนเองเป็ นผู้บริหารของ
องค์การทีเ่ ป็ นตัวอย่างทีจ่ ะทาให้เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน (จป.) ระดับวิชาชีพ และ
หัว หน้ าหน่ ว ยงานความปลอดภัยได้ ศึก ษาและพิจารณานาไปประยุก ต์ในโรงงานหรือ สถาน
ประกอบการของตนเอง ดังนี้
1. แนวทางการเป็ นผู้นาอย่ างมุ่งมัน่ สิง่ ที่เ จ้าหน้ าที่ความปลอดภัย (จป.) ระดับ
วิชาชีพต้องพยายามทาให้ได้เกีย่ วกับผูบ้ ริหารขององค์การคือ
1.1 กาหนดให้เรื่องความปลอดภัยในการทางานเป็ นหน้ าที่ความรับผิดชอบของ
ตนเอง (ผู้บริหาร) เพราะผู้บริหารต้องมีหน้าที่กาหนดนโยบาย กากับ ควบคุมดูแลให้งานด้าน
ความปลอดภัยเกิดความเป็ นระบบนาไปสู่การลดอุบตั เิ หตุในการทางาน และสร้างความมันใจ ่
ให้กบั ผูม้ สี ่วนได้เสียในการทางาน
1.2 เดินตรวจเยีย่ มสถานที่ทางานเกี่ยวงานด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน เพื่อทาหน้าทีใ่ ห้ความมันใจกั ่ บพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ าน และรับทราบ
590

ปั ญหาเกี่ยวกับอันตรายที่เ กิดขึ้นในสถานประกอบการด้วยตนเอง เพื่อจะได้หาแนวทางการ


แก้ไขปั ญหาได้ถูกจุดทีเ่ กิดปั ญหา
1.3 เป็ นตัวอย่างทีด่ ใี นเรื่องพฤติกรรมความปลอดภัย การออกกฎหมายบังคับเป็ น
หน้าทีข่ องหน่ วยงานภาครัฐที่มกี ารกาหนดให้มกี ฎหมายควบคุมไม่ให้นายจ้างทาผิดต่อลูกจ้าง
ในการท างานที่เ กิน ความจ าเป็ น อัน จะก่ อ ให้เ กิด อุ บ ัติเ หตุ ใ นการท างาน ส่ ว นนายจ้า งหรือ
ผู้บริหารจะต้องทาหน้าที่ในการเป็ นแบบอย่างที่ดหี รือปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัดให้
ผูป้ ฏิบตั งิ านได้กระทาตามและยึดถือปฏิบตั ิ
1.4 จัดสรรหาทรัพยากรให้ตามต้องการ โดยการกาหนดงบประมาณให้เพียงพอกับ
ความต้ อ งการในการด าเนิ น งานเกี่ ย วกั บ งานด้ า นความปลอดภัย อาชี ว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน รวมทัง้ จัดสรรเวลาให้เหมาะสมพอเหมาะกับการทางาน ไม่เกิน
ความสามารถจนทาให้เกิดปั ญหาในการทางาน
2. แนวทางการสร้างความร่วมมือของพนักงาน การมีส่วนร่วมของพนักงานทาให้
เกิดความร่วมแรงร่วมใจมุ่งมันในการท ่ างาน ดังนัน้ ความปลอดภัย จะเกิดขึน้ กับพนักงานหรือ
ผูป้ ฏิบตั งิ านได้นนั ้ ต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมใจอย่างมุง่ มัน่
3. แนวทางการประเมิ น และทบทวนการจัด การอย่ า งต่ อ เนื่ อง การติด ตาม
ตรวจสอบเฝ้ าระวัง การประเมินความเสี่ยง การประเมินผล การรายงาน และการทบทวนการ
จัดการ จะนาไปสู่การปรับปรุงแก้ไขปั ญหาด้านอุบตั เิ หตุ หรือความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการทางานอัน
นาสู่การเกิดอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ เจ็บป่ วยของผูป้ ฏิบตั งิ าน
ดังนัน้ บทบาทผู้บริหารที่จะสร้างความเป็ นภาวะผู้นาในด้านความปลอดภัย อาชีวอนา
มัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน การสะท้อนให้เห็นถึงการทาหน้าทีต่ ามบทบาทของผูห้ าร
งานด้านความปลอดภัยทีม่ ปี ระสิทธิภาพอาจจะต้องมีการประเมินการดาเนินงาน 4 ด้าน ได้แก่
3.1 นโยบายการป้ องกัน (Prevention policy)
3.2 ความเป็ นภาวะผูน้ า (Leadership)
3.3 เครือ่ งการป้ องกัน (Prevention tools)
3.4 ข้อมูลข่าวสาร การฝึ กอบรม และการปรึกษาหารือ (Information, training and
consultation)
บทบาท (Role) ของผูเ้ กี่ยวข้องในงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
กลุ่มบุคคลทัง้ 4 กลุ่มข้างต้น ล้วนมีบทบาทสาคัญและต้องร่วมมือกันจึงทาให้เกิดความ
ปลอดภัยในการทางาน หากลุ่มใดกลุ่มหนึ่งแสดงหรือปฏิบตั บิ ทบาทของตนได้ไม่ดี ย่อมส่งผล
กระทบต่อความสาเร็จในวัตถุประสงค์และเป้ าหมายทีก่ าหนดไว้
1. บทบาทของผู้บริ หารระดับสูง บทบาททีส่ าคัญทีส่ ุดของผูบ้ ริหารระดับสูงซึง่ ได้แก่
ผู้ดารงตาแหน่ งผู้อานวยการ รองประธานบริหารและประธานบริหารของโรงงาน คือ การเป็ น
591

ผูน้ า (Leader) ผูส้ นับสนุน (Supporter) และผูต้ ดิ ตามผลการดาเนินงานให้เกิดงานอาชีวอนามัย


และความปลอดภัยขึน้ ในโรงงาน ผู้บริหารระดับสูงทีแ่ สดงบทบาทเป็ นผูน้ าที่ให้ความสาคัญต่อ
งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จะเป็ นพลังผลักดันให้ทุกคนทุกฝ่ ายในโรงงานปฏิบ ั ตติ าม
หน้ าที่ความรับผิดชอบที่มผี ลงานวิจยั หลายชิ้นและงานเขียนตาราทางด้านอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย หลายเล่มทีแ่ สดงให้เห็นถึงโอกาสความสาเร็จในการดาเนินงานด้านนี้ จะมาจาก
การสนับสนุนอย่างจริงจังของผูบ้ ริหารระดับสูง
2. บทบาทของผู้บริ หารระดับกลาง ผู้บริหารระดับกลาง คือ ผู้จดั การฝ่ ายต่างๆที่
ไม่ใช่ฝ่ายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีบทบาทสาคัญในการดาเนิน งานตามภารกิจทีต่ ้อง
รับผิดชอบด้วยความปลอดภัย มิใช่มุ่งผลิตสินค้าโดยไม่สนใจจะปลอดภัยหรือไม่ก็ตาม ดังนัน้
ในฐานะของผูบ้ ริหารในฝ่ ายนัน้ ๆ จึงต้องแสดงบทบาททีจ่ ะให้บุคลากรในฝ่ ายของตนปฏิบตั ติ าม
กฎระเบียบ ข้อบังคับ เอกสารขัน้ ตอนการดาเนินงาน (Procedure) เอกสารวิธกี ารปฏิบตั งิ าน
(Work Instruction) ฯลฯ ด้วยการติดตามผลการดาเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ตรวจเยีย่ มสถานที่ทางานและการปฏิบตั ติ นของผู้ปฏิบตั งิ านว่ามีความปลอดภัยในการทางาน
หรือไม่ อย่างไร
3. บทบาทของนักอาชี วอนามัยและความปลอดภัยและผู้บริ หารหน่ วยงานฝ่ าย
ความปลอดภัย
3.1 บทบาทนักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยหลักการพื้นฐานของการ
ดาเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ถือว่าทุกคนในองค์กรล้วนต้องรับผิดชอบต่อความ
ปลอดภัยในการทางาน ดังนัน้ บทบาทของผู้ท่เี ป็ นนักอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจึงเป็ น
บทบาทของผูป้ ระสานงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยระหว่างผูบ้ ริหารกับหัวหน้างาน
และลูกจ้าง และระหว่างฝ่ ายความปลอดภัย/คณะกรรมการความปลอดภัยกับฝ่ ายต่ างๆ ใน
โรงงานและอีก บทบาทในฐานะนักวิช าการด้านชีว อนามัยและความปลอดภัย ที่จ ะเป็ นผู้ใ ห้
คาแนะนา (Adviser) ผูใ้ ห้คาปรึกษา (Consultant) ผูต้ รวจประเมิน (Auditor) และผูป้ ระเมินงาน
(Evaluator)
บทบาทข้างต้นนี้มคี วามสาคัญ มากที่ผู้เกี่ยวข้องในโรงงานต้องเข้าใจ มิฉะนัน้ จะเกิด
ปั ญหาในการทางานเพราะหากไม่เข้าใจแล้วคนอื่นๆ ในโรงงานจะไม่ยอมรัยว่าตอนเองมีหน้าที่
รับผิดชอบในเรือ่ งอาชีวอนามัยและความปลอดภัย แต่ให้เป็ นหน้าทีร่ บั ผิดชอบของนักอาชีวอนา-
มัยและความปลอดภัย (ในทีน่ ้ี จป. ระดับเทคนิคขัน้ สูงหรือวิชาชีพ) แทนส่ งผลทีส่ ุดให้เกิดเป็ น
ความล้มเหลวของการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
3.2 บทบาทของผู้บ ริห ารหน่ ว ยงานความปลอดภัย เนื่ อ งจากในปั จ จุบนั โรงงาน
จานวนมากจะมีผู้จดั การฝ่ ายความปลอดภัย จึงควรเข้าใจในบทบาทของผู้บริหารหน่ ว ยงาน
592

ความปลอดภัย เพื่อ จะท าให้ ก ารจัด การอาชีว อนามัย และความปลอดภัย เป็ นไปอย่ า งมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ถึง แม้จ ะเป็ น ผู้บ ริห ารด้ า นอาชีว อนามัย และความปลอดภัย ก็ต าม บทบาทที่ต้ อ ง
แสดงออกเพื่อทาให้สามารถทาหน้าทีข่ องความเป็ นผู้ บริหารได้กไ็ ม่ได้แตกต่างไปจากผูบ้ ริหาร
ด้านการผลิต การบริหารทรัพยากรมนุ ษย์ การวางแผนวัตถุดบิ การตลาด การเงิน บัญชี หรือ
แม้ก ระทังการตลาด
่ และด้านอื่น ๆ ที่เ กี่ยวข้อ งกับการดาเนินงานขององค์การเนื่อ งจากว่ า
ผู้ บ ริ ห ารงานด้ า นความปลอดภัย อาชี ว อนามัย จะต้ อ งท าหน้ า ที่ ให้ ผู้ ป ฏิ บ ั ติ ง านหรื อ
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาในหน่ วยงานของตนเองทีท่ าหน้าทีใ่ นฐานะเป็ นผูท้ าหน้าทีใ่ นบริหารหน่ วยงาน
นัน้ ๆ ให้เกิดความปลอดภัย และให้ผู้ปฏิบตั ิงานความปลอดภัยปราศจากอันตราย บาดเจ็บ
เจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน เป็ นการสร้างขวัญกาลังใจในการปฏิบตั ขิ องผูป้ ฏิบตั งิ านรวมทัง้
ให้ลดค่าใช้จ่ายอันเกิดจากการรักษาพยาบาล การหยุดงาน และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผูบ้ ริหารจึง
ต้องทาหน้าที่เป็ นตัวแทนหน่ วยงานเพื่อนาเสนอต่อผู้บริหารสูงสุดเกี่ยวกับปั ญหาต่าง ๆ ที่จะ
เกิดความไม่ปลอดภัยในสถานที่ทางาน ทาหน้าที่ในการประสานงานเชื่อมโยงกับ หน่ วยงานที่
ดูแ ลรับผิดชอบในด้านการจัดการความปลอดภัยให้มปี ระสิทธิภาพในการทางานด้านความ
ปลอดภัยต่อผู้ปฏิบตั ิงาน ทาหน้าที่ในการอานวยการให้พนักงานสามารถปฏิบตั ิงานได้อย่าง
ปลอดภัย
Henry Mintzberg ศาสตราจารย์ดา้ นการจัดการได้ตดิ ตามการทางานของผูบ้ ริหารอย่าง
ใกล้ชดิ และในทีส่ ุดได้เสนอว่าโดยพืน้ ฐานแล้วผูบ้ ริหารมีบทบาทสาคัญ 10 บทบาท ซึง่ สามารถ
จัดกลุ่ มได้เ ป็ นกลุ่ ม 3 ด้าน คือ ด้านบุคคล (Interpersonal) ด้านข้อมูลข่าวสาร (Information)
และด้านการตัดสินใจ (Decisional) ได้ประยุกต์ ตัวอย่างกิจกรรมทางด้านอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย ซึง่ สามารถเปรียบเทียบได้ดงั ตารางที่ 10.1

ตารางที่ 10.1 บทบาทของผูบ้ ริหารในงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย


ด้าน บทบาท ลักษณะของกิ จกรรมตามบทบาท
บุคคล 1. การเป็ นตัวแทนฝ่ าย 1. การเข้าประชุมงานมอบรางวัล
(Figurehead) โรงงานดีเด่น
2. การประสานงาน (Liaison) 2. การเปิ ดงานรณรงค์ลดของเสีย
3. ความเป็ นผูน้ า (Leading) 3. ประสานการตรวจวัดสิง่ แวดล้อม
4. ความเป็ นผูน้ าการเปลีย่ นแปลง กับผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิต
(change agent) 4. ดาเนินการประเมินผลการ
5. เป็ นผูส้ อนงาน (coaching) ปฏิบตั งิ านด้านอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัยของฝ่ ายต่างๆ
5. จัดโปรแกรมและการฝึ กอบรมสอน
งานเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอ
นามัยให้กบั พนักงานใหม่
593

ตารางที่ 10.1 บทบาทของผูบ้ ริหารในงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย(ต่อ)


ด้าน บทบาท ลักษณะของกิ จกรรมตามบทบาท
ข้อมูลข่าวสาร 1. การเฝ้ าระวัง (Monitor) 1. ติดต่อกับหน่ วยงานภาครัฐ
2. การเผยแพร่ขา่ วสาร 2. จัดประชุมฝ่ ายต่างๆเพื่อพิจารณา
(Disseminator) ทบทวนนโยบายอาชีวอนามัยและ
3. โฆษก (Spokesperson) ความปลอดภัย
3. พบปะลูกค้า ชุมชน เพื่อพูคยุ
เกีย่ วกับการดาเนินงานอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
การตัดสิ นใจ 1. ผูป้ ระกอบการ (Enterpreneur) 1. เปลีย่ นแปลงวิธกี ารทางาน
2. ผูจ้ ดั การอุปสรรค (Disturbance 2. ตัดสินใจหน่วยใดควรย้ายไปอยู่ใน
Handler) อาคารใหม่ซง่ึ จะไม่ทาให้เกิดปั ญหา
3. ผูจ้ ดั สรรทรัพยากร (Resource อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
Allocator) 3. ตัดสินใจว่าโครงการใดควรได้รบั
4. ผูเ้ จรจา (Negotiator) จัดสรรงบประมาณ
4. เจรจากับฝ่ ายสหภาพ ฝ่ ายบริหาร
เรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ทีม่ า : ดัดแปลงจาก Henry Mintzberg., 1973

4. บทบาทของหัวหน้ างาน
หัวหน้างานเป็ นผูท้ ่มี บี ทบาทสาคัญ และใกล้ชดิ กับผู้ปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ
หัว หน้ า งานจะเป็ น ผู้ท่ีค อยช่ ว ยเหลื อ แนะน าการปฏิบ ัติง านให้เ ป็ น ไปอย่า งถู ก ต้อ งและให้
ผู้ปฏิบตั ิงานเกิดความปลอดภัย ในการทางาน รวมทัง้ ควบคุมป้ องกันไม่ให้มอี ุบตั ิเหตุเกิดขึ้น
ในขณะปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ ด้านอาชีวอนามัย ซึ่งถ้าหัวหน้างานมีความรูค้ วามเข้าใจในหลักการ
ดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย ก็จะสามารถช่วยส่งเสริมให้พนักงานรวมไปถึง
องค์กรดาเนินงานด้วยความปลอดภัย และหัวหน้างานมีความสาคัญต่อการบริหารงานความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย
สถานประกอบกิจการที่มกี ารผลิตและบริการ บทบาทหัวหน้างานมีความสาคัญและ
จาเป็ นมากในการสังการ ่ กากับควบคุมดูแลการทางานอย่างใกล้ชดิ ทัง้ ในด้านกระบวนการผลิต
ในโรงงานและงานความปลอดภัย อาชีวอนามัยในการทางาน ทัง้ นี้เ พราะหัวหน้ าเป็ นผู้ท่อี ยู่
ใกล้ชดิ กับคนงานมากทีส่ ุดและอยูใ่ นสถานทีท่ างาน (หน้างานหรือจุดทีท่ างาน) ตลอดเวลาทาให้
สามารถทีจ่ ะมีบทบาทในการควบคุมดูแลการทางานของคนงานให้เป็ นไปตามกฎความปลอดภัย
ได้ทวถึั ่ ง ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ สนับสนุ นให้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ข้อบังคับ ทัง้ เชิงบวกและเชิงลบ
ได้ขน้ึ อยูก่ บั สถานการณ์เพื่อให้ลกู น้องได้มกี ารปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้หวั หน้ายังมี
บทบาทในการเป็ นตัวอย่างทีด่ ดี า้ นความปลอดภัยเพื่อให้คนงานยึดถือเป็ นแบบปฏิบตั ดิ ว้ ย
594

ทัง้ นี้ตงั ้ แต่ปี 2540 เป็ นต้นมา กฎหมายแรงงานด้านความปลอดภัยได้ให้ความสาคัญกับ


หัว หน้ าที่มบี ทบาทในเรื่อ งการป้ อ งกันควบคุ มอัน ตรายที่มกี ารทางาน รวมทัง้ การเฝ้ าระวัง
ควบคุม ดูแลให้ผปู้ ฏิบตั งิ านปฏิบตั ติ ามกฎความปลอดภัยทีม่ อี ยูใ่ นโรงงาน
5. บทบาทของลูกจ้าง
ในฐานะลูกจ้างหรือคนงาน บทบาทในงานอาชีวอนามัยแความปลอดภัยจะเป็ นเรื่อง
ของการปฏิบตั ติ ามกฎความปลอดภัย รวมถึงการทางานตามที่กาหนดในเอกสารขัน้ ตอนการ
ดาเนินงานและบทบาทในการมีส่ วนร่ว มกับการดาเนินงานทางด้านนี้ของโรงงาน เช่น การ
เสนอแนะด้านการป้ องกันอุบตั เิ หตุ แจ้งจุดอันตรายทีพ่ บ ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบข้อบังคับในการ
ทางานอย่างเคร่งครัด มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการทุกครัง้
ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมไม่ว่าจะเป็ นการฝึกอบรมต่าง ๆ การจัดกิจกรรมนิทรรศการ เป็ นต้น

ผูร้ บั ผิดชอบเกี่ยวกับงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ภารกิจในการดาเนินธุรกิจ คือ การผลิตสินค้านัน้ เป็ นบทบาทและความรับผิดชอบของ
หน่ วยงานหลัก (Line Organization) ซึ่งจะมีผู้อานวยการหรือผูจ้ ดั การรับผิดชอบที่จะให้มกี าร
ดาเนินงานจนในที่สุ ดได้ส ินค้าตามต้อ งการ ภารกิจ นี้ต้อ งบริห ารทัง้ คน เวลา วัต ถุ ดิบ แล ะ
กระบวนการผลิต ท าให้ห น่ ว ยงานหลัก ไม่ ม ีเ วลาและทัก ษะเพีย งพอที่จ ะคัด เลือ กคนที่ม ี
คุ ณ สมบัติเ หมาะสมกับ งานหรือ ศึก ษาค้นคว้า ในเรื่อ งอาชีว อนามัย และความปลอดภัย และ
สิง่ แวดล้อม ภารกิจเหล่านี้จงึ มอบหมายให้ผทู้ ่เี ชีย่ วชาญเฉพาะ (Specialists) มาช่วยเสนอแนะ
และจัดทาระบบให้ ผู้เชีย่ วชาญเหล่านี้จะอยู่ในหน่ อยงานสนับสนุ น (Staff Organization) โดย
สรุป ในโรงงานจึงมีห น่ ว ยงานหลัก และหน่ ว ยงานสนับสนุ นที่จะช่ว ยกันทาให้บ รรลุ พ ันธกิจ
นโยบาย และวัตถุประสงค์ของโรงงาน
หน้ าที่ความรับผิดชอบของผูเ้ กี่ยวข้องงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
1. หน้ าที่ความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หาร
1.1 ผู้บ ริ ห ารระดับ สู ง คือ ประธานบริษัท รองประธานบริห าร กรรมการใน
คณะกรรมการบริหาร และผูอ้ านวยการควรมีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบดังนี้
1.1.1 กาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคคลทีเ่ กี่ยวข้องในระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยไว้ให้ช ดั เจน ซึง่ รวมถึงหน้าทีค่ วามรับผิดชอบในการตอบสนอง
ต่อสภาพแวดล้อมหรือเหตุการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงหรือผิดปกติ เช่น สภาวะฉุ กเฉิน โดยอาจระบบ
ไว้ในคาบรรยายลักษณะงาน (Job Description) ผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนควรมีความรับผิดชอบใน
ความปลอดภัยของตัวเองและผูอ้ ่นื ด้วย
1.1.2 มอบอ านาจและทรัพยากร รวมทัง้ เวลาตามความจาเป็ นในการปฏิบตั ิ
หน้าทีใ่ ห้แก่บุคลากรทุกคนตามความรับผิดชอบ
595

1.1.3 มีการเตรียมการที่เหมาะสมเพื่อให้บุคลากรสามารถปฏิบตั หิ น้าที่ตาม


ความรับผิดชอบของตน
1.1.4 กาหนดสายการบังคับบัญชาทีช่ ดั เจนและไม่คลุมเครือ
1.1.5 ก าหนดให้งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเป็ นส่ ว นหนึ่งของแผน
ธุรกิจ
1.1.6 กาหนดให้มกี ารประเมินการปฏิบตั ิงานตนด้านอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย ในระบบการประเมินบุคลากร
1.1.7 กาหนดงบประมาณที่เหมาะสมสาหับการทากิจกรรมด้านอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
1.1.8 ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการดาเนินงานทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1.1.9 ติดตามตรวจสอบผลการดาเนินงาน และสื่อสารการเปลีย่ นแปลงต่างๆใน
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยความปลอดภัย
1.1.10 ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ของผู้อานวยการ/ผู้จดั การตามพื้นที่
และภารกิจทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบของคนเหล่านัน้
1.1.11 มีค วามรับ ผิด ชอบในหน้ า ที่ท่ีจ ะสนับ สนุ น และปฏิบ ัติใ นหน้ า ที่ค วาม
รับผิดชอบด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1.1.12 ดาเนินการทบทวนการจัดการหรือปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
1.2 ผูจ้ ดั การ (ทีม่ ใิ ช่หน่วยงานความปลอดภัย)
1.2.1 ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการดาเนินงานทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1.2.2 ซึม ซับ (Instill) พฤติก รรมความปลอดภัย เข้า ไปในหัว หน้ า งานและ
ผูป้ ฏิบตั งิ าน
1.2.3 สนับ สนุ น อย่า งจริง ใจต่ อ การวิเ คราะห์ปั ญ หาอาชีว อนามัย และความ
ปลอดภัยในฝ่ ายทีร่ บั ผิดชอบ
1.2.4 ให้รางวัลต่อผลงานการวิเคราะห์ปัญญาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ทีท่ าอย่างโปร่งใสและชัดเจน
1.2.5 กาหนดลักษณะการทางานในฝ่ าย/แผนกเป็ นแบบการผลิตที่ปลอดภัย
(Safe Production) ไม่ใช่แบบแยกส่วนระหว่างการผลิตและความปลอดภัย
1.2.6 กระตุน้ ให้หวั หน้างานสอนงานผูป้ ฏิบตั งิ านด้วยวิธกี ารทีเ่ หมาะสม
1.2.7 ก าหนดให้ อ าชีว อนามัย และความปลอดภัย เป็ นเกณฑ์ห นึ่ ง ในการ
พิจารณาสาหรับการวางแผนปรับปรุงโรงงาน เครือ่ งจักรอุปกรณ์
1.2.8 เข้าร่วมเพื่อการป้ องกัน ควบคุมการแก้ไขปั ญหาทางอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย
1.2.9 ให้รางวัลหัวหน้างานทีม่ งุ่ มันดู
่ แลด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
596

หน้ าที่ความรับผิดชอบของนักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
โดยทัวไปหน้
่ าที่ความรับผิดชอบของนักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จะเน้นเรื่อง
การบริหารจัดการโปรแกรมความปลอดภัยในการทางาน ซึง่ รวมถึงการวางแผน การดาเนินงาน
การประเมิน ผลและการปรับ ปรุ ง ในที่น้ี จ ะน าเสนอความรับ ผิด ชอบที่ ส มาคมวิศ วกรความ
ปลอดภัยอเมริกนั (American Society of Safety Engineers: ASSE) กาหนดไว้สาหรับ
ตาแหน่ง Safety Professional ดังนี้
1. การบ่งชี้และประเมิ น (Appraisal) ปั ญหาอุบตั เิ หตุและความสูญเสีย
ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้
1.1 พัฒนาวิธกี ารบ่งชีแ้ ละประเมินปั ญหาอุบตั เิ หตุและความสูญเสียที่อาจเกิ ดจาก
ระบบและกระบวนการผลิตโดย
1.1.1 ศึกษาอย่างละเอียดเกี่ยวกับอันตรายทีม่ อี ยู่โครงการทีว่ างแผนทีจ่ ะทาทัง้
ในประเด็นโครงสร้างและสิง่ อานวยความสะดวก (Facilities) การปฏิบตั งิ าน (Operation) หรือ
ผลิตภัณฑ์
1.1.2 วิเคราะห์เ กี่ยวกับอันตราย (Hazard Analysis) ที่มอี ยู่ใ นโรงงานที่
เดิน เครื่อ งแล้ว ทัง้ ในประเด็น โครงสร้า งและสิ่ง อ านวยความสะดวก การปฏิบ ัติง าน หรือ
ผลิตภัณฑ์
1.2 การเตรียมและการอธิบายผลการวิเคราะห์ความสูญเสียทางเศรษฐกิจอันเป็ นผล
มาจากอุบตั เิ หตุ
1.3 ทบทวนระบบทัง้ หมดเพื่อกาหนดสิง่ ทีเ่ กิดความผิดพลอด (Mode of Failure) ซึง่
รวมถึงความผิดพลาดของมนุษย์และผลกระทบทีม่ ตี ่อความปลอดภัยของระบบ
1.3.1 ชี้บ่งความผิดพลาดที่เกิดขึน้ เช่น จากการตัดสินใจที่ไม่รอบคอบ การ
ตัดสินใจทีผ่ ดิ การปฏิบตั ทิ ผ่ี ดิ
1.3.2 ชีบ้ ่งจุดอ่อนทีพ่ บในนโยบาย มาตรการ วัตถุประสงค์ และการปฏิบตั งิ าน
1.4 การทบทวนรายงานการประสบอันตรายทีเ่ กิดการบาดเจ็บ เจ็บป่ วย โรคจากการ
ทางานทรัพย์สนิ เสียหาย รวมถึงเหตุทเ่ี กิดขึน้ กับสาธารณะ และการวิเคราะห์และปลงผลข้อมูล
เกีย่ วกับสาเหตุการประสบอุบตั เิ หตุ
1.5 การให้คาปรึกษาและแนะนาเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและมาตราต่างๆ
การศึกษาวิจยั ในปั ญหาทางเทคนิคทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การพิจารณาความ
จาเป็ นทีต่ ้องอาศัยผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านด้านมาช่วยประเมินสถานการณ์ทอ่ี าจเป็ นอันตรายใน
การทางาน การศึกษาอย่างเป็ นระบบเพื่อมันใจว่ ่ าสิง่ แวดล้อมการทางานไม่ทาให้เกิดอันตรายทัง้
กายและใจของผูป้ ฏิบตั งิ าน
597

2. การพัฒนาวิ ธีการป้ องกันอุบตั ิ เหตุ และควบคุมความเสียหาย


2.1 การกาหนดวิธกี ารป้ องกันและการควบคุมทีเ่ น้นหารกาจัดสาเหตุของอุบตั เิ หตุ
2.2 จัดสร้างระบบให้มกี ารบูรณการความปลอดภัยเข้าไปในการปฏิบตั กิ ารของทุก
ฝ่ าย
2.3 พัฒนานโยบาย กฎ มาตรฐาน และขัน้ ตอนการดาเนินงานทีถ่ ูกบรรจุเป็ นส่วน
หนึ่งของนโยบายการปฏิบตั กิ ารขององค์กร
2.4 บรรจุขอ้ กาหนดด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเข้าไปในลักษณะสมบัติ
ของการจัดซือ้ และการว่าจ้างผูร้ บั เหมา
2.5 เป็ นที่ปรึกษาให้กบั ฝ่ ายต่างๆและผู้ปฏิบตั งิ านในเรื่องความปลอดภัยในแต่ละ
ระยะของการทางานวางแผน ออกแบบ พัฒนา และติดตัง้
2.6 ร่วมทางานในการพิจารณาคัดเลือกและการกาหนดงานให้บุคลากรทา โดย
พิจารณาถึงความสามารถและข้อจากัดทางร่างกายของบุคลากรนัน้ ๆ
2.7 ปรึก ษาหารือ ในประเด็นความปลอดภัยของผลิต ภั ณฑ์ต งั ้ แต่ การวางแผน
ออกแบบพัฒนาตกแต่ง และทดสอบ
3. การสื่ อ สารข้ อ มู ล ข่ า วสารการป้ องกัน อุบ ตั ิ เ หตุ แ ละความเสี ย หายไปยัง
เกี่ยวข้องโดยตรง
3.1 วิเคราะห์และแปลความหายของสถิตกิ ารประสบอันตราย และจัดทารายงาน
สื่อสารข้อเสนอแนะการควบคุม ขัน้ ตอนการดาเนินงานและโปรแกรมที่จะกาจัดหรือลดโอกาส
เกิด อัน ตรายใช้ส่ ือ การสื่อ สารที่เ หมาะสมเพื่อ สื่อ สารไปยัง ผู้ ม ีอ านาจตัด สิน ใจ พิจ ารณา
ดาเนินการตามทีเ่ สนอแนะ
3.2 จัดเตรียมการให้คาปรึกษาและแนะนาในเรื่องชนิดและช่องทางการสื่อสารเรื่อง
การป้ องกันและควบคุมอุบติ เิ หตุและความสูญเสีย โดยไม่ใช้เวลามากและมีประสิทธิภาพ
4. การวัดและการประเมิ นผลประสิ ทธิ ภาพผลของการป้ องกันควบคุมอุบตั ิ เหตุ
และความสูญเสียและสิ่ งที่ควรปรับปรุงเพื่อได้รบั ผลที่ มากที่สดุ
4.1 จัดทาเทคนิคการตรวจวัดเพื่อจะจะได้ประเมินเป็ นระยะๆ อย่างเป็ นระบบ
4.2 พัฒนาวิธที จ่ี ะประเมินค่าใช้จ่ายในการควบคุม เพื่อทราบถึงประสิทธิผลและการ
มีส่วนช่วยในการลดอุบตั แิ ละความสูญเสีย
4.3 จัดหาข้อมูลข่าวสารป้ องกันเกี่ยวกับประสิทธิผลของมาตรการควบคุม และการ
เปลีย่ นแปลงหรือการปรับปรุงทีจ่ าเป็ น
หน้ าที่ความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารหน่ วยงานความปลอดภัย
ในฐานะผู้ บ ริห ารหน่ ว ยงานอาชีว อนามัย และความปลอดภัย ซึ่ง อาจเป็ นระดั บ
ผูอ้ านวยการหรือผูจ้ ดั การก็ตามหน้าทีค่ วามรับผิดชอบมีดงั นี้
598

1. การคิดวิเคราะห์ วางแผน และการบริหารจัดการโปรแกรมอาชีวอนามัยและความ


ปลอดภัย การค้น หาข้อ มูล ข่ า วสารล่ า สุ ด เกี่ย วกับ อัน ตรายและจุ ด เสี่ย งที่เ กิด ขึ้น ในสถาน
ประกอบการ
2. การค้นหาข้อมูลข่าวสารล่าสุดเกีย่ วกับการควบคุมอันตรายทีด่ ี
3. การเป็ นผู้แทนฝ่ ายบริหารด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการติดต่อกับ
สาธารณะ หน่วยงานภาครัฐ บริษทั ประกันภัย เพื่ออานวยประโยชน์ต่อองค์การ
4. การเป็ นทีป่ รึกษาด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยให้กบั ผูบ้ ริหารทุกระดับ
5. การรายงานสถานการณ์ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยต่อผูบ้ ริหารระดับสูงเป็ น
ระยะๆ
6. การรวบรวมและบันทึกข้อมูลด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่เกี่ยวกับการ
ทางานและสถิตกิ ารประสบอันตราย
7. การให้คาแนะนาหัวหน้างานในเรือ่ งโปรแกรมการฝึกอบรม
8. การประสานงานกับแพทย์เรื่องการกาหนดตาแหน่ งงานให้กบั ผู้ ปฏิบตั ิงานคนใหม่
หรือภายหลังกลับจากการพักฟื้ น
9. การตรวจตราและตรวจประเมินระบบการจัดการและโปรแกรมอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย รวมทัง้ การตรวจสอบความสอดคล้องกับกฎหมาย เอกสารขัน้ ตอนการดาเนินงาน
และข้อเสนอแนะจากบริษทั ประกันภัย
10. การมีส่วนร่วมในการทบทวนลักษณะสมบัตขิ องสิง่ ทีจ่ ะจัดซือ้ ว่ามีความปลอดภัย
เมือ่ พิจารณาบทบาทและหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของนักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
และผูบ้ ริหารหน่ วยงานความปลอดภัยแล้ว จะเห็นได้ว่าผูท้ ด่ี ารงตาแหน่ งทัง้ สองควรเป็ นคนที่ม ี
สมรรถนะ (Competency) คือมีความสามารถทีจ่ ะทางานได้ดี อัน เนื่องมากจากการมีคุณสมบัติ
และประสบการณ์ทเ่ี หมาะสม
การก าหนดสมรรถนะ สามารถเป็ น สมรรถนะหลัก (Core Competencies) และ
สมรรถนะตามหน้าที่ (Functional Competencies)
สมรรถนะหลัก เป็ นสมรรถนะเชิงพฤติกรรมทีถ่ อื ว่าเป็ นคุณลักษณะร่วมของผูม้ วี ชิ าชีพ
ทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ใครที่ทางานด้านนี้ก็ควรมีสมรรถนะหลักเหมือนกัน
แต่สมรรถนะตามหน้าที่ จะเป็ นสมรรถนะเฉพาะกลุ่มงานทีม่ หี น้าทีต่ ามตาแหน่ งงานซึง่ แบ่งตาม
ระดับการบริหารและระดับปฏิบตั กิ าร
(สราวุธ สุธรรมมาสา, 2549, หน้า 29) เสนอแนะว่า สมรรถนะผูบ้ ริหารอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย ต้องประกอบด้วยสมรรถนะทีจ่ าเป็ นดังนี้
1. สมรรถนะหลัก (Core Competence) ถือเป็ นสมรรถนะทีผ่ บู้ ริหารอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย ทุ ก คนต้ อ งมีไ ม่ ว่ า จะท างานในองค์ ก รประเภทใดก็ ต าม ประกอบด้ว ย 4
สมรรถนะ ดังนี้
599

1.1 การมุ่งสัมฤทธิ ์ (Achievement Motivation) เป็ นความมุ่งมันในการปฏิ


่ บตั หิ น้าที่
ให้ได้มาตรฐานระดับที่กาหนดไว้ (ขององค์กรนัน้ ) สร้างและพัฒนาผลงาน หรือกระบวนการ
ปฏิบตั ิงานตามเป้ าหมายที่ยากและท้าทาย ด้วยอาศัย ความเชี่ยวชาญ (Expertise) เป็ นความ
สนใจใฝ่ เรียนรู้ เสาะแสวงหาความรูอ้ ย่างต่อเนื่อง รูจ้ กั พัฒนา ปรับปรุง และการประยุกต์ความรู้
และเทคโนโลยีต่ างๆ มาใช้ก ับงานที่รบั ผิด ชอบ จริยธรรม (Integrity) การคลองตนและการ
ประพฤติป ฏิบ ัติง านที่ถู ก ต้อ งทัง้ ตามกฎหมายและคุ ณ ธรรม จริย ธรรม การท างานเป็ น ทีม
(Teamwork) การทางานร่วมกับผูอ้ ่นื ทัง้ ทีเ่ ป็ นคนในองค์กรเดียวกัน หรือประชาชนทัวไป

1.2 การให้บริการที่ดี (Service Mind) ต้องมีความตัง้ ใจและความพยายามในการ
ให้บริการแก่ผู้มารับบริการ ได้แก่ หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้จดั การในสายงาน หัวหน้างาน และ
พนักงานผู้ปฏิบตั ิงาน เป็ นต้น ให้ได้รบั ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย การให้
คาแนะนาปรึกษา และสนับสนุนงานด้านความปลอดภัยแก่หน่วยงานภายในและภายนอก
1.3 การสังสมความเชี
่ ย่ วชาญในงานอาชีพ (Expertise) มีความสนใจ ใฝ่ เรียนรู้ มุ่ง
สนใจในงานทีต่ นปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยการศึกษาค้นคว้า วิจยั และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง จนทา
ให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ประสบการณ์เข้ากับการปฏิบตั งิ านให้เกิดผลสัมฤทธิ ์
1.4 การยึดมันในความถู
่ กต้องชอบธรรม และจริยธรรม (Integrity) การครองตนและ
ประพฤติปฏิบตั อิ ย่างถูกต้องเหมาะสมตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และอยู่ในศีลธรรมอัน
ดี มีคุ ณธรรม จรรยาบรรณแห่ งวิชาชีพของตนเอง และเป็ น แบบอย่างที่ดีใ ห้กบั บุค คลอื่นใน
องค์การ
2. สมรรถนะตามหน้ าที่ (Functional) โดยหลักการสมรรถนะตามหน้าที่จะแตกต่าง
กันไปแล้วแต่ว่าผูน้ นั ้ อยูใ่ นตาแหน่งและความรับผิดชอบใด แต่ในกรณีผบู้ ริหารอาชีวอนามัยต้อง
มี 6 สมรรถนะต่อไปนี้
2.1 ภาวะผู้นา (Leadership) เป็ นความสมรรถนะ ทีจ่ ะเป็ นผูน้ ากลุ่มของทีมงานอา-
ชีวอนามัยและความปลอดภัย และเป็ นทีย่ อมรับของผูบ้ ริหารอื่นๆขององค์กร
2.2 ศิลปะการสื่อสาร (Communication) เพื่อให้บุคล/กลุ่มคนเหล่านัน้ ประทับใจและ
ให้การสนับสนุนความคิดของตน
2.3 วิสยั ทัศน์ (Vision) ความสามารถที่จะกาหนดส่ งที่งานอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยควรจะเป็ นเพื่อเป็ นทิศทางทีช่ ดั เจน และเกิดความร่วมมือร่วมใจของทีมงาน
2.4 การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Orientation) การมีความเข้าใจในการ
ก าหนดยุทธศาสตร์ขององค์ก รที่ส อดคล้อ งสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ของรัฐ และสากล รวมถึง
ความสามารถทีจ่ ะคาดการณ์ถงึ ทิศทางของงานทางด้านนี้ได้
2.5 การนาการเปลีย่ นแปลง (Change Leadership) เป็ นความสามารถของผูบ้ ริหาร
ที่จะกระตุ้น ผลัก ดันทีมงานของตนเองและฝ่ ายต่ างๆ ให้เ ดความต้อ งการที่จะเปลี่ยนไปใน
แนวทางทีเ่ กิดประโยชน์ต่องานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
600

2.6 การสร้างพลังให้ทมี งาน (Empowerment) การมอบหมายอานาจหน้าที่ความ


รับผิดชอบให้กบั ทีมงานแต่ละคน เพื่อให้โอกาสความอิสระทางความคิดของทีมงานในการคิดหา
วิธกี ารทางานเพื่อบรรลุเป้ าหมายขององค์กร
2.7 การท างานเป็ น ทีม (Teamwork) เป็ น ผู้ท่ีทางานร่ว มกับผู้อ่ ืน ได้ ด้ว ยการ
สนับสนุ นการตัดสินใจของผู้อ่ ืนในทีมงานเมื่อเห็นว่ามีความเหมาะสมถูกต้องเป็ นไปได้ และ
ทางานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย มีความคิดสร้างสรรค์ และสร้างความสัมพันธ์ทด่ี ที างานร่วมกับผูอ้ ่นื ได้
ด้วยความเชื่อมันศรั
่ ทธาในศักยภาพของทีมงาน

หน้ าที่ความรับผิดชอบของหัวหน้ างาน


หัวหน้างานถือเป็ นบุคคลในการดาเนินงานด้านอาชีวอนามัยและปลอดภัย ควรมีหน้าที่
ดังนี้
1. จัดประชุมหรือพิจารณาประเด็นความปลอดภัยในการทางานและกาหนดวิธกี ารแก้ไข
เพื่อนามาเป็ นแนวทางในการปรับปรุงงานด้านความปลอดภัย
2. ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการดาเนินงานทีป่ ลอดภัย เพื่อให้เป็ นตัวอย่างหรือต้นแบบทีด่ ขี อง
ผูป้ ฏิบตั งิ าน
3. หมันตรวจสอบ
่ ติดตาม และเอาใจใส่ในการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับ
ความปลอดภัยหรือการปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานของผู้ใต้บงั คับบัญชา
อย่างใกล้ชดิ และให้คาแนะนาปรึกษาตลอดเวลาทีม่ กี ารปฏิบตั งิ าน
4. พัฒนาและปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่องกับโปรแกรมความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการ
ทางานของผูป้ ฏิบตั งิ านเพื่อให้เกิดความมันใจในการปฏิ
่ บตั งิ านของผูป้ ฏิบตั งิ านเพื่อนาไปสู่การ
ปรับปรุง และหาแนวทางในการวางแผนดาเนินการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยต่อไป
5. สนับสนุ นให้รางวัลกับผูป้ ฏิบตั งิ านทีส่ ามารถชีบ้ ่งอันตรายได้ รวมทัง้ เปิ ดโอกาสให้ม ี
การแสดงความคิดเห็นในการแก้ปัญหาและหาแนวทางร่วมกันในการพัฒนาป้ องกันจุดอันตราย
ทีจ่ ะเกิดขึน้ หลังจากมีการชีบ้ ่งอันตราย
6. กระตุ้น/จูงใจให้ผปู้ ฏิบตั งิ านเข้ามามีส่วนร่วมในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ด้ว ยการให้เ ข้าร่ว มประชุ มเสนอแนะแนวทางเกี่ย วกับการปฏิบตั ิงานที่อ าจเกิด อันตรายใน
สถานที่ทางานที่เป็ นจุดหน้ างานเพื่อให้ตระหนักถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นในการปฏิบตั ิงานของ
ผูป้ ฏิบตั งิ าน
7. ปรึกษากับหน่ วยงานความปลอดภัยก่อนที่จะเกิดปั ญ หาอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยขึน้ ตรวจติดตามการปฏิบตั งิ านด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
8. มีส่วนร่วมในการอบรมผูป้ ฏิบตั งิ าน และทาให้หน้าที่เป็ นผูส้ ่อื สารด้านความปลอดภัย
ให้กบั ผู้ปฏิบตั งิ านให้เกิดความเข้าใจในการปฏิบตั งิ านให้เกิดความปลอดภัยในการทางานทุก
ขัน้ ตอน
601

หน้ าที่ความรับผิดชอบของผูป้ ฏิ บตั ิ งาน


ผู้ปฏิบตั ิงานมีห น้ าที่ต้อ งปฏิบตั ิต นตามนโยบาย ขัน้ ตอนการดาเนินงานและกฎด้าน
ความปลอดภัยที่กาหนดไว้ เช่น การสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามที่
โรงงานกาหนด การเข้าร่วมกิจกรรมความปลอดภัยที่โรงงานจัดซึ่งอาจมีหลายกิจกรรม เช่น
การเข้าฝึ กอบรมด้านความปลอดภัย การสนทนาความปลอดภัย 5 นาที ในช่วงเวลาก่อ น
ปฏิบตั งิ าน การตรวจสภาพเครือ่ งมือก่อนใช้งาน และการทางานตามขัน้ ตอนทีก่ าหนด
หน้ า ที่ท่ีส าคัญ อีก ประการหนึ่ ง ของผู้ป ฏิบ ัติง านคือ การายงานอุ บ ัติเ หตุ แ ละ /หรือ
เหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั เิ หตุ (Near Miss) ทีเ่ กิดขึน้ เพื่อนาไปสู่การแก้ไข ป้ องกันต่อไปหน้าที่
โดยสรุปดังนี้
1. ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
2. การเข้าร่วมในการสอบสวนอุบตั เิ หตุเมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุในการทางานของเพื่อนร่วมงาน
เพื่อให้ขอ้ มูลแก่เจ้าหน้าทีส่ อบสวนอุบตั เิ หตุในการทางาน
3. เข้าร่วมในการค้นหาวิธกี ารแก้ไข ป้ องกัน ควบคุมปั ญหาทางอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย
4. คอยเตือนและให้คาแนะนาเพื่อนร่วมงานในการปฏิบตั งิ านทีม่ คี วามเสีย่ งอันตรายที่
เกิดขึน้ ในการทางาน
5. เป็ นตัวอย่างทีด่ ดี า้ นความปลอดภัยต่อผูป้ ฏิบตั งิ านใหม่
6. มีหน้ าที่แจ้งและรายงานการพบเห็นอันตราย จุดเสี่ยงอันตรายที่เกิดขึ้นในโรงงาน
อุตสาหกรรม และเหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั เิ หตุในโรงงาน

รูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การ
การจัดโครงสร้างองค์การในงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ทีม่ คี วามชัดเจน
มีการแบ่งหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ และการมอบหมายงานแต่ละส่วนงาน แต่คนรับผิดชอบจะช่วย
ให้งานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยเกิดประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ก็ เนื่องจากว่างานด้าน
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเป็ นงานทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีและเป็ นงานที่ต้อง
อาศัยทัง้ ศาสตร์ ผู้ทางานมีความเป็ นนักวิชาการมาก การจัดองค์กรตามแนวนอนจึงมีค วาม
เหมาะสมสาหรับการจัดตัง้ หน่วยงานความปลอดภัยขึน้ ในโรงงาน
ในการจัดตัง้ องค์การของรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การงานด้านความปลอดภัย และ
อาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการหรือในโรงงานทีม่ ีลกั ษณะเป็ นหน่ วยงานใดๆ ก็ตาม โดย
ส่วนใหญ่นิยมแบ่งออกตามรูปแบบโครงสร้างองค์การดังต่อไปนี้
1. การจัดองค์กรตามแนวดิ่ ง (Tall Organization) รูปแบบการจัดตัง้ องค์กรนี้ จะแบ่ง
องค์กรนัน้ ออกเป็ นหน่วยงานย่อยๆ ตามแนวดิง่ อีกหลายหน่วยงานย่อย ดังภาพที่ 10.1
602

ภาพที่ 10.1 รูปแบบการจัดโครงสร้างองค์กรตามแนวดิง่ (Tall Organizational)


ทีม่ า: www.google.co.th/search?q, 2560.

การจัด ตัง้ องค์ก รตามแนวดิ่ง จะมีส ายการบัง คับบัญ ชาที่ยาว เมื่อ มีก ารสัง่ การจาก
ผูบ้ งั คับบัญชาก็จะส่งการเป็ นลาดับชัน้ ไป ทาให้ต้องใช้เวลาพอสมควรกว่าข่าวสารที่จะสื่อสาร
(สังการ)
่ จะไปถึงผูร้ บั และในทานองเดียวกัน หากผูใ้ ต้บงั คับบัญชาต้องการเสนอความคิดเห็นไป
ยังผูบ้ งั คับบัญชา ก็ต้องใช้เวลาและผ่านการพิจารณาในแต่ล่ะชัน้ อาจส่งผลต่อความพยายามที่
จะสื่อสารไปยังผู้บงั คับบัญชา นอกจากนี้ ความที่สายการบังคับบัญชายาว จึงมีผลกระทบต่อ
ความก้าวหน้าในตาแหน่ งหน้าที่การงานที่ต้องใช้เวลามาก อาจทาให้คนระดับล่างหมดความ
กระตือรือร้นในการทางาน อย่างไรก็ตาม ลักษณะการจัดองค์กร แบบนี้จะเห็นได้ว่าในแต่ล่ะสาย
บัง คับ บัญ ชา ผู้บ ัง คับ บัญ ชาในแต่ ล ะชัน้ จะสามารถตรวจสอบ ควบคุ ม ดู แ ลและสอนงาน
ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาได้อย่างใกล้ชดิ
2. การจัดองค์กรตามแนวนอน (Flat Organization) การจัดองค์กรในรูปแบบนี้จะ
แบ่งองค์กรนัน้ เป็ นหน่ วยงานย่อยๆ ตามแนวนอน ดังภาพที่ 10.2 ซึ่งมีความแตกต่างอย่าง
ชัดเจนกับรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การตามแนวดิง่
603

ภาพที่ 10.2 รูปแบบการจัดโครงสร้างองค์กรตามแนวนอน (Flat Organization)


ทีม่ า: www.google.co.th/search?q, 2560.

จากภาพที่ 10.2 จะเห็นได้ว่าสายการบังคับบัญชาจะไม่ยาว ส่งผลดีต่อการรวดเร็วใน


การสื่อ สารและโอกาสในการเติบ โตในต าแหน่ ง หน้ าที่ก ารงาน ผู้ใ ต้บ ัง คับบัญ ชาจะมีค ว าม
กระตือรือร้นทีจ่ ะคิดเสนอความคิดเห็นเกีย่ วกับการทางาน เพราะสารมารถสื่อสารได้รวดเร็วกว่า
รู ป แบบแรก แต่ อ าจพบปั ญ หาว่ า ผู้ บ ัง คับ บัญ ชาระดับ รองไม่ ส ามารถดู แ ลและสอนงาน
ผู้ใ ต้บงั คับบัญ ชาได้อ ย่า งใกล้ชิด เพราะมีผู้ใ ต้บงั คับบัญ ชามากเกินไป งานที่เ สนอผู้บริห าร
องค์กรจึงอาจไม่รอบคอบก็เป็ นได้
3. การจัดองค์กรแบบผสมผสาน (Matrix Organization) ในงานด้านการจัดการ
ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยจาเป็ นต้องอาศัยรูปแบบการจัดโครงสร้างองค์การแบบลักษณะ
นี้ เนื่องจากว่า การจัดองค์กรแบบนี้จะไม่ใช่การจัดองค์การในรูปหน่ วยงาน การจัดองค์กรแบบนี้
จะพบในกิจการขนาดใหญ่ทม่ี งี านซับซ้อนเกิดขึน้ เมือ่ องค์การมีโครงการพิเศษเฉพาะขึน้ มา ก็ทา
การดึงบุคลากรทีม่ ค่ี วามสามารถและมีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการพิเศษนัน้ มารวมตัวเพื่อปฏิบตั ิ
ภารกิจนัน้ ๆ เมื่อสิ้นสุดโครงการ แต่ล่ะคนก็แยกย้ายกลับไปทางานในความรับผิดชอบเดิม ใน
การจัดองค์ก รในรูป ของกลุ่ มคนนี้ ซึ่ง อาจเรีย กเป็ น คณะกรรมการ คณะอนุ กรรมการ หรือ
คณะทางานตามแต่กรณี ซึ่งลักษณะโครงสร้างองค์การนี้จะมีการประสานงานร่วมกัน ใช้
ทรัพยากรร่วมกันที่มอี ยู่ในแผนกต่าง ๆ และการทางานจะร่วมกันทางานหลาย ๆ ฝ่ าย ซึ่งจะ
สาเร็จลงได้ผบู้ ริหารจะต้องส่งเสริมและมีการให้รางวัล เพื่อสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศในการ
ทางานให้มเี กิดความไว้วางใจกัน มีส่วนร่วมกันเพื่อนาทีมงานให้บรรลุ ดังนัน้ การรายงาน
ผูบ้ งั คับบัญชาทัง้ แนวตัง้ และแนวนอน ดังภาพที่ 10.3
604

Project Manager 1

Project Manager 2

Project Manager 3

ภาพที่ 10.3 การจัดรูปแบบโครงสร้างองค์การแบบผสมผสาน (Matrix Organization)


ทีม่ า: www.google.co.th/search?q, 2560.
รูปแบบการจัดองค์กรแบบผสมผสาน จะเป็ นการตัง้ กลุ่มคนทีม่ าจากหลายหน่ วยงานแต่
มีความเชี่ยวชาญหรือเกี่ยวข้องในโครงการทีโ่ รงงานกาหนดขึน้ เมื่อสิน้ สุดโครงการ แต่ละคนก็
กลับไปปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นหน่ วยงานของตนเอง อย่างไรก็ตาม อาจเป็ นไปได้ทร่ี ะหว่างทาโครงการ
พิเศษนัน้ แต่ละคนก็ยงั ทางานเดิมอยู่ดว้ ย การจัดองค์กรรูปแบบนี้จงึ เหมาะสมกับโครงการที่ม ี
ระยะเวลาดาเนินงานแน่นอน การจัดตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัยในโรงงาน ถือเป็ นตัวอย่าง
หนึ่งของการจัดองค์การในรูปแบบนี้
ตารางที่ 10.2 การเปรียบเทียบข้อดีและข้อด้อยของการจัดองค์กรในรูปแบบแนวดิง่ และแนวนอน
รูปแบบองค์กร ข้อดี ข้อด้อย
แบบแนวดิ่ ง 1. การประสานงานจะทาได้คอ่ นข้างใกล้ชดิ 1. ไม่เอือ้ ต่อการสร้างสรรค์งานใหม่ ๆ
2. มีความชัดเจนในบทบาทและหน้าที่ ซึง่ จะ 2. สายการบังคับบัญชายาวเกินไป
แบ่งงานกันทาอย่างชัดเจน ต้องอาศัยคนจานวนมากในตาแหน่ง
3. เอือ้ ต่อการเป็ นพีเ่ ลีย้ ง ต่าง ๆ
4. การบังคับบัญชามีการตัดสินใจได้ชดั เจน 3. ช่องทางการสื่อสารยาวทาให้เกิด
ข้อมูลข่าวสารคลาดเคลื่อนผิดพลาด
และล่าช้า
4. ผูใ้ ต้บงั คับบัญชีตอ้ งใช้เวลามากใน
การก้าวหน้าในการก้าวหน้าใน
ตาแหน่งหน้าทีก่ ารงาน
605

ตารางที่ 10.2 การเปรียบเทียบข้อดีและข้อด้อยของการจัดองค์กรในรูปแบบแนวดิง่ และ


แนวนอน (ต่อ)
รูปแบบองค์กร ข้อดี ข้อด้อย
แบบแนวนอน 1. ช่วยในเรื่องการสร้างผลงาน 1. การควบคุมและประสานงานไม่
2. การติดต่อสื่อสารทาได้งา่ ย และใกล้ชดิ ทั ่วถึง
ความคลาดเคลื่อนของข่าวสารเล็กน้อย 2. ต้องอาศัยผูบ้ ริหารทีม่ คี วามชานาญ
3. ผูใ้ ต้บงั คับบัญชามีความรูส้ กึ เป็ นอิสระและ ในการควบคุมบังคับบัญชาทีม่ ฝี ีมอื
พอใจ 3. ไม่เอือ้ ต่อการดูแลอย่างใกล้ชดิ ทา
4. ผูใ้ ต้บงั คับบัญชามีโอกาสใกล้ชดิ ผูบ้ ริหาร ให้งานสาคัญๆ อาจผิดพลาดได้
5. เหมาะสมกับลักษณะงานวิชาการ 4. ผูป้ ฏิบตั งิ านทีท่ างานใหม่ อาจ
ทางานได้ช้าและใช้เวลามาก
แบบผสมผสาน 1. ลดอุปสรรคการสนใจเฉพาะหน้าทีง่ าน 1. อาจนาไปสู่ความสับสนและความ
โดยเพิม่ ความสนใจส่วนรวมทัง้ โครงการ ยุง่ ยากในการรับคาสั ่งจาก
2. สมาชิกจะมีการสื่อสารและเรียนรูง้ าน ผูบ้ งั คับบัญชาเนื่องจากมีมากกว่า 1
ระหว่างกัน คน
3. ทรัพยากรได้ถูกใช้อย่างคุม้ ค่า พนักงานมี 2. ผูบ้ งั คับบัญชาอาจแย่งอานาจใน
โอกาสก้าวหน้าสูงขึน้ เนื่องจากสามารถ การจัดการ
เติบโตได้ทงั ้ สองสายงาน 3. มีคา่ ใช้จา่ ยเพิม่ มากขึน้
4. พนักงานมีความคับข้องใจในความ
กากวมของบทบาทหรือความขัดแย้ง
บทบาทในการปฏิบตั งิ าน
ทีม่ า : R.Krause, Thomas., 2005, p.167.

หน่ วยงานหลัก (Line Organization) และหน่ วยงานสนับสนุน


(Staff Organization)
ในการดาเนินธุรกิจใดๆ ก็ตาม ในทางการบริหารจะกาหนดหน่ วยงานขึน้ ในองค์กรนัน้ ๆ
เพื่อทาหน้าทีท่ จ่ี ะทาให้องค์กรนัน้ บรรลุวตั ถุประสงค์กาหนดไว้ หน่ วยทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ จะมี 2 ลักษณะ
ตามภารกิจที่รบั ผิดชอบ คือ หน่ ว ยงานหลัก (ซึ่งอาจเรียกเป็ นสายงานหลัก) และสนับสนุ น
(ซึง่ อาจเรียกเป็ นสายงานสนับสนุ น)
1. หน่ วยงานหลัก เป็ นหน่ วยงานทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบโดยตรงในการปฏิบตั ภิ ารกิจให้
บรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร และรายงานตรงต่อสายบังคับบัญชา (Chain of Command)
2. หน่ วยงานสนับสนุน เป็ นหน่ วยงานทีช่ ่วยหรือสนับสนุ นให้หน่ วยงานหลักสามารถ
ปฏิบ ัติภ ารกิจ ได้อ ย่ า งมีป ระสิท ธิภ าพและประสิท ธิผ ล บุ ค ลากรในหน่ ว ยสนับ สนุ น จะเป็ น
ผูเ้ ชีย่ วชาญหรือความชานาญเฉพาะด้าน
606

ตัว อย่างเช่ น โรงงานสิ่งทอ หน่ ว ยงานหลัก คือ ฝ่ ายผลิต ที่ท าหน้ า ที่ผ ลิต สิ่งทอตาม
วัต ถุประสงค์ของการตัง้ โรงงาน แต่เ นื่องจากในการผลิต สิ่งทอ จาเป็ นต้อ งการรับคนเข้ามา
ทางาน ต้อ งมีก ารฝึ ก อบรมพัฒ นาคนให้มคี วามรู้ค วามสามารถ จาเป็ นต้อ งดูแ ลเรื่อ งความ
ปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม และจาเป็ นต้องมีการจัดทาบัญชีการเงินต่างๆ ฯลฯ จึงทาให้ต้องมี
หน่วยงานสนับสนุน คือ ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ ายความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม และฝ่ ายบัญชี
และการเงิน ซึง่ จะมีผเู้ ชีย่ วชาญสนับสนุ น แนะนา ให้ปรึกษา ทาให้ฝ่ายผลิตสามารถทางานได้ดี
ยิง่ ขึน้

หน่ วยงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
1. บทบาทของหน่ วยงานความปลอดภัย สืบเนื่องมาจากเหตุผลที่งานอาชีวอนามัย
และความปลอดภัยเป็ นความรับผิดชอบของทุกคน (Occupational health safety is everyone
responsibility) และโดยเฉพาะอย่า งยิง่ ถือ เป็ นความรับ ผิดชอบของหน่ ว ยงานหลักที่ต้อ ง
ดาเนินงานด้วยความปลอดภัย ทาให้บทบาทของหน่ วยงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยซึ่ง
ถือเป็ นหน่วยงานสนับสนุน คือการเป็ นทีป่ รึกษาทีจ่ ะสนับสนุ นให้หน่ วยงานสายงานหลักคือฝ่ าย
โรงงานหรือฝ่ ายโรงงานทีต่ อ้ งดูแลรับผิดชอบให้ผปู้ ฏิบตั งิ านสวมใส่ทอ่ี ุดหู/ทีค่ รอบหูตลอดเวลาที่
ทางาน ต้องการมอบหมายให้หวั หน้างานตรวจตราดูการปฏิบตั ดิ งั กล่าวผู้ปฏิบตั งิ าน ในขณะที่
หน่วยงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจะรับผิดชอบในด้านการแนะนาทีอ่ ุดหู/ทีค่ รอบหู ยีห่ อ้
ใด รุ่นใด มีล กั ษณะเหมาะสมที่จะน ามาใช้ แนะน าหรือ สอนวิธ ีการสวมใส่ ท่ีถู ก ต้อ ง ท าการ
ประเมินการสัมผัสเสียงของผูป้ ฏิบตั งิ านเพื่อ เฝ้ าระวังทางด้านเสียง หรือกรณีทางฝ่ ายโรงงานจะ
ขยายการผลิตด้วยการเพิม่ สายการผลิตขึน้ มาอีกนัน้ ฝ่ ายโรงงานต้องรับผิดชอบที่จะซื้อเครื่อง
ปั ม๊ โลหะในแง่เสียงดังและระบบความปลอดภัยของเครื่องปั ม๊ โลหะด้วย ในขณะทีห่ น่ วยงานอาชี
วอนามัยและความปลอดภัยจะสนั บสนุ นในเรื่องข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และแนะนาว่าไม่ควรติดตัง้
สายการผลิตบริเวณนี้ เพราะจะ ทาให้จานวนผูส้ มั ผัสเสียงดังเกินมาตรฐานมีจานวนมากขึน้ โดย
ใช่เหตุ
2. ระดับสถานะและขนาดของหน่ วยงานอาชี วอนามัยและความปลอดภัย เมื่อ
พิจารณาในเรื่องระดับสถานะ(Position Status) ว่าหน่ วยงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ควรมีส ถานะระดับใดนัน้ หากพิจารณาจากปั ญหาอุ ปสรรคของการดาเนินงานที่ผ่ านๆ มาที่
พบว่าผู้บริหารและผู้ปฏิบตั ิงานต่างไม่ให้ความสาคัญกับงานด้านนี้อย่างจริงจัง แสดงว่าควร
กาหนดให้หน่ วยงานดังกล่าวมีสถานะในระดับที่ไม่เล็กจนเกินไปจนไม่ สามารถที่จะทางานได้
US-National Safety Council สารวจเมื่อหลายสิบปี มาแล้วพบว่าหน่ วยงานดังกล่าวในโรงงาน
ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ร้อยละ 44.8 จะรายงานขึน้ ตรงกับผูบ้ ริหารระดับสูง คือ ประธาน
กรรรมการ หรือรองประธานกรรมการผู้อานวยการ ร้อยล่ะ 30.4 รายงานกับผู้อานวยการฝ่ าย
บุคคล ร้อยล่ะทีเ่ หลือก็จะกระจายรายงานไปถึงผูจ้ ดั การโรงงาน (ร้อยละ 19.8) และผูจ้ ดั การฝ่ าย
607

ต่างๆ อาทิ ฝ่ ายการแพทย์ ฝ่ ายประกันภัย ฯลฯ สาหรับในประเทศไทยพบว่าหน่ วยงานอาชีวอ


นามัยและความปลอดภัย จะรายงานกับผูอ้ านวยการฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์เป็ นส่วนใหญ่ รองลง
ไปคือรายงานกับผู้จดั การโรงงานและรองประธานกรรมการที่ดูแลสายงานความปลอดภัยและ
สิง่ แวดล้อม

คณะกรรมการความปลอดภัยในการทางาน
ตามกฎกระทรวงก าหนดมาตรฐานในการบริห ารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6
และมาตรา 103 แห่ ง พระราชบัญ ญัติคุ้ม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 อันเป็ นกฎหมายที่ม ี
บทบัญญัตบิ างประการเกีย่ วกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึง่ มาตรา 29 ประกอบกับ
มาตรา 31 มาตรา 35 มาตรา 28 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติ
ให้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย ซึง่ ได้ให้ความหมายของบุคคลต่าง ๆ
ในสถานประกอบกิจการทีเ่ กีย่ วข้องตามกฎกระทรวงนี้
“ลูกจ้างระดับหัวหน้างาน” หมายความว่า ลูกจ้างซึง่ ทาหน้าทีค่ วบคุม ดูแล บังคับบัญชา
สังงานให้
่ ลกู จ้างทางานตามหน้าทีข่ องหน่วยงานนัน้ ๆ
“ลูกจ้างระดับปฏิบตั กิ าร” หมายความว่า ลูกจ้างซึง่ ทาหน้าทีเ่ ป็ นผูป้ ฏิบตั งิ าน
“คณะกรรมการ” หมายความว่ า คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ
“กรรมการ” หมายความว่า กรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางานของสถานประกอบกิจการ
“ผูแ้ ทนลูกจ้าง” หมายความว่า ผูแ้ ทนลูกจ้างซึง่ เป็ นลูกจ้างระดับปฏิบตั กิ ารที่ได้รบั การ
เลือกตัง้ จากฝ่ ายลูกจ้างให้เป็ นกรรมการเพื่อปฏิบตั ใิ ห้เป็ นไปตามกฎกระทรวงนี้
“หน่วยงานความปลอดภัย” หมายความว่า หน่วยงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานซึง่ นายจ้างให้ดูแลและปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ
องค์ประกอบของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน ของสถานประกอบกิจการ ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ เป็ นนายจ้างหรือผูแ้ ทนนายจ้างระดับบริหาร
2. กรรมการผูแ้ ทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา แพทย์อาชีวเวชศาสตร์หรือพยาบาลอาชี
วอนามัย ประจาสถานประกอบกิจการ ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากนายจ้าง
3. กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้าง โดยให้นายจ้างจัดให้มกี ารเลือกตัง้
4. กรรมการและเลขานุการ ซึง่ เป็ นเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพ
หรือ เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคขัน้ สูง หรือผูแ้ ทนนายจ้าง แล้วแต่กรณี
608

กฎหมายก าหนดให้อ งค์ป ระกอบของกรรมการความปลอดภั ย อาชีว อนามัย และ


สภาพแวดล้อม ในการทางานของสถานประกอบกิจการ มีความแตกต่างกันไปตามขนาดของ
สถานประกอบกิจการ ดังตารางที่ 45 ดังนี้
ตารางที่ 10.3 องค์ประกอบของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทางานของสถานประกอบกิจการ
องค์ประกอบของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
จานวนลูกจ้างใน จานวน สภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิ จการ
สถานประกอบ กรรมการ
กิ จการ (ขัน้ ตา่ )
ประธาน ผู้แทนนายจ้าง ผู้แทน กรรมการและ
ระดับบังคับ ลูกจ้าง เลขานุการ
บัญชา
50-99 คน 5 คน 1 1 2 1 (จป.เทคนิคชัน้ สูงหรือ
วิชาชีพ)
100-499 คน 7 คน 1 2 3 1 (จป.วิชาชีพ)
500 คนขึน้ ไป 11 คน 1 4 5 1 (จป.วิชาชีพ)
ทีม่ า: กระทรวงแรงงาน,กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน, 2557, หน้า 109.
ในกรณีท่สี ถานประกอบกิจการใดมีกรรมการเพิม่ ขึน้ มากกว่าจานวนขัน้ ต่ า ที่กฎหมาย
กาหนดให้ม ี กรรมการผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชาและผู้แทนลูกจ้างเพิม่ ขึน้ ในสัดส่วนที่
เท่ากัน สาหรับสถานประกอบกิจการทีไ่ ม่มเี จ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค
ขัน้ สูง หรือ ระดับวิชาชีพ ให้นายจ้างคัดเลือกผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชาหนึ่งคนเป็ น
กรรมการ และให้ประธาน กรรมการเลือกกรรมการซึง่ เป็ นผูแ้ ทนนายจ้างระดับบังคับบัญชาคน
หนึ่งเป็ นเลขานุการ
หน้ าที่ ของคณะกรรมการความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน
ตามกฎหมายกาหนดให้สถานประกอบกิจการทุกกิจการทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่หา้ สิบคนขึน้ ไป
ให้นายจ้างจัดให้มคี ณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
และคณะกรรมการต้องมีหน้าทีต่ ามกฎหมาย ดังต่อไปนี้
1. พิจ ารณานโยบายและแผนงานด้า นความปลอดภั ย ในการท างานรวมทัง้ ความ
ปลอดภัยนอกงาน เพื่อป้ องกันและลดการเกิดอุบตั เิ หตุการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือ
การเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ อันเนื่องจากการทางาน หรือความไม่ปลอดภัยในการทางานเสนอ
ต่อนายจ้าง
609

2. รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมาย
เกี่ยวกับความ ปลอดภัยในการทางาน และมาตรฐานความปลอดภัยในการทางานต่อนายจ้าง
เพื่อความปลอดภัยในการ ทางานของลูกจ้างผูร้ บั เหมาและบุคคลภายนอกที่เข้ามาปฏิบตั งิ าน
หรือเข้ามาใช้บริการในสถานประกอบกิจการ
3. ส่ งเสริม สนับสนุ น กิจกรรมด้านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบ
กิจการ
4. พิจารณาข้อบังคับและคู่มอื ความปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ มาตรฐานด้านความ
ปลอดภัย ในการทางานของสถานประกอบกิจการเสนอต่อนายจ้าง
5. สารวจการปฏิบตั ิด้านความปลอดภัยในการทางานและตรวจสอบสถิติการประสบ
อันตราย ทีเ่ กิดขึน้ ในสถานประกอบกิจการ อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครัง้
6. พิจ ารณาโครงการหรือ แผนการฝึ ก อบรมเกี่ย วกับ ความปลอดภัย ในการท างาน
รวมถึงโครงการหรือ แผนการอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้ าที่ค วามรับผิดชอบในด้านความ
ปลอดภัยของลูกจ้าง หัวหน้างาน ผูบ้ ริหาร นายจ้าง และบุคลากรทุกระดับเพื่อเสนอความเห็น
ต่อนายจ้าง
7. วางระบบการรายงานสภาพการทางานที่ไม่ปลอดภัยให้เป็ นหน้ าที่ของลูกจ้างทุก
ระดับ ต้องปฏิบตั ิ
8. ติดตามผลความคืบหน้าเรือ่ งทีเ่ สนอนายจ้าง
9. รายงานผลการปฏิบตั งิ านประจาปี รวมทัง้ ระบุปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะใน
การปฏิบตั ิ หน้าทีข่ องคณะกรรมการเมือ่ ปฏิบตั หิ น้าทีค่ รบหนึ่งปี เพื่อเสนอต่อนายจ้าง
10. ประเมินผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบ
กิจการ
11. ปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัยในการทางานอื่นตามทีน่ ายจ้างมอบหมาย
การจัด ด าเนิ นการประชุ ม คณะกรรมการความปลอดภัย อาชี ว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานของสถาน ประกอบกิ จการ
การจัดดาเนินการประชุมให้เป็ นตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกาหนด อย่างน้อยเดือน
ละหนึ่งครัง้ หรือเมื่อกรรมการไม่น้อย กว่าครึ่งหนึ่งร้องขอ โดยแจ้งกาหนดการประชุมและ
ระเบียบวาระการประชุมให้กรรมการทราบอย่างน้อย สามวันก่อนถึงวันประชุม
หลักเกณฑ์และวิ ธีการเลือกตัง้ กรรมการผู้แทนลูกจ้างในคณะกรรมการ ความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน
ในการด าเนิ น การจัด การประชุ ม คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อ มในการท างาน นายจ้า งต้อ งให้ม ีก ารด าเนิ น การตามกฎหมายว่ า ด้ว ยความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน จึงมีแนวปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์และ
610

วิธกี ารเลือกตัง้ กรรมการผู้แทนลูกจ้างในคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ


สภาพแวดล้อมในการทางาน มีขนั ้ ตอน ดังนี้
ขัน้ ตอนที่ 1 ให้นายจ้างแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้ ดังนี้
(โดยคณะกรรมการได้มกี ารรับสมัครที่มกี ารกาหนดระยะเวลาสิ้นสุดการรับสมัครแล้ว)
ต้องมีการดาเนินการตามขัน้ ตอนที่ 1 ดังนี้
1. แต่งตัง้ จากลูกจ้างระดับปฏิบตั กิ ารซึง่ ไม่ประสงค์จะสมัครรับเลือกตัง้ เป็ น
กรรมการผูแ้ ทน ลูกจ้าง
2. จานวนไม่น้อยกว่าสามคนแต่ไม่เกินห้าคน
3. แจ้งให้ลูกจ้างทุกคนที่รบั การแต่งตัง้ เป็ นคณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้
ทราบ และปิ ด ประกาศรายชื่อคณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้ โดยเปิ ดเผย ณ สถานทีท่ างาน
ของลูกจ้าง ทัง้ นี้ภายใน 3 วัน นับแต่วนั ทีแ่ ต่งตัง้
ขัน้ ตอนที่ 2 การประกาศรับสมัคร ให้คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้ ดาเนินการ
ประกาศ กาหนดวัน เวลา สถานที่รบั สมัคร และจานวนกรรมการผู้แทนลูกจ้างที่จะได้รบั การ
เลือกตัง้ ภายใน 5 วัน นับตัง้ แต่วนั ที่นายจ้างปิ ดประกาศ รายชื่อคณะกรรมการดาเนินการ
เลือกตัง้ ทัง้ นี้ต้องกาหนดวันและเวลายื่นใบสมัครได้ภายในระยะเวลาไม่น้อย กว่า 3 วัน แต่ไม่
เกิน 5 วัน นับจากวันทีป่ ระกาศรับสมัคร
ขัน้ ตอนที่ 3 เมื่อสิ้ นสุดระยะเวลารับสมัคร
กรณี ที่ 1 หากมีจานวนผูส้ มัครรับเลือกตัง้ เท่ากับจานวนกรรมการผูแ้ ทนลูกจ้าง
ทีจ่ ะได้รบั การเลือกตัง้ ให้นายจ้างแต่งตัง้ ผูส้ มัครรับเลือกตัง้ เป็ นกรรมการผูแ้ ทนลูกจ้าง
กรณี ที่ 2 หากไม่มผี ู้ใดสมัครรับเลือกตัง้ หรือมีจานวนผู้สมัครรับเลือกตัง้ น้อย
กว่าจานวน กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างทีจ่ ะได้รบั การเลือกตัง้ ให้คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้
ดาเนินการรับสมัครใหม่ หรือประกาศรับสมัครเพิม่ แล้วแต่กรณีโดยต้องกาหนดระยะเวลารับ
สมัครใหม่ไม่น้อยกว่า 2 วัน และเมื่อ สิ้นสุดระยะเวลารับสมัครใหม่แล้วไม่ได้มาซึ่งกรรมการ
ผูแ้ ทนลูกจ้างครบตามจานวน ให้นายจ้างแต่งตัง้ ผู้สมัคร รับเลือกตัง้ (ถ้ามี) และลูกจ้างระดับ
ปฏิบตั ิการอื่นซึ่งไม่ใช่คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้ และไม่ได้สมัครรับ เลือกตัง้ เป็ น
กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างจนครบจานวน
กรณี ที่ 3 หากมีจ านวนผู้ส มัค รรับเลือ กตัง้ มากกว่า จ านวนกรรมการผู้แ ทน
ลูกจ้าง ให้ดาเนินการตามขัน้ ตอนที่ 4 ต่อไป
ขัน้ ตอนที่ 4 การประกาศรายชื่อผูส้ มัครรับเลือกตัง้ เมื่อสิน้ สุดระยะเวลาการรับ
สมัคร และมีจานวนผูส้ มัครรับเลือกตัง้ มากกว่าจานวนกรรมการ ผูแ้ ทนลูกจ้าง ให้คณะกรรมการ
ดาเนินการเลือกตัง้ ประกาศรายชื่อและหมายเลขประจาตัวผู้สมัครรับเลือกตัง้ และประกาศ
611

กาหนดวัน เวลา และสถานทีเ่ ลือกตัง้ เพื่อให้ได้รายชื่อ กรรมการผู้แทนลูกจ้าง ภายใน 10 วัน


นับตัง้ แต่วนั ทีส่ น้ิ สุดระยะเวลาประกาศรับสมัคร
ขัน้ ตอนที่ 5 การจัดทาบัญชีรายชื่อผู้มสี ทิ ธิลงคะแนนเลือกตัง้ ลูกจ้างระดับ
ปฏิบตั กิ ารในสถานประกอบกิจการทุกคน รวมทัง้ ลูกจ้างซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ น คณะกรรมการ
ดาเนินการเลือกตัง้ มีสทิ ธิลงคะแนนเสียงเลือกตัง้
1.ให้น ายจ้างจัด ท าบัญ ชีร ายชื่อ ลูก จ้า งระดับ ปฏิบ ัติก ารทุ ก คนในสถาน
ประกอบกิจการ จานวน ๒ ชุด ส่งให้คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้ 1 ชุดก่อนวันเลือกตัง้ อีก
1 ชุดปิ ดประกาศไว้ให้ลกู จ้าง ตรวจดูรายชื่อก่อนวันเลือกตัง้ ไม่น้อยกว่า 3 วัน
2. ให้ลูก จ้างตรวจดูรายชื่อ ในบัญ ชีรายชื่อ ที่นายจ้างปิ ดประกาศ กรณีท่ี
พบว่าไม่มรี ายชื่อ ในบัญชีหรือบัญชีรายชื่อไม่ถูกต้อง ลูกจ้างมีสทิ ธิคดั ค้าน และขอให้นายจ้าง
แก้ไขให้ถูกต้อง
3. ในกรณีทพ่ี บว่าไม่มรี ายชื่อลูกจ้างระดับปฏิบตั กิ ารผูใ้ ดในบัญชีหรือบัญชี
รายชื่อดังกล่าว ไม่ถูกต้อง ให้นายจ้างดาเนินการแก้ไขบัญชีร ายชื่อให้ถูกต้องโดยเร็วและปิ ด
ประกาศพร้อมส่งบัญชีรายชื่อใหม่ ให้คณะกรรมการดาเนินการก่อนวันเลือกตัง้
ขัน้ ตอนที่ 6 การลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ การเลือกตัง้ ผูแ้ ทนลูกจ้าง ให้กระทา
โดยวิธลี งคะแนนลับ ให้คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้ ปฏิบตั ดิ งั นี้
1. จัดให้มกี ารลงคะแนนเสียงในบัตรเลือกตัง้ และนาไปใส่หบี บัตรเลือกตัง้
ตามวัน เวลา และสถานทีท่ ก่ี าหนด
2. เมือ่ สิน้ สุดระยะเวลาการเลือกตัง้ ให้นับคะแนนเสียงทัง้ หมดโดยเปิ ดเผย
ทันที
3. ประกาศผลการนับคะแนนเสียงและจัดทาบัญชีรายชื่อเรียงลาดับผูไ้ ด้รบั
คะแนนเสียง มากทีส่ ุดตามลาดับจนถึงผูไ้ ด้รบั คะแนนเสียงน้อยทีส่ ุด ในกรณีทม่ี ผี ไู้ ด้รบั คะแนน
เสียงเลือกตัง้ เท่ากันในลาดับใด ให้จบั สลากเพื่อเรียงลาดับระหว่างผูไ้ ด้คะแนนเสียงเท่ากัน โดย
เปิ ดเผย
4. ให้ผู้ส มัค รรับ เลือ กตัง้ ซึ่ง ได้ค ะแนนเสีย งมากที่สุ ด ตามล าดับ จนครบ
จานวนกรรมการ ผู้แทนลูกจ้างที่ได้ประกาศไว้เป็ นกรรมการผู้แทนลูกจ้าง ที่เหลือให้ขน้ึ บัญชี
รายชื่อสารองไว้
5. แจ้งผลการเลือกตัง้ ให้นายจ้างทราบภายใน 3 วัน นับแต่วนั สิ้นสุดการ
เลือกตัง้
ขัน้ ตอนที่ 7 การปฏิบตั ิหน้ าที่ของผู้แทนลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้างซึ่งได้รบั การ
เลือกตัง้ ตามขัน้ ตอนที่ 6 หรือได้รบั การแต่ งตัง้ ตามขัน้ ตอนที่ 3 มีหน้ าที่และสิทธิในฐานะ
612

กรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานนับแต่ วันเลือกตัง้ หรือ


วันแต่งตัง้ แล้วแต่กรณี
ขัน้ ตอนที่ 8 กรณีกรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างพ้นตาแหน่งก่อนครบวาระ
1. ให้ลูกจ้างซึ่งได้รบั คะแนนเสียงลาดับถัดไป ตามบัญชีรายชื่อลูกจ้างที่
ได้รบั การเลือกตัง้ เป็ นกรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างแทนตาแหน่ งทีว่ ่าง
2. กรณีไม่มลี ูกจ้างในบัญชีรายชื่อลูกจ้างทีไ่ ด้รบั การเลือกตัง้ เหลืออยู่ ให้
นายจ้างจัดให้ม ี การเลือกตัง้ กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้าง ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ทีต่ าแหน่งว่าง
3. ให้กรรมการผู้แทนลูกจ้างซึ่งแทนตาแหน่ งที่ว่างดารงตาแหน่ งเท่ากับ
วาระทีเ่ หลืออยู่ ของกรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างทีต่ นแทน
ทัง้ นี้ให้นายจ้างอานวยความสะดวก จัดหาอุปกรณ์สาหรับลงคะแนนเสียงเลือกตัง้
และออกค่าใช้จ่ายในการดาเนินการเลือกตัง้ แนวปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารเลือกตัง้
กรรมการผู้แทนลูกจ้างที่กาหนดโดยกฎหมายให้มกี ารการจัดตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ สามารถสรุปได้ดงั
ตารางที่ 10.4

ตารางที่ 10.4 สรุปวิธ ีก ารเลือ กตัง้ กรรมการผู้แทนลูก จ้างในการจัดตัง้ คณะกรรมการความ


ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ
หน้ าที่ของนายจ้าง หน้ าที่คณะกรรมการดาเนิ นการเลือกตัง้
ขัน้ ตอนที่ 1
1. นายจ้างแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้
จานวน 3-5 คน
2. แจ้งให้ผไู้ ด้รบั การแต่งตัง้ ทุกคนทราบ
3. ปิ ดประกาศรายชื่ อ คณะกรรมการด าเนิ น การ
เลือกตัง้ โดยเปิ ดเผย ณ สถานทีท่ าการลูกจ้าง (ภายใน 3
วันนับตัง้ แต่วนั แต่งตัง้ )

ขัน้ ตอนที่ 2
1. ประกาศกาหนดวัน เวลา สถานที่รบั สมัคร และ
จ านวนกรรมการผู้แ ทนลู ก จ้า งที่จ ะได้ร ับ การเลือ กตัง้
ภายใน 5 วัน นับตัง้ แต่วนั ที่นายจ้างปิ ดประกาศรายชื่อ
คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้
2. กาหนดวัน และเวลายื่นใบสมัครได้ภายในระยะเวลา
ไม่น้อยกว่า 3 วัน แต่ไม่เกิน 5 วัน นับจากวันที่ ประกาศ
รับสมัคร
613

ตารางที่ 10.4 สรุปวิธกี ารเลือกตัง้ กรรมการผู้แทนลูกจ้างในการจัดตัง้ คณะกรรมการความ


ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ (ต่อ)
หน้ าที่ของนายจ้าง หน้ าที่คณะกรรมการดาเนิ นการเลือกตัง้
ขัน้ ตอนที่ 3
1. นายจ้างแต่งตัง้ ผู้สมัครรับเลือกตัง้ เป็ นกรรมการ
ผูแ้ ทนลูกจ้าง
2. ประกาศรับสมัครเพิม่ แล้วแต่กรณีโดยต้องกาหนด
ระยะเวลารับสมัครใหม่ไม่น้อยกว่า 2 วัน
3. หากระยะเวลาสิน้ สุดลงไม่มผี มู้ าสมัคร ให้นายเลือก
มาจนครบตามจานวน
ขัน้ ตอนที่ 4
1. ประกาศรายชื่อและหมายเลขประจาตัวผูส้ มัคร
2. ประกาศกาหนดวัน เวลา และสถานที่เลือกตัง้ ทัง้ นี้
เพื่อให้ได้ร ายชื่อกรรมการผู้แทนลุกจ้างภายใน 10 วัน
นับตัง้ แต่วนั ทีส่ น้ิ สุดระยะเวลาประกาศรับสมัคร
ขัน้ ตอนที่ 5 จัดทาบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ ลงคะแนน
1. จัด ท าบัญ ชีร ายชื่อ ลู ก จ้า งระดับ ปฏิบ ัติก ารทุ ก คน
รวมทัง้ คณะกรรมการดาเนินการเลือกตัง้ จานวน 2 ชุดส่ง
ให้ ค ณะกรรมการด าเนิ น การเลือ กตัง้ 1 ชุ ด ก่ อ นวัน
เลือ กตัง้ อีก 1 ชุ ด ปิ ดประกาศไว้ใ ห้ลู ก ลู ก จ้า งตรวจดู
รายชื่อทีน่ ายจ้างปิ ดประกาศ
ลู ก จ้ า งระดับ ปฏิ บ ัติ ก ารทุ ก คนมีสิท ธิล งคะแนนเสีย ง
เลือกตัง้ โดยตรวจดูบญ ั ชีรายชื่อผู้มสี ทิ ธิลงคะแนนเสียง
เลือกตัง้ หากไม่พบรายชื่อ หรือบัญชีรายชื่อไม่ถูกต้อง มี
สิทธิคดั ค้านและขอให้นายจ้างแก้ไข
ขัน้ ตอนที่ 6 การลงคะแนนเสียงเลือกตัง้
ให้กระทาโดยวิ ธีลงคะแนนลับ
1. จัดให้มกี ารลงคะแนนเสียงในบัตรเลือกตัง้ และนาไปใส่
หีบเลือกตัง้ ตามวันเวลา สถานที่
2. เมื่อ สิ้นสุดระยะเวลาการเลือกตัง้ ให้นับคะแนนเสีย ง
ทัง้ หมดโดยเปิ ดเผยทันที
614

ตารางที่ 10.4 สรุปวิธกี ารเลือกตัง้ กรรมการผู้แทนลูกจ้างในการจัดตัง้ คณะกรรมการความ


ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ (ต่อ)
หน้ าที่ของนายจ้าง หน้ าที่คณะกรรมการดาเนิ นการเลือกตัง้
ขัน้ ตอนที่ 6 การลงคะแนนเสียงเลือกตัง้
ให้กระทาโดยวิ ธีลงคะแนนลับ(ต่อ)
3. ประกาศผลการนับคะแนนเสียงและจัดทาบัญชีรายชื่อ
เรียงลาดับผูไ้ ด้รบั คะแนนเสียงมากที่สุดตามลาดับจนถึงผู้
ได้รบั คะแนนเสียงน้อยทีส่ ดุ
4. ให้ผู้สมัค รรับ เลือกตัง้ ซึ่ง ได้ค ะแนนเสียงมากที่สุด
ตามล าดับจนครบจานวนเป็ น กรรมการผู้แทนลู กจ้างที่
เหลือให้ขน้ึ บัญชีรายชื่อสารองไว้
5. แจ้งผลการเลือกตัง้ ให้นายจ้างทราบภายใน 3 วัน
ขัน้ ตอนที่ 7 การปฏิ บตั ิ หน้ าที่ของผู้แทนลูกจ้าง
ผู้แ ทนลูก จ้ า งซึ่ ง ได้ ร บั การเลื อ กตัง้ ตามขัน้ ตอนที่ 6
หรือได้รบั การแต่งตัง้ ตามขัน้ ตอนที่ 3 มีหน้าที่และสิทธิใน
ฐานะกรรมการความปลอดภัย อาชี วีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการท างานนับ แต่ วนั เลือกตัง้ หรือวัน
แต่งตัง้ แล้วแต่กรณี
ขึน้ ตอนที่ 8 กรณี กรรมการผู้แทนลูกจ้างพ้นตาแหน่ ง
ก่อนครบวาระ
1.ให้ลูกจ้างซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงลาดับถัดไป ตามบัญชี
รายชื่อ ลุ กจ้า งที่ไ ด้ร บั การเลือ กตัง้ เป็ น กรรมการผู้แ ทน
ลูกจ้างแทนตาแหน่งทีว่ า่ ง
2. กรณีท่ไี ม่มลี ูกจ้างในบัญชีรายชื่อลูกจ้างที่ได้รบั การ
เลือกตัง้ เหลืออยู่ให้นายจ้างจัดให้มกี ารเลือกตัง้ กรรมการ
ผูแ้ ทนลูกจ้างภายในสามสิบวันนับแต่วนั ทีต่ าแหน่งว่าง
3. ให้กรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างซึ่งแทนตาแหน่ งที่ว่างดารง
ตาแหน่ งเท่ากับวาระที่เหลือของกรรมการผูแ้ ทนลูกจ้างที่
เป็ นตัวแทนลูกจ้าง

การสื่อสารเพื่อความปลอดภัยในการทางาน
การสื่อสารมีบทบาท หน้าทีท่ ส่ี าคัญต่อมนุ ษย์ในการดารงชีวติ ไม่ว่าจะประกอบอาชีพใด ๆ
ไม่ว่าภาครัฐ และเอกชนก็ตาม ต้องอาศัยการสื่อสารทางการบริหารเพื่อสร้างความเข้าใจต่อกัน
ในการสื่อ สาร ในการบริห ารจัดการความปลอดภัย อาชีว อนามัยและสภาพแวดล้อ มในการ
ทางาน หากจะให้ประสบความสาเร็จไปตามทีม่ ุ่งหวังไว้ทต่ี ้องการก็ย่อมต้องอาศัยการสื่อสารทีม่ ี
กระบวนการทีเ่ ป็ นขัน้ ตอนในการสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจให้พนักงานทุกได้ปฏิบตั ติ ามอย่าง
เคร่งครัด และเป็ นการแจ้งข่าวสารข้อมูล โน้มน้าว จูงใจให้ทุกคนได้ปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด
615

ความหมายของการสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
การสื่อสารเนื่องจากมีบทบาทสาคัญและจาเป็ นต่อมนุ ษย์ การสื่อสารจึงเป็ นความสาคัญ
และประโยชน์มากต่อการบริหารจัดการในองค์การ ได้มนี ักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมาย
ของ การสื่อสาร (Communication) ไว้ต่าง ๆ ดังนี้
(สุรสิทธิ ์ วิทยารัฐ, 2549, หน้า 9) ได้ให้ความหมายของ การสื่อสาร ไว้ว่า กระบวนการ
ส่งข่าวสารข้อมูลจากผู้ส่งข่าวสารไปยังผู้รบั ข่าวสาร มีวตั ถุประสงค์เพื่อชักจูงให้ผู้รบั ข่าวสารมี
ปฏิกริ ยิ าตอบสนองกลับมา โดยคาดหวังให้เป็ นไปตามทีผ่ สู้ ่งต้องการ
(Denis McQuail, 2005, p.76) ได้ให้ความหมายของการสื่อสาร ไว้ว่า การให้และการ
รับความหมายการถ่ายทอดและการรับสาร ซึ่งรวมถึงแนวคิดของการโต้ตอบ แบ่งปั น และมี
ปฏิสมั พันธ์กนั ด้วย
(Wilbur Schramm, 1971, p.39) ได้ให้ความหมายของการสื่อสาร ไว้ว่า กระบวนการ
แลกเปลีย่ นข่าวสาร เกิดขึน้ โดยการถ่ายทอดสารจากบุคคลฝ่ ายหนึ่งซึง่ ทาหน้าทีส่ ่งสารผ่านสื่อ
หรือช่องทางต่าง ๆ ไปยังผูร้ บั สาร โดยมีวตั ถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง
จากความหมายของการสื่อสารข้างต้น สรุปว่า การสื่อสาร หมายถึง กระบวนการในการ
ถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ รูส้ กึ ไปยังบุคคลอีกฝ่ ายหนึ่งเพื่อให้ได้รบั การตอบสนอง
โดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ ได้แก่ ช่องทาง สื่อต่าง ๆ โดยมีเป้ าหมายทีต่ อ้ งการ
(ปราโมช เชี่ย วชาญ, 2553, หน้ า 6) ได้ใ ห้ ค วามหมายของ การสื่อ สารเพื่อ ความ
ปลอดภัย ไว้ว่า กระบวนการส่งหรือถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับความปลอดภัยจากผูส้ ่งสาร
ไปยังผู้รบั สารโดยผ่านช่องทางหรือสื่อต่าง ๆ เพื่อให้เกิดสภาวะที่เป็ นอิสระหรือปราศจากภัย
คุกคาม ไม่มอี นั ตราย ไม่เกิดการบาดเจ็บและการสูญเสียรวมถึงไม่มคี วามเสีย่ งใด ๆ เกิดขึน้

วัตถุประสงค์ของการสื่อสารเพื่อความปลอดภัย
1. เพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสาร เป็ นการรับและส่ งข่าวสารด้านต่างๆ การนาเสนอเรื่ องราว
ความรู ้ สึกนึ กคิ ด ความรู ้ หรื อสิ่ งอื่ นใด ที่ ต้องการให้ผูร้ ั บสารรู ้ และเข้าใจข้อมู ลนั้นๆ โดยมุ่งให้
ความรู ้และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง
2. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงความคิดเห็นต่อกันในทางที่สอดคล้องกัน
สร้างสรรค์ในสิง่ ใหม่ทจ่ี ะสนับสนุ นให้การสื่อสารเพื่อความปลอดภัยเกิดประสิทธิภาพยิง่ ขึน้
3. เพื่อให้ความรูท้ างด้านความปลอดภัย ให้เห็นถึงผลการลดอุบตั เิ หตุอนั อาจเกิดจาก
การทางาน ด้วยการสื่อสารเป็ นเอกสาร แผ่นพับ การประชาสัมพันธ์ดว้ ยสื่อต่าง ๆ
4. เพื่อโน้มน้าวให้เกิดการปฏิบตั อิ ย่างปลอดภัย การนาเสนอเรื่องราวหรือสิง่ อื่นใดเพื่อ
จูงใจให้เกิดความร่วมมือ สร้างกาลังใจ เพื่อให้ผรู้ บั สารเกิดความคิดคล้อยตาม หรือปฏิบตั ติ ามที่
ผูส้ ่งสารต้องการ และนาไปสู่การปรับปรุงแก้ไข
616

5. เพื่อเตือนหรือห้ามการกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย เป็ นการแจ้งให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้ปฏิบตั ติ าม


กฎระเบียบข้อบังคับในการทางานอย่างเคร่งครัด

ความสาคัญของการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยในการทางาน
1. การสื่อสารเพื่อความปลอดภัยในการทางานเป็ นองค์ประกอบในการดาเนินงานด้าน
ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย กระบวนการสื่อสารเป็ นองค์ประกอบสาคัญในการบูรณาการ
ความรูจ้ ากศาสตร์สาขาต่าง ๆ ซึ่งต้องมีการวางแผน กาหนดมาตรการป้ องกันกระตุ้น ด้วยการ
สื่อ สารให้เ กิด ประสิท ธิภ าพในการสร้า งความปลอดภัย ในการท างาน รวมทัง้ การเฝ้ าระวัง
ตรวจสอบ ประเมินติดตามผลการปฏิบตั งิ านอย่างต่อเนื่อง
2. การสื่อสารเพื่อความปลอดภัยเป็ นข้อกาหนดตามกฎหมายและอนุ กรมมาตรฐาน
ต่าง ๆ ให้เกิดความเป็ นมาตรฐานสากลให้ทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องยึดถือปฏิบตั ิ
3. การสื่อสารเพื่อความปลอดภัย เป็ นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทีจ่ ะ
เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลภายในและภายนอกองค์การ

อุปสรรคในการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยในการทางานมีดงั นี้
1. อุปสรรคที่เกิดจากผู้ส่งสาร เช่น ขาดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการสื่อสารไม่
น่าเชื่อถือขาดความมันใจในตนเอง

2. อุปสรรคที่เกิดจากตัวสาร เช่น สารไม่ชดั เจน ไม่สมบูรณ์ ไม่น่าสนใจ ข้อมูลมาก
เกินไป หรือขาดการเรียบเรียง
3. อุปสรรคทีเ่ กิดจากสื่อหรือช่องทางการสื่อสาร คือ การเลือกสื่อไม่เหมาะสม สื่อสารผิด
ช่องทาง ได้แก่ วัยรุน่ หากใช้ช่องทางทีไ่ ม่เหมาะสมก็จะทาให้ไม่รบั ข้อมูลข่าวสารนัน้ ๆ
4. อุปสรรคเกิดจากผู้รบั สาร เช่น ขาดความสามารถในการรับสาร ทัศนคติไ ม่ดไี ม่สนใจ
ทีจ่ ะรับสาร คือปฏิเสธข้อมูลข่าวสาร หรือเพิกเฉยไม่สนใจ
5. อุปสรรคทีเ่ กิดจากสิง่ แวดล้อมของการสื่อสาร ขาดความเหมาะสมในแง่เวลา สถานที่
บุคคล เช่น หัวหน้าสื่อสารกับลูกน้อง ในสถานทีม่ เี สียงดังมาก ทาให้ผูร้ บั สารไม่ได้ยนิ หรือไม่ม ี
สมาธิทจ่ี ะฟั งหัวหน้างาน
นักสังเกตความปลอดภัย
ในการปฏิบตั งิ านในโรงงานอุตสาหกรรมเกี่ยวกับปฏิบตั งิ านไม่ว่าทาหน้าที่ในการดูแล
ควบคุมเครือ่ งจักร อุปกรณ์ เครือ่ งมือในการทางานใด ๆ ก็ตาม หากจะทาให้เกิดความปลอดภัย
ในการทางานมากที่สุด หรือลดอุบตั เิ หตุ ความเสี่ยงอันอาจจะก่อให้เกิดอันตรายที่เกิดขึน้ จาก
การทางาน แม้กระทังผู ่ บ้ งั คับบัญชา หรือหัวหน้างานต้องเป็ นนักสังเกตความปลอดภัย โดยต้อง
สังเกตทุก ครัง้ ที่เ ดินออกไปตรวจงาน โดยไม่แบ่งแยกความปลอดภัยออกจากการตรวจงาน
โดยทัวไป่ ซึง่ การเกิดอุบตั เิ หตุส่วนใหญ่มาจากการกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย ดังนัน้ นักสังเกตความ
617

ปลอดภัยจึงต้องสังเกตดูพฤติกรรมความปลอดภัยและพฤติกรรมความเสีย่ ง ซึง่ มีอยู่ 4 ขัน้ ตอน


ได้แก่
1. ตัดสิ นใจ การตัดสินใจที่ดดี ้วยการคิดไตร่ตรอง และอาศัยหลักการเหตุผล และ
ประสบการณ์ จะทาให้ไม่เกิดอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยอย่างแน่ นอน จึงทาหน้าทีอ่ อกเดิน
ตรวจหน้างาน
2. หยุด เมือ่ พบใครก็ตามทีเ่ ข้ามาในพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านทีร่ บั ผิดชอบ ให้หยุดใกล้ ๆ คนนัน้
และถาม
3. สังเกต ประมาณ 10 – 15 วินาที แล้วตัดสินใจว่ามีพฤติกรรมเสีย่ งหรือพฤติกรรม
ปลอดภัย
4. กระทา โดยการบอกให้เขาหยุด แล้วพูดกับคนนัน้ ให้แก้ไขพฤติกรรมเสีย่ ง และบอก
สาเหตุทแ่ี ท้จริง ถ้าพบว่ามีพฤติกรรมปลอดภัย ให้ชมเชยและแนะวิธกี ารปลอดภัยเพิม่ ให้ได้เขา
มีความรูใ้ นการปฏิบตั งิ านทีป่ ลอดภัย และให้กาลังใจต่อไป

สรุป
องค์ก รด้า นความปลอดภัย และอาชีว อนามัย เป็ น องค์ ก รที่ท าหน้ า ที่ใ นการก าหนด
นโยบาย กากับ ควบคุม ดูแลให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และให้สถานประกอบการกิจการ
ได้มกี ารปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด ซึง่ หน่ วยงานของภาครัฐ ได้แก่ กระทรวงแรงงาน กระทรวง
สาธารณะสุข และกระทรงอุต สาหกรรม เป็ นต้น บทบาทหน้ าที่ของผู้ท่เี กี่ยวข้องกับงานด้าน
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ทาหน้าทีเ่ ป็ นหน่ วยงานหลัก (Line Organization) ทีม่ อี านาจ
ในการก าหนดนโยบาย ก ากับ ควบคุ มดูแ ลให้เ ป็ นไปตามวิส ยั ทัศ น์ ขององค์ก ารด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัย เริม่ ตัง้ แต่ผบู้ ริหารระดับสูง ผูจ้ ดั การ เป็ นต้น บทบาทของผูบ้ ริหารที่
เกีย่ วข้องกับงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย โดยบทบาทของผูบ้ ริหารนัน้ จะต้องอาศัย
รูปแบบของการเป็ นผูน้ าทีม่ คี วามเป็ นภาวะผูน้ าทีจ่ ะนาพางานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนา
มัย ไปสู่ เ ป้ า หมายที่ช ัด เจนเพื่อ ลดอุ บ ัติเ หตุ บาดเจ็บ เจ็บ ป่ วยอัน เนื่ อ งจากการท างานให้
ผู้ปฏิบตั ิงานมีค วามปลอดภัย และมีสุ ขภาพอนามัยที่ส มบูรณ์ ทงั ้ ทางร่างกายและจิต ใจ และ
บทบาทของทีเ่ กีย่ วข้องกับงานด้านการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบ
กิจการ ได้แก่ บทบาทของผูบ้ ริหารระดับสูง บทบาทของผูบ้ ริหารระดับกลาง และบทบาทนักอา
ชีวอนามัยและความปลอดภัย ซึง่ บทบาทดังกล่าวได้แก่ บทบาทด้านบุคคล ด้านข้อมูลข่าวสาร
และด้า นตัด สิน ใจ เป็ น ต้น ส่ ว นบทบาทของหัว หน้ า งานมีค วามส าคัญ ที่ม ีค วามใกล้ชิด กับ
ผู้ใ ต้บงั คับบัญ ชาที่จะสร้างความปลอดภัยให้เ กิดขึ้นกับพนักงานหรือ ลูกน้ องก็อาศัยบทบาท
หน้ าที่ของหัวหน้ างานที่เป็ นแบบอย่างให้ผู้ใต้บงั คับบัญชาได้ปฏิบตั ิตามอย่างเคร่งครัด และ
บทบาทของลูกน้องก็มหี น้าที่ในการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด รวมทัง้ หน้าที่ของนัก
618

อาชีวอนามัยที่ต้องทาหน้ าที่ในการบ่งชี้และประเมิน การพัฒนาวิธกี ารป้ องกันอุบตั ิเหตุ และ


ควบคุมความเสียหาย
หน่ วยงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยต้องมีบทบาทตามหน้าทีข่ องหน่ วยงาน
กาหนด และมีการกาหนดถึงระดับสถานะและขนาดของหน่วยงานความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย หน่ วยงานที่สาคัญที่ทาหน้ าที่ในการให้เกิดความปลอดภัยในการทางานคือ
การจัดตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัยในการทางาน ซึ่งเป็ นไปตามกฎกระทรวงที่กาหนดให้
นายจ้างของสถานประกอบกิจการต้องมีการจัดตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัยในการทางาน
โดยมีการเลือกตัง้ จากตัวแทนลูกจ้างซึง่ ต้องดาเนินตามขัน้ ตอน 8 ขัน้ ตอน
การเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานให้เกิดขึน้ อีกเครื่องมือหนึ่ง คือ การสื่อสาร
เพื่อความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร กฎระเบียบ
ข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบตั งิ านเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานโดยมีการสื่อสารผ่าน
ช่อ งทางการสื่อ สารที่ห ลากหลายแตกต่ างกัน เพื่อ จุดมุ่งหมายให้เ กิดความปลอดภัยในการ
ทางาน
619

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ ที่สดุ


1. บทบาท (Role) ของผูเ้ กีย่ วข้องในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้แก่ บุคคลใดบ้าง
และแต่ละคนทาตามบทบาทอะไรบ้าง
2. หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของผูบ้ ริหารระดับสูงทีเ่ กีย่ วข้องกับงานอาชีวอนามัย และ
ความปลอดภัยมีหน้าทีส่ าคัญอย่างไรบ้าง
3. การจัดตัง้ องค์กรอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีเ่ ป็ นรูปแบบตามแนวดิง่ มีลกั ษณะอย่างไร
วาดภาพประกอบด้วย
4. การจัดตัง้ องค์กรอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีเ่ ป็ นรูปแบบตามแนวนอนมีลกั ษณะ
อย่างไร วาดภาพประกอบด้วย
5. การจัดตัง้ องค์ก รอาชีว อนามัยและความปลอดภัย ที่เ ป็ นรูปแบบตามแบบผสม มีล กั ษณะ
อย่างไร วาดภาพประกอบด้วย
6. ให้บอกถึงวัตถุประสงค์ในการจัดตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัย
7. ให้บอกถึงความสาคัญของตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัย
8. หน้าทีข่ องคณะกรรมการความปลอดภัยมีหน้าทีส่ าคัญอย่างไรบ้าง
9. ประเภทของคณะกรรมการความปลอดภัย
10. รูปแบบของผูน้ าด้านความปลอดภัยมีรปู แบบอย่างไร
620

เอกสารอ้างอิง
กระทรวงแรงงาน.(2558). สถานการณ์ การดาเนิ นงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยใน
ประเทศไทยปี 2558. ส านั ก ความปลอดภัย แรงงาน กรมสวัส ดิก ารและคุ้ม ครอง
แรงงาน.
กระทรวงแรงงาน.(2549). กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2549.
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒวิ ชิ าชีพ Occupational Standard and Professional Qualifications,
มาตรฐานอาชีพสาขาวิชาชีพความปลอดภัยในการทางาน. สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ
(องค์การมหาชน).
วีระ ซื่อสุวรรณ.(2550). Safety 52 weeks. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ่ นุ ). กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์ ส.ส.ท.
สราวุธ สุธรรมาสา.(2557). บทบาทผูบ้ ริหารกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.,จุลสาร
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพออนไลน์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช.,ฉบับที ่ 1 ปี 2557.
สุรสิทธิ ์ วิทยารัฐ.(2549). การสื่อสารเพื่อการพัฒนา :พัฒนาการแนวคิด สภาพการณ์ใน
สังคมไทย.กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา.
เอกสารการสอนชุดวิ ชา การบริ หารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.(ฉบับปรับปรุง
ครัง้ ที่ 1).หน่วยที่ 8-15.สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช:
ห้างหุน้ ส่วนจากัด อรุณการพิมพ์.
Denis McQuail.(2005). McQuail's mass communication theory. 5th ed., London ;
Thousand Oaks,: Publications.
Wilbur Schramm.(1971). The Process and Effects of mass communication. 2ed,
University of Illinois Press.
621

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 11
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
หัวข้อเนื้ อหา
1. ความรูท้ วไปเกี
ั่ ย่ วกับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2. ข้อกาหนดทัวไปว่
่ าด้วยหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขในการรับรองระบบการบริหารจัดการ
อนุกรมมาตรฐาน มอก.18000
3. ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน มอก.18001
4. ขัน้ ตอนการจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก.18001
5. การประยุกต์ใช้มาตรฐานมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
6. ประโยชน์ ท่ีไ ด้ร ับ จากมาตรฐานมาตรฐานระบบการจัด การอาชีว อน ามัย
และความปลอดภัย
7. ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตาม ILO-OSH 2001
10. สรุป
11. แบบฝึกหัด
12. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1. อธิบายเกี่ยวกับระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่เป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์และเงือ่ นไขในการรับรองระบบการบริหารจัดการอนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 ได้
2. อธิบ ายถึ ง ขอบเขต และการน าไปใช้ รู ป แบบ และข้ อ ก าหนดทัว่ ไปเกี่ย วกับ
หลักเกณฑ์และเงือ่ นไขในการรับรองของการบริหารจัดการมาตรฐาน มอก.18001ได้
3. บอกถึงระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตาม ILO-OSH 2001 และ
ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากมาตรฐานมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ
622

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารการคาสอนรายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดทิ ศั น์
6. สื่อสิง่ พิมพ์ต่าง ๆ

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
623

บทที่ 11
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
สภาพสังคมไทยในปั จจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่สงั คมอุตสาหกรรมมากขึน้ โดยการ
เข้าสู่นวัตกรรม เทคโนโลยี มีการใช้แรงงานที่ต้องเสีย่ งต่ออันตรายมากตามความก้าวหน้าและ
ทันสมัยของเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ท่นี ามาใช้ในกระบวนการผลิ ต ความปลอดภัยและ
สุ ข ภาพของผู้ ใ ช้ แ รงงานในการท างาน จึง เป็ น เรื่อ งส าคัญ อย่ า งยิ่ง ที่ น ายจ้า ง หรือ สถาน
ประกอบการต่าง ๆ ต้องตระหนักและใส่ใจตลอดเวลาเพราะผลจากสภาพแวดล้อมในการทางาน
หรือผลของอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ นอกจากจะก่อให้เกิดความสูญเสียแก่ตนเองแล้ว ยังส่งผลกระทบ
ไปยังครอบครัว ญาติพ่นี ้อง รวมทัง้ สังคม และประเทศชาติ อกี ด้วย ซึ่งเป็ นความสูญเสียที่เกิน
กว่าที่คาดคิดหรือเรียกกลับคืนมาได้ บางครัง้ อุบตั เิ หตุยงั ทิ้งร่องรอยของความขมขื่นเอาไว้อกี
ตลอดชีวติ เช่น ทุพพลภาพ ความเจ็บปวดทรมาน บางธุรกิจอุตสาหกรรม อุบตั ิเหตุท่เี กิดขึ้ น
อาจหมายถึงความล้มเหลว และอาจจะต้องปิ ดกิจการขององค์กร อีกทัง้ ยังมีผลต่อสภาพแวด
ล้อม และสังคมโดยรอบอีกด้วย เช่น ไฟไหม้โรงงาน และอาคาร โรงงานระเบิด พนักงานและ
ชุมชนโดยรอบได้รบั สารพิษอันตราย ซึ่งอาจถึงแก่ชวี ติ ได้กระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวง
แรงงานและสวัส ดิก ารสัง คมได้ต ระหนั ก ถึง ปั ญ หาเหล่ า นี้ จึง ได้ ม ีก ารประกาศกระทรวง
อุ ต สาหกรรม ฉบับ ที่ ๔๓๔๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔) ออกตามความในพระราชบัญ ญัติม าตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ.๒๕๑๑ เรื่องยกเลิกและกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความปลอดภัย : ข้อ ก าหนด ให้สานักงานมาตรฐาน
ผลิต ภัณฑ์อุ ต สาหกรรม ก าหนดอนุ ก รมมาตรฐานระบบการจัด การอาชีว อนามัยและความ
ปลอดภัย (มอก.18000) ขึ้นเพื่อ เป็ นแนวทางให้ห น่ ว ยงานต่ างๆนาไปปฏิบตั ิ ทัง้ นี้มไิ ด้ม ี
จุ ด มุ่ ง หมายเพีย งการแก้ ไ ขปั ญ หาอาชีว อนามัย และความปลอดภัย ในการท างาน แต่ ย ัง
ครอบคลุ ม ถึง แนวทางในการป้ อ งกัน มิใ ห้เ กิด ปั ญ หาด้า นสุ ข ภาพ และอุ บ ัติเ หตุ ต่ า งๆ ต่ อ
ผูป้ ฏิบตั งิ าน หน่วยงานภายนอกหรือชุมชน ใกล้เคียง และสังคม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตาม
อนุ กรมมาตรฐาน มอก.18000 นอกจากจะกาหนดขึ้นเพื่อเป็ นแนวทางในการปรับปรุงการ
ดาเนินงานอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในองค์กรแล้ว ยังใช้เป็ นข้อก าหนดในการตรวจ
ประเมิน เพื่อให้การรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขององค์ก ารอีกด้วย
624

วัตถุประสงค์ของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ในการจัดระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเพื่อให้เป็ นมาตรฐานและช่วย
ให้ ส ถานประกอบกิ จ การต่ า ง ๆ ได้ ม ีร ะบบที่ท าให้ เ กิ ด ความปลอดภัย จึง มีก ารก าหนด
วัตถุประสงค์ให้เกิดความสาคัญของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีส่ าคัญคือ การป้ องกัน
การเกิดอุบตั เิ หตุ การบาดเจ็บ และการเจ็บป่ วยด้วยโรคอันเกิดจากการทางาน ดังนัน้ ระบบของ
การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจึงมีวตั ถุประสงค์สาคัญ ๆ ดังนี้
1. เพื่อควบคุม ความเสี่ ยงต่ อผู้ปฏิ บตั ิ งานและสังคม ในการปฏิบตั ิงานในโรงงาน
อุตสาหกรรมไม่ว่าขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ ทัง้ ภาคเกษตรและพาณิชยกรรมก็ตามจะมีอนั ตราย
เกิดขึน้ จากการทางานเสมอ และโอกาสในประสบอุบตั เิ หตุบาดเจ็บ หรือเจ็บป่ วยทีเ่ กิดจากการ
ทางาน และระบบการควบคุมก็มรี ะบบทีเ่ ป็ นไปตามกฎหมายกาหนด หากแต่สถานประกอบการ
จาเป็ นต้องมีการควบคุมให้มปี ระสิทธิภาพมากขึ้น เพราะเป็ นการดาเนินการป้ องกันที่ปัญหา
หรือต้นเหตุ
2. เพื่อเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพในการทางาน ความสูญเสียทีเ่ กิดจากการประสบอันตราย
หรือเจ็บป่ วยอันเกิดจากการทางานทาให้นาซึ่งความสูญเสียอันยิง่ ใหญ่และมหาศาลทัง้ ทางตรง
และทางอ้ อ ม เมื่อ เกิด ขึ้น จากการรายงานของส านั ก งานกองทุ น เงิน ทดแทน ส านั ก งาน
ประกันสังคม กระทรวงแรงงานในช่วงปี 2554 – 2558 พบว่าตาแหน่ งหน้าที่ทม่ี จี านวนการ
ประสบอันตรายสูงสุด คือ ผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงาน ผูค้ วบคุมเครื่องจักร และผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการ
ประกอบ เฉลีย่ ร้อยละ 70.42 ต่อปี จากข้อมูลดังกล่าวทาให้การปฏิบตั งิ านลดประสิทธิภาพใน
การทางานอย่างชัดเจน ดังนัน้ สถานประกอบการจาเป็ นต้องมีการจัดระบบการจัดการอาชีวอนา
มัยและความปลอดภัยให้เป็ นมาตรฐานเพื่อให้เกิดการลดอุบตั เิ หตุดงั กล่าวเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพ
ในการทางาน
3. เพื่อความเป็ นรูปธรรมหรือสิ่ งที่ เห็นได้ ชดั เจนของความรับผิ ดชอบต่ อสังคม
ยุคการแข่งขันทางด้านธุรกิจ ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็ นการสร้างภาพลักษณ์ทใ่ี นการจัดการ
ทางธุรกิจให้มชี ่อื เสียงและการผลิตทีไ่ ด้คุณภาพเป็ นทีต่ ้องการของลูกค้าและสังคม รวมทัง้ การ
นาไปเป็ นเครื่องมือในการทาธุรกิจเพื่อเป็ นทีย่ อมรับต่างประเทศ การมีระบบการจัดการอาชีวอ
นามัยและความปลอดภัยทีไ่ ด้มาตรฐานสากลย่อมนามาซึง่ การดาเนินธุรกิจได้อย่างเป็ นรูปธรรม
ที่ช ัด เจนยัง ต้ อ งเป็ น การแสดงให้เ ห็น ถึง การรับ รู้ข องสัง คมในความรับ ผิด ชอบของสถาน
ประกอบการกิจการ
625

ความสาคัญของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การดาเนินธุรกิจของภาคอุตสาหกรรมการผลิต บริการ เกษตรกรรม และพาณิชยกรรม
ต่ า ง ๆ ที่ม ีเ ป้ า หมายคือ ก าไรสูง สุ ด ย่อ มต้อ งการที่จ ะลดความสูญ เสีย อัน อาจเกิด จากการ
ปฏิบตั งิ านทัง้ ทางตรงและทางอ้อม การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีด่ จี ะทาให้ธุรกิจ
เกิดก าไร เพิ่มประสิท ธิภ าพ และลดความสูญ เสียท าให้ส ร้า งชื่อ เสีย งให้กับธุ รกิจและทาให้
ผูป้ ฏิบตั งิ านเกิดขวัญกาลังใจทีด่ ใี นการปฏิบตั งิ าน จึงทาให้มคี วามสาคัญ ดังต่อไปนี้
1. การตอบสนองความต้องการของลูกค้า เป็ นผลจากการทีส่ ถานประกอบการต้องมี
ความรับ ผิด ชอบต่ อ สัง คม ท าให้ ป ระเทศตะวัน ตกที่ป ระกอบธุ ร กิจ ที่ม ีก ารว่ า จ้า งโรงงาน
อุตสาหกรรมในประเทศไทยเป็ นผูผ้ ลิตสินค้าให้นัน้ ต่างต้องการให้พฒ ั นาและรักษาไว้ซ่งึ ระบบ
การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพื่อจะได้เป็ นระบบมาตรฐานให้กบั สินค้าและไม่ถูก
โจมตีในการผลิตสินค้าที่มองว่าการผลิตสินค้าที่เอาเปรียบแรงงานในด้านค่าแรง ด้านการใช้
แรงงานทีข่ ดั ต่อกฎหมาย อาจทาให้ไม่จา้ งผลิตสินค้าหันไปหาเจ้าอื่นมาเป็ นผูผ้ ลิตสินค้าแทน ทา
ให้โรงงานในประเทศไทยต้องมีการพัฒนาระบบดังกล่าวเพื่อให้สามารถเป็ นทีย่ อมรับของนานา
ประเทศ (ซึง่ อาจรวมถึงโรงงานทีร่ บั ผลิตชิน้ ส่วนหรืออะไหล่และอุปกรณ์ต่าง ๆ ส่งให้กบั โรงงาน
ผูผ้ ลิตนัน้ ๆ)
2. ประโยชน์ ในการทาธุรกิ จ ในปั จจุบนั นี้การแข่งขันในการเติบโตทางธุรกิจทาให้ต้อง
มีความรับผิดชอบในการผลิตสินค้าและบริการต่อสังคมทาให้ต้องนาระบบการจัดการอาชีวอนา
มัยและความปลอดภัยเพื่อเป็ นการรับรองกระบวนการในการผลิตสินค้าและบริการทีม่ คี ุณภาพ
ตัง้ แต่การบริหารจัดการด้านพนักงานให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน
3. ความเป็ นระบบในการทางาน เมื่อก่อนการทางานด้านอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยแบบเก่า (Conventional Health and Safety Management) เป็ นความรับผิดชอบหลัก
ของฝ่ ายความปลอดภัย คนของฝ่ ายผลิตหรือฝ่ ายอื่น ๆ จะไม่ถอื ว่าต้องรับผิดชอบ จึงทาให้การ
ทางานเมื่อก่อนเป็ นการทางานแบบตัง้ รับ ฝ่ ายความปลอดภัยจะเป็ นผู้ทางานอยู่ฝ่ายเดียวซึ่ง
ขาดการมีส่วนร่วมทัง้ จากฝ่ ายบริหารและฝ่ ายลูกจ้าง ผลงานจึงออกมาค่อนข้างล้มเหลว แต่ใน
ปั จจุบนั นี้การทางานของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจะมีขอ้ กาหนดของ
การดาเนินงานทีท่ าให้ฝ่ายต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องได้มหี น้าทีค่ วามรับผิดชอบทีช่ ดั เจนและมีส่วนร่วม
ในการดาเนินงาน ทาให้การทางานเป็ นระบบ มีกลไกขับเคลื่อนการทางานให้เป็ นไปตามระบบ
และขัน้ ตอนการดาเนินงาน (work procedure) ตามทีก่ าหนดไว้
4. คุณภาพชี วิตที่ ดีของผู้ปฏิ บตั ิ งานและลดความสูญเสียที่ เกิ ดขึ้นจากการทางาน
เมือ่ ใดทีพ่ นักงานผูป้ ฏิบตั งิ านประสบอันตราย บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยในแต่ละครัง้ ย่อมทาให้เกิด
ค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาล ค่าฟื้ นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ สูญเสียด้านกาลังแรงงานทีจ่ ะใช้
ในการผลิต และเสีย โอกาสในการทาธุ ร กิจ รวมทัง้ ท าให้เ กิดความเสียหายทางชื่อ เสียงหรือ
626

ภาพลักษณ์ทด่ี ขี ององค์การ เมือ่ มีการนาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเข้ามา


ดาเนินงานอย่างจริงจังและมีการออกแบบระบบที่ดี ย่อมช่วยให้องค์การลดอุบตั เิ หตุอนั ตราย
เจ็บป่ วยและความสูญเสียต่าง ๆ จากการทางานได้ และทาให้องค์การสามารถสร้างกาไรได้จาก
เงินทีล่ งทุนไปเกีย่ วกับเรือ่ งความปลอดภัยในการทางาน
5. สร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้ กบั องค์การ หากโรงงานอุตสาหกรรมใดจัดทาระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขึ้นในโรงงานย่อมทาให้สร้างคุณค่ าต่ อองค์การ และ
สามารถเป็ นแบบอย่างที่ดีให้ก ับองค์การต่ าง ๆ รวมทัง้ สร้างความภาคภูมใิ จและนับว่าเป็ น
ภาพลักษณ์ท่ดี ขี ององค์การ ส่งผลที่ดตี ่อขวัญกาลังใจของผู้ปฏิบตั งิ านและต่อการอยู่ร่วมกันกับ
ชุมชนใกล้เคียงได้อย่างสงบสุข
มาตรฐานต่าง ๆ ของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ในปั จจุบนั การให้ความสาคัญของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทา
ให้หน่ วยงานหลายหน่ วยงานไม่ว่าจะเป็ นภาครัฐและเอกชน ทีเ่ ป็ นบริษทั ที่ปรึกษา และสมาคม
วิชาชีพ รวมทัง้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศได้มกี ารพัฒนาและกาหนดรูปแบบของระบบการ
จัดการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขึ้นมีความทันสมัยและเป็ นไปตามสภาพการณ์
ปั จจุบนั ยิง่ ขึน้ ดังแสดงในตารางที่ 11.1
ตารางที่ 11.1 มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
องค์กร มาตรฐาน
ประเภท ชื่อ
องค์กรกาหนดมาตรฐานชาติ 1. สานักงานมาตรฐาน มอก.18001 – 2554
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
2. สถาบันมาตรฐานสหราชอาณาจักร BS 8800 : 2004
(British Standards Institute – BSI)
3. Standards Australia (SA)
4. Standards New Zealand(SN) AS/NZS 4804 : 1997
องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ILO –OSH 2001
องค์กรบังคับใช้กฎหมาย 1. US-Occupational Safety and 1. Voluntary Protection Program
Health Administration (OSHA) (VPP)
2. Process Safety Management
(PSM)
2. UK-Health and Safety Executive Successful Health & Safety
(HSE) Management
3. WorkSafe Western Australia WorkSafe Plan
องค์กรวิชาชีพ 1.US-National Safety 14 Elements of Successful Health
Council(NSC) and Safety Program
2.American Industrial Hygiene Occupational Health and Safety
Association (AIHA) Management System

ทีม่ า: สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม,2554, หน้า 27.


627

แนวคิ ดมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
แนวคิด มาตรฐานระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความปลอดภัย ของกระทรวง
แรงงานประกอบด้วยเรือ่ ง
1. การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทย
2. ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2001
3. แนวคิดของมาตรฐานระบบการจัดการด้า นความปลอดภัยในการทางานของ
กระทรวงแรงงาน
แนวคิดการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมาจากปั จจัย 3 ประการคือ
1. ปั จจัยที่เป็ นแรงผลักดันจากสังคมที่ต้ องการให้ผู้ปฏิบตั งิ านทางานอย่างปลอดภัย
มีสถานทีท่ างานทีป่ ลอดภัย
2. ปั จ จัย ทางด้านการเมือ งทัง้ ภายในและภายนอกประเทศที่ม ีค วามต้อ งการให้
ภาคอุตสาหกรรมให้ความสนใจต่อความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของผู้ปฏิบตั งิ านและผู้อยู่
อาศัยรอบๆ สถานประกอบกิจการ ทาให้มกี ารผลักดันออกกฎหมายเพื่อคุม้ ครองผูป้ ฏิบตั งิ าน
รวมไปถึงลูกค้า และการกาหนดเงือ่ นไขทางการค้าของประเทศคู่คา้
3. ปั จจัยทางด้านเศรษฐกิจทีม่ องว่า การจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยใน
องค์กรเป็ นอีกรูปแบบหนึ่งของการควบคุมความสูญเสีย
ปั จจัยต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ จากแนวคิด การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จึงเป็ น
เป้ าหมายหนึ่งที่อ งค์กรจะต้อ งดาเนินการให้ได้ด้ว ยจัดสรรงบประมาณ และทรัพยากรให้
เหมาะสม ทัง้ บุคลากร งบประมาณ เวลา หรือองค์ความรูต้ ่างๆ เพื่อนามาสู่การกาหนดนโยบาย
ด้านการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ให้ส อดคล้องกับการเปลี่ ยนแปลงของภาพ
การณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในปั จจุบนั
จากแนวคิดของมาตรฐานระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความปลอดภัยจึง เป็ น
เจตนารมณ์ด้ว ยความมุ่งมันให้ ่ เ กิดความปลอดภัย ความมีสุ ขภาพอนามัยที่ดี และยกระดับ
มาตรฐานคุณภาพชีวติ ของผู้ปฏิบตั ิงานให้ดขี ้นึ จึงได้มกี ารพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ตลอดเวลา ทัง้ นี้เพื่อให้องค์การสะท้อนผลการดาเนินงาน ดังนี้
(1) ลดความเสีย่ งภัยอันตรายและอุบตั เิ หตุ บาดเจ็บ และเจ็บป่ วยเนื่องจากการ
ทางานของผูป้ ฏิบตั งิ านและผูเ้ กีย่ วข้อง
(2) เพื่อให้เกิดการปรับปรุงการดาเนินงานขององค์การให้เกดความปลอดภัยทัง้
ระบบ
(3) ช่วยสร้างภาพลักษณ์ความรับผิดชอบขององค์การต่อพนักงานในองค์การ
ต่อองค์การ ต่อผูถ้ อื หุน้ ต่อสังคมและประเทศชาติ
628

แนวคิด การจัดการอาชีว อนามัย และความปลอดภัย ของกระทรวงแรงงาน ได้มกี าร


ก าหนดให้ก ารด าเนิน การตามขัน้ ตอนให้ส ถานประกอบกิจ การได้จ ดั ทาเพื่อ ให้เ ป็ น ไปตาม
กฎหมายที่กาหนดว่าด้วยเรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ดังนี้
1. การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศไทย
1.1 ในปี 2546 กระทรวงแรงงานได้ประกาศก าหนดมาตรฐานแรงงานไทย
(มรท.8001-2546) เรือ่ งความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจไทย (ข้อกาหนด) เพื่อคุม้ ครองสิทธิ
แรงงาน เป็ นมาตรฐานสมัครแบบใจ
1.2 มาตรฐานการจัดการด้านความปลอดภัยที่ประกาศใช้สาหรับประเทศไทยแล้ว
คือ มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก.18000 โดยสานักงาน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ใช้เป็ นแนวทาง และเป็ นข้อกาหนดในการตรวจประเมิน
องค์กรเพื่อการรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มาตรฐานโดยสมัครใจ
1.3 ในส่วนของกระทรวงแรงงาน มีการผลักดันให้มกี ารพิจารณากาหนดนโยบาย
ระดับ ชาติแ ละพัฒ นาไปสู่ก ารออกกฎหมายให้ส ถานประกอบการมีร ะบบการจัด การความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยขึน้ โดยอาศัยต้นแบบจากองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ILO-OSH
2001 ซึ่งสามารถนาไปปรับใช้ในการออกกฎกระทรวงโดยอาศัยอานาจของ พรบ.คุ้มครอง
แรงงาน พ.ศ.2541
2. ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2001
เมื่อ การพัฒนาเทคโนโลยีมคี วามก้าวหน้ าทันสมัยการผลิต ต่าง ๆ จาเป็ นต้อ งใช้
เครื่องอุปกรณ์ สารเคมีท่ที าให้เกิดประสิทธิภาพในการผลิต ที่ มกี ารแข่งขันกันมากขึ้น ทาให้
ผูป้ ฏิบตั งิ านได้รบั อันตราย อุบตั เิ หตุหรือการเจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางานมากขึน้ สาเหตุท่ี
เกิดขึน้ จึงทาให้มกี ารจัดระบบการจัดการความปลอดภัยในระดับสากลทีอ่ งค์การแรงงานระหว่า ง
ประเทศได้กาหนดแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย คือ
ILO-OSHMS 2001 ประเทศไทยได้มแี นวคิดทีจ่ ะกาหนดมาตรฐานให้สถานประกอบกิจการนา
ระบบบริห ารและการจัด การมาใช้ ใ นการด าเนิ น การบริห ารจัด การด้ า นความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยโดยนาแนวทางของ ILO-OSHMS 2001 มาเป็ นต้นแบบ มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
2.1 เพื่อการคุ้มครองคนงานจากอันตรายและขจัดการบาดเจ็บ การเจ็บป่ วย โรค
อุบตั กิ ารณ์ และการเสียชีวติ จากการทางาน
2.2 เพื่อใช้ในการจัดทากรอบงานระดับชาติสาหรับระบบการจัดการความปลอดภัย
และอาชีวอนามัยซึง่ มักจะสนับสนุ นโดยกฎหมายของรัฐ
2.3 เพื่อใช้เป็ นแนวทางสาหรับการจัดทามาตรฐานโดยสมัครใจ เพื่อให้เกิดการ
ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและมาตรฐานซึง่ นาไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
629

2.4 เพื่อการบูรณาการส่วนต่างๆของระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนา
มัยในองค์กรให้เป็ นส่วนหนึ่งของนโยบายและการจัดการโดยรวม
2.5 เพื่อจูงใจสมาชิกทัง้ หมดขององค์กร ในการประยุกต์หลักการและวิธกี ารจัดการ
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทีเ่ หมาะสม ในการปรับปรุงการดาเนินงานความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัยอย่างต่อเนื่อง
3. มาตรฐานระบบการจัดการอาชี วอนามัยและความปลอดภัย ได้ นามาตรฐาน
BS 8800 (British Standard 8800) มาเป็ นต้นแบบในการกาหนดมาตรฐานระบบการจัดการอา
ชีวอนามัยและความปลอดภัยและประกาศเป็ นมาตรฐาน มอก.18001: 2542 ให้สถานประกอบ
กิจการดาเนินการโดยสมัค รใจซึ่งสามารถนาระบบการจัดการไปใช้ใ นการลดความเสี่ยงต่ อ
อันตรายและอุ บตั ิเหตุ ต่างๆ ของผู้ปฏิบตั ิงานและผู้เ กี่ยวข้อ ง ตลอดจนมีการปรับปรุงการ
ดาเนินงานของธุรกิจให้เกิดความปลอดภัย และช่วยสร้างภาพพจน์ความรับผิดชอบขององค์กร
ต่อพนักงานภายในองค์กร ต่อองค์การเองและต่อสังคม
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเริม่ ขึน้ ทีป่ ระเทศอังกฤษ (BS 8800)
โดยสถาบันมาตรฐานสหราชอาณาจักร (British Standard Institute) จุดประสงค์ให้องค์การใช้
เป็ นแนวทางในการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแบบบูรณาการให้เป็ นส่วนหนึ่งของ
การจัดการในองค์การ และ มีเป้ าหมายเพื่อลดและควบคุมความเสี่ยงอันตรายของพนักงาน
และผู้ ท่ีเ กี่ย วข้ อ งการเพิ่ม ประสิท ธิ ภ าพการด าเนิ น งานของธุ ร กิจ ให้ เ กิด ความปลอดภัย
และส่งเสริมภาพ พจน์ด้านความรับผิดชอบขององค์กรที่มตี ่อพนักงาน และสังคม มาตรฐาน
ระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ได้กาหนดขึน้ เพื่อตอบสนองความต้องการ
ของผูเ้ กีย่ วข้อง เพื่อให้เกิดระบบการตรวจประเมินและการรับรองความสอดคล้องของระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
มาตรฐานผลิต ภัณฑ์อุ ต สาหกรรมระบบการจัดการอาชีว อนามัยและความปลอดภัย
(Occupational health and safety management system standards) ตามอนุ กรมมาตรฐาน
มอก.18000 นี้ กาหนดขึน้ โดยใช้ BS 8800 : Guide to occupational health and safety
(OH&S) management systems เป็ นแนวทางและอาศัยหลักการของระบบการจัดการตาม
อนุ กรมมาตรฐาน มอก. 9000/ISO 9000 และ มอก.14000/ISO 14000 เพื่อให้ระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยเข้ากันได้กบั ระบบการจัดการอื่นๆ ขององค์การ
ความหมายของมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัย และ
ความปลอดภัย (Occupational health and safety management system standards : OHSAS
18000) หมายถึง ระบบการจัด การอชีว อนามัย และความปลอดภัย ซึ่ง จัด ท าโดยสถาบัน
มาตรฐานของอัง กฤษ เพื่อ ตอบสนองความต้ อ งการในการจัด การปั ญ หาความปลอดภัย
และสุขภาพเกีย่ วกับอาชีพ
630

อนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 แบ่งออกเป็ น 4 เล่ม ดังนี้


1. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย :
ข้อกาหนดมาตรฐานเลขที่ มอก.18001-2542 (Occupational health and safety management
system: specification)
2. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย :
ข้อแนะนาทัวไปเกี
่ ย่ วกับหลักการ ระบบและเทคนิคในทางปฏิบตั มิ าตรฐานเลขที่ มอก. 18004 –
2544 (Occupational health and safety management systems : general guidelines on
principles, systems and supporting techniques)
3. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย :
แนวทางการกาหนดความสามารถของผู้ตรวจประเมินระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย มาตรฐานเลขที่ มอก.18012 – 2548 (Occupational health and safety
management systems: general guidelines on competence of occupational health and
safety management system auditors)
4. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย :
แนวทางการตรวจประเมินระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มาตรฐานเลขที่
มอก. 18011 (Occupational health and safety management systems: general guidelines
on auditing in occupational health and safety management systems) (อยู่ระหว่างการ
จัดทา)

ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน มอก.18001
เป้ าหมายของมอก.18001
มอก. 18001 เป็ นมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ทีม่ ุ่งเน้น
ให้โรงงานอุตสาหกรรมทีผ่ ลิตสินค้าและบริการทุกขนาด ทุกประเภทกิจการสามารถนาไปใช้ใน
การรับ รองคุ ณ ภาพผลิต ภัณ ฑ์เ พื่อ ให้ค วามคุ้ม ครองกับ ชีว ิต ของผู้ป ฏิบ ัติง านให้ป ราศจาก
อุบตั เิ หตุ การเจ็บป่ วย และเสียชีวติ อันเนื่องจากการทางาน รักษาคุณภาพของสิง่ แวดล้อมใน
การทางาน (work environment) และเป็ น เป้ าหมายส าคัญ ที่เ ป็ นรูปธรรมของการมีค วาม
รับผิดชอบต่อสังคม (social responsibility) ดังนัน้ เป้ าหมายของ มอก.18001 มี 3 ข้อ ดังนี้
1. ลดและควบคุมความเสี่ยงอันตรายของลูกจ้างและผูเ้ กี่ยวข้อง การปฏิบตั งิ าน
ของผูป้ ฏิบตั ใิ นโรงงานทีต่ อ้ งอาศัยการปฏิบตั งิ านด้วยเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ทเ่ี ป็ นประจา
ซ้า จึงทาให้มโี อกาสที่เกิดอันตรายและเป็ นความเสี่ยงต่อผู้ปฏิบตั ิงานเนื่องจากการสัมผัสกับ
อุปกรณ์ เครื่องมือ แม้กระทัง่ สารเคมีอนั ตรายที่ต้องใช้ในการผลิตสินค้า ซึ่งเป็ นสิง่ ที่เกิดขึ้น
โดยตรง หรือผูร้ บั เหมาช่วง และต่อผูเ้ กีย่ วข้องซึง่ อาจเป็ นผูป้ ฏิบตั งิ านในแผนกอื่น ๆ ลูกค้า กลุ่ม
ผูม้ าศึกษาดูงาน นักศึกษาฝึกงาน และประชาชนในชุมชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนัน้ ทาให้ได้ผล
631

กระทบทีค่ ่อนข้างเสียหายหรือไม่พอใจต่อภาพลักษณ์ข ององค์การ เป้ าหมายของ มอก. 18001


จึงช่วยลดหรือควบคุมความเสีย่ งกับเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ให้อยูใ่ นระดับทีส่ ามารถยอมรับได้
2. เพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการดาเนิ นงานขององค์การ การนาระบบมอก.18001 เข้ามาใช้
ในการดาเนินงานเพื่อจัดการระบบอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทาให้เกิดเป้ าหมายทีจ่ ะช่วย
เพิม่ ประสิทธิภาพในการดาเนินงานดีขน้ึ และกลมกลืนผสมผสานเข้ากับระบบอาชีวอนามัย และ
ความปลอดภัยเข้ากับงานอื่นได้ขององค์การ ดังนัน้ การเพิม่ ประสิทธิภาพไม่รวมถึงเฉพาะด้าน
สิน ค้า และบริก ารเท่ า นัน้ แต่ เ ป็ น การมองถึง ประสิท ธิ ภ าพของพนัก งานในองค์ก าร ในการ
ปฏิบตั งิ านต่อความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมในการลดต้นทุนในด้านต่าง ๆ ได้แก่
สุขภาพทีด่ ขี องพนักงาน ผูบ้ ริโภค และสังคมทีป่ ลอดภัยด้วย
3. แสดงถึงความรับผิ ดชอบต่ อสังคมขององค์การอย่างเป็ นรูปธรรม หากองค์การ
ได้นาจัดมาตรฐานผลิต ภัณฑ์อุ ตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อย่างเป็ นรูปธรรมทีช่ ดั เจน ย่อมทาให้เกิดองค์การมีความรับผิดชอบต่อพนักงานในองค์การและ
สังคมส่วนรวมและต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ เป็ นการสะท้อนให้เห็นถึงว่า
องค์การมีความตระหนักถึงสิง่ แวดล้อมที่จะต้องอยู่ควบคู่กบั ชีวติ ของมนุ ษย์ของโลกองค์การจะ
ห่วงใยถึงอนาคตของโลก ความรับผิดชอบต่อสังคมนี้จะทาให้ลูกค้าและบุคคลทัวไปยอมรั ่ บใน
สินค้าขององค์การ ทาให้องค์การเกิดภาพลักษณ์ทด่ี ตี ่อสินค้าและองค์การ
รูปแบบของ มอก. 18001
มอก. 18001 – 2542 เป็ นรูปแบบของการจัดการอาชีว อนามัยและความปลอดภัย ที่
ประกอบด้วย 2 ส่วนสาคัญ คือ
1. ส่วนทีเ่ ป็ นข้อกาหนด (requirements) มี 6 ข้อกาหนดทีอ่ งค์กรต้องทาขึน้
2. ส่วนที่เป็ นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อแสดงถึงความแน่ วแน่ ขององค์การที่จะ
ทางานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยให้มกี ารพัฒนาให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง
รูปแบบของ มอก.18001 จะมีความคล้ายคลึงกับมาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม
ISO 14001 ซึง่ สามารถแสดงให้เห็นเป็ นภาพได้ดงั ภาพที่ 11.1
632

ภาพที่ 11.1 รูปแบบมาตรฐานอุตสาหกรรม 18001 – 2542


ทีม่ า: http://cste.sut.ac.th/cste/web1., 2559.

ขัน้ ตอนการจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก.18001)


จากภาพทีแ่ สดงข้างต้น โดยองค์กรทีต่ ้องการจัดทา OHSAS 18001 ก็สามารถปรับปรุง
และเพิม่ เติมโครงสร้างทีแ่ ตกต่างไปจากระบบทีม่ อี ยู่แล้ว เพียงแต่ดาเนินการในขัน้ ตอนการบ่งชี้
อันตราย (Hazard identification) และ (Risk assessment) ก็สามารถปรับเข้าสู่การจัดทาระบบ
การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS 18001 หรือ มอก. 18001 ได้ ซึง่ ขัน้ ตอน
ในการจัดทาระบบก็จะคล้ายคลึงกับขัน้ ตอนในการจัดทาระบบการจัดการอื่น ๆ จะเห็นได้ว่า
ข้อกาหนดหลักของ มอก.18001 – 2542 ซึง่ ประกอบด้วย 6 ขัน้ ตอน ดังนี้
ข้อกาหนดที่ 1 การทบทวนสถานะเริ่ มต้น (Initial Status Review)
เป็ นจุดเริม่ ต้นของการพัฒนาระบบทีโ่ รงงานต้องทบทวนองค์การว่าได้มกี ารดาเนินงาน
ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย องค์การจะต้องพิจารณาทบทวนระบบการจัดการอาชีวอ
นามัยและความปลอดภัยขององค์การทีม่ อี ยู่ในปั จจุบนั เพื่อทราบสถานภาพ บริบทขององค์การ
ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทางาน และข้อเท็จขององค์การทีเ่ ป็ นอยู่
ปั จจุบนั รวบรวมข้อมูลที่ถูกต้องเป็ นจริง โดยนาไปสู่การกาหนดขอบเขตของการนาเอาระบบ
การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยไปใช้และเพื่อเป็ นแนวปฏิบตั หิ รือบรรทัดฐานในการ
กาหนดนโยบายและกระบวนการจัดทาระบบจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ให้สามารถ
นาไปใช้ในการวัดผลความก้าวหน้าต่อไป
633

ข้อกาหนดที่ 2 นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ผูบ้ ริหารระดับสูงสุดขององค์กรจะต้องกาหนดนโยบายและจัดทาเป็ นเอกสาร พร้อมทัง้
ลงนามกากับ เพื่อแสดงเจตนารมณ์ และความมุ่งมันในการปฏิ
่ บตั ติ ามกฎหมายและข้อกาหนด
อื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จากนัน้ จึงมอบหมายให้มกี ารดาเนินการ
ตามนโยบายและแผนงาน พร้อมทัง้ จัดสรรทรัพยากรทีจ่ าเป็ นในการดาเนิ นการ ต้องประกาศให้
พนั ก งานทุ ก ระดับ เข้า ใจ รับ ทราบนโยบายโดยต้ อ งได้ร ับ การฝึ ก อบรมที่เ หมาะสมและมี
ความสามารถที่จะปฏิบตั งิ านตามหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบรวมทัง้ ส่งเสริมให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในระบบการจัดการ เพื่อให้การนาลงไปปฏิบตั สิ ามารถบรรลุตามเป้ าหมายได้
ข้อกาหนดที่ 3 การวางแผน
เป็ นบ่งชีอ้ นั ตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ได้ทุกเวลาอย่างไม่คาดการณ์ หรือวางแผนไว้ล่วงหน้า
ดังนัน้ จึงควรมีการประเมินความเสี่ยง รวมทัง้ สื่อสารให้เห็นหรือ ชี้บ่งข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ทัง้ นี้เพื่อใช้ในการจัดทาแผนงานควบคุมความเสีย่ ง การปฏิบตั งิ านตามเกณฑ์ เพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยและข้อบังคับกฎหมายอย่างเคร่งครัด การวัดผลและการทบทวนระบบการจัดการอาชี
วอนามัยและความปลอดภัยได้อย่างเหมาะสมพร้อมทัง้ กาหนดวัตถุ ประสงค์และเป้ าหมายที่
ชัดเจน เพื่อให้สามารถจัดสรรทรัพยากรได้ถูกต้องทัง้ ด้านงบประมาณและบุคลากร ในขัน้ ตอน
การวางแผนจะเป็ น ข้อ ก าหนดที่ส าคัญ ของการพัฒ นาและด าเนิ น การระบบ ประกอบด้ว ย
ข้อกาหนดย่อย ดังนี้
1) การประเมินความเสีย่ ง
2) กฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ
3) การเตรียมการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ข้อกาหนดที่ 4 การนาไปใช้และการปฏิ บตั ิ
องค์กรต้องนาแผนงานที่กาหนดไว้มาปฏิบตั ิ โดยมีผู้บริหารระดับสูงเป็ นผู้รบั ผิดชอบ
โครงการทัง้ หมด มีการกาหนดโครงสร้างองค์การ การกระจายอานาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ
ไปตามระดับที่มคี วามรูค้ วามสามารถที่เหมาะสม จัดให้มกี ารฝึ กอบรมบุคลากรเพื่อให้มคี วามรู้
และความสามารถที่เ หมาะสมและจ าเป็ น จั ด ท า ควบคุ ม และปรับ ปรุ ง เอกสารให้ม ีค วาม
ทันสมัย เพิม่ ช่อ งทางการสื่อ สาร และประชาสัมพันธ์เ พื่อ กระตุ้น สร้างจิต สานึกให้ทุกคนใน
องค์กรตระหนักถึงความรับผิดชอบร่วมกัน ให้ความสาคัญและร่วมมือกันนาไปใช้ปฏิบตั พิ ร้อม
ทัง้ ควบคุมการปฏิบตั ใิ ห้มนใจว่
ั ่ ากิจกรรมดาเนินไปด้วยความปลอดภัยและสอดคล้องกับแผนงาน
ทีว่ างไว้รวมถึงมีการเตรียมความพร้อมการวางแผนฉุ กเฉินรองรับ สาหรับกรณีท่เี กิดภาวะที่ม ี
การเปลีย่ นแปลงทีเ่ ร่งด่วนหรือภาวะฉุกเฉินขึน้ เป็ นเรื่องการกาหนดโครงสร้าง ความรับผิดชอบ
ของบุค ลากรในโรงงานรวมถึงสิ่งที่ค วรด าเนิ นการเพื่อ ให้เ กิดความปลอดภัยในการทางาน
ประกอบด้วยข้อกาหนดย่อย ๆ ดังนี้
634

1) โครงสร้างและความรับผิดชอบ
2) การฝึกอบรม การสร้างจิตสานึก และความรูค้ วามสามารถ
3) การสื่อสาร
4) เอกสารและการควบคุมเอกสาร
5) การจัดซือ้ และการจัดจ้าง
6) การควบคุมการปฏิบตั ิ
7) การเตรียมความพร้อมสาหรับภาวะฉุกเฉิน
8) การเตือนอันตราย
ข้อกาหนดที่ 5 การตรวจสอบและแก้ไข
ผูบ้ ริหารขององค์กรต้องกาหนดให้มกี ารตรวจติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ านเป็ น
ระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยการตรวจประเมิน ทัง้ นี้ เพื่อวัดผลการปฏิบตั แิ ละหาข้อบกพร่องของ
ระบบ แล้วนาไปวิเคราะห์หาสาเหตุและทาการแก้ไข ป้ องกันมิให้เกิดข้อผิดพลาดซ้าซ้อนขึน้ อีก
ภายหลัง และต้องมีการบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ซึง่ เป็ นข้อกาหนดทีส่ ร้างความมันใจว่
่ าสิง่
ทีไ่ ด้กาหนดเป็ นนโยบายการวางแผนและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ประสบความสาเร็จ หรือไม่
มีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง สาเหตุทแ่ี ท้จริงของปั ญหามีอะไร มีขอ้ กาหนดย่อย ดังนี้
1) การติดตามตรวจสอบและการวัดผลการปฏิบตั ิ
2) การตรวจประเมิน
3) การแก้ไขและการป้ องกัน
4) การจัดทาและเก็บบันทึก
ข้อกาหนดที่ 6 การทบทวนการจัดการ
เป็ นข้ อ ก าหนดส าคัญ ที่ น าไปสู่ ห ลัก การการปรับ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ( continual
Improvement) ผูบ้ ริหารระดับสูงขององค์กรจะต้องกาหนดให้มกี ารทบทวนระบบการจัดการอา-
ชีวอนามัยและความปลอดภัย ในข้อกาหนดนี้ผู้บริหารจะต้องมีการทบทวนทาความเข้าใจถึง
สภาพของการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานทัง้ หมดที่
เกิดขึน้ ทีเ่ ป็ นจริงและได้มกี ารตรวจสอบ ประเมินผลการดาเนินงานอย่างครบถ้วนแล้ว ซึง่ จากผล
การดาเนินงาน ผลการตรวจประเมิน รวมทัง้ ปั จจัยต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป และนามาทาการ
ปรับปรุงดาเนินงานเพื่อลดความเสี่ยงที่มผี ลต่ อความปลอดภัย อย่างต่ อเนื่อ งรวมทัง้ กาหนด
แผนงานในเชิงป้ องกัน และนาไปสู่การบริหารเชิงรุกต่อไป
635

การจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน มอก.
18001 ในองค์การ

องค์การตัดสินใจจะพัฒนา
ระบบ มอก.18001

ตัง้ ทีมพัฒนาระบบ

ฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ

จัดทาระบบเอกสาร

ประกาศนโยบาย

ดาเนินงาน

การตรวจประเมินภายใน

การทบทวนการจัดการ

ภาพที่ 11.2 ขัน้ ตอนการพัฒนาระบบ มอก.18001


ทีม่ า: http://cste.sut.ac.th/cste/web1., 2559.

การนามาตรฐานไปใช้
การน ามาตรฐานผลิต ภัณ ฑ์อุ ต สาหกรรมระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความ
ปลอดภัยไปใช้ จะช่วยเสริมสร้างความมันใจในความปลอดภั
่ ยในชีวติ และทรัพย์สนิ ช่วยองค์กร
ลดค่ าใช้จ่ายในการรัก ษาพยาบาลผู้ป ฏิบตั ิงานและประการส าคัญ คือ ช่ว ยลดอัต ราการเกิด
อุบตั เิ หตุภายในองค์กร ซึง่ เป็ นการแสดงออกถึงความห่วงใยขององค์กรทีม่ ตี ่อพนักงาน นาไปสู่
ความมันใจในการท
่ างาน เสริมสร้างคุณภาพขององค์กร อันก่ อให้เกิดความได้เปรียบต่อองค์กร
636

คู่แ ข่ง ในตลาดการค้า และเป็ น ผู้น าในวงการธุ ร กิจ ระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความ
ปลอดภัยนี้สามารถนามาใช้ได้กบั การจัดการขององค์กรไม่ว่าประเภทหรือขนาดใดๆ การนา
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุ ต สาหกรรมระบบการจัดการอาชีว อนามัยและความปลอดภัยไปใช้ใ น
องค์กรให้เกิดประโยชน์สงู สุด ดังนัน้ ในตอนนาไปสู่การปฏิบตั จิ งึ ต้องพิจารณา ดังต่อไปนี้
1) ผู้บ ริห ารระดับ สู ง ต้อ งมีค วามมุ่ ง มัน่ และตัง้ ใจในการน าระบบไปใช้ และให้ก าร
สนับสนุนอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง ด้วยการกาหนดนโยบายและแผนงานให้ชดั เจน
2) พนักงานทุกคน ทุกระดับในองค์การจะต้องมีความเข้าใจ ให้ความสาคัญในการจัดทา
มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยการให้ความร่วมมือ ร่วมแรง
ร่วมใจอย่างจริงจังเพื่อให้เกิดความสาเร็จ
3) ต้องมีการจัดสรรงบประมาณ และทรัพยากรต่าง ๆ อย่างเพียงพอ และมีการควบคุม
กากับ ติดตาม และตรวจสอบอย่างเป็ นระบบเพื่อความคุม้ ค่าในการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ นามาซึง่
ความคุม้ ค่า
4) จัดระบบการติดตามประเมินผลทัง้ ระบบ เพื่อให้ทราบถึงจุดบกพร่องต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้
ระหว่ า งการด าเนิ น งาน และน ามาปรับ ปรุง แก้ไ ขระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความ
ปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
องค์การใดที่จะต้องจัดทามาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย
สภาพการณ์ ปั จ จุ บ ัน ที่ม ีก ารแข่ ง ขัน กัน ด้า นการผลิต สิน ค้า และบริก าร ไม่ ว่ า เป็ น
อุตสาหกรรมประเภทใดหรือขนาดใดก็ตามย่อมต้องทาให้ผลิตภัณฑ์ หรือสินค้า และบริการของ
กิจ การได้ ร ับ มาตรฐานสากลเป็ นที่ย อมรับ จึง จะท าให้ อ งค์ ก ารสามารถด ารงอยู่ ไ ด้ ใน
ขณะเดี ย วกั น การจัด ท ามาตรฐานระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความปลอดภัย
(มอก.18001) องค์การสามารถนาระบบนี้ไปใช้ได้ทุกองค์การ ซึ่งการนาไปใช้นนั ้ แต่ละองค์การ
จะต้องพิจารณาสภาพการณ์ขององค์การ หรือมีการวิเคราะห์สถานการณ์ขององค์ การให้ทราบ
อย่างละเอียด และชัดเจนเกี่ยวกับกิจกรรมที่ปฏิบตั ิอ ยู่ใ นปั จจุบนั มีอ ันตรายที่เ กิดขึ้นในการ
ปฏิบตั งิ านอย่างไรลักษณะใด และอันตรายนัน้ มีความเสีย่ งมากน้อยเพียงใด แล้วนามาจัดลาดับ
ตามระดับความเสี่ยงจากน้ อยไปหามากที่อ าจจะเกิดขึ้นโดยประมาณค่ าจากโอกาสที่จะเกิ ด
อันตรายและความรุนแรงของความเสียหาย แล้วจึงทาการวางแผนปฏิบตั ิ การควบคุมความ
เสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ โดยอาจเปรียบเทียบกับข้อกาหนดตามกฎหมาย รวมทัง้ วิธปี ฏิบตั ทิ ถ่ี ูกต้อง
สาหรับกิจกรรมนัน้ ๆ แล้วกาหนดเป้ าหมายในการดาเนินการในเชิงปริมาณเพื่อความสะดวกใน
การผลและประเมินผลการดาเนินงาน
หลักการและวิธกี ารในการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ
นัน้ ถ้าหากองค์การใดมีก าหนดนโยบายที่เหมาะสม มีแผนงานที่ชดั เจน จะทาให้ระบบการ
637

ควบคุมความเสีย่ งของอันตรายได้ผล ซึง่ ย่อมส่งผลทีด่ ตี ่อการปฏิบตั งิ านเป็ นไปด้วยความราบรื่น


ผูป้ ฏิบตั งิ านมีสุขภาพร่างกายทีแ่ ข็งแรง สมบูรณ์ ซึง่ จะทาให้เกิดผลการปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้คุณภาพ
และผลิตผลทีด่ ี รวมทัง้ ผูป้ ฏิบตั งิ านมีสุขภาพจิตทีแ่ ข็งแกร่ง สามารถดารงชีวติ ในสังคมได้อย่างมี
ความสุ ข ซึ่ง ผลของผู้ ป ฏิบ ัติง านมีสุ ข ภาพดี ท าให้ เ กิด ความเชื่อ มัน่ ในอาชีพ เกิด ความ
เจริญก้าวหน้าในหน้าทีก่ ารงานส่งผลโดยรวมต่อความซื่อสัตย์ และจงรักภักดีต่อองค์การ ทาให้
องค์ก ารสามารถธ ารงรัก ษาทรัพยากรมนุ ษ ย์ท่มี คี ุ ณภาพไว้ก ับองค์การได้ระยะยาว ลดการ
ลาออกของพนักงาน นอกจากนี้ยงั ส่งผลในการด้านค่าใช้จ่ายที่สูญเสียไปกับการรักษาพยาบาล
และประหยัด ค่ า ใช้ จ่ า ยในการด้า นหยุ ด งานอัน เป็ น ผลมาจากการเกิด อุ บ ัติเ หตุ การจัด ท า
มาตรฐานระบบการจัดการอาชีว อนามัย และความปลอดภัย (มอก.18001) จึงเหมาะสมกับทุก
องค์การทีต่ ้องการที่มคี วามต้องการให้ผู้ปฏิบตั งิ านในองค์การมีสุขภาพที่ดี ลดอุบตั เิ หตุในการ
ปฏิบตั งิ าน หรือไม่เกิดอุบตั เิ หตุในการปฏิบตั ิ และให้สามารถแข่งขันกับองค์การระดับโลกได้
การเตรี ย มตัวเพื่ อ ขอรับ การรับ รองระบบการจัด การอาชี วอนามัย และความ
ปลอดภัย
ในการขอรับการรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย องค์กรจะต้อง
จัดทาระบบตามข้อกาหนดในมาตรฐาน มอก.18001 ซึง่ มีขนั ้ ตอนหลักดังต่อไปนี้
ขัน้ ตอนที่ 1 ศึกษามาตรฐาน มอก.18001 และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง
ขัน้ ตอนที่ 2 ประชุมฝ่ ายบริหารเพื่อขอการสนับสนุ นโครงการในการจัดทาระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ขัน้ ตอนที่ 3 ตัง้ คณะกรรมการชีน้ า เพื่อจัดทาระบบและควบคุมดูแลให้เป็ นไปตามทีไ่ ด้
กาหนดไว้
ขัน้ ตอนที่ 4 กาหนดนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัยวางแผนการจัดการระบบ
จัดทาวิธกี ารปฏิบตั ิ และ คาแนะนาทีจ่ าเป็ น
ขัน้ ตอนที่ 5 ลงมือปฏิบตั ิตามระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่ได้
กาหนดขึน้
ขัน้ ตอนที่ 6 ตรวจติด ตามระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความปลอดภัย เพื่อ
ตรวจสอบว่าระบบเป็ นไปตามแผนและข้อกาหนดของมาตรฐานและได้มกี ารนาไปใช้ปฏิบตั อิ ย่าง
ต่อเนื่อง
ขัน้ ตอนที่ 7 แก้ไขข้อบกพร่องทีพ่ บจากการตรวจติดตามภายในและปรับปรุงระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ขัน้
ขัน้ ตอนที่ 8 ผูบ้ ริหารระดับสูงทีร่ บั ผิดชอบโครงการดาเนินการทบทวนระบบการจัดการ
จากผลการดาเนินงานการตรวจติดตามและการตรวจประเมินระบบ รวมทัง้ พิจารณาจากปั จจัย
638

ต่างๆ แล้วนามาปรับนโยบาย แผนงาน เป้ าหมาย เพื่อประสิทธิผลของระบบการจัดการ และ


เพื่อประเมินผล ระบบการจัดการทัง้ ระบบเพื่อให้แน่ใจว่ามีความพร้อมสาหรับการขอรับรอง
ขัน้ ตอนที่ 9 ติดต่อหน่วยงานทีใ่ ห้การรับรอง และยืน่ คาขอ
ประโยชน์ ที่ ได้ รบั จากการจัด ท ามาตรฐานระบบการจัด การอาชี วอนามัย และ
ความปลอดภัย (มอก.18001)
ในการจัดทามาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย องค์การต่าง ๆ
ทีม่ หี น้าทีผ่ ลิตสินค้าและบริการ และ/หรืออุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ เพื่อต้องการทีจ่ ะพัฒนา
องค์ก ารเพื่อ ทาให้อ งค์ก ารน าไปสู่ระบบการบริห ารจัดการงานด้า นอาชีว อนามัยและความ
ปลอดภัยให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ให้สามารถนาไปสู่การพัฒนาระบบผลิตภัณฑ์ คน และองค์การ
ได้นนั ้ เมื่อองค์การได้เล็งเห็นความสาคัญ ของความปลอดภัย และสุขภาพทีด่ ขี องพนักงานทีจ่ ะ
สะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการทางานขององค์การซึง่ จะทาให้พนักงานปฏิบตั งิ านด้วย
ความปลอดภัย ช่ ว ยท าให้ ล ดการเกิด อุ บ ัติเ หตุ ใ นการท างาน และลดการเจ็บ ป่ วยในการ
ปฏิบตั ิงาน องค์การจึงได้ดาเนินการจัดทาระบบการจัดการอาชี วอนามัยและความปลอดภัย
(มอก.18001) อย่างไรก็ตาม การนามาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
สามารถสรุปประโยชน์ของการนาไปใช้ได้ ดังนี้
1. พนักงานในองค์การเกิดความตระหนักถึงอันตรายที่อาจะเกิดขึน้ จากการปฏิบตั งิ าน
และทาให้รู้ถึงวิธกี ารปฏิบตั ิงานได้อ ย่างถูกต้อ งและปลอดภัย ช่วยป้ องกันอุบตั ิเหตุ และการ
เจ็บป่ วยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ซึง่ ช่วยทาให้องค์การลดค่าใช้จา่ ยได้
2. เป็ นการเตรียมความพร้อมสาหรับอุบตั เิ หตุและภาวะฉุ กเฉินทีอ่ าจเกิดขึน้ ซึง่ สามารถ
ช่วยลดการเกิดอุบตั เิ หตุ เจ็บป่ วยทางร่างกาย จิตใจ ความเสียหาย และสูญ เสียทัง้ ด้านชีวติ และ
ทรัพย์สนิ ด้วย
3. ลดรายจ่ายของนายจ้างในการลดค่าเบีย้ ประกันในการนาเงินเข้ากองทุนเงินทดแทน
เนื่องจากอุบตั เิ หตุ เจ็บป่ วยจากการทางานลดน้อยลง หรือแทบไม่มเี ลย
4. ทาให้เกิดการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางานให้ปลอดภัยซึ่งช่วยสร้างขวัญ
กาลังใจแก่พนักงานให้เกิดความเชื่อมันในความปลอดภั
่ ยต่อชีวติ การทางานในองค์การ ซึง่ มีผล
โดยตรงต่อการเพิม่ ประสิทธิภาพในการทางานหรือเพิม่ ศักยภาพในการผลิตให้กบั องค์การ
5. การรับรองมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก.18001)
ทาให้องค์การได้รบั รองคุณภาพสากลเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทาให้เป็ นการ
ประชาสัม พัน ธ์ ท่ีดีเ กี่ย วกับ ผลิต ภัณ ฑ์ ใ นด้ า นคุ ณ ภาพของการผลิต ซึ่ง น าไปสู่ ก ารสร้ า ง
ภาพลักษณ์ขององค์การให้ดยี งิ่ ขึน้ และเป็ นที่ยอมรับในสังคม และทาให้เกิดความยุตธิ รรมเป็ น
ธรรมต่อพนักงานซึง่ ส่งผลทีด่ ตี ่อจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบการ
639

6. ทาให้องค์การสามารถเตรียมความพร้อมในการแข่งขันทางด้านการประกอบธุรกิจใน
ตลาดโลก ซึง่ ทาให้องค์การพัฒนาเจริญก้าวหน้าสู่สากลเป็ นทีย่ อมรับของนานชาติได้
ขอรับการรับรองการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
องค์กรทีไ่ ด้จดั ทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขอการรับรองได้จาก
หน่ วยรับรองทีใ่ ห้บริการการรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้โดยยื่น
คาขอรับรองพร้อมเอกสารประกอบการพิจารณาทีเ่ กีย่ วข้องตามทีห่ น่วยรับรองกาหนด
ขัน้ ตอนการรับรองโดยทัวไป ่
การขอรับการรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1. ยื่นคารับการรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย พร้อมทัง้
เอกสาร ประกอบด้วย
1.1 คู่ ม ือ ระบบการจัด การอาชี ว อนามัย และความปลอดภัย และเอกสาอื่ น ๆ ที่
เกีย่ วข้อง
1.2 ข้อมูลทัวไปของผู
่ ย้ น่ ื คาขอ
2. หน่ วยรับรองจะประเมินเอกสารแล้วจัดทารายงานผลการประเมิน แจ้งให้ผยู้ ่นื คาขอ
ทราบ พร้อมรายชื่อเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ระเมินและกาหนดการตรวจประเมินเบือ้ งต้น
3. หน่ วยรับรองส่งเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ระเมินทีผ่ ปู้ ระเมินไปตรวจประเมินเบื้องต้นตามกาหนด
เพื่อรวบรวมข้อมูลความพร้อมขององค์กรและรายละเอียดอื่นๆ เพื่อกาหนดแผนกี่ตรวจประเมิน
พร้อมทัง้ จัดทารายงานผลการตรวจประเมินเบือ้ งต้น แจ้งและกาหนดการตรวจประเมิน
4. หน่ วยรับรองส่งเจ้าหน้าที่ผปู้ ระเมินไปตรวจประเมิน ณ สถานประกอบตามกาหนด
พร้อมทัง้ จัดทารายงานผลการตรวจประเมินแจ้งให้ผยู้ น่ ื คาขอทราบ
5. หน่วยรับรองสรุปรายงานผลการตรวจประเมิน เสนอคณะกรรมการของหน่ วยรับรอง
พิจารณาให้การรับรอง
6. หน่วยรับรองจัดพิมพ์ใบรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
7. หน่วยรับรองตรวจประเมินเพื่อการติดตามผลอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้
8. หน่วยรับรองตรวจประเมินใหม่ทงั ้ ระบบ
(เมือ่ ครบกาหนด 3 ปี และขอรับรองต่อเนื่อง)
จากความเข้าใจเกีย่ วกับการตรวจสอบรับรองข้างต้น องค์กรจะเห็นว่าการตัดสินใจเลือก
หน่ วยรับรองเป็ นสิง่ ที่มคี วามสาคัญ ทัง้ นี้เพื่อให้ผลองการรับรองที่ได้รบั จากหน่ วยงานรับรอง
นัน้ ๆ จะมีค วามน่ า เชื่อ ถือ และเป็ น ที่อ มรับ ขององค์ก ร ซึ่ง เป็ น แนวทางควรน ามาพิจ ารณา
ประกอบการตัดสินใจเลือกหน่วยรับรอง จะต้องดาเนินการทีป่ ระกอบด้วย คือ
640

1. ได้รบั การรับรองระบบงาน NAC (NAC Accredited CB)


ความน่ าเชื่อ ถือ และการที่จะมันใจในความสามารถของหน่
่ ว ยรับรองเป็ นเรื่อ งส าคัญ
กล่าวคือ หน่วยรับรองทีม่ อี ยูใ่ นประเทศจะมีความแตกต่าง ดังนัน้ องค์กรควรเลือกหน่ วยรับรอง
ทีไ่ ด้รบั รองระบบงานจากคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการรับระบบงาน (NAC) แล้วเท่านัน้
2. ค่าใช้จ่ายในการขอรับการรับรอง
2.1 ค่าธรรมเนียมในการยืน่ คาขอ
2.2 ค่าธรรมเนียมในการตรวจประเมิน
2.3 ค่าธรรมเนียมใบรับรอง
ทัง้ นี้ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการขอรับรองขึน้ กับหน่ วยรับรองนัน้ ได้กาหนดหลักเกณฑ์
และเงือ่ นไขอย่างไร

ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตาม ILO – OSH 2001


ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตาม ILO – OSH 2001
องค์การแรงงานระหว่างประเทศเป็ นองค์การด้านแรงงานทีม่ เี ป้ าหมายสาคัญเบือ้ งต้นใน
การส่งเสริมให้คนมีโอกาสทางานทีม่ คี ุณค่า ซึง่ ก็หมายถึงงานที่ปลอดภัย เพราะความปลอดภัย
เป็ นสิง่ ที่สาคัญในการสร้างผลผลิตเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ และก่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทาง
เศรษฐกิจ ได้มกี ารจัดทาแนวปฏิบตั เิ กี่ยวกับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(Guide – lines on Occupational Safety and Health Management Systems, ILO – OSH
2001) ขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2544
วัตถุประสงค์ของ ILO – OSH 2001
องค์การย่อมต้องการให้การดาเนินกิจการก้าวหน้ าเป็ นที่ยอมรับของลูกค้า และสร้าง
ภาพลักษณ์ให้กบั องค์การการนาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภั ย ซึ่งมีหลาย
ประเภทเข้ามาดาเนินกิจการ ซึง่ มีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
1. เพื่อเป็ นแนวทางในการคุ้มครองดูแลคนงานให้ปลอดจากอันตรายการบาดเจ็บ การ
เจ็บป่ วยโรคการเสียชีวติ และปลอด จากอุบตั กิ ารณ์ใดๆ ทีเ่ กิดจากการทางาน
2. เพื่อเป็ นกรอบงานระดับชาติ (National Framework) ในการจัดทาระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ภายใต้การสนับสนุนโดยกฎหมาย หรือข้อบังคับของรัฐ
3. เพื่อใช้เป็ นข้อแนะนาในระดับองค์การเกี่ยวกับการบูรณาการส่วนต่างๆ เพื่อกระตุ้น
ให้มสี ่วนร่วมของทุกคนในองค์การ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
รูปแบบของ ILO- OSH 2001
องค์การแรงงานระหว่างประเทศได้จดั ทาแนวปฏิบตั ริ ะบบการจัดการอาชีวอนามัยและ
ความ ปลอดภัยเป็ นแบบสมัครใจ ไม่มภี าระผูกพันทางกฎหมาย มาตรฐานหรือ ข้อบังคับใดๆ
ของรัฐรวมทัง้ ไม่ไ ด้ก าหนดให้ต้อ งมีการขอใบรับรองระบบดังกล่ าว (Certification) ควรมี
641

องค์ประกอบหลัก 5 องค์ประกอบในเรื่อง นโยบายการจัดการการ วางแผนและการนาไปใช้ใน


การประเมินผล และการดาเนินการปรับปรุง
ข้อกาหนดเรื่องนโยบายและความหมาย
ILO – OSH 2001 แยกเป็ น 2 ประเด็นคือ
ประเด็นที่ 1 ลักษณะของหลักการทีค่ วรนามาปฏิบตั ใิ นการจัดทานโยบายอาชีวอนามัย
และความปลอดภัยขององค์การ
ประเด็นที่ 2 การมีส่วนร่วมของคนงาน มุ่งเน้นให้นายจ้างแสดงภาวะผู้นาด้วยการ
ประกาศนโยบายอาชีว อนามัย และความปลอดภัยขององค์การ เพื่อ แสดงถึง วิส ัยทัศ น์
วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายในการดาเนินงาน มุง่ เน้นการมีส่วนร่วมของคนในองค์การเป็ นสาคัญ
และต้องมีความสอดคล้องกลมกลืนกับการจัดการด้านอื่นๆ ขององค์การ และถือ ว่าการมีส่วน
ร่วมของคนงานเป็ นสิง่ สาคัญยิง่ ต่อการดาเนินการต้องร่วมมือกันทัง้ สองฝ่ ายแบบทวิภาค
ข้อกาหนดเรื่องการจัดการและความหมาย 3 ประเด็นหลักๆ คือ
ประเด็นที่ 1 หน้าทีค่ วามรับผิดชอบสิง่ สาคัญทีจ่ ะทาให้การจัดการด้านอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัยขององค์การมีและประสิทธิภาพสูงสุด ต้องมีความชัดเจนในการกาหนดอานาจ
หน้ า ที่แ ละความรับ ผิด ชอบให้แ ก่ ส มาชิก ทุก ระดับ ขององค์ก าร จัดกระบวนงานให้เ กิด การ
กระจายอานาจ
ประเด็นที่ 2 ความสามารถเฉพาะและการฝึ กอบรม ความสามารถเฉพาะ หมายรวมถึง
ความรูป้ ระสบการณ์หรือการฝึกอบรม หรือทัง้ 3 ประการรวมกัน ซึง่ นายจ้างสามารถสร้างรักษา
ไว้ซง่ึ ความสามารถเฉพาะดังกล่าวด้วยการจัดโครงการฝึกอบรมทีเ่ หมาะสม
ประเด็นที่ 3 การจัดเอกสารระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จะเป็ น
เหมือนคลังความรู้และศูนย์รวม ประสบการณ์ ของผู้เกี่ยวข้องที่จะนามาใช้ในประกอบการ
ดาเนินงาน และเกิดการพัฒนาไปในทิศทางทีเ่ หมาะสม
ข้อกาหนดเบื้องต้นการวางแผนและการนาไปปฏิ บตั ิ และความหมาย 4 ประเด็น
คือ
ประเด็นที่ 1 การทบทวนเบือ้ งต้น จะเป็ นช่วงทีบ่ ่งบอกถึงสถานะด้านอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัยขององค์การนัน้ จุดเริม่ ต้นของการเตรียมจัดทา ปรับปรุงแก้ไข
ประเด็นที่ 2 การวางแผน การพัฒนา และนาระบบไปปฏิบตั ิ แผนงานจะเป็ นตัวกาหนด
ถึงสิง่ ที่ต้องดาเนินการในทุกองค์ประกอบของระบบ แผนงานจึงควรมีการอธิบายวัตถุประสงค์
กาหนดผูร้ บั ผิดชอบ ระยะเวลาดาเนินการ โดยจัดเรียงลาดับความสาเร็จทีเ่ หมาะสม รวมถึงเรื่อง
จัดหาทรัพยากรเพียงพอและเหมาะสม
ประเด็นที่ 3 วัตถุประสงค์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ต้องให้สอดคล้องกับ
นโยบาย มีความจาเพาะเจาะจงกับขนาด และลักษณะกิจกรรมขององค์การ
642

ประเด็นที่ 4 การป้ องกันอันตราย ILO – OSH 2001 5 ประการคือ


1) มาตรการในการป้ องกันและควบคุมอันตราย โดยยึดหลักการพืน้ ฐานในการป้ องกัน
ควบคุมทีแ่ หล่งกาเนิด ทางผ่านและตัวคนเป็ นลาดับ
2) การจัดการเปลีย่ นแปลงเน้นให้มกี ารชีบ้ ่งและประเมินอันตราย หรือความเสี่ยงก่อน
ทาการเปลี่ยนแปลง สมาชิกทุกคน ในองค์การต้องได้รบั ทราบถึงการจัดการเปลี่ยนแปลง
ดังกล่าวก่อนทาการเปลีย่ นแปลง
3) การป้ องกันการเตรียมพร้อม และการตอบโต้ภาวะฉุ กเฉิน เน้นเรื่องการจัดหาข้อมูล
การสื่อสารและการประสานงาน ทัง้ ภายในและภายนอกองค์การ
4) การจัดซื้อจัดหาควรพิจารณากาหนดคุณสมบัตเิ ฉพาะในการจัดซื้อจัดหาสิน ค้าซึ่ง
อย่างน้อยต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของกฎหมายหรือ
มาตรฐานอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง และต้องศึกษาข้อกาหนดหรือวิธกี ารใช้งาน ตามมาตรฐานของสินค้า
ก่อนการใช้งานอย่างเคร่งครัด
5) การจ้างเหมาต้องพิจารณาคัดเลือกผู้รบั เหมาทีม่ แี ผนการจัดการด้านอาชีวอนามัย
และความปลอดภัยที่ควบคุมทุกพื้นที่ ปฏิบตั ิการและ มีมาตรฐานที่ควบคุมผู้รบั เหมาอย่าง
เคร่งครัด
ข้อกาหนดเรื่องการประเมิ นผลและความหมาย 4 ประเด็นหลักๆ คือ
ประเด็นที่ 1 การตรวจติดตามและการวัดผลการปฏิบตั ิ
ประเด็นที่ 2 การสอบสวนการบาดเจ็บ การเจ็บ ป่ วยโรคและอุบตั กิ ารณ์จากการทางาน
ผลกระทบต่อการปฏิบตั งิ าน
ประเด็นที่ 3 การตรวจสอบ
ประเด็นที่ 4 การทบทวนจัดการ
ข้อกาหนดเรื่องการดาเนิ นการปรับปรุงและความหมาย 2 ประเด็นหลัก คือ
ประเด็นที่ 1 การป้ องกันและแก้ไข
ประเด็นที่ 2 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องรวมถึงการพัฒนาให้ดยี งิ่ ๆ ขึน้
การจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน ILO –
OSH 2001 ในองค์การ มีแนวทางการจัดทา ดังนี้
ขัน้ ตอนที่ 1 ศึ กษาระบบการจัด การอาชี วอนามัย และความปลอดภัย ตาม
มาตรฐาน ILO – OSH 2001 รวมทัง้ กฎหมายและ ข้อบังคับของรัฐหรือข้อกาหนดและข้อตกลง
อื่นทีเ่ กีย่ วข้องกับด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ซึง่ องค์การมารับปฏิบตั ิ
ขัน้ ตอนที่ 2 ประชุมหารือฝ่ ายบริ หารขององค์การ เพื่อให้เห็นพ้องต้องกันทีจ่ ะจัดทา
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยในการทางาน
643

ขัน้ ตอนที่ 3 กาหนดคณะบุคคล ซึง่ ควรมีผูบ้ ริหารระดับสูงและและผู้แทนคนงานร่วม


อยูด่ ว้ ยเพื่อให้ทาการวางแผนในการ จัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยและ
ควบคุมดูแลให้เป็ นไปตามทีก่ าหนดไว้
ขัน้ ตอนที่ 4 เริ่ มดาเนิ นการในทุกองค์ประกอบของระบบ ดังนี้
ในการจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน ILO –
OSH 2001 ในองค์การ ในขัน้ ตอนนี้เป็ นการเริม่ ดาเนินการในทุกองค์ประกอบของระบบเพื่อให้
การจัดทาระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย ให้เป็ นไปตามาตรฐานสากลทีก่ าหนด
ไว้ ซึง่ เริม่ ตัง้ แต่ กาหนดนโยบาย การจัดการ การวางแผนและการนาไปปฏิบตั ิ การประเมิน และ
การดาเนินการปรับปรุง ซึง่ จะอธิบายต่อไปดังนี้
องค์ประกอบที่ 1 นโยบาย
1. ประกาศนโยบายด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ซึ่งลงนามเป็ นลายลักษณ์
อักษรโดยนายจ้างหรือผูบ้ ริหาร ระดับสูงสุดขององค์การ นโยบายได้มาด้วยการมีส่วนร่วมของ
ผูแ้ ทนคนงาน และนายจ้างแสดงความจริงใจสนับสนุ นโดยจัดสรรเวลาและ ทรัพยากร
องค์ประกอบที่ 2 การจัดการ
1. กาหนดให้มผี ูร้ บั ผิดชอบในการดาเนินกิจกรรมภายใต้ องค์ประกอบของระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย
2. ให้มกี ารจัดการเกีย่ วกับการพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ และความสามารถเฉพาะด้าน
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยใน การทางาน
3. ดาเนินการจัดทาเอกสารคู่มอื หรือสื่ออิเลคทรอนิคส์ในระบบอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย
องค์ประกอบที่ 3 การวางแผนและการนาไปปฏิบตั ิ
1. ดาเนินการชีบ้ ่งและประเมินอันตรายหรือความเสีย่ ง
2. จัดทาแผนป้ องกัน เตรียมความพร้อมสาหรับตอบโต้เหตุฉุกเฉิน และต้องจัดให้มกี าร
ฝึกซ้อมแผนดังกล่าวอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้
3. จัดให้มรี ะบบการสอบสวนสาเหตุของการบาดเจ็บ การเจ็บ ป่ วยโรค และอุบตั กิ ารณ์
จากการทางาน และต้อง กาหนดมาตรการป้ องกันเพื่อมิให้เกิดเหตุซ้าอีก
4. จัดทาขัน้ ตอนการเฝ้ าระวังสภาพแวดล้อมในการทางานและสุขภาพอนามัยของ
คนงาน
องค์ประกอบที่ 4 การประเมิน
1. ทาการวัดผลการปฏิบตั ิงานทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยพิจารณาจาก
แผนงาน เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีต่ งั ้ ไว้
644

2. ทาการประเมินระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยคณะบุคลที่
มีความสามารถจากภายใน หรือภายนอกองค์การ ซึง่ เป็ นอิสระจากกิจกรรมที่ตรวจสอบ อย่าง
น้อยปี ละ 1 ครัง้
3. บันทึกและรวบรวมผลการตรวจประเมินระบบและการทบทวนการจัดการไว้เพื่อเป็ น
ข้อมูลในการแก้ไขปรับปรุง
องค์ประกอบที่ 5 การดาเนินการปรับปรุง
1. จัดให้มแี ผนงานและการดาเนินการสาหรับการปรับปรุงอย่างต่ อ เนื่อ งของทุ ก
องค์ประกอบในระบบ
ขัน้ ตอนที่ 5 ประชุ ม หารื อ ฝ่ ายบริ ห ารขององค์ก าร เพื่อ น าผลที่ไ ด้จ ากการ
ประเมินผล มาพิจารณาร่วมกับปั จจัยต่าง ๆ ของ ระบบการจัดการในภาพรวมขององค์การ แล้ว
นามาประกอบการพิจารณาปรับนโยบายแผนงานและเป้ าหมายเพื่อประสิทธิผล ของระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีจ่ ะดาเนินต่อไปอย่างต่อเนื่องและยังยื
่ น

สรุป
จัดระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีวตั ถุประสงค์ เพื่อควบคุมความ
เสีย่ งต่อผูป้ ฏิบตั งิ านและสังคม เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการทางาน และเพื่อความเป็ นรูปธรรมหรือ
สิง่ ที่เห็นได้ชดั เจนของความรับผิดชอบต่อสังคม โดยความสาคัญของระบบการจัดระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีความสาคัญต่อการตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ต่อประโยชน์ในการทาธุรกิจ ต่อความเป็ นระบบการทางาน ต่อคุณภาพชีว ิตทีด่ ขี องผูป้ ฏิบตั งิ าน
และลดความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ จากการทางาน และต่อภาพลักษณ์ทด่ี ตี ่อองค์การ ด้วยความสาคัญ
ของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีหลายหน่ วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน
ได้แก่ องค์กรกาหนดมาตรฐานชาติ องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ องค์กรบังคับใช้กฎหมาย
และองค์ก รวิชาชีพ แนวคิดมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของ
กระทรวงแรงงานประกอบด้วยเรื่อง (1) การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในประเทศ
ไทย (2) ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-OSHMS 2001 และ (3) แนวคิด
ของมาตรฐานระบบการจัดการด้านความปลอดภัยในการทางานของกระทรวงแรงงาน
เป้ าหมายของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตามมาตรฐาน มอก.
18001 (มอก.18001) ได้แ ก่ ลดและควบคุ ม ความเสี่ย งอัน ตรายของลูก จ้า งและผู้เ กี่ย วข้อ ง
เพิม่ ประสิทธิภาพการดาเนินงานขององค์การ และแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์ การ
อย่างเป็ นรูปธรรม และรูปแบบของ มอก. 18001 มีขอ้ กาหนดหลัก ดังนี้ (1) การทบทวนสถานะ
เริม่ ต้น (2) นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (3) การวางแผน (4) การนาไปใช้และการ
ปฏิบตั ิ (5) การตรวจสอบและแก้ไ ข (6) การทบทวนการจัดการ องค์ก ารแรงงานระหว่ า ง
645

ประเทศเป็ นองค์ก ารด้ านแรงงานที่มเี ป้ าหมายสาคัญ เบื้อ งต้นในการส่ งเสริมให้พนักงานใน


องค์การมีโอกาสทางานที่มคี ุณค่า คือทาให้เกิดความปลอดภัยและมีสุขภาพอนามัยที่ดี ซึ่งมี
วัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อเป็ นแนวทางในการคุ้มครองดูแลคนงานให้ปลอดภัย ปราศจากอันตราย
เจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการทางาน เพื่อใช้เป็ นกรอบงานระดับชาติในการจัดทาระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยภายใต้การสนับสนุ นโดยกฎหมายข้อบังคับของรัฐ และเพื่อใช้
เป็ น ข้อ แนะน าในระดับ องค์ก ารเกี่ย วกับ การบูร ณาการส่ ว นต่ า ง ๆ ของระบบการจัด การ -
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ตามมาตรฐาน ILO – OSH 2001 ในองค์การ มีแนวทางการจัดทาตามข้อกาหนดมี 5 ขัน้ ตอน
ได้แก่ 1) ศึกษาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน ILO – OSH
2001 2) ประชุมหารือฝ่ ายบริหารขององค์การ 3) กาหนดคณะบุคคล 4) เริม่ ดาเนินการในทุก
องค์ประกอบของระบบ 5) ประชุมหารือฝ่ ายบริหารขององค์การ
646

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ที่สดุ
1. แนวคิดการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมีปัจจัยเหตุผลใดบ้าง
2. ให้บอกถึงวัตถุประสงค์ของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
3. ให้บอกถึงความสาคัญของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
4. ในการจัดทาระบบตามข้อกาหนดในมาตรฐาน มอก.18001 มีขนั ้ ตอนหลัก
5. อนุกรมมาตรฐาน มอก.18000 แบ่งออกเป็ นกีเ่ ล่ม
6. ให้บอกถึงขัน้ ตอนหลักในการจัดทาระบบการจัดการอาชีอนามัยและความปลอดภัย
7. ให้บอกถึงเป้ าหมายและรูปแบบของ มอก.18001
8. ขัน้ ตอนหลักในการจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก. 18001)
9. ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน มอก.18001 ในองค์การ
10. ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตาม ILO – OSH 2001
647

เอกสารอ้างอิง

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย(มอก.18001)
: ข้อกาหนด.(2554)., ค้นเมือ่ 28 กรกฎาคม 2559, จาก http://cste.sut.ac.th/cste/.
ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๔๓๔๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔), ค้นเมือ่
25 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th.
สราวุธ สุธรรมาสา.(2554). มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.18001.วารสารความ
ปลอดภัยและสุขภาพ. ปี ท่ี 4 ฉบับที่ 15 ประจาเดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2554.
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2554). มาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อตุ สาหกรรม
มอก.18001-2554 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย:
ข้อกาหนด สมอ.: กรุงเทพฯ.
อาดิษ เย็นประสิทธิ ์และจุฑาพนิต บุญดีกุล.(2553). เอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารอาชีว-
อนามัยและความปลอดภัย.(ฉบับปรับปรุง ครัง้ ที่ 1).หน่วยที่ 8-15., มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช.,อรุณการพิมพ์ : กรุงเทพฯ.

British Standards Institute. (2007). BS OHSAS 18001:2007,Occupational Health and


Safety Management Systems-Requirement. BSI: London.
648
649

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 12
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
หัวข้อเนื้ อหา
1. ความรูท้ วไปเกี
ั่ ย่ วกับระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม
2. ความหมาย และความสาคัญของการจัดการเชิงระบบ
3. ระบบ Eco-Management and Audit Scheme (EMAS)
4. อนุกรมมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14000
5. ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001
6. ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001: 2015
7. กฎหมายเกีย่ วกับระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม
8. สรุป
9. แบบฝึกหัด
10. เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิ งพฤติ กรรม


เมือ่ นักศึกษาเรียนบทเรียนนี้แล้วสามารถ
1. อธิบายความหมาย ความสาคัญ วัตถุประสงค์ และ ประโยชน์ของระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้อมได้
2. บอกถึงขัน้ ตอนหลักในการทา EMAS ได้ และการจัดทาอนุ กรมมาตรฐานการจัดการ
สิง่ แวดล้อม ISO 14000 ได้
3. อธิบายถึงการจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001
และกฎหมายเกีย่ วกับระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมได้

วิ ธีการสอนและกิ จกรรมการเรียนการสอน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน (แบบทดสอบก่อนเรียน)
2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย/นาเสนอกิจกรรมกลุ่มหน้าชัน้
3. บรรยายประกอบการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Power-Point
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
5. ฝึกทาแบบฝึกปฏิบตั ิ
650

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารคาสอนรายวิชาการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม
2. แบบฝึกปฏิบตั ิ
4. สื่อภาพประกอบและโปรแกรม Power-Point
5. วีดที ศั น์

การวัดผลและประเมิ นผล
1. ประเมินผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. ประเมินผลจากกิจกรรมมอบหมาย
3. ประเมินผลแบบฝึกปฏิบตั ทิ า้ ยบท
4. ประเมินผลแบบทดสอบประจาภาคการศึกษา
651

บทที่ 12
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม หรือ ISO 14000 เป็ นมาตรฐานสากลสาหรับ
การจัดการสิง่ แวดล้อมขององค์กร ให้เกิดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อมให้น้อยที่สุด โดยองค์กร
สามารถจัดทาระบบ และขอการรับรองได้โดยความสมัครใจแต่ต้องมีการประกาศเป็ นนโยบาย
อย่างชัดเจน และเปิ ดเผยต่อสาธารณชน ISO 14000 ประกอบด้วยมาตรฐานหลายฉบับ ฉบับที่
มีความสาคัญมากทีส่ ุดคือ ISO14001 (Environmental Management System) หรือ มาตรฐาน
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ซึง่ เป็ นมาตรฐานเพียงฉบับเดียวใน อนุ กรม ISO14000 ทีส่ ามารถ
สร้างความเชื่อมันกั ่ บผูเ้ กี่ยวข้อง ได้โดยการออกใบรับรอง (Certificate) เพื่อเป็ นการแสดงว่า
องค์กรได้มกี ารดาเนินธุรกิจที่จะไม่ทาให้มกี ารทาลายสิง่ แวดล้อมหรือทาให้สงิ่ แวดล้อมมีความ
เสียหาย ซึ่งในปั จจุบนั นี้ปัญหาที่สาคัญของโลกคือปั ญหาด้านสิง่ แวดล้อม ได้ปรับเปลี่ยนการ
แก้ปัญหาจากปลายเหตุ มาแก้ปัญ หาที่ต้นเหตุ ของปั ญ หาที่เ กิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ การ
ทาลายสิง่ แวดล้อมโดยมนุ ษย์ ที่มกี ารพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐกิจ
ก้ า วหน้ า ที่น าเทคโนโลยีส มัย ใหม่ เ ข้า มาใช้ รวมทัง้ สารเคมี สารพิษ ต่ า ง ๆ ท าให้ท าลาย
สิง่ แวดล้อม เพื่อสร้างความตระหนักให้กบั ผู้ประกอบการหรือผู้บริหารองค์การช่วยกันดูรกั ษา
สิ่งแวดล้อ มร่ว มกัน โดยอาศัยความร่ว มมือ ทุก ภาคส่ ว นได้แก่ ภาครัฐที่เ ป็ นผู้อ อกกฎหมาย
ต่าง ๆ เกี่ยวกับสิง่ แวดล้อม การให้ความร่วมมือหรือเป็ นสมาชิกกับหน่ วยงานระหว่างประเทศ
เกี่ยวกับมาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างเป็ นระบบและมาตรฐานสากลให้เป็ นการ
กาหนดแนวทางที่สาคัญในการนามาพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้ อมในประเทศไทยเพื่อ
ส่งผลต่อสิง่ แวดล้อม ประชาชน และประเทศชาติต่อไป
มีนกั วิชาการต่าง ๆ ได้ให้ความหมายของคาว่าสิง่ แวดล้อม ไว้ต่าง ๆ ดังนี้
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 และ พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษา
สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้ให้ความหมายของคาว่า สิง่ แวดล้อม (Environment) ไว้ว่า
สิง่ ต่าง ๆ ที่มลี กั ษณะทางกายภาพและชีวภาพทีอ่ ยู่รอบตัวมนุ ษย์ ซึง่ เกิดขึน้ โดยธรรมชาติและ
สิง่ ทีม่ นุษย์ได้กระทาขึน้
ศดินา ภารา (2552, หน้า 18) ได้ให้ความหมายของ สิง่ แวดล้อม (Environment) ไว้ว่า
ทุกสิง่ ทุกอย่างทีร่ อบคอบตัวมนุษย์ทงั ้ ในระยะใกล้ และไกลอาจเป็ นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ
หรือที่มนุ ษย์สร้างขึน้ ทัง้ ที่เป็ นรูปธรรมและนามธรรม เป็ นสิง่ ที่มชี วี ติ และไม่มชี วี ติ ก็ได้ทุกอย่าง
เกีย่ วข้องเป็ นระบบ และมีอทิ ธิพลต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์หรือสิง่ มีชวี ติ
อาดิ ษ เย็ น ประสิ ท ธิ (์ 2553, หน้ า 15-5) ได้ ใ ห้ ค วามหมายของ สิ่ ง แวดล้ อ ม
(Environment) ไว้ว่า ทุกสิง่ ที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มนุ ษย์ก็เป็ นสิ่งแวดล้อมอย่างหนึ่งที่อยู่ร่วมกัน
652

กับสิง่ แวดล้อมอื่น ๆ เช่น อากาศ น้ า ดิน พืช สัตว์ ทรัพยากรธรรมชาติ หรืออื่น ๆ อย่างพึง่ พิง
และสัมพันธ์กนั ความเปลีย่ นแปลงใด ๆ ต่อคุณภาพสิง่ แวดล้อมอย่างหนึ่ง ย่อมส่งผลกระทบต่อ
คุณภาพของสิง่ แวดล้อมอีกย่างหนึ่งไปด้วย
เปลื้อง ณ นคร (ม.ป.ป.) ได้ให้ความหมายของ สิง่ แวดล้อม (Environment) ไว้ว่า สิง่
ต่าง ๆ ทีอ่ ยูโ่ ดยรอบตัวมนุษย์ ทัง้ ทีม่ นุษย์ประดิษฐ์ขน้ึ และทีเ่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติ
กมลทิพ ย์ วงศ์ล ีธ นาภรณ์ (2556, หน้ า 2) ได้ใ ห้ค วามหมายของ สิ่ง แวดล้อ ม
(Environment) ไว้ว่า สิง่ ต่าง ๆ ทีอ่ ยูร่ อบตัวมนุษย์ ซึง่ มีทงั ้ มีชวี ติ และไม่มชี วี ติ ทัง้ ทีเ่ ป็ นรูปธรรม
(จับต้องและมองเห็นได้) และนามธรรม (จับต้องไม่ได้และมองไม่เห็น) ทัง้ ที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติและทีม่ นุษย์ได้สร้างขึน้ มา
จากความหมายข้างต้น สรุปว่า สิ่ งแวดล้อม หมายถึง สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติและที่
มนุษย์สร้างขึน้ ทีเ่ ป็ นรูปธรรมและนามธรรมสิง่ ทีเห็นได้ดว้ ยตาและไม่ส ามารถเห็นได้ดว้ ยตาสิง่ ที่
มีชวี ติ และไม่มชี วี ติ ตลอดจนสิง่ ทีเ่ ป็ นทัง้ คุณและให้โทษ หรืออีกนัยหนึ่ง หมายถึง ทุกสิง่ ทุกอย่าง
ที่อ ยู่ล้อ มรอบตัว มนุ ษ ย์ มีทงั ้ สิ่ง ที่มชี ีว ิต และสิ่งที่ไ ม่มชี ีว ิต ทัง้ สิ่งที่เ ป็ นรูป ธรรมและสิ่งที่เ ป็ น
นามธรรมมีทงั ้ สิง่ ที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติและสิง่ ทีม่ นุ ษย์สร้างขึน้ มีอทิ ธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน
เป็ นปั จจัยในการเกื้อ กู ลซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปั จจัยหนึ่งมีส่ วนเสริมสร้างหรือ ทาลาย
ปั จจัยอื่นอย่างหลีกเลีย่ งมิได้ เป็ นวงจรหรือวัฏจักรทีเ่ กีย่ วเนื่องกันทัง้ ระบบ
สิง่ แวดล้อมสามารถแยกประเภทได้ 2 ประเภท ได้ดงั นี้
1. สิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural Environment) เป็ นลักษณะทีเ่ กิดขึน้ เองตาม
ธรรมชาติ เช่น ป่ าไม้ สัตว์ อากาศ ดิน น้ า มนุ ษย์ สิง่ เหล่านี้ต้องอาศัยสิ่ งแวดล้อมอื่นประกอบ
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทย่อย ได้แก่
1.1 สิ่ง ที่ม ีชีว ิต (Biotic Environment) หรือ เรีย กว่ า สิ่ง แวดล้อ มทางชีว ภาพ
(Biological Environment) เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติมคี ุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของสิง่ ที่มชี วี ติ เช่น
พืช สัตว์ มนุษย์ เป็ นต้น
1.2 สิง่ ที่ไม่มชี วี ติ (Abiotic Environment) หรือ สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ อาจจะ
มองเห็นหรือมองไม่เห็น เช่น แร่ธาตุ อากาศ เสียง เป็ นต้น
2. สิ่ งแวดล้อมที่ มนุษย์สร้างขึ้น (Human made Environment) สภาพดัง้ เดิมเป็ นสิง่
ทีม่ อี ยู่ในธรรมชาติ แล้วมนุ ษย์เป็ นผู้มาดัดแปลง เช่น ถนน บ้านเมือง ตึก เขื่อนกักน้ า เป็ นต้น
ซึง่ เป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นนามธรรม เช่น วัฒนธรรม ประเพณี การเมือง ศาสนา เป็ นต้น
653

ความหมายของการจัดการเชิ งระบบ
ปั จจุบนั โลกหันมาให้ค วามสาคัญ กับสิ่งแวดล้ อ ม โดยมีก ารดาเนินการจัดการในเชิง
ระบบมากขึน้ เพื่อเป็ นการรักษาความสมดุลของธรรมชาติให้สงิ่ มีชวี ติ สามารถดารงอยู่ได้อย่าง
ยังยื
่ น เกิดความปลอดภัย
อาดิษ เย็นประสิทธิ ์, (2553,หน้า 15-5) ได้ให้ความหมายของ การจัดการ ไว้ว่า ภารกิจ
ของบุคคลหรือที่เรียกว่าผูบ้ ริหาร ที่ต้องเข้ามาทาหน้าที่ประสานการทางานของบุคคล ซึ่งหาก
แยกกันทาแล้วงานนัน้ อาจจะไม่ประสบความสาเร็จ
ร็อบบินส์ และ ค็อตเลอร์ Robbins. S.P, & Coulter.M. (2009, p.22) ได้ให้ความหมาย
ของ การจัดการ ไว้ว่า กระบวนการทีท่ าให้งานกิจกรรมต่าง ๆ สาเร็จลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และมีประสิทธิผลด้วยคน และทรัพยากรขององค์การ
การจัดการ หมายถึง กระบวนการทางานหรือกิจกรรมของบุคคลในองค์การ ซึ่งต้อง
อาศัยผู้บริหารทีต่ ้องทาหน้าที่ในการสังการ ่ ประสานงานให้บุคคลในองค์การ ร่วมแรงร่วมใจใน
การท างานเพื่อ ให้บ รรลุ ว ัต ถุ ป ระสงค์ข ององค์ก าร ซึ่ง ระดมทรัพ ยากรทางการบริห ารมา
ดาเนินการโดยอาศัยกระบวนการทางการจัดการ เริม่ ตัง้ แต่การวางแผน การจัดองค์การ การ
อานวยการ การจัดบุคคลเข้าทางาน และการควบคุม เป็ นต้น
กมลทิพย์ วงศ์ล ีธ นาภรณ์ (2556, หน้ า 259) ได้ใ ห้ค วามหมายของ ระบบนิเ วศ
(Ecosystem) ไว้ว่าระบบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ าศัยอยู่ร่วมกันในบริเวณนัน้ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิง่ มีชวี ติ กับสภาพแวดล้อ มของแหล่ งที่อยู่ ได้แก่ ดิน น้ า แสง ใน
ระบบนิเวศจะมีการถ่ายทอดพลังงานระหว่างกลุ่มสิง่ มีชวี ติ กลุ่มต่างๆ และมีการหมุนเวียนสาร
ต่างๆจากสิง่ แวดล้อมสู่สงิ่ มีชวี ติ และจากสิง่ มีชวี ติ สู่สงิ่ แวดล้อม
กรมส่ ง เสริ ม สิ่ ง แว ดล้ อ ม ( ม.ป.ป.,จาก https://web.ku.ac.th/schoolnet) ได้ ใ ห้
ความหมายของ ระบบนิ เ วศ (ecosystem) ไว้ว่ า ความสัม พัน ธ์ข องสิ่ง มีชีว ิต ในแหล่ ง ที่อ ยู่
อาศัย ณ ที่ใ ดที่ห นึ่ ง ความสัม พัน ธ์ม ี 2 ลัก ษณะคือ ความสัม พัน ธ์ร ะหว่ า งสิ่ง มีชีว ิต กับ
สิ่ง ไม่ม ีชีว ิต และระหว่ า งสิ่ง มีชีว ิต กับ สิ่ง มีชีว ิต ด้ว ยกัน เอง โดยมีก ารถ่ า ยทอดพลัง งานและ
สารอาหารในบริเวณนัน้ ๆ สู่สงิ่ แวดล้อม
อาดิษ เย็นประสิทธิ ์ (2553, หน้า 15-5) ได้ให้ความหมายของ การจัดการสิง่ แวดล้อม
เชิงระบบ หรือ ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ไว้ว่า กระบวนการของกิจกรรมที่มขี นั ้ ตอน การ
แก้ไขปรับปรุงปั ญหาสิง่ แวดล้อมขององค์การโดยใช้กระบวนการจัดการ ซึ่งประกอบด้วย การ
วางแผน การดาเนินการ การตรวจสอบ และการแก้ไข ทัง้ นี้ การจัดการสิง่ แวดล้อมเชิงระบบ นัน้
จะต้องดาเนินการเป็ นวงจรที่ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง และเป็ นส่วนหนึ่งของการจัดการที่ต้อง
ดาเนินการทัง้ องค์การ
654

โดยการจัดการสิง่ แวดล้อมจะต้องมีการดาเนินการด้วยระบบการตรวจสอบและติดตาม
โดยอาศัยวงจรเดมมิง่ (Deming cycle) หรือ PDCA มาใช้ในการจัดการ ดังภาพที่ 12.1

การวางแผน

การแก้ไข การดาเนินการ

การตรวจสอบ

ภาพที่ 12.1 วงจรของการจัดการเชิงระบบของ Deming


ทีม่ า: อาดิษ เย็นประสิทธิ ์, 2553, หน้า 15-5.

การจัดการสิง่ แวดล้อม เป็ นกระบวนการจัดทาอย่างเป็ นระบบและเป็ นขัน้ ตอน จึงเป็ น


การดาเนินการโดยใช้หลักการทางการบริหารจัดการทางธุรกิจเพื่อนามาประยุกต์กบั การแก้ไข
ปั ญหาสิง่ แวดล้อมโดยมุ่งเน้นที่การวางแผนที่เป็ นระบบมากกว่าจะเป็ นการแก้ไขปั ญหาที่ปลาย
เหตุ หรือเมือ่ เกิดปั ญหาเกิดขึน้ แล้วจึงหาแนวทางแก้ไข ซึง่ อาจทาให้เกิดความเสีย หายและทาให้
เพิม่ ต้นทุนในการผลิต
ความสาคัญของการจัดการเชิ งระบบ
1. สิง่ มีชวี ติ บนโลกนี้นับว่าเป็ นความสาคัญและมีผลโดยตรงกับคุณภาพชีวติ ของมนุ ษย์
และสรรพสิง่ ทีม่ ชี วี ติ ด้วย ซึง่ มีความสัมพันธ์กนั เป็ นระบบนิเวศ การดูแลสิง่ แวดล้อมจึงเป็ นเรื่องที่
สาคัญ
2. การออกกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมดูแลสิง่ แวดล้อม ทาให้ทุกภาคส่วนหันมาให้
ความสนใจและจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างเป็ นระบบ และดาเนินการด้วยผูท้ ร่ี บั ผิดชอบในองค์การ
ตัง้ แต่ผู้บริหารระดับสูงต้องมีการกาหนดเป็ นนโยบายเพื่อให้พนักงานทุกระดับได้มกี ารปฏิบตั ิ
ตามอย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. การแข่ง ขัน ทางธุ ร กิจ ท าให้อ งค์ก ารต้ อ งให้ค วามส าคัญ ในการจัด การเกี่ย วกับ
สิง่ แวดล้อมมากขึน้ เพื่อให้การดาเนินการผลิตทุกขัน้ ตอนได้มกี ารควบคุ มดูแลให้การผลิตใส่ใจ
ด้านสิง่ แวดล้อมอย่างเป็ นระบบมากขึน้
655

4. การเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุค โลกาภิว ัต น์ ท าให้การดาเนิน ธุ รกิจ ต้อ งปรับ เปลี่ย น


กระบวนการผลิต ด้ ว ยระบบการผลิต ที่เ ป็ น ระบบให้ ม ากขึ้น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง การท า
เทคโนโลยีเ ข้า ช่ว ยในการด าเนิน กิจ กรรมทางการผลิต เพื่อ ให้ เ กิดความทันสมัย และพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ให้ทนั กับการพัฒนาทางนวัตกรรมได้
การจัดการเชิงระบบในการบริหารจัดการองค์การเพื่อให้การดาเนินงานระบบการจัด
สิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานคุณภาพสากล ในบทที่ 11 การจัดการสิง่ แวดล้อมเชิงระบบจะกล่าวถึง
เนื้อหาที่ประกอบด้วยสาระสาคัญ ได้แก่ Eco-Management and Audit Scheme (EMAS)
อนุ กรมมาตรฐานการจัดการจัดสิง่ แวดล้อม (ISO 14000 series) และ การจัดการสิง่ แวดล้อม
ตามมาตรฐานสากล ISO 14001 โดยจะเน้ นสาระเรื่อ ง การจัดการสิ่ง แวดล้อ มตาม
มาตรฐานสากล ISO 14001

ระบบ Eco-Management and Audit Scheme (EMAS)


ISO 14000 เป็ นชุดของมาตรฐานทีป่ ระกอบไปด้วยมาตรฐานหลายเล่ม เริม่ ต้นตัง้ แต่
หมายเลข 14001 จนถึง 14100 (ปั จจุบนั ISO กาหนดเลขสาหรับมาตรฐานในอนุ กรมนี้ไว้ 100
หมายเลข) โดยแต่ละเล่มเป็ นเรื่อ งของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิง่ แวดล้อมทัง้ สิ้น
โครงสร้างของอนุกรมมาตรฐานนี้แบ่งเป็ นหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้
1. Environmental Management System (EMS)
2. Environmental Auditing and Relater Environmental Investigations (EA)
3. Environmental Labeling (EL)
4. Environmental Performance Evaluation (EPE)
5. Life Cycle Assessment (LCA)
6. Terms and Definitions (T&D)
ความหมายของระบบ Eco-Management and Audit Scheme
ระบบ Eco-Management and Audit Scheme (EMAS) คือ มาตรฐานการจัดการ
สิง่ แวดล้อมเชิงระบบขององค์การระบบหนึ่งทีก่ าหนดขึ้นโดยสหภาพยุโรป ตัง้ แต่ พ.ศ.2553 ใช้
สาหรับการประเมิน รายงาน และพัฒนาผลการดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อมของหน่วยงาน
องค์ประกอบหลัก ของ EMAS เป็ นวงจรการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของการวางแผน
การปฏิบตั ติ ามแผน การตรวจสอบ และการทบทวน
ในระยะเริม่ แรก EMAS มีการนาไปปฏิบตั กิ นั เฉพาะในภาคอุตสาหกรรม จนกระทังในปี

2554 จึงขยายไปสู่องค์การทัว่ ๆ ไป
656

EMAS เป็ นระบบการจัดการสิ่งแวดล้อ มภาคสมัค รใจ ใช้ใ นการขอรับการรับรองได้


เหมือนระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001 และในปั จจุบนั EMAS ได้
ผนวกรวม ISO 14001 เข้าไว้เป็ นส่วนหนึ่งของข้อกาหนดของ EMAS
ขัน้ ตอนการทาระบบ Eco-Management and Audit Scheme
การจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อมของสหภาพ
ยุโรป ทีเ่ รียกว่า EMAS นัน้ ประกอบด้วย 7 ขัน้ ตอน
1. การจัดทานโยบายสิ่ งแวดล้อม (Develop an Environmental Policy) นโยบาย
สิง่ แวดล้อม เป็ นเครื่องที่จะแสดงให้เ ห็นถึงสิ่งที่ผู้บริหารมีความมุ่งมันไปให้
่ ถึงตลอดจนหลัก
ปฏิบตั ทิ ่ผี ู้บริหารสูงสุดขององค์การได้กาหนดไว้ให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบและปฏิบตั กิ าหนดโดย
ผูบ้ ริหารสูงสุดและมีการทบทวนเป็ นระยะ สาระสาคัญประกอบด้วยปั ญหาสิง่ แวดล้อมที่สาคัญ
องค์การจะจัดการความมุ่งมันที ่ จ่ ะปฏิบตั ติ ามกฎหมายและความมุ่งมันที่ จ่ ะพัฒนาผลการดาเนิน
งานด้านสิง่ แวดล้อมให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง
2. การทบทวนสถานะเริ่ มต้ น (Initial Environmental Review) เป็ นการทาให้
องค์การทราบถึงสถานะของผลการดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อมในปั จจุบนั ว่ามีสถานะเป็ นอย่างไร
ซึง่ โดยทัวไปจะมี
่ การศึกษาปั ญหาข้อมูลต่าง ๆ และสภาพบริบทขององค์การ ทีเ่ กิดจากการผลิต
และบริก ารรวมถึงกิจกรรมต่ าง ๆ ตลอดจนผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อ มภายในและภายนอก
องค์การ และข้อกาหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวปฏิบตั ิและวิธกี ารจั ดการต่าง ๆ
ของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมทีม่ อี ยูแ่ ล้ว เพื่อให้ทราบถึงปั ญหาสิง่ แวดล้อมทีส่ าคัญ และความ
เป็ นไปได้ใ นการแก้ไ ขปั ญ หาโดยการจัดทาเป็ นโปรแกรมสิง่ แวดล้อ มให้เป็ นแนวทางในการ
ดาเนินการ ตลอดจนการกาหนดเป้ าหมายในลดผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ด้านสิง่ แวดล้อม
3. การจัดทาโปรแกรมสิ่ งแวดล้อม (Develop an Environmental Program) เป็ น
เครื่องมือสร้างความชัดเจนให้กบั นโยบาย สิง่ แวดล้อม โดยการแปลงวัตถุประสงค์อย่างกว้าง
ก าหนดไว้ ใ นนโยบายสิ่ง แวดล้ อ มให้ เ ป็ นวัต ถุ ป ระสงค์ ท่ีม ีค วามเฉพาะเจาะจงมีต ัว ชี้ ว ัด
ความสาเร็จตลอดจนระยะเวลาการบรรลุผ ลที่ชดั เจน รวมทัง้ หน้ าที่ค วามรับผิดชอบในทุก ๆ
ระดับและทรัพยากรการจัดการทีจ่ าเป็ นโดยองค์การจัดทาเป็ นแผนปฏิบตั ใิ นรายละเอียดกับ
ต้องมีการทบทวนเป็ นระยะ
4. การสร้ า งระบบการจัด การสิ่ ง แวดล้ อ ม (Establish an Environmental
Management System) โดยการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบด้านสิง่ แวดล้อมให้มเี พิม่ ขึน้
กาหนดขึน้ ตอนการปฏิบตั งิ านและการควบคุมการปฏิบตั เิ พื่อการลดผลกระทบสิง่ แวดล้อม เช่น
การจัดการในเรื่องการผลิตการจัดซือ้ การจัดการพลังงาน การจัดการของเสียรวมถึงการควบคุม
ทางอ้อม เช่น การจัดการผูร้ บั เหมาการจัดการสินค้าทีน่ าทีน่ าเข้ามาใช้ในองค์การความจาเป็ นใน
การฝึกอบรม ระบบการตรวจวัดและการสื่อสาร
657

5. การตรวจประเมิ นระบบภายในองค์การ (Internal Environmental Audit) เป็ น


การประเมินเป็ นระยะ ๆ ครอบคลุมกิจกรรม และผลกระทบสิง่ แวดล้อมทีส่ าคัญเพื่อประเมินว่า
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมได้รบั การสร้างในองค์การจริงหรือไม่มกี ารปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการ
ปฏิบตั คิ วบคุมการปฏิบตั อิ ย่างเพียงพอสอดคล้องกับนโยบายสิง่ แวดล้อมและโปรแกรมทีก่ าหนด
รวมถึงความสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือไม่อย่างไรและบรรลุผลตามนโยบายและ
โปรแกรมทีก่ าหนดหรือไม่
6. การทบทวน (Review) การทบทวนระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมขององค์การโดย
ผูบ้ ริหารสูงสุดเป็ นระยะเป็ นแนวทางหนึ่งทีท่ าให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
7. การรายงานผลงานด้านสิ่ งแวดล้อม (Environment Statement) องค์การต้อง
จัดทารายงานผลงานด้านสิง่ แวดล้อ มเพื่อ สื่อ สารถึงสาธารณชนและผู้ ส นใจในเรื่องนโยบาย
สิง่ แวดล้อมโปรแกรม และระบบการจัดการ
ระบบการดูแลด้วยความรับผิดชอบ ( Responsible Care)
ระบบ Eco-Management and Audit Scheme เริม่ ดาเนินการมาจากผูป้ ระกอบการ
อุตสาหกรรมเคมีในพ.ศ. 2528 ที่ประเทศแคนาดา โดยมีเจตนารมณ์ท่จี ะแสดงออกถึงความ
ความรับผิดชอบและมีความตระหนักขององค์การทีม่ ตี ่อสาธารณะในเรื่องของผลกระทบจากการ
ผลิตสินค้า ขนส่ง และการใช้สารเคมีของตน
ความหมายของระบบการดูแลด้วยความรับผิดชอบ
ระบบการดูแลด้วยความรับผิดชอบ หมายถึง ระบบของการดูแลรับผิดชอบของการ
จัดการระบบ Eco-Management and Audit Scheme แนวทางปฏิบตั ิด้านการจัดการตาม
ข้อกาหนดเพื่อการพัฒนาสุขอนามัยความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อมให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง ของ
กลุ่มอุตสาหกรรมเคมีท่ใี ช้สาหรับสมาชิกของกลุ่มได้นาไปปฏิบตั โิ ดยให้การดาเนินการเป็ นไป
อย่างมีแบบแผนและมีประสิทธิภาพ
เป้ าหมายของข้อ ก าหนดตามแนวทางปฏิบตั ิด้านการจัดการของการดูแลด้ว ยความ
รับผิดชอบ คือการใช้หลักการพืน้ ฐานของ สมาชิกใน 4 เรือ่ ง
1. พัฒนาผลการดาเนินงานอย่างเนื่องในเรื่องในเรื่องการดูแลสุขภาพ อนามัยความ
ปลอดภัยและการพิทกั ษ์สงิ่ แวดล้อมของธุรกิจทัง้ หมดเพื่อให้เกิดผลตามโปรแกรม
2. แสวงหาและตอบสนองให้ดขี น้ึ ต่อข้อมูลทีม่ าจากความสนใจของสาธารณชนที่มตี ่อ
ผลิตภัณฑ์และการปฏิบตั ิ
3. แบ่งปั นผลการดาเนินกิจกรรม เพื่อให้พนักงานได้มกี ารปฏิบตั เิ กี่ยวสุขภาพอนามัย
ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อมให้เกิดการเรียนรูร้ ่วมกันในองค์การและชุมชนหรือสาธารณะ ซึ่ง
ทาให้เกิดการประชาสัมพันธ์ดว้ ย
658

4. ทาในสิ่งที่ถู ก และถู กต้อ งรวมถึงมีประสิทธิภาพในการบรรลุ เ ป้ าหมายอย่างมี


ประสิทธิผลทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว
ข้อกาหนดของระบบการดูแลด้วยความรับผิดชอบ
มีข้อกาหนดที่เ ป็ นลักษณะแนวทางปฏิบตั ิด้านการจัดการเพื่อให้องค์การนาไปปฏิบตั ิ
จานวน 6 ข้อ โดย (คณะกรรมการบริหาร Responsible Care 2546 : 2-104) ดังนี้
1. การสร้างความตระหนักต่อทีส่ าธารณชนและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
2. กระบวนการทีป่ ลอดภัย
3. สุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน
4. การป้ องกันการเกิดมลพิษ
5. การจัดจาหน่าย
6. การดูแลผลิตภัณฑ์
วัตถุประสงค์ของระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14000
1. เพื่อให้องค์กรมีความตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการสิง่ แวดล้อมนาไปสู่การ
ช่วยกันคุม้ ครองและรักษาธรรมชาติอย่างมีส่วนร่วม
2. เพื่อให้เกิดการพัฒนาสิง่ แวดล้อมควบคู่กบั การพัฒนาธุรกิจ โดยมุ่งเน้นในการป้ องกัน
มลพิษ (Prevention of Pollution) และการปรับปรุงให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง แล้วยังช่วยลดภาวะ
โลกร้อนอันจะส่งจริยธรรมของผูป้ ระกอบการในการรักษาธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
3. เพื่อให้พนัก งานได้มที ่ที างานที่ปลอดภัยและสร้างระบบธรรมชาติให้เกิดขึ้นใน
องค์การ
4. เพื่อให้องค์การได้เป็ นที่ยอมรับในด้านการผลิตสินค้าและบริการเกี่ยวกับการรักษา
สิง่ แวดล้อม
หลักการสาคัญของการจัดการสิ่ งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001
1. การกาหนดนโยบายสิ่ งแวดล้อม (Environmental Policy) เริม่ แรกของผูบ้ ริหาร
ต้องกาหนดนโยบายด้านสิง่ แวดล้อมขององค์การให้เหมาะสมกับสภาพ ขนาด และผลกระทบต่อ
สิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจากการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การ
2. การวางแผน (Planning) เป็ นการเตรียมการไว้ล่วงหน้าว่าจะทาอะไร ทาอย่างไร
ทาที่ไหน เมื่อใดถึงจะดาเนินการ และจะให้ใครเป็ นผู้รบั ผิดชอบในการกระทาโดยต้องกระทา
ดังนี้
2.1 ระบุลกั ษณะปั ญหาสิง่ แวดล้อม
2.2 พิจารณาข้อกาหนดในกฎหมายและระเบียบอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
3.3 กาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมายด้านสิง่ แวดล้อมให้สอดคล้องกับนโยบาย
3.4 จัดทาโครงการจัดการสิง่ แวดล้อมเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมาย
659

3. การนาไปปฏิ บตั ิ และการดาเนิ นการ (Implementation & Operation) โดยต้อง


กระทาดังนี้
3.1 จัดโครงสร้างขององค์การและกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อให้การจัดการ
สิง่ แวดล้อมสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2 จัดฝึกอบรมสร้างจิตสานึกและให้ความรูด้ า้ นสิง่ แวดล้อมแก่บุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ าน
ในลักษณะทีอ่ าจก่อให้เกิดผลกระทบสาคัญต่อสิง่ แวดล้อม
3.3 กาหนดลักษณะและขัน้ ตอนการติดต่อสื่อสารทัง้ ภายในและภายนอกองค์การ
3.4 จัดทาและควบคุมระบบเอกสารด้านการจัดการสิง่ แวดล้อม
3.5 ควบคุมการดาเนินงานในกิจกรรม ซึ่งเกี่ยวข้องกับลักษณะปั ญหาสิง่ แวดล้อม
เพื่อให้บรรลุนโยบาย วัตถุประสงค์ และเป้ าหมายทีก่ าหนด
3.6 เตรียมพร้อมเพื่อรับสถานการณ์หากเกิดเหตุฉุกเฉิน รวมถึงการป้ องกันและ
บรรเทาด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กีย่ วกับสถานการณ์ดงั กล่าว
4. การตรวจสอบและการปฏิ บตั ิ การแก้ไข (Checking & Corrective Action)
4.1 เฝ้ าติดตามและวัดผลในกิจกรรมซึง่ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
4.2 ดาเนินการแก้ไขและป้ องกันในสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข้อกาหนด
4.3 ตรวจติดตามประสิทธิภาพของการแก้ไขและการป้ องกัน
5. ทบทวนระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม
โดยผู้บริหารระดับสูงขององค์การเป็ นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ ใจว่าระบบที่ได้จดั ทาขึน้ มี
ความเหมาะสมเพียงพอ และได้นาไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อกาหนดในการจัดการสิง่ แวดล้อมตามหลักของสากล ต้องอาศัยหลักการที่สาคัญใน
การด าเนิ น งานให้ เ ป็ นตามข้ อ ก าหนดหลัก การส าคัญ ของการจัด การสิ่ง แวดล้ อ มตาม
มาตรฐานสากล ISO 14001 ซึง่ มีหลักการทีส่ าคัญ 5 ขัน้ ตอน เป็ นการดาเนินการเป็ นวงจรไม่ม ี
วันสิ้นสุด เริม่ ตัง้ แต่ การกาหนดนโยบายสิง่ แวดล้อม การวางแผน การนาไปปฏิบตั ิและการ
ดาเนินการ การตรวจสอบและการปฏิบตั กิ ารแก้ไข และทบทวนระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ซึง่
สามารถแสดงในภาพที่ 12.2
660

ภาพที่ 12.2 วงจรของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search?q, 2559.

ประโยชน์ ของระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14000


1. ลดต้ นทุนในระยะยาว เนื่องจากการจัดการสิง่ แวดล้อมที่เหมาะสมทาให้ช่วยสิ่ง
ต่อไปนี้
1.1 ลดภาระค่าใช้จา่ ย เนื่องจากมีการจัดการสิง่ แวดล้อมทีเ่ หมาะสม เช่น การจัดการ
ทรัพยากร การจัดการของเสีย (waste management)
1.2 ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงานน้อยลง
1.3 ค่าใช้จา่ ยในการแก้ไขปั ญหาน้อยลง
1.4 ค่าใช้จา่ ยในการบาบัดน้อยลง
2. ผลกระทบทางการค้า
2.1 เป็ นเงือ่ นไขหรือสิทธิพเิ ศษทางการค้า
2.2 เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขัน และเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันการตลาด
3. ชื่อเสียง และการยอมรับ ซึง่ จะได้รบั การยอมรับจากหน่ วยงานทีม่ สี ่วนเกี่ยวข้องทัง้
ภาครัฐและเอกชน ได้แก่ จากสถาบันการเงิน ประกันภัย ผูล้ งทุน ดังนี้
3.1 เป็ นทีย่ อมรับของสังคม เกิดภาพลักษณ์ทด่ี ตี ่อองค์กร
3.2 เป็ นทีน่ ่าเชื่อถือของสถาบันการเงินทีป่ ล่อยกูใ้ ห้โครงการ
3.3 เป็ นทีน่ ่าเชื่อถือ และลดความเสีย่ งของผูร้ บั ประกันภัย
661

4. ลดผลกระทบต่อผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
4.1 ลดผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมต่อชุมชน
4.2 ลดผลกระทบต่อพนักงานภายในองค์ก ารซึง่ ทาให้เกิดสภาพแวดล้อมการทางาน
ทีด่ ี รวมทัง้ มีการป้ องกันในกรณีทม่ี อี ุบตั เิ หตุเกิดขึน้
4.3 สร้ า งความสัม พัน ธ์ อ ัน ดีต่ อ หน่ ว ยงานราชการ การออกข้อ กฎหมายเพื่อ
กาหนดให้หน่ วยงานภาครัฐและเอกชนต้องมีการจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมเนื่องจากให้
มีความตระหนักและรับผิดชอบต่อสังคมโดยส่วนรวมและรวมไปถึงคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องพนักงาน
ในองค์การ ทาให้ตอ้ งผลงานทีด่ ดี า้ นสิง่ แวดล้อมต่อกันทาให้คลายความขัดแย้งต่าง ๆ

มาตรฐานในอนุกรมมาตรฐานการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14000


มาตรฐานในอนุกรมมาตรฐานการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14000
ISO 14000 เป็ นอนุ กรมมาตรฐานที่ประกอบไปด้ว ยหลายมาตรฐาน โดยแต่ล ะ
มาตรฐานเป็ นเรื่องทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดการสิง่ แวดล้อมทัง้ สิน้ ซึง่ สามารถแบ่งได้เป็ น 3 กลุ่ม
หลัก ได้แก่ มาตรฐานทีเ่ กี่ยวกับองค์กรหรือกระบวนการ (Organization-oriented standards)
มาตรฐานที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ (Product - oriented standards) และคาศัพท์และคานิยาม
(Terms and Definitions) โดยสองมาตรฐานแรกจะช่วยให้องค์กรสามารถใช้ในการวางแผนและ
การตัด สิน ใจส าหรับ การจัด การสิ่ง แวดล้อ ม พร้อ มทัง้ ยัง สามารถใช้ส่ ือ สารนโยบายด้า น
สิง่ แวดล้อมขององค์กรไปสู่ลกู ค้าและองค์กรอื่น ๆ ได้อกี ด้วย
เนื่องจากโลกได้มกี ารพัฒนาการด้านต่าง ๆ มากขึน้ ซึง่ การพัฒนาดังกล่าวทาให้มคี วาม
เจริญด้านเศรษฐกิจ การค้า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การตลาด ที่ต้องมีการพัฒนาสินค้าและ
บริก ารให้ม ีก ารเข้าสู่ก ารแข่งขันในตลาดโลกได้รบั ความยอมรับในระดับสากลมากขึ้น การ
ปฏิสมั พันธ์ระหว่างประเทศจึงมีมากขึน้ ตามมาด้วย ด้งนัน้ นานาประเทศจึงได้มคี วามเห็นชอบ
ร่วมกันทีจ่ ะจัดตัง้ องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization for
Standardization: ISO) ขึ้นใน พ.ศ. 2517 เพื่อ ท าหน้ าที่เ ป็ น องค์ก รกลางในการก าหนด
มาตรฐานสากลสาหรับใช้ในการผลิต การค้า และการสื่อสาร
มาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อมมีหลายชุด เรียกว่าเป็ นอนุ กรมมาตรฐาน ISO 14000 คือ
เริม่ ต้นตัง้ แต่หมายเลข 14001 ถึง 14100 (ปั จจุบนั ISO กาหนดตัวเลขสาหรับมาตรฐานใน
อนุ กรมนี้ไว้ 100 หมายเลข) อนุ กรมมาตรฐาน ISO 14000 ดาเนินการโดยคณะกรรมการด้าน
เทคนิคชุดที่ TC207 (Technical Committee 207) คณะอนุ กรรมการด้านเทคนิค (Sub
Committee; SC), กลุ่มคณะทางาน (Working Group; WG) คณะกรรมการดูแลเรื่องคาศัพท์
(TCG -Terminology Co-ordination Group)
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมเป็ นแกนกลางที่สาคัญของมาตรฐาน ISO 14000 และ
จัดเป็ นส่วนหนึ่งของระบบบริหารทัง้ หมดเช่นเดียวกับการบริหารธุรกิจรวมทัง้ โครงสร้างของ
662

องค์ก าร ความรับผิดชอบในการทางานขัน้ ตอนกระบวนการ และการจัดการทรัพยากร เพื่อ


กาหนดและนานโยบายด้านสิง่ แวดล้อมขององค์การนัน้ ๆ ไปปฏิบตั ิ โดยมุ่งทีจ่ ะปรับปรุงผลการ
ดาเนินงานทีม่ ผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนื่อง มาตรฐาน ISO14000 จะครอบคลุมถึงการ
ฝึ กอบรมพนักงาน การจัดการด้านความรับผิดชอบ และระบบต่าง ๆที่ต้องทางาน มาตรฐาน
ISO 14000 ซึง่ ประกอบด้วย
1) ISO 14000 - หลักเกณฑ์ทวไปของการจั
ั่ ดการด้านสิง่ แวดล้อม
2) ISO 14001,14004 - ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม
3) ISO 14010,14012 - การตรวจสอบสิง่ แวดล้อม
4) ISO 14031 - การตรวจสอบพฤติกรรมด้านสิง่ แวดล้อม
ดังนัน้ มาตรฐาน ISO 14000 นี้เป็ นมาตรฐานที่มวี ัตถุประสงค์เพื่อให้องค์กรต่างๆ
นาไปใช้ในลักษณะของการส่งเสริมสนับสนุ นเพื่อให้เกิดการจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้อมทีด่ ี
หน่ วยงานที่จะรับเอามาตรฐาน ISO 14000 ไปใช้นัน้ สามารถที่จะนาไปใช้โดยทัวทั ่ ง้
องค์กร หรืออาจจะดาเนินการเฉพาะหน่ วยย่อยเพีย งหน่ วยต่างจากความยืดหยุ่นข้อนี้ จึงนิยม
นาไปใช้กาหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการจัดการระบบสิง่ แวดล้อมในอุตสาหกรรมขนาดเล็กและให้
สามารถนาไปใช้ได้อย่างประสบผลสาเร็จในการดาเนินธุรกิจให้สามารถแข่งขันกับ องค์การระดับ
สากลได้
ความหมายของอนุกรมมาตรฐานการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14000
อนุ กรมมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อม (ISO 14000 series) คือ แนวทางการปฏิบตั ิ
ด้านสิง่ แวดล้อม (Guidance Standard) และข้อกาหนดของมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อม
(Specification Standard) ภาคสมัครใจที่เป็ นมาตรฐานสากล ครอบคลุมตัง้ แต่เรื่องวินัยด้าน
สิ่ง แวดล้อ ม ปั ญ หาสิ่ง แวดล้อ มขององค์ก าร และปั ญ หาสิ่ง แวดล้อ มของผลิต ภัณ ฑ์ (IQCS
Certification 2005: 8)
อนุกรมมาตรฐานด้านการจัดการสิ่ งแวดล้อมประกอบด้วย 5 กลุ่ม ดังนี้
1. มาตรฐานระบบการจัดการด้ านสิ่ งแวดล้อม (Environmental Management
System: EMS) ประกอบด้วย
1.1 ISO 14001: 1996 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม: ว่าด้วยข้อ กาหนดและ
ข้อแนะนาในการใช้ซง่ึ เป็ นมาตรฐานเดียวในอนุกรม
1.2 ISO 14000 ทีส่ ามารถตรวจสอบและให้การรับรองได้โดยหน่ วยงานทีไ่ ด้รบั การ
รับรองระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม (Certification Body) ได้
1.3 ISO 14004: 1996 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม: ข้อแนะนาทัวไปเกี ่ ่ยวกับ
หลักการของระบบและ เทคนิคในการปฏิบตั ิ
663

2. การตรวจสอบประเมิ นการจัดการสิ่ งแวดล้อม (Environmental Auditing and


Related Environmental Investigations: EA) ประกอบด้วย
2.1 ISO 14010: 1996 หลักการทัวไป่
2.2 ISO 14011: 1996 การตรวจประเมินระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม
2.3 ISO 14012: 1996 เกณฑ์คุณสมบัตขิ องผูต้ รวจประเมิน
2.4 ISO 14015: 2001 การตรวจประเมินสิง่ แวดล้อมของหน่ วยงาน
2.5 ISO 19011: 2002 แนวทางการตรวจประเมินระบบบริหารงานคุณภาพ และ
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม (ใช้แทน ISO 14010,14011 และ 14012)
3. ฉลากกับผลิ ตภัณฑ์เพื่ออนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม (Environmental Labeling: EL)
เป็ นการใช้ตลาดเป็ นเครื่องมือในการป้ องกันสภาพแวดล้อมโดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้บริโภค
และผูผ้ ลิตแบบสมัครใจการกาหนดมาตรฐานฉลากเพื่อสิง่ แวดล้อม ประกอบด้วย
3.1 ISO 14020: 2000 หลักการทัวไป ่
3.2 ISO 14021: 1999 แบบที่ 2 การประกาศตนเองเกี่ยวกับการดาเนินงานด้าน
สิง่ แวดล้อม
3.3 ISO 14024: 1999 แบบที่ 1 หลักการและระเบียบปฏิบตั ขิ องการติดฉลาก
สิง่ แวดล้อม
3.4 ISO/TR 14025: 2000 แบบที่ 3 การประกาศดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อมโดย
บุคคลที่ 3
4. การประเมิ น ความสามารถในการจัด การสิ่ ง แวดล้ อ ม (Environmental
Performance Evaluation: EPE) ประกอบด้วย
4.1 ISO 14031: 1999 แนวทางการประเมินผลการดาเนินการด้านสิง่ แวดล้อม
4.2 ISO 14032/TR: 1999 ตัวอย่างการประเมินผลการดาเนินการด้านสิง่ แวดล้อม
5. การประเมิ นผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อมในวงจรชีวิตของผลิ ตภัณฑ์
(Life Cycle Analysis: LCA) ประกอบด้วย
5.1 ISO 14040: 1997 หลักการและระเบียบปฏิบตั ทิ วไป
ั่
5.2 ISO 14041: 1998 ขอบข่ายคาจากัดความและการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์
5.3 ISO 14042: 2000 การประเมินผลกระทบ
5.4 ISO 14043: 2000 การตีความ/การแปลความ
5.5 ISO/TS 14048: 2002 รูปแบบเอกสาร
5.6 ISO/TR 14049: 2000 ตัวอย่างการประยุกต์ใช้
5.7 ISO 14041 คาจากัดความและการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์
664

มาตรฐานอื่นภายใต้ TC 207
1. ISO/TR 14061: 1998 การนามาตรฐาน ISO14001 และ ISO 14004 ไปใช้ใน
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการป่ าไม้
2. ISO/TR 14062: 2002 มาตรฐานการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิง่ แวดล้อม
3. ISO 14063 มาตรฐานการสื่อสารด้านสิง่ แวดล้อม
4. ISO/IEC Guide 64 ข้อแนะนาประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล้อมของมาตรฐานผลิตภัณฑ์
สาหรับประเทศไทยได้ออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับ ที่ 2208 (พ.ศ. 2539)
เรื่องกาหนด มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม : ข้อแนะนาทัวไป ่
เกี่ย วกับ หลัก การระบบและเทคนิ ค ในทางปฏิบ ัติโ ดยมีส าระส าคั ญ ว่ า ด้ว ยขอบข่า ยที่ร ะบบ
ข้อแนะนาในการนาหลักการของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมไปใช้ในหน่ วยงานเป็ นการรับเอา
มาตรฐาน ISO 14001 มาใช้เป็ นมาตรฐานของประเทศไทยด้วย
การดาเนิ นการมาตรฐานในอนุกรมมาตรฐานการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14000
ISO 14000 เป็ นอนุ กรมมาตรฐานที่ประกอบไปด้ว ยหลายมาตรฐาน โดยแต่ล ะ
มาตรฐานเป็ นเรื่องทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดการสิง่ แวดล้อมทัง้ สิน้ ซึง่ สามารถแบ่งได้เป็ น 3 กลุ่ม
หลัก ได้แก่ มาตรฐานทีเ่ กี่ยวกับองค์กรหรือกระบวนการ (Organization-oriented standards)
มาตรฐานที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ (Product- oriented standards) และคาศัพท์และคานิยาม
(Terms and Definitions) โดยสองมาตรฐานแรกจะช่วยให้องค์กรสามารถใช้ในการวางแผนและ
การตัด สิน ใจส าหรับ การจัด การสิ่ง แวดล้อ ม พร้อ มทัง้ ยัง สามารถใช้ส่ ือ สารนโยบายด้า น
สิง่ แวดล้อมขององค์กรไปสู่ลกู ค้าและองค์กรอื่น ๆ ได้อกี ด้วย
1. มาตรฐานที่ เกี่ยวกับองค์กร เป็ นกลุ่มมาตรฐานทีอ่ ธิบายและแนะนาเกี่ยวกับการ
จัด ตัง้ การด าเนิ น งาน และการประเมิน ผลระบบการจัด การสิ่ง แวดล้ อ ม ( Environmental
Management System: EMS) ซึง่ ประกอบด้วยมาตรฐานต่าง ๆ ดังนี้
1.1 ระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม (Environmental Management System:
EMS) เป็ น มาตรฐานควบคุ ม ระบบการจัดการสิ่ง แวดล้อ มขององค์ก รทัง้ ด้า นนโยบาย การ
วางแผน การปฏิบตั ติ ามแผน การตรวจสอบ และการทบทวนปรับปรุงระบบ ได้แก่
1.1.1 ISO 14001: 2015 ข้อ ก าหนดระบบการจัด การสิ่งแวดล้อ ม
(Environmental Management System Specification) เป็ นข้อกาหนดระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้อม ซึง่ ถือเป็ นกรอบการทางานทีอ่ งค์กรต้องปฏิบตั ติ าม และขอรับการตรวจประเมินเพื่อ
รับรองระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม (EMS Certification)
1.1.2 ISO 14004: 2004 หลักการทัวไปของระบบการจั
่ ดการสิง่ แวดล้อม
(General Guidelines) เป็ นข้อแนะนาด้านหลักการและเทคนิคการจัดการระบบและการใช้ใน
องค์กรใช้เป็ นแนวทางในการปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมทีใ่ ช้อยู่ในปั จจุบนั ให้ดขี น้ึ หรือ
665

เหมาะสมกับองค์กร รวมทัง้ การประสานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมเข้ากับระบบการจัดการ


ต่าง ๆ ทีม่ อี ยูแ่ ล้วในองค์กร สามารถใช้ได้กบั องค์กรทุกประเภท ทุกระดับ
1.2 การประเมิ นและการตรวจประเมิ น (Evaluation and Auditing: EA) เป็ น
มาตรฐานกาหนดวิธกี ารตรวจประเมินด้านสิง่ แวดล้อม การบริหารโปรแกรมการตรวจประเมิน
กิจ กรรมการตรวจประเมิน ความสามารถละการประเมิน คุ ณ สมบัติผู้ต รวจประเมิน เพื่อ ใช้
ปรับปรุงผลการดาเนินงานทางด้านสิง่ แวดล้อม ประกออบด้วย
1.2.1 ISO 14011: 2002 แนวทางการตรวจประเมินและวิธตี รวจประเมินระบบ
การการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม (Guidelines for Environmental Auditing –Audit Procedures-
Auditing of Environmental Management Systems)
1.2.2 ISO 14015: 2001 การตรวจประเมินสิง่ แวดล้อมของหน่ วยงาน
(Environmental Assessment of Sites and Organizations) เป็ นแนวทางสาหรับการตรวจสอบ
ประเมินสถานทีต่ งั ้ และองค์กรในกรณีทม่ี กี ารซือ้ ขายหรือประกอบการตัดสินใจทางธุรกิจโดยการ
บ่งชีป้ ระเด็นด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กี่ยวเนื่องกับกิจกรรมในอดีต ปั จจุบนั และอนาคตของสถานทีต่ งั ้
หรือองค์กรนัน้ ๆ รวมทังระบุ ่ ถงึ ผลกระทบทีจ่ ะเกิดกับธุรกิจ
1.2.3 ISO 1911: 2011 แนวทางการตรวจประเมินระบบการบริการคุณภาพ
และระบบการจัดการ สิง่ แวดล้อม เพื่อเป็ นการบูรณาการ
1.3 มาตรฐานการประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ งานด้ านสิ่ งแวดล้อม (Environment
Performance Evaluation: EPE) ได้แก่ ISO 14031 : 2013 แนวทางการประเมินผลการ
ดาเนินการด้านสิง่ แวดล้อม (Guidelines on Environmental Performance Evaluation) เป็ น
หลักการทัวไปของการวั
่ ดผลการปฏิบตั งิ านด้านสิง่ แวดล้อม ช่วยให้องค์การมีกระบวนการและ
เครื่องมือชีว้ ดั ด้านสิง่ แวดล้อม องค์กรสามารถทาการวัด วิเคราะห์ ตรวจประเมิน รายงาน และ
สื่อสารผลการปฏิบตั งิ านด้านสิง่ แวดล้อมว่าเป็ นไปตามเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้หรือไม่
2 มาตรฐานที่เกี่ยวกับผลิ ตภัณฑ์ เป็ นกลุ่มมาตรฐานทีเ่ กี่ยวกับการประเมินผลกระทบ
ต่อสิง่ แวดล้อมอันเนื่องมาจากการผลิตผลิตภัณฑ์และบริการ ครอบคลุมตลอดวัฏจักรอายุของ
ผลิตภัณฑ์ รวมถึงฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อสิง่ แวดล้อม ประกอบด้วย
2.1 ฉลากเพื่อสิ่ งแวดล้อม (Environmental Labeling: EL) เป็ นมาตรฐานการติด
ฉลากผลิต ภัณ ฑ์ท่ีมสี ่ ว นผลกระทบต่ อ สิ่ง แวดล้อ ม ซึ่งฉลากเพื่อ สิ่ง แวดล้อ มถือ เป็ นกลยุท ธ์
การตลาดชนิ ดหนึ่ งเป็ นเครื่อ งมือ ในการป้ อ งกัน สภาพแวดล้อ มโดยเน้ นการมีส่ ว นร่ว มของ
ผู้บริโภคและผู้ผลิต แบบสมัค รใจ ฉลากเพื่อ สิง่ แวดล้อ มเป็ นฉลากที่มองให้แก่ ผ ลิต ภัณฑ์ท่มี ี
ผลกระทบที่มผี ลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อ มโดยรวมน้ อ ยกว่ า เมื่อ เปรียบเทียบกับผลิต ภัณฑ์ใ น
ประเภทเดียวกัน และมีคุณภาพการใช้งานอยู่ในมาตรฐานเดียวกัน อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์
666

ดังกล่าวไม่ได้รวมถึง ยา เครื่องดื่ม และอาหาร ซึง่ เน้นด้านสุขภาพและความปลอดภัยมากกว่า


ด้านสิง่ แวดล้อม มาตรฐานฉลากเพื่อสิง่ แวดล้อมประกอบด้วย
2.1.1 ISO 14020: 2000 หลักการทัวไปของฉลากสิ
่ ง่ แวดล้อม และคาประกาศ
สิง่ แวดล้อม (Environmental Labels and Declarations-General Principles) เป็ นหลักการ
พืน้ ฐานในการติดฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อสิง่ แวดล้อม โดยแบ่งชนิดของฉลากเพื่อสิง่ แวดล้อมเป็ น 3
ชนิด คือ
2.1.1.1 ฉลากสิง่ แวดล้อมประเภทที่ 1 เป็ นฉลากสิง่ แวดล้อมที่บ่งบอก
ความเป็ นมิต รต่ อ สิ่งแวดล้อ มซึ่ง มอบให้ก ับ ผลิต ภัณฑ์ท่มี ีคุ ณสมบัติต รงตามข้อ ก าหนดของ
หน่วยงานทีท่ าหน้าทีร่ บั รองทัง้ ภาครัฐหรือเอกชน ใช้มาตรฐาน ISO 14020 เป็ นแนวทางในการ
ปฏิบตั ิ โดยพิจารณาผลกระทบสิง่ แวดล้อมตลอดวัฏจักรชีวติ ผลิตภัณฑ์
2.1.1.2 ฉลากสิง่ แวดล้อมประเภทที่ 2 เป็ นฉลากสิง่ แวดล้อมทีร่ บั รองจาก
ตัวผูผ้ ลิตเองโดยใช้มาตรฐาน ISO 14020: 1999, ISO 14022 และ ISO 14023 เป็ นแนวทางใน
การปฏิบตั ิ
2.1.1.3 ฉลากสิง่ แวดล้อมประเภทที่ 3 เป็ นฉลากสิง่ แวดล้อมทีร่ บั รองโดย
บุคคลที่ 3 โดยพิจาณาคุณสมบัตขิ องผลิตภัณฑ์ตลอดวัฏจักรชีวติ ตามมาตรฐาน ISO 14040
และใช้มาตรฐาน ISO 14025 เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิ
2.1.2 ISO 14021: 1999 การประกาศรับรองตนเองด้านสิง่ แวดล้อมสาหรับ
ฉลากสิง่ แวดล้อมประเภทที่ 2 (Environmental Labels and Declarations-Self-declared
Environmental Claims - Terms and Definitions, Type II Environmental Labeling) เป็ น
แนวทางและคาจากัดความเกี่ยวกับการใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ เพื่อสิง่ แวดล้อมที่ผู้ผลิตใช้รบั รอง
ตนเอง อาจอยู่ในรูปของคาแถลงสัญลักษณ์หรือการติดลงบนผลิตภัณฑ์ บรรจุภณ ั ฑ์ แผ่น ผับ
โฆษณาหรือด้วยสื่อโทรทัศน์ มาตรฐาน ISO 14021 จะเน้นไปทีก่ ารใช้คาและคาจากัดความ
ต่างๆ สาหรับการรับรองด้วยตนเอง
2.1.3 ISO 14022 วิธกี ารใช้สญ ั ลักษณ์ของฉลากผลิตภัณฑ์ประเภทที่ 2
(Environmental Labels and Declarations-Self-declared Environmental Claims—Symbols)
เป็ นมาตรฐานว่าด้วยสัญลักษณ์สาหรับผลิตภัณฑ์เพื่อสิง่ แวดล้อมที่ผู้ผลิตใช้รบั รองตนเอง ใช้
เป็ นแนวทางในการใช้สญ ั ลักษณ์สาหรับการกล่าวอ้างด้านสิง่ แวดล้อม ตัวอย่างฉลากสิง่ แวดล้อม
ประเภทที่ 2 แสดงดังในภาพที่ 81 สัญลักษณ์ Mobius Loop เป็ นสัญลักษณ์ภาพทีม่ ลี ูกศร 3
ดอกเรียงกันเป็ นรูปสามเหลีย่ มและข้อความอธิบายด้านล่าง และภาพที่ 82 ดังเช่นพบในถุงของ
ห้างสรรพสินค้าทีป่ ระทับตราว่าถุงนี้สามารถรีไซเคิลได้และของเอสซีจ(ี SCG) ทีป่ ระทับตราบน
บรรจุภณ ั ฑ์กระดาษถ่ายเอกสาร ซึง่ เป็ นการชีแ้ จงของผูผ้ ลิตภัณฑ์ของตนเองดีต่อสิง่ แวดล้อม
2.1.4 ISO 14024 :1999 ฉลากสิง่ แวดล้อม และคาประกาศสิง่ แวดล้อม หรือ
ฉลากสิง่ แวดล้อมประเภทที่ 1 (Environmental labels and declarations - Type I
667

environmental labeling - Principles and Procedures) เป็ นหลักการ ระเบียบปฏิบตั ิ


ข้อ ก าหนดและวิธ ีก ารรับ รองผลิต ภัณฑ์เ พื่อ สิ่ง แวดล้อ มหน่ ว ยงานรับ รอง โดยยึด หลัก การ
ประเมินผลสิง่ แวดล้อมตลอดวัฏจักรอายุของผลิตภัณฑ์ เช่น ฉลากเขียว สาหรับประเทศไทย
ภาพที่ 83 การได้รบั ฉลากเขียวของผลิต ภัณฑ์จะต้อ งให้ความสาคัญต่อ ผลกระทบด้ าน
สิง่ แวดล้อมตลอดวัฏจักรชีวติ ของผลิตภัณฑ์
2.1.5 ISO 14025 : 2006 ฉลากสิง่ แวดล้อม และคาประกาศสิง่ แวดล้อม หรือคา
ประกาศสิง่ แวดล้อมประเภทที่ 3 (Environmental labels and declarations—Type III
environmental declarations—Principles and Procedures) เป็ นหลักการ และวิธปี ฏิบตั สิ าหรับ
ฉลากสิง่ แวดล้อมประเภทที่ 3 เป็ นฉลากทีบ่ ่งบอกถึงผลกระทบของผลิตภัณฑ์ตลอดวัฏจักรชีวติ
คณะกรรมการการตรวจสอบให้เป็ นตามมาตรฐานเพื่อพิจารณาออกฉลากรับรอง

ก ข ค
Recyclable Recycled 100% Recycled Fiber

ภาพที่ 12.3 สัญลักษณ์ของฉลากผลิตภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ


ทีม่ า: http://www.thairohs.org/index.php., 2559.

ภาพที่ 12.4 ตัวอย่างฉลากสิง่ แวดล้อมประเภทที่ 2 ทีม่ ใี ช้ในประเทศไทย


ทีม่ า: http://oknation.nationtv.tv/blog/greenocean/2011/05/15/entry-1
668

ภาพที่ 12.5 ตัวอย่างฉลากเขียวทีม่ ใี ช้ในประเทศไทย


ทีม่ า: มูลนิธโิ ลกสีเขียว, http://www.web.greenworld.or.th/greenworld/local/334, 2559.

2.2 มาตรฐานการประเมิ น วัฏ จักรชี วิต ของผลิ ตภัณ ฑ์ (Life Cycle


Assessment: LCA) เป็ นมาตรฐานวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมของผลิตภัณฑ์ตลอดวัฏ
จักรชีวติ ตัง้ แต่ขนั ้ วัตถุดบิ การผลิต การบริโภค ไปจนถึงการกาหนดขัน้ สุดท้าย ได้แก่
2.2.1 ISO 14040: 2006 การจัดการสิง่ แวดล้อม-การประเมินวัฏจักรชีวติ
หลักการและกรอบการดาเนินงาน (Environmental management-Life cycle assessment-
Principles and frame-work) เป็ นหลักการพืน้ ฐานและขอบเขตของการประเมินผลวัฏจักรชีวติ
ผลิตภัณฑ์ ให้รายละเอียดทีช่ ดั เจนเกีย่ วกับแนวทางปฏิบตั ิ การนาไปใช้ และข้อจากัด
2.2.2 ISO 14044: 2006 การจัดการสิง่ แวดล้อม-การประเมินวัฏจักรข้อ
กาหนดและคาแนะนา (Environmental management-Life cycle assessment-Requirement
and guidelines) กาหนดขึน้ สาหรับการเตรียมการ การดาเนินงาน และการทบทวนข้อผิด พลาด
ในการวิเ คราะห์ข้อ มูล ที่เ กี่ยวกับวัฏจัก รชีว ิต นอกจากนัน้ มาตรฐานนี้ย งั ให้แนวทางในการ
ประเมินผลกระทบตลอดช่วงวัฏจักรชีวติ และการตีความผลการประเมิน รวมทัง้ คุณภาพและ
ลักษณะของข้อมูลต่าง ๆ ทีไ่ ด้มกี ารจัดเก็บรวบรวมด้วย
2.3 ประเด็ น สิ่ ง แวดล้ อ มในมาตรฐานผลิ ต ภัณ ฑ์ (Environmental
Aspects in product Standard: EAPS) ได้แก่ ISO Guide 64: 2008 ข้อแนะนาว่าด้วย
ประเด็นปั ญหาด้านสิง่ แวดล้อมของมาตรฐานผลิตภัณฑ์ (เติมเป็ นมาตรฐาน ISO 14060) ซึง่ เป็ น
มาตรฐานทีว่ ่าด้วยการเพิม่ บทบาทด้านสิง่ แวดล้อม โดยการนาข้อควรพิจารณาด้านสิง่ แวดล้อม
มาใช้เป็ นประโยชน์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อลดผลกระทบต่อ
สิง่ แวดล้อม
669

3 ศัพท์และคานิ ยาม (Terms and Definitions) มาตรฐาน ISO 14050: 2009


คาศัพ ท์และคานิยาม เป็ นมาตรฐานที่รวบรวมคาศัพท์พร้อมคานิยามที่ปรากฏอยู่ใ นอนุ กรม
มาตรฐาน ISO 14000 เพื่อสะดวกต่อการนาไปใช้ให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของมาตรฐาน และ
เพื่อป้ องกันการสับสนทีอ่ าจจะเกิดขึน้
ประโยชน์ ของการประยุกต์ใช้มาตรฐานระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14000
องค์กรที่นามาตรฐาน ISO 18000 ไปปฏิบตั สิ ามารถขอให้หน่ วยงานรับรองให้การ
รับ รองระบบการจัด การสิ่ง แวดล้ อ ม ซึ่ง จะท าให้ อ งค์ ก รสามารถน าไปใช้ ใ นโฆษณาและ
ประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุ นภาพลักษณ์ขององค์กรให้ดี และยังก่อประโยชน์ให้แก่
องค์กร โดยประโยชน์สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ส่วนคือ ประโยชน์ทเ่ี กิดจากการได้รบั รองมาตรฐาน
และประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน ดังนี้
1. การรักษาสภาพแวดล้อมอย่ างยังยื ่ น การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่าง
รวดเร็ว เกิดการรวมกลุ่มกันในลักษณะนิคมอุตสาหกรรม มีวตั ถุประสงค์หลักในการลดต้นทุน
การผลิต โดยใช้ระบบสาธารณูปโภคร่วมกัน แต่ผลกระทบทีต่ ามมาของการรวมกลุ่มดังกล่าวคือ
เป็ น การรวมแหล่ งระบบมลพิษ จากกระบวนการผลิต จนส่ งผลกระทบต่ อ สิ่ง แวดล้อ ม และ
คุณภาพของชุมชน เช่น คุณภาพน้ าเสื่อมโทรมลง การเพิม่ ขึน้ ของขยะอุตสาหกรรม และพื้นที่
ป่ าลดลง เป็ นต้น องค์ก รจึงมีส่ ว นรับผิดชอบเพื่อ ทานุ บารุงรักษาสิ่งแวดล้อ มและดูแลรักษา
สิง่ แวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ดอี ย่างยังยื
่ น เช่น การลดการใช้พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างต่อเนื่อง การนาพลังงานทดแทนมาใช้ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ การปลูกป่ าในพื้นที่
โรงแรม เพื่อสร้างจิตสานึกรักษาสิง่ แวดล้อมให้กบั พนักงาน ผูท้ ม่ี สี ่วนเกี่ยวข้องกับบริษทั ฯ และ
ชุมชนรวมถึงสังคมด้วยเช่นกัน
2. การลดต้นทุน การจัดการสิง่ แวดล้อมทีด่ ี มีการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ละ
ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ช่วยลดปริมาณของเสีย ลดค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการกาจัดมลพิษ
วัสดุ และพลังงานและเป็ นผลให้ต้นทุนต่ า เช่น การใช้พลังงานจากก๊าซ LPG ทดแทนน้ ามันเตา
เพราะเป็ นการประหยัดค่าน้ ามันเชื้อเพลิง โดยราคาของก๊าซ LPG หรือก๊าซธรรมชาติอดั เมื่อ
เทียบกับค่าสมดุล ความร้อ นเท่ากับน้ ามันเบนซิน 1 ลิตร จะมีราคาถู กกว่าประมาณ 50%
นอกจากนี้ยงั ช่วยลดมลภาวะ เนื่องจากการเผาไม้ท่สี มบูรณ์และไม่มสี ารตะกัวเจื ่ อปนของก๊าซ
LPG สามารถช่วยลดมลพิษได้ถงึ 90% และการมีระบบการจัดการน้ าร้อน (Condensate) จาก
Boiler โดยการนาพลังงานความร้อนจากน้ าร้อนมาใช้ ซึง่ ช่วยประหยัดเชือ้ เพลิง และลดต้นด้าน
พลังงานความร้อนได้
3. การเพิ่ มโอกาสในการค้ า การจัดการสิง่ แวดล้อมถูกใช้มาเป็ นเงื่อนไขในการเลือก
ซื้อสินค้าโดยเฉพาะตลาดต่างประเทศ เช่ น ประเทศแถบตะวันตกและอเมริกาจะต่อต้าน ไม่
นาเข้าผลิต ภัณฑ์ท่กี ่ อให้เกิดมลพิษหรือผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อ ม ดังนัน้ ถ้าองค์กรได้รบั การ
670

รับรองระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมจะทาให้การเจรจาทางการค้าสะดวกยิง่ ขึน้ เป็ นผลให้สามารถ


รักษาส่วนแบ่งทางการตลาด และเพิม่ โอกาสในการขยายตลาดในอนาคต
4. การสนั บสนุ นจากสถานบันการเงิ น ประกันภัย และผู้ลงทุ น องค์กรที่มกี าร
จัดการสิง่ แวดล้อมอย่างเป็ นระบบ ผลกระทบต่อชุมชนและความถี่ของความเสีย่ งจะน้อย ได้รบั
การเชื่อถือและลดความเสี่ยงของผู้รบั ประกันภัยทาให้ได้อตั ราเบีย้ ประกันภัยต่ ากว่าปกติ เพิม่
ความเชื่อมันส ่ าหรับผู้ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ นอกจากนี้สถาบันทางการเงินยังพิจารณาให้
สิทธิพิเ ศษในการปล่ อ ยสินเชื่อ มีโอกาสในการได้รบั การส่ งเสริมการลงทุนจากภาครัฐ เช่น
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ทีร่ ะบุไว้ในพระราชบัญญัตสิ ่งเสริมการลงทุนว่าจะให้
ส่ ง เสริม โครงการลงทุ น ที่ม ีม าตรการป้ อ งกัน และควบคุ ม มิใ ห้เ กิด ผลเสีย หายต่ อ คุ ณ ภาพ
สิง่ แวดล้อม
5. การสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้ กบั องค์กร การมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์จรรโลง
สภาพแวดล้อมให้แก่สงั คมส่วนรวม มีการเอาใจใส่ดา้ นสิง่ แวดล้อม เช่น การจัดทาโรงบาบัดน้ า
เสีย จากโรงงานก่ อ นปล่ อ ยสู่ภายนอก การสร้า งโรงเรียน การสร้า งโรงพยาบาล เป็ นผลให้
ภาพลักษณ์องค์กรเป็ นทีย่ อมรับ และการทาอย่างสม่าเสมอจะทาให้เกิดความน่ าเชื่อถือ และใน
ทีส่ ุดมีผลต่อการตลาดและยอดขายของสินค้าและบริการขององค์กร โดยผู้บริโภคมีความมันใจ ่
ว่าจะไม่มสี ่วนในการทาลายสิง่ แวดล้อม

ระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001


ความหมายของระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001
(กรมมาตรฐานอุ ต สาหกรรม, ม.ป.ป., หน้ า 1) ได้ใ ห้ค วามหมายของ การจัด การ
สิง่ แวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14000 ไว้ว่า มาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อม เพื่อเป็ นแนวทาง
ในการจัดการปั ญหาสิง่ แวดล้อม (environment aspects) ขององค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ควบคู่ไปกับการรักษาสิง่ แวดล้อม การป้ องกันมลพิษและการดาเนินธุรกิจขององค์การ
(ฉัตรไชย รัตนไชย, 2553, หน้า 10)ได้ให้ความหมายของ การจัดการสิง่ แวดล้อมตาม
มาตรฐานสากล ISO 14001 ไว้ว่า มาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม (Environmental
management System) ทีไ่ ด้รบั การยอมรับมากทีส่ ุดจากหน่ วยงานและองค์กรทัวโลกโดยเป็
่ น
การจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมไปพร้อมกับการพัฒนาธุรกิจ และเน้นเรื่องของการป้ องกัน
มลพิษและรักษาสิง่ แวดล้อมเป็ นหลัก เพื่อช่วยลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมรวมถึงลดต้นทุนการ
ผลิตในธุรกิจ
องค์ประกอบของระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001 มีองค์ประกอบสาคัญ
3 ประการ คือ
671

1. การป้ องกันมลพิ ษหรือการลดมลพิ ษที่ แหล่งกาเนิ ด (Prevention of


Pollution: PP หรือ P2) คือ การมุ่งหาต้นตอหรือแหล่งกาเนิดของมลพิษให้พบ ทัง้ จากวัตถุดบิ
กระบวนการผลิต การบริการ หรือผลิตภัณฑ์ ทัง้ ที่เกิดขึน้ แล้วจริงและที่คาดว่าน่ าจะเกิดขึน้ ได้
แล้วจึงกาหนดมาตรการป้ องกันหรือลดผลกระทบสิง่ แวดล้อมทีแ่ หล่งกาเนิดนัน้ ๆ ในทุกๆ แหล่ง
และทุกๆ แผนกงานทีเ่ กีย่ วข้อง
2. การปฏิ บตั ิ ตามกฎหมายและข้อกาหนดอื่ นๆ ที่ เกี่ยวข้อง (Legal and
Other Requirements compliance: LC) คือ การไปวิเคราะห์ ติดตามและปฏิบตั ติ ามกฎหมาย
และข้อ ก าหนดต่ า งๆ ที่เ ข้า ข่า ยต้อ งปฏิบ ัติ เช่ น ข้อ ก าหนดด้า นสิ่ง แวดล้อ ม นโยบายด้ า น
สิง่ แวดล้อมของสานักงานใหญ่หรือองค์กรแม่ หรือแม้แต่กติกาสากลระหว่างประเทศ เป็ นต้น
3. การพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างต่ อเนื่ อง (Continual Improvement: CI) คือ การ
ทาให้ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมที่พฒ ั นาการที่ดียงิ่ ๆ ขึ้นไปตามลาดับ เช่น การนาปั ญ หา
สิง่ แวดล้อมเรือ่ งใหม่ๆ มาแก้ไขอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่มุ่งแต่การแก้ปัญหาเพียงเรื่องเดียวตลอดไป
การปรับปรุงนโยบายสิง่ แวดล้อมให้เหมาะสมหรือเข้มงวดมากยิง่ ขึน้ การนาปั ญหาทีพ่ บจากการ
ปฏิบตั ติ ามระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมมาวิเคราะห์และหาทางแก้ไขปรับปรุงให้ดขี น้ึ เป็ นต้น
หลักการของระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามข้อกาหนดของมาตรฐาน ISO 14001 นัน้ ได้นา
หลักการของวงจรการจัดการของเดมมิง่ ที่ประกอบด้วย การวางแผน (Plan : P) การปฏิบตั ิ
(Do : D) การตรวจสอบ (Check : C) และการแก้ไข (Act : A) หรือวงจร P-D-C-A มาใช้ ดัง
แสดงในภาพที่ 85 โดยมีนโยบาย (Policy) เป็ นตัวกากับ และในแต่ละหลักการได้กาหนดแนว
ทางการดาเนินงานไว้ (ISO : 2004 : 5) ดังนี้
1. การวางแผน (Planning) คือ การก าหนดวัต ถุ ประสงค์แ ละกระบวนการที่
จาเป็ นที่จะนาไปสู่การบรรลุวตั ถุประสงค์นัน้ อย่างสอดคล้องกับนโยบายสิง่ แวดล้อมขององค์ก ร
ซึง่ จะเป็ นกาหนดสิง่ จะต้องดาเนินงานไว้ล่วงหน้าว่าจะต้องทาอะไร ทาอย่างไร ทาเมื่อไหร่ ทาที่
ไหน และใครจะต้อ งเป็ น ผู้ด าเนิน การ เป็ นการก าหนดทิศ ทางให้ส ามารถมีห ลัก การในการ
ดาเนินงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ทไ่ี ด้กาหนดไว้
2. การดาเนินการ (Doing) คือ การลงมือปฏิบตั แิ ละจัดการกับกระบวนการที่
เกี่ยวข้องต่างๆ การลงมือปฏิบตั จิ ะต้องกระทาตามทีก่ าหนดไว้ในแผนหรือเป็ นขัน้ ตอนของการ
ปฏิบตั ติ ามแผนทีก่ าหนดไว้
3. การตรวจสอบ (Checking) คือ การตรวจวัดและตรวจสอบกระบวนการกับ
นโยบายสิง่ แวดล้อม วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย กฎหมาย และข้อกาหนดอื่นๆ ด้านสิง่ แวดล้อม
และการรายงานผลการดาเนินงานทีไ่ ด้รบั
672

4. การแก้ไข (Action) คือ การดาเนินการต่างๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการ


จัดการสิง่ แวดล้อม ให้ดขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง

ภาพที่ 12.6 วงจรของข้อกาหนดของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search., 2559.

การจัดทาระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14001


การจัดทาระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14001
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001 : 2015 โดยภาพรวมมีความยืดหยุ่นมากขึน้
เป็ นมาตรฐานสากลที่ใช้เป็ นแนวทางให้องค์กรหรือหน่ วยงานต่างๆ นาไปเป็ นแนวทางในการ
จัดการสิง่ แวดล้อมภายในหน่ วยงานของตนเอง เนื่องจากทุกหน่ วยงานล้วนมีส่วนในการสร้าง
มลพิษทีส่ ่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ผลกระทบทางตรง เช่น การปล่อย
น้ าเสีย และควันเสีย ผลกระทบทางอ้อม เช่น การใช้พลังงานและทรัพยากร (น้ า ไฟฟ้ า และ
กระดาษ เป็ นต้น) จึงกล่าวได้ว่าอุตสาหกรรมการผลิตทุกประเภทและหน่ วยงานต่างๆ หรือแม้
กระทัง้ สถานศึกษา ควรนาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001 ไปใช้
การจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001 ต้องเริม่ ต้นตัง้ แต่ผบู้ ริหารสูงสุดทีจ่ ะ
เป็ นผูส้ ร้างความมุ่งมันให้
่ กบั องค์กร กาหนดนโยบายสิง่ แวดล้อมทีช่ ดั เจนเพื่อเป็ นทิศทางให้แก่
673

องค์กร ให้การสนับสนุ นมีการเตรียมความพร้อมให้แก่พนักงาน และกาหนดผูร้ บั ผิดชอบในการ


ดาเนินงานที่ชดั เจน องค์ก รต้องสร้ างความรู้ค วามเข้าใจและสื่อ สารถึงความสาคัญ ของการ
จัด การสิ่ง แวดล้อ ม รวมถึง การตรวจประเมิน ภายในและการทบทวนความก้ า วหน้ า การ
ปฏิบตั งิ านโดยผูบ้ ริหารสูงสุดอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมเป็ นไปอย่างมี
ประสิทธิผลและเหมาะสมกับองค์กร รวมทัง้ มีการพัฒนาปรับปรุ งอย่าต่อเนื่ององค์กรจึงสามารถ
ดาเนินการขอการรับรองระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001
1. การแสดงความมุ่งมันของผู ่ ้บริ หารต่ อการจัดทาระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม
ของผูบ้ ริ หารสูงสุด
ความมุ่งมันของผู
่ ้บริหารต่อการจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมถือเป็ นประเด็น
สาคัญก่อนที่จะเริม่ จัดทาระบบ ซึ่งนอกจากความมุ่นมันในการด ่ าเนินงานแล้ว จะต้องมีความ
มุ่งมันในการท
่ าให้บรรลุนโยบาย โดยบทบาทหน้าทีข่ องผู้บริหาร คือ ผูบ้ ริหารต้องสนับสนุ นใน
เรือ่ งของทรัพยากร ต้องดาเนินการให้แน่ ใจว่าทรัพยากรทีจ่ าเป็ นต้องใช้สาหรับระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้อมนัน้ มีอยู่เพียงพอ ทัง้ ด้านบุคลากร เทคโนโลยี และการเงิน การจัดให้บุคลากรได้ม ี
การฝึกอบรมและศึกษาดูงานจากหน่วยงานอื่นต้องมีการกาหนดผูร้ บั ผิดชอบทีป่ รึกษาสาหรับทา
หน้าดาเนินการ กาหนดบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ และอานาจไว้อย่างชัดเจน รวมทัง้ ผู้ท่ี
ได้ ร ับ มอบหมายต้ อ งมีก ารติด ตามความก้ า วหน้ า ของการด าเนิ น งาน ระบบควบคุ ม การ
ดาเนินงานให้ได้ตามแผนทีว่ างไว้ และเสนอต่อผูบ้ ริหารสูงสุด ซึง่ จะทาให้เกิดการปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่อง
2. การมอบหมายหน้ าที่รบั ผิดชอบในการดาเนิ นงาน
ผูบ้ ริหารสูงสุดต้องทาหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการดาเนินงานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม
ขององค์ก รการแต่ งตัง้ คณะกรรมการระดับนโยบายและคณะท างานให้พิจ ารณาตามความ
เหมาะสม หลังการแต่ งตัง้ จาเป็ นต้อ งมีการอธิบายบทบาท หน้ าที่ ความรับผิดชอบ วิธ ีการ
ดาเนินงาน พร้อมประกาศให้ทุกคนในองค์กรทราบโดยทาเอกสาร อย่างไรก็ตามการจัดการ
สิง่ แวดล้อม ISO 14001: 2015 ทีไ่ ด้ปรับปรุงใหม่น้ีไม่ได้บงั คับเรื่องการแต่งตัง้ คณะกรรมการที่
ทาหน้าที่ดาเนินการ แต่องค์กรในประเทศไทยยังคงมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินการเพื่อ
ท าหน้ า ที่อ ยู่ ซึ่ง คณะกรรมการเหล่ า นี้ ป ระกอบด้ว ย 3 กลุ่ ม และหน้ า ที่ร ับ ผิด ชอบในการ
ดาเนินงาน ดังนี้
2.1 ตัวแทนฝ่ ายบริ หาร (Management Representative: MR)
2.1.1 บทบาทและหน้าที่
2.1.1.1 จัดตัง้ ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมขึน้ มาโดยการประสานงานกับ
ฝ่ ายต่างๆ
674

2.1.1.2 ควบคุมติดตามให้มกี ารนาระบบไปปฏิบตั ใิ ห้มปี ระสิทธิภาพอย่าง


สม่าเสมอ
2.1.1.3 รายงานผลการดาเนินงานให้ผบู้ ริหารทราบ
2.1.2 คุณสมบัติ
2.1.2.1 เข้าใจกระบวนการขององค์กรเป็ นอย่างดี
2.1.2.2 ควรเป็ นตาแหน่งระดับสูงและรายงานต่อผูบ้ ริหารระดับสูงสุด
2.1.2.3 เข้าใจขัน้ ตอนและข้อกาหนดของ ISO 14001 เป็ นอย่างดี
2.1.2.4 มีมติ รสัมพันธ์ทด่ี ี
2.1.2.5 มีความเป็ นนักบริหารทีด่ ี
2.2 คณะกรรมการอานวยการ (steering Committee)
2.2.1 บทบาทและหน้าที่
2.2.1.1 วางแผนการดาเนินงาน
2.2.1.2 รับนโยบายไปสู่การปฏิบตั ิ
2.2.1.3 ติดตามการดาเนินการ
2.2.1.4 พิจารณา ทบทวน แก้ไขปั ญหาต่าง ๆ
2.2.1.5 ส่งเสริมและควนคุมการดาเนินงาน
2.2.2 คุณสมบัติ
2.2.2.1 เป็ นระดับบริหารของหน่วยงาน ได้แก่ ผูจ้ ดั การแผนก
2.2.2.2 เข้าใจกระบวนการทีต่ นเองรับผิดชอบและภาพรวมเป็ นอย่างดี
2.2.2.3 เข้าใจขัน้ ตอนและข้อกาหนดของ ISO 14001 เป็ นอย่างดี
2.2.2.4 เข้าใจนโยบายและแนวทางอย่างชัดเจน

2.3 คณะทางาน (Working Groups)


2.3.1 บทบาทหน้าที่
2.3.1.1 เป็ นผูน้ าการปฏิบตั ใิ นแต่ละงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
2.3.1.2 รายงานปั ญหา และอุปสรรคต่าง ๆ
2.3.1.3 วิเคราะห์ ทบทวน ศึกษาแนวทางทีป่ ฏิบตั อิ ยูเ่ สมอ
2.3.2 คุณสมบัติ
2.3.2.1 เป็ นระดับหัวหน้างาน
2.3.2.2 เข้าใจงานทีต่ นรับผิดชอบเป็ นอย่างดี
2.3.2.3 เข้าใจนโยบาย วิธกี ารเป็ นอย่างดี
675

2.3.2.4 มีจติ สานึกทีจ่ ะช่วยแก้ไขปรับปรุง ป้ องกันปั ญหาสิง่ แวดล้อม


การจัดอบรมเรื่องระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมภายในองค์กร
การจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมจาเป็ นต้องมีความสอดคล้องตามข้อกาหนดของ
ISO 14001 จึงจาเป็ นต้องมีการจัดการฝึกอบรมให้แก่พนักงานในองค์กร
1. วัตถุประสงค์ของการจัดอบรมเรื่องระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมการจัดการ
ฝึ ก อบรม เป็ นการฝึ ก ทัก ษะและปลู ก จิต ส านึ ก ด้ า นสิ่ง แวดล้ อ มให้ แ ก่ พ นั ก งาน เพื่อ ให้ ม ี
ความสามารถในการรักษาและปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม อีกทัง้ เพื่อให้ตระหนักถึง
1.1 ความสาคัญของการปฏิบตั ิตามนโยบายสิง่ แวดล้อมและระเบียบปฏิบตั ิตาม
ข้อกาหนดของระบบมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อม
1.2 ปั ญหาสิง่ แวดล้อมทีม่ ผี ลกระทบทีส่ าคัญทัง้ ทีเ่ กิดขึน้ อยู่และมีโอกาสทีจ่ ะเกิดขึน้
ในกิจกรรมการทางานและประโยชน์ทเ่ี กิดขึน้ จากการปรับปรุงระบบการทางานของพนักงานให้ดี
ขึน้
1.3 บทบาทหน้ าที่และความรับผิดชอบของการดาเนินงานของพนักงานเพื่อให้
สอดคล้อ งกับ นโยบายสิ่ง แวดล้อ มและระเบีย บปฏิบ ัติท่ีส อดคล้อ งกับ มาตรฐานการจัด การ
สิง่ แวดล้อม รวมทัง้ มาตรการในการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน
1.4 ปั ญหาสิง่ แวดล้อมทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการไม่ปฏิบตั ติ ามระเบียบทีก่ าหนดไว้
2. หัวข้อที่ควรจัดอบรม
2.1 จิตสานึกด้านสิง่ แวดล้อมแก่พนักงานทุกระดับทีจ่ าเป็ น
2.2 จิตสานึกและวิธกี ารดาเนินงาน หน้าที่ ความรับผิดชอบ
2.3 ข้อกาหนดของ ISO 14001 และวิธกี ารดาเนินงาน
2.4 การวิเคราะห์ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม

การประกาศและเผยแพร่ข้อมูลเรื่องระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม
การดาเนินงานจัดระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมและการปฏิบตั ติ ้องอาศัยความร่วมมือ
จากพนั ก งานทุ ก ฝ่ ายและทุ ก ระดับ ควรมีก ารสื่อ สารให้ พ นั ก งานทุ ก คนในองค์ ก รเข้า ใจ
ความสาคัญของการดาเนินงานจัดทาระบบ ISO 14001 อันได้แก่ นโยบายสิง่ แวดล้อม บทบาท
หน้ าที่ และแผนงาน ซึ่งจะช่วยให้พนักงานทุกคนมีจติ ส านึกด้านสิ่งแวดล้อมและร่ว มมือ กัน
การสื่อสารสามารถทาได้หลายทาง เช่น การติดป้ าย ประกาศ บอร์ดบริษัท จอคอมพิวเตอร์
การอบรม และการประชุม
676

การวางแผน การจัดทาสารสนเทศที่เป็ นเอกสาร และการปฏิ บตั ิ จริ ง


1. การวางแผน การก าหนดขอบเขตเป็ น การก าหนดขอบเขตในการวิเ คราะห์
ผลกระทบสิง่ แวดล้อมและขอบเขตการดาเนินงาน โดยสิง่ ที่ต้องพิจารณาสาหรับการกาหนด
ขอบเขตสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท ได้แก่
1.1 การแยกตามกิ จกรรม เป็ นการแยกตามประเภทของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และ
บริการเช่น กิจกรรมของทัง้ บริษทั กิจกรรมระดับแผนก และกิจกรรมระดับกระบวนการ องค์กร
ต้องพิจารณาวางแผนการดาเนินงานให้เหมาะสมกับกิจกรรมแต่ละชนิด เพื่อให้สามารถควบคุม
ปั ญหาที่ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์หรือบริการได้อย่างมีประสิทธิผล
โดยการพิจารณาปั จจัยนาเข้า (Input) และปั จจัยออก (Output) ของแต่ละกิจกรรม ผลิตภัณฑ์
และบริการ ว่ามีส่วนประกอบใดบ้างมีการสร้างปั ญหาต่อสิง่ แวดล้อมหรือไม่ มีกฎหมายประกาศ
ห้ามหรือไม่ มีความสิน้ เปลืองอย่างไรบ้าง มีเศษวัตถุดบิ เหลือเป็ นปั ญหาต่อสิง่ แวดล้อมหรือไม่
สามารถนากลับมาใช้ใหม่หรือนากลับมาแปรรูปได้หรือไม่
1.2 การแยกตามทาเลที่ ตงั ้ ทาเลทีต่ งั ้ ที่กาหนดเป็ นอาณาเขตของกิจกรรมที่อยู่
ภายใต้การควบคุมของการบริหารทีก่ าหนด ได้แก่ ส่วนสานักงาน ส่วนโรงงาน และส่วนการซ่อม
บารุง เป็ นต้น ซึง่ หากแต่ละทาเลมีปัญหาสิง่ แวดล้อมคล้ายๆ กันสามารถดาเนินการและขอการ
รับรองได้ทงั ้ หมด แต่เวลาตรวจสอบจากหน่ วยงานรับรองจะตรวจสอบประมาณหนึ่งในสามของ
ทัง้ หมด โดยการสุ่มตัวอย่างจากหลายๆ ทาเล แต่จาเป็ นต้องมีการตรวจสอบระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้อมภายในองค์กรเอง
1.3 การกาหนดแผนงาน วิธกี ารทีจ่ ะกาหนดควรศึกษาระบบการจัดการทีอ่ งค์กร
มีอยู่ก่อนเปรียบเทียบกับข้อกาหนด ISO 14001: 2015 เพื่อความสอดคล้องตามกิจกรรมที่
องค์กรมีอยู่แล้ว ซึ่งการกาหนดแผนงานเริม่ จากการวิเคราะห์ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม พิจารณา
ข้อกฎหมาย กาหนดนโยบาย กาหนดวัตถุประสงค์ กาหนดแผนกิจกรรมหรือโครงการ และ
จัดทาคู่มอื วิธกี ารต่างๆ โดยสิง่ ทีต่ อ้ งพิจารณาสาหรับการกาหนดแผนงาน ได้แก่ กาลังคน ความ
พร้อมของบุคลากร เวลาของผู้ปฏิบตั ิ จะต้องไม่กระทบต่องานประจา ความพร้อมของวิธกี าร
เครือ่ งมือต่างๆ ทีม่ อี ยู่
2. การจัดสารสนเทศที่เป็ นเอกสาร ระบบเอกสารเดิมตามมาตรฐาน ISO 14001 :
2004 หมายความครอบคลุมทัง้ เอกสาร (Document) ทีเ่ ป็ นข้อมูลทีอ่ ยู่บนสื่อทีจ่ บั ต้องได้และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์และบันทึก (Record) ซึ่งใช้เป็ นหลักฐานการปฏิบตั งิ าน ขณะที่ ISO 14001 :
2015 ได้มกี ารปรับปรุงให้มคี วามสอดคล้องกับระบบเอกสารและบันทึกของ ISO 9001: 2015
และใช้เป็ นคาว่ า “สารสนเทศที่เป็ นเอกสาร (Documented information)” แต่อย่างไรก็ตาม
ข้อกาหนดไม่ได้ระบุไว้ สารสนเทศทีเ่ ป็ นเอกสารตามมาตรฐาน ISO 14001: 2015 จะมุ่งเน้นให้
677

มีการนาไปปฏิบตั งิ านได้จริง มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ มีความต่อเนื่องเป็ นทิศทาง


เดียวกัน มีการฝึกฝน และง่ายต่อการตรวจสอบ
3. การปฏิ บตั ิ จริ ง คือ การเอาระบบที่เ ขีย นไว้มาปฏิบตั ิห รือ ดาเนินการจริง เมื่อ
สารสนเทศที่เป็ นเอกสารและแผนการดาเนินงานหรือแนวทางการทางานถูกเผยแพร่ มีความ
จาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีการอบรมหรือถ่ายทอดให้แก่ผปู้ ฏิบตั งิ านให้สามารถปฏิบตั ติ ามได้
3.1 การติ ดตามความก้าวหน้ าและการควบคุมแผนการดาเนิ นงาน การติดตาม
และควบคุ มการดาเนินงานมีค วามจาเป็ นในการควบคุ มให้งานเป็ นไปตามแผนที่วางไว้ตาม
กรอบระยะเวลาทีก่ าหนดซึง่ สามารถทาได้ 2 แบบ ได้แก่
3.1.1 การติดตามควบคุมโดยคณะกรรมการอานวยการ (Steering Committee)
มีการกาหนดการประชุมติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงานอยู่เสมอ โดยมีการรายงาน
ความก้าวหน้าเปรียบเทียบกับแผนการทีว่ างไว้ และปั ญหา อุปสรรค โดยผูร้ บั ผิดชอบร่วมกันหา
วิธแี ก้ไข โดยต้องกาหนดระยะเวลา วันทีแ่ ละวาระให้ชดั เจน
3.1.2 การติดตามควบคุมโดยผูต้ รวจประเมินภายใน (Internal Auditor) กรณีม ี
ผู้ทาหน้าที่ตรวจสอบหรือผู้ตรวจประเมินภายในองค์กร ผู้ตรวจประเมินภายในซึ่งเป็ นบุคคลที่
เป็ นอิสระจากหน้าทีร่ บั ผิดชอบในกิจกรรมทีถ่ ูกตรวจสอบ ทาหน้าทีต่ รวจสอบความก้าวหน้าเป็ น
ระยะๆ ในเวลาและพืน้ ทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย กาหนดระยะเวลาการตรวจประเมินโดยพิจารณาถึง
สถานะและความสาคัญของกิจกรรม ซึ่งจะจัดทาไว้เป็ นแผนการตรวจประเมิน แล้วนาผลการ
ตรวจประเมินไปรายงานในการประชุม เพื่อสรุป และให้ผถู้ ูกตรวจประเมินดาเนินการแก้ไขต่อไป
3.2 การตรวจประเมิ นภายในทัง้ ระบบ การตรวจสอบเป็ นกระบวนการทีส่ าคัญเพื่อ
ค้นหาความจริงทีอ่ าจบกพร่องหรือหาโอกาสทีจ่ ะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพของการดาเนินงานระบบ
การจัดการสิง่ แวดล้อมขององค์กร ช่วยให้มนใจว่ ั ่ าสามารถนาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมไป
ปฏิบตั ไิ ด้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับนโยบาย และวัตถุประสงค์ดา้ นสิง่ แวดล้อม กฎหมาย
และข้อกาหนดอื่นๆ ซึง่ ช่วยให้เห็นโอกาสของการปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมให้ดขี น้ึ
อย่างต่อเนื่อง องค์กรควรมีการอบรมผูต้ รวจประเมินเรื่องกระบวนการตรวจประเมินระบบการ
จัดการสิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะผูต้ รวจประเมินทีเ่ ป็ นบุคลากรภายในบริษทั ต้องมีการอบรมเป็ น
ระยะๆ ตัง้ แต่ช่วงเริม่ แรกปฏิบตั ิงาน และหลังจากดาเนินการปฏิบตั ิมาได้ช่วงหนึ่ง การเลือก
ผูต้ รวจประเมินภายในองค์กร ควรเลือกผ่านการฝึกอบรม มีความอาวุโส มีความรูค้ วามสามารถ
เข้าใจกระบวนการดี และต้องไม่ตรวจสอบหน่ วยงานของตนเอง เช่น หัวหน้าแผนก นอกจากนี้
ควรมีการกาหนดวิธกี ารตรวจประเมิน การกาหนดความรับผิดชอบ บทบาทความรับผิดชอบ
ของผู้นาตรวจประเมิน บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ต รวจประเมิน บทบาทและความ
รับผิดชอบของผูถ้ ูกตรวจประเมิน และแผนการตรวจประเมิน
678

4. การทบทวนโดยฝ่ ายบริ หาร การทบทวนของฝ่ ายบริหารเป็ นกิจกรรมที่สาคัญ


ประการหนึ่งของผู้บริห ารระดับสูงที่จะคอยตรวจสอบระบบการทางานของระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้อม ทัง้ เป็ นเครื่องแสดงให้พนักงานเห็นว่า ผู้บริหารระดับสูงให้ความสนใจกับงานใน
ระดับ ล่ า ง และยัง แสดงถึง เจตนาที่มุ่ ง มัน่ ของผู้บ ริห ารในการด าเนิ น งานด้า นสิ่ง แวดล้อ ม
การทบทวนโดยฝ่ ายบริห ารด าเนิ น การโดยการจัด ให้ม ีก ารประชุ ม มีป ระธ านที่ป ระชุ ม คือ
ผู้บ ริห ารสู ง สุ ด ขององค์ ก ร ผู้ บ ริห ารสู ง สุ ด ต้ อ งมีบ ทบาทในการทบทวนระบบการจัด การ
สิง่ แวดล้อมขององค์กร ตามแผนทีว่ างไว้เป็ นระยะๆ เพื่อให้แน่ ใจว่ามีการรักษาไว้อย่างต่อเนื่อง
เพื่อความเหมาะสม ความเพียงพอของทรัพยากร และประสิทธิภาพของระบบ การทบทวนนี้จะ
มีก ารประเมินโอกาสในการปรับปรุงและความต้อ งการการเปลี่ยนแปลงในระบบการจัดการ
สิ่ง แวดล้อ ม นโยบายสิ่ง แวดล้อ ม วัต ถุ ป ระสงค์ และเป้ า หมายทางด้า นสิ่ง แวดล้อ มที่ต้ อ ง
ดาเนินการภายใต้เงื่อนไขของข้อกาหนดของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมและข้อกาหนดอื่นที่
ต้องปฏิบตั ิ และต้อ งมีการบัน ทึกผลการทบทวนของฝ่ ายบริหาร รวมทัง้ การจัดเก็บตามรอบ
ระยะเวลาที่เ หมาะสม ทัง้ หมดนี้จะช่ว ยให้ผู้บริห ารสามารถก าหนดกลยุทธ์ด้า นสิ่งแวดล้อ ม
เพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
การขอการรับรองระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม
องค์กรที่ได้รบั การรับรองระบบการจัดการสิง่ แวดล้ อมจะได้รบั ความน่ าเชื่อถือจากทัง้
ลูกค้า สถาบันการเงิน บริษทั ประกันภัยและสังคม ภายหลังการดาเนินงานตามระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้อมตัง้ แต่การกาหนดนโยบาย การวางแผน การนาแผนไปปฏิบตั ิ การตรวจสอบและ
ประเมินผล การทบทวนโดยฝ่ ายบริหาร และมันใจว่ ่ าระบบดังกล่าวมีประสิทธิผลพร้ อมทีจ่ ะขอ
การรับรอง หากองค์กรมีการติดต่อกับต่างประเทศยิง่ มีความจาเป็ นในการต้องขอรับการรับรอง
องค์กรสามารถขอการรับรองระบบได้จากหน่วยงานให้การรับรอง (Certification Body : CB)
1. หน่ วยงานรับรองระบบตามมาตรฐาน ISO 14001 ในประเทศไทย หน่ วยงานที่
ทาหน้าที่รบั รองระบบ ISO 14001 ในประเทศไทยแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท ประเภทแรกคือ
หน่ วยงานภาครัฐ ได้แก่ สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) หรือ Management System
Certification Institute (Thailand) (MASCI) และสานักรับรองระบบคุณภาพ (สรร.) สาหรับ
สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) เดิมทีคอื สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
(สมอ.) ได้ก่อ ตัง้ ขึ้นมาทาหน้ าที่เ ป็ นหน่ ว ยงานให้ก ารรับรองมาตรฐาน คุ ณภาพ การจัดการ
สิง่ แวดล้อม และระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยซึง่ เป็ นองค์กรอิสระ ขึน้ ตรงกับ
กระทรวงอุตสาหกรรม ส่วนสานักรับรองระบบคุณภาพ (สรร.) เป็ นหน่ วยงานทีก่ ่อตัง้ ขึน้ ภายใต้
สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ทีม่ มี าตรฐานการทางานเป็ นไป
ตามหลัก เกณฑ์ส ากลตามมาตรฐาน ISO/IEC 17021 และมาตรฐาน ISO/TS 22003
เป็ นที่ยอมรับทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ หน่ วยงานประเภทที่สอง คือ บริษทั ต่ างชาติท่มี า
679

ให้ บ ริก ารให้ ก ารรับ รองระบบอีก เป็ น จ านวนมาก เช่ น บริษัท SGS (Thailand) Ltd.
บริษทั Bureau Veritas(Thailand) Ltd. บริษทั อินเตอร์เทค จากัด และบริษทั BSI Certification
Services Co., Ltd เป็ นต้น
2. ขัน้ ตอนการขอรับรองระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม
2.1 การคัดเลือกหน่ วยงานผู้ให้ การรับรองระบบ องค์กรควรพิจารณาคัดเลือก
หน่ วยงานผู้ให้การรับรองระบบ โดยคานึงถึงความเชื่อถือของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียต่อหน่ วยงาน
ผูใ้ ห้การรับรอง ความสะดวกและรวดเร็วในการติดต่อ ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ (ค่าพาหนะ
ค่าเดินทาง ค่าที่พกั ค่ าอาหาร และค่าใช้จ่ายอื่นๆ) ความเป็ นกลางและยุติธรรมในการตรวจ
ประเมิน ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ใ นการตรวจระบบมาตรฐานการจัด การ
สิ่งแวดล้อ ม ความรู้ค วามเข้าใจในกฎหมายของไทย มาตรฐานของคนไทยและปั ญ หาด้า น
สิง่ แวดล้อม รวมทัง้ ระยะเวลาในการตรวจประเมินทีเ่ หมาะสม
2.2 การแจ้งขอการรับรองระบบ การยืน่ ใบสมัครเพื่อขอการรับรองระบบโดยทัวไป ่
แล้ว ประกอบด้ว ยคู่มอื สิ่งแวดล้อ มและขัน้ ตอนปฏิบตั ิง าน บางแห่ ง อาจมีแบบสอบถามเพื่อ
ประกอบการพิจารณาความพร้อมในการตรวจประเมิน เวลาทีใ่ ช้ในการตรวจประเมิน ขอบเขต ผู้
ตรวจสอบทีเ่ หมาะสม ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสิง่ แวดล้อมและข้อกฎหมาย และค่าใช้จ่าย จึงค่อยมีการ
ดาเนินงานทาสัญญา
2.3 การนัดหมายและกาหนดการตรวจประเมิ น หน่ วยงานที่ทาหน้าที่รบั รอง
ระบบจะส่งกาหนดการ ระบุวนั เวลา กาหนดการ พร้อมรายชื่อผูต้ รวจสอบให้องค์กรทราบ หาก
ไม่สะดวกก็สามารถแจ้งหน่วยงานรับรองได้
2.4 การตรวจประเมิ นขัน้ ที่ 1คือ การตรวจประเมินเบื้องต้น หน่ วยงานรับรองจะ
เข้า มาที่อ งค์ก ร เพื่อ ตรวจสอบเอกสาร ดูข้อ ก าหนดหลัก เบื้อ งต้น และศึก ษาลัก ษณะงาน
ลักษณะปั ญหาและผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม พร้อมทัง้ พิจารณาความพร้อมขององค์กร ทัง้ นี้
นามาใช้เป็ นข้อมูลในการประมาณจานวนผูต้ รวจประเมิน และระยะเวลา
2.5 การตรวจประเมิ นขัน้ ที่ 2 หรือการตรวจประเมิ น โดยหน่ วยงานรับรองจะทา
การตรวจสอบระบบการจัดการทัง้ แผนงาน การตรวจสอบจากหน่วยงานภาครัฐ จะมีคณะผูต้ รวจ
ประเมินมาทาการตรวจสอบ และเสนอคณะกรรมการพิจารณา ส่วนการตรวจสอบโดยหน่ วยงาน
ภาคเอกชน จะมีคณะผู้ตรวจประเมินมาทาการตรวจสอบ และพิจารณาผลการประเมินให้ การ
ตรวจสอบการปฏิบตั จิ ะเปรียบเทียบกับข้อกาหนด ISO 14001 : 2015 โดยประเมินทัง้ เอกสาร
บัน ทึก ต่ า งๆ สัม ภาษณ์ ผู้ป ฏิบตั ิง านดูส ภาพของสถานที่ กรณีพ บข้อ บกพร่อ งโดยทัว่ ไปจะ
แบ่งเป็ นข้อบกพร่องสาคัญ (Major) และข้อบกพร่องย่อย (Minor) หากพบว่าเป็ นข้อบกพร่อง
สาคัญอันมีผลให้ระบบล้มเหลวหรือมีผลกระทบต่อระบบ หน่ วยงานรับรองระบบจะพิจารณา
ไม่ให้การรับรอง องค์กรต้องรีบดาเนินการแก้ไข หากพบข้อบกพร่องย่อยที่ไม่มผี ลกระทบต่อ
680

ระบบมากนัก หน่ ว ยงานรับ รองระบบจะพิจ ารณาให้อ งค์ก รปรับ ปรุง แก้ ไ ข และแจ้ง ผลให้
หน่วยงานรับรองระบบทราบเพื่อพิจารณาติดตามผลอีกครัง้
2.6 หน่ วยงานรับรองพิ จารณาออกใบรับรอง เมื่อองค์กรผ่านการตรวจประเมิน
ระบบหน่ ว ยงานรับรองระบบจะออกใบรับรองซึ่งมีอ ายุ 3 ปี และมีก ารตรวจเยี่ยมเยีย น
(Surveillance) โดยผู้ตรวจประเมิน ความถี่ในการตรวจประเมินขึน้ อยู่กบั ข้อกาหนดของแต่ละ
หน่ วยงานรับรอง โดยทัวไปแล้
่ ว ประมาณ 6 เดือนหรือไม่น้อยกว่า 1 ครัง้ ต่อปี อาจเลือกตรวจ
เฉพาะบางหน่วยงานหรือบางกิจกรรมหรือตรวจทัง้ องค์กร
2.7 การตรวจประเมิ นเพื่อต่ ออายุใบอนุญาต ก่อนการครบกาหนดอายุใบรับรอง
ซึ่งก าหนดอายุ 3 ปี หากองค์ก รมีค วามต้อ งการที่จะรับการรับรองระบบต่ อ ต้อ งแจ้งต่ อ
หน่วยงานรับรองระบบ เพื่อนัดหมายมาตรวจประเมินใหม่ ซึง่ เป็ นการตรวจทัง้ ระบบเหมือนการ
ตรวจเพื่อขอการรับรองในครัง้ แรก

แนวคิ ด และสาระส าคัญ ของระบบการจัด การสิ่ ง แวดล้ อ มตามมาตรฐาน


ISO 14001: 2015
1. ระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14001
มาตรฐานการจัด การสิ่ง แวดล้อ มขององค์ก รระหว่ า งประเทศว่ า ด้ว ยการมาตรฐาน
(International Organization for Standardization: ISO) ฉบับแรก ISO 14001 : 1996
ประกาศใช้ในปี ค.ศ.1996 ฉบับที่สอง ISO 14001 : 2004 ประกาศใช้โดยองค์กรระหว่าง
ประเทศว่าด้วยการมาตรฐานในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2004 และฉบับปั จจุบนั เป็ นฉบับที่สาม
ISO 14001 : 2015 ซึง่ มีการประกาศใช้เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2015 ดังนัน้ นับจากนี้ไปการ
รับรองระบบการทางานตามมาตรฐาน ISO 14001 : 2004 ในองค์กรต่างๆ จะสิน้ สุดภายใน
ระยะเวลา 3 ปี และไม่ม ีก ารต่ อ อายุก ารรับ รองในฉบับ ดัง กล่ า วอีกต่ อ ไป องค์ก รจะต้อ ง
ปรับ เปลี่ย นการด าเนิ น งานตามมาตรฐานฉบับ ใหม่ โดยจ าเป็ น ต้ อ งศึก ษาข้อ ก าหนดของ
มาตรฐาน ISO 14001 : 2015 ทาการเปรียบเทียบข้อกาหนดกับการปฏิบตั งิ านในองค์กรว่ามี
ประเด็น ใดบ้า งที่ย งั ด าเนิ น การไม่ส อดคล้อ งกับ ข้อ ก าหนดของมาตรฐานฉบับ ใหม่ แล้ว จึง
ดาเนินการปรับปรุงและประยุกต์ใช้ให้มแี นวทางการดาเนินงานที่สอดคล้องกับข้อกาหนดและ
ส่ ง ผลให้อ งค์ก รเกิด การด าเนิ น งานได้บ รรจุ ต ามที่ก าหนด พร้อ มติด ตามตรวจสอบผลการ
ดาเนินงาน ทาการตรวจประเมินภายใน และทบทวนระบบการจัดการเพื่อให้เกิดการปรับปรุง
อย่างต่อเนื่อง
ปั จจุบนั องค์กรธุ รกิจและโรงงานอุ ตสาหกรรมได้ดาเนินการตามระบบมาตรฐานการ
จัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001 เพื่อแสดงถึงความตัง้ ใจในการรักษาสิง่ แวดล้อมทีท่ ุกคนยอมรับ
ให้ค วามสาคัญกับการลดปริมาณของเสีย การลดการใช้พลังงาน และการใช้ว ตั ถุดิบอย่างมี
ประสิทธิภ าพ สามารถประยุก ต์เ ข้า ไปเป็ นส่ ว นหนึ่ งของระบบการจัดการในองค์กรได้ โดย
681

มาตรฐานนี้เป็ นมาตรฐานสากลระหว่างประเทศไม่ควรนาไปใช้เพื่อเป็ นกาแพงทางการค้า แต่


เพื่อพัฒนาสิง่ แวดล้อมของโลก ความสาเร็จของการดาเนินงานขององค์กรจะเกิดขึน้ อยู่กบั ความ
ร่วมแรงร่วมใจของพนักงานทุกระดับ ทุกฝ่ าย โดยเฉพาะผูบ้ ริหารระดับสูง เมื่อองค์กรนาระบบ
การจัดการสิง่ แวดล้อมไปใช้ จะช่วยให้องค์กรมีการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบ มีการวาง
แนวนโยบาย วัตถุประสงค์ ประสิทธิผลที่ได้รบั และมีการตรวจสอบว่ามีการปฏิบตั ิตามแผน
หรือไม่ ซึ่งการดาเนินงานนี่ต้องกระทาภายใต้เทคโนโลยีท่หี าได้ สอดคล้อยกับสถานะทางการ
เงินหรือด้วยต้นทุนทีเ่ หมาะสมกับองค์กร
2. ลักษณะของระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14001
2.1 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001 สามารถนาไปใช้ และปรับปรุงให้เข้า
กับสภาพวัฒนธรรมของแต่ละองค์กรได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้กบั องค์ กรทุกประเภท ทุก
ขนาด และใช้ได้ทุกสภาพภูมปิ ระเทศ วัฒนธรรม และสภาพสังคม
2.2 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมจะช่วยส่งเสริมให้องค์กรมีการเลือกใช้เทคโนโลยีทด่ี ี
ที่สุดที่มอี ยู่ตามความเหมาะสมของผลที่จะได้รบั ผลกระทบทางด้านสิง่ แวดล้อม ความคุ้มค่า
และความเป็ นไปได้ทางการเงิน
2.3 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมไม่มขี อ้ กาหนดตายตัวให้องค์กรดาเนินการอย่างใด
อย่างหนึ่ง เกินจากสภาพความเป็ นจริงทีเ่ ป็ นไปได้ แต่ควรดาเนินการอยู่ภายใต้เหตุผลทางการ
กฎหมาย ข้อบังคับ และความมุง่ มันที ่ จ่ ะมีการพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่อง
2.4 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมให้ประโยชน์ในกรช่วยประหยัดการใช้ทรัพยากร
การลดการบาบัดของเสียจากกระบวนการผลิต ก่อให้เกิดการลดค่าใช้จา่ ย
2.5 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมไม้ได้เป็ นมาตรฐานเพื่อกีดกันทางการค้า แต่ในทาง
ปฏิบตั ลิ กู ค้าในต่างประเทศมักต้องการผูผ้ ลิตทีไ่ ด้รบั การรับรองระบบ
2.6 ปั ญ หาประการหนึ่งที่องค์กรไม่สามารถรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพคือ มี
แนวความคิดว่าระบบการจัดการดังกล่าวเป็ นอีกระบบหนึ่งนอกเหนือจากระบบการจัดการเดิม
ท าให้พ นัก งานผู้ร ับ ผิด ชอบต้ อ งแบ่ ง เวลามาจัด ท าระบบดัง กล่ า ว ถ้ า พนั ก งานไม่ส ามารถ
ปฏิบตั งิ านได้จะทาให้ระบบล้มเหลว
2.7 มาตรฐานนี้ไม่ได้ตงั ้ ใจจะกล่าวถึงหรือรวมถึงข้อกาหนดหรือมาตาฐานการจัดการ
สุขภาพหรืออาชีวอนามัยและความปลอดภัย อย่างไรก็ดกี ไ็ ม่ได้ตอ้ งให้องค์การยกเลิกการพัฒนา
แต่รวมเอาองค์ประกอบระบบบริหารดังกล่าวนัน้ เข้าไปด้วย แต่กระบวนการให้การรับรองนัน้ จะ
พิจารณาในแง่ของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมเท่านัน้
2.8 ระบบมาตรฐานนี้ใช้หลักการจัดการเช่นเดียวกันกับชุดมาตรฐานการจัดการ
ระบบคุณภาพ ISO 9001 องค์กรทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐานการจัดการคุณภาพ ISO 9001
แล้วสามารถประยุกต์ใช้องค์ประกอบต่างๆ ร่วมกันได้ แต่อาจมีบา้ งส่วนทีแ่ ตกต่างกันเนื่องจาก
จุดมุ่งหมายและกลุ่มผู้เกี่ยวข้อ งแตกต่างกัน ในขณะที่ระบบการจัดการคุณภาพมุ่งเน้ นความ
682

ต้องการของลูกค้า ส่วนระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมมุ่งเน้นเรื่องความต้องการของฝ่ ายต่างๆ ที่


เกีย่ วข้อง รวมทัง้ ความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ ของสังคมในการปกป้ องสิง่ แวดล้อม
3. ความสัมพันธ์ระหว่างระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมกับวงจร PDCA
ระบบการจัด การสิ่ง แวดล้อ มเป็ นกระบวนการและเครื่อ งมือ ในการจัด การปั ญ หา
สิง่ แวดล้อมทัง้ หมดขององค์กร มีความสามารถในการตอบสนองต่อปั จจัยต่างๆ ทัง้ ภายในและ
ภายนอกที่มกี ารเปลี่ยนแปลงตลาดเวลา และมีพ้นื ฐานส าหรับการปรับปรุงอย่างต่ อ เนื่อง มี
หลัก การในการปฏิบตั ิส อดคล้อ งกับวงจรPlan-Do-Check-Action (PDCA) ที่เ น้ นให้มกี าร
วางแผน การนาแผนไปปฏิบตั ิ การตรวจและการแก้ไขโดยวงจร

ประเด็นภายในและภายนอก ความจาเป็ นและความคาดหวังของ


บริบทของ
ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
องค์กร
ขอบเขตระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม
A
P
A
กาวางแผน

การ
การปรับปรุง สนับสนุนและ
การนาองค์การ ดาเนินงาน

การประเมิน
D
C การ
ดาเนินงาน

ผลลัพธ์ทม่ี ุ่งหวังของ
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม

ภาพที่ 12.7 ความสัมพันธ์ระหว่างวงจร PDCA กับข้อกาหนดมาตรฐาน ISO 14001 : 2015


ทีม่ า: https://www.google.co.th/search., 2559.
683

PDCA จะช่วยให้ผนู้ าระบบ ISO 14001ไปปฏิบตั สิ ามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนใน


ลาดับก่อนหลังของการนาข้อกาหนดแต่ละข้อไปดาเนินการ สาหรับความสัมพันธ์ระหว่างวงจร
PDCA กับมาตรฐาน ISO 14001: 2015 แสดงดังภาพที่ 12.7 โดยบริบทขององค์กร (Context
of the organization) เป็ นตัวกาหนดระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมขององค์กรทีต่ ้องพิจารณาถึง
จุ ด ประสงค์ ด้า นการจัด การสิ่ง แวดล้ อ มผู้ ม ีส่ ว นเกี่ย วข้อ ง ข้อ ก าหนดกฎหมาย กิจ กรรม
ผลิต ภัณฑ์และบริก ารที่ม ีผ ลกระทบต่ อสิง่ แวดล้อม เพื่อนามาใช้ในการวางแผน ซึ่งผู้นาหรือ
ผูบ้ ริหาร ต้องกาหนดนโยบายด้านสิง่ แวดล้อมให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และบริบทองค์กร เมื่อมี
การวางแผนองค์กรต้องนาแผนไปปฏิบตั ใิ ช้ และต้องมีการสนับสนุ น (Support) จากทรัพยากรที่
จาเป็ นสาหรับระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ทัง้ เทคโนโลยี งบประมาณและการมีบุคลากรที่ม ี
ความสามารถและตระหนัก ถึงความสาคัญของระบบ มีการสื่อสารที่เป็ นระบบทัง้ การสื่อ สาร
ภายในและภายนอกองค์กร จัดทาสารสนเทศที่เป็ นเอกสาร การควบคุมเอกสารต่างๆ อย่าง
ประสิท ธิภ าพส าหรับ การดาเนิน งานด้านสิ่ง แวดล้อ ม (Operation) พร้อ มกับ ก าหนดวิธ ีก าร
ตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินหลังจากนัน้ องค์กรต้องตรวจสอบหรือมีการประเมินงานผลการ
ดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อม(Performance evaluation) และประเมินความสอดคล้องของการ
ดาเนินงานกับข้อกาหนดกฎหมาย เพื่อนาไปใช้เป็ นข้อมูลในการทบทวนของฝ่ ายบริหาร และใช้
ในการปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนื่องต่อไป
4. ข้อกาหนดของระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม
วัตถุประสงค์ของมาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม คือ เพื่อให้องค์กรมีแนวทางใน
การปฏิบตั เิ พื่อปกป้ องสิง่ แวดล้อม และตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึ้ น
มีความสอดคล้องกับความต้องการทางเศรษฐกิจและสังคม วิธกี ารของระบบคือ ผูบ้ ริหารระบบ
สูงสุดสามารถใช้ขอ้ มูลจากการจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม เพื่อการสร้างความสาเร็จใน
ระยะ และทางเลือ กที่ส ร้างสรรค์ น าไปสู่การพัฒ นาอย่างยังยื ่ น ได้ โดยการป้ อ งกัน หรือ ลด
ผลกระทบด้านลบต่อสิง่ แวดล้อม การลดปั จจัยทีเ่ ป็ นผลให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อสิง่ แวดล้อม
การสนับสนุนองค์กรให้สามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขให้สอดคล้อง การปรับปรุงการดาเนินงานด้าน
สิง่ แวดล้อม การควบคุมกระบวนการผลิตภัณฑ์ การบริการ ตัง้ แต่การออกแบบ การผลิต การ
กระจายสินค้า การบริโภค และการกาจัด โดยต้องสามารถป้ องกันผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมอัน
เกิดจากการกระทาทีไ่ ม่ตงั ้ ใจได้ตลอดช่วงวัฏจักรชีวติ ความสาเร็จทางการเงินและประโยชน์เป็ น
ผลมาจากการปฏิบตั งิ านด้านสิง่ แวดล้อม ซึ่งใช้เป็ นจุดแข็งทางด้านการตลาดขององค์กร และ
ควรสื่อสารข้อมูลด้านสิง่ แวดล้อมแก่ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย อย่างไรก็ตามมาตรฐานระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้อมจะไม่ทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงกับองค์กร ซึง่ ขอบข่ายข้อกาหนดในมาตรฐานระบบ
การจัดการสิง่ แวดล้อมมีทงั ้ หมด 10 ข้อแบ่งได้ดงั นี้
4.1 ขอบเขต (Scope) มาตรฐานฉบับนี้ระบุถงึ ข้อกาหนดสาหรับระบบการ
จัดการสิ่งแวดล้อ มที่อ งค์ก รสามารถนาไปใช้เพื่อ พัฒนาการดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อ มของ
684

ตนเองได้ องค์กรสามารถนาไปใช้เป็ นแนวทางการจัดการด้านสิง่ แวดล้อมได้อย่างยังยื ่ น ระบบ


การจัดการสิง่ แวดล้อมช่วยให้องค์กรบรรลุผลในการให้คุณค่ากับสิง่ แวดล้อม องค์กร ผูม้ สี ่วนได้
ส่วนเสีย ความสอดคล้องกับนโยบายสิง่ แวดล้อมขององค์กรนาไปสู่ผลลัพธ์ของระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้อมคือ การเพิม่ ประสิทธิภาพในการดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อม การส่งเสริมการปฏิบตั ิ
ตามเงือ่ นไขให้สอดคล้อง และการบรรลุวตั ถุประสงค์ดา้ นสิง่ แวดล้อม
มาตรฐานนี้สามารถใช้ได้กบั องค์กรทุกขนาด ลักษณะ และประเด็นด้านสิง่ แวดล้อมของ
ทุกกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และการบริการ โดยพิจารณาตลอดถึงวัฏจักรชีวติ และมาตรฐานนี้ยงั
สามารถนาไปใช้ไ ด้ทงั ้ หมดหรือ เพียงบางส่ วน แต่ การอ้างถึงความดาเนินงานตามระบบการ
จัดการสิง่ แวดล้อมจะได้รบั การยอมรับเมือ่ ได้ปฏิบตั ติ ามข้อกาหนดทุกข้ออย่างไม่มขี อ้ ยกเว้น
4.2 การอ้างอิ ง (Normative references) มาตรฐานนี้ไม่มกี ารอ้างอิงส่วนนี้ม ี
ไว้เพื่อให้ลาดับข้อสอดคล้องกับมาตรฐานระบบการจัดการอื่นๆ
4.3 คาจากัดความ (Terms and Definitions) คาจากัดความมีวตั ถุประสงค์
เพื่อระบุความหมายของคาศัพท์เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันเมือ่ นามาตรฐานไปใช้
4.4 บริ บทองค์กร (Context of the organization) มาตรฐาน ISO 14001 :
2015 การแบ่งการพิจารณาเกี่ยวกับบริบทขององค์กรเป็ น 4 ข้อกาหนด คือ ความเข้าในองค์กร
และบริบทขององค์กร (Understanding the organization and its context) ความเข้าใจ ความ
ต้อ งการและความคาดหวังของผู้มสี ่ วนได้ส่ว นเสีย (Understanding the needs and
expectations of interested parties) การกาหนดขอบเขตการจัดการสิง่ แวดล้อม (Determining
the scope of the environment management) และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อ ม
(environmental management system) กล่าวได้ว่าองค์กรต้องทาความเข้าใจกับภาพรวมและ
ประเด็นสาคัญที่สามารถส่งผลได้ทงั ้ ด้านบวกและด้านลบอันเนื่องมาจากการจัดการขององค์กร
ในเรื่องความรับผิดชอบด้านสิง่ แวดล้อม อีกทัง้ องค์กรยังต้องทาความเข้าใจความต้องการและ
ความคาดหวังของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย อันได้แก่ บุคคลหรือกลุ่มอื่น ๆ ที่ได้รบั ผลกระทบด้าน
สิง่ แวดล้อ ม ซึ่งทัง้ หมดนี้จะนามาใช้ใ นการก าหนดขอบเขตการจัดการสิ่งแวดล้อม และการ
ดาเนินงานของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม
4.5 การนาองค์กร (Leadership) การนาองค์กรตามมาตรฐาน ISO 14001:
2015 มี 3 ข้อกาหนด คือ การนาองค์กรและความมุ่งมัน่ (Leadership and commitment)
นโยบายสิ่ง แวดล้อ ม (Environmental policy) และบทบาทตามโครงสร้า งองค์ก ร ความ
รับผิดชอบและอานาจหน้าที่ (Organizational roles, responsibilities and authority) โดย
ผูบ้ ริหารระดับสูงต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนิน งานด้านสิง่ แวดล้อม และมอบหมายหน้าที่
ความรับผิดชอบด้านสิง่ แวดล้อมให้แก่บุคลากรในองค์กร เพื่อให้ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม
ขององค์กรบรรลุผล
685

4.6 การวางแผน (Planning) มาตรฐาน ISO 14001: 2015 มี 2 ข้อกาหนด


ใหญ่ ข้อกาหนดแรก คือ การปฏิบตั กิ ารความเสี่ยงที่เกี่ยวกับอุ ปสรรคและโอกาส (Actions to
address risk associated with threats and opportunities) ทีอ่ งค์กรจาเป็ นต้องพิจารณาในด้าน
ประเด็น สิ่ง แวดล้ อ ม (Environmental Aspects) การปฏิบ ัติต ามเงื่อ นไขให้ ส อดคล้อ ง
(Compliance obligations) และการปฏิบตั กิ ารการวางแผน (planning action) กล่าวคือ เมื่อ
องค์กรจะวางแผนการดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อมจาเป็ นต้องพิจารณาความเสี่ยงและโอกาสที่
เกี่ย วข้อ งกับ ประเด็น สิ่ง แวดล้อ ม การปฏิบ ัติต ามเงื่อ นไขต่ า ง ๆ อัน ได้แ ก่ กฎหมายและ
ข้อกาหนด รวมทัง้ ความต้องการและความคาดหวังของผู้ท่มี สี ่วนได้ส่วนเสีย และข้อกาหนดที่
สองคือ วัตถุประสงค์สงิ่ แวดล้อมและการวางแผนเพื่อให้สาเร็จ (Environmental objectives and
planning to achieve them) ผูบ้ ริหารสูงสุดจะต้องกาหนดวัตถุประสงค์สงิ่ แวดล้อมทัง้ ระดับกล
ยุทธ์ ระดับยุทธวิธ ี และระดับปฏิบตั กิ าร โดยต้องมีการสื่อสารให้แก่ทุกคนในองค์กรได้ร ั บทราบ
เพื่อการปฏิบตั กิ ารการวางแผนทีน่ าไปสู่การบรรลุวตั ถุประสงค์ดา้ นสิง่ แวดล้อมขององค์กร
4.7 การสนับสนุน (Support) การสนับสนุ นที่สาคัญที่ควรพิจารณาสาหรับ
มาตรฐาน ISO 14001: 2015 ประกอบด้วยการสนับสนุ นด้านทรัพยากร (Resources) ทัง้
ทรัพ ยากรบุ ค คล อุ ป กรณ์ เทคโนโลยีแ ละงบประมาณ สมรรถนะ (Competence) หรือ
ความสามารถของบุค ลากร ความตระหนัก (Awareness) ของบุค ลากรต่ อ นโยบายและการ
ด าเนิ น งานด้ า นสิ่ง แวดล้ อ ม ตลอดจนการสื่อ สาร (Communication) ทัง้ ภายใน (Internal
Communication) และภายนอก (External Communication) และสารสนเทศที่เป็ นเอกสาร
(Documented information) ทีต่ อ้ งมมีการจัดทาและทาให้เป็ นปั จจุบนั (Creating and updating)
ตลอดจนการควบคุมสารสนเทศที่เป็ นเอกสาร (Control of documented information) ให้
สามารถเข้าถึงได้ มีการจัดเก็บและบ่งชีส้ ถานะอย่างเหมาะสม สิง่ เหล่านี้มสี ่วนในการสนับสนุ น
ให้การดาเนินงานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมขององค์กรมีความถูกต้อง เหมาะสม และบรรลุผล
4.8 การดาเนิ นงาน (Operation) การดาเนินงานตามมาตรฐาน ISO 14001:
2015 มี 2 ข้อก าหนด ข้อ กาหนดแรก คือ การวางแผนและการควบคุมการดาเนินงาน
(Operational planning and control) กล่าวคือ การดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อมขององค์กร
จาเป็ นต้องอยู่ภายใต้การควบคุมซึ่งขึน้ อยู่กบั ความเสี่ยงและโอกาส ประเด็นสิง่ แวดล้อม และ
ข้อกาหนดที่ต้องปฏิบตั ิตามของแต่ละกิจกรรมขององค์กรและข้อกาหนดที่สองคือ การเตรียม
ความพร้อมและการตอบสนองต่อภาวะฉุ กเฉิน (Emergency preparedness and response)
ซึง่ จะมีส่วนช่วยลดผลกระทบต่อส่องแวดล้อมจากกิจกรรมขององค์กร และมันใจได้ ่ ว่าจะบรรลุ
วัตถุประสงค์ทต่ี อ้ งการ
4.9 การประเมิ นผลการดาเนิ นงาน (Performance evaluation) มาตรฐาน
ISO 14001: 2015 กาหนดให้องค์กรต้องทาการประเมินผลการดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อมโดย
686

ต้องมีการเฝ้ าระวังติดตามการวัด การวิเคราะห์และการประเมิน (Monitoring, measurement,


analysis and evaluation) การประเมินผลความสอดคล้อง (Evaluation of compliance) การ
ตรวจประเมินภายใน (Internal audit) และการทบบทวนฝ่ ายบริหาร (Management review)
การประเมินผลการดาเนินงานจะช่ว ยให้อ งค์กรมันใจได้
่ ว่าการดาเนินงานระบบการจัดการ
สิง่ แวดล้อมขององค์กรมีความสอดคล้องกับนโยบายและข้อกาหนดด้านสิง่ แวดล้อมต่างๆ อย่าง
เหมาะสม บอกถึงประสิทธิภาพของการนาระบบมาใช้ และการทบทวนของฝ่ ายบริหารจะนาไปสู่
การพิจารณาความเหมาะสม ความพอเพียง และประสิทธิภาพของระบบ ผู้บริหารจะทาการ
ตัดสินใจในเรื่องการสนับสนุ นงบประมาณ และการปรับเปลี่ยนวิธดี าเนินงาน เพื่อให้เกิดการ
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
4.10 การปรับปรุง (Improvement) ข้อ ก าหนดเรื่อ งการปรับปรุงตาม
มาตรฐาน ISO 14001: 2015 ระบุให้องค์กรควรนาผลที่ได้จากการประเมินผลการดาเนินงาน
ด้านสิ่งแวดล้อมมาพิจารณาความไม่สอดคล้อ งกับข้อกาหนด เพื่อนามาใช้ในการปฏิบตั ิการ
แก้ไข (Nonconformity and corrective action) ให้เหมาะสมกับผลกระทบทีม่ นี ัยสาคัญของสิง่ ที่
ไม่เป็ นไปตามข้อกาหนด และให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continual improvement) เพื่อ
เพิม่ ประสิทธิภาพของการดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อม

สรุป
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมเป็ นสิง่ สาคัญและจาเป็ นสาหรับอุตสาหกรรม และหน่ วยงาน
ทุก หน่ ว ยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนที่ผ ลิต สินค้าและบริก ารที่เ กี่ย วข้อ งกับระบบนิเ วศที่เ ป็ น
สิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมดในโลก ที่สาคัญคือการจัดการระบบการจัดการสิง่ แวดล้อ มต้องจัดทาในเชิง
ระบบจึงจะทาให้มคี วามครอบคลุมทัง้ หมดของสิง่ มีชวี ติ ได้แก่ น้ า อากาศ สัตว์ และพืช เป็ นต้น
ซึง่ เป็ นหน้าที่โดยตรงของผู้บริหารในหน่ วยงานนัน้ จะต้องมีการกาหนดเป็ นนโยบายระดับของ
สถานประกอบการ และระดับประเทศ เพื่อให้พนักงานทุกคนได้ดาเนินการ และมีแนวปฏิบตั ิ
อย่างเคร่งครัด การจัดการสิง่ แวดล้อมเชิงระบบ จึงหมายถึง การดูแล การควบคุม การปรับปรุง
ปั ญหาสิง่ แวดล้อมขององค์การโดยใช้กระบวนการจัดการ ซึง่ ประกอบด้วย การวางแผน (Plan)
การดาเนินการ (Do) การตรวจสอบ (Check) และการแก้ไข (Act)
การนาระบบ Eco –Management and Audit Scheme (EMAS) เป็ นมาตรฐานการ
จัดการสิ่งแวดล้อ มเชิง ระบบขององค์ก ารที่เ ป็ นระบบที่ม ีการพัฒนามาจากต่ างประเทศเพื่อ
นามาใช้ในการประเมิน รายงาน และพัฒนาผลการดาเนินงานสิง่ แวดล้อมของหน่ วยงาน ซึ่งมี
ขัน้ ตอน ดังนี้ (1) การจัดทานโยบายสิง่ แวดล้อม (2) การทบทวนสถานะเริม่ ต้น (3) การจัดทา
โปรแกรมสิง่ แวดล้อม (4) การสร้างระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม (5) การตรวจประเมินระบบ
ภายในองค์การ (6) การทบทวน และ (7) การรายงานผลงานด้านสิง่ แวดล้อม ดังนัน้ ระบบการ
จัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14000 เป็ นแนวทางในการจัดการสิง่ แวดล้อมของ
687

องค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีหลักการสาคัญของการจัดการสิง่ แวดล้อม ได้แก่ การกาหนด


นโยบายสิง่ แวดล้อม การวางแผน การนาไปปฏิบตั แิ ละการดาเนินการ และการตรวจสอบและ
การปฏิบตั กิ ารแก้ไข เป็ นต้น ซึ่งประโยชน์ของระบบการจัด การสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล
ISO 14000 คือ เพื่อลดต้นทุนในระยะยาว ช่วยเพิม่ ศักยภาพในทางแข่งขัน ช่วยสร้างชื่อเสียง
และการยอมรับ และลดผลกระทบต่อพนักงานในการทางานด้านสภาพแวดล้อมในการทางาน
อนุ กรมมาตรฐานด้านการจัดการสิง่ แวดล้อมประกอบด้วย 5 กลุ่ม ดังนี้ (1) มาตรฐาน
ระบบการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม (2) การตรวจสอบประเมินการจัดการสิง่ แวดล้อม (3) ฉลากกับ
ผลิตภัณฑ์เพื่ออนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อม (4) การประเมินความสามารถในการจัดการสิง่ แวดล้อม และ
(5) การประเมินผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมในวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์ จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบของ
ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ได้แก่ (1) การป้ องกันมลพิษหรือการลดพิษที่
แหล่งกาเนิด (2) การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง และ (3) การพัฒนา
ให้ดขี ้นึ อย่างต่อเนื่อง และหลักการของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO
14001 มีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ (1) การวางแผน (2) การดาเนินการ (3) การตรวจสอบ
(4) การแก้ไข อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั การจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14000 07’
เป็ นมาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมขององค์กรหรือหน่ วยงานทัวโลก ่ ซึง่ นอกจากจะช่วย
พัฒนาธุรกิจแล้ว ยังช่วยรักษาสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากลอีกด้วย หรืออาจเรียกได้ว่าเป็ น
การจัดการผลประโยชน์ทางธุรกิจควบคู่ไปกับเรือ่ งของสิง่ แวดล้อมได้เป็ นอย่างดีนนเอง
ั่
688

แบบฝึ กหัด

ให้ตอบคาถามให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ที่สดุ
1. การจัดการสิง่ แวดล้อมเชิงระบบ หรือ ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม หมายถึง
2. ให้บอกถึงองค์ประกอบของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม (โดยเขียนเป็ นแผนภาพ) อธิบาย
3. ให้บอกถึงความสาคัญของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001
4. ให้บอกถึงความหมายของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001
5. ให้บอกถึงประโยชน์ของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001
6. ให้บอกถึงความหมายของระบบ Eco – Management and Audit Scheme (EMAS)
7. ให้บอกถึงขัน้ ตอนการทาระบบ Eco – Management and Audit Scheme (EMAS)
8. ให้บอกถึงอนุกรมมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14000
9. ให้บอกถึงหมายของอนุกรมมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14000
10. ให้บอกถึงองค์ประกอบและหลักการของระบบการจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล
ISO 14001
689

เอกสารอ้างอิง

การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม.(ม.ป.ป.).กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์


เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม. ค้นเมือ่ 25 กรกฏาคม 2559, จาก
https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi1/ecosystem/b3.htm.
กรมมาตรฐานอุตสาหกรรม.(ม.ป.ป.). ISO 14000 มาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม.,
ค้นเมือ่ 25 กรกฏาคม 2559, จาก http://www.technologymedia.co.th/)
กมลทิพย์ วงศ์ลธี นาภรณ์ (2556).ชีวติ กับสิง่ แวดล้อมและเทคโนโลยี., ค้นเมือ่
25 กรกฏาคม 2559, จาก http://www.technologymedia.co.th/
knowledge/measure_ISO14000.
ฉัตรไชย รัตนไชย. (2553).การประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อม.(พิมพ์ครัง้ ที่ 2).
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ.
เปลือ้ ง ณ นคร.(ม.ป.ป.). สิง่ แวดล้อม. ค้นเมือ่ 27 กรกฏาคม 2559, จาก
http://dictionary.sanook.com/search.
พระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ ง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๓๔. กรมควบคุม
มลพิษ.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม.ค้นเมือ่ 25 กรกฏาคม 2559,
จาก http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_envi.html.
มาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO14000.(ม.ป.ป.,ม.ป.น)., ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม
2559,จาก http://www.technologymedia.co.th/knowledge/measure_ISO14000.
ศดินา ภารา.(2550).การจัดการสิง่ แวดล้อม.,ค้นเมือ่ 25 กรกฎาคม 2559, ค้นจาก
https://sites.google.com/site/puangsawai2222/.
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2554). มาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อตุ สาหกรรม
มอก.18001-2554 ระบบการจัด การอาชี ว อนามัย และความปลอดภัย :
ข้อกาหนด สมอ.: กรุงเทพฯ.
Robbins. Stephen.P, & Coulter.Mary. (2009). Management. 10ed Pearson
Education,Inc.,Upper Saddle River,New Jersey.,Pearson Prentice Hall.
690
691

เอกสารอ้างอิง

กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2549.
กมลทิพย์ วงศ์ลธี นาภรณ์ (2556).ชีวติ กับสิง่ แวดล้อมและเทคโนโลยี., ค้นเมือ่ 25 กรกฏาคม
2559, จาก http://www.technologymedia.co.th/knowledge/measure_ISO14000.
กมลวัฒน์ ยะสารวรรณ.(2547). การรับรูก้ ฎระเบียบของพนักงานท่าเรือแหลมฉบัง. ปั ญหา
พิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ. ชลบุร:ี
มหาวิทยาลัยบูรพา.
กรมมาตรฐานอุตสาหกรรม.(ม.ป.ป.). ISO 14000 มาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม.,
ค้นเมือ่ 25 กรกฏาคม 2559, จาก http://www.technologymedia.co.th/)
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน.อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล. ค้นเมือ่
25 ธันวาคม 2559, ค้นจาก http://www.siamsafetygroup.com/article-th-34650.
กรอบบริหารความเสีย่ ง(ERP Framework).บริษทั สินมันคงประกั
่ นภัย (จากัด) มหาชน.,
ค้นเมือ่ 23 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.smk.co.th/WEBSMK/upload.
กระทรวงแรงงาน.(2549). กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2549.
กระทรวงแรงงาน.(2558). สถานการณ์การดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยใน
ประเทศไทยปี 2558. สานักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครอง
แรงงาน.
กระทรวงแรงงาน.กองทุนทดแทน, ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, ค้นจาก
http://www.mol.go.th/employee/compensation.
กรุงเทพธุรกิจ.(2558) พืน้ ทีร่ ะยองแชมป์ โรงงานเกิดอุบตั เิ หตุ, ปี ท่ี 30 ฉบับที่ 10301
วันจันทร์ท่ี 5 ธันวาคม 2559, หน้า 6.
กันยรัตน์ โหละสุต.(2555). การจัดการความปลอดภัยในอุตสาหกรรมเคมี. ขอนแก่น:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กาญจนา นาถะพินธุ.(2551). อาชีวอนามัยและความปลอดภัย. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). ขอนแก่น :
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
การบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.(2553).หน่วยที่ 1-7 (พิมพ์ครัง้ ที่ 1)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.(พิมพ์ครัง้ ที่ 4).กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
692

การบริหารจัดการด้านความมันคงปลอดภั ่ ย อาชีวอนามัยและสิง่ แวดล้อม, ค้นเมือ่


20 ธันวาคม 2559 ,จาก
http://www.pttplc.com/th/Sustainability/Sustainability/Governance/ Pages/sshe-
management.
การอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อม.(ม.ป.ป.).กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม. ค้นเมือ่ 25 กรกฏาคม 2559, จาก
https://web.ku.ac.th/ schoolnet/snet6/envi1/ecosystem/b3.htm.
กิจกรรม 5 ส การทา 5ส พร้อมกับการทางาน.(ม.ป.ป.,ม.ป.น.).สมาคมส่งเสริเทคโนโลยี
(ไทย-ญีป่ ่ นุ ).,ค้นเมือ่ 26 มกราคม 2560, จาก
http://www.tpif.or.th/2012/shindan.
กุญชรี ค้าขาย และคณะ.(2545).พฤติกรรมกับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ:
สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.
เกชา ธีระโกเมน.(2545).ปั ญหาในการจัดระบบการป้ องกันอัคคีภยั สาหรับอาคาร.
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์: กรุงเทพมหานคร.
เกษมสันต์ วิลาวรรณ.(2548). คู่มอื ลูกจ้าง ชีวติ ลูกจ้างกับกฎหมายแรงงาน. กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์วญ ิ ญูชน.
เกษมสันต์ วิลาวรรณ.(2550). กฎหมายแรงงานกับการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์วญ ิ ญูชน.
เกษมสันต์ วิลาวรรณ.(2559). คาอธิบายกฎหมายแรงงาน.(พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์วญ ิ ญูชน.
คณาทัต จันทร์ศริ .ิ (2559). ความรูเ้ รือ่ งอัคคีภยั . ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, จาก
http://www.firefara.org/infot3.html.
ความรูเ้ กี่ยวกับรองเท้านิรภัย.นิตยสาร Safetylife, ปี ท่ี 2556. ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2556,
จาก http://www.thai-safetywiki.com/safety-shoe.
คู่มอื การจัดการความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบการ.(ม.ป.ป.,ม.ป.น.)., ค้นเมือ่
25 ธันวาคม 2559, จาก http://www.siamsafety.com/index.php.
คู่มอื การปฏิบตั งิ านตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การป้ องกันและระงับอัคคีภยั
ในโรงงาน 2552.กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.,ค้นเมือ่
25 ธันวาคม 2559., ค้นจาก http://www.diw.go.th/km/safety/pdf.
คู่มอื การบริหารความเสีย่ ง.ศูนย์ความบริหารความเสีย่ ง มหาวิทยาลัยมหิดล., ค้นเมื่อ
25 พฤศจิกายน 2559, จาก https://www.mahidol.ac.th.
เจริญ เจษฎาวัลย์. (2548). การบริหารความเสีย่ ง. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. พอดีการพิมพ์ : กรุงเทพฯ.
693

ฉัตรไชย รัตนไชย. (2553).การประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อม.(พิมพ์ครัง้ ที่ 2).


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ.
ณรงค์วทิ ย์ แสนทอง.(2555). การบริหารทรัพยากรมนุ ษย์สมัยใหม่ ภาคปฏิบตั .ิ (พิมพ์ครัง้ ที่ 6).
เอช อาร์ เซ็นเตอร์: กรุงเทพฯ.
ณรัฐ วัฒนพานิช.(2550). รูปแบบการจัดองค์กรแห่งการเรียนรูส้ าหรับกลุ่มโรงเรียนใน
เครือสารสาสน์.วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
ณัฏฐพันธ์ ขจรนันท์.(2549). การจัดการทรัพยากรมนุ ษย์.ซีเอ็ดยูเคชัน: ่ กรุงเทพฯ.
ณัฐวัตร มนต์เทวัญ.(2541).การบริหารงานความปลอดภัย. นนทบุร:ี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ธัญวัฒน์ โพธิศริ .ิ (2558). การออกแบบโครงสร้างเพื่อความปลอดภัยด้านอัคคีภยั .
(พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิตยา งามภักตร์.(2554).การคัดเลือกผังและการจาลองสถานการณ์คอมพิวเตอร์เพื่อการ
ออกแบบผังโรงงานแบบเซลลูลาร์.(วิทยานิพนธ์).วิศวกรรมมหาบัณฑิต
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บัณฑิต เผ่าวัฒนา.(2548). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการปั ญหาน้ าเสียในคลอง
แม่ขา่ ตาบลช้างคลาน เทศบาลนครเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระเศรษฐศาสตร์
มหาบัณฑิต.เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เปลือ้ ง ณ นคร.(ม.ป.ป.). สิง่ แวดล้อม. ค้นเมือ่ 27 กรกฎาคม 2559, จาก
http://dictionary.sanook.com/search.
พจนานุกรมฉบบราชบัณฑิตยสถาน.(2525). พจนานุกรม. (ครัง้ ที่ 6). กรุงเทพฯ:
อักษรเจริญทัศน์.
พระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑(ฉบับแก้ไขเพิม่ เติม). สานักคุม้ ครองแรงงาน.
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน.
พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมควบคุม
มลพิษ.กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม.ค้นเมือ่ 25 กรกฏาคม 2559,
จาก http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_envi.html.
พระราชบัญญัตสิ ุขภาพแห่งชาติพ.ศ.2550. (2550). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 24 ตอน
16 มีนาคม 2550.
พัชราวัล พันธศิลาโรจน์.(2551). ปั จจัยทีม่ ผี ลต่อการรับรู.้ กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ดอกหญ้า.
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีและเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัย.(2554).เล่ม 1
สีและรูปแบบมาตรฐานเลขที่ มอก. 635 เล่ม 1.
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย(มอก.18001)
: ข้อกาหนด.(2554)., ค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2559, จาก http://cste.sut.ac.th/cste/.
694

มาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO14000.(ม.ป.ป.,ม.ป.น)., ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม


2559, จาก http://www.technologymedia.co.th/knowledge/measure_ISO14000.
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒวิ ชิ าชีพ Occupational Standard and Professional Qualifications,
มาตรฐานอาชีพสาขาวิชาชีพความปลอดภัยในการทางาน. สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ
(องค์การมหาชน).
เมธินพัฐ บวรธรรมรัตน์.(2557). ระบบป้ องกันและระงับอัคคีภยั (กฎหมายโรงงานอุตสาหกรรม).,
ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559 ,จาก http://www.pumpsandvalves-asia.com/.
ย้อนรอยโศกนาฏกรรม 18 ปี ไฟไหม้โรงงานตุ๊กตาเคเดอร์. ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, จาก
https://hilight.kapook.com/view/68013.
ยุทธ ไกยวรรณ์.(2547). การบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรม.กรุงเทพฯ: บริษทั พิมพ์ดจี ากัด.
รณภพ สุนทรโรหิต.(ม.ป.ป.). การออกแบบโรงงานและการวางโรงงาน., ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม
2559, จาก www.drauditor.com/default.asp.
ระบบป้ องกันอัคคีภยั ภายในอาคาร.(ม.ป.ป.,ม.ป.น.). ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, จาก
http://she.cpportal.net.
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์การชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสีย่ ง
และการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสีย่ ง พ.ศ.2543., ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม
2559, จาก http://www.diw.go.th/hawk/law/safety/ind16.pdf.
ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๔๓๔๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔), ค้นเมือ่
25 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th.
โรคทีเ่ กิดจากการทางาน.(ม.ป.ป.,ม.ป.น.). ค้นเมือ่ 24 ธันวาคม 2559, จาก
https://www.google.co.th/search.
ลักขณา สริวฒ ั น์.(2544). จิตวิทยาในชีวติ ประจาวัน.กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
วัฒนา วงศ์เกียรติรตั น์ และคณะ. (2550). การวางแผนกลยุทธ์ : ศิลปะการกาหนดแผนองค์การ
สู่ความเป็ นเลิศ. (พิมพ์ครัง้ ที่ 5). อินโนกราฟฟิ กส์ จากัด : กรุงเทพฯ.
วันชัย ริจริ วนิช.(2541). การออกแบบผังโรงงาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิจติ รา (ฟุ้งลัดดา)วิเชียรชม. (2559). กฎหมายแรงงาน. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์วญ ิ ญูชน.
วิชยั แหวนเพชร.(2547). การวางแผนและควบคุมการผลิต. กรุงเทพฯ: หจก.ธรรกมล
วิฑรู ย์ สิมะโชคดี และวีระพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์. (2544).วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัย
ในโรงงาน. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย– ญีป่ ่ นุ ).
วิทยา อยูส่ ุข.(2549). อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.
695

วิทยา อยูส่ ุข.(2549). อาชีวอนามัยและความปลอดภัย. (พิมพ์ครัง้ ที่ 3).


คณะสาธารณสุขศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหิดล: กรุงเทพฯ.
วิภารัตน์ โพธิ ์ขี. (2557). การจัดการด้านวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม.
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น: ขอนแก่น.
วีระ ซื่อสุวรรณ.(2550). Safety 52 weeks. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ่ นุ ). กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์ ส.ส.ท.
วีระ ซื่อสุวรรณ.(2550). Safety ปลอดภัย 52 Weeks. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สมาคมส่งเสริม
เทคโนโลยี(ไทย-ญีป่ ่ นุ ).
ศดินา ภารา.(2550).การจัดการสิง่ แวดล้อม.,ค้นเมือ่ 25 กรกฎาคม 2559, ค้นจาก
https://sites.google.com/site/puangsawai2222/.
ศีขรินทร์ สุขโต.(2553). วิศวกรรมความปลอดภัย. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2).
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น : ขอนแก่น.
ศูนย์พฒั นาทรัพยากรการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2558). จิตวิทยาการบริการ.
ค้นเมือ่ 18 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/
1010311/unit09_2_2.html.
สถานการณ์การดาเนินงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของประเทศไทย ปี 2558.
(2558). สานักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวง
แรงงาน.,กรุงเทพฯ: บจก.พินนาเคิล แอดเวอร์ไทซิง่ .สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา.
สมถวิล เมืองพระ. (2537). พฤติกรรมของคนงานในระดับปฏิบตั กิ ารเรือ่ งป้ องกันอุบตั เิ หตุ
เนื่องจากการทางาน : ศึกษาเฉพาะกรณีอุตสาหกรรมการผลิตภัณฑ์โลหะเครือ่ งจักร
และอุปกรณ์เขตบางปะกงจังหวัดฉะเชิงเทราวิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต
(สังคมสงเคราะห์) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมศักดิ ์ ศรีสตั ย์.(2544)(ก).การออกแบบและการวางผังโรงงาน. กรุงเทพฯ: ส.เอเชียเพรส.
สมศักดิ ์ ศรีสตั ย์.(2552)(ข). การออกแบบและการวางผังโรงงาน. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริม
เทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ่ นุ ).
สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน (แห่งประเทศไทย). แนวคิดระบบ
การจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย. ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, ค้นจาก
WWW.SHAWPAT.OR.TH.
สราวุธ สุธรรมาสา.(255). มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.18001.วารสารความปลอดภัย
และสุขภาพ. ปี ท่ี 4 ฉบับที่ 15 ประจาเดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2554.
สราวุธ สุธรรมาสา.(2557). บทบาทผูบ้ ริหารกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.,จุลสาร
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพออนไลน์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช.,ฉบับที ่ 1 ปี 2557.
696

สวินทร์ พงษ์เก่า.(ม.ป.ป.). การเสริมสร้างทัศนคติความปลอดภัย. สมาคมส่งเสริมความ


ปลอดภัยและอนามัยในการทางาน (ประเทศไทย).,ค้นเมือ่ 27 มกราคม 2560,
จาก http://www.shawpat.or.th.
สินศักดิ ์ชนม์ อุ่นพรมมี.(2556). พัฒนาการสาคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ.นนทบุร:ี
โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข.
สิทธิโชค วรานุสนั ติกูล.(2546). จิตวิทยาสังคม: ทฤษฎีและการประยุกต์กรุงเทพฯ:
ซีเอ็ดยูเคชัน.่
สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์. (2553). เอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารงานอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย.(ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 1) หน่วยที่ 1-7. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อรุณการพิมพ์: กรุงเทพฯ.
สุภทั ทา ปิ ณฑะแพทย์.( 2542). พฤติกรรมมนุษย์และการพัฒนาคน.กรุงเทพฯ:
สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา.
สุเวช พิมพ์น้าเย็น.(2553). ความรูท้ วไปเกี
ั่ ย่ วกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.
เอกสารประกอบการสอน.วิทยาลัยเชียงราย: เชียงราย.
สุรพงษ์ ชูรงั สฤษฏ์.(2547). การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management).สมาคมผูต้ รวจสอบ
ภายในแห่งประเทศไทย., ค้นเมือ่ 18 พฤศจิกายน 2559,
จาก http://www.conc.tbs.tu.ac.th/.
สุรสิทธิ ์ วิทยารัฐ.(2549). การสื่อสารเพื่อการพัฒนา :พัฒนาการแนวคิด สภาพการณ์ใน
สังคมไทย.กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา.
สุรวี ลั ย์ ใจกล้า.(2557). พฤติกรรมความปลอดภัยในการทางานของพนักงาน บริษทั เอสอีไอ
อินเตอร์คอนเนคส์ โปรดักส์ (ประเทศไทย) จากัด. สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและ
ภาคเอกชน วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.(งานนิพนธ์).
สมถวิล เมืองพระ. (2537). พฤติกรรมของคนงานในระดับปฏิบตั กิ ารเรือ่ งป้ องกันอุบตั เิ หตุ
เนื่องจากการ ทางาน : ศึกษาเฉพาะกรณีอุตสาหกรรมการผลิตภัณฑ์โลหะเครือ่ งจักร
และอุปกรณ์เขตบางปะกงจังหวัดฉะเชิงเทราวิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต
(สังคมสงเคราะห์) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมศักดิ ์ ศรีสตั ย์.(2544)(ก).การออกแบบและการวางผังโรงงาน. กรุงเทพฯ:
ส.เอเชียเพรส.
สมศักดิ ์ ศรีสตั ย์.(2552)(ข). การออกแบบและการวางผังโรงงาน. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริม
เทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ ่ นุ ).
สานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน.กระทรวงแรงงาน.
การศึกษาวิเคราะห์การบริหารงานเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน.กรุงเทพฯ.
697

สานักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน.(2556). แนวการจัดทาแผน


ป้ องกันและระงับอัคคีภยั ตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและ
ดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน.,ค้นเมือ่
25 ธันวาคม 2559, จาก www.oshthai.org.
สานักความปลอดภัยแรงงาน. (ม.ป.ป.). 5ส.เพื่อความปลอดภัย. กรมสวัสดิการและคุม้ ครอง
แรงงาน., ค้นเมือ่ 12 เมษายน 2560, จาก www.oshthai.org.
สานักความปลอดภัยแรงงาน. พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน. กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน: กรุงเทพฯ.
สานักงานประกันสังคม.(2558). รายงานประจาปี 2558 กองทุนทดแทน. สานักงานกองทุนเงิน
ทดแทน สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน.
สานักงานประกันสังคม.(2558). สถิตกิ ารประสบอันตราย หรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทางาน
ปี 2558. สานักงานกองทุนเงินทดแทน สานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน.
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2554). มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
มอก.18001-2554 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย:
ข้อกาหนด สมอ.: กรุงเทพฯ.
องค์การอนามัยโลก https://th.wikipedia.org/wiki.
อังคณา เตชะโกเมนท์ (2556). ข้อมูลเบือ้ งต้นเกีย่ วกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศ.
กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ.สานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
กระทรวงแรงงาน, ค้นเมือ่ 26 ธันวาคม 2559, จาก
http://www.mol.go.th/ content/page/.
อภิรดี ศรีโอภาส.(2553).เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช(ฉบับปรับปรุง) หน่วยที่ 1-7.
อาดิษ เย็นประสิทธิ ์และจุฑาพนิต บุญดีกุล.(2553). เอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารอาชีว-
อนามัยและความปลอดภัย.(ฉบับปรับปรุง ครัง้ ที่ 1).หน่ วยที่ 8-15.,
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.,อรุณการพิมพ์: กรุงเทพฯ.
อุดม ทุมโฆสิต.(2544) การจัดการทรัพยากรมนุษย์.กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์.
อุปกรณ์หลักของระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้.(ม.ป.ป.),ค้นเมือ่
25 ธันวาคม 2559, จาก https://www.google.co.th/search.
อุปกรณ์หลักของระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้.(ม.ป.ป.),ค้นเมือ่ 25 ธันวาคม 2559, จาก
https://www.google.co.th/search.
เอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.(ฉบับปรับปรุง
ครัง้ ที่ 1).หน่วยที่ 8-15.สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช:
ห้างหุน้ ส่วนจากัด อรุณการพิมพ์.แรงงาน.,กรุงเทพฯ: บจก.พินนาเคิล แอดเวอร์ไทซิง่ .
698

เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาขาวิชาวิทยาศาสตร์
สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ฉบับปรับปรุง หน่วยที่ 1-7.(2553).
อรุณการพิมพ์: กรุงเทพฯ.

ภาษาอังกฤษ
Allen,R. and Santrock,J.W.(1993). Psychology : The Contexs of Behavior.United State
of American: Wrn. C. Brown Communication.
Apple, J.M.,(1977).Plant Layout and Material Handling. 3rd Edition.John Welley & Sons,
New York.
Bartol, Kathryn.,M., & David C. Martin.(1997). Management. (2nd ed). New York:
Bernstein,D. A.(1999).Essentials of Psychology. Boston : Houghton Mifflin
Bovee, Courtland L. and others. (1993). Management. New York : Mc Graw – Hill.
Bridges, F. J., & Roquemore, L. L. (2001). Management for athletic/ sport
administration: Theory and practice (3rd ed.). Decatur, GA: ESM Books.
British Standards Institute. (2007). BS OHSAS 18001:2007,Occupational Health and
Safety Management Systems-Requirement. BSI: London.
Carroll,S.J. and Gillen,D.A.(1987).”Are the Classical Management Functions Useful in
Describing Managerial Work” Academy of Management Review, January,
1987,p.48.
Clegg,S.,Komberger,M.,& Pitsis,T.(2005). Making sense of management in Managing
and Organizations – An introduction to theory and practice (1st edition,
Colin W.Fuller และ Luise H.Vassie.(2004). Health and Safety Management : Principles
and Best Practice. Essex :Prentice Hall. Company.
Cronbach. Lee. J.(1963). Educational Psychology. New York :Harcourt, Brace and
World.
David A. DeCenzo and Stephen P.Robbins. (2002). Human Resource Management. 7th
edition,New York : John wiley and Sons.
David L.Goetsch.(2005) Occupational Safety and Health for Technologists, Engineers,
and Managers. Pearson Education,Inc.,Upper Saddle River,New Jersey.
David, L.Goetsch.(2005). Occupationall Safety and Health. Fifth Editin. ,New Jersey:
Prince-Hall.
David, L.Goetsch.(2005). Occupationall Safety and Health. Fifth Editin. ,New Jersey:
Prince-Hall.
699

Denis McQuail.(2005). McQuail's mass communication theory. 5th ed., London ;


Thousand Oaks,: Publications.
Donatelle, R.J. & David, L.Goetsch.(1993). Access to Health. (2nd ed.) New Jersy:
Prince-Hall.
Drucker, P. F. (1997). Management is getting done through other people. Journal
Constitution, 29(5), 164-179.
Ducker, P.F. (1989). Management: Tasks, Responsibilities, Practices. Harvard Business
School Press.
F.W.Taylor, Principles of Scientific Management. (New York:Harper,1998). Academy of
Management Review,January,2007,pp.105-117.
Fayol, Henri. (1964). Industrial and General Administration . New Jersey : Clifton.
Fesler James, F. and Kettl. (1991). The Politics of The Administrative Process .
New Jersey : Chatham House Publishers.
Follet, Mary Parker. (1941). Dynamic Administration . New York : Harper and Row.
Fred A Manuele. (2001). Innovations in Safety Management. New York.: John Wiley
and Sons, Inc.
Gary Dessler.(2015). Human Resource Management. Fourteenth Edition. The United
States of America: . Pearson Education
Gary Dessler.(2015). Human Resource Management.14th edition,United States of
America: Person Education.
Gochman, D.S.(1988). Health behavior: Emerging research perspectives. 15th ed.) New
York: Plenum Press.
Goetsch, David L.(2005). Occupational Safety and Health.,15th Edition Person Prentice
Hall,Upper Saddle River,New Jersey : United States of America.
Goetsch,David L.,(2005). Occupational Safety and Health. 5th edition. Pearson
Education,Inc.,Upper.Saddle River,New Jersey.
Griffin, R. W. (2002). Management (7th ed.). Boston: Houghton Miffin.

Guide to the Safety, Health and Welfare at Work (General Application) Regulations
2007 (Amended May 2010) Published in December 2007 and revised in May
2010 by the Health and Safety Authority, The Metropolitan Building, James
Joyce Street, Dublin 1.
700

Haimann & Scott.(1974) Management in the Modern Organization. Houghton


Mifflin,University of California.
Herbert A. Simon.(1947) Administrative Behavior .New york: Macmillian.
Hodgetts, Richard M. (1982). Management : Theory, and Practice. 3rd. New York : The
Dryden Press.
Kast. Fremont E. and Rosenzweig. James E. (1985). Organization and Contingency
Approach. 4th ed. Singapore : McGraw – Hill.
Katz, Robert L.(1955). ‚Skills of an Effective Administration.‛ Harvard Business Review
33, 1(January – February 1995) : 33-42.
Kemm, J. & Close, A. (1995). Health Promotion Theory and Practice. London: Mac
Millian Press.
Klein,Stephen B.(2009). Learning Principles and Application.5th ed. SAGE
Publications.Inc.
Koontz Harold D. and Cyril O’Donnell. (1972). Principles of Management :
An Analysis of Managerial Functions. New York : MC Graw – Hill.
Krause,Thomas R.(2005). Leading with Safety.John Wiley & Sons,Inc.,Hoboken,New
Jersey.
Lewin, K.(1951). A dynamic theory of personality. New York: McGraw-Hill.
Loudon, David and Bitta, Albert.(1988) Consumer Behavior : Concepts and Applications.
3rd ed. New York : McGraw Hill.
Maslow, A. H. ( 1970 ). Motivation and Personality. New York: Harper & Row.
McClelland, D. C. (1961). Human Motivation. New York: Cambridge University.
McGraw – Hill, New York.
McGregor, D. M. (1960). The Human Side of Enterprise. New York: McGraw-Hill.
Nation Fire Protection Association,Quincy,Massachusetts. (2002). edition. National Fire
Protection Association, Quincy, Massachusetts.
National Fire Protection Association.(1999). NFPA 72 National Fire Alarm Code1999.
Newsome,Bruce.(2014). A Practical introduction to Security and Risk Management.
SAGE Publications India Pvt.Ltd.: New Delhi. Palgrave Macmllan.
Pender, N.J. (1996). Health Promotion in Nursing Practice. (3rd). USA: Appleton &
Lange. pp.3-39).London:SAGE Publications.
Proper Foot Protection Made Simple: Consider these important factors for safety and
comfort By Roger Huard, Occupational Health & Safety; April 01, 2013.
701

Robbins, Stephen P. & Coulter Mary.(2009).Management.10ed Pearson


Education,Inc.,Upper Saddle River, New Jersey,: Prentice Hall.
Robbins. Stephen.P, & Coulter.Mary. (2009). Management. 10ed Pearson
Education,Inc.,Upper Saddle River,New Jersey.,Pearson Prentice Hall.
Roediger, H. L.(2007). Science of memory: Concepts. Oxford: Oxford University
Press.
Rosemary Colvin and Ray Colvin.(1999). ‚Management’s Role and Responsibilities in
an Effective Safety and Health Program‛, in Handbook of Occupational Safety
and Health, 2nd Edition, Edited by Louis J. Diborardimis, New York.; John
Wiley & Sons, Inc.
Safety signs and signals The Health and Safety Guidance on Regulations, the Health
and Safety Executive.(2009).Second edition.
Schermerhorn, J. R. (1999). Management. (6th ed.). New York: John Wiley & Sons.
Schiffman, Leon G. and Kanuk, Leslie L (2007).Consumer Behavior. 9th ed. New
Jersey: Prentice Hall.
Scholte, J. A. (2005). Globalization: A Critical Introduction (2nd ed.). New York:
Sharon Clarke (2006).Safety climate in an automobile manufacturing plant: The effects
of work environment, job communication and safety attitudes on accidents and
unsafe behavior. Personnel Review Vol.35 No.4, pp.443-430: Emerald Group
Publishing Ltd.
Slovic, P. (1987). Perception of Risk. Science 236(17 April): 280-285. Page 2. Page 3.,
ค้นเมือ่ 25 ตุลาคม 2559, ค้นจาก
https://www.unc.edu/~fbaum/teaching/articles/Science-1987-Slovic.pdf.
Smith,M. K. (2001) ‘Kurt Lewin, groups, experiential learning and action research’, the
encyclopedia of informal education, http://www.infed.org/thinkers/et-lewin.htm
Standards Australia/Standards New Zealand,AS/NZS 4360:1995.Risk Management.
New Zealand,1995.
Steers, R.M. (1977). Organizational Effectiveness : A Behavioral View. Ca. : Good year.
Stoner, J. A. F., & Wankle, C. (1986). Management. New York: Prentice - Hall.
Tone, K. & Tilford, S. (1994). Health Education Effectiveness, efficiency, and equity.
(2nd ed.). London: Chapman-Hall.
Walters. (1978). Adaptive Management of Renewable Resources. New York:
Mc Graw Hill.
702

Wilbur Schramm.(1971). The Process and Effects of mass communication. Edition 2.,
University of Illinois Press.
World Health Organization. (1947). Constitution of the World Health Organization:
Principles, (7 April 1948)., Geneva: WHO, New York.
World Health Organization Geneva.(1998). The world health report 1998 – Life in the
21st century: a vision for all., Office of World Health Reporting World Health
Organization 1211 Geneva 27, Switzerland.
703

ภาคผนวก
704

ภาคผนวก ก
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
พ.ศ. ๒๕๕๔
705

หน้า ๕
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

พระราชบัญญัติ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
พ.ศ. ๒๕๕๔
----------------------------

ภูมพิ ลอดุลยเดช ป.ร.


ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔
เป็ นปี ท่ี ๖๖ ในรัชกาลปั จจุบนั
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ
ให้ประกาศว่า
โ ด ย ที่ เ ป็ น ก า ร ส ม ค ว ร มี ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อ า ชี ว อ น า มั ย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
พระราชบัญญัตนิ ้มี บี ทบัญญัตบิ างประการเกีย่ วกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซึ่ง มาตรา ๒๙ ประกอบกับ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐ ธรรมนู ญ แห่ ง
ราชอาณาจักรไทย บัญญัตใิ ห้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัตขิ น้ึ ไว้โดยคาแนะนาและยินยอม
ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ ้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ว นั
ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
706

หน้า ๖
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๓ พระราชบัญญัตนิ ้มี ใิ ห้ใช้บงั คับแก่
(๑) ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค และราชการส่วนท้องถิน่
(๒) กิจการอื่นทัง้ หมดหรือแต่บางส่วนตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
ให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค ราชการส่วนท้องถิน่ และกิจการอื่นตามที่
กาหนด ในกฎกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จัดให้มมี าตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ
ปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทางานในหน่ ว ยงานของตนไม่ต่ ากว่า
มาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตนิ ้ี
“ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทางาน” หมายความว่า
การกระทา หรือสภาพการทางานซึ่งปลอดจากเหตุอนั จะทาให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวติ
ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัยอันเนื่องจากการทางานหรือเกีย่ วกับการทางาน
“นายจ้าง” หมายความว่า นายจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้
หมายความ รวมถึง ผู้ป ระกอบกิจ การซึ่ง ยอมให้บุ ค คลหนึ่ ง บุ ค คลใดมาท างานหรือ ท า
ผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถาน ประกอบกิจการ ไม่ว่าการทางานหรือการทาผลประโยชน์นนั ้ จะ
เป็ นส่ วนหนึ่งส่ วนใดหรือทัง้ หมด ในกระบวนการผลิต หรือธุ รกิจในความรับผิดชอบของผู้
ประกอบกิจการนัน้ หรือไม่กต็ าม
“ลูก จ้าง” หมายความว่า ลูก จ้างตามกฎหมายว่าด้ว ยการคุ้มครองแรงงานและให้
หมายความ รวมถึงผู้ซ่งึ ได้รบั ความยินยอมให้ทางานหรือทาผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถาน
ประกอบกิจการของนายจ้าง ไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไรก็ตาม
“ผูบ้ ริหาร” หมายความว่า ลูกจ้างตัง้ แต่ระดับผูจ้ ดั การในหน่วยงานขึน้ ไป
“หัวหน้างาน” หมายความว่า ลูกจ้างซึ่งทาหน้าที่ควบคุม ดูแล บังคับบัญชาหรือสังให้ ่
ลูกจ้าง ทางานตามหน้าทีข่ องหน่วยงาน
“เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน” หมายความว่า ลูกจ้างซึ่งนายจ้างแต่งตัง้ ให้
ปฏิบตั ิ หน้ าที่ด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างานตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี
“สถานประกอบกิจการ” หมายความว่า หน่ วยงานแต่ละแห่งของนายจ้างที่มลี ูกจ้าง
ทางาน อยูใ่ นหน่วยงาน
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางาน หน้า ๗ เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุ เบกษา ๑๗ มกราคม
๒๕๕๔
707

หน้า ๗
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
“กองทุน” หมายความว่า กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน
“พนักงานตรวจความปลอดภัย” หมายความว่า ผูซ้ ง่ึ รัฐมนตรีแต่งตัง้ ให้ปฏิบตั กิ าร ตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี
“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผรู้ กั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
มาตรา ๕ ให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงแรงงานรักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี และให้ม ี
อานาจแต่งตัง้ พนักงานตรวจความปลอดภัยกับออกกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ เพื่อ
ปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ี รวมทัง้ ออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตรา
ท้ายพระราชบัญญัตนิ ้ี และยกเว้นค่าธรรมเนียม
การแต่งตัง้ พนักงานตรวจความปลอดภัยต้องกาหนดคุณสมบัติ ขอบเขต อานาจหน้าที่
และเงือ่ นไขในการปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ย
กฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบนัน้ เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุ เบกษาแล้วให้ใช้
บังคับได้
หมวด ๑
บททัวไป่
-------------------
มาตรา ๖ ให้นายจ้างมีหน้ าที่จดั และดูแลสถานประกอบกิจการและลูกจ้างให้มสี ภาพ
การทางานและสภาพแวดล้อ มในการทางานที่ปลอดภัยและถู กสุ ข ลักษณะ รวมทัง้ ส่ งเสริม
สนับสนุ น การปฏิบตั ิงานของลูกจ้างมิให้ลูกจ้างได้รบั อันตรายต่อชีวติ ร่างกาย จิตใจ และ
สุขภาพอนามัย
ให้ลูกจ้างมีหน้ าที่ให้ความร่วมมือกับนายจ้างในการดาเนินการและส่งเสริมด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ลูกจ้าง
และสถานประกอบ กิจการ
มาตรา ๗ ในกรณีท่พี ระราชบัญญัตนิ ้ีกาหนดให้นายจ้างต้องดาเนินการอย่างหนึ่งอย่าง
ใด ทีต่ อ้ งเสียค่าใช้จา่ ย ให้นายจ้างเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จา่ ยเพื่อการนัน้
708

หน้า ๘
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หมวด ๒
การบริหาร การจัดการ และการดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
----------------------------
มาตรา ๘ ให้นายจ้างบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน ให้เป็ นไปตามมาตรฐานทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
การกาหนดมาตรฐานตามวรรคหนึ่ง ให้นายจ้างจัดทาเอกสารหรือรายงานใด โดยมีการ
ตรวจสอบหรือรับรองโดยบุคคล หรือนิตบิ ุคคลตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
ให้ ลู ก จ้า งมีห น้ า ที่ป ฏิบ ัติต ามหลัก เกณฑ์ด้า นความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อม ในการทางานตามมาตรฐานทีก่ าหนดในวรรคหนึ่ง
มาตรา ๙ บุค คลใดประสงค์จะให้บริก ารในการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง
ประเมินความเสี่ยง รวมทัง้ จัดฝึ กอบรมหรือให้คาปรึกษาเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยอาชีวอนา
มัย และสภาพแวดล้อมในการทางานตามมาตรฐานทีก่ าหนดในกฎกระทรวงทีอ่ อกตามมาตรา ๘
จะต้อง ขึน้ ทะเบียนต่อสานักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
คุณสมบัตขิ องผู้ขอขึ้นทะเบียน การขึน้ ทะเบียน การออกใบแทนการขึน้ ทะเบียน การ
เพิกถอน ทะเบียน การกาหนดค่าบริการ และวิธกี ารให้บริการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๐ ในกรณีท่สี านักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
ไม่รบั ขึ้นทะเบียนหรือเพิกถอนทะเบียนตามมาตรา ๙ ผู้ขอขึ้นทะเบียนหรือผู้ถูกเพิกถอน
ทะเบียนมีสทิ ธิอุทธรณ์ เป็ นหนังสือต่ออธิบดีภายในสามสิบวันนับแต่วนั ได้รบั แจ้งการไม่รบั ขึน้
ทะเบียนหรือการเพิกถอนทะเบียน
คาวินิจฉัยของอธิบดีให้เป็ นทีส่ ุด
มาตรา ๑๑ นิตบิ ุคคลใดประสงค์จะให้บริการในการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง
ประเมินความเสีย่ ง รวมทัง้ จัดฝึกอบรมหรือให้คาปรึกษาเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนา
มัย และสภาพแวดล้อมในการทางานตามมาตรฐานทีก่ าหนดในกฎกระทรวงทีอ่ อกตามมาตรา ๘
จะต้องได้รบั ใบอนุญาตจากอธิบดี
คุณสมบัตขิ องผูข้ ออนุ ญาต การขออนุ ญาต การอนุ ญาต การขอต่ออายุใบอนุ ญาต การ
ออกใบ แทนใบอนุญาต การพักใช้และการเพิกถอนใบอนุญาต การกาหนดค่าบริการ และวิธกี าร
ให้บริการตาม วรรคหนึ่ง ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
709

หน้า ๙
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๑๒ ในกรณีท่อี ธิบดีไม่ออกใบอนุ ญาต ไม่ต่ ออายุใบอนุ ญาต ไม่ออกใบแทน
ใบอนุ ญาต หรือพักใช้ใบอนุ ญาตหรือเพิกถอนใบอนุ ญาตทีอ่ อกให้แก่นิตบิ ุคคลตามมาตรา ๑๑
นิตบิ ุคคลนัน้ มีสทิ ธิ อุทธรณ์เป็ นหนังสือต่อคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั
หนังสือของอธิบดีแจ้งการไม่ออก ใบอนุญาต หรือการไม่ต่ออายุใบอนุญาต หรือการเพิก
ถอนใบอนุญาต
คาวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็ นทีส่ ุด
มาตรา ๑๓ ให้ น ายจ้า งจัด ให้ม ีเ จ้า หน้ า ที่ค วามปลอดภัย ในการท างาน บุ ค ลากร
หน่ วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดาเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการตาม
หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานและบุคลากรตามวรรคหนึ่งจะต้องขึน้ ทะเบียนต่อ
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
ให้นาบทบัญญัติมาตรา ๙ วรรคสอง และมาตรา ๑๐ มาใช้บงั คับกับการขึ้นทะเบียน
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน โดยอนุโลม
มาตรา ๑๔ ในกรณีท่นี ายจ้างให้ลูกจ้างทางานในสภาพการทางานหรือสภาพแวดล้อม
ในการ ทางานทีอ่ าจทาให้ลูกจ้างได้รบั อันตรายต่อชีวติ ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ให้
นายจ้างแจ้ง ให้ลูกจ้างทราบถึงอันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการทางานและแจกคู่มอื ปฏิบตั งิ าน
ให้ลกู จ้างทุกคนก่อนที่ ลูกจ้างจะเข้าทางาน เปลีย่ นงาน หรือเปลีย่ นสถานทีท่ างาน
มาตรา ๑๕ ในกรณีทน่ี ายจ้างได้รบั คาเตือน คาสัง่ หรือคาวินิจฉัยของอธิบดี คาสังของ ่
พนั ก งานตรวจความปลอดภั ย หรือ ค าวิ นิ จ ฉั ย ของคณะกรรมการให้ ป ฏิ บ ัติ ก ารตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี ให้นายจ้างแจ้งหรือปิ ดประกาศคาเตือน คาสัง่ หรือคาวินิจฉัยดังกล่าว ในทีท่ ่ี
เห็นได้งา่ ย ณ สถานประกอบ กิจการเป็ นเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้าวันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้ง
มาตรา ๑๖ ให้นายจ้างจัดให้ผบู้ ริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้างทุกคนได้รบั การฝึกอบรม
ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการท างาน เพื่อ ให้บริห ารจัดการ และ
ดาเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทางานได้อ ย่าง
ปลอดภัย
ในกรณี ท่ีน ายจ้า งรับ ลู ก จ้า งเข้า ท างาน เปลี่ย นงาน เปลี่ย นสถานที่ท างาน หรือ
เปลีย่ นแปลง เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ซึง่ อาจทาให้ลูกจ้างได้รบั อันตรายต่อชีวติ ร่างกาย จิตใจ
หรือสุขภาพอนามัย ให้นายจ้างจัดให้มกี ารฝึกอบรมลูกจ้างทุกคนก่อนการเริม่ ทางาน
การฝึกอบรมตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไข
ที่ อธิบดีประกาศกาหนด
710

หน้า ๑O
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๑๗ ให้นายจ้างติดประกาศสัญลักษณ์เตือนอันตรายและเครื่องหมายเกี่ยวกับ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน รวมทัง้ ข้อความแสดงสิทธิ และ
หน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้างตามทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนดในที่ท่เี ห็นได้ง่าย ณ สถานประกอบ
กิจการ
มาตรา ๑๘ ในกรณีท่สี ถานที่ใดมีสถานประกอบกิจการหลายแห่ง ให้นายจ้างทุกราย
ของสถานประกอบกิจ การในสถานที่นั ้น มีห น้ า ที่ร่ ว มกัน ด าเนิ น การด้า นความปล อดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
ลูก จ้างซึ่งทางานในสถานประกอบกิจการตามวรรคหนึ่ง รวมทัง้ ลูกจ้างซึ่งทางานใน
สถานประกอบ กิจการอื่นทีไ่ ม่ใช่ของนายจ้าง ต้องปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานซึง่ ใช้ในสถานประกอบกิจการนัน้ ด้วย
มาตรา ๑๙ ในกรณีทน่ี ายจ้างเช่าอาคาร สถานที่ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ หรือสิง่
อื่นใด ที่นามาใช้ในสถานประกอบกิจการ ให้นายจ้างมีอานาจดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับอาคารสถานที่ เครื่องมือ เครื่องจักร
อุปกรณ์หรือสิง่ อื่นใดทีเ่ ช่านัน้ ตามมาตรฐานทีก่ าหนดในกฎกระทรวงทีอ่ อกตามมาตรา ๘
การด าเนิ น การตามวรรคหนึ่ ง ไม่ ก่ อ ให้เ กิด สิท ธิแ ก่ ผู้ม ีก รรมสิท ธิใ์ นอาคาร สถานที่
เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์หรือสิง่ อื่นใดซึ่งให้เช่า หรือผูใ้ ห้เช่าในอันทีจ่ ะเรียกร้องค่าเสียหาย
หรือค่าทดแทนใด ๆ ตลอดจนการบอกเลิกสัญญาเช่า
มาตรา ๒๐ ให้ผู้บริหารหรือหัวหน้ างานมีหน้ าที่สนับสนุ นและร่วมมือกับนายจ้างและ
บุคลากรอื่น เพื่อปฏิบตั กิ ารให้เป็ นไปตามมาตรา ๘ มาตรา ๑๖ มาตรา ๑๘ และมาตรา ๒๒
มาตรา ๒๑ ลูกจ้างมีหน้ าที่ดูแลสภาพแวดล้อมในการทางานตามมาตรฐานที่กาหนด
ในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ เพื่อ ให้เ กิดความปลอดภัยต่ อ ชีว ิต ร่างกาย จิต ใจ และ
สุขภาพอนามัย โดยคานึงถึงสภาพของงานและพืน้ ทีท่ ร่ี บั ผิดชอบ
ในกรณีทล่ี กู จ้างทราบถึงข้อบกพร่องหรือการชารุดเสียหาย และไม่สามารถแก้ไขได้ดว้ ย
ตนเอง ให้แจ้งต่อเจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางาน หัวหน้ างาน หรือผู้บริหาร และให้
เจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทางาน หัวหน้างาน หรือผูบ้ ริหาร แจ้งเป็ นหนังสือต่อนายจ้าง
โดยไม่ชกั ช้า
ในกรณีท่หี วั หน้ างานทราบถึงข้อบกพร่องหรือการชารุดเสี ยหายซึ่งอาจทาให้ลูกจ้าง
ได้รบั อันตราย ต่อชีวติ ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ต้องดาเนินการป้ องกันอันตรายนัน้
ภายในขอบเขต ทีร่ บั ผิดชอบหรือทีไ่ ด้รบั มอบหมายทันทีท่ที ราบ กรณีไม่อาจดาเนินการได้ ให้
แจ้งผูบ้ ริหารหรือนายจ้าง ดาเนินการแก้ไขโดยไม่ชกั ช้า
711

หน้า ๑๑
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๒๒ ให้นายจ้างจัดและดูแลให้ลกู จ้างสวมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วน
บุคคล ทีไ่ ด้มาตรฐานตามทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนด
ลูกจ้างมีหน้าทีส่ วมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลและดูแลรักษาอุปกรณ์
ตามวรรคหนึ่งให้สามารถใช้งานได้ตามสภาพและลักษณะของงานตลอดระยะเวลาทางาน
ในกรณีท่ลี ูกจ้างไม่สวมใส่อุปกรณ์ดงั กล่าว ให้นายจ้างสังให้ ่ ลูกจ้างหยุดการทางานนัน้
จนกว่า ลูกจ้างจะสวมใส่อุปกรณ์ดงั กล่าว
มาตรา ๒๓ ให้ผู้รบั เหมาชัน้ ต้นและผู้รบั เหมาช่ว งตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง
แรงงาน มีหน้าทีด่ าเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ของลูกจ้าง เช่นเดียวกับนายจ้าง
ในกรณีทน่ี ายจ้างเป็ นผูร้ บั เหมาช่วง และมีผรู้ บั เหมาช่วงถัดขึน้ ไป ให้ผู้รบั เหมาช่วงถัด
ขึน้ ไป ตลอดสายจนถึงผู้รบั เหมาชัน้ ต้นที่มลี ูกจ้างทางานในสถานประกอบกิจการเดียวกัน มี
หน้าทีร่ ว่ มกันในการ จัดสถานทีท่ างานให้มสี ภาพการทางานทีป่ ลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมใน
การทางานทีถ่ ูกสุขลักษณะ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ลกู จ้างทุกคน
หมวด ๓
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
----------------------------
มาตรา ๒๔ ให้มคี ณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการความปลอดภัย อาชี
วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน” ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงแรงงานเป็ นประธาน
กรรมการ อธิบดี กรมควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดีกรมพัฒนาฝี มอื แรงงาน
อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง อธิบดีกรมโรงงานอุ ตสาหกรรม อธิบดีกรมส่งเสริมการ
ปกครองท้องถิน่ และอธิบดีกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน เป็ นกรรมการ กับผูแ้ ทนฝ่ าย
นายจ้างและผูแ้ ทนฝ่ ายลูกจ้าง ฝ่ ายละแปดคน และผูท้ รงคุณวุฒอิ กี ห้าคนซึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ เป็ น
กรรมการ
ให้ขา้ ราชการกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานซึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ เป็ นเลขานุการ
การได้มาและการพ้นจากตาแหน่ งของผูแ้ ทนฝ่ ายนายจ้างและฝ่ ายลูกจ้างตามวรรคหนึ่ง
ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีร่ ฐั มนตรีประกาศกาหนด โดยต้องคานึงถึงการมี
ส่วนร่วม ของทัง้ หญิงและชาย
ผูท้ รงคุณวุฒติ ้องเป็ นผูม้ คี วามรู้ ความเชีย่ วชาญ มีผลงานหรือประสบการณ์ทเ่ี กี่ยวข้อง
กับความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยต้องคานึงถึงการมีส่วน
ร่วมของทัง้ หญิง และชาย
712

หน้า ๑๒
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๒๕ คณะกรรมการมีอานาจหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
(๑) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกีย่ วกับนโยบาย แผนงาน หรือมาตรการความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และการพัฒนาสภาพแวดล้อมในการทางาน
(๒) เสนอความเห็นต่ อรัฐมนตรีใ นการออกกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ เพื่อ
ปฏิบตั กิ าร ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
(๓) ให้ความเห็นแก่หน่ วยงานของรัฐเกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(๔) วินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๒ มาตรา ๓๓ วรรคสาม และมาตรา ๔๐ วรรคสอง
(๕) ปฏิบตั ิก ารอื่นใดตามที่พระราชบัญ ญัติน้ี ห รือ กฎหมายอื่นบัญ ญัติใ ห้เ ป็ น อ านาจ
หน้าที่ ของคณะกรรมการหรือตามทีร่ ฐั มนตรีมอบหมาย
มาตรา ๒๖ กรรมการผู้ท รงคุ ณ วุ ฒ ิม ีว าระอยู่ใ นต าแหน่ ง คราวละสองปี กรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒ ิ ซึง่ พ้นจากตาแหน่งอาจได้รบั แต่งตัง้ อีกได้
ในกรณีทก่ี รรมการผูท้ รงคุณวุฒพิ น้ จากตาแหน่ งก่อนวาระ ให้รฐั มนตรีแต่งตัง้ กรรมการ
แทนตาแหน่ งที่ว่าง และให้ผู้ไ ด้รบั แต่ งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ งแทนอยู่ใ นต าแหน่ งเท่ากับวาระที่
เหลืออยู่ ของกรรมการผูท้ รงคุณวุฒซิ ง่ึ ตนแทน
ในกรณีท่กี รรมการผู้ทรงคุ ณ วุ ฒพิ ้น จากต าแหน่ งตามวาระ แต่ ย งั มิไ ด้ม ีก ารแต่ ง ตัง้
กรรมการใหม่ ให้กรรมการนัน้ ปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ปพลางก่อนจนกว่ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒทิ ไ่ี ด้รบั
แต่งตัง้ จะเข้ารับหน้าที่
มาตรา ๒๗ นอกจากการพ้ น จากต าแหน่ ง ตามวาระตามมาตรา ๒๖ กรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒ ิ พ้นจากตาแหน่ง เมือ่
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) รัฐมนตรีให้ออก เมือ่ ขาดประชุมสามครัง้ ติดต่อกันโดยไม่มเี หตุอนั สมควร
(๔) เป็ นบุคคลล้มละลาย
(๕) เป็ นบุคคลวิกลจริต หรือจิตฟั น่ เฟื อน
(๖) เป็ นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๗) ต้องคาพิพากษาว่าได้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
(๘) ได้รบั โทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงทีส่ ุดให้จาคุก เว้นแต่เป็ นโทษสาหรับความผิดที่
ได้ กระทาโดยประมาทหรือความผิดฐานหมิน่ ประมาทหรือความผิดลหุโทษ
713

หน้า ๑๓
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๒๘ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จานวน กรรมการทัง้ หมด โดยมกรรมการผูแ้ ทนฝ่ ายนายจ้างและฝ่ ายลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ ายละ
หนึ่งคน จึงจะเป็ นองค์ประชุม
ในการประชุมเพื่อพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คราวใด ถ้าไม่ได้องค์ประชุมตามทีก่ าหนดไว้
ในวรรคหนึ่ง ให้จดั ให้มกี ารประชุมอีกครัง้ ภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ที่นัดประชุมครัง้ แรก การ
ประชุมครัง้ หลังแม้ไม่มกี รรมการซึ่งมาจากฝ่ ายนายจ้างหรือฝ่ ายลูกจ้างมาร่วมประชุม ถ้ามี
กรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึง่ หนึ่งของจานวนกรรมการทัง้ หมด ก็ให้ถอื เป็ นองค์ประชุม
ในการประชุมคราวใด ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้
ให้กรรมการซึง่ มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็ นประธานในทีป่ ระชุมสาหรับการประชุมคราว
นัน้
มติท่ปี ระชุ มให้ถือ เสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่ งมีเ สีย งหนึ่ งในการลงคะแนน ถ้า
คะแนนเสียง เท่ากัน ให้ประธานในทีป่ ระชุมออกเสียงเพิม่ ขึน้ อีกเสียงหนึ่งเป็ นเสียงชีข้ าด
มาตรา ๒๙ คณะกรรมการมีอ านาจแต่ ง ตัง้ คณะอนุ ก รรมการเพื่อ พิจ ารณาหรือ
ปฏิบตั กิ าร อย่างหนึ่งอย่างใดตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมายได้
ให้คณะกรรมการกาหนดองค์ประชุมและวิธดี าเนินงานของคณะอนุ กรรมการได้ตาม
ความ เหมาะสม
มาตรา ๓๐ ในการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามพระราชบัญ ญัติน้ี ให้กรรมการและอนุ กรรมการ
ได้รบั เบีย้ ประชุม และประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบทีร่ ฐั มนตรีกาหนดโดยความเห็นชอบ
ของกระทรวงการคลัง
มาตรา ๓๑ ให้กรมสวัส ดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงานรับผิดชอบงาน
ธุรการ ของคณะกรรมการ และมีอานาจหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
(๑) สรรหา รวบรวม และวิเ คราะห์ข้อ มูล ด้า นความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อม ในการทางานเพื่อการจัดทานโยบาย แผนงาน โครงการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเสนอต่อคณะกรรมการ
(๒)จัด ท าแนวทางการก าหนดมาตรฐานความปลอดภั ย อาชี ว อนามัย และ
สภาพแวดล้อม ในการทางานเสนอต่อคณะกรรมการ
(๓) จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน ประจาปี เสนอต่อคณะกรรมการ
(๔) ประสานแผนและการดาเนินการของคณะกรรมการและคณะอนุ กรรมการตลอดจน
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อ
714

หน้า ๑๔
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
(๕) ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามมติของคณะกรรมการ
(๖) รับผิดชอบงานธุรการของคณะอนุกรรมการ
(๗) ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ่นื ตามทีค่ ณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการมอบหมาย
หมวด ๔
การควบคุม กากับ ดูแล
--------------------------
มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการควบคุม กากับ ดูแลการดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ให้นายจ้างดาเนินการดังต่อไปนี้
(๑) จัดให้มกี ารประเมินอันตราย
(๒) ศึกษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทางานทีม่ ผี ลต่อลูกจ้าง
(๓) จัดทาแผนการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การ ทางานและจัดทาแผนการควบคุมดูแลลูกจ้างและสถานประกอบกิจการ
(๔) ส่งผลการประเมินอันตราย การศึกษาผลกระทบ แผนการดาเนินงานและแผนการ
ควบคุมตาม (๑) (๒) และ (๓) ให้อธิบดีหรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมาย
หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ประเภทกิจการ ขนาด
ของ กิจการที่ต้องดาเนินการ และระยะเวลาที่ต้องดาเนินการ ให้เป็ นไปตามทีร่ ฐั มนตรีกาหนด
โดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา
ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง นายจ้างจะต้องปฏิบตั ิต ามค าแนะนาและได้รบั การ
รับรองผล จากผูช้ านาญการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
มาตรา ๓๓ ผู้ใ ดจะทาการเป็ น ผู้ช านาญการด้า นความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อม ในการทางานจะต้องได้รบั ใบอนุญาตจากอธิบดีตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
การขอใบอนุ ญ าต การออกใบอนุ ญ าต คุ ณสมบัติของผู้ชานาญการ การควบคุ มการ
ปฏิบตั งิ าน ของผูไ้ ด้รบั ใบอนุ ญาต การต่ออายุใบอนุ ญาต การออกใบแทนใบอนุ ญาต การสังพั ่ ก
ใช้ และการเพิกถอน ใบอนุ ญาตตามวรรคหนึ่ง ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงื่อนไขที่
กาหนดในกฎกระทรวง
ให้นาบทบัญญัตใิ นมาตรา ๑๒ มาใช้บงั คับกับการอนุ ญาตเป็ นผู้ชานาญการด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยอนุโลม
มาตรา ๓๔ ในกรณีท่สี ถานประกอบกิจการใดเกิดอุบตั ภิ ยั ร้ายแรง หรือลูกจ้างประสบ
อันตรายจากการทางาน ให้นายจ้างดาเนินการดังต่อไปนี้
715

หน้า ๑๕
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
(๑) กรณีท่ลี ูกจ้างเสียชีวติ ให้นายจ้างแจ้งต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยในทันทีท่ี
ทราบ โดยโทรศัพท์ โทรสาร หรือวิธอี ่นื ใดทีม่ รี ายละเอียดพอสมควร และให้แจ้งรายละเอียดและ
สาเหตุ เป็ นหนังสือภายในเจ็ดวันนับแต่วนั ทีล่ กู จ้างเสียชีวติ
(๒) กรณีทส่ี ถานประกอบกิจการได้รบั ความเสียหายหรือต้องหยุดการผลิต หรือมีบุคคล
ในสถานประกอบกิจการประสบอันตรายหรือได้รบั ความเสียหาย อันเนื่อ งมาจากเพลิงไหม้ การ
ระเบิด สารเคมีรวไหล ั่ หรืออุบตั ภิ ยั ร้ายแรงอื่น ให้นายจ้างแจ้งต่อพนักงานตรวจความปลอดภัย
ในทันทีท่ที ราบ โดยโทรศัพท์ โทรสาร หรือวิธอี ่นื ใด และให้แจ้งเป็ นหนังสือโดยระบุสาเหตุ
อันตรายทีเ่ กิดขึน้ ความเสียหาย การแก้ไขและวิธกี ารป้ องกันการเกิดซ้าอีกภายในเจ็ดวันนับแต่
วันเกิดเหตุ
(๓) กรณีท่มี ลี ูกจ้างประสบอันตราย หรือเจ็บป่ วยตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน เมื่อ
นายจ้าง แจ้งการประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยต่อสานักงานประกันสังคมตามกฎหมายดังกล่าว
แล้ว ให้นายจ้าง ส่งสาเนาหนังสือแจ้งนัน้ ต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยภายในเจ็ดวันด้วย
การแจ้งเป็ นหนังสือตามวรรคหนึ่ง ให้เป็ นไปตามแบบที่อธิบดีประกาศกาหนดและเมื่อ
พนักงาน ตรวจความปลอดภัยได้รบั แจ้งแล้ว ให้ดาเนินการตรวจสอบและหามาตรการป้ องกัน
อันตรายโดยเร็ว
หมวด ๕
พนักงานตรวจความปลอดภัย
---------------------------
มาตรา ๓๕ ในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามพระราชบัญญัตนิ ้ี ให้พนักงานตรวจความปลอดภัย
มีอานาจดังต่อไปนี้
(๑) เข้าไปในสถานประกอบกิจการหรือสานักงานของนายจ้างในเวลาทาการหรือเมื่อ
เกิด อุบตั ภิ ยั
(๒) ตรวจสอบหรือบันทึกภาพและเสียงเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทางานทีเ่ กี่ยวกับ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(๓) ใช้เครือ่ งมือในการตรวจวัดหรือตรวจสอบเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ในสถานประกอบ
กิจการ
(๔) เก็บ ตัว อย่า งของวัส ดุ ห รือ ผลิต ภัณ ฑ์ใ ด ๆ มาเพื่อ การวิเ คราะห์เ กี่ย วกับ ความ
ปลอดภัย
716

หน้า ๑๖
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
(๕) สอบถามข้อเท็จจริง หรือสอบสวนเรื่องใด ๆ ภายในขอบเขตอานาจและเรียกบุคคล
ที่เ กี่ย วข้อ งมาชี้แจง รวมทัง้ ตรวจสอบหรือ ให้ส่ ง เอกสารหลักฐานที่เ กี่ย วข้อ งและเสนอแนะ
มาตรการ ป้ องกันอันตรายต่ออธิบดีโดยเร็ว
มาตรา ๓๖ ในกรณีท่ีพ นัก งานตรวจความปลอดภัยพบว่า นายจ้า ง ลูกจ้า งหรือ ผู้ท่ี
เกี่ยวข้อ ง ผู้ใ ดฝ่ าฝื นหรือ ไม่ปฏิบตั ิต ามพระราชบัญ ญัติน้ี หรือ กฎกระทรวงซึ่ง ออกตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี หรือพบว่า สภาพแวดล้อมในการทางาน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรหรือ
อุปกรณ์ทล่ี ูกจ้างใช้จะก่อให้เกิดความ ไม่ปลอดภัยแก่ลูกจ้าง ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยมี
อานาจสังให้ ่ ผนู้ ัน้ หยุดการกระทาทีฝ่ ่ าฝื น แก้ไข ปรับปรุง หรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องหรือเหมาะสม
ภายในระยะเวลาสามสิบวัน ถ้ามีเหตุจาเป็ นไม่อาจดาเนินการ ให้แล้วเสร็จภายในกาหนดเวลา
ดังกล่าวได้ พนักงานตรวจความปลอดภัยอาจขยายระยะเวลาออกไปได้ ไม่เกินสองครัง้ ครัง้ ละ
สามสิบวันนับแต่วนั ทีค่ รบกาหนดเวลาดังกล่าว
ในกรณีจาเป็ นเมื่อได้รบั อนุ มตั จิ ากอธิบดีหรือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมาย ให้พนักงานตรวจ
ความปลอดภัย มีอ านาจสัง่ ให้ห ยุ ด การใช้เ ครื่อ งจัก ร อุ ป กรณ์ อาคารสถานที่ หรือ ผู ก มัด
ประทับตราสิง่ ทีอ่ าจจะ ก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อลูกจ้างดังกล่าวทัง้ หมดหรือบางส่วน
เป็ นการชัวคราว่ ในระหว่าง การปฏิบตั ติ ามคาสังของพนั ่ กงานตรวจความปลอดภัยได้ เมื่อ
นายจ้างได้ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามคาสัง่ ของพนักงานตรวจความปลอดภัยตามวรรคหนึ่ง
แล้ว ให้นายจ้างแจ้งอธิบดีหรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมาย เพื่อพิจารณาเพิกถอนคาสังดั ่ งกล่าวได้
มาตรา ๓๗ ในกรณีท่นี ายจ้างไม่ปฏิบตั ิตามคาสังของพนั ่ กงานตรวจความปลอดภัย
ตามมาตรา ๓๖ ถ้ามีเหตุอนั อาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงที่กรมสวัสดิการและคุ้มครอง
แรงงาน สมควรเข้าไปดาเนินการแทน ให้อธิบดีห รือผู้ซ่งึ อธิบดีมอบหมายมีอ านาจสังให้ ่
พนักงานตรวจ ความปลอดภัยหรือมอบหมายให้บุคคลใดเข้าจัดการแก้ไขเพื่อให้เป็ นไปตาม
คาสังนั ่ น้ ได้ ในกรณีเช่นนี้ นายจ้างต้องเป็ นผูเ้ สียค่าใช้จ่ายสาหรับการเข้าจัดการแก้ไขนัน้ ตาม
จานวนทีจ่ า่ ยจริง
ก่อนทีอ่ ธิบดีหรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมายจะดาเนินการตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีคาเตือนเป็ น
หนังสือ ให้นายจ้างปฏิบตั ติ ามคาสังของพนั ่ กงานตรวจความปลอดภัยภายในระยะเวลาทีก่ าหนด
คาเตือนดังกล่าว จะกาหนดไปพร้อมกับคาสังของพนั ่ กงานตรวจความปลอดภัยก็ได้
ในการด าเนิ น การตามวรรคหนึ่ ง ให้ก รมสวัส ดิก ารและคุ้ม ครองแรงงานขอรับ เงิน
ช่วยเหลือจาก กองทุนเพื่อเป็ นเงินทดรองจ่ายในการดาเนินการได้ และเมื่อได้รบั เงินจาก
นายจ้างแล้วให้ชดใช้ เงินช่วยเหลือทีไ่ ด้รบั มาคืนแก่กองทุน
717

หน้า ๑๗
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๓๘ ให้อธิบดีมอี านาจออกคาสังเป็ ่ นหนังสือให้ยดึ อายัด และขายทอดตลาด
ทรัพย์สนิ ของนายจ้างซึ่งไม่จ่ายค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตามมาตรา ๓๗ ทัง้ นี้ เพียงเท่าที่
จาเป็ นเพื่อเป็ นค่าใช้จา่ ยสาหรับการเข้าจัดการแก้ไขตามจานวนทีจ่ ่ายจริง
การมีค าสังให้่ ย ึด หรือ อายัดทรัพ ย์ส ินตามวรรคหนึ่ ง จะกระท าได้ต่ อ เมื่อ ได้แ จ้ง เป็ น
หนังสือ ให้นายจ้างนาเงินค่าใช้จา่ ยมาจ่ายภายในระยะเวลาทีก่ าหนด แต่ต้องไม่น้อยกว่าสามสิบ
วันนับแต่วนั ที่ นายจ้างได้รบั หนังสือนัน้ และนายจ้างไม่จา่ ยภายในระยะเวลาทีก่ าหนด
หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขในการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ตามวรรค
หนึ่ง ให้เป็ นไปตามระเบียบทีร่ ฐั มนตรีกาหนด ทัง้ นี้ ให้นาหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขตาม
ประมวลกฎหมาย วิธพี จิ ารณาความแพ่งมาใช้บงั คับโดยอนุ โลม
เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ให้หกั ไว้เป็ นค่าใช้ จ่ายในการยึด อายัด และ
ขายทอดตลาด และชาระค่าใช้จ่ายทีน่ ายจ้างต้องเป็ นผูจ้ ่ายตามมาตรา ๓๗ ถ้ามีเงินเหลือให้คนื
แก่นายจ้างโดยเร็ว โดยให้พนักงานตรวจความปลอดภัยมีหนังสือแจ้งให้ทราบเพื่อขอรับเงินที่
เหลือคืนโดยส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตอบรับ ถ้านายจ้างไม่มาขอรับคืนภายในห้าปี นับแต่
วันได้รบั แจ้ง ให้เงินดังกล่าวตกเป็ นของ กองทุน
มาตรา ๓๙ ระหว่า งหยุด การท างานหรือ หยุด กระบวนการผลิต ตามมาตรา ๓๖ ให้
นายจ้าง จ่ายเงินให้แก่ลูกจ้างทีเ่ กี่ยวข้องกับการหยุดการทางานหรือการหยุดกระบวนการผลิต
นัน้ เท่ากับค่าจ้าง หรือสิทธิประโยชน์อ่นื ใดทีล่ ูกจ้างต้องได้รบั เว้นแต่ลูกจ้างรายนัน้ จงใจกระทา
การอันเป็ นเหตุให้มกี าร หยุดการทางานหรือหยุดกระบวนการผลิต
มาตรา ๔๐ ในกรณีท่พี นักงานตรวจความปลอดภัยมีคาสังตามมาตรา ่ ๓๖ วรรคหนึ่ง
หากนายจ้าง ลูก จ้าง หรือผู้ท่เี กี่ยวข้องไม่เห็นด้วย ให้มสี ทิ ธิอุ ทธรณ์ เป็ นหนังสือ ต่ ออธิบดีได้
ภายในสามสิบวัน นับแต่วนั ทีท่ ราบคาสัง่ ให้อธิบดีวนิ ิจฉัยอุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่
รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัย ของอธิบดีให้เป็ นทีส่ ุด
ในกรณีท่พี นักงานตรวจความปลอดภัยมีคาสังตามมาตรา ่ ๓๖ วรรคสอง หากนายจ้าง
ลูกจ้าง หรือผู้ทเ่ี กี่ยวข้องไม่เห็นด้วย ให้มสี ทิ ธิอุทธรณ์เป็ นหนังสือต่อคณะกรรมการได้ภายใน
สามสิบวันนับแต่วนั ที่ ทราบคาสัง่ ให้คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่
รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัย ของคณะกรรมการให้เป็ นทีส่ ุด
การอุ ท ธรณ์ ย่ อ มไม่ เ ป็ น การทุ เ ลาการปฏิบ ัติต ามค าสัง่ ของพนั ก งานตรวจความ
ปลอดภัย เว้นแต่ อธิบดีหรือคณะกรรมการ แล้วแต่กรณี จะมีคาสังเป็ ่ นอย่างอื่น
718

หน้า ๑๘
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๔๑ ในการปฏิบ ัติต ามหน้ า ที่ พนัก งานตรวจความปลอดภัย ต้อ งแสดงบัต ร
ประจาตัว เมื่อผูท้ เ่ี กี่ยวข้องร้องขอ บัตรประจาตัวพนักงานตรวจความปลอดภัย ให้เป็ นไปตาม
แบบทีร่ ฐั มนตรีประกาศกาหนด
มาตรา ๔๒ ห้ามนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง หรือโยกย้ายหน้าที่การงานของลูกจ้างเพราะ
เหตุท่ี ลูกจ้างดาเนินการฟ้ องร้องหรือเป็ นพยานหรือให้หลักฐานหรือให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานต่อพนักงานตรวจความปลอดภัย หรือ
คณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี หรือต่อศาล
มาตรา ๔๓ ในกรณีทน่ี ายจ้าง ลูกจ้าง หรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องได้ปฏิบตั ติ ามคาสังของพนั ่ กงาน
ตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ ภายในระยะเวลาทีก่ าหนด การดาเนินคดีอาญาต่อนายจ้าง
ลูกจ้าง หรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องให้เป็ นอันระงับไป
หมวด ๖
กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
-------------------------
มาตรา ๔๔ ให้จดั ตัง้ กองทุ นขึ้น กองทุน หนึ่ง ในกรมสวัส ดิการและคุ้ม ครองแรงงาน
เรียกว่า “กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน” เพื่อเป็ นทุนใช้
จ่ายในการ ดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี
มาตรา ๔๕ กองทุนประกอบด้วย
(๑) เงินทุนประเดิมทีร่ ฐั บาลจัดสรรให้
(๒) เงินรายปี ทไ่ี ด้รบั การจัดสรรจากกองทุนเงินทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
(๓) เงินค่าปรับทีไ่ ด้จากการลงโทษผูก้ ระทาผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
(๔) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
(๕) เงินหรือทรัพย์สนิ ทีม่ ผี บู้ ริจาคให้
(๖) ผลประโยชน์ทไ่ี ด้จากเงินของกองทุน
(๗) ค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตและใบสาคัญ การขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ มาตรา ๑๑
มาตรา ๑๓ และมาตรา ๓๓
(๘) ดอกผลทีเ่ กิดจากเงินหรือทรัพย์สนิ ของกองทุน
(๙) รายได้อ่นื ๆ
719

หน้า ๑๙
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๔๖ เงินกองทุนให้ใช้จา่ ยเพื่อกิจการดังต่อไปนี้
(๑) การรณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
และการพัฒนา แก้ไขและบริหารงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน ทัง้ นี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อม ในการทางาน
(๒) ช่วยเหลือและอุดหนุนหน่วยงานของรัฐ สมาคม มูลนิธ ิ องค์กรเอกชน หรือบุคคล ที่
เสนอโครงการหรือแผนงานในการดาเนินการส่งเสริม สนับสนุ นการศึกษาวิจยั และการพัฒนา
งานด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(๓) ค่าใช้จา่ ยในการบริหารกองทุนและตามมาตรา ๓๐
(๔) สนับสนุ นการดาเนินงานของสถาบันส่ งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานตามความเหมาะสมเป็ นรายปี
(๕) ให้นายจ้างกูย้ มื เพื่อแก้ไขสภาพความไม่ปลอดภัย หรือเพื่อป้ องกันการเกิดอุบตั เิ หตุ
และ โรคอันเนื่องจากการทางาน
(๖) เงินทดรองจ่ายในการดาเนินการตามมาตรา ๓๗ การดาเนินการตาม (๑) (๒) (๓)
(๔) (๕) และ (๖) ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขทีค่ ณะกรรมการบริหารกองทุน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานกาหนด และให้นาเงินดอกผล
ของกองทุนมาเป็ นค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตาม (๑) (๒) และ (๓) ได้ไม่เกินร้อยละเจ็ดสิบห้า
ของดอกผลของกองทุนต่อปี
มาตรา ๔๗ เงิ น และทรั พ ย์ ส ิ น ที่ ก องทุ น ได้ ร ั บ ตามมาตรา ๔๕ ไม่ ต้ อ งน าส่ ง
กระทรวงการคลัง เป็ นรายได้แผ่นดิน
มาตรา ๔๘ ให้มคี ณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการบริหารกองทุนความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน” ประกอบด้วย อธิบดีกรมสวัสดิการ
และคุม้ ครองแรงงาน เป็ นประธานกรรมการ ผูแ้ ทนกระทรวงการคลัง ผูแ้ ทนสานักงาน
ประกันสังคม ผูแ้ ทนสานักงบประมาณ และผูท้ รงคุณวุฒอิ กี คนหนึ่งซึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ กับผูแ้ ทน
ฝ่ ายนายจ้างและผูแ้ ทนฝ่ ายลูกจ้างฝ่ ายละห้าคน เป็ นกรรมการ
ให้ขา้ ราชการกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานซึง่ รัฐมนตรีแต่งตัง้ เป็ นเลขานุการ
การได้มาซึ่งผู้แทนฝ่ ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ ายลูกจ้างตามวรรคหนึ่ง ให้เ ป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขทีร่ ฐั มนตรีประกาศกาหนด โดยต้องคานึงถึงการมีส่วนร่วมของ
ทัง้ หญิงและชาย
720

หน้า ๒o
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๔๙ ให้นาบทบัญญัตมิ าตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ และมาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง วรรค
สาม และวรรคสี่ มาใช้บงั คับกับการดารงตาแหน่ ง การพ้นจากต าแหน่ ง การประชุมของ
คณะกรรมการบริหาร กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
และให้นามาตรา ๒๙ มาใช้บงั คับ กับการแต่งตัง้ คณะอนุ กรรมการของคณะกรรมการบริหาร
กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานโดยอนุโลม
มาตรา ๕๐ ให้ ค ณะกรรมการบริห ารกองทุ น ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อม ในการทางานมีอานาจหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
(๑) กากับการจัดการและบริหารกองทุน
(๒) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนเพื่อการช่วยเหลือและการอุดหนุ น การให้กู้ยมื การทด
รองจ่าย และการสนับ สนุ นเงิน ในการด าเนิ นงานด้า นความปลอดภัย อาชีว อนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
(๓) วางระเบียบเกีย่ วกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุนและการจัดหา
ผลประโยชน์ของเงินกองทุน โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
(๔) วางระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขการให้เงินช่วยเหลื อและเงิน
อุดหนุ น การขอเงินช่วยเหลือและเงินอุดหนุ น การอนุ มตั เิ งินทดรองจ่าย การขอเงินทดรองจ่าย
การให้กยู้ มื เงิน และการชาระเงินคืนแก่กองทุน
(๕) ปฏิบตั ิก ารอื่นใดตามที่พระราชบัญ ญัติน้ี ห รือ กฎหมายอื่นบัญ ญัติใ ห้เ ป็ น อ านาจ
หน้าที่ ของคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการ
ทางานหรือ ตามทีร่ ฐั มนตรีมอบหมาย
มาตรา ๕๑ ภายในหนึ่งร้อยยีส่ บิ วันนับแต่วนั สิน้ ปี บญ ั ชี ให้คณะกรรมการบริหารกองทุน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเสนองบดุลและรายงานการรับ
จ่ายเงิน กองทุนในปี ท่ลี ่วงมาแล้วต่อสานัก งานการตรวจเงินแผ่นดินเพื่อตรวจสอบ
รับรองและเสนอต่อ คณะกรรมการ
งบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินดังกล่าว ให้ค ณะกรรมการเสนอต่อรัฐมนตรีและให้
รัฐมนตรี เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบและจัดให้มกี ารประกาศในราชกิจจานุเบกษา
721

หน้า ๒๑
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หมวด ๗
สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
------------------------
มาตรา ๕๒ ให้มสี ถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน และมีอานาจ หน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
(๑) ส่งเสริมและแก้ไขปั ญหาเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการ ทางาน
(๒) พัฒนาและสนับสนุ นการจัดทามาตรฐานเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(๓) ดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมดาเนินงานกับหน่ วยงานด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของภาครัฐและเอกชน
(๔) จัด ให้ม ีก ารศึก ษาวิจ ยั เกี่ย วกับ การส่ ง เสริม ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อม ในการทางาน ทัง้ ในด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านวิชาการ
(๕) อานาจหน้าทีอ่ ่นื ตามทีก่ าหนดในกฎหมาย
ให้ ก ระทรวงแรงงานจัด ตัง้ สถาบัน ส่ ง เสริ ม ความปลอดภัย อาชี ว อนามัย และ
สภาพแวดล้อม ในการทางานโดยอยู่ภายใต้การกากับดูแลของรัฐมนตรี ทัง้ นี้ ภายในหนึ่งปี นับ
แต่วนั ทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ้ี ใช้บงั คับ
หมวด ๘
บทกาหนดโทษ
-------------------
มาตรา ๕๓ นายจ้างผู้ใดฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานที่กาหนดในกฎกระทรวงที่
ออกตาม มาตรา ๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสีแ่ สนบาท หรือทัง้ จาทัง้
ปรับ
มาตรา ๕๔ ผูใ้ ดมีหน้าทีใ่ นการรับรอง หรือตรวจสอบเอกสารหลักฐาน หรือรายงานตาม
กฎกระทรวงที่อ อกตามมาตรา ๘ วรรคสอง กรอกข้อ ความอัน เป็ น เท็จ ในการรับ รองหรือ
ตรวจสอบ เอกสารหลักฐานหรือรายงาน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกิน
สองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
722

หน้า ๒๒
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๕๕ ผูใ้ ดให้บริการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมินความเสีย่ ง จัด
ฝึกอบรม หรือให้คาปรึกษาโดยไม่ได้ขน้ึ ทะเบียนตามมาตรา ๙ หรือไม่ได้รบั อนุ ญาตตามมาตรา
๑๑ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๕๖ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบตั ิต ามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๖ หรือ มาตรา ๓๒ ต้อ ง
ระวางโทษ จาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๕๗ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๓๔ ต้องระวางโทษปรับ
ไม่เกินห้าหมืน่ บาท
มาตรา ๕๘ นายจ้างผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา ๑๕ หรือมาตรา ๑๗ ต้องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๕๙ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกิน หนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสีแ่ สนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๐ ผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสาม
เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๑ ผู้ใดขัดขวางการดาเนินการของนายจ้างตามมาตรา ๑๙ หรือขัดขวางการ
ปฏิบตั ิ หน้าทีข่ องพนักงานตรวจความปลอดภัย หรือบุคคลซึง่ ได้รบั มอบหมายตามมาตรา ๓๗
วรรคหนึ่ง โดยไม่มเี หตุอนั สมควร ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินสองแสน
บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๒ ผู้ใดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา ๒๓ ต้องระวางโทษ
จาคุก ไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๓ ผู้ใดกระทาการเป็ นผู้ชานาญการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานโดยไม่ได้รบั ใบอนุญาตตามมาตรา ๓๓ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
หกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๔ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อานวยความสะดวกในการปฏิบตั หิ น้ าที่ของพนักงาน
ตรวจ ความปลอดภัยตามมาตรา ๓๕ หรือมาตรา ๓๖ วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหก
เดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๕ ผู้ใดฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามคาสังของพนั ่ กงานตรวจความปลอดภัยตาม
มาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือ
ทัง้ จาทัง้ ปรับ
723

หน้า ๒๓
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรา ๖๖ ผูใ้ ดฝ่ าฝืนหรือกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อให้สงิ่ ทีพ่ นักงานตรวจ ความ
ปลอดภัยสังให้ ่ ระงับการใช้หรือผูกมัดประทับตราไว้กลับใช้งานได้อีกระหว่างการปฏิบตั ิตาม
คาสัง่ ของพนักงานตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
สองปี หรือปรับไม่เกินแปดแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ และปรับอีกเป็ นรายวันไม่เกินวันละห้า
พันบาทจนกว่า จะดาเนินการตามคาสัง่
มาตรา ๖๗ นายจ้างผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา ๓๙ ต้องระวางโทษปรับครัง้ ละไม่เกินห้า
หมื่นบาท มาตรา ๖๘ นายจ้างผูใ้ ดฝ่ าฝืนมาตรา ๔๒ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือ
ปรับ ไม่เกินสองแสนบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา ๖๙ ในกรณีท่ผี ู้กระทาความผิดเป็ นนิติบุคคล ถ้าการกระทาความผิดของนิติ
บุคคลนัน้ เกิดจากการสังการ ่ หรือการกระทาของบุคคลใด หรือเกิดจากการไม่สงการ ั่ หรือไม่
กระทาการอันเป็ นหน้าที่ ทีต่ ้องกระทาของกรรมการผูจ้ ดั การหรือบุคคลใดซึง่ รับผิดชอบในการ
ดาเนินงานของนิตบิ ุคคลนัน้ ผูน้ นั ้ ต้องรับโทษตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้สาหรับความผิดนัน้ ๆ ด้วย
มาตรา ๗๐ ผู้ใดเปิ ดเผยข้อเท็จจริงใดที่เกี่ยวกับกิจการของนายจ้างอันเป็ นข้อเท็จจริง
ที่ปกติว ิสยั ของนายจ้างจะพึงสงวนไว้ไม่เ ปิ ดเผยซึ่งผู้นัน้ ได้ห รือ ล่ ว งรู้ข้อ เท็จจริงดังกล่ าวมา
เนื่องจาก การปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับ
ไม่เกินสีห่ มืน่ บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ เว้นแต่เป็ นการเปิ ดเผยในการปฏิบตั ริ าชการเพื่อประโยชน์
แห่งพระราชบัญญัตนิ ้ี หรือเพื่อประโยชน์แก่การคุม้ ครองแรงงาน การแรงงานสัมพันธ์ หรือการ
สอบสวนหรือพิจารณาคดี
มาตรา ๗๑ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ้ีทม่ี อี ตั ราโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือ
ปรับ ไม่เกินสี่แสนบาท ถ้าเจ้าพนักงานดังต่อไปนี้ เห็นว่าผู้กระทาผิดไม่ควรได้รบั โทษจาคุก
หรือไม่ควร ถูกฟ้ องร้อง ให้มอี านาจเปรียบเทียบดังนี้
(๑) อธิบดีหรือผูซ้ ง่ึ อธิบดีมอบหมาย สาหรับความผิดทีเ่ กิดขึน้ ในกรุงเทพมหานคร
(๒) ผู้ว่า ราชการจังหวัดหรือ ผู้ซ่งึ ผู้ว่า ราชการจัง หวัดมอบหมาย ส าหรับความผิด ที่
เกิดขึน้ ในจังหวัดอื่น
ในกรณีท่มี กี ารสอบสวน ถ้า พนักงานสอบสวนพบว่าบุค คลใดกระทาความผิดที่เ จ้า
พนักงาน มีอานาจเปรียบเทียบได้ต ามวรรคหนึ่งและบุคคลนั ้นยินยอมให้เ ปรียบเทียบ ให้
พนักงานสอบสวนส่งเรื่อง ให้อธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี ภายในเจ็ดวันนับแต่
วันทีบ่ ุคคลนัน้ แสดงความยินยอม ให้เปรียบเทียบ
เมื่อผู้กระทาผิดได้ชาระเงินค่าปรับตามจานวนที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวันนับแต่
วันทีม่ กี าร เปรียบเทียบแล้ว ให้ถอื ว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา
724

หน้า ๒๔
เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ถ้าผู้กระทาความผิดไม่ยนิ ยอมให้เปรียบเทียบหรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ชาระเงินค่าปรับ
ภายใน กาหนดเวลาตามวรรคสาม ให้ดาเนินคดีต่อไป
มาตรา ๗๒ การกระทาความผิดตามมาตรา ๖๖ ถ้าคณะกรรมการเปรียบเทียบ ซึ่ง
ประกอบด้วยอธิบดี ผู้บญ ั ชาการสานั กงานตารวจแห่งชาติหรือผู้แทน และอัยการสูงสุด หรือ
ผูแ้ ทน เห็นว่าผูก้ ระทาผิดไม่ควรได้รบั โทษจาคุกหรือไม่ควรถูกฟ้ องร้อง ให้มอี านาจเปรียบเทียบ
ได้ และให้นา มาตรา ๗๑ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
บทเฉพาะกาล
-------------------
มาตรา ๗๓ ในวาระเริม่ แรก ให้คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และ
สภาพแวดล้อ มในการท างานตามพระราชบัญ ญัติคุ้ม ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่ง ด ารง
ตาแหน่งอยู่ ในวันทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ้ใี ช้บงั คับ ปฏิบตั หิ น้าทีค่ ณะกรรมการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
ไปจนกว่าจะมีการ แต่งตัง้ คณะกรรมการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ซึง่ ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบ
วันนับแต่วนั ทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ้ี ใช้บงั คับ
มาตรา ๗๔ ในระหว่างที่ยงั มิได้ออกกฎกระทรวง ประกาศ หรือระเบียบเพื่อปฏิบตั กิ าร
ตามพระราชบัญ ญัติน้ี ให้นากฎกระทรวงที่อ อกตามความในหมวด ๘ แห่ งพระราชบัญ ญัติ
คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาใช้บงั คับโดยอนุโลม

ผูร้ บั สนองพระบรมราชโองการ
อภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี

สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม


แห่งชาติ พ.ศ. 2535, ค้นเมือ่ 20 มิถุนายน 2560, ค้นจากhttp://www.openbase.in.th/node.
725

ภาคผนวก ข
พระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภยั
พ.ศ. 2542
726

พระราชบัญญัติ
ป้ องกันและระงับอัคคีภยั
พ.ศ. 2542
_________
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2542
เป็ นปี ที่ 54 ในรัชกาลปัจจุบนั
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศว่าโดยทีเ่ ป็ นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการป้ องกันและระงับอัคคีภยั
พระราชบัญญัตมิ บี ทบัญญัตบิ างประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล
ซึง่ มาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 และมาตราที่ 18 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัตใิ ห้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเก้าให้ตราพระราชบัญญัติ ขน้ึ ไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ
รัฐสภาดังต่อไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตนิ ้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัตปิ ้ องกันและระงับอัคคีภยั พ.ศ.
2542”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตนิ ้ใี ห้ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุ เบกษา
เป็ นต้นไป
(*ประกาศใน รน.116 ก ตอนที่ 28 หน้า 1 วันลง รจ. 19 เมษายน 2542)
มาตรา 3 ให้ยกเลิก
(1) พระราชบัญญัตปิ ้ องกันและระงับอัคคีภยั พ.ศ. 2495
(2) พระราชบัญญัตปิ ้ องกันและระงับอัคคีภยั (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2499
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตนิ ้ี
“ป้ องกันอัคคีภยั ” หมายความว่า การดาเนินการเพื่อมิให้เกิดเพลิงไหม้ และ
ให้หมายความรวมถึงการเตรียมการเพื่อรองรับเหตุการณ์เมือ่ เกิดเพลิงไหม้ดว้ ย
“ระงับ อัค คี ภ ัย ” หมายความว่ า การดับ เพลิง และการลดการสู ญ เสีย ชีว ิต
ร่างกายและทรัพย์สนิ อันเนื่องมาจากการเกิดเพลิงไหม้
“สิ่ งที่ ทาให้ เกิ ดอัคคีภยั ได้ง่าย” หมายความว่า เชื้อเพลิง สารเคมี หรือวัตถุ
อื่นใดไม่ว่าจะมีสถานะเป็ นของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซ ทีอ่ ยูใ่ นภาวะพร้อมจะเกิดการสันดาปจาก
การจุดติดใดๆ หรือการสันดาปเอง ทัง้ นี้ ตามทีร่ ฐั มนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
“เจ้าพนักงานท้องถิ่ น” หมายความว่า
(1) ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร สาหรับในเขตกรุงเทพมหานคร
727

(2) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด สาหรับในเขตกรุงเทพมหานคร


(3) นายกเทศมนตรี สาหรับในเขตเทศบาล
(4) ปลัดเมืองพัทยา สาหรับในเขตเมืองพัทยา
(5) ประธานกรรมการสุขาภิบาล สาหรับในเขตภิบาล
(6) ประธานกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตาบล สาหรับในเขต
องค์การบริหารส่วนตาบล
(7) หัว หน้ า ผู้บ ริห ารท้อ งถิ่น ขององค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่น อื่น ที่
กฎหมายกาหนดให้เป็ นราชการส่วนท้องถิน่ สาหรับในเขตราชการส่วนท้องถิน่
ในท้องถิ่นที่มคี วามจาเป็ นรัฐมนตรีจะแต่งตัง้ บุคคลซึ่งเห็นสมควรให้เป็ นเจ้าพนักงาน
ท้องถิน่ ไดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
“ผู้อานวยการดับเพลิ งประจาท้ องถิ่ น” หมายความว่า ผูอ้ านวยการป้ องกัน
ภัยฝ่ ายพลเรือนเขตท้องที่ตามกฎหมายว่าด้วยการป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรือน หรือผู้ซ่งึ รัฐมนตรี
แต่งตัง้ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้มหี น้าทีอ่ านวยการป้ องกันอัคคีภยั ระงับอัคคีภยั และ
ซ้อมระงับอัคคีภยั
“พนักงานดับเพลิ ง” หมายความว่า ผู้ซ่งึ เจ้าพนักงานท้องถิ่นแต่งตัง้ ให้ทา
หน้าทีช่ ่วยเหลือพนักงานดับเพลิงในการป้ องกันอัคคีภยั และระงับอัคคีภยั
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผรู้ กั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
(ค าเฉพาะ ศัพ ท์ และค านิ ย ามของกฎหมายทุ ก ฉบับ ดู “CD พจนานุ ก รม
กฎหมาย” : สูตรไพศาล)
มาตรา 5 ในการป้ องกันอัคคีภยั และระงับอัคคีภยั ให้ผู้อานวยการดับเพลิงประจา
ท้องถิน่ และเจ้าพนักงานท้องถิน่ มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มเี ครื่องดับเพลิง วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ และยานพาหนะสาหรับ
ป้ องกันอัคคีภยั และระงับอัคคีภยั
(2) จัดให้มสี ถานทีส่ าหรับเก็บรักษาสิง่ ของดังกล่าวใน (1) โดยแยกเป็ นหน่ วยตามความ
จาเป็ นเพื่อใช้ป้องกันอัคคีภยั และระงับอัคคีภยั ได้ทนั ท่วงที
(3) จัดให้มอี าณัตสิ ญั ญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
(4) จัดการบรรเทาทุกข์ และจัดการรักษาความสงบเรียบร้อยเมื่อเกิดเพลิงไหม้ ตาม
ระเบียบทีร่ ฐั มนตรีกาหนด
(5) จัดให้มกี ารอบรมและกาเนินการฝึกซ้อมป้ องกันอัคคีภยั และระงับอัคคีภยั
(6) กาหนดระเบียบเกีย่ วกับหลักสูตรการฝึกอบรม และข้อปฏิบตั ขิ องอาสาดับเพลิง
(7) แต่งตัง้ พนักงานดับเพลิงและอาสาดับเพลิงตามระเบียบทีร่ ฐั ตรีกาหนด
(8) ปฏิบตั กิ ารอื่นใดตามทีก่ าหนดไว้ในพระราชบัญญัตนิ ้ี
728

มาตรา 6 ให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี และให้


มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนด
(1) เงื่อนไขในการใช้ การเก็บรักษาและการมีไว้ในครอบครองซึง่ สิง่ ทีท่ าให้เกิดอัคคีภยั
ได้งา่ ย
(2) กิจกรรมอันทาให้เกิดอัคคีภยั ได้งา่ ย และกาหนดให้ผปู้ ระกอบกิจการดังกล่าวมีไว้ซ่อื
บุคคลและสิง่ ที่จาเป็ นในการป้ องกันอัคคีภยั และระงับอัคคีภยั ตามสมควรแก่สภาพแห่งอาคาร
หรือกิจการนัน้
(3) อาณัตสิ ญั ญาณหรือเครือ่ งหมายเกีย่ วกับการป้ องกันอัคคีภยั และระงับอัคคีภยั
(4) เครือ่ งหมายของผูอ้ านวยการดับเพลิงประจาท้องถิน่ เจ้าพนักงานท้องถิน่ นายตรวจ
พนักงานดับเพลิงและอาสาดับเพลิง
(5) เครือ่ งแบบและบัตรประจาตัวของนายตรวจ พนักงานดับเพลิงและอาสาดับเพลิง
กฎกระทรวงนัน้ เมื่อ ได้ป ระกาศในราชกิจ จานุ เ บกษาแล้ว ให้ใ ช้บ ัง คับ ได้ และให้
รัฐมนตรีมอี านาจออกระเบียบและประกาศเพื่อปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ้ี

หมวด 1
การป้ องกันอัคคีภยั
______________
มาตรา 7 ผูอ้ านวยการดับเพลิงประจาท้องถิน่ หรือเจ้าพนักงานท้องถิน่ มีอานาจแต่งตัง้
เทศมนตรีกรรมการสุขาภิบาล ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการส่วนท้องถิ่น หรือพนักงานส่วน
ท้องถิ่น ตัง้ แต่ระดับสามขึ้นไปหรือข้าราชการตารวจซึ่งมียศตัง้ แต่ร้อยตารวจตรีขน้ึ ไปให้เป็ น
นายตรวจ เพื่อให้ปฏิบตั หิ น้าทีภ่ ายในเขตราชการส่วนท้องถิน่ นัน้
มาตรา8 เพื่อประโยชน์ในการป้ องกันอัคคีภยั ตามหมวดนี้ ให้นายตรวจมีอานาจและ
หน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) ตรวจตราสิง่ ทีท่ าให้เกิดอัคคีภยั ได้ง่ายหรือสิง่ ทีอ่ ยู่ในภาวะอันอาจทาให้เกิดอัคคีภยั
ได้งา่ ย
(2) ตรวจตราบุคคลผู้ท่มี หี น้ าที่ในการป้ องกันอัคคีภยั และระงับอัคคีภยั ที่บญ ั ญัติไว้ใน
พระราชบัญญัตนิ ้ี ว่าปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยถูกต้องหรือไม่
(3) เข้าไปในอาคารหรือ สถานที่ ในเวลาระหว่างพระอาทิต ย์ข้นึ ถึงพระอาทิตย์ข้นึ ถึง
พระอาทิต ย์ต ก หรือ ในเวลาท าการสถานที่นัน้ เพื่อ ตรวจตราการเก็บรักษาสิ่งที่ทาให้เ กิด
อัคคีภยั ได้งา่ ย หรือในเวลาอื่นกรณีมเี หตุฉุกเฉินอย่างยิง่ ที่แสดงให้เห็นว่าสถานทีน่ นั ้ อยู่ในภาวะ
ทีจ่ ะเกิดอัคคีภยั
729

(4) ให้คาแนะนาแก่เจ้าของหรือผูค้ รอบครองอาคารหรือสถานทีใ่ ห้ขนย้าย ทาลาย


เปลีย่ นแปลงหรือแก้ไขสิง่ ทีท่ าให้เกิดอัคคีภยั ได้ง่ายหรือสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นภาวะอันอาจทาให้เกิดอัคคีภยั
ได้งา่ ย
(5)เคลื่อนย้ายหรือสิง่ ทีท่ าให้เกิดอัคคีภยั ได้งา่ ยหรือสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นภาวะอันอาจทาให้เกิด
อัคคีภยั ได้งา่ ย กรณีมเี หตุฉุกเฉินอย่างยิง่
ให้นายตรวจรายงานต่อเจ้าพนักงานท้องถิน่ ทุกครัง้ เมือ่ ได้ปฏิบตั กิ ารตามความในวรรค
หนึ่ง
มาตรา 9 เมือ่ ได้รบั รายงานจากนายตรวจว่าเจ้าของหรือผูค้ รอบครองอาคารหรือ
สถานทีไ่ ม่ปฏิบตั ติ ามนายตรวจมาตรา 8(4) หรือเจ้าพนักงานท้องถิน่ ตรวจพบด้วยตนเองว่ามีสงิ่
ทีท่ าให้เกิดอัคคีภยั ได้งา่ ย สิง่ ทีอ่ ยูใ่ นภาวะอันอาจทาให้เกิดอัคคีภยั ได้งา่ ย หรือการกระทาทีอ่ าจ
เกิดอัคคีภยั ได้งา่ ย ให้เจ้าพนักงานมีอานาจสังเจ้ ่ าของหรือผูค้ รอบครองอาคารหรือสถานทีแ่ ก้ไข
ปรับปรุงหรือปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องหรือเหมาะสมได้
คาสังของเจ้
่ าพนักงานท้องถิน่ ตามวรรคหนึ่งให้ทาเป็ นหนังสือหรือกาหนดระยะเวลาที่
จะต้องปฏิบตั ใิ ห้แล้วเสร็จตามคาสังได้ ่ ตามคาสังไว้่ ตามสมควร แต่ตอ้ งไม่เกินสามสิบวัน
เว้นแต่เป็ นกรณีทม่ี เี หตุอนั สมควร เจ้าพนักงานท้องถิน่ จะขยายเวลาออกไปได้ไม่เกินสองครัง้
ครัง้ ละไม่เกินห้าสิบวัน
การส่งคาสังตามมาตรานี
่ ้ให้นาส่ง ณ ภูมลิ าเนาหรืออาคารหรือสถานทีข่ องบุคคลซึง่ ระบุ
ไว้ในคาสังในเวลาระหว่
่ างพระอาทิตย์ขน้ึ ถึงพระอาทิตย์ตกหรือจะส่งโดยทางไปรษณีย์
ลงทะเบียนตอบรับก็ได้
ในกรณี ท่ีน าส่ ง แต่ บุ ค คลซึ่ง ระบุ ไ ว้ใ นค าสัง่ ปฏิเ สธไม่ย อมรับ ค าสัง่ ให้ผู้น าส่ ง ขอให้
พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจไปเป็ นพยานเพื่อวางคาสัง่ ณ ที่นนั ้ แต่ถ้าไม่พบบุคคลซึง่ ระบุ
ไว้ในคาสังจะส่ ่ งให้กบั บุคคลใดซึง่ บรรลุนิตภิ าวะแล้วซึง่ อยู่ในอาคารสถานทีน่ นั ้ ก็ได้และถ้าไม่พบ
บุคคลใดหรือพบแต่ไม่มบี ุคคลใดยอมรับไว้แทนให้ปิดคาสังนั ่ น้ ไว้ในทีท่ เ่ี ห็นง่ายต่อหน้าพนักงาน
ฝ่ า ย ป ก ค ร อ ง ห รื อ ต า ร ว จ ที่ ไ ป เ ป็ น พ ย า น
เมื่อได้ดาเนินการตามวรรคสามหรือวรรคสี่แล้วให้ถอื ว่าบุคคลซึง่ ระบุไว้ในคาสังได้ ่ แล้ ว
คาสังนั่ น้ แล้วแต่ถ้าเป็ นคาสังโดยทางไปรษณี
่ ยล์ งทะเบียนตอบรับหรือด้วยการปิ ดคาสังให้ ่ ถอื ว่า
ได้รบั คาสังนั ่ น้ เมื่อครบกาหนดเจ็ดวันนับแต่วนั ทีพ่ นักงานไปรษณียไ์ ด้ส่งไปวันทีไ่ ด้ปิดคาสังนั ่ น้
ไ ว้ แ ล้ ว แ ต่ ก ร ณี
มาตรา 10 ผูไ้ ด้รบั คาสังตามมาตรา
่ 9 สิทธิอุทธรณ์คาสังของเจ้่ าพนักงานท้องถิน่ ต่อ
รั ฐ ม น ต รี ไ ด้ ภ า ย ใ น เ จ็ ด วั น นั บ แ ต่ วั น ที่ ไ ด้ รั บ ค า สั ่ ง
การอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งให้ทาเป็ นหนังสือและยื่นต่อเจ้าพนักงานท้องถิน่ ผู้ออกคาสัง่
ดังกล่ าว และให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นจัดส่ งวินิจฉัยอุทธรณ์ ภายในหกสิบวันนับแต่ วนั ที่ได้ร ั บ
730

อุทธรณ์และเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องทัง้ หมดไปยังรัฐมนตรีภายในสิบวันนับแต่วนั ที่ได้รบั


อุทธรณ์
ในระหว่างอุทธรณ์ให้รอการปฏิบตั กิ ารตามคาสังไว้ ่ ก่อน เว้นแต่เจ้าพนักงานท้องถิน่ เห็น
ว่าสิง่ ทาให้เกิดอัคคีภยั ได้งา่ ยหรือสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นภาวะอันอาจทาให้เกิดอัคคีภยั ได้ง่ ายนัน้ มีลกั ษณะจะ
เป็ นอันตรายซึง่ ไม่อาจรอได้คาสังของรั ่ ฐมนตรีให้เป็ นทีส่ ุด
มาตรา 11 ภายใต้บงั คับมาตรา 10 ถ้าไม่มปี ฏิบตั ติ ามคาสังของรั ่ ฐมนตรีหรือไม่มกี าร
ปฏิบตั ติ ามคาสังของเจ้
่ าพนักงานท้องถิน่ ให้เจ้าพนักงานท้องถิน่ มีอานาจดาเนินการหรือจัดให้ม ี
การดาเนินการเพื่อให้เป็ นไปตามคาสังนั ่ น้ ได้ เจ้าของหรือผูค้ รอบครองอาคาร หรือสถานทีต่ ้อง
เป็ นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการจัดการนัน้ ตามจานวนที่จ่ายจริงรวมกับเบี้ยปรับในอัตราร้อยร้อยละ
ยีส่ บิ ห้าต่อปี ของเงินจานวนดังกล่าว
มาตรา 12 ในการปฏิบตั หิ น้าที่ ให้นายตรวจติดเครื่องหมายและให้แสดงบัตรประจาตัว
เมือ่ บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องร้องขอ พร้อมทัง้ ชีแ้ จงเหตุผลในการเข้าไปในอาคารหรือสถานที่
มาตรา 13 เพื่อประโยชน์ในการป้ องกันอัคคีภยั ให้เจ้าพนักงานท้องถิน่ มีอานาจหน้าที่
เช่นเดียวกันนายตรวจตามมาตรา 8 ด้วย
การเข้าไปในอาคารหรือสถานทีใ่ ห้นาความในมาตรา 12 มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
มาตรา 14 ในกรณีฉุกเฉินเมื่อมีเหตุการณ์ทอ่ี าจก่อให้เกิดเพลิงไหม้ให้เจ้าพนักงาน
ท้องถิน่ มีอานาจดาเนินการหรือสังให้ ่ พนักงานดับเพลิงหรืออาสาเพลิงดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(1) กาหนดบริเวณหรือสถานทีท่ อ่ี าจเกิดเพลิงไหม้
(2) จัดระเบียบการจราจรชัวคราวในบริ ่ เวณทีเ่ ป็ นประโยชน์การป้ องกันอัคคีภยั
(3) ปิ ดกัน้ มิให้ผไู้ ม่มสี ่วนเกีย่ วข้องเข้าไปในบริเวณหรือสถานทีท่ ก่ี าหนด (4) เคลื่อนย้าย
หรือทาลายสิง่ ทีอ่ าจก่อให้เกิดเพลิงไหม้

หมวด 2
การระงับอัคคีภยั
___________
มาตรา 15 ให้ผอู้ านวยการดับเพลิงประจาท้องถิน่ เจ้าพนักงานท้องถิน่ พนักงาน
ดับเพลิงและเจ้าพนักงานตารวจมีหน้าทีร่ ะงับอัคคีภยั โดยให้ตดิ เครือ่ งหมายและให้แสดงบัตร
ประจาตัวเมือ่ บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องร้องขอ
มาตรา 16 ให้ผอู้ านวยการดับเพลิงประจาท้องถิน่ มีอานาจบังคับบัญชาเจ้าพนักงาน
ท้องถิน่ พนักงานดับเพลิงและเจ้าพนักงานตารวจในขณะเกิดเพลิงไหม้
731

ในกรณีทม่ี ผี อู้ านวยการดับเพลิงประจาท้องถิน่ มากกว่าหนึ่งคนขึน้ ไปปฏิบตั หิ น้าที่


อานวยการระงับอัคคีภยั พร้อมกันอานาจในการบังคับบัญชาให้เป็ นไปตามประกาศทีร่ ฐั มนตรี
กาหนด
มาตรา 17 ในการดาเนินการตามหมวดนี้ผอู้ านวยการดับเพลิงประจาท้องถิน่ เจ้า
พนักงานท้องถิน่ พนักงานดับเพลิงและเจ้าพนักงานตารวจอาจขอให้อาสาดับเพลิงเข้าช่วยในการ
ดาเนินการดังกล่าวของตนได้ ในการนี้ให้อาสาดับเพลิงมีอานาจดาเนินการตามทีไ่ ด้รบั การขอให้
ช่วย ในขณะปฏิบตั งิ านตามวรรคหนึ่งอาสานับเธอต้องแต่งเครือ่ งแบบและติดเครือ่ งหมายและให้
แสดงบัตรประจาตัวเมือ่ บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องร้องขอ
มาตรา 18 ให้ผอู้ านวยการดับเพลิงประจาท้องถิน่ เจ้าพนักงานท้องถิน่ พนักงาน
ดับเพลิงและเจ้าพนักงานตารวจมีอานาจใช้เครือ่ งดับเพลิงวัสดุอุปกรณ์เครือ่ งมือเครื่องใช้หรือ
ยานพาหนะสาหรับระงับอัคคีภยั ของเจ้าของ หรือผูค้ รอบครองอาคารหรือสถานทีท่ เ่ี กิดเพลิง
ไหม้หรือของเจ้าของหรือผูค้ รอบครองอาคารหรือสถานทีท่ อ่ี ยูใ่ กล้เคียงได้เท่าทีจ่ าเป็ นเพื่อระงับ
อัคคีภยั
มาตรา 19 ให้ผอู้ านวยการดับเพลิงประจาท้องถิน่ หน้าพนักงานท้องถิน่ พนักงาน
ดับเพลิงและเจ้าพนักงานตารวจมีอานาจเข้าไปในอาคารหรือสถานทีท่ เ่ี กิดเพลิงไม่เบื่อทาการ
ดับเพลิงหรือช่วย เหลือผูป้ ระสบอัคคีภยั
การเข้าไปในอาคารหรือสถานทีท่ ใ่ี กล้เคียงกับบริเวณเพิงไม่เพื่อทาการดับเพลิงหรือ
ช่วยเหลือผูป้ ระสบอัคคีภยั ต้องได้รบั อนุญาตจากเจ้าของหรือผูค้ รอบครองอาคารหรือสถานที่
ก่อนเว้นแต่เมือ่ มีเจ้าหน้าทีต่ ามวรรคหนึ่งซึง่ เป็ นข้าราชการพลเรือน ข้าราชการส่วนท้องถิน่ หรือ
พนักงานส่วนท้องถิน่ ตัง้ แต่ระดับสามขึน้ ไปหรือข้าราชการตารวจซึง่ มียศตัง้ แต่รอ้ ยตารวจตรีขน้ึ
ไปเป็ นหัวหน้าควบคุมรับผิดชอบในการเข้าไปในอาคารหรือสถานทีน่ นั ้ อยูด่ ว้ ย
การขนย้ายทรัพย์สนิ ออก จากอาคารหรือสถานทีต่ ามวรรคหนึ่งและวรรคสองให้กระทา
ได้เมือ่ จ้าวฟ้ องหรือผูค้ รอบครองทรัพย์สนิ นัน้ ร้องขอเว้นแต่ในกรณีเป็ นสิง่ ทีท่ าให้เกิดอัคคีภยั ได้
ง่ายให้ผมู้ อี านาจเข้าไปในอาคารหรือสถานทีต่ ามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองมีอานาจขนย้ายได้ตาม
ความจาเป็ นแก่การระงับอัคคีภยั
มาตรา 20 เพื่อประโยชน์ในการระงับอัคคีภยั ผูอ้ านวยการดับเพลิงประจาท้องถิน่ มี
อานาจดาเนินการหรือสังให้ ่ เจ้าหน้าทีต่ ามมาตรา 15 ดาเนินการดังต่อไปนี้
(1) กาหนดสถานทีช่ วคราวส ั่ าหรับการเคลื่อนย้ายหรือประถมพยาบาลผูป้ ระกอบ
อัคคีภยั และการรักษาทรัพย์สนิ ของผูป้ ระสบอัคคีภยั
(2) จัดระเบียบการจราจรชัวคราวในบริ่ เวณทีเ่ ป็ นประโยชน์ในการระงับอัคคีภยั
(3) ปิ ดกัน้ มิให้ผไู้ ม่มสี ่วนเกี่ยวข้องเข้าไปในบริเวณเพลิงไหม้และบริเวณใกล้เคียงกับ
บริเวณ เพลิงไหม้
732

(4) จัดการรักษาความสงบเรียบร้อยและป้ องกันเหตุโจรผูร้ า้ ย


(5) ช่วยเหลือผูป้ ระสบอัคคีภยั
(6) ช่วยคนย้ายทรัพย์สนิ ในบริเวณเพลิงไหม้และบริเวณใกล้เคียงกับบริเวณ เพลิงไหม้
เมือ่ เจ้าของหรือผูค้ รอบครองทรัพย์สนิ ร้องขอ
(7) ใช้บ่อน้าสระน้ าท่อน้าทางระบายน้าและแหล่งน้าอื่นใดไม่ว่าจะเป็ นของบุคคลใด
มาตรา 21 เพื่อประโยชน์ในการควบคุมมิให้เพลิงลุกลาม ต่อไปผูอ้ านวยการดับเพลิง
ประจาท้องถิน่ มีอานาจสังให้ ่ รอ้ื ถอน ย้ายทาลายทัง้ หมดหรือแต่เพียงบางส่วนซึง่ อาคารหรือสิง่ ที่
จะเป็ นสื่อให้ลุกลามต่อไปได้ตามทีจ่ าเป็ นและไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้
มาตรา 22 เจ้าของผูค้ รอบครองหรือบุคคลซึง่ ได้รบั มอบหมายให้ดแู ลรักสาทีอ่ ยูใ่ น
อาคารหรือสถานทีท่ เ่ี ป็ นต้นเพลิงในขณะทีเ่ กิดเพลิงไหม้มหี น้าที่ ทีด่ บั เพลิงเท่าทีส่ ามารถจะทา
ได้และต้องแจ้งให้เจ้าหน้าทีต่ ามมาตรา 15 ทราบโดยด่วน
มาตรา 23 ผูใ้ ดพบเพลิงเริม่ ไม่ให้แจ้งต่อเจ้าของผูค้ รอบครองหรือบุคคลซึง่ ได้รบั
มอบหมายให้ดแู ลรักสาอาคารหรือสถานทีท่ เ่ี ป็ นต้นเพลิงเพื่อทาการดับเพลิงถ้าไม่ปรากฏตัว
บุคคลดังกล่าวและเพลิงนัน้ อยูใ่ นสภาพทีต่ นสามารถดับได้กใ็ ห้ทาการดับเพลิงนัน้ ทันทีถา้ เพลิง
นัน้ อยูใ่ นสภาพทีต่ นไม่สามารถดับได้ให้รบี แจ้งให้เจ้าหน้าทีต่ ามมาตรา 15 ทราบโดยด่วน
มาตรา 24 เพื่อประโยชน์ในการซ้อมระงับอัคคีภยั ให้ผอู้ านวยการดับเพลิงประจา
ท้องถิน่ มีอานาจดาเนินการหรือสังให้ ่ พนักงานดับเพลิงหรือเจ้าหน้าทีอ่ ่นื ทีเ่ กี่ยวข้องดาเนินการ
ตามทีเ่ ห็นสมควรและจาเป็ นดังต่อไปนี้
(1) กาหนดบริเวณและสถานทีส่ าหรับ ทาการซ้อมระงับอัคคีภยั
(2) จัดระเบียบการจราจรชัวคราวในบริ ่ เวณทีเ่ ป็ นประโยชน์ในการซ้อมระงับอัคคีภยั
(3) ปิ ดกัน้ มิให้ผทู้ ไ่ี ม่มสี ่วนเกีย่ วข้องเข้าไปในบริเวณทีซ่ อ้ มระงับอัคคีภยั

หมวด3
บทเบ็ดเตล็ด
__________

มาตรา 25 ในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามพระราชบัญญัตนิ ้ีให้เจ้าพนักงานท้องถิน่ นายตรวจ


ผู้อ านวยการดับ เพลิง ประจ าท้อ งถิ่น และพนั ก งานดับ เพลิง เป็ น เจ้า พนัก งานตามประมวล
กฎหมายอาญา
มาตรา 26 บรรดาเบีย้ ปรับและค่าปรับตามพระราชบัญญัตนิ ้ีให้เป็ นรายได้ของท้องถิน่
เพื่อนาไปใช้จา่ ยเกีย่ วกับการป้ องกันอัคคีภยั และระงับอัคคีภยั ของท้องถิน่ นัน้
733

หมวด 4
บทกาหนดโทษ
___________
มาตรา 27 ผู้ใดฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงนัน้ ออกตามมาตรา6(1) หรือ
(2)ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา 28 ผูใ้ ดขัดขวางไม่ยอมให้นายตรวจหรือเจ้าพนักงานท้องถิน่ เข้าไปในอาคาร
หรือสถานทีต่ ามมาตรา8(3) ต้องระวาง โทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท
หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา 29 ผู้ใดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามคาสังของเจ้
่ าพนักงานท้องถิน่ ตามมาตรา 9
วรรคหนึ่ง หรือฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามคาสังของรั
่ ฐมนตรีตามมาตรา 10 วรรคสาม ต้องระวาง
โทษ จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมืน่ บาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา 30 ผูใ้ ดเข้าไปในบริเวณทีเ่ จ้าหน้าที่ปิดกัน้ ตามมาตรา 14 (3) หรือมาตรา
20(3) โดยไม่ได้รบั อนุญาตจากเจ้าหน้าทีต่ อ้ งระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
มาตรา 31 ผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา 22 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับ
ไม่เกิน 10,000 บาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา 32 ผูใ้ ดไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรา 23 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน500 บาท
มาตรา 33 ผู้ใดเข้าไปในบริเวณที่เจ้าหน้าที่ปิดกัน้ ตามมาตรา 24(3) โดยไม่ได้รบั
อนุญาตจากเจ้าหน้าทีต่ อ้ งระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
มาตรา 34 ผูใ้ ดแต่งเครื่องแบบหรือติดเครื่องแบบสาหรับผูอ้ านวยการดับเพลิงประจา
ท้องถิน่ เจ้าพนักงานท้องถิน่ นายตรวจพนักงานดับเพลิงหรืออาสาดับเพลิงโดยไม่มสี ทิ ธิ ์เพื่อให้
บุค คลอื่นเชื่อ ว่าตนเป็ นบุคคลดังกล่ าวหรือ แสดงตนเป็ นบุค คลดังกล่ าว และกระทาการตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ีต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทัง้ จาทัง้
ปรับ
ถ้าการกระทาตามวรรคหนึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อ่นื ต้องระวังโทษจาคุกไม่เกิน
สองปี หรือปรับไม่เกินสีห่ มืน่ บาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา 35 ผูใ้ ดแจ้งเหตุหรือให้อาณัตสิ ญ ั ญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้อนั เป็ นเท็จต้องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา 36 ผูใ้ ดไม่มอี านาจโดยชอบด้วยกฎหมายทาลายเคลื่อนย้ายกีดขวางหรือทาให้
เกิดอุปสรรคต่อการใช้อาณัตสิ ญ ั ญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้เครือ่ งดับเพลิงหรือท่อส่งน้าดับเพลิงต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสีห่ มื่นบาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งน่ าจะเป็ นเหตุให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอื่นผูก้ ระทา
ต้องระวังโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินสีห่ มื่นบาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
734

บทเฉพาะกาล
_________
มาตรา 37 บรรดากฎกระทรวงระเบีย บข้อ บัง คับ ประกาศและค าสัง่ ที่อ อกตาม
พระราชบัญญัตปิ ้ องกันและระงับอัคคีภยั พ.ศ. 2495 ทีใ่ ช้บงั คับอยูใ่ นวันทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ้ีบงั คับ
ใช้ใ ห้ยงั คงใช้ไ ด้ต่ อ ไปเท่าที่ไ ม่ขดั หรือ แย้งกลับบทบัญ ญัติแห่ งพระราชบัญ ญัติน้ีจนกว่าจะมี
กระทรวง ระเบียบข้อบังคับประกาศและคาสังตามพระราชบั ่ ญญัตนิ ้ใี ช้บงั คับ
ผูร้ บั สนองพระ บรมราชโองการ
ชวน หลีกภัย
นายกรัฐมนตรี

หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัตฉิ บับนี้คอื เนื่องจากพระราชบัญญัตปิ ้ องกัน


และระงับอัคคีภยั พ.ศ. 2495 ได้ประกาศใช้บงั คับมานานบทบัญญัตบิ างประการไม่สอดคล้องและ
เหมาะสมกับ สภาพการณ์ ปั จ จุ บ ัน สมควรปรับ ปรุ ง อ านาจหน้ า ที่ข องพนั ก งานเจ้า หน้ า ที่
ผูร้ บั ผิดชอบเกี่ยวกับการป้ องกันและระงับอัคคีภยั มาตร การในป้ องกันและระงับอัคคีภยั รวมทัง้
โทษและอัตราโทษให้ชดั เจนครบถ้วนและเหมาะสมยิง่ ขึน้ จึงจาเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตนิ ้ี
735

เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๙ ก ราชกิจจานุ เบกษา ๑๖ มกราคม ๒๕๕๗

กฎกระทรวง
การเป็ นหน่ วยงานฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้น
และการเป็ นหน่ วยงานฝึ กซ้อมดับเพลิงและฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟ
พ.ศ. ๒๕๕๖

อาศัยอานาจตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๑๑ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ


ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ อันเป็ นกฎหมาย
ทีม่ บี ทบัญญัตบิ างประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบ
กับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนู ญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติใ ห้
กระทาได้
โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่ากระทรวงแรงงานออกกฎกระทรวงไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“ใบอนุ ญาต” หมายความว่า ใบอนุ ญาตเป็ นหน่ วยงานฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้นหรือหน่ วยงาน
ฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟ แล้วแต่กรณี

หมวด ๑
การขออนุ ญาต และการอนุ ญาต

ส่วนที่ ๑
คุณสมบัตขิ องผูข้ ออนุ ญาต การขออนุ ญาต และการอนุ ญาต

ข้อ ๒ นิตบิ ุคคลผูข้ ออนุ ญาตเป็ นหน่ วยงานฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้นหรือหน่ วยงาน
ฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟ ต้องมีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) มีสานักตัง้ อยู่ในราชอาณาจักรไทย
(๒) มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการจั ด ฝึ กอบรมด้ า นความปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
(๓) ไม่ เ คยถู ก เพิก ถอนใบอนุ ญ าต เว้น แต่ พ้น ก าหนดสามปี นั บ แต่ ว ัน ที่ถู ก เพิก ถอน
ใบอนุ ญาต
736

เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๙ ก ราชกิจจานุ เบกษา ๑๖ มกราคม ๒๕๕๗


(๔) ผูก้ ระทาแทนนิตบิ ุคคลต้องไม่เคยเป็ นผูก้ ระทาแทนนิตบิ ุคคลทีถ่ กู เพิกถอน
ใบอนุ ญาต เว้นแต่พน้ กาหนดห้าปี นาแต่วนั ทีถ่ กู เพิกถอนใบอนุ ญาต
ข้อ ๓ ให้ผขู้ ออนุ ญาตตามข้อ ๒ ยื่นคาขออนุ ญาตตามแบบและสถนทีท่ อ่ี ธิบดีประกาศ
กาหนด พร้อมด้วยเอกสาร ดังต่อไปนี้
(๑) สาเนาเอกสารทีแ่ สดงความเป็ นนิตบิ ุคคล
(๒) สาเนาแสดงหนังสือวัตถุประสงค์ในการประกอบกิจการ
(๓) สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนของผูม้ อี านาจกระทาการแทนนิตบิ ุคคล
(๔) แผนทีแ่ สดงทีต่ งั ้ ของนิตบิ ุคคลโดยสังเขป
(๕) แผนที่แสดงที่ต งั ้ ของสถานที่ฝึกภาคปฏิบตั ิโ ดยสัง เขป ในกรณีท่ขี อเป็ นหน่ วยงาน
ฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้น
(๖) เอกสารแสดงรายชื่อและสาเนาวุฒกิ ารศึกษาของบุคลากร ซึ่งทาหน้าทีบ่ ริหารจัดการ
(๗) รายชื่อวิทยากร เอกสารหรือหลักฐานแสดงคุณสมบัติของวิทยากร รวมทัง้ หนังสือ
ยืนยันการเป็ นวิทยากรให้กบั นิตบิ ุคคล
(๘) เอกสารประกอบการฝึ ก อบรมหรือ การฝึ ก ซ้ อ มซึ่ ง มีเ นื้ อ หาวิช าตามที่ก าหนดใน
หลักสูตรทีข่ ออนุ ญาต
(๙) เอกสารแสดงรายการอุปกรณ์ทใ่ี ช้ประกอบการฝึ กอบรมหรือฝึ กซ้อม ทัง้ ภาคทฤษฎี
และภาคปฏิบตั ิ ในหลักสูตรทีข่ ออนุ ญาต
ให้ผมู้ อี านาจกระทาการแทนนิตบิ ุคคลของผูข้ ออนุ ญาตลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง
ของสาเนาเอกสารตามวรรคหนึ่ง
ข้อ ๔ ในกรณีเป็ นหน่ วยงานฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้นหรือหน่ วยงานฝึ กซ้อมดับเพลิง
และฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไข ดังต่อไปนี้
(๑) จัดให้มบี ุคลากรซึ่งสาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทาหน้าทีบ่ ริหารจัดการ
การฝึ กอบรมหรือการฝึ กซ้อมอย่างน้อยหนึ่งคน
(๒) จัดให้มวี ทิ ยากรซึ่งมีคณุ สมบัตติ ามข้อ ๒๖ หรือข้อ ๒๙ แล้วแต่กรณี ทีท่ าเต็มเวลา
ในหน่ วยงานอย่างน้อยหนึ่งคน
(๓) จัด ให้ม ีส ถานที่ฝึ ก ภาคปฏิบ ัติ และอุ ป กรณ์ ป ระกอบการฝึ ก อบรมหรือ ฝึ ก ซ้ อ มที่
เหมาะสมกับหลักสูตร แล้วแต่กรณี
ข้อ ๕ ในกรณีท่หี น่ วยงานเป็ นราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค หรือราชการส่วน
ท้องถิน่
737

มายื่นขออนุ ญาตเป็ นหน่ วยงานฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้นหรือหน่ วยงานฝึ กซ้อมดับเพลิงและ


ฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ ให้นาความตามข้อ ๓ มาใช้บงั คับโดยอนุ โลมให้นากฎกระทรวงนี้มาใช้บงั คับ
โดยอนุ โลมกับหน่ วยงานตามวรรคหนึ่งทีไ่ ด้รบั อนุ ญาตด้วย
ข้อ ๖ เมือ่ มีผยู้ ่นื คาขออนุ ญาตและอธิบดีพจิ ารณาแล้วเห็นว่า ผูย้ ่นื คาขออนุ ญาต
มีคณ ุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามข้อ ๒ และมีความพร้อมในการปฏิบตั ติ ามข้อ ๔ ให้อธิบดี
ออกใบอนุ ญาตตามแบบที่อธิบดีกาหนดแก่ผยู้ ่นื คาขอเป็ นหน่ วยงานฝึ กอบรมการกับเพลิงขัน้ ต้น
หรือหน่ วยงานฝึ กซ้อมดับเพลิงและฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟ แล้วแต่กรณี ภายในหกสิบวันนับแต่วนั ที่
ได้รบั คาขอในกรณีมเี หตุสมควร อาจขยายระยะเวลาซึ่งรวมแล้วต้องไม่เกินเก้าสิบวัน
ในกรณี ท่ีอธิบ ดีพ ิจ ารณาแล้ว เห็น ว่ า ผู้ย่ืน ค าขออนุ ญ าตไม่ ม ีคุณ สมบัติห รือ มีลกั ษณะ
ต้องห้ามอย่างหนึ่งอย่างใดตามข้อ ๒ หรือไม่มคี วามในการปฏิบตั ติ ามข้อ ๔ ให้อธิบดีแจ้งหนังสือให้
ผูย้ ่นื คาขออนุ ญาตทราบโดยเร็ว
ข้อ ๗ ในกรณีทผ่ี รู้ บั อนุ ญาตตามข้อ ๖ มีการเปลีย่ นแปลงทีต่ งั ้ บุคลากรซึ่งทาหน้าที่
บริหารจัดการ วิทยากร หรือมีการเปลี่ยนแปลงอื่นใดจากที่ได้ย่นื ขออนุ ญาตไว้ ให้แจ้งเป็ นหนังสือ
พร้อมส่งเอกสารแสดงการเปลี่ยนแปลงต่ออธิบดีภายในสามสิบวันนับแต่วนั ที่มกี ารเปลี่ยนแปลง
และให้นาความตามข้อ ๖ มาใช้บงั คับโดยอนุ โลม
ข้อ ๘ ใบอนุ ญาตให้มอี ายุสามปี นบั แต่วนั ทีอ่ อกใบอนุ ญาต
ส่วนที่ ๒
การขอต่ออายุใบอนุ ญาต และการออกใบแทนการอนุ ญาต

ข้อ ๙ การขอต่ออายุใบอนุ ญาต ให้ย่นื คาขอตามแบบและสถานทีท่ อ่ี ธิบดีประกาศกาหนด


ไม่น้อยกว่าหกสิบวันก่อนวันทีใ่ บอนุ ญาตจะสิน้ อายุ และให้นาความในข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๖ และข้อ ๗
มาใช้บงั คับแก่การยื่นคาขอต่ออายุใบอนุ ญาตโดยอนุ โลม
เมือ่ ได้ย่นื คาขอต่ออายุใบอนุ ญาตแล้ว ให้ผไู้ ด้รบั อนุ ญาตดาเนินการต่อไปได้จนกว่าอธิบดี
จะสั ่งไม่อนุ ญาตให้ต่ออายุใบอนุ ญาตนัน้
การต่ออายุใบอนุ ญาตให้มอี ายุคราวะสามปี นบั แต่วนั ทีใ่ บอนุ ญาตเดิมสิน้ อายุ
ข้อ (๑๐) ในกรณีทใ่ี บอนุ ญาตสูญหาย ถูกทาลาย หรือชารุดในสาระสาคัญ ให้ย่นื คาขอ
ใบแทนใบอนุ ญาตต่ออธิบดีภายในสิบห้าวันนับแต่วนั ที่ได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทาลาย หรือ
ชารุดดังกล่าว
ส่วนที่ ๓
การพักใช้และการเพิกถอนใบอนุ ญาต

ข้อ ๑๑ ผูร้ บั อนุ ญาตผูใ้ ดฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงนี้ ให้อธิบดีมอี านาจสั ่งพักใช้
ใบอนุ ญาต โดยมีกาหนดระยะเวลา ดังต่อไปนี้
(๑) ครัง้ ทีห่ นึ่ง สามสิบวัน
738

เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๙ ก ราชกิจจานุ เบกษา ๑๖ มกราคม ๒๕๕๗

(๒) ครัง้ ทีส่ อง ไม่น้อยกว่าสามสิบวัน แต่ไม่เกินหกสิบวัน


(๓) ครัง้ ทีส่ าม ไม่น้อยกว่าหกสิบวัน แต่ไม่เกินเก้าสิบวัน
ข้อ ๑๒ ให้อธิบดีมอี านาจเพิกถอนใบอนุ ญาตที่ออกให้แก่ผรู้ บั ใบอนุ ญาตที่ฝ่าฝื นหรือไม่
ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงได้ในกรณี ดังต่อไปนี้
(๑) ผูร้ บั ใบอนุ ญาตเคยถูกสั ่งพักใช้ใบอนุ ญาตสามครัง้ และฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบตั ติ าม
กฎกระทรวงนี้อกี
(๒) ผูร้ บั ใบอนุ ญาตเคยถูกสั ่งพักใช้ใบอนุ ญาตสองครัง้ และฝ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวง
นี้ซ้าในเรือ่ งเดียวกัน
(๓) ปรากฏข้อเท็จจริงภายหลังว่าผู้รบั ใบอนุ ญาตขาดคุณสมบัติหรือมีลกั ษณะต้องห้าม
อย่างหนึ่งอย่างใดตามข้อ ๒
(๔) ปรากฏข้อ เท็จ จริง ว่ าผู้ร บั ใบอนุ ญาตเรีย กเก็บเงิน จากผู้บ ริก ารแล้ว ไม่ จ ดั ให้ม ีการ
ฝึ กอบรมหรือฝึ กซ้อม
(๕) ดาเนินการฝึ กอบรมหรือฝึ กซ้อมในระหว่างถูกสั ่งพักใช้ใบอนุ ญาต
(๖) ออกหลักฐานฝึ กอบรมหรือฝึ กซ้อมโดยไม่มกี ารดาเนินการ
ข้อ ๑๓ คาสั ่งพักใช้ใบอนุ ญาตและคาสั ่งเพิกถอนใบอนุ ญาตให้ทาเป็ นหนังสือแจ้งให้ผรู้ บั
ใบอนุ ญาตทราบ ในกรณีทไ่ี ม่พบตัวผูร้ บั ใบอนุ ญาตหรือผูร้ บั ใบอนุ ญาตไม่ยอมรับคาสั ่ง ให้ปิดคาสั ่ง
ดังกล่าวไว้ในทีเ่ ปิ ดเผยซึ่งเห็นได้ง่าย ณ สานักงานของผูร้ บั ใบอนุ ญาต และให้ถอื ว่าได้ทราบคาสั ่ง
นัน้ แล้วตัง้ แต่วนั ทีป่ ิ ดคาสั ่ง
หมวด ๒
วิธกี ารให้บริการและการกาหนดค่าบริการ

ส่วนที่ ๑
บททั ่วไป

ข้อ ๑๔ ให้ผรู้ บั ใบอนุ ญาตแจ้งกาหนดการฝึ กอบรมหรือการฝึ กซ้อม รายชื่อวิทยากร และ


ผู้ดูแลการฝึ กอบรมหรือการฝึ กซ้อมต่ออธิบดีมอบหมายล่วงหน้ าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ทาการก่อน
ฝึกอบรมหรือการฝึ กซ้อม แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๕ ให้ผรู้ บั ใบอนุ ญาตดาเนินการให้เป็ นไปดังรายละเอียดทีไ่ ด้แจ้งตามข้อ ๑๔ และ
ให้ออกหลักฐานการฝึ กอบรมหรือการฝึ กซ้อมให้แก่ผรู้ บั บริการภายหลังเสร็จสิ้นการฝึ กอบรมหรือ
การฝึ กซ้อม
739

ข้อ ๑๖ ให้ผรู้ บั อนุ ญาตส่งรายงานสรุปผลการฝึ กอบรมหรือการฝึ กซ้อม พร้อมด้วยรายชื่อ


วิทยากรและผูด้ แู ลการฝึ กอบรมหรือการฝึ กซ้อมต่ออธิบดีหรือผูซ้ ่งึ อธิบดีมอบหมายภายในสามสิบ
วันนับแต่วนั ทีเ่ สร็จสิน้ การฝึ กอบรมหรือการฝึ กซ้อม แล้วแต่กรณี
ข้อ ๑๗ วิทยากรต้องได้รบั การฝึ กอบรมหรือเพิม่ เติมความรูท้ เ่ี กี่ยวข้องกับการป้ องกันและ
ระงับอัคคีภยั ไม่น้อยกว่าหกชั ่วโมงต่อปี
ข้อ ๑๘ ให้ผู้รบั ใบอนุ ญาตส่งหลักฐานการฝึ กอบรมหรือเพิม่ เติมความรู้ของวิทยากรต่อ
อธิบดีหรือผูซ้ ่งึ อธิบดีมอบหมายภายในวันทีส่ บิ ห้าของเดือนมกราคม
ข้อ ๑๙ ให้อธิบดีหรือผูซ้ ่งึ อธิบดีมอบหมายมีอานาจเข้าไปในสถานทีท่ างานหรือสถานทีต่ งั ้
และสถานที่จดั ฝึ กอบรมหรือฝึ กซ้อมของผูร้ บั ใบอนุ ญาต เพื่อสอบถามข้อเท็จจริง ตรวจสอบ หรือ
กากับดูแลให้หน่ วยงานดังกล่าวปฏิบตั ใิ ห้เป็ นไปตามกฎกระทรวงนี้
ให้ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องอานวยความสะดวก ชีแ้ จ้งข้อเท็จจริง และส่งสิง่ ของหรือเอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง
แก่อธิบดีหรือผูซ้ ่งึ อธิบดีมอบหมายในการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามวรรคหนึ่ง

ส่วนที่ ๒
การฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้น

ข้อ ๒๐ หน่ วยงานฝึ กอบรมดับเพลิงขัน้ ต้นต้องจัดให้มกี ารฝึ กอบรมทัง้ ภาคทฤษฎีและ


ภาคปฏิบตั ิ
ข้อ ๒๑ การฝึ กอบรมภาคทฤษฎีต้องมีกาหนดระยะเวลาการฝึ กอบรมไม่น้อยกว่าสาม
ชั ่วโมงและอย่างน้อยต้องมีเนื้อหาวิชา ดังต่อไปนี้
(๑) ทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม้
(๒) การแบ่งประเภทของเพลิง และวิธดี บั เพลิงประเภทต่าง ๆ
(๓) จิตวิทยาเมือ่ เกิดอัคคีภยั
(๔) การป้ องกันแหล่งกาเนิดของการติดไฟ
(๕) เครือ่ งดับเพลิงชนิดต่าง ๆ
(๖) วิธกี ารใช้อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยส่วนบุคคลทีใ่ ช้ในการดับเพลิง
(๗) แผนป้ องกันและระงับอัคคีภยั
(๘) การจัดระบบป้ องกันและระงับอัคคีภยั การประยุกต์ใช้ระบบและอุปกรณ์ทม่ี อี ยู่ใน
สถานประกอบการ
ข้อ ๒๒ การฝึ กอบรมภาคปฏิบตั ิต้องมีกาหนดระยะเวลาการฝึ กอบรมไม่น้ อยกว่าสาม
ชั ่วโมงโดยผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมทุกคนต้องได้รบั การปฏิบตั เิ กี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ ดบั เพลิง และ
อย่างน้อยต้องมีการฝึ กอบรมภาคปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้
740

(๑) ฝึ กดับเพลิงประเภท เอ ด้วยการใช้เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ท่ใี ช้น้ าสะสม


แรงดันหรือสารดับเพลิงทีส่ ามารถดับเพลิงประเภท เอ
(๒) ฝึ กดับเพลิงประเภท บี ด้วยการใช้เครือ่ งดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ทใ่ี ช้สาร
ดับเพลิง ชนิ ดคาร์บ อนไดออกไซด์ โฟม ผงเคมีแห้ง หรือสารดับเพลิง ที่ส ามารถ
ดับเพลิงประเภท บี
(๓) ฝึ กดับเพลิงประเภท ซี ด้วยการใช้เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ท่ใี ช้สารดับเพลิง
ชนิดคาร์บอนไดออกไซด์ ผลเคมีแห้ง หรือสารดับเพลิงทีส่ ามารถใช้ดบั เพลิงประเภทซี
(๔) ฝึ กดับเพลิงโดยใช้สายดับเพลิง
ข้อ ๒๓ สถานทีฝ่ ึ กภาคปฏิบตั อิ ย่างน้อยต้องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
(๑) มีสถานทีเ่ ป็ นสัดส่วนเหมาะสมแก่การฝึ กภาคปฏิบตั ิ
(๒) มีความปลอดภัยต่อผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมและชุมชนใกล้เคียง
(๓) ไม่อยู่ในบริเวณทีอ่ าจเป็ นเหตุให้เกิดการระเบิด หรือติดไฟได้งา่ ยต่อสถานทีใ่ กล้เคียง
(๔) ไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิง่ แวดล้อม หรือมีระบบกาจัดมลพิษทีเ่ หมาะสม
ข้อ ๒๔ อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการฝึ กภาคปฏิบตั อิ ย่างน้อยต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้
(๑) เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อ นย้ายได้ท่สี ามารถดับเพลิงประเภท เอ ประเภท บี และ
ประเภท ซี
(๒) สายส่งน้ าดับเพลิง สายฉีดน้ าดับเพลิง กระบอกฉีดน้ าดับเพลิงหรือหัวฉีดน้ าดับเพลิง
(๓) อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลทีใ่ ช้สาหรับการดับเพลิง ซึ่งอย่างน้อย
ต้องประกอบด้วยเสื้อคลุมดับเพลิง ถุงมือ รองเท้า หมวกดับเพลิงที่มกี ระบังหน้ า และหน้ ากาก
ป้ องกันความร้อน
อุ ปกรณ์ ต ามวรรคหนึ่ ง ต้อ งสามารถใช้ง านได้ดี มีความปลอดภัย ต่ อ การฝึ กและต้องมี
จานวนทีเ่ พียงพอต่อผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม
ข้อ ๒๕ การฝึ กอบรมภาคทฤษฎี หน่ วยงานฝึ ก อบรมการดับเพลิง ขัน้ ต้น ต้องจัดให้ม ี
ห้องฝึ กอบรมหนึ่งห้องมีผเู้ ข้ารับการฝึ กอบรมไม่เกินหกสิบคน และมีวทิ ยากรอย่างน้อยหนึ่งคน
การฝึ กอบรมภาคปฏิบตั ิ หน่ วยงานฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้นต้องจัดให้มวี ทิ ยากรอย่าง
น้อยหนึ่งคนต่อผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมไม่เกินยีส่ บิ คน
ข้อ ๒๖ วิทยากรผูท้ าการฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้นต้องมีคณ ุ สมบัตอิ ย่างหนึ่งอย่างใด
ดังต่อไปนี้
(๑) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรีทม่ี กี ารเรียนวิชาเกีย่ วกับอัคคีภยั และ
มีประสบการณ์การเป็ นวิทยากรเกีย่ วกับอัคคีภยั หลังจากทีส่ าเร็จการศึกษาไม่น้อยกว่าสามปี
(๒) ผ่ า นการอบรมในหลัก สูต รการฝึ ก อบรมการดับ เพลิง ขัน้ ก้า วหน้ า ขัน้ สูง หรือ ทีม
ดับเพลิงและมีประสบการณ์การเป็ นวิทยากรเกีย่ วกับอัคคีภยั ไม่น้อยกว่าสามปี
741

เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๙ ก ราชกิจจานุ เบกษา ๑๖ มกราคม ๒๕๕๗


(๓) ผ่ า นการอบรมหลัก สูต รครู ด บั เพลิง หรือ ครู ฝึ ก ป้ อ งกกัน บรรเทาสาธารณภัย จาก
หน่ วยงานราชการและมีประสบการณ์การเป็ นวิทยากรเกีย่ วกับอัคคีภยั ไม่น้อยกว่าสอง
ปี
(๔) ปฏิบตั งิ านหรือเคยปฏิบตั งิ านเป็ นพนักงานดับเพลิงในทีมดับเพลิงของสถานประกอบ
กิจการไม่น้อยกว่าสามปี และผ่านการอบรมตัง้ แต่หลักสูตรการฝึ กอบรมการดับเพลิง
ขัน้ ต้นขึน้ ไป หรือผ่านการฝึ กอบรมหลักสูตรวิทยากรการป้ องกันและระงับอัคคีภยั จาก
หน่ วยงานราชการ และมีประสบการณ์ การเป็ นวิทยากรเกี่ยวกับอัคคีภยั ไม่น้อยกว่า
สองปี
(๕) ปฏิบตั งิ านหรือเคยปฏิบตั งิ านในหน้าทีพ่ นักงานดับเพลิงของหน่ วยงานราชการไม่น้อย
กว่าสามปี และผ่านการอบรมตัง้ แต่หลักสูตรการฝึ กอบรมดับเพลิงขัน้ ต้นขึ้น ไป หรือ
ผ่านการฝึ กอบรมหลักสูตรวิทยากรการป้ องกันและระงับอัคคีภยั จากหน่ วยงานราชการ
และมีประสบการณ์เป็ นวิทยากรเกีย่ วกับอัคคีภยั ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี

ส่วนที่ ๓
การฝึ กซ้อมดับเพลิงและฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟ

ข้อ ๒๗ หน่ วยงานฝึ กซ้อมดับเพลิงและฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟต้องจัดให้มกี ารประชุมชี้แจง


และซักซ้อมผูเ้ กีย่ วข้องเข้าใจในเรือ่ ง ดังต่อไปนี้
(๑) แผนการดับเพลิงและวิธกี ารดับเพลิงของสถานประกอบกิจการ
(๒) แผนการอพยพหนีไฟและวิธกี ารอพยพหนีไฟของสถานประกอบกิจการ
(๓) การค้นหา ช่วยเหลือ และเคลื่อนย้ายผูป้ ระสบภัย
ข้อ ๒๘ การฝึ กซ้อมดับเพลิงและฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟตามข้อ ๒๗ ต้องจัดให้มกี ารจาลอง
เหตุการณ์และฝึ กซ้อมเสมือนเหตุการณ์จริงในสถานทีป่ ฏิบตั งิ านของผูร้ บั การฝึ ก
ข้อ ๒๙ วิทยากรผูท้ ่ดี าเนินการฝึ กซ้อมดับเพลิงและฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟต้องมีคุณสมบัติ
อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(๑) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรีทม่ี กี ารเรียนวิชาเกีย่ วกับอัคคีภยั และมี
ประสบการณ์ในการป้ องและระงับอัคคีภยั ภายหลังจากทีส่ าเร็จการศึกษาไม่น้อยกว่าสามปี
(๒) ผ่านการอบรมด้านอัคคีภยั ในหลักสูตรผู้อานวยการการดับเพลิงหรือผ่านการอบรม
หลักสูตรครูฝึกดับเพลิงหรือครูฝึกป้ องกันบรรเทาสาธารณภัยจากหน่ วยงานราชการ
โดยมีประสบการณ์ในการป้ องกันและระงับอัคคีภยั ไม่น้อยกว่าสามปี
(๓) ผ่านการอบรมในหลักสูตรการฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ก้าวหน้า ขัน้ สูง หลักสูตร
742

(๔) วิทยากรการป้ องกันและระงับอัคคีภยั จากหน่ วยงานราชการ หรือหลักสูตรทีม


(๕) ดับเพลิง โดยมีประสบการณ์ในการป้ องกันและระงับอัคคีภยั ไม่น้อยกว่าสามปี
ปฏิบตั งิ านหรือเคยปฏิบตั งิ านในหน้าทีพ่ นักงานดับเพลิงของหน่ วยงานราชการ โดยมี
ประสบการณ์ในการป้ องกันและระงับอัคคีภยั ไม่น้อยกว่าสามปี

ส่วนที่ ๔
ค่าบริการ

ข้อ ๓๐ ค่าบริการในการฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้น ให้จดั เก็บในอัตราไม่เกิน ๑,๕๐๐


บาทต่อคน
ข้อ ๓๑ ค่าบริการในการฝึ กซ้อมดับเพลิงและฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟ ให้จดั เก็บได้ในอัตรา
ดังต่อไปนี้
(๑) ในการฝึ กซ้อมตัง้ แต่ ๑๐ ถึง ๙๙ คน ไม่เกินครัง้ ละ ๑๕,๐๐๐ บาท
(๒) ในการฝึ กซ้อมตัง้ แต่ ๑๐๐ ถึง ๔๙๙ คน ไม่เกินครัง้ ละ ๒๐,๐๐๐ บาท
(๓) ในการฝึ กซ้อมตัง้ แต่ ๕๐๐ คนขึน้ ไป ไม่เกินครัง้ ละ ๒๕,๐๐๐ บาท

หมวด ๓
ค่าธรรมเนียม

ข้อ ๓๒ ให้กาหนดค่าธรรมเนียมในอัตรา ดังต่อไปนี้


(๑) ใบอนุ ญาตให้บริการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย ฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท
และสภาพแวดล้อมในการทางาน ในการเป็ นหน่ วยงาน
ฝึ กอบรมการดับเพลิงขัน้ ต้น
(๒) ใบอนุ ญาตให้บริการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย ฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท
และสภาพแวดล้อมในการทางาน ในการเป็ นหน่ วยงาน
ฝึ กซ้อมดับเพลิงและการฝึ กซ้อมอพยพหนีไฟ
(๓) ใบแทนใบอนุ ญาต ฉบับละ ๕๐๐ บาท
(๔) การต่ออายุใบอนุ ญาตครัง้ ละเท่ากับค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาตประเภทนัน้ ๆ
ให้ย กเว้นค่าธรรมเนี ยมตามวรรคหนึ่ งแก่ร าชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค หรือ
ราชการส่วนท้องถิน่ ซึ่งได้รบั ใบอนุ ญาต

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖


ร้อยตารวจเอก เฉลิม อยู่บารุง
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน
743

เล่ม ๑๓๑ ตอนที่ ๙ ก ราชกิจจานุ เบกษา ๑๖ มกราคม ๒๕๕๗

หมายเหตุ :- เหตุ ใ นการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๕ วรรคหนึ่ ง แห่ง


พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อ มในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔
บัญญัตใิ ห้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงแรงงานมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมไม่เกิน
อัตราท้ายพระราชบัญญัตนิ ้ี ประกอบกับ มาตรา ๑๑ วรรคสอง กาหนดให้นิติบุคคลที่ประสงค์จะ
ให้บริการจัดฝึ กอบรมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
จะต้องได้รบั อนุ ญาตจากอธิบดี และคุณสมบัตขิ องผูข้ ออนุ ญาต การขออนุ ญาต การอนุ ญาต การขอ
ต่ออายุใบขออนุ ญาต การออกใบแทนใบอนุ ญาต การพักใช้และการเพิกถอนใบอนุ ญาต การกาหนด
ค่า บริก าร และวิธีก ารให้บ ริก าร ให้เ ป็ น ไปตามหลัก เกณฑ์ วิธีก าร และเงื่อ นไขที่ก าหนดใน
กฎกระทรวงจึงจาเป็ นต้องกฎกระทรวงนี้
744

ภาคผนวก ค
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ ๔๓๔๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔)
ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อตุ สาหกรรม
พ.ศ.๒๕๑๑
745

หน้า ๑๑
เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๙๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑ กันยายน ๒๕๕๔
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ ๔๓๔๑ (พ.ศ. ๒๕๕๔)
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
พ.ศ.๒๕๑๑
เรือ่ ง ยกเลิกและกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย : ข้อกาหนด

โดยที่เป็ นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตอุตสาหกรรม ระบบการจัดการอาชีวอนา


มัยและความปลอดภัย : ข้อกาหนด มาตรฐานเลขที่ มอก. 18001 – 2542 และกาหนดมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย : ข้อกาหนด มาตรฐาน
เลขที่ มอก. 18001 - 2554 ขึน้ ใหม่
อ า ศั ย อ า น า จ ต า ม ค ว า ม ใ น ม า ต ร า ๑ ๕ แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ม า ต ร ฐ า น
ผลิต ภัณฑ์อุ ต สาหกรรม พ.ศ.๒๕๑๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุ ต สาหกรรมจึงออกประกาศ
กระทรวงอุตสาหกรรมไว้ดงั ต่อไปนี้
๑. ยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ซึง่ ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ.๒๕๑๑ จานวน ๓ ฉบับ คือ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่
๒๖๐๐ (พ.ศ. ๒๕๔๒) เรื่อง ยกเลิกและกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระบบการ
จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย : ข้อกาหนด ลงวันที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
ทัง้ นี้ ให้มผี ลใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนด ๔ เดือน นับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานุ เบกษา
เป็ นต้นไป
๒. กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย : ข้อกาหนด มาตรฐานเลขที่ มอก. 18001 – 2554 ขึน้ ใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้าย
ประกาศนี้
ทัง้ นี้ ให้มผี ลตัง้ แต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔


ชัยวุฒ ิ บรรณวัฒน์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
746

มาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อตุ สาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัย


และความปลอดภัย (Occupational health and safety management
system standards : OHSAS 18000) : ข้อกาหนด

ระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSAS 18000) เป็ นระบบที่


ช่วยป้ องกันการบาดเจ็บและเจ็บป่ วยของบุคลากร เพื่อให้เป็ นไปตามกฎหมายและมาตรฐานที่
เกีย่ วข้อง นอกจากนี้ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ยังช่วยเปิ ดโอกาสในการ
ดาเนินธุรกิจกับกลุ่มลูกค้าที่คานึงถึงความปลอดภัยและสุขภาพของบุคลากรในองค์การ และ
สร้างทัศนคติของผูป้ ฏิบตั งิ าน และปรับปรุงสถานประกอบการให้มสี ภาพแวดล้อมในการทางาน
ให้มคี วามปลอดภัยให้มากทีส่ ุด กาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระบบการจัดการอา-
ชีวอนามัยและความปลอดภัย : ข้อกาหนด มาตรฐานเลขที่ มอก. 18001 – 2554 ขึน้ ใหม่ โดยมี
รายละเอียดย่อ ๆ ดังนี้

1. ขอบข่าย
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้เป็ นข่อกาหนดสาหรับระลดการจัดการอาชีว
อนามัยและความปลอดภัย เพื่อช่วยให้องค์การควบคุมความเสี่ยงต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับอาชีวอ
นามัย และความปลอดภัย และช่ ว ยในการปรับ ปรุ ง สมรรถนะด้า นอาชีว อนามัย และความ
ปลอดภัยขององค์การ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้กบั ทุกองค์การที่
ต้องการนาไปเพื่อสร้างความเชื่อมันในการประกอบธุ
่ รกิจให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ โดย
มีการประยุกต์ใช้ ดังนี้
1. จัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเพื่อกาจัด หรือลดความ
เสี่ยงต่อ ลูก จ้างและผู้มสี ่ว นได้เสียที่ม ี โอกาสประสบกับอันตรายที่เกี่ยวกับอาชีว อนามัยและ
ความปลอดภัยซึง่ เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การ
2. นาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยไปปฏิบตั ริ กั ษาไว้ และมีการ
พัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
3. ให้หลักประกันว่าองค์การสามารถปฏิบตั ิได้สอดคล้องกับนโยบายด้านอาชีวอนา
มัยและความปลอดภัยทีป่ ระกาศไว้
4. แสดงความสอดคล้องกับข้อกาหนดของมาตรฐานนี้โดย
4.1 พิจารณาตนเอง (self- determination) และการประกาศรับรอง
ตนเอง (self – declaration)
747

4.2 รับการยืนยันถึงความสอดคล้องกับข้อกาหนดจากผู้มสี ่วนได้เสีย


กับองค์การ
4.3 รับการยืนยันถึงการประกาศรับรองตนเองจากหน่วยงานภายนอก
4.4 ขอรับการรับรอง (certification/registration) ระบบการจัดการอาชี
วอนามัยและความปลอดภัยจากหน่ วยงานตรวจสอบและรับรอง (conformity assessment
body)
มาตรฐานระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความปลอดภัย นี้ มีค วามตัง้ ใจให้
องค์การนาข้อกาหนดทัง้ หมดไปใช้รว่ มกับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีไ่ ด้
ดาเนินการอยู่แล้ว ในองค์การ ขอบเขตของการนาไปประยุกต์ใ ช้จะขึ้นอยู่กับปั จจัยต่ างๆ ที่
เกี่ยวข้อง เช่น นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ลักษณะของกิจกรรมและความเสี่ยง
ต่าง ๆ รวมทัง้ ความซับซ้อนในการดาเนินการขององค์การ

2. การนาไปใช้
ข้อกาหนดของมาตรฐานนี้ ใช้กรอบแนวคิดตามรูปแบบระบบการจัดการอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย เพื่อทาให้องค์กรสามารถกาหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ดา้ นอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย และกาหนดขัน้ ตอนในการนาไปปฏิบตั ิ พร้อมชี้ให้เห็นความสาเร็จตาม
เกณฑ์ท่กี าหนดขึ้น เพื่อทาให้เกิดวงจรการปรับปรุงระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง ดังแสดงในภาพที่ 86

ภาพที่ 86 รูปแบบระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ทีม่ า: สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, 2554.
748

3. บทนิ ยาม
ความหมายของคาทีใ่ ช้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ มีดงั ต่อไปนี้
1. ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and
Safety Management Systems : OHSMS) หมายถึงส่วนหนึ่งของระบบการจัดการของ
องค์กร เพื่อใช้ในการกาหนดและนาไปปฏิบตั ซิ ่งึ นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัยและ
การจัดการความเสีย่ งต่างๆในด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขององค์กร
หมายเหตุ 1. ระบบการจัดการประกอบด้วย องค์ประกอบต่างๆ ซึง่ มีความสัมพันธ์ต่อ
กันทีใ่ ช้ในการกาหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ และทาให้เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว
2. ระบบการจัดการประกอบด้วย โครงสร้างขององค์กร กิจกรรมการ
วางแผน (เช่น การประเมินความเสี่ยง และการกาหนดวัตถุประสงค์) หน้ าที่ความรับผิดชอบ
แนวปฏิบตั ิ ขัน้ ตอนการดาเนินงาน กระบวนการ และทรัพยากรต่างๆ
2. ความเสีย่ ง (Risk) หมายถึง ผลลัพธ์ของความน่ าจะเกิดอันตรายและผลจากอันตราย
นัน้
3. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety Management
Systems : OH&S) หมายถึง สภาพและปั จจัยทีม่ หี รืออาจมีผลต่อสุขภาพอนามัย และความ
ปลอดภัยของผู้ปฏิบตั ิงาน ลูกจ้าง หรือคนงานอื่นๆ (รวมถึงคนงานชัวคราว ่ และคนงานของ
ผูร้ บั เหมา)ผูเ้ ยีย่ มชมหรือบุคลอื่นๆในสถานทีท่ างาน
หมายเหตุ : องค์กรต้องปฏิบตั ิต ามกฎหมายเพื่อ สุขภาพและความปลอดภัยของ
ผู้ปฏิบตั ิงานทัง้ ในและนอกสถานที่ทางานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมขององค์กรหรือผู้ท่สี มั ผัสกับ
กิจกรรมการทางาน
4. ผูม้ สี ่วนได้เสีย (Interested Party) หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลทัง้ ทีอ่ ยู่ภายในและ
ภายนอกสถานที่ท างานที่เ กี่ย วข้อ ง หรือ ได้รบั ผลกระทบจากผลการด าเนิ น การด้า นอาชีว
อนามัยและความปลอดภัยขององค์กร
5. อันตราย (Hazard) หมายถึงสิง่ หรือสถานการณ์ท่อี าจก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรือ
ความเจ็บป่ วยจากการทางาน ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ความเสียหายต่อสภาพแวดล้อม ใน
การทางาน หรือต่อสาธารณชน หรือสิง่ ต่างๆ เหล่านี้รวมกัน
6. นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OH&S Policy) หมายถึง เจตนารมณ์และ
ทิศทางทัง้ หมดขององค์กรเกี่ยวกับการดาเนินการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของ
องค์กรทีก่ าหนดโดยผูบ้ ริหารระดับสูง
749

7. องค์กร (Organization) หมายถึง หน่ วยงานซึ่งมีกิจการและการบริห ารเป็ นของ


ตนเอง เช่น บริษทั ห้างหุน้ ส่วน หน่ วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน สมาคม สาหรับองค์กร
ทีม่ หี น่ วยปฏิบตั งิ านอยู่มากกว่าหนึ่งแห่ง อาจกาหนดให้หน่ วยปฏิบตั งิ านย่อยแห่งนัน้ เป็ นหนึ่ง
องค์กรได้
8. วัตถุประสงค์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OH&S Objective) หมายถึง
จุดมุง่ หมายด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีต่ อ้ งการบรรลุ ซึง่ กาหนดขึน้ โดยองค์กรในเชิง
ของผลการดาเนินการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
9. เอกสาร (Document) หมายถึงข้อมูลและสื่อสนับสนุน
หมายเหตุ : สื่อดังกล่าวอาจเป็ นกระดาษ แผ่นคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้แม่เหล็กอิเล็กทรอนิกส์
หรือแสง (Magnetic, Electronics หรือ Optical Computer Disc) ภาพถ่าย หรือตัวอย่างต้นแบบ
หรือทีผ่ สมผสานกันของสิง่ เหล่านี้
10. ความเจ็บป่ วยจากการทางาน (Ill Health) หมายถึง ความเจ็บป่ วยทัง้ ทางร่างกาย
และจิตใจทีม่ สี าเหตุ
11. ลูกจ้าง หมายถึง ผูซ้ ง่ึ ตกลงทางานให้นายจ้างได้รบั ค่าจ้าง ไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไร
เช่น ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงาน คนงาน คนงานของผูร้ บั เหมา
12. การชี้บ่งอันตราย (Hazard Identification) หมายถึง กระบวนการในการค้นหา
อันตรายทีม่ อี ยูแ่ ละการระบุลกั ษณะอันตราย
13. การประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) หมายถึง กระบวนการประมาณระดับ
ของความเสีย่ ง และการตัดสินว่าความเสีย่ งนัน้ อยูใ่ นระดับใด
14. ขัน้ ตอนการดาเนินงาน (Procedure) หมายถึง วิธ ีการที่ก าหนดในการดาเนิน
กิจกรรมหรือกระบวนการ
15. บันทึก (Record) หมายถึง เอกสารซึง่ แสดงผลหรือเป็ นหลักฐานการดาเนินการของ
กิจกรรม
16. ผลการดาเนินการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OH&S Performance)
หมายถึง ผลการจัดการความเสีย่ งด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขององค์กรทีส่ ามารถวัด
ได้
หมายเหตุ 1. การวัดการดาเนินรวมถึงการวัดประสิทธิผลการควบคุมขององค์การ
2. ผลการดาเนินการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีส่ ามารถวัดได้
โดยนาไปเปรียบเทียบกับนโยบายและวัตถุประสงค์ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และ
ข้อกาหนดอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
750

17. สถานทีท่ างาน (Workplace) หมายถึง บริเวณทีม่ กี ารปฏิบตั งิ าน หรือทากิจกรรมที่


เกีย่ วข้องกับงานทีด่ าเนินการภายใต้การกากับดูแลขององค์การ
หมายเหตุ : การพิจารณาองค์ประกอบของสถานทีท่ างานให้รวมถึงผลกระทบด้านอาชี
วอนามัยและความปลอดภัยต่อบุคคลทีอ่ าจเกิดจากการปฏิบตั งิ าน เช่น ระหว่างการเดินทางการ
ขับขีย่ วดยานพาหนะ การปฏิบตั งิ าน ณ สถานทีท่ างานของนายจ้าง หรือลูกค้า หรือการนางาน
ไปปฏิบตั ทิ บ่ี า้ น
18. อุบตั กิ ารณ์ (Incident) หมายถึง เหตุการณ์ทเ่ี กี่ยวเนื่องจากการทางานซึง่ ทาให้เกิด
หรืออาจเกิดการบาดเจ็บหรือความเจ็บป่ วยจากการทางาน หรือการเสียชีวติ
หมายเหตุ 1. อุบตั เิ หตุ (Accident) หมายถึง อุบตั กิ ารณ์ท่มี ผี ลทาให้เกิดการบาดเจ็บ
ความเจ็บป่ วยจากการทางานหรือการเสียชีวติ
2. อุบตั กิ ารณ์ทไ่ี ม่มผี ลถึงการบาดเจ็บ ความเจ็บป่ วยจากการทางาน หรือ
การเสียชีวติ อาจเรียกว่าเหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั เิ หตุ (Near Miss, Near Hit, Close Call หรือ
Dangerous Occurrence)
3. ภาวะฉุกเฉิน จัดเป็ นอุบตั กิ ารณ์ประเภทหนึ่ง
19. เหตุการณ์เกือบเกิดอุบตั เิ หตุ หมายถึง เหตุการณ์ท่ไี ม่พงึ ประสงค์ แต่เมื่อเกิดขึน้
แล้วมีแนวโน้มทีจ่ ะก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ
20. การตรวจประเมิน (Audit) หมายถึง กระบวนการทีเ่ ป็ นระบบ เป็ นอิสระ และกาหนด
ไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อดาเนินการให้ได้หลักฐานการประเมิน และประเมินผลจากหลักฐาน
เพื่อพิจารณาว่าตรงตามเกณฑ์การตรวจประเมิน (Audit Criteria) หรือไม่
21. เกณฑ์การตรวจประเมิน หมายถึง บรรทัดฐานทีใ่ ช้ในการพิจารณาซึง่ อาจอยู่ ในรูป
ของนโยบาย ขัน้ ตอนการดาเนินการ หรือข้อกาหนดต่างๆ
หมายเหตุ : เกณฑ์การตรวจประเมินนามาใช้อ้างอิงโดยเปรียบเทียบกับหลักฐานการ
ตรวจประเมิน (Audit Evidence)
22. หลักฐานการตรวจประเมิน หมายถึง บันทึกถ้อยคาทีแ่ สดงความจริง หรือข้อมูลข่าวสารอื่นๆ
ซึง่ เกีย่ วข้องกับเกณฑ์การตรวจประเมิน และสามารถทวนสอบได้
หมายเหตุ : หลักฐานการตรวจประเมินเป็ นได้ทงั ้ เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
751

4. ข้อกาหนดของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
4.1 ข้อกาหนดทัวไป ่
องค์กรต้องจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีเ่ ป็ นลายลักษณ์
อักษร มีการนาไปปฏิบตั ริ กั ษาไว้ และมีการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ตามข้อกาหนดทีร่ ะบุ
ไว้ในมาตรฐานนี้ องค์กรต้องกาหนดขอบข่ายของระบบการจัดการของอาชีว อนามัยและความ
ปลอดภัยขององค์กร และจัดทาเป็ นเอกสาร
4.2 นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ผูบ้ ริหารระดับสูงขององค์กรต้องกาหนด
นโยบายโดยจัดทาเป็ นเอกสารพร้อมทัง้ ลงนาม เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดการอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย นโยบายดังกล่าวต้อง
(1) เป็ นส่วนหนึ่งของการดาเนินธุรกิจ
(2) เหมาะสมกับลักษณะ ขนาด และระดับความเสีย่ งขององค์กร
(3) เป็ นกรอบในการกาหนดและทบทวนวัตถุประสงค์
(4) แสดงความมุง่ มันในการปฏิ
่ บตั ติ ามกฎหมายและข้อกาหนดอื่นๆ ทีอ่ งค์กร
เกีย่ วข้องหรือได้ทาข้อตกลงไว้
(5) แสดงความมุง่ มันในการป้
่ องกันอันตราย ความเจ็บป่ วยจากการทางานทีจ่ ะ
เกิดกับลูกจ้างและผูม้ สี ่วนได้เสีย และปรับปรุงระบบการจัดการและผลการดาเนินการด้านอาชีวอ
นามัยและความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
(6) ให้ลกู จ้างมีส่วนร่วมในระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
และได้รบั คาปรึกษา แนะนาให้มคี วามรูค้ วามสามารถอย่างเพียงพอทีจ่ ะสามารถปฏิบตั งิ านได้
อย่างปลอดภัย
(7) จัดสรรทรัพยากรให้เพียงพอและเหมาะสมในการดาเนินการให้บรรลุตาม
นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ผูบ้ ริหารระดับสูงขององค์กรต้องเผยแพร่ให้ลกู จ้าง และผูม้ สี ่วนได้เสียได้รบั ทราบและ
เข้าใจจุดมุง่ หมายของนโยบาย เพื่อให้เกิดความตระหนักในความรับผิดชอบด้านอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย และต้องทบทวนตามระยะเวลาทีเ่ หมาะสมเพื่อให้มนใจว่ ั ่ านโยบายทีก่ าหนด
ขึน้ ยังมีความเหมาะสมกับองค์การ
4.3 การวางแผน
4.3.1 การบ่งชีอ้ นั ตรายและการประเมินความเสีย่ ง
องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงานสาหรับการชีบ้ ่งอันตราย และการ
ประเมินความเสีย่ งทุกกิจกรรมและสภาพแวดล้อมในการทางานของลูกจ้างและผูม้ สี ่วนได้เสีย
อย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้ในการพิจารณากาหนดมาตรการการควบคุมความเสีย่ ง
752

ขัน้ ตอนการด าเนิ น งานส าหรับ การชี้บ่ ง อัน ตรายและการประเมิน ความเสี่ย งต้ อ ง
ครอบคลุมถึง
(1) กิจกรรมทีท่ าเป็ นประจาและทีไ่ ม่เป็ นประจา
(2) กิจกรรมของผู้รบั เหมา บุคคลภายนอกที่มาใช้บริการและผู้เยี่ยมชมใน
สถานทีท่ างาน
(3) พฤติกรรมของมนุษย์ ขีดความสามารถ และปั จจัยอื่นๆ ของมนุษย์
(4) การชี้บ่งอันตรายที่เกิดจากภายนอกสถานที่ทางานซึ่งสามารถทาให้เกิด
อันตรายต่อสุขภาพ และความปลอดภัย ต่อบุคลากรภายใต้การกากับดูแลขององค์กรภายใน
สถานทีท่ างาน
(5) อันตรายทีเ่ กิดขึน้ ในบริเวณที่ใกล้เคียงกับสถานที่ทางานขององค์กร โดย
เป็ นงานทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับกิจกรรมภายใต้การกากับดูแลขององค์กร
(6) โครงสร้า งพื้น ฐาน อุ ป กรณ์ แ ละวัส ดุ ต่ า งๆ ภายในสถานที่ท างาน ที่
จัดเตรียมโดยองค์กรหรืออื่นๆ
(7) การเปลี่ ย นแปลงหรื อ ข้ อ เสนอให้ ม ี ก ารเป ลี่ ย นแปลงวั ส ดุ อุ ป กรณ์
กระบวนการ วิธปี ฏิบตั งิ าน หรือกิจกรรมต่างๆ ในองค์กร
(8) การปรับปรุงระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รวมถึงการ
เปลีย่ นแปลงชัวคราว
่ และมีผลกระทบต่อการปฏิบตั งิ าน กระบวนการ และกิจกรรมต่างๆ
(9) กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการประเมินความเสีย่ งและการควบคุมความเสีย่ ง
(10) การออกแบบพืน้ ทีท่ างาน กระบวนการ การติดตัง้ เครื่องจักร และอุปกรณ์
ขัน้ ตอนการดาเนินการและการจัดการเกี่ยวกับงาน (Work Organization) ภายในองค์กรรวมถึง
การประยุกต์ตามขีดความสามารถของมนุษย์
การชีบ้ ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งขององค์กรต้อง
(1) กาหนดขึน้ โดยคานึงถึงขอบข่าย ลักษณะของกิจกรรมและระยะเวลาเพื่อให้
มันใจว่
่ าเป็ นเชิงรุกมากกว่าเชิงรับ
(2) ชีบ้ ่งอันตราย จัดลาดับความสาคัญและจัดเตรียมเป็ นเอกสารของความเสีย่ ง
ต่างๆ และกาหนดมาตรการควบคุมต่างๆ ตามความเหมาะสม
สาหรับการจัดการการเปลีย่ นแปลง องค์กรต้องชีบ้ ่งอันตราย และความเสีย่ ง ซึง่ มีความสัมพันธ์
กับการเปลีย่ นแปลงในองค์กร ระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย หรือกิจกรรม
ต่างๆ ก่อนทีจ่ ะทาการเปลีย่ นแปลง
753

การกาหนดมาตรการควบคุม หรือเปลีย่ นแปลงมาตรการควบคุมทีม่ อี ยู่ต้องพิจารณาใช้


มาตรการการลดความเสีย่ งตามลาดับ หรือใช้มาตรการหลายมาตรการรวมกัน ดังนี้
(1) การกาจัด
(2) การเปลีย่ นหรือทดแทน
(3) การควบคุมทางด้านวิศวกรรม
(4) การควบคุมทางด้านการบริหารจัดการ การเตือนอันตราย และ/หรือให้
สัญญา
(5) การใช้อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
ถ้ามีการดาเนินกิจกรรมใหม่หรือมีการปรับปรุง เปลีย่ นแปลงกิจกรรม องค์กรต้องแก้ไข
แผนงานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยให้เหมาะสม องค์กรต้องทบทวนการชีบ้ ่งอันตราย
และการประเมินความเสี่ย งตามช่ว งเวลาที่ก าหนด องค์กรต้อ งจัด ทาและเก็บบัน ทึก ตามที่
กาหนด
องค์กรต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อ 4.5.4
4.3.2 กฎหมาย และข้อกาหนดอื่นๆ
องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงานสาหรับการชีบ้ ่ง และติดตาม
ข้อกาหนดของกฎหมาย และข้อกาหนดอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้องให้ทนั สมัย และได้นามาใช้ในระบบการ
จัด การอาชีว อนามัย และความปลอดภัย องค์ก รต้อ งมันใจว่ ่ า ข้อ ก าหนดของกฎหมายและ
ข้อกาหนดอื่นๆ ที่องค์กรนามาประยุกต์ใช้ได้มกี ารกาหนดผู้รบั ผิดชอบในการจัดทาระบบการ
จัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีการนาไปปฏิบตั แิ ละรักษาไว้ในองค์กร องค์กร
ต้องสื่อ สารข้อ มูลที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย และข้อ กาหนดอื่นๆ ไปยังผู้ปฏิบตั ิงานภายใต้การ
กากับดูแลขององค์กรและผูม้ สี ่วนได้เสีย
องค์กรต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อ 4.5.4
4.3.3 วัตถุประสงค์และแผนงาน
องค์กรต้องจัดทาวัตถุประสงค์ดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีเ่ ป็ น
เอกสารในทุกระดับและทุกหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร วัตถุประสงค์ต้องวัดผลได้และ
สอดคล้องกับนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ซึ่งประกอบไปด้วย ความมุ่งมันในการ ่
ป้ องกันอันตราย ความเจ็บป่ วยจากการทางาน การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และข้อกาหนดอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อ งหรือ ได้ทาข้อตกลงไว้ รวมทัง้ การปรับปรุงอย่างต่ อ เนื่อ ง การก าหนดและทบทวน
วัตถุประสงค์ องค์กรต้องคานึงถึงกฎหมายและข้อกาหนดอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง หรือได้ทาข้อตกลง
ไว้ และพิจ ารณาถึง ความเสี่ยงด้านอาชีว อนามัย และความปลอดภัย รวมถึง ทางเลื อ กด้า น
เทคโนโลยีการเงิน การปฏิบตั กิ าร และข้อกาหนดทางธุรกิจ รวมถึงมุมมองของผู้มสี ่วนได้เสีย
องค์ก รต้อ งจัดท าแผนงาน (หนึ่งหรือ มากกว่า หนึ่งแผนงาน) เพื่อ ให้บรรลุ ว ัต ถุ ประสงค์ของ
องค์กร โดยแผนงานอย่างน้อยต้องกระทาดังต่อไปนี้
754

(1) การก าหนดความรับ ผิด ชอบและอ านาจหน้ า ที่ ในระดับ และ


หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องภายในองค์กร
(2) วิธกี ารและกรอบเวลาดาเนินการ แผนงานต้องได้รบั การติดตาม
และทบทวนอย่างสม่าเสมอตามแผนทีก่ าหนดเป็ นระยะๆ และปรับเปลีย่ นตามความเหมาะสม
4.4 การนาไปใช้และการปฏิบตั ิ
4.4.1 ทรัพยากร บทบาท อานาจหน้าที่ และภาระรับผิดชอบ ผูบ้ ริหารระดับสูง
ต้องแสดงความมุ่งมันเพื ่ ่อให้มนใจว่
ั ่ ามีทรัพยากรทีจ่ าเป็ นอย่างเพียงพอในการจัดทาระบบการ
จัด การ อาชีว อนามัย และความปลอดภัย มีก ารน าไปปฏิบ ัติ รัก ษาไว้ และมีก ารพัฒ นา
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ผูบ้ ริหารระดับสูงต้องเป็ นผูน้ าในการแสดงความรับผิดชอบด้านอาชีวอนา
มัยและความปลอดภัยอย่าต่อ เนื่อง องค์กรต้องก าหนดโครงสร้างองค์กรที่เ กี่ยวข้อ งกับการ
จัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย บทบาท อานาจหน้าที่ และภาระรับผิดชอบของ
ลูกจ้างภายในองค์กรเป็ นเอกสาร และสื่อสารให้ทราบอย่างทัวถึ ่ ง องค์กรต้องแต่งตั ง้ ผูแ้ ทนฝ่ าย
บริห ารด้า นอาชีว อนามัย และความปลอดภัย จากสมาชิก ในคณะผู้บ ริห ารขององค์ก รเพื่อ
ปฏิบตั งิ านโดยมีความรับผิดชอบและอานาจหน้าที่ ดังนี้
(1) ดูแลให้ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีไ่ ด้จดั ทา
ขึน้ มีการนาไปปฏิบตั ิ และรักษาไว้ให้เป็ นไปตามข้อกาหนดในมาตรฐานนี้อย่างต่อเนื่อง
(2) รายงานผลการดาเนินการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยต่อ
ผูบ้ ริหารระดับสูง เพื่อนาไปใช้การทบทวนระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(3) ให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ความรับผิดชอบของ
ผู้แ ทนฝ่ ายบริห ารด้ า นอาชีว อนามัย และความปลอดภัย อาจรวมถึง การประสานงานกับ
หน่วยงานภายนอกในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
4.4.2 ความสามารถ การฝึ กอบรม และการมีจติ สานึก องค์กรต้องมันใจว่ ่ า
ลูกจ้างและผู้มสี ่วนได้เสียที่ปฏิบตั งิ านภายใต้การกากับดูแลขององค์กรซึ่งมีผลกระทบด้านอาชี
วอนามัยและความปลอดภัยมีความสามารถ โดยมีพ้นื ฐานจากการศึกษา การฝึ กอบรม ทักษะ
และประสบการณ์ท่เี หมาะสม องค์กรต้องชี้บ่งความจาเป็ นในการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับความ
เสี่ยง และระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ต้องจัดให้มกี ารฝึ กอบรมหรือ
วิธกี ารใดๆ ให้สอดคล้องกับความจาเป็ นในการฝึกอบรมทีก่ าหนด และประเมินประสิทธิผลของ
การฝึกอบรมหรือวิธกี ารใดๆ
องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงาน เพื่อให้มนใจว่
ั ่ าลูกจ้างและผู้มสี ่วนได้
เสียภายใต้การกากับดูแลขององค์กรมีความตระหนักถึง
(1) ผลกระทบทีส่ าคัญต่ออาชีวอนามัยและความปลอดภัย ทัง้ ทีเ่ กิดขึน้
จริงหรือมีแนวโน้มทีจ่ ะเกิดขึน้ จากกิจกรรมการปฏิบตั งิ านนัน่ ๆ รวมทัง้ พฤติกรรมและประโยชน์
ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีไ่ ด้รบั จากการปรับปรุงการปฏิบตั งิ านของบุคลากร
755

(2) บทบาท ความรับผิดชอบและความสาคัญในการบรรลุตามนโยบาย


อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ขัน้ ตอนการดาเนินงาน และข้อกาหนดของระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย รวมถึงข้อกาหนดการเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ภาวะ
ฉุกเฉิน
(3) ผลเสียทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการไม่ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการดาเนินงานที่
กาหนด ขัน้ ตอนการดาเนินงานสาหรับการฝึกอบรม ต้องครอบคลุมถึงความแตกต่างของระดับ
ความรับผิดชอบ ความสามารถ ทักษะการใช้ภาษา การอ่านออกเขียนได้ และระดับความเสีย่ ง
องค์กรต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนด
4.4.3 การสื่อสาร การมีส่วนร่วม และการปรึกษา
4.4.3. การสื่อสาร องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงานสาหรับการ
สื่อสารทีเ่ กีย่ วข้องกับอันตราย และระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขององค์กร
ทีร่ วมถึง
(1) การสื่อสารภายในองค์กรระหว่างระดับและหน่ วยงานต่างๆ ของ
องค์กร
(2) การสื่อสารกับผู้รบั เหมา บุคคลภายนอกที่มาใช้บริการและผู้เยีย่ ม
ชมในสถานทีท่ างาน
(3) การรับจัดทาเป็ นเอกสาร และตอบสนองต่อคาแนะนา และความ
คิดเห็นทีไ่ ด้รบั จากผูม้ สี ่วนได้เสียภายนอก องค์กรจะต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหน
4.4.3 การมีส่วนร่วมและการปรึกษา องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงาน
สาหรับการมีส่วนร่วมและการปรึกษา ซึง่ รวมถึง
(1) การมีส่วนร่วมของลูกจ้างและการเตรียมการต่างๆ เพื่อ
(1.1) การชี้บ่ ง อัน ตราย การประเมิน ความเสี่ย งและการ
กาหนดมาตรการควบคุมอย่างเหมาะสม
(1.2) การสอบสวนอุบตั กิ ารณ์
(1.3) การกาหนดและทบทวนนโยบาย และวัตถุประสงค์
(2) การปรึก ษาหารือ การให้ข้อ มูลกับผู้รบั เหมา หรือ ผู้มสี ่ วนได้เ สีย
เมือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลงต่างๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่ออาชีวอนามัยและความปลอดภัย
4.4.4 เอกสารในระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
องค์กรต้องมีเอกสารในระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อย่างเพียงพอ เพื่อให้การจัดการเป็ นไปอย่างมีประสิทธิผล เอกสารเหล่านี้อาจอยู่ในรูปใดก็ได้
เช่น สื่อสิง่ พิมพ์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
756

เอกสารในระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ต้องประกอบด้วย
(1) นโยบายและวัตถุประสงค์ดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(2) ขอบข่ายของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(3) เอกสารในระบบการจัดการอาชีว อนามัยและความปลอดภัยที่
องค์ก รจัดท าขึ้นต้อ งอธิบายองค์ประกอบหลักของระบบการจัดการอาชีว อนามัยและความ
ปลอดภัยและความสัมพันธ์ของเอกสารในระบบ และเอกสารทีอ่ ้างอิงอื่นๆ บันทึกถือเป็ นเอกสาร
ประเภทหนึ่งซึ่งต้องจัดทาขึ้นตามข้อกาหนดที่ระบุในมาตรการนี้ และที่องค์กรเห็นว่ามีความ
จาเป็ นเพื่อให้การวางแผน การปฏิบตั กิ าร และการควบคุมการปฏิบตั งิ านที่เกี่ยวข้องกับความ
เสี่ยงด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้อ ย่างมีประสิทธิผล การจัดทาแลการควบคุมให้
เป็ นไปตามข้อ....
4.4.5 การควบคุมเอกสาร
องค์ก รต้ อ งจัด ท าขัน้ ตอนการด าเนิ น งานส าหรับ การเก็บ รัก ษา และ
ควบคุมเอกสาร เพื่อให้มนใจว่ั ่ าเอกสารที่มคี วามทันสมัยและใช้ได้ตามวัตถุประสงค์โดยอย่าง
น้อยต้องมีการควบคุม ดังนี้
(1) อนุมตั เิ อกสารว่ามีความเพียงพอก่อนการนาไปใช้
(2) ทบทวน ปรับปรุงเอกสาร (ถ้าจาเป็ น) และอนุมตั ใิ หม่
(3) มันใจว่
่ าการเปลีย่ นแปลง และสถานะปั จจุบนั ของเอกสารได้มกี าร
ระบุไว้
(4) มันใจว่
่ ามีเอกสารต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ณ จุดปฏิบตั งิ าน
(5) มันใจว่
่ าเอกสารยังคงอ่านได้งา่ ยและมีการชีบ้ ่งไว้อย่างชัดเจน
(6) มันใจว่
่ ามีเอกสารต่างๆ จากภายนอกซึ่งได้รบั การพิจารณาโดย
องค์กรแล้วว่ามีความจาเป็ นสาหรับการวางแผนและการดาเนินการระบบการจัดการอาชีวอนา
มัยและความปลอดภัยได้รบั การชีบ้ ่งและมีการควบคุมการแจกจ่าย
(7) ป้ องกันการนาเอกสารที่ลา้ สมัยแล้วไปใช้โดยไม่ได้ตงั ้ ใจและมีก าร
ชี้บ่งที่ชดั เจนสาหรับเอกสารที่ยกเลิกแล้ว แต่มคี วามจาเป็ นต้อ งเก็บไว้ใช้อ้างอิง องค์กรต้อ ง
จัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนด
4.4.6 การควบคุมการปฏิบตั ิงาน องค์ก รต้อ งพิจารณาถึงการปฏิบตั ิงานและ
กิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับอันตรายต่างๆ ที่ได้ช้บี ่งไว้ว่ามีความจาเป็ นต้องมีการดาเนินการ
เพื่อ จัด การความเสี่ย งด้ า นอาชีว อนามัย และความปลอดภัย ซึ่ง รวมถึง การจัด การการ
เปลีย่ นแปลงตามข้อกาหนดด้วย สาหรับการปฏิบตั งิ านและกิจกรรมดังกล่าวข้างต้น องค์กรต้อง
นาไปปฏิบตั แิ ละรักษาไว้ซง่ึ
757

(1) การควบคุมการปฏิบตั งิ านทีเ่ หมาะสมกับองค์กรและกิจกรรมต่างๆ


ขององค์กร โดยต้องบูรณาการการควบคุมการปฏิบตั งิ านกับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัยขององค์กรทีม่ อี ยูเ่ ดิม
(2) การควบคุมทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดซือ้ และจัดจ้าง
(3) การควบคุมที่เกี่ยวข้องกับผู้รบั เหมาและผู้เยีย่ มชมในสถานที่
ทางาน
(4) เอกสารขัน้ ตอนการดาเนินงานที่ครอบคลุมสถานการณ์ต่างๆ ซึ่ง
หากไม่ได้จดั ทาไว้ อาจนาไปสู่การไม่บรรลุ นโยบาย และวัต ถุประสงค์ด้านอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย
(5) การปฏิบตั ิต ามเกณฑ์การควบคุ มปฏิบตั ิงานที่ได้ก าหนดไว้ ซึ่ง
หากไม่ได้กาหนดไว้อาจนาไปสู่การไม่บรรลุนโยบาย และวั ตถุประสงค์ด้านอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย
(6) การเตือนอันตรายในกิจกรรมที่มคี วามเสีย่ ง องค์กรต้องจัดทาและ
เก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อกาหนด
4.4.7 การเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงาน สาหรับการเตรียมความพร้อม
และการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโดย
(1) ชีบ้ ่งภาวะฉุกเฉินทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ได้
(2) ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทีเกิดขึน้
องค์กรต้องตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินทีเ่ กิดขึน้ และป้ องกัน หรือบรรเทาผลเสียหายด้านอาชีว
อนามัยและความปลอดภัยทีจ่ ะเกิดขึน้ ตามมา ในการวางแผนตอบโต้ภาวะฉุ กเฉิน องค์กรต้อง
พิจารณาถึงการประสานงานกับหน่วยงานภายนอก หรือผูม้ สี ่วนได้เสียทัง้ ในด้านความช่วยเหลือ
และการแจงเหตุ องค์กรต้องทดสอบขัน้ ตอนการดาเนินงานสาหรับตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินที่ใช้อยู่
ในองค์กรตามช่วงเวลาที่กาหนด และให้ผู้มสี ่วนได้เสียมีส่วนร่วมตามความเหมาะสม พร้อมทัง้
ตรวจสอบอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในภาวะฉุกเฉินเป็ นระยะๆ
องค์กรต้องทบทวน ปรับปรุงขัน้ ตอนการดาเนินงานสาหรับการเตรียมความพร้อม และการตอบ
โต้ภาวะฉุ กเฉินตามช่วงเวลาทีก่ าหนดเมื่อจาเป็ น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภายหลังการทดสอบหรือ
ฝึกซ้อม หรือการเกิดภาวะฉุกเฉิน
องค์กรต้องจัดทา และเก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อ 4.5.4
4.5 การตรวจสอบและการแก้ไข
4.5.1 การติดตามตรวจสอบและการวัดผลการดาเนินการ
องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงาน สาหรับการติดตามตรวจสอบ และ
การวัดผลการดาเนินการอย่างสม่าเสมอ โดยขัน้ ตอนการดาเนินงานต้องครอบคลุมถึง
758

(1) การวัดทัง้ ในเชิงคุณภาพและปริมาณทีเ่ หมาะสมตามความจาเป็ น


ขององค์กร
(2) การติดตามตรวจสอบระดับความสาเร็จของการบรรลุวตั ถุประสงค์
ด้านประสิทธิผลของการควบคุมทัง้ ด้านสุขภาพอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขององค์กร
(3) การติดตามตรวจสอบประสิทธิผลของการควบคุมทัง้ ด้านสุขภาพ
และความปลอดภัย
(4) การวัดผลการดาเนินการเชิงรุกจากการติดตาม ตรวจสอบความ
สอดคล้องในการดาเนินการตามแผนงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การควบคุมและ
เกณฑ์ควบคุม
(5) การวัดผลการดาเนินการเชิงรับจากหลักฐานความเจ็บป่ วยจาก
การทางาน อุบตั กิ ารณ์ หรือความบกพร่องทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทีเ่ กิดขึน้
(6) การบันทึกข้อมูลและผลการติดตาม ตรวจสอบและการวัดผลการ
ดาเนินการที่เพียงพอต่ อการนาไปวิเคราะห์ เพื่อดาเนินการปฏิบตั ิการแก้ไข และปฏิบตั ิการ
ป้ องกัน
ในกรณีท่มี กี ารใช้เครื่องมือ เพื่อ ตรวจวัด ต้อ งจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงานที่
แสดงถึงสิง่ ต่าง ๆ ดังนี้
(1) ความเหมาะสมของเครือ่ งมือทีใ่ ช้
(2) วิธกี ารเก็บ ตรวจวัด และวิเคราะห์ตวั อย่าง
(3) การดูแลรักษาและการซ่อมบารุงอย่างเหมาะสม
(4) การสอบเทียบ (Calibration) หรือการทวนสอบ (Verify) หรือทัง้
สองอย่างตามช่วงเวลาทีก่ าหนดไว้ หรือก่อนนาไปใช้งาน โดยเทียบกับมาตรฐานทีส่ ามารถสอบ
กลับไปยังมาตรฐานระดับระหว่างประเทศ หรือระดับประเทศ ในกรณีทไ่ี ม่มมี าตรฐานดังกล่าวให้
บันทึกวิธกี ารสอบเทียบหรือการทวนสอบนัน้ ไว้ดว้ ย
องค์กรต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อ 4.5.4
4.5.2 การประเมินผลการปฏิบตั ิ
องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงานสาหรับการประเมินผลการปฏิบตั ิ
ตามกฎหมาย และข้อกาหนดอื่นๆ ตามช่วงเวลาที่กาหนด เพื่อแสดงความมุ่ง มันในการปฏิ ่ บตั ิ
ตามกฎหมาย และข้อกาหนดอื่นๆ องค์กรต้องเก็บบันทึกผลการประเมินความสอดคล้องตาม
ช่วงเวลาทีก่ าหนดไว้
องค์กรต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อ 4.5.4
5.5.3 การสอบสวนอุ บ ัติ ก ารณ์ ความไม่ ส อดคล้ อ งตามข้ อ ก าหนด การ
ปฏิบตั กิ ารแก้ไขและการปฏิบตั กิ ารป้ องกัน
759

4.5.3.1 การสอบสวนอุ บ ัติก ารณ์ องค์ก รต้อ งจัด ท าขัน้ ตอนการ


ด าเนิ น งานส าหรับ การสอบสวน และวิเ คราะห์อุ บ ัติก ารณ์ การสอบสวนต้ อ งท าในเวลาที่
เหมาะสม เพื่อ
(1.1) ค้นหาข้อบกพร่องทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย หรือ
ปั จจัยอื่นทีอ่ าจเป็ นสาเหตุรวมต่อการเกิดอุบตั กิ ารณ์
(1.2) ชีบ้ ่งความจาเป็ นในการปฏิบตั กิ ารแก้ไข
(1.3) ชีบ้ ่งโอกาสในการปฏิบตั กิ ารป้ องกัน
(1.4) ชีบ้ ่งโอกาสในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
(1.5) สื่อสารผลการสอบสวน
องค์กรต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อ 4.5.4
4.5.3.2 ความไม่สอดคล้องตามข้อกาหนด การปฏิบตั กิ ารแก้ไขและการ
ปฏิบตั กิ ารป้ องกัน องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงานสาหรับการปฏิบตั กิ ารแก้ไข และการ
ปฏิบ ัติก ารป้ อ งกัน ข้อ บกพร่ อ งที่พ บจากการติด ตาม ตรวจสอบ การวัด ผลการด าเนิ น การ
การตรวจประเมินซึ่งรวมถึงรายงานสภาพการปฏิบตั ิงานที่ไม่ ปลอดภัย พฤติกรรมเสี่ยงโดย
ครอบคุลมถึง
(1) ชีบ้ ่งและแก้ไขความไม่สอดคล้องตามข้อกาหนด เพื่อบรรเทาผล
สืบเนื่องทีจ่ ะเกิดขึน้
(2) สืบ สวนหาสาเหตุ ข องความไม่ส อดคล้อ งตามข้อ ก าหนด และ
ดาเนินการเพื่อหลีกเลีย่ งการเกิดซ้า
(3) ประเมินความจาเป็ นในการดาเนินการปฏิบตั ิการป้ องกัน และ
ดาเนินการตามความเหมาะสมเพื่อหลีกเลีย่ งการเกิดขึน้
(4) บันทึกผลและสื่อ สารผลของการปฏิบตั ิการแก้ไขและการ
ปฏิบตั กิ ารป้ องกัน
(5) ทบทวนประสิทธิผลของการปฏิบตั กิ ารแก้ไข และการปฏิบตั กิ าร
ป้ องกันในกรณีท่กี ารปฏิบตั กิ ารแก้ไข และการปฏิบตั กิ ารป้ องกันก่อให้เกิดอันตรายใหม่ หรือมี
การเปลีย่ นแปลงอันตราย องค์กรต้องมีการประเมินความเสีย่ งใหม่ก่อนการดาเนินการ
ปฏิบ ัติก ารแก้ ไ ข หรือ การปฏิบ ัติก ารป้ องกัน ใดๆ เพื่อ ก าจัด สาเหตุ ข องความไม่
สอดคล้องตามข้อกาหนด ต้องเหมาะสมกับขนาดของปั ญหา และสอดคล้องกับความเสีย่ งทีม่ อี ยู่
การเปลี่ย นแปลงใดๆ ที่เ กิด ขึ้น จากการปฏิบ ัติก ารแก้ ไ ข และการปฏิบ ัติก ารป้ อ งกัน ต้อ ง
ดาเนินการตามระบบเอกสารของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
760

องค์กรต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อกาหนด
4.5.4 การจัดทาและเก็บบันทึก องค์กรต้องจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงานสาหรับ
การชีบ้ ่ง การรวบรวม การทาดัชนี การจัดเก็บ การรักษา และการทาลาย บันทึกด้านอาชีวอนา
มัยและความปลอดภัย บันทึกต้องชัดเจน เข้าใจง่าย สามารถชี้บ่งและสามารถสอบกลับไปยัง
กิจ กรรมต่ างๆ ด้านอาชีว อนามัยและความปลอดภัย รวมทัง้ ต้อ งมีก ารเก็บ รักษาบัน ทึก ให้
สามารถเรียกมาใช้งานได้ง่าย มีการป้ องกันการเสียหาย การเสื่อมสภาพ หรือการสูญหาย และ
ต้องมีการกาหนดระยะเวลาในการเก็บรักษาเพื่อเป็ นหลักฐานที่แสดงว่าเป็ นไปตามข้อกาหนด
ของมาตรฐานนี้
4.5.5 การตรวจประเมินภายใน องค์กรต้องมันใจว่ ่ าตรวจประเมินภายในตาม
ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้ดาเนินการตามช่วงเวลา ตามแผนทีก่ าหนด
ไว้เพื่อ
(1) พิจารณาว่าระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(1.1) สอดคล้องตามแผนการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่
กาหนดไว้ รวมถึงข้อกาหนดของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยนี้
(1.2) ได้นาไปปฏิบตั อิ ย่างเหมาะสมและสามารถรักษาระบบไว้ได้
(2) จัดเตรียมข้อมูลผลการตรวจประเมินแก่ฝ่ายบริหาร
โปรแกรมการตรวจประเมินต้องมีการวางแผน จัดทา มีการนาไปปฏิบตั ิ และรักษาไว้
โดยองค์กรบนพื้นฐานของผลการประเมินความเสี่ยงในกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร และผลการ
ตรวจประเมินครัง้ ที่ผ่ านมา องค์กรต้อ งจัดทาขัน้ ตอนการดาเนินงานเรื่องการตรวจประเมิน
ภายในเพื่อระบุถงึ
(1) ความรับผิดชอบ ความสามารถ และข้อกาหนดต่างๆ ของการวางแผนและ
ดาเนินการตรวจประเมินการรายงานผลการตรวจประเมิน และการจัดเก็บบันทึกทีเ่ กีย่ วข้อง
(2) การกาหนดเกณฑ์การตรวจประเมิน ขอบข่าย ความถี่ และวิธกี ารตรวจ
การคัด เลือ กผู้ต รวจประเมิน และการดาเนิ นการตรวจประเมิน ต้อ งมันใจในการยึ
่ ด ถือ ตาม
วัตถุประสงค์และมีความเป็ นกลางในกระบวนการตรวจประเมิน
องค์กรต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อกาหนด
4.6 การทบทวนการจัดการ
ผู้บริหารระดับสูงต้องทบทวนระบบการจัดการอาชีว อนามัยและความปลอดภัยของ
องค์ก รตามช่ว งเวลาที่ว างแผนไว้ เพื่ อ ให้มนใจว่
ั ่ าระบบยังมีค วามเหมาะสม พอเพียงและมี
ประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง
การทบทวนต้องรวมถึงการประเมินโอกาสเพื่อการปรับปรุง และความจาเป็ นในการ
เปลีย่ นแปลงระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รวมทัง้ นโยบาย และวัตถุประสงค์
ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ข้อมูลสาหรับการทบทวน การจัดการต้องรวมถึง
761

(1) ผลการดาเนินการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทัง้ หมด


(2) ระดับความสาเร็จของการบรรลุวตั ถุประสงค์ด้านอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัย
(3) ผลการตรวจประเมินภายในและผลการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อกาหนด
อื่นๆ
(4) การสื่อสารจากผูม้ สี ่วนได้เสียภายนอกองค์กร รวมทัง้ ข้อร้องเรียน
(5) ผลการมีส่วนร่วมและการปรึกษา
(6) สถานะของการสอบสวนอุบตั กิ ารณ์ การปฏิบตั กิ ารแก้ไข การปฏิบตั กิ าร
ป้ องกัน
(7) การติดตามผลจากการประชุมครัง้ ทีผ่ ่านมา
(8) การเปลี่ ย นแปลงสถานการณ์ รวมทัง้ การพัฒ นาของกฎหมายและ
ข้อกาหนดอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขององค์กร
(9) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ผลจากการทบทวนการจัดการต้องแสดงความมุ่งมันให้ ่ มกี ารปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และต้อง
รวมถึงการตัดสินใจและการดาเนินงานใดๆ ทีเ่ กีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงในสิง่ ต่อนี้
(1) ผลการดาเนินการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(2) นโยบายและวัตถุประสงค์ดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(3) ทรัพยากรต่างๆ ทีจ่ าเป็ น
(4)ประเด็นอื่นๆ ของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ผลการทบทวนการจัดการต้องนาไปสื่อสารและให้คาปรึกษาได้
องค์กรต้องจัดทาและเก็บบันทึกตามทีก่ าหนดในข้อกาหนด 4.5.4
762

ภาคผนวก ง
พระราชบัญญัติ
ส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
763

พระราชบัญญัติ
ส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
เป็ นปี ที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบนั
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศว่า โดยทีเ่ ป็ นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัตขิ น้ึ ไว้ โดยคาแนะนา
และยินยอมของสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ ทาหน้าทีร่ ฐั สภา ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑
พระราชบัญญัตนิ ้เี รียกว่า "พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕"
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตนิ ้ใี ห้ใช้บงั คับเมือ่ พ้นกาหนดหกสิบวันนับแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
มาตรา ๓
ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๑๘ (๒) พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๒๑ (๓) พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.
๒๕๒๒
มาตรา ๔
ในพระราชบัญญัตนิ ้ี
"สิ่ งแวดล้อม" หมายความว่า สิง่ ต่าง ๆ ทีม่ ลี กั ษณะทางกายภาพและชีวภาพทีอ่ ยู่
รอบตัวมนุษย์ ซึง่ เกิดขึน้ โดยธรรมชาติและสิง่ ทีม่ นุษย์ได้ทาขึน้
"คุณภาพสิ่ งแวดล้อม" หมายความ ดุลยภาพของธรรมชาติ อันได้แก่ สัตว์ พืช และ
ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ และสิง่ ทีม่ นุษย์ได้ทาขึน้ ทัง้ นี้ เพื่อประโยชน์ต่อการดารงชีพของ
ประชาชนและความสมบูรณ์สบื ไปของมนุษยชาติ
764

"มาตรฐานคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม" หมายความว่า ค่ ามาตรฐานคุณภาพน้ า อากาศ


เสียง และสภาวะอื่น ๆ ของสิง่ แวดล้อม ซึง่ กาหนดเป็ นเกณฑ์ทวไปส ั ่ าหรับการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิง่ แวดล้อม
"กองทุน" หมายความว่า กองทุนสิง่ แวดล้อม"มลพิ ษ" หมายความว่า ของเสีย วัตถุ
อันตราย และมลสารอื่น ๆ รวมทัง้ กาก ตะกอนหรือสิง่ ตกค้างจากสิง่ เหล่านัน้ ทีถ่ ูกปล่อยทิง้ จาก
แหล่ งกาเนิดมลพิษ หรือที่มอี ยู่ในสิง่ แวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อ ให้เ กิดหรืออาจก่ อให้เกิด
ผลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพสิ่ง แวดล้อ ม หรือ ภาวะที่เ ป็ น พิษ ภัย อัน ตรายต่ อ สุ ข ภาพอนามัย ของ
ประชาชนได้ และให้หมายความรวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิน่ ความสันสะเทื ่ อน หรือ
เหตุราคาญอื่น ๆ ทีเ่ กิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกาเนิดมลพิษด้วย
"ภาวะมลพิ ษ " หมายความว่า สภาวะที่ส ิ่งแวดล้อ มเปลี่ยนแปลงหรือ ปนเปื้ อ นโดย
มลพิษซึ่งทาให้คุณภาพของสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง เช่น มลพิษทางน้ า มลพิษ ทางอากาศ
มลพิษในดิน
"แหล่งกาเนิ ดมลพิ ษ" หมายความว่า ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคาร สิง่ ก่อสร้าง
ยานพาหนะ สถานทีป่ ระกอบกิจการใด ๆ ซึง่ เป็ นแหล่งทีม่ าของมลพิษ
"ของเสีย" หมายความว่า ขยะมูลฝอย สิง่ ปฏิกูล น้ าเสีย อากาศเสีย มลสาร หรือวัตถุ
อันตรายอื่นใด ซึ่งถูกปล่อยทิ้งหรือมีท่มี าจากแหล่งกาเนิดมลพิษ รวมทัง้ กาก ตะกอน หรือสิง่
ตกค้างจากสิง่ เหล่านัน้ ทีอ่ ยูใ่ นสภาพของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซ
"น้าเสี ย" หมายความว่า ของเสียที่อยู่ในสภาพเป็ นของเหลว รวมทัง้ มลสารที่ปะปน
หรือปนเปื้ อนอยูใ่ นของเหลวนัน้
"อากาศเสีย" หมายความว่า ของเสียทีอ่ ยูใ่ นสภาพเป็ นไอเสีย กลิน่ ควัน ก๊าซ เขม่า ฝุ่ น
ละออง เถ้าถ่าน หรือมลสารอื่นทีม่ สี ภาพละเอียดบางเบาจนสามารถรวมตัวอยูใ่ นบรรยากาศได้
"วัตถุอนั ตราย" หมายความว่า วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ และ วั ตถุ
เปอร์ออกไซด์ วัตถุมพี ษิ วัตถุทท่ี าให้เกิดโรค วัตถุกมั มันตรังสี วัตถุทก่ี ่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลง
ทางพัน ธุ ก รรม วัต ถุ ก ัด กร่อ น วัต ถุ ท่ีก่ อ ให้เ กิด การระคายเคือ ง วัต ถุ อ ย่า งอื่น ไม่ว่ า จะเป็ น
เคมีภณั ฑ์ หรือสิง่ อื่นใดทีอ่ าจทาให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิง่ แวดล้อม
"เหตุราคาญ" หมายความว่า เหตุราคาญตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข
"โรงงานอุตสาหกรรม" หมายความว่า โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน
"อาคาร" หมายความว่า อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
"ยานพาหนะ" หมายความว่า รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ตามกฎหมายว่า ด้วยรถยนต์
เรือ ตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทยและอากาศยานตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ
"ผูค้ วบคุม" หมายความว่า ผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตให้ทาการควบคุม ตรวจสอบ วิเคราะห์
ดาเนินการและบารุงรักษาระบบบาบัดน้าเสีย ระบบกาจัดของเสียหรืออุปกรณ์ เครือ่ งมือ
765

เครือ่ งใช้สาหรับการควบคุม บาบัด หรือกาจัดมลพิษอื่นใด ซึง่ เจ้าของหรือผูค้ รอบครอง


แหล่งกาเนิดมลพิษจัดสร้างให้มขี น้ึ เพื่อการบาบัดน้ าเสีย กาจัดของเสียหรือมลพิษอื่นใดด้วย
การลงทุนและเสียค่าใช้จ่ายของตนเอง
"ผูร้ บั จ้างให้ บริ การ" หมายความว่า ผูร้ บั ใบอนุ ญาตให้เป็ นผูร้ บั จ้างทาการบาบัดน้าเสีย
หรือกาจัดของเสีย หรือตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อม
"เขตอนุรกั ษ์" หมายความว่า เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่า เขตสงวน
เพื่อการท่องเทีย่ ว และพืน้ ทีเ่ ขตคุม้ ครองอย่างอื่นเพื่อสงวนและรักษาสภาพธรรมชาติตามทีม่ ี
กฎหมายกาหนด
"เจ้าพนักงานท้องถิ่ น" หมายความว่า
(๑) นายกเทศมนตรี สาหรับในเขตเทศบาล
(๒) ประธานสุขาภิบาล สาหรับในเขตสุขาภิบาล
(๓) ผูว้ ่าราชการจังหวัด สาหรับในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด
(๔) ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร สาหรับในเขตกรุงเทพมหานคร
(๕) ปลัดเมืองพัทยา สาหรับเมืองพัทยา
(๖) หัวหน้าผูบ้ ริหารท้องถิน่ ขององค์การปกครองท้องถิน่ อย่างอื่น นอกเหนือจาก (๑)
ถึง (๕) ข้างต้น
ทีไ่ ด้รบั การประกาศกาหนดให้เป็ นราชการส่วนท้องถิน่ ตามกฎหมายเฉพาะว่าด้วยการ
นัน้ สาหรับในเขตราชการส่วนท้องถิน่ นัน้ "เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ" หมายความว่า ผูซ้ ง่ึ
รัฐมนตรีแต่งตัง้ ให้ปฏิบตั กิ ารเกีย่ วกับการควบคุมมลพิษตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
"พนักงานเจ้าหน้าที"่ หมายความว่า ผูซ้ ง่ึ รัฐมนตรีแต่งตัง้ ให้มอี านาจหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารตาม
พระราชบัญญัตนิ ้ี
"รัฐมนตรี" หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม
มาตรา ๕
ในกรณีท่บี ทบัญญัติใดในพระราชบัญญัติน้ีอ้างถึงจังหวัดหรือก าหนด ให้เป็ นอ านาจ
หน้าทีข่ องผูว้ ่าราชการจังหวัด ให้หมายความรวมถึงกรุงเทพมหานคร หรือให้เป็ นอานาจหน้าที่
ของผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณีดว้ ย
มาตรา ๖
เพื่อประโยชน์ในการร่วมกันส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมของชาติ บุคคลอาจมี
สิทธิและหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้
(๑) การได้รบั ข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการนเรื่องเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิง่ แวดล้อม เว้นแต่ขอ้ มูลหรือข่าวสารทีท่ างราชการถือว่าเป็ นความลับเกี่ยวข้องกับการ
766

รักษาความมันคงแห่่ งชาติ หรือเป็ นความลับเกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคล สิทธิในทรัพย์สนิ หรือสิทธิ


ในทางการค้า หรือกิจการของบุคคลใดทีไ่ ด้รบั ความคุม้ ครองตามกฎหมาย
(๒) การได้รบั ชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าทดแทนจากรัฐ ในกรณีทไ่ี ด้รบั ความเสีย หายจาก
ภยันตรายทีเ่ กิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือ
โครงการใดทีร่ เิ ริม่ สนับสนุนหรือดาเนินการโดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
(๓) การร้องเรียนกล่าวโทษผูก้ ระทาผิดต่อเจ้าพนักงานในกรณีท่ไี ด้พบเห็นการ กระทา
ใดๆ อัน เป็ นการละเมิด หือ ฝ่ าฝื น กฎหมายเกี่ย วกับ การควบคุ ม มลพิษ หรือ การอนุ ร ัก ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
(๔) การให้ความร่วมมือและช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการปฏิบตั หิ น้าที่ท่เี กี่ยวข้องกับ
การส่ ง เสริมและรัก ษาคุ ณ ภาพสิ่งแวดล้อ มโดยเคร่งครัด ทัง้ นี้ ตามที่พ ระราชบัญ ญัติน้ี ห รือ
กฎหมายว่าด้วยการนัน้ บัญญัตไิ ว้
มาตรา ๗
เพื่อเป็ นการสนับสนุ นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่ง แวดล้อ ม ให้อ งค์ก รเอกชนซึ่ง มีฐ านะเป็ นนิ ติบุ ค คลตามกฎหมายไทย หรือ กฎหมาย
ต่ า งประเทศที่ ม ีกิ จ กรรมเกี่ ย วข้ อ งโดยตรงกั บ การคุ้ ม ครองสิ่ ง แวดล้ อ ม หรือ อนุ ร ัก ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ และมิได้มวี ตั ถุประสงค์ในทางการเมือง หรือมุ่งค้าหากาไรจากการประกอบ
กิจกรรมดังกล่ าว มีส ิทธิข อจดทะเบียนเป็ นองค์กรเอกชนด้านการคุ้มครองสิ่ง แวดล้อ มและ
อนุ ร ัก ษ์ ท รัพ ยากรธรรมชาติต่ อ กระทรวงวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยีแ ละสิ่ง แวดล้ อ ม ตาม
หลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงือ่ นไขทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๘
องค์กรเอกชนทีไ่ ด้จดทะเบียนตามมาตรา ๗ แล้วอาจได้รบั การช่วยเหลือหรือได้รบั การ
สนับสนุนจากทางราชการในเรือ่ งดังต่อไปนี้
(๑) การจัด ให้ ม ีอ าสาสมัค รเพื่อ ช่ ว ยเหลือ การปฏิบ ัติ ง านของเจ้า พนั ก งาน ตาม
พระราชบัญญัตนิ ้หี รือตามกฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม
(๒) การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ข้อมูลหรือข่าวสาร เพื่อสร้างจิตสานึกของสาธารณชน
ทีถ่ ูกต้องเกีย่ วกับการคุม้ ครองสิง่ แวดล้อมและอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
(๓) การช่ว ยเหลือ ประชาชนในพื้น ที่ใ ดพื้น ที่ห นึ่ง ริเ ริม่ โครงการ หรือ กิจ กรรมเพื่อ
คุม้ ครองสิง่ แวดล้อมและอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติในพืน้ ทีน่ นั ้
(๔) การศึกษาวิจยั เกี่ยวกับการคุ้มครองสิง่ แวดล้อม และอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และเสนอแนะความคิดเห็นต่อรัฐบาลหรือส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง
(๕) การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนผูไ้ ด้รบั อันตรายหรือความเสียหาย
จากภาวะมลพิษอันเกิดจากการรัวไหล ่ หรือแพร่กระจายของมลพิษ รวมทัง้ เป็ นผูแ้ ทนในคดีท่มี ี
การฟ้ องร้องต่อศาล เพื่อเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน หรือค่าเสียหายให้แก่ผทู้ ไ่ี ด้รบั อันตรายหรือ
767

ความเสียหายนัน้ ด้วย ในกรณีทอ่ี งค์กรเอกชนทีไ่ ด้จดทะเบียนประสบปั ญหา หรืออุปสรรคในการ


ดาเนินกิจการตามวรรคหนึ่ง และร้อ งขอให้คณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติช่วยเหลือ ให้
นายกรัฐ มนตรีโ ดยค าแนะน าของคณะกรรมการสิ่ง แวดล้อ มแห่ ง ชาติ มีอ านาจสัง่ ให้ค วาม
ช่วยเหลือ ตามความเหมาะสม หรือ สังให้ ่ ส่ว นราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อ งดาเนินการ
ช่ ว ยเหลือ หรือ อ านวยความสะดวกต่ อ ไป คณะกรรมการกองทุ น โดยความเห็น ชอบของ
คณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติอาจพิจารณาจัดสรรเงินทุนอุดหนุ น หรือเงินกู้ให้แก่องค์กร
เอกชนทีไ่ ด้จดทะเบียนแล้ว เพื่อสนับสนุนกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งได้ตามทีเ่ ห็นสมควร องค์กร
เอกชนทีไ่ ด้จดทะเบียนแล้วอาจเสนอชื่อผูแ้ ทนภาคเอกชน เพื่อให้คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาแต่งตัง้
เป็ นกรรมการผูท้ รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติได้
(๖) การปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตนิ ้ีหรือกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและ
รักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมโดยเคร่งครัด ในกรณีท่อี งค์กรเอกชนใดที่ได้จดทะเบียนแล้วดาเนิน
กิจการโดยก่อความวุ่นวายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือไม่เหมาะสม ให้รฐั มนตรีมอี านาจ
สังเพิ
่ กถอนการจดทะเบียนขององค์กรเอกชนนัน้ ได้
มาตรา ๙
เมื่อมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายต่อสาธารณชน อันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติ หรือ
ภาวะมลพิษทีเ่ กิดจากการแพร่กระจายของมลพิษ ซึง่ หากปล่อยไว้เช่นนัน้ จะเป็ น อันตรายอย่าง
ร้ายแรงต่อชีวติ ร่างกายหรือสุขภาพอนามัยของประชาชน หรือก่อความเสียหายต่อทรัพย์สนิ
ของประชาชนหรือของรัฐเป็ นอันมาก ให้นายกรัฐมนตรีมอี านาจสังตามที ่ ่เ ห็นสมควรให้ส่ว น
ราชการรัฐวิสาหกิจหรือ บุคคลใด ๆ รวมทัง้ บุค คลซึ่งได้รบั หรือ อาจได้รบั อันตรายหรือ ความ
เสียหายดังกล่าว กระทาหรือร่วมกันกระทาการใด อันจะมีผลเป็ นการควบคุม ระงับหรือบรรเทา
ผลร้ายจากอันตรายและความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ได้อย่างทันท่วงที ในกรณีทท่ี ราบว่าบุคคลใด
เป็ นผู้ก่อให้เกิดภาวะมลพิษดังกล่าว ให้นายกรัฐมนตรีมอี านาจสังบุ ่ คคลนัน้ ไม่ให้กระทาการใด
อันจะมีผลเป็ นการเพิม่ ความรุนแรงแก่ภาวะมลพิษในระหว่างที่มเี หตุภยันตรายดังกล่าวด้วย
อานาจในการสังตามวรรคหนึ
่ ่ ง นายกรัฐมนตรีจะมอบอ านาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ปฏิบตั ิ
ราชการภายในเขตจังหวัดแทนนายกรัฐมนตรีได้ โดยให้ทาเป็ นคาสังและประกาศในราชกิ่ จจา
นุ เบกษา เมื่อนายกรัฐมนตรีได้สงตามวรรคหนึ
ั่ ่ง หรือผู้ว่าราชการจังหวัดในการปฏิบตั ริ าชการ
แทนนายกรัฐมนตรีได้สงตามวรรคสองแล้
ั่ ว ให้ประกาศคาสังดั ่ งกล่าวในราชกิจจานุ เบกษาโดยมิ
ชักช้า
มาตรา ๑๐
เพื่อเป็ นการป้ องกันแก้ไข ระงับหรือบรรเทาเหตุฉุกเฉิน หรือเหตุ ภยันตรายจากภาวะ
มลพิษ ตามมาตรา ๙ ให้ร ฐั มนตรีก าหนดมาตรการป้ อ งกันและจัดท าแผนฉุ กเฉิ นเพื่อ แก้ไ ข
สถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ไว้ล่วงหน้า
768

มาตรา ๑๑
ให้นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม
รักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี ทัง้ นี้ ในส่วนที่เกี่ยวกับอานาจหน้ าที่ของตน รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม มีอานาจแต่งตัง้ เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ
และพนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ กั บ ออกกฎกระทรวงก าหนดค่ า ธรรมเนี ย มไม่ เ กิ น อั ต ราท้ า ย
พระราชบัญญัตนิ ้ี และกาหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัตนิ ้ี กฎกระทรวงนัน้
เมือ่ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงั คับได้

You might also like