You are on page 1of 4

2

ทฤษฎีการเกิดอุบัติเหตุได้มีการเขียนไว้หลายทฤษฎี ในการศึกษา
วิจัยครั้งนี้จะขอยก
ตัวอย่างทฤษฎีการเกิดอุบัติเหตุทส ี่ ำาคัญ ดังนี้คือ
(Domino Theory) เฮนริช (H.W.Heinrich) (วิจิตร
บุญยะโหดระ : 2530) เป็นผู้คิดทฤษฎีโดมิโนขึ้น เขากล่าวว่า การบาด
เจ็บหรือการสูญเสียต่างๆ เป็นผลมาจากการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่ง
สาเหตุของอุบัติเหตุ ก็มาจากการกระทำาและสภาพแวดล้อมในการ
ทำางานที่ไม่ปลอดภัย โดยทฤษฎีนี้เปรียบเสมือนตัวโดมิโนทีเ่ รียง
กันอยู่ 5 ตัวใกล้เคียงกัน ถ้าตัวใดตัวหนึ่งล้มลง ย่อมมีผลทำาให้
โดมิโนตัวอื่นทีอ่ ยู่ถัดไปล้มตามไปด้วยเหมือนลูกโซ่ ดังนี้ คือ
1 บรรพบุรุษและสิ่งแวดล้อมทางสังคม
(Ancestry and Social Environment)
2 ความผิดปกติของบุคคล (Fault of Person)
3 การกระทำาที่ไม่ปลอดภัย (Acting & status of
unsafty )
4 การเกิดอุบัติเหตุ (Accident)
5 การบาดเจ็บ (Injury)

เพื่อนำามาใช้อธิบายพฤติกรรมของบุคคลที่เสีย ่ งต่อการเกิดอุบัติเหตุ
เช่น ทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญหาสังคม ได้รับการพัฒนาโดยนัก
จิตวิทยาชาวแคนนาดา ชื่อ Albert bandura แนวคิดพื้นฐานคือ Bandura
เชือ
่ ว่าพฤติกรรมของคนเราไม่ได้เกิดขึ้นและเปลีย ่ นแปลงไป แต่จะ
ต้องมีปัจจัยส่วนบุคคลเขามามีส่วนร่วมเป็นตัวกำาหนด จากแนวคิด
พื้ฒฐานได้เน้นแนวคิดไว้ 3 ประการคื่อแนวคิดการเรียนรู้โดยการ
สังเกต แนวคิดการกำากับตัวเอง และแนวคิดการรับรู้ความสามารถ
ของตนเอง
Ajzn & Fishbein
ได้พัฒนาทฤษฎีนี้ขึ้นมาโดยได้อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ทัศนคติกับพฤติกรรม
1. ทัศนคติต่อพฤติกรรมประเมินพฤติกรรมของบุคคลว่าการ
กระทำานั้นดีหรือไม่
2. ความคาดหวังของสังคมเป็นการประเมินความเชื่อของ
บุคคล 2
ทฤษฎี 3E ประกอบด้วย
วิศวกรรม (Engineering)
การศึกษา (Education)
การออกกฎบังคับ (Enforcement )

รูปสาเหตุสำาคัญของการเกิดอุบัตเิ หตุ อันเนื่องจากสภาพการ


ทำางานที่เป็นอันตรายไว้ 2 ประการ ได้แก่
1. การกระทำาที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) เป็นสาเหตุใหญ่ที่กอ ่ ให้
เกิดอุบัติเหตุคิดเป็นร้อยละ 85 ของการเกิดอุบัตเิ หตุทั้งหมด
2. สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) เป็นสาเหตุรอง คิด
เป็นร้อยละ 15
เท่านั้น

ประการณ์สำาคัญการศึกษาการจูงใจจะต้องทำาอย่างเป็น
ระบบ โดยใช้เครือ
่ งมือและเทคนิคทางจิตวิทยาประกอบกับ
ประสบการณ์ในชีวิตจริง และความสามารถในการวิเคราะห์ขอ ้ มูล
ตลอดจนการเปิดใจต่อความแตกต่าง นอกจากนี้การศึกษาเกี่ยว
กับการจูงใจมักจะเริ่มศึกษาจากทฤษฎีทสี่ ำาคัญ เพื่อสร้างความ
เข้าใจและกำาหนดกรอบความคิด (Framework) เป็นพื้นฐานการนำา
ความรู้ไปประยุกต์ อันได้แก่

1.
(Hierarchy of Needs Theory) จะให้ความสนใจกับ
ความต้องการที่เกิดขึ้นของบุคคล ซึ่งแต่ละบุคคลจะมีความต้องการ
อยู่ไม่จำากัดและเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ โดยจะแบ่งออกเป็นลำาดับขั้น
จากความต้องการขั้นพื้นฐานในการดำารงชีวิต ไปจนถึงความ
ต้องการขั้นสูงของแต่ละบุคคล
2. ERP (ETG Theory) เป็นทฤษฎีที่กล่าวถึงกลุม
่ ความ
่ ำาคัญของบุคคล ซึ่งประกอบด้วยการดำารงอยู่ (Existence)
ต้องการทีส
ความสัมพันธ์ (Relatedness) และความก้าวหน้า (Growth) โดยบุคคลจะมี
อัตราส่วนของความต้องการทั้งสามแตกต่างกันไปตามสถานการณ์
และความต้องการทั้ง 3 กลุม ่ นี้จะมีอท
ิ ธิพลต่อการแสดงพฤติกรรม
และการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของเขา
3.
(Achievement Motivation Theory) เป็นทฤษฎีที่เริ่ม
ต้นจากหลักการของ David McClelland และคณะ ทีท ่ ำาการศึกษาความ
ต้องการของบุคคล ซึ่งจะส่งผลให้ประเทศประสบความสำาเร็จใน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งต่อมาทฤษฎีนี้ได้ขยายขอบเขตเข้ามา
ประยุกต์ในการพัฒนาบุคลากรในองค์การ โดยจะให้ความสำาคัญ
กับความต้องการความสำาเร็จ (Achievement Needs) ความต้องการอำานาจ
(Power Needs) และความต้องการมีส่วนร่วม (Affiliation Needs) ของบุคคล
ซึ่งความต้องการทั้ง 3 กลุ่มนี้ล้วนมีผลต่อการแสดงพฤติกรรมและ
การทำางานของบุคคลทั้งสิ้น
5

สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย กิจกรรม 5 ส.เป็น


บันไดสู่ความปลอดภัย

ทุกครั้งทีม
่ ีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ไม่ว่าอุบัตเิ หตุนั้นจะเป็นอุบัติเหตุที่
รุนแรงหรืออุบัติเหตุ
เล็กน้อย ผลที่ตามมาก็คือ ความสูญเสีย การสูญเสียจากอุบัติเหตุ
จากการทำางานสามารถ
ประเมินการสูญเสียออกเป็น 2 ประเภท
1. การสูญเสียที่คิดเป็นค่าใช้จ่ายโดยตรง (Direct cost)
2. การสูญเสียที่ไม่สามารถคิดเป็นค่าใช้จ่ายโดยตรง
(Indirect cost)
กล่าวถึงกระบวนการในการป้องกันการประสบอันตรายเนื่องจาก
การทำางานไว้ 4 ขัน้ ตอน ดังนี้
1. การชีช ้ ัดถึงอันตราย
2. ควบคุมอันตรายและการกระทำา (Control the Danger Act)
3. การป้องกันมิให้เกิดการประสบอันตรายซำ้าขึ้นอีก
(Prevent Recurrence)
4. การติดตามผล (Follow up) เพื่อให้ผลที่ดียิ่งขึ้น

1. ผู้แต่ง นายพรสวรรค์ บุญตาระวะ นักศึกษาบริหารธุรกิจ


บัณฑิต ปีการศึกษา 2547 ศึกษาเกีย ่ วกับปัจจัยและสภาพ
แวดล้อมเพื่อลดอุบัตเิ หตุในการทำางานกรณีศึกษาบริษัท
บางกอกเทเลคอม จำากัด
2. ผู้แต่ง นางสาวจันทร์เพ็ญ โฮมหุม ้ แก้ว, นางสาวมัทนา นัน
ขุนทด, นางสาวดุจเดือน ลิ้นทอง และนางสาวอรทัย หวงสัตย์
นักศึกษาคณะสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ปีการศึกษา 2549 ศึกษา
เกี่ยวกับปัจจัยที่มอี ิทธิพลต่อการป้องกันอุบัติเหตุจากการทำางาน
ของพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนรถยนต์แห่งหนึ่ง
ในจังหวัดสมุทรปราการ
3.ผู้แต่ง นางสาวกาญจนา แจ้งยิม ้ นักศึกษาบริหารธุรกิจ
บัณฑิต ปีการศึกษา 2549 ศึกษาเกีย ่ วกับปัจจัยทีม
่ ีอิทธิพลต่อการเกิด
อุบัติเหตุในการทำางานของพนักงานบริษัทเดลต้าอีเลคโทรนิคส์
(ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน)

You might also like