You are on page 1of 38

ผลของการจัดกิจกรรมส0งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง

ในนักศึกษาระดับปริญญาตรี
The Effects of Enhancing Self-Confidence in
Undergraduate Students

นางสาวชนาภา ชมขุนทด รหัสนิสิต 64101010619 เลขที่ 41


นางสาวชนิภา ทิพิละ รหัสนิสิต 64101010620 เลขที่ 42
นางสาวชาลีน?า ยีหะมะ รหัสนิสิต 64101010621 เลขที่ 43
นางสาวณฐมน เอี่ยมอภิรมยE รหัสนิสิต 64101010622 เลขที่ 44
นายณฐาภพ เหมชะญาติ รหัสนิสิต 64101010623 เลขที่ 45

ฉัฐวีณE สิทธิ์ศริ อรรถ

คณะมนุษยศาสตรE มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ประเทศไทย


Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University, Thailand
บทคัดย'อ

งานวิจัยนี้เปnนการวิจัยแบบทดลองแทr (True-Experimental Design) โดยใชrแบบแผนการทดสอบก?อน


และหลั ง การทดลองแบบมี ก ลุ ? ม ควบคุ ม (Pretest-Posttest Control Group Design) ซึ ่ ง งานวิ จ ั ย ในครั ้ ง นี ้ มี
วัตถุประสงคEเพื่อเปรียบเทียบความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในกลุ?มตัวอย?างและกลุ?มควบคุม
และเพื่อเปรียบเทียบความเชื่อมั่นในตนเองในนักศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งก?อนและหลังสิ้นสุดกิจกรรม กลุ?ม
ตัวอย?างที่ใชrวิจัยครั้งนี้ เปnนนักศึกษานิสิตระดับปริญญาตรี ปƒการศึกษา 2564 ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
จำนวน 64 คน สุ?มตัวอย?าง (Random assignment) เปnนกลุ?มทดลอง คือ ไดrรับกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นใน
ตนเอง จำนวน 33 คน และกลุ?มควบคุม คือ ไม?ไดrรับกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองแต?ไดrรับการจัดกระทำ
อื่นที่ไม?เกี่ยวขrองกับการส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองจำนวน 31 คน กลุ?มทดลองไดrรับกิจกรรมส?งเสริมความ
เชื่อมั่นในตนเอง 3 ขั้นตอน ส?วนกลุ?มควบคุมไดrรับกิจกรรมอื่นที่ไม?เกี่ยวขrองกับงานวิจัย เครื่องมือที่ใชrในงานวิจัย
ประกอบดrวยกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองและแบบวัดระดับความเชื่อมั่นในตนเองที่คณะผูrวิจัยสรrางและ
ปรับปรุงตามแนวคิดทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน (Psychosocial Theory) ผูrวิจัยใชrสถิติค?าทีแบบอิสระต?อกัน ( t -
test for Independent Sample) ในการทดสอบสมมติฐานการวิจัย ผลการวิจัยพบว?า 1) นักศึกษาระดับปริญญา
ตรีที่เขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองมีระดับความเชื่อมั่นในตนเองที่สูงกว?านักศึกษาที่ไม?ไดrเขrาร?วม
กิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) หลังสิ้นสุดกิจกรรมส?งเสริม
ความเชื่อมั่นในตนเอง นักศึกษาระดับปริญญาตรีมีระดับความเชื่อมั่นในตนเองสูงกว?าก?อนเขrาร?วมกิจกรรมอย?างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

คำสำคัญ: กิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง, ความเชื่อมั่นในตนเอง, นักศึกษาระดับปริญญาตรี


บทนำ

ป‹จจุบันโลกกำลังอยู?ในยุคโลกาภิวัตนEยุคที่การสื่อสารไรrพรมแดน ขrอมูลข?าวสารถูกแพร?กระจายไปทั่วโลก
อย?างรวดเร็ว เนื่องจากโลกมีการเจริญเติบโตทั้งทางดrานเศรษฐกิจและการเมือง ส?งผลใหrโลกที่เคยกวrางกลับดูเล็ก
ลง การสืบคrนขrอมูลและการติดต?อสื่อสารของผูrคนทำไดrง?ายมากยิ่งขึ้น ทำใหrระยะทางไม?ใช?ป‹ญหาอีกต?อไป สื่อเขrา
มามีบทบาทต?อการใชrชีวิตของผูrคน ทัศนคติและค?านิยมถูกแพร?กระจายผ?านสื่อเหล?านี้ทำใหrผูrคนเกิดความคิดไป
แนวทางเสียงส?วนใหญ?ไดrง?าย ดrวยพฤติกรรมเหล?านี้จึงนำไปสู?ความเชื่อมั่นในตนเองที่ค?อย ๆ มีลดลงไปเมื่อไดrเห็น
โลกที่กวrางมากขึ้นร?วมกับการมีทัศนคติของคนส?วนใหญ?
ความเชื่อมั่นในตนเองของผูrคนเริ่มมีขนาดลดลงตามขนาดของสังคมโลกในยุคป‹จจุบัน การแสดงออกทาง
ความคิดผ?านทางสื่อออนไลนEเปnนไปไดrโดยง?าย ซึ่งนั่นมีทั้งผลดีและผลเสีย ถrาความคิดเห็นเหล?านั้นเปnนไปในเชิง
บวกก็จะช?วยใหrเกิดความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น ในทางกลับกันถrาหากความคิดเห็นเหล?านั้นกล?าวถึงในเชิงลบก็จะ
ทำใหrความมั่นใจในตนเองลดลงเช?นกัน การกล?าวถึงในเชิงลบนี้จะส?งผลต?อตัวบุคคลในระดับที่แตกต?างกัน บางคน
ส?งผลกระทบต?อจิตใจนrอย บางคนส?งผลกระทบต?อจิตใจมากจนกลายเปnนปมในใจส?งผลต?อการแสดงออกทาง
พฤติกรรมที่ต?างไปจากเดิมไดrเช?นกัน ดังนั้นสิ่งที่จะช?วยใหrเรายังคงมีความเชื่อมั่นในตนเอง ไม?ทำใหrความเชื่อมั่นนี้
ลดลงไปตามความคิดเห็นเหล?านั้น สามารถทำไดrโดยการมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับตนเองและความสามารถของตนเอง
ยอมรับทั้งในขrอดีและขrอดrอยของตนเอง มีมุมมองต?อตัวเองในเชิงบวก หยุดเปรียบเทียบตนเองกับผูrอื่น ดูแล
สุขภาพกายและใจของตนเอง วิธีเหล?านี้จะช?วยเสริมสรrางภูมิคุrมกันต?อคำวิจารณEภายนอกไดr (DIY INSPIRE NOW
Team, 2564: ออนไลนE)
การเสริมสรrางความเชื่อมั่นในตนเองจึงเปnนอีกหนึ่งกลวิธีสำคัญในการใชrชีวิตในโลกป‹จจุบัน เนื่องจากเรา
ไม?สามารถควบคุมใหrผูrคนในโลกมีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันไดrทั้งหมดแต?เราสามารถเลือกที่จะรับฟ‹งในสิ่ง
เปnนประโยชนEต?อเราไดr ทางคณะผูrวิจัยจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการสรrางภูมิคุrมกันในส?วนนี้ จึงไดrจัดกิจกรรมนี้
ขึ้นเพื่อส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง โดยอาศัยแนวคิดทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสันในขั้นที่ 5 ความเปnนอัตลักษณE
และความสั บ สนในบทบาท (Ego Identity – Role confusion) เปn น การทำใหr ผ ู r เ ขr า ร? ว มกิ จ กรรมไดr ส ำรวจ
เอกลักษณEในตนเอง ซึ่งสามารถพัฒนาต?อไปเปnนความภาคภูมิใจในตนเองและส?งผลใหrเกิดเปnนความเชื่อมั่นใน
ตนเองไดr
Theory : แนวคิดทฤษฎีจิตวิทยาและงานวิจัยที่มีการศึกษาเรื่องนั้น

งานวิ จ ั ย ในครั ้ ง นี ้ คณะผู r ว ิ จ ั ย ไดr ใ ชr ท ฤษฎี จ ิ ต สั ง คมของอิ ร ิ ค สั น (Psychosocial Theory) ที ่ ก ล? า วถึ ง


พัฒนาการทางจิตสังคม 8 ขั้น (Psychosocial Development Model) ซึ่งเปnนพัฒนาการของบุคคลตั้งแต?แรก
เกิดจนกระทั่งสิ้นอายุขัย โดยการเปลี่ยนแปลงไปตามขั้นต?าง ๆ ของแต?ละบุคคล การประสบป‹ญหาหรืออุปสรรคใน
แต?ละขั้นเปnนสิ่งที่เกิดขึ้นไดrในทุกช?วงของพัฒนาการและจะทำใหrเกิดการเรียนรูrในการเผชิญป‹ญหา การแกrป‹ญหา
ต?าง ๆ แต?หากบุคคลนั้น ๆ ประสบความลrมเหลวในขั้นใดขั้นหนึ่ง จะส?งผลกระทบต?อพัฒนาการของบุคคลนั้นใน
ขั้นต?อ ๆ ไปดrวยเช?นกัน ซึ่งในงานวิจัยครั้งนี้เปnนการศึกษาในนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปƒที่ 1 ที่มีอายุประมาณ
18 - 20 ปƒ จะตรงกับขั้นที่ 5 ของทฤษฎี คือ ความเปnนอัตลักษณEกับความสับสนในบทบาท (Ego identity – Role
confusion)
ขั้นที่ 5 ความเปnนอัตลักษณEกับความสับสนในบทบาท (Ego identity – Role confusion) เปnนขั้นที่อยู?
ในช?วงอายุ 13 - 20 ปƒ คือ ขั้นของการแสวงหาอัตลักษณEของตนเองเพื่อไม?ใหrเกิดความสับสนในตนเอง โดยในวัยนี้
จะค?อย ๆ พัฒนาความเปnนตัวของตัวเองและคrนหาอัตลักษณEเพื่อเตรียมพรrอมเขrาสู?ในวัยผูrใหญ?และปรับตัวใหrเขrา
กับบทบาทใหม?ในสังคม ซึ่งหากบุคคลใดไม?สามารถคrนพบอัตลักษณEของตนเองไดrในขั้นนี้ จะส?งผลกระทบทำใหr
บุคคลนั้นขาดทักษะที่เหมาะสมในการเผชิญป‹ญหาและแกrไขป‹ญหา
งานวิจัยและสรุปผลวิจัย

งานวิจัยที่ 1 การศึกษาและพัฒนาอัตลักษณ@ของเยาวชนในศูนย@ฝGกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบMาน
ปรานี โดย จันทร@เพ็ญ ทัศนียสกุลชัย (ผูrรับผิดชอบ นางสาวชนาภา ชมขุนทด)

ความเปQนมาของปRญหาวิจัย
การพัฒนาประเทศจำเปnนตrองพัฒนากำลังคนใหrมีคุณภาพ เด็กและเยาวชนถือเปnนทรัพยากรบุคคลที่
สำคัญของประเทศและอนาคตของชาติ วัยรุ?นเปnนช?วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงจากเด็กสู?วัยวัยผูrใหญ?และเปnนช?วง
ที่ซับซrอนที่สุดในช?วงหนึ่งของชีวิต จากพัฒนาการในเด็กและวัยรุ?นที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายอย?างทั้งทาง
ร?างกายและจิตใจ ทำใหrตrองมีการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในตัวเอง อาจจะทำใหrเกิดความ
สับสนและนำไปสู?พฤติกรรมเบี่ยงเบน (วิชามหาคุณ. 2542: 5) เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยเกิดขึ้นอย?าง
รวดเร็ว จึงส?งผลใหrเด็กและวัยรุ?นมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเองเพื่อใหrสอดคลrองกับสิ่งที่ตนรับรูr รวมถึง
ในดrานการดำเนินชีวิต ความคิด และวัฒนธรรมดrานต?าง ๆ
วัยรุ?นเปnนวัยที่ควรจะหาอัตลักษณE (Identity) ของตนเองไดr ถrาวัยนี้ยังหาอัตลักษณEของตนเองไม?ไดrจะเกิด
ความสับสนในบทบาทของตน ช?วงนี้วัยรุ?นโตพอที่จะวิเคราะหEตนเองและหาอัตลักษณEของตนเองไดr รูrว?าตนเองคือ
ใคร ตrองการอะไร มีความเชื่อหรือมีเจตคติอย?างไร ตลอดจนมีเป—าหมายอะไรในอนาคต ซึ่งถrาวัยรุ?นคrนหาพบอัต
ลักษณEก็จะสามารถแสดงบทบาทของตนไดrอย?างถูกตrอง แต?ถrาเกิดคrนหาตนเองไม?พบ ไม?ทราบว?าตนเองมีอัตลักษณE
เช?นใด วัยรุ?นจะไม?รูrว?าตนเองคือใครตrองการอะไร ไม?สามารถแสดงบทบาทไดrถูกตrองเหมาะสมกับตน ทำใหrเกิด
ความสับสนทำอะไรตามเพื่อน เพื่อใหrเกิดความรูrสึกว?าตนเองมีกลุ?ม (พรรณีชูชัยเจนจิต, 2538: 109) วัยรุ?นจึงมี
ความผูกพันอยู?ที่เพื่อน เนื่องจากการมีสัมพันธภาพกับเพื่อนจะช?วยใหrวัยรุ?นทราบว?าผูrอื่นมองเห็นตนเองเปnนคน
อย?างไร แลrวจึงนำคนตนรูrจักมาเปรียบเทียบกับคนในทัศนะของผูrอื่น สัมพันธภาพจึงนำไปสู?การเทียบเคียงเพื่อสรุป
จากการปฏิบัติงานในศูนยEฝšกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบrานปรานของผูrวิจัยและจากการพูดคุย
สัมภาษณEเยาวชนหญิงบrานปรานี ไดrความว?า เยาวชนหญิงเหล?านี้รูrสึกว?าตนเองไม?เปnนที่ตrองการของครอบครัวและ
สังคม กลัวบุคคลในสังคมไม?เชื่อใจ และไม?ไวrวางใจตนเองรูrสึกว?าตนเอง ดrวยลักษณะของเยาวชนหญิงบrานปรานี้จะ
เห็นไดrว?า เยาวชนอยู?ในภาวะแห?งความสับสนในอัตลักษณE ทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นทางการเปลี่ยนแปลงทางร?างกายและ
ความตrองการทางจิตใจ ซึ่งอีริคสันกล?าวว?าวัยรุ?นเปnนช?วงที่ตrองการคrนหาอัตลักษณEของตนเองการสรrางอัตลักษณEจึง
เปnนภาวะสำคัญต?อการพัฒนาบุคลิกภาพดังนั้นการพัฒนาอัตลักษณEของเยาวชนหญิงบrานปรานี ซึ่งผูrวิจัยเลือก
วิธีการใหrคำปรึกษา (Counseling) ที่เปnนการสื่อสารอันอ?อนโยนและมีความหมายเปnนกระบวนการที่ผูrใหrคำปรึกษา
ใชrเทคนิคและวิธีการทางจิตวิทยาใชrเพื่อใหrความช?วยเหลือผูrรับคำปรึกษาไดrลดภาวะความกดดันทางจิตใจและทำ
ใหrผูrรับคำปรึกษาไดrสำรวจความรูrสึกความนึกคิดตลอดจนขrอมูลต?างๆเกี่ยวกับตนเองเพื่อนำไปสู?การเขrาใจตนเอง
รูrจักตนเองตระหนักในขอบเขตและความสามารถของตนเอง ยอมรับความจริงเกี่ยวกับตนเองและพรrอมที่จะ
รับผิดชอบหาทางแกrไขป‹ญหา และพัฒนาตนเองใหrมีประสิทธิภาพ

ทฤษฎีจิตวิทยาที่ใชMเปQนแนวคิดหลักในงานวิจัย
1. ทฤษฎีการแบ?งประเภท (Type of Personality)
ทฤษฎีนี้มุ?งพิจารณาเกี่ยวกับตัวบุคคลโดยคำนึงถึงรูปร?างหรือลักษณะทางกายภาพเปnนส?วนใหญ?
และยอมรับเกี่ยวกับลักษณะหรือบุคลิกภาพภายนอกโดยขึ้นอยู?กับการสังเกตทั่วๆไปนักจิตวิทยากลุ?ม
นี้ ไดrแก? จุง (Jung) และเชลดอน (Sheldon)
2. ทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะนิสัย (Trait Theory)
Trait คือ ลักษณะโดดเด?นบางประการในบุคลิกภาพของมนุษยEที่ถูกดึงออกมาจัดใหrเปnนลักษณะ
เฉพาะตัวที่มีแบบแผน แมrว?ามนุษยEแต?ละคนจะมีพฤติกรรมตอบสนองต?อสิ่งเรrาต?างกันออกไป
มากมาย แต?ก็มีลักษณะบางอย?างที่ยากจะเปลี่ยนแปลงและเกิดขึ้นซ้ำ ๆ
3. ทฤษฎีจิตวิเคราะหE (Psychoanalytic Personality Theory)
ทฤษฎีจิตวิเคราะหEนี้เปnนมีแนวคิดการก?อรูปของอัตลักษณEของป‹จเจก โดยวางบนรากฐานของอัต
ลักษณEทางเพศอาจกล?าวไดrว?า อัตลักษณEและพัฒนาการของบุคลิกภาพในทฤษฎีของฟรอยดEมี
ศูนยEกลางอยู?ที่อัตลักษณEทางเพศ การก?อรูปของอัตลักษณE และบุคลิกภาพดำเนินไปภายใน
โครงสรrาง 3 ระดับของจิตใจ ไดrแก? Id Ego และSuperego
4. ทฤษฎีจิตสังคม (Psychosocial Personality Theory) ของอีริคสัน
- อีริคสันเลือกใชrคำว?า อัตลักษณE (Identity) แทนคำว?า บุคลิกภาพและแมrว?าจะไดrรับอิทธิพล
จากฟรอยดE เขาเลือกเนrนที่บทบาทของอัตตะ (Ego) มากกว?าบทบาทของจิตใตrสำนึกใน
กระบวนการสรrางอัตลักษณE
- อีริคสันเปnนหนึ่งในนักจิตวิเคราะหEที่ถูกจัดอยู?ในกลุ?มฟรอยดEใหม? (Neo-Freudian) โดยเขา
ไดrแบ?งทฤษฎีนี้ออกเปnน 8 ช?วงอายุตามขั้นดังต?อไปนี้
ขั้นที่ 1 Trust vs Mistrust (ความไวrใจ หรือ ความไม?ไวrใจ) อายุตั้งแต?เกิด - 18 เดือน
ขั้นที่ 2 Autonomy vs Shame and Doubt (ความเปnนอิสระ หรือ ความอับอาย) อายุตั้งแต? 2
- 3 ปƒ
ขั้นที่ 3.Initiative vs Guilt (การเปnนผูrคิดริเริ่ม หรือ ความรูrสึกผิด) อายุตั้งแต? 3 - 5 ปƒ
ขั้นที่ 4 Industry vs Inferiority (ความขยัน หรือ ความรูrสึกดrอย) อายุตั้งแต? 6-12 ปƒ
ขั้นที่ 5 Identity vs Role Confusion (มีอัตลักษณEของตนเอง หรือ สับสนในบทบาทของตนเอง)
อายุตั้งแต? 12-18 ปƒ
ขั้นที่ 6 Intimacy vs Isolation (ความใกลrชิดผูกพัน หรือ ความโดดเดี่ยว) อายุตั้งแต? 18-40 ปƒ
ขั้นที่ 7 Generativity vs Stagnation (การทำประโยชนEใหrผูrอื่น หรือ เห็นแก?ประโยชนEตนเอง)
อายุ 40-65 ปƒ
ขั้นที่ 8 Ego Integrity vs Despair (ความพอใจในตนเอง หรือ ความสิ้นหวัง) อายุ 65 ปƒขึ้นไป
5. สถานะทางอัตลักษณEของวัยรุ?นตามแนวคิดของมารEเซียมารEเซีย (Marcial)
แนวคิดของมารEเชียกล?าวว?า การสรrางเอกลักษณEแห?งตน เกี่ยวพันกับการกำหนดแนวทางดrาน
อาชีพ ค?านิยม ความเชื่อและพัฒนาการทางเพศ เกณฑEที่ใชrกำหนดสถานะทางเอกลักษณEอาศัยการ
ผสมผสานระหว?าง 2 มิติ ของการมีหรือไม?มีภาวะวิกฤติ (Crisis) และการตกลงใจ (Commitment)
ในเนื้อหาดrวยอาชีพ ศาสนา และการเมือง

ประชากรและกลุUมตัวอยUาง
ประชากรที่ใชrในการศึกษา : เยาวชนในศูนยEฝšกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบrานปราณี ที่มีอายุระหว?าง
12 – 18 ปƒ รวมจำนวนทั้งสิ้น 52 คน
กลุ?มตัวอย?าง : เยาวชนในศูนยEฝšกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบrานปราณี ที่มีอายุระหว?าง 14 – 18 ปƒ
มาจำนวน 8 คน จากประชากรที่สมัครใจในการเขrาร?วมพัฒนาอัตลักษณE

วิธีการศึกษา
วิธีดำเนินการทดลองมีลำดับขั้นตอนดังนี้
1. ก?อนการทดลอง ผูrวิจัยใหrเยาวชนในศูนยEฝšกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบrานปรานีที่มีช?วงอายุ
ระหว?าง 12-18 ปƒ จำนวน 52 คน ตอบแบบสำรวจอัตลักษณE แลrวคัดเลือกเยาวชนที่สมัครใจจำนวน
8 คน เขrาร?วมพัฒนาอัตลักษณEตามโปรแกรมที่กำหนดไวr
2. ขั้นทดลอง ผูrวิจัยดำเนินการใหrคำปรึกษากลุ?มตามทฤษฎีเกสตัลทEกับเยาวชนหญิงบrานปราณี ตาม
โปรแกรมที่กำหนดไวrทั้งหมด 10 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที เปnนเวลา 5 สัปดาหE
3. หลังการทดลอง ภายหลังการทดลองผูrวิจัยใหrเยาวชนหญิงกลุ?มทดลองตอบแบบสำรวจอัตลักษณEอีก
ครั้งหนึ่ง
4. ผูrวิจัยนำคะแนนที่ไดrทั้ง 2 ครั้ง จากแบบสำรวจอัตลักษณEมาวิเคราะหEตามวิธีการทางสถิติต?อไป
ผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปไดrดังนี้
1. อัตลักษณEของเยาวชนในศูนยEฝšกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบrานปรานีจำนวน 52 คนอยู?ในระดับ
ปานกลางและค?าเฉลี่ยของอัตลักษณEรายดrาน ซึ่งไดrแก? ดrานการรูrจักและเขrาใจตนเอง ดrานการยอมรับตน ดrาน
ความมั่นใจในตนเอง ดrานความไวrวางใจตนเองและผูrอื่น ดrานความเปnนตัวของตัวเอง ดrานความคิดริเริ่ม ดrานความ
ขยันหมั่นเพียร และดrานจุดมุ?งหมายในการดำเนินชีวิตอยู?ในระดับปานกลาง
2. ภายหลังการเขrาร?วมการพัฒนาอัตลักษณEโปรแกรมการใหrคำปรึกษากลุ?มตามทฤษฎีเกสตัลทE เยาวชน
หญิงบrานปรานี้มีอัตลักษณEเพิ่มขึ้นอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05
งานวิจัยที่ 2 ศึกษาความเชื่อมั่นในตนเองของนักกีฬา และเทคนิคของผูMฝGกสอนที่ชUวยพัฒนาความมั่นใจของ
นักกีฬายิมนาสติกศิลป[ ในการแขUงขันกีฬาแหUงชาติ ครั้งที่ 39 โดย เอกราช จันทร@กรุง
(ผูrรับผิดชอบ นางสาวชนิภา ทิพิละ)

ความเปQนมาของปRญหาวิจัย
จิตวิทยาการกีฬา เปnนศาสตรEที่ผูrฝšกสอน นักกีฬา และผูrเกี่ยวขrองบางส?วนยังไม?สามารถทำความเขrาใจ และ
นำไปใดrร?วมกับโปรแกรมการฝšกทั่วไป เปnนผลใหrไม?ประสบความสำเร็จในการแข?งขันเท?าที่ควร เเมrว?าการพัฒนา
ความสามารถทางกายของนักกีฬาจนเต็มศักยภาพมีความสำคัญ และจำเปnนที่สุด แต?การนำความสามารถ หรือ
ศักยภาพทางจิตก็มีความจำเปnนเช?นเดียวกัน เพราะเปnนป‹จจัยที่สำคัญในการควบคุมความคิด อารมณE ความรูrสึก
การรั บ รู r ต นในคr า นต? า ง ๆ ทำใหr ส ามารถควบคุ ม การเล? น ทางกายหรื อ แข? ง ขั น กี ฬ าไดr เ ต็ ม ศั ก ยภาพที ่ แ ทr จ ริ ง
สิ่งแวดลrอมเปnนองคEประกอบที่มีอิทธิพลต?อความสามารถในการเล?นกีฬาเพราะเมื่อร?างกายและจิตใจพรrอม แต?
สิ่งแวดลrอมภายนอกอื่น ๆ ไม?พรrอมอาจทำใหrผลการเล?นออกมาไม?แน?นอนหรือไม?คงที่ไดr เช?น ในกีฬายิมนาสติก
แมrว?าจะฝšกซrอมมาอย?างดี แต?เมื่อถึงเวลาแสดงจริง คานบารEเดี่ยวลื่นกว?าที่เคยใชrในฝšกซrอม เมื่อรวมกับอากาศรrอน
จัดจะทำใหrเหงื่อออกมากทำใหrมือลื่นหลุดไดr อาจทำใหrการเล?นออกมาไม?ดีเท?าที่เคยฝšกซrอม หรือไม?ไดrรับการ
สนับสนุน ทั้งสนาม อุปกรณE เงินช?วยเหลือ หรือการช?วยเหลืออื่น ๆ หรือไม?ใหrโอกาสในการใชrความสามารถ ก็อาจ
ทำใหrการพัฒนาความสามารถเปnนไดrยากประการที่สำคัญคือ หากผูrฝšกสอนไม?สามารถวิเคราะหEวิจารณE หรือหาทาง
แกrไขไดr การพัฒนาย?อมเปnนไปไดrชrา
ป‹จจุบันสถานการณEการแข?งขัน มีส?วนเกี่ยวขrองกับจิตวิทยาการกีฬามากขึ้น เพราะความสามารถของ
นักกีฬาทั้งในการฝšกซrอมหรือแข?งชัน ไดrมีการพัฒนารูปแบบ และเทคนิคต?าง ๆ มากขึ้น การเตรียมตัวนักกีฬาดrาน
จิตใจก?อนการแข?งขันเริ่มเขrามามีบทบาท เนื่องจากนักกีฬาบางคน ถึงแมrจะไดrรับการฝšกซrอมมาเปnนอย?างดี มีระดับ
ความสามารถ และสมรรถภาพที่ดีแลrว แต?เมื่อแข?งขันจริงกลับไม?สามารถแสดงประสิทธิภาพ ความสามารถไดrดี
เท?าที่ควร หรือบางครั้งถึงกับประสบความลrมเหลว ทำใหrมีผลกระทบต?อพฤติกรรม หรือการแสดงออกทางกีฬา
เปnนสาเหตุที่ทำใหrไม?มีการพัฒนาเท?าที่ควร ในการแข?งขันกีฬา มักไดrยินบ?อยครั้งที่นักกีฬาพูดถึงความมั่นใจอัน
ไดrรับอิทธิพลมาจากระดับความสามารถ ความเชื่อมั่นศรัทธาในตนเอง และผูrฝšกสอน เชื่อมั่นในคุณค?า และ
ประโยชนEของการกีฬา ความเชื่อมั่นและศรัทธานี้ทำใหrนักกีฬาลดความเกรงกลัวอิทธิพลจากสิ่งภายนอก ลดความ
วิตกกังวล ซึ่งความเชื่อมั่นในตนเองเปnนหนึ่งในองคEประกอบของความเขrมแข็งทางดrานจิตใจ
ในการแข?งขันกีฬายิมนาสติกศิลป¡ ผูrฝšกสอนสามารถใหrคำปรึกษา และแกrไขสถานการณEหรือกระทำการใด
ๆ เพื่อที่จะส?งผลใหrเกิดผลกับการแข?งชัน เพื่อที่นักกีฬาจะสามารถแสดงความสามารถไดrอย?างเต็มที่ตามที่ฝšกซrอม
มา เชื่อมั่นในการแสดงความสามารถของตนเอง เชื่อมั่นในความสามารถของผูrฝšกสอน ปฏิบัติตามกลยุทธEที่วางไวr
มุ?งมั่น มั่นคง มีสมาธิกับการแข?งขัน สิ่งต?าง ๆ ที่สรrางขึ้นเหลำานี้คือ ความมั่นใจในตนเอง
ผูrวิจัยจึงเห็นความสำคัญ และประโยชนEที่ไดrรับจากการศึกษาระดับความเชื่อมั่นในตนเองของนักกีฬา
ยิมนาสติกศิลป¡ และการใชrเทคนิคของผูrฝšกสอน ในการแข?งขันกีฬาแห?งชาติครั้งที่ 39 ชลบุรีเกมสE เพื่อเปnน
ประโยชนEแก?ผูrฝšกสอน นักกีฬา และผูrเกี่ยวขrอง

ทฤษฎีจิตวิทยาที่ใชMเปQนแนวคิดหลักในงานวิจัยเรื่องนี้
ทฤษฎีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง
แบนดูรา เชื่อว?าการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนนั้น เปnนผลมาจากป‹จจัย 3 ประการดrวยกัน ไดrแก?
องคEประกอบส?วนบุคคล พฤติกรรม และอิทธิพลของสิ่งแวดลrอม
แบนดูรา กล?าวว?า การกระตุrนจิตใจนั้นมีผลกระทบกับความมั่นใจในตัวเอง บางครั้งที่นักกีฬาเกิดอาการ
กลัวก็จะรูrสีกว?าจะไม?สามารถทำไดr ความกลัว และความไม?แน?ใจสามารถทำใหrลดลงไดrดrวยวิธีการผ?อนคลาย เมื่อ
ความกลัวเปลี่ยนแปลงเปnนความแน?วแน? ความมั่นใจก็จะเพิ่ม
1. ทฤษฎีความมั่นใจเฉพาะอย?าง (Self-Efficacy) หมายถึง ความเชื่อของบุคคลว?า ตนเองมีความสนใจที่
จะทำกิจกรมนั้นไดrสำเร็จ ความมัน่ ใจเฉพาะอย?างเปnนตัวชักนำใหrเกิดพฤติกรรมหรือการกระทำกิจกรรมซึงผูr
ฝšกสอนสามารถเสริมสรrางการรับรูrว?าตนมีความมั่นใจเฉพาะอย?าง ใหrกับนักกีฬาไดrดังนี้
(สืบสาย บุญวีรบุตร: 2541: 65 - 66)
1.1 การรับรูrว?าประสบความสำเร็จ (Perceive Success) ผูrฝšกสอนควรเนrนที่ความพยายาม เพื่อ
ใหrบรลุตามจุดมุ?งหมายที่ตั้งไวr และควงเปnนจุดมุ?งหมายที่ยากขึ้น
1.2 การใชrคำพูดกระตุrน (Verbal Persuasion) เปnนสิ่งที่ผูrฝšกสอนควรกระทำเพราะจะเปnนการ
ใหrกำลังใจ และเปnนแรงเสริมที่ดีแก?นักกีฬา
1.3 การใหrสังเกต และเลียนแบบจากแม?แบบ Vicarious Experience) การใชrแม?แบบจะทำใหr
นักกีฬามีการเปรียบเทียบ มีความพยายามมากขึ้นทั้งในขณะฝšกซrอม และแข?งขัน
1.4 การกระตุrนทางอารมณE (Emotional Arousal) เพื่อที่จะทำใหrนักกีฬาไดrแสดงความสามารถ
ไดrอย?างสูงสุด ผูrฝšกสอนควรมีการกระตุrนทางอารมณEใหrกับนักกีฬา สรrางความคิด สรrางความ
พยายาม และสรrางกำลังใจใหrอยู?ในระดับที่เหมาะสม เพราะถrาหากมีแรงกระตุrนที่สูงหรือต่ำ
เกินไปจะมีผลเสียต?อไป

ประชากร และกลุUมตัวอยUาง

นักกีฬา และผูrฝšกสอนกีฬายิมนาสติกศิลป¡ ที่เขrาร?วมการแข?งขันกีฬาแห?งชาติครั้งที่ 39 โดยแยกเปnน


นักกีฬา จำนวน 120 คน (ชาย=39 หญิง=81) และผูrฝšกสอนจำนวน 20 คน ไดrมาแบบการเลือกแบบเจาะจง
(Purposive Sampling)
วิธีการศึกษา
1. การกำหนดกลุ?มประชากรและเลือกกลุ?มตัวอย?าง
ประชากรที่ใชrในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักกีฬายิมนาสติกศิลป¡ที่เขrาร?วมการแข?งขันกีฬาแห?งชาติ ครั้ง
ที่ 39 ระหว?างวันที่ 9 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2553 จำนวน 156 คน อrางอิงจาก. การกีฬาแห?งประเทศไทย (2553).
จำนวนนักกีฬายิมนาสติกศิลป¡ (Online) และผูrฝšกสอนกีฬายิมนาสติกศิลป¡ จำนวน 30 คนแบ?งเปnนผูrฝšกสอนกีฬา
ยิมนาสติกศิลป¡ชาย จำนวน 15 คน และหญิง จำนวน 15 คน
2. เครื่องมือที่ใชrในการวิจัย ในครั้งนี้ผูrวิจัยใชrเครื่องมือ 2 ชุด คือ
ชุดที่ 1 ในครั้งนี้ผูrวิจัยใชrแบบทดสอบความวิตกกังวลตามสถานการณE
(ฉบับปรับปรุง) ซึ่งประกอบดrวยความเชื่อมั่นของแบบทดสอบในดrานความวิตกกังวลตามสถานการณE
ชุดที่ 2 แบบสอบถามการใชrเทคนิคของผูrฝšกสอนที่ช?วยพัฒนาความมั่นใจของนักกีฬายิมนาสติก
ศิลป¡ในการแข?งขันกีฬาแห?งชาติ ครั้งที่ 39 แบ?งออกเปnน 2 ตอนดังนี้
ตอนที่ 1 เปnนแบบสอบถามที่ตrองการทราบรายละเอียดส?วนตัวของผูrตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 เปnนแบบสอบถามการใชrเทคนิคของผูrฝšกสอนที่ช?วยพัฒนาความมั่นใจของนักกีฬา
ยิมนาสติกศิลป¡ในการแข?งขันกีฬาแห?งชาติ ครั้งที่ 39 ซึ่งมีลักษณะดังนี้
1. เทคนิคที่ทำใหrนักกีฬามีจิตใจเขrมแข็ง (Mental Toughness)
2. เทคนิคเสริมแนวคิดทางบวก (Positive Attitude)
3. เทคนิคแรงจูงใจ (Individual Motivation)
4. เทคนิคเสริมความตั้งใจและสมาธิ (Attention Focus Concentration)
5. เทคนิคการตั้งเป—าหมาย (Goal Setting)
6. เทคนิคการเตรียมสภาพจิตใจก?อนการแข็งขัน (Mental Preparation Strategies)
7. เทคนิคเสริมสรrางพฤติกรรมฮึกเหิม (Attention Assertive Behavior)
8. เทคนิคการควบคุมอารมณE (Emotion Control)
9. เทคนิคการควบคุมความวิตกกังวล และความเครียดในการแข?งขัน (Anxiety and
Stress Control in Competition)
10. เทคนิคการฝšกจิตใจและจินตภาพ (Mental Imagery Practice Imagery)
3. การเก็บรวบรวมขrอมูล
1. ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อขอความร?วมมือถึงสมาคม
ยิมนาสติกแห?งประเทศไทย เพื่อขอกลุ?มตัวอย?างที่ใชrในการวิจัยจากการแข?งขันกีฬาแห?งชาติ ครั้งที่ 39 จังหวัด
ชลบุรี วันที่ วันที่ 9-19 ธันวาคม พ.ศ. 2553
2. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับแบบสอบถาม และรrายละเอียดเพื่อความเขrาใจ
3. ดำเนินการเก็บรวบรวมขrอมูลดrวยแบบสอบถามดrวยตนเอง
4. ทำการรวบรวมแบบสอบถามดrวยตนเอง
5. ตรวจสอบความถูกตrอง ความสมบูรณEของแบบสอบถามเพื่อนำไปวิเคราะหEขrอมูลต?อไป

4. การจัดกระทำและการวิเคราะหEขrอมูล
1. หาค?าเฉลี่ย และส?วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความเชื่อมั่นในตนเอง ของนักกีฬา
ยิมนาสติกศิลป¡ชาย ในการแข?งขันกีฬาแห?งชาติ ครั้งที่ 39
2. หาค?าเฉลี่ย และส?วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความเชื่อมั่นในตนเอง ของนักกีฬา
ยิมนาสติกศิลป¡หญิง ในการแข?งขันกีฬาแห?งชาติ ครั้งที่ 39
3. เปรียบทียบความแตกต?างของค?าเฉลี่ยของระดับความเชื่อมั่นในตนเองระหว?างนักกีฬา
ยิมนาสติกศิลป¡ชายกับหญิงที่เขrาร?วมทำการแข?งขันกีฬาแห?งชาติครั้งที่ 39 โดยใชrสถิติที (t - test)ซึ่งกำหนดระดับ
ความสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. หาค?าเฉลี่ย และส?วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนการใชrเทคนิคของผูrฝšกสอนที่ช?วยพัฒนา
ความมั่นใจของนักกีฬายิมนาสติกศิลป¡ ในการแข?งขันกีฬาแห?งชาติ ครั้งที่ 39

ผลการวิจัย
1. นักกีฬายิมนาสติกศิลป¡ชาย และหญิง ที่เขrาร?วมการแข?งขันกีฬาแห?งชาติ ครั้งที่สาม 39 ดrานความ
เชื่อมั่นในตนเอง (Self-confidence) มีความเชื่อมั่นในตนเองอยู?ในระดับปานกลางเช?นเดียวกัน โดยมีคะแนนเฉลี่ย
เท?ากับ 27.42 และ 26.40 ตามลำดับ
2. ค?าเฉลี่ยของความเชื่อมั่นในตนเอง ของนักกีฬายิมนาสติกศิลป¡ชาย และหญิง ที่เขrาร?วมการแข?งขันกีฬา
แห?งชาติครั้งที่ 39 พบว?ามีความเชื่อมั่นในตนเอง (Self Confidence) แตกต?างกันอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
.05
3. ค?าเฉลี่ยคะแนนเทคนิคที่ผูrฝšกสอนนำไปปฏิบัติกับนักกีฬาโดยรวมอยู?ในระดับมาก ไดrแก? เทคนิค
เสริมสรrางพฤติกรรมฮึกเหิม เทคนิคการควบคุมอารมณE เทคนิคการตั้งเป—าหมาย เทคนิคแรงจูงใจ เทคนิคการ
ควบคุมความวิตกกังวลและความเครียดในการแข?งขัน เทคนิคที่ทำใหrนักกีฬามีจิตใจเขrมแข็ง และเทคนิคการเตรียม
สภาพจิตใจก?อนการแข?งขัน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท?ากับ 4.45 4.32 4.02 3.99 3.90 และ 3.76 ตามลำดับ
4. ค?าเฉลี่ยของคะแนนเทคนิคที่ผูrฝšกสอนนำไปปฏิบัติกับนักกีฬาโดยส?วนรวม อยู?ในระดับปานกลาง
ไดrแก? เทคนิคการฝšกจิตใจและจินตภาพ เทคนิคเสริมแนวคิดทางบวก และเทคนิคเสริมความตั้งใจและสมาธิโดยมี
คะแนนเฉลี่ย = 3.36 3.33 และ 3.08 ตามลำดับ
งานวิจัยที่ 3 การพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง สำหรับนักเรียนชUวงชั้นที่ 3 โครงการโรงเรียนสองภาษา โดย
ใชMกิจกรรมกลุUมสัมพันธ@ โดย นางจิดาภา พงษ@ชุบ (ผูrรับผิดชอบ นางสาวชาลีน?า ยีหะมะ)

ความเปQนมาของปRญหาวิจัย
การเปลี่ยนแปลงเปnนปรากฏการณEที่เกิดขึ้นอย?างรวดเร็วในยุคของเทคโนโลยีนี้จนเกิดกระแสการจัดทำ
แผนพัฒนาการศึกษาแห?งชาติ ใหrนำไปสู?กระบวนการจัดการศึกษาทั้งระบบการจัดการศึกษาตrองยึดหลักว?าผูrเรียน
ทุกคนมีความสามารถเรียนรูrและพัฒนาตนเองไดrและถือว?าผูrเรียนสำคัญที่สุด เพื่อกระตุrนใหrผูrเรียนแสดงออกถึง
ศักยภาพหรือความรูrความสามารถของตนเองดrวยการเรียนรูrจากประสบการณEจริง ไดrคิดเอง ปฏิบัติเอง สามารถ
สรrางองคEความรูrดrวยตนเองและนำความรูrไปประยุกตEใชrในการดำเนินชีวิตไดr
กิจกรรมสัมพันธEเปnนกิจกรรมการเรียนรูrประเภทหนึ่งที่ช?วยในการพัฒนาคุณลักษณะบุคลิกภาพที่พึง
ประสงคEโดยรวมของมนุษยEในหลายๆดrานไดrดี โดยเฉพาะดrานจิตใจ อารมณEและสังคม สามารถทำใหrมนุษยE
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดีทั้งทางตรงและทางอrอม ช?วยใหrเขrาใจตนเอง เห็นคุณค?าในตนเองและยอมรับ
ตนเองมากขึ้นและช?วยใหrตระหนักถึงความรูrสึกของตนเองและผูrอื่นมากขึ้น ซึ่งคุณลักษณะดังกล?าวเปnนคุณลักษณ
ธทางบุคลิกภาพของบุคคลที่แสดงถึงการมีความเชื่อมั่นในตนเอง
ความเชื่อมั่นในตนเองเปnนคุณลักษณะสำคัญในการพัฒนาคนใหrมีคุณภาพ เปnนสิ่งสำคัญต?อการดำเนินชีวิต
สามารถปลูกฝ‹งและส?งเสริมใหrเกิดขึ้นไดr โดยการจัดประสบการณEใหrผูrเรียนไดrรับความสำเร็จจากการเรียน ไดrรูrจัก
และเขrาใจตนเอง นอกจากนี้ความเชื่อมั่นในตนเองยังมีผลต?อการเรียนรูrทางภาษาของผูrเรียน โดยเฉพาะอย?างยิ่ง
ป‹จจัยทางดrานจิตใจที่มีส?วนสนับสนุนการเรียนรูrภาษา ทำใหrผูrเรียนเรียนรูrไดrรวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ทฤษฎีจิตวิทยาที่ใชMเปQนแนวคิดหลักในงานวิจัยเรื่องนี้
ทฤษฎีการเรียนรูrทางสังคม ( Social Cognitive Theory ) ทฤษฎีนี้ไดrรับการพัฒนาขึ้นโดย Albert
Bandura นักวิจัยชาวแคนนาดา แบนดูราไดrใหrความหมายของ “การเรียนรูr” ว?าคือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
โดยจะมองเพียงแง?ของการแสดงออก คือบุคคลจะตrองมีการแสดงออกหรือไม?แสดงออกก็ถือเปnนการเรียนรูrไดr การ
เรียนรูrของแบนดูรามักเนrนที่การเปลี่ยนพฤติกรรมภายในโดยไม?จำเปnนตrองมีการแสดงออกของพฤติกรรม
นอกจากนี้ยังเชื่อว?า คนส?วนใหญ?ตrองผ?านการเรียนรูrโดยการสังเกตพฤติกรรมจากผูrอื่นมาแทบทั้งสิ้น ทฤษฎีการ
เรียนรูrทางป‹ญญาสังคม เนrนแนวคิดสำคัญ 3 ประการ ไดrแก?แนวคิดการเรียนรูrโดยการสังเกต (Observation
Leaning) , แนวคิดการกำหนดตนเอง (Self-Regulation) และแนวคิดของการรับรูr (Self-Efficacy)
ประชากรและกลุUมตัวอยUาง
ประชากรที่ใชrในการวิจัย
ประชากรที่ใชrในการวิจัยครั้งนี้เปnนผูrเรียนช?วงชั้นที่ 3 โครงการโรงเรียนสองภาษา ภาคเรียนที่ 2
การศึ ก ษา 2548 จำนวน 125 คน ของโรงเรี ย นสามรr อ ยยอดวิ ท ยาคม กิ ่ ง อำเภอสามรr อ ยยอด จั ง หวั ด
ประจวบคีรีขันธE สังกัดสำนักงานเขตการศึกษาประจวบคีรีขันธE เขต 2

กลุ?มตัวอย?างที่ใชrในการวิจัย
กลุ?มตัวอย?างที่ใชrในการวิจัยครั้งนี้เปnนผูrเรียนช?วงชั้นที่ 3 ที่เปnนสมาชิกชุมชนพัฒนาบุคลิกภาพ
โครงการโรงเรียนสองภาษา ภาคเรียนที่ 2 ปƒการศึกษา 2548 จำนวน 25 คน ของโรงเรียนสามรrอยยอดวิทยาคม

วิธีการศึกษา

การพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองโดยใชrกิจกรรมกลุ?มสัมพันธE สำหรับนักเรียนช?วงชั้นที่ 3 โครงการโรงเรียน


สองภาษา ผูrวิจัยไดrนำเสนอผลการวิเคราะหEขrอมูล โดยมีรายละเอียดตามขั้นตอนการดำเนินการวิจัยตามลำดับ
ไดrแก? ผลการเปรียบเทียบความเชื่อมั่นในตนเองของผูrเรียน ก?อนและหลังไดrรับการจัดกิจกรรมโดยใชrกลุ?มสัมพันธE
และผลการศึกษาความคิดเห็นของผูrเรียนที่มีต?อการจัดกิจกรรม โดยนำงานวิจัยไปทดลองกับผูrเรียนในช?วงชั้นที่ 3
จำนวน 25 คน ดrวยการใชrแบบวัดความเชื่อมั่นในตนเองที่ผูrวิจัยสรrางขึ้น โดยยึดลักษณะที่แสดงออกถึงความ
เชื่อมั่นในตนเอง 5 ดrาน ดังนี้
1)ดrานความกลrาแสดงออก
2) ดrานความกลrาตัดสินใจ
3) ดrานความคิดสรrางสรรคE
4) ดrานความมั่นคงทางจิตใจ
5) ดrานการปรับตัวใหrเขrากับสถานการณEแวดลrอม

จากนั้นดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูrดrวยแผนการจัดการเรียนรูrจำนวน 12 แผน ผ?านเทคนิคกิจกรรม


กลุ?มสัมพันธEที่ใชr 5 กิจกรรม ประกอบดrวย เกม ละคร กลุ?มย?อย บทบาทสมมติ และสถานการณEจำลอง และใชr
แบบวัดความเชื่อมั่นในตนเองฉบับเดิมวัดความเชื่อมั่นของผูrเรียน พรrอมเก็บขrอมูลในส?วนที่ผูrเรียนแสดงความ
คิดเห็นที่มีต?อการจัดการเรียนรูrโดยใชrกิจกรรมสัมพันธE
ผลการวิจัย
1. ความเชื่อมั่นในตนเองของผูrเรียนช?วงชั้นที่ 3 โครงการโรงเรียนสองภาษาก?อนและหลังไดrรับการเรียนรูr
โดยกิจกรรมกลุ?มสัมพันธEแตกต?างกันอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งหลังไดrรับการจัดการเรียนรูrโดยใชr
กิจกรรมกลุ?มสัมพันธEผูrเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองสูงขึ้นอยู?ในระดับสูงมาก ส?วนก?อนไดrรับการจัดการเรียนรูrโดยใชr
กิจกรรมกลุ?มสัมพันธEผูrเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองอยู?ในระดับปานกลาง
2. ความคิดเห็นของผูrเรียนที่มีต?อกิจกรรมในภาพรวมพบว?าผูrเรียนช?วงชั้นที่ 3 โครงการโรงเรียนสองภาษา
ที่ไดrรับการจัดการเรียนรูrโดยใชrกลุ?มสัมพันธE มีความเห็นอยู?ในระดับเห็นดrวยมากที่สุดโดยกิจกรรมกลุ?มสัมพันธEช?วย
ทำใหrบรรยากาศการเรียนรูrที่มีความสุข กลrาแสดงออก คิดอย?างอิสระ มีเหตุผล เขrาใจตนเองและผูrอื่น รูrจักควบคุม
อารมณE จึงสามารถอยู?ร?วมกับผูrอื่นอย?างมีความสุข
งานวิจัยที่ 4 การศึกษาชุดกิจกรรมศิลปะเพื่อเสริมสรMางความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนตMน โดย อรุณกมล สุขพิบูลย@ (ผูrรับผิดชอบ นางสาวณฐมน เอี่ยมอภิรมยE)

ความเปQนมาของปRญหาวิจัย
เยาวชนเปnนพื้นฐานและเปnนกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ แผนการศึกษาแห?งชาติจึงมีจุดมุ?งหมายใน
การผลิตบุคลากรใหrมีคุณภาพตอบสนองความตrองการสู?สังคม การศึกษาจึงไม?เปnนเพียงแค?ระบบการใหrความรูrแต?
ยังเสริมสรrางสมรรถนะใหrเยาวชนเปnนมนุษยEที่สมบูรณEทั้งร?างกายและจิตใจ มีคุณธรรม มีจริยธรรมและมีวัฒนธรรม
ในการดำรงชีวิตร?วมกับผูrอื่นไดrอย?างมีความสุข
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดrกำหนดจุดมุ?งหมายในขrอแรกไวrว?าใหrผูrเรียน
มีคุณธรรม จริยธรรมและค?านิยมที่พึงประสงคE เห็นคุณค?าของตนเองและการมีความเชื่อมั่นในตนเองเปnนส?วน
สำคัญที่จะทำใหrบุคคลเห็นคุณค?าในตนเอง แต?รายงานของกรมวิชาการพบว?าเยาวชนไทยส?วนมากขาดความเชื่อมั่น
ในตนเอง ดrวยวัฒนธรรมการเลี้ยงดูที่ไม?เป©ดโอกาสใหrเด็กไดrแสดงออกมากนัก รวมถึงการเรียนรูrในหrองเรียนที่ใหrครู
มีบทบาทหลัก จำกัดความคิดและมีพื้นที่แสดงออกนrอย สภาพแวดลrอมเหล?านี้จึงส?งผลใหrเด็กไทยขาดความเชื่อมั่น
ในตนเอง
ความเชื่อมั่นในตนเองเปnนคุณลักษณะที่เด็กควรไดrรับการส?งเสริมเพราะเปnนพื้นฐานสำคัญของการพัฒนา
บุคลิกภาพที่จะส?งผลใหrเด็กมีความเปnนตัวของตัวเอง กลrาคิด กลrาแสดงออก สามารถปรับตัวเขrากับสถานการณEไดr
อย?างเหมาะสมและสามารถแกrป‹ญหาไดrดrวยความรูrสึกที่มั่นคง ซึ่งความเชื่อมั่นในตนเองสามารถสรrางขึ้นไดr โดย
อาศัยสภาพแวดลrอมและบุคคลรอบขrาง นอกจากครอบครัวแลrวยังมีโรงเรียนที่เปnนสถานที่ที่เยาวชนใชrเวลา
มากกว?าที่บrาน ดังนั้นโรงเรียนจึงมีบทบาทสำคัญในการเสริมสรrางความเชื่อมั่นในตนเองใหrเด็กดrวยการสรrาง
บรรยากาศที่เหมาะกับการเรียนรูr การจัดกิจกรรมการเรียนรูrที่เหมาะกับผูrเรียนโดยคำนึงถึงความแตกต?างระหว?าง
บุคคล เป©ดโอกาสในการแสดงออกทางความคิดอย?างอิสระตลอดจนสามารถพัฒนาตนเอง จนเกิดความภาคภูมิใจ
และความเชื่อมั่นในตนเอง
ศิลปะเปnนวิชาหนึ่งในวิชาพื้นฐานที่เยาวชนไดrรับการจัดไวrตั้งแต?ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษา โดยวิชา
ศิลปะจัดขึ้นเพื่อสรrางเสริมลักษณะนิสัยที่ดีใหrแก?เยาวชนเพื่อใหrเปnนผูrที่มีความกลrาแสดงออกและมีความเชื่อมั่นใน
ตนเองที่มุ?งหวังใหrเยาวชนเหล?านี้เจริญเติบโตโดยมีพื้นฐานที่ดีใหrแก?ตนเองและสังคม อีกทั้งงานวิจัยของไคมัล
และเรยE (Kaimal และ Ray, 2016) พบว?ากิจกรรมศิลปะที่ใหrอิสระในการเลือกใชrวัสดุและเทคนิค สามารถเพิ่ม
ความรับรูrในความสามารถของตนเองไดr (Self – Efficacy) การรับรูrความสามารถของตนเองนั้นเปnนส?วนหนึ่งใน
การเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง ซึ่งรูปแบบกิจกรรมศิลปะนั้นตrองคำนึงถึงการเป©ดโอกาสหรือการสรrางโอกาสใหrเด็ก
แสดงออกไดrอย?างอิสระ มีอิสรภาพในการเลือกใชrวัสดุ อุปกรณE และเทคนิค ยิ่งไปกว?านั้นการสรrางบรรยากาศที่
สบาย ไม?มีความกดดัน ไม?ตัดสินความสวยงามในแง?ศิลป©นที่มีความชำนาญ สิ่งเหล?านี้จะช?วยเพิ่มความเชื่อมั่นใน
ตนเองใหrเกิดขึ้นอย?างเปnนธรรมชาติ
จากที่กล?าวมาขrางตrนผูrวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาและพัฒนาชุดกิจกรรมศิลปะเพื่อเสริมสรrางความ
เชื่อมั่นในตนเองกับผูrเรียนในกลุ?มวัยรุ?นตอนตrน การใชrกิจกรรมศิลปะเปnนสื่อกลางเพื่อช?วยใหrเด็กไดrพัฒนาและ
รับมือกับการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางดrานร?างกาย อารมณE และสังคม เพื่อใหrเด็กเกิดความเชื่อมั่นในตนเองตลอดจน
เปnนมนุษยEที่มีความสมบูรณEทั้งร?างกายและจิตใจ และสามารถเติบโตเปnนผูrใหญ?ที่มีคุณภาพเพื่อเปnนส?วนหนึ่ง ของ
การพัฒนาประเทศต?อไป รวมทั้งเพื่อเปnนแนวทางใหrกับครูผูrสอนวิชาศิลปะหรือนักจัดกิจกรรมศิลปะ และยังเปnน
ประโยชนEต?อพ?อ แม? และผูrปกครอง รวมถึงผูrที่สนใจ เพื่อเปnนแนวทางในการพัฒนากิจกรรมศิลปะและส?งเสริม
รูปแบบการเรียนรูrที่สามารถเสริมความเชื่อมั่นในตนเองใหrเยาวชนไทยต?อไป

ทฤษฎีจิตวิทยาที่ใชMเปQนแนวคิดหลักในงานวิจัย
ทฤษฏีพัฒนาการของอิริคสัน ( Erik H. Erikson ’ s Neo - Freudian Analysis )
ทฤษฎีนี้มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีจิตวิเคราะหEของฟรอยดE ซึ่งทฤษฎีของอิริคสันเปnนทฤษฎีที่เนrน
พัฒนาการของบุคคลในลักษณะองคEรวมตั้งแต?แรกเกิดจนกระทั่งสิ้นอายุขัย โดยแบ?งเปnนพัฒนาการทางจิตสังคมไวr
8 ขั้น (Erikson’s 8 stages of Psychosocial Development) และในแต?ละขั้นอาจเผชิญกับวิกฤติในทุกช?วงของ
พัฒนาการ ซึ่งการประสบกับความลrมเหลวในขั้นใดขั้นหนึ่งจะส?งผลกระทบต?อพัฒนาของบุคคลนั้นในขั้นต?อ ๆ ไป
อีกดrวย แต?สำหรับงานวิจัยในครั้งนี้ กลุ?มตัวอย?าง คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปƒที่ 1 ที่มีอายุประมาณ 12 -
13 ปƒ นั้นจะตรงกับขัน้ ที่ 5 ของทฤษฎี คือ เรื่องการปรับตัวเพื่อแสวงหาอัตลักษณE
ขั้นที่ 5 ความเปnนอัตลักษณEกับความสับสนในบทบาท (Identity vs. Role Confusion) ขั้นนี้อยู?
ในช?วงอายุ 13 – 20 ปƒ จะเปnนขั้นของการแสวงหาอัตลักษณEของบุคคลและการเสริมสรrางความรับผิดชอบ ซึ่ง
ในช?วงวัยนี้จะค?อย ๆ พัฒนาความเปnนตัวของตัวเองขึ้น บุคคลจะแสวงหาตนตามอุดมคติ (Ego – ideal) และ
คrนหาอัตลักษณEเพื่อปรับตัวใหrเขrากับบทบาทใหม?ในสังคม ส?วนบุคคลที่พบอุปสรรคในพัฒนาการขั้นนี้จะทำใหrขาด
ทักษะที่เหมาะสมในแกrไขป‹ญหาหรือสถานการณEต?าง ๆ ไดr

ทฤษฎีความตrองการของมาสโลวE ( Maslaw’s Theory of Need Hierarchy )


ทฤษฎีนี้เปnนทฤษฎีของอับราฮัม มาสโลวE ที่กล?าวว?ามนุษยEทุกคนมีความตrองการแสวงหาสิ่งที่จะ
สนองความตrองการใหrแก?ตนเองทั้งสิ้น ซึ่งสามารถจัดเรียงความตrองการของมนุษยEเปnนลำดับขั้นจากขั้นต่ำสุดไปขั้น
สูงสุดไดrทั้งหมด 5 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1 ความตrองการตอบสนองร?างกาย ( Physiological needs ) ไดrแก? อาหาร น้ำ อากาศ
อุณหภูมิ การนอนหลับ การขับถ?าย เปnนตrน
ขั้นที่ 2 ความตrองการความปลอดภัย ( Safety needs ) ไดrแก? ความรูrสึกมั่นคง การไดrรับการ
ปกป—อง ความมั่นคงจากครอบครัว ปลอดภัยจากความวิตกกังวล การหลีกเลี่ยงอันตราย
ความเจ็บป¬วยต?าง ๆ ความตrองการกฎหมายคุrมครอง
ขั้นที่ 3 ความตrองการความรัก ( Love needs ) ไดrแก? ความตrองการความรัก อยากใหrตนเปnนที่
รัก มีการยอมรับตนเอง ตัง้ แต?กลุ?มครอบครัว กลุ?มเพื่อน กลุ?มสังคม กลุ?มทำงาน เปnนตrน
ขั้นที่ 4 ความตrองการไดrรับการยอมรับจากผูrอื่น ( Esteem needs ) ไดrแก? ความตrองการใหrผูrอื่น
มายกย?อง การไดrรับการยอมรับจากเพื่อน กลุ?มคน เปnนตrน
ขั้นที่ 5 ความเขrาใจตนเองอย?างแทrจริง ( Self-Actualization needs ) ไดrแก? ความตrองการ
สูงสุดของบุคคล กระทำสิ่งต?าง ๆ ไดrตามจุดมุ?งหมายที่ตั้งไวr และตามความสามารถพิเศษ
ของตน
มาสโลวE มองเห็นว?าความตrองการจะพัฒนาความตrองการในขั้นสูงจะเกิดขึ้นไดr เมื่อความตrองการ
ขั้นต่ำไดrรับการตอบสนอง และการที่บุคคลตระหนักถึงความสามารถของตนเองแลrวว?าสามารถทำอะไรไดrหรือทำ
อะไรไม?ไดrก็จะนำไปสู?การกลrาตัดสินใจและนำไปสู?ความเชื่อมั่นในตนเอง

ประชากรและกลุUมตัวอยUาง
ประชากร
ประชาการที่ใชrในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนที่ศึกษาอยู?ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตrน ชมรม
ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปƒการศึกษา 2561 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงหE สิงหเสนี) ๔

กลุUมตัวอยUาง
กลุ?มตัวอย?างในการวิจัยครั้งนี้ใชrวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดย
คัดเลือกจากนักเรียนที่ศึกษาอยู?ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปƒที่ 1 ชมรมศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปƒการศึกษา 2561
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงหE สิงหเสนี) 4 จำนวน 30 คน จากนั้นทำกิจกรรมเพื่อคัดเลือกนักเรียน โดยการสังเกต
และบันทึกแบบสังเกตพฤติกรรมความเชื่อมั่นในตนเองทั้ง 30 คน แลrวนำคะแนนมาจัดเรียงลำดับจากมากไปนrอย
จากนั้นคัดเลือกเด็กที่มีคะแนน 15 อันดับสุดทrายเปnนกลุ?มตัวอย?าง
วิธีการศึกษา
1. การกำหนดประชากรและการสุ?มกลุ?มตัวอย?าง
ผูrวิจัยใชrวิธีการเลือกกลุ?มตัวอย?างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ไดrแก? นักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปƒ ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปƒการศึกษา 2561โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงหE สิงหเสนี) 4 จำนวน 15 คน โดย
ผูrวิจัยจะคัดเลือกกลุ?มตัวอย?างจากนักเรียนในชมรมศิลปะทั้งหมด 30 คน ดrวยการทำการสังเกตและบันทึกโดยใชr
แบบสังเกตพฤติกรรมความเชื่อมั่นในตนเองที่ผูrวิจัยสรrางขึ้น จากนั้นเลือกกลุ?มตัวอย?างที่มีคะแนนจากการสังเกต
พฤติกรรมเปnน 15 อันดับสุดทrายมาเปnนกลุ?มตัวอย?างในการศึกษาวิจัย
2. เครื่องมือที่ใชrในการวิจัย
2.1 ชุดกิจกรรมศิลปะ 6 แผนที่ผูrวิจัยสรrางขึ้นเอง ไดrแก? Exploring through art, Self Portrait,
Marbling Art, Let Natural Define You, Now และ Future ซึ่งในทุกกิจกรรมจะมีการ
สรrางประสบการณEที่ส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองทั้ง 3 ดrาน คือ ความกลrาแสดงออก การ
ปรับตัวเขrากับสภาพแวดลrอม และความภาคภูมิใจในตนเอง
2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมความเชื่อมั่นในตนเองที่ผูrวิจัยสรrางขึ้นเอง

3. การเก็บรวบรวมขrอมูล
การทดลองเปnนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Design) ที่ใชrกลุ?มตัวอย?างเพียงกลุ?ม
เดียว วัดก?อนและหลังการทดลอง (One – group pretest – posttest design) ซึ่งผูrวิจัยดำเนินการทดลองโดยมี
ลำดับขั้นตอน ดังนี้
3.1 ผูrวิจัยสรrางความคุrนเคยกับเด็กที่เปnนกลุ?มตัวอย?างเปnนเวลา 1 สัปดาหE
3.2 ผูrวิจัยคัดเลือกนักเรียนชมรมศิลปะที่มีคะแนนความเชื่อมั่นในตนเองเปnน 15 อันดับสุดทrาย
จากทั้งหมด 30 คนจากการวัดความเชื่อมั่นในตนเองก?อนการทดลอง
3.3 ผูrวิจัยดำเนินการทดลองโดยใชrชุดกิจกรรมศิลปะสำหรับกลุ?มตัวอย?าง จำนวน 6 แผน สัปดาหE
ละ 1 วัน รวมเปnน 6 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที ซึ่งรวมกับกิจกรรม Pre – Test (กิจกรรม Who
are you?) อีก 1 ครั้ง รวมเปnนระยะเวลาทั้งหมด 7 สัปดาหE
3.4 ผูrสังเกตเก็บขrอมูลจากการบันทึกแบบสังเกตพฤติกรรมความเชื่อมั่นในตนเอง (Post-test)
โดยสังเกตและบันทึกการสังเกตโดยผูrวิจัยและผูrช?วยวิจัย 2 คนรวมผูrสังเกต 3 คนทุก ครั้ง
หลังระหว?างทำกิจกรรม
3.5 ผูrวิจัยนำขrอมูลจากการบันทึกแบบสังเกตพฤติกรรมความเชื่อมั่นในตนเองก?อนการ ทดลอง
(Pre-test) และหลังการทดลอง (Post-test) มาวิเคราะหEดrวยวิธีการทางสถิติและสรุปผลการ
ทดลองแบบโดยรวมก?อนและหลังการใชrชุดกิจกรรม
4. การจัดกระทำและการวิเคราะหEขrอมูล มีขั้นตอนดังนี้
4.1 นำขrอมูลความเชื่อมั่นในตนเองของเด็กมัธยมศึกษาปƒที่ 1 ชมรมศิลปะก?อนการทดลองและ
ระหว?างการทดลองมาหาคะแนนเฉลี่ยของขrอมูล (Mean)
4.2 นำขrอมูลมาหาค?าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใชrโปรแกรม
คอมพิวเตอรE
4.3 นำขrอมูลมาหาค?าเฉลี่ยของความต?างของขrอมูล

5.สถิติที่ใชrในการวิเคราะหEเครื่องมือ
5.1 การหาค?า IOC ชุดกิจกรรมศิลปะ หาค?าดัชนีความสอดคลrองระหว?างชุดกิจกรรมศิลปะกับ
จุดประสงคEการเรียนรูrหรือค?า IOC (Index of Item-Objective Congruence) ของ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากผูrเชี่ยวชาญ
5.2 แบบสังเกตพฤติกรรมความเชื่อมั่นในตนเอง แบบสอบถามความเชื่อมั่นในตนเองและการหา
ค?าสถิติ T-test แบบทดสอบก?อนหลัง One Group Pretest - Posttest Design

ผลการวิจัย
1. นักเรียนชมรมศิลปะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปƒที่ 1 ที่ไดrรับการจัดการเรียนรูrจากชุดกิจกรรมศิลปะเพื่อ
เสริมสรrางความเชื่อมั่นในตนเองที่พัฒนาขึ้นอย?างสอดคลrองกับทฤษฎีของ Maslow และ Erickson มีความเชื่อมั่น
ในตนเองสูงขึ้นกว?าก?อนการจัดชุดกิจกรรมศิลปะอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
2. การเปลี่ยนแปลงความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชมรมศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปƒที่ 1 พิจารณาแยกเปnน
รายดrาน ไดrแก? การกลrาแสดงออก การปรับตัวเขrากับสภาพแวดลrอม และความภาคภูมิใจในตนเอง พบว?ามีการ
เปลี่ยนแปลงของคะแนนความเชื่อมั่นในตนเองเพิ่มขึ้นต?างกันอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีการ
เปลี่ยนแปลงที่สูงขึ้นหลังไดrรับการจัดชุดกิจกรรมศิลปะเพื่อเสริมสรrางความเชื่อมั่นในตนเอง
งานวิจัยที่ 5 ผลการจัดการเรียนรูMแบบเด็กนักวิจัยที่มีผลตUอความมั่นใจในตนเองของเด็กปฐมวัย
โดย สุจิตราภา ชัยจํารัส (ผูrรับผิดชอบ นายณฐาภพ เหมชะญาติ)

ความเปQนมาของปRญหาวิจัย

ความมั่นใจในตนเองเปnนด?านแรกของความสำเร็จ บุคคลผูrใดที่มีความมั่นใจฝ‹งอยู?ในตัวแลrว บุคคลนั้นก็


สามารถเริ่มกrาวที่สองต?อไปไดrซึ่งสิ่งแวดลrอม ก็สำคัญที่จะทำใหrบุคคลมีความมั่นใจในตนเอง ซึ่งสอดคลrองกับอีริค
สัน (Erikson) ที่กล?าวว?า สิ่งแวดลrอมมีอิทธิพลต?อพัฒนาการของเด็ก ถrาเด็กอยู?ในสิ่งแวดลrอมที่มีความสุขก็จะทำ
ใหrเด็ก มองโลกในแง?ดีมีความมั่นใจในตนเองและเกิดความไวr วางใจคนอื่น การส?งเสริมความมั่นใจในตนเอง ไม?อาจ
บอกกล?าวหรือสอนดrวยคำ พูดแต?เพียงอย?างเดียว การปฏิบัติของครูทั้งการกระทำ คำ พูด น้ำ เสียง สีหนrา ท?าทาง
ที่แสดงต?อเด็ก และการ จัดประสบการณEใน แต?ละวันใหrกับเด็ก จึงควรมีการส?งเสริมและพัฒนา บุคลิกภาพเพื่อใหr
เกิดความมั่นใจในตนเอง อิริคสัน (Erikson. 1963) โรเจอรE (Roger.1969)และมาสโลวE (Maslow.1970) กล?าว
ตรงกันว?า การพัฒนาความมั่นใจในตนเองของเด็ก เกิดจากประสบการณEและสิ่งแวดลrอม ที่เด็กไดrรับ กล?าวคือ ถrา
ประสบการณEทั้งมวลที่เด็กไดrรับนั้นส?งเสริมใหrเด็ก มีความนึกคิดที่ดีเกี่ยวกับตนเองจนเห็นว?าตนเปnนคนมี คุณค?า
เปnนที่ยอมรับของคนอื่น เด็กจะกลrาคิด กลrาทำ กลrาแสดงออก และสามารถตัดสินใจในสิ่งที่ถูกตrองไดr ดrวยตนเอง
ความมั่นใจในตนเองเปnนคุณลักษณะของ บุคลิกภาพ ดังที่ สมิท(Smith) ไดrใหrความหมายไวrซึ่ง หมายถึง ความ
ภูมิใจในตนเอง การยอมรับตนเองหรือ ความกลrาหาญของบุคคลที่จะเผชิญต?อเหตุการณEต?างๆ ความมั่นใจใน
ตนเองจะมีในบุคคลใดมากนrอยเพียงใดนั้น สามารถพิจารณาไดrจากความขัดแยrงระหว?างบุคคลกับ ความรูrสึก ถrา
ความขัดแยrงเกิดขึ้นมากจะเปnนเหตุใหr คนรูrสึกไม?มีคุณค?า ไม?พึงพอใจในตนเอง เกิดความวิตก กังวล ขาดความอุ?น
ใจ และชอบพึ่งผูrอื่นจนกลายเปnน คนขาด ความมั่นใจในตนเอง (Smith. 1961: 185) กรมวิชาการไดrใหrความหมาย
ไวrว?า ความมั่นใจในตนเอง เปnนคุณลักษณะที่สำคัญยิ่งที่จะช?วยใหrคนเราสามารถทำสิ่งต?างๆ ประสบความสำเร็จ
ช?วยใหrคนเรามีความเปnนตัวของตัวเอง กลrาคิด กลrาแสดงออก ปรับตัวเขrากับสถานการณEไดrอย?างเหมาะสม ทำสิ่ง
ต?างๆ ดrวยความมั่นใจ ยอมรับผลที่เกิดขึ้นดrวยความพอใจและภาคภูมิใจ สามารถเผชิญกับเหตุการณEต?างๆ และ
แกrป‹ญหาดrวยความรูrสึกที่มั่นคง อันเปnนคุณลักษณะของผูrที่มีสุขภาพจิตดีมีความสุขในการดำรงชีวิต (กรมวิชาการ.
2537:1) ดังนั้นความมั่นใจในตนเองจึงเปnนคุณลักษณะสำคัญคุณลักษณะหนึ่งที่การศึกษาตrองมุ?งพัฒนาเด็ก
เนื่องจากเปnนคุณลักษณะที่ทำใหrคนเราประสบผลสำเร็จในการทำสิ่งต?าง ๆ มีความเปnนตัวของตัวเองกลrาคิด กลrา
แสดงออก สามารถปรับตัวและเผชิญกับเหตุการณEต?างๆ ไดrอย?างมีความสุขดrวยความรูrสึกที่มั่นคง
ทฤษฎีจิตวิทยาที่ใชMเปQนแนวคิดหลักในงานวิจัย
ทฤษฎีความตrองการของมาสโลวE กล?าวว?า มนุษยEทุกคนลrวนมีความตrองการในสิ่งที่จำเปnนเพื่อการดำรงอยู?
ของชีวิต ซึ่งเกี่ยวกับการเจริญเติบโต การสืบพันธุE การมีอนามัยที่ดี และร?วมถึงการใหrสังคมยอมรับเปnนความ
ตrองการที่เกิดขึ้นเปnนลำดับขั้นตอน เมื่อความตrองการขั้นพื้นฐานของมนุษยEไดrรับการตอบสนอง มนุษยEสามารถจะ
พัฒนาพฤติกรรมใหrไปสู?ขั้นตอนต?อไปไดr ดังนี้ คือ
1. ความตrองการดrานร?างกาย (Physiological needs) เปnนความตrองการที่ถือว?าเปnนพื้นฐานที่สำคัญ
ที่สุดไดrแก? อาหาร น้ำ อากาศ อุณหภูมิ การนอนหลับ การขับถ?าย เปnนตrน
2. ความตrองการความปลอดภัย (Safety needs) ไดrแก? ความรูrสึกมั่นคง การไดrรับการปกป—อง ความ
มั่นคงจากครอบครัว ปลอดภัยจากความวิตกกังวล การหลีกเสี่ยงอันตราย ความเจ็บป¬วยต?างๆ ความ
ตrองการกฎหมายคุrมครอง
3. ความตrองการความรักและเปnนเจrาช?อง (Love needs) ไดrแก? ความตrองการความรัก อยากใหrตนเปnน
ที่รัก มีการยอมรับตนเองตั้งแต?กลุ?มครอบครัว กลุ?มเพื่อน กลุ?มสังคม กลุ?มทำงาน เปnนตัน
4. ความตrองการที่จะเปnนที่ยอมรับและไดrรับการยกย?อง (Esteem needs) ไดrแก? ความตrองการใหrผูrอื่น
มายกย?อง การไดrรับการยอมรับจากเพื่อน กลุ?มคน และความภาคภูมิใจ
5. ความตrองการที่จะบรรลุถึงความตrองการของคนอย?างแทrจริง (Self-Actualization- needs) ไดrแก?
ความตrองการสูงสุดของบุคคล กระทำสิ่งต?างๆ ไดrตามจุดมุ?งหมายที่ตั้งไวr และตามความสามารถพิเศษ
ของตน
เขาเชื่อว?าการปรับตัวและการไดrรับประสบการณEจากการปรับตัวใหrเขrากับสิ่งแวดลrอม ควรเปnนสิ่งที่จำเปnน
สำหรับธรรมชาติของมนุษยE เพราะเปnนสิ่งที่ละเอียด เขาเชื่อว?า นิสัยการปรับตัวบุคลิกภาพ รวมทั้งพฤติกรรมใน
การป—องกันตนเองของมนุษยE เปnนสิ่งที่เกิดจากประสบการณEที่ผ?านมา บุคคลที่จะสามารถเผชิญกับสถานการณEใน
อนาคตและมีชีวิตอยู?ในป‹จจุบันไดrดrวยดีควรมีความคิดริเริ่มสรrางสรรคE มีความยืดหยุ?น มีความเด็ดเดี่ยวไม?
หวาดหวั่นต?อสิ่งใดๆ

ประชากรและกลุUมตัวอยUาง
ประชากรที่ใชrในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เปnนเด็กปฐมวัยชาย-หญิง อายุระหว?าง 4 - 5 ปƒ ที่กำลังศึกษาอยู?ใน
ระดับชั้นอนุบาลปƒที่ 2 ภาดเรียนที่ 1 ปƒการศึกษา 2554 ของโรงเรียนบrานโคกก?องตอนทองวิทยา สังกัดสำนักเขต
พื้นที่การศึกษาการประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 จังหวัดชัยภูมิ
จำนวน 1 หrองเรียน จำนวนเด็ก 25 คน
กลุ?มตัวอย?างที่ใชrในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เปnนเด็กปฐมวัยชาย-หญิง อายุระหว?าง 4 - 5 ปƒที่กำลังศึกษาอยู?ใน
ระดับชั้นอนุบาลปƒที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปƒการศึกษา 2554 ของโรงเรียนบrานโคกท?องตอนทองวิทยา สั่งกัดสำนักเขต
พื้นที่การศึกษาการประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 จังหวัดชัยภูมิจำนวน 1 หrองเรียน จำนวน 25 คน กลุ?มตัวอย?างไดrมา
โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sample)

วิธีการศึกษา
1. สรrางความคุrนเคยกับเด็กกลุ?มตัวอย?างก?อนทดลองเปnนระยะเวลา 1 สัปดาหE
2. จัดสภาพแวดลrอมภายในสถานที่ที่ทำการทดลองใหrเหมาะสม
3. วัดความเชื่อมั่นในตนเองก?อนการทดลองโดยใชrการบันทึกแบบสังเกตความมั่นใจ
ในตนเองที่สรrางขึ้นโดยผูrวิจัยและผูrช?วยผูrวิจัยจำนวน 1 คน ทำการสังเกตความมั่นใจในตนเองของเด็กปฐมวัย
ในช?วงกิจกรรมเสริมประสบการณEจากการจัดประสบการณEแบบปกติของกลุ?มตัว

ผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปว?า ความมั่นใจในตนเองของเด็กปฐมวัยหลังจากการที่ไดrรับการจัดการเรียนรูrแบบเด็ก
นักวิจัยมีพฤติกรรมความมั่นใจโดยรวมและรายดrาน ไดrแก? ดrานการแสดงออกอย?างเป©ดเผย ตrานการปรับตัวเขrากับ
สภาพแวตลrอมและตrานความภูมิใจในตนเองสูงขึ้นอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p <.05 ดังนี้
1. เด็กปฐมวัยที่ไดrรับการจัดการเรียนรูrแบบแด็กนักวิจัย พบว?าในแต?ละช?วงสัปดาหEมีความมั่นใจในตนเอง
โดยรวมก?อนการทดลองและช?วงการทดลองการจัดการเรียนรูrแบบเต็กนักวิจัยมีระดับคะแนนความมั่นใจในตนเอง
ของเด็ ก ปฐมวั ย แตกต? า งกั น อย? า งมี น ั ย สำคั ญ ทางสถิ ต ิ ท ี ่ ร ะดั บ P < .05 (F = 131.88) และเมื ่ อ วิ เ คราะหE ก าร
เปลี่ยนแปลง โดยการจัดการเรียนรูrแบบเด็กนักวิจัยส?งผลต?อความมั่นใจในตนเองโดยรวมรrอยละ 85% (Partial 1"
=:85)
2. เด็กปฐมวัยที่ไดrรับการจัดการเรียนรูrแบบเด็กนักวิจัยมีความมั่นใจในตนเองแยกเปnนรายดrานไดrแก? การ
แสตงออกอย?างเป©ดเผย การปรับตัวเขrากับสภาพแวดลrอม และความภูมิใจในตนเอง พบว?า คะแนนความมั่นใจใน
ตนเองทั้ง 3 ดrาน มีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่สอดคลrองกับการวิเคราะหEคะแนนรวมทั้งหมด โดยมีการ
เปลี่ยนแปลงก?อนการทดลอง และช?วงการทดลองการจัดการเรียนรูrแบบเด็กนักวิจัย มีระดับ คะแนนความมั่นใจใน
ตนเองของเด็กปฐมวัย แตกต?าง กันอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<.05 คือ ดrาน การแสดงออกอย?างเป©ดเผย
(F=128.49) ดrานการปรับตัว เขrากับสภาพแวดลrอม (F = 86.14) และดrานความ ภูมิใจในตนเอง (F = 80.49) โดย
การจัดการเรียนรูrแบบ เด็กนักวิจัยส?งผลต?อความมั่นใจในตนเองดrานการแสดงออก อย?างเป©ดเผยรrอยละ84
(Partialη2 =.84) ดrานการปรับตัว เขrากับสภาพแวดลrอม รrอยละ 78 (Partial η2 = .78) และดrานความภูมิใจใน
ตนเองรrอยละ77(Partialη2 =.77) ตามลำดับ
3. ผลปฏิสัมพันธEของเด็กปฐมวัยที่ไดrรับการจัด การเรียนรูrแบบแด็กนักวิจัยมีความมั่นใจในตนเองระหว?าง
กลุ?มของไดrรับการจัดการเรียนรูrแบบเด็กนักวิจัย ที่เกิด จากการส?งผลร?วมกันกับช?วงระยะเวลาแตกต?างกัน อย?าง มี
นัยสำ คัญทางสถิติที่ระดับ p < .05 (F = 2.00) โดย การจัดการเรียนรูrแบบเด็กนักวิจัยส?งผลต?อความมั่นใจใน
ตนเองรrอยละ 8% (P = .08)
ความมุ'งหมาย
1. เพื่อส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองในนักศึกษาระดับปริญญาตรี
2. เพื่อเปรียบเทียบความเชื่อมั่นในตนเองในนักศึกษาระดับปริญญาตรีระหว?างผูrที่เขrาร?วมกิจกรรมและ
ไม?ไดrเขrาร?วมกิจกรรม
3. เพื่อเปรียบเทียบความเชื่อมั่นในตนเองในนักศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งก?อนและหลังสิ้นสุดกิจกรรม

กรอบแนวคิด
แนวคิดสำคัญของการส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองโดยใชrกรอบแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีจิตสังคมของอิริค
สัน (Psychosocial Theory) ในขั้นที่ 5 คือ ความเปnนอัตลักษณEกับความสับสนในบทบาท (Ego identity – Role
confusion) ดังกรอบแนวคิดการวิจัยต?อไปนี้

ตัวแปรอิสระ (การจัดกระทำสาเหตุ)

ประกอบดrวย 2 เงื่อนไข คือ ตัวแปรตาม (ผลที่ตMองการ)


1. ไดrรับกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง
• กิจกรรมที่ 1 : อธิบายความหมายของความ

เชื่อมั่นในตนเอง
ความเชื่อมั่นในตนเอง
• กิจกรรมที่ 2 : ทำกิจกรรมวาดภาพสำรวจ
(Self - Confidence)
เอกลักษณEในตนเอง
• กิ จ กรรมที ่ 3 : ใหr ค วามรู r ก ารสรr า งเสริ ม

ความเชื่อมั่นในตนเอง
2. ไม?ไดrรับกิจกรรมส?งเสริมเชื่อมั่นในตนเอง

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิด
สมมติฐานการวิจัย
1. นักศึกษาที่เขrาร?วมกิจกรรมสามารถคrนพบอัตลักษณEของตนเอง
2. นักศึกษาที่เขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองมีระดับความเชื่อมั่นในตนเองสูงกว?านักศึกษาที่
ไม?ไดrเขrาร?วมกิจกรรม
3. หลังสิ้นสุดกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง นักศึกษาที่เขrาร?วมกิจกรรมมีระดับความเชื่อมั่นใน
ตนเองสูงกว?าก?อนเขrาร?วมกิจกรรม

วิธีดำเนินการ
กลุUมตัวอยUาง
กลุ ? ม ตั ว อย? า งที ่ ใ ชr ใ นการวิ จ ั ย ครั ้ ง นี ้ เปn น นั ก ศึ ก ษานิ ส ิ ต ปริ ญ ญาตรี ปƒ ก ารศึ ก ษา 2564 ของ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จำนวน 64 คน ซึ่งเปnนกลุ?มทดลอง คือ ไดrรับกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง
จำนวน 33 คน และเปnนกลุ?มควบคุม คือ ไม?ไดrรับกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง จำนวน 31 คน

แบบแผนการทดลอง
การวิจัยนี้เปnนแบบทดลองแทr (True - Experimental Research Design) แบบแผนการทดสอบ
ก?อนและหลังการทดลองแบบมีกลุ?มควบคุม (Pretest - Posttest Control Group Design)

RE O1 X O2
RC O1 ~X O2

เครื่องมือที่ใชRในการวิจัย
แบบวัดระดับความเชื่อมั่นในตนเอง การวัดความเชื่อมั่นในตนเองใชrแบบวัดที่คณะผูrวิจัยสรrางและ
ปรับปรุงตามแนวคิดทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน (Psychosocial Theory) จำนวน 12 ขrอ แบบวัดมีลักษณะเปnน
มาตรประเมินค?า 6 ระดับ คือ “นrอยที่สุด” ถึง “มากที่สุด” นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดrคะแนนมากกว?าแสดงว?า
มีความเชื่อมั่นในตนเองสูงกว?านักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดrคะแนนต่ำกว?า
การใหMคะแนน
ตอบนrอยที่สุด = 1 คะแนน
ตอบนrอย = 2 คะแนน
ตอบค?อนขrางนrอย = 3 คะแนน
ตอบค?อนขrางมาก = 4 คะแนน
ตอบมาก = 5 คะแนน
ตอบมากที่สุด = 6 คะแนน

การแปลผล
แบบวัดความเชื่อมั่นในตนเอง 10 ขrอ มีคะแนนรวมไม?ต่ำกว?า 12 คะแนนและไม?เกิน 72 คะแนน โดย
ผลรวมที่ไดr แบ?งออกเปnน 4 ระดับ ดังนี้
คะแนน 12 – 32 มีความเชื่อมั่นในตนเองในระดับต่ำ
คะแนน 33 – 52 มีความเชื่อมั่นในตนเองในระดับปานกลาง
คะแนน 53 – 72 มีความเชื่อมั่นในตนเองในระดับสูง

การใหMความหมายของคะแนนความเชื่อมั่นในตนเอง
ผูrที่ไดrคะแนนจากการวัดความเชื่อมั่นในตนเองมากกว?า แสดงว?ามีระดับความเชื่อมั่นในตนเองสูงกว?าผูrที่ไดr
คะแนนนrอยกว?า

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม
ก?อนเริ่มดำเนินกิจกรรมคณะผูrวิจัยชี้แจงกลุ?มตัวอย?างถึงหัวขrอวิจัย ประโยชนEที่คาดว?าจะไดrรับจากการ
วิจัย กลุ?มตัวอย?างไดrรับเชิญใหrเขrาร?วมการวิจัยนี้ดrวยเหตุใด จากนั้นคณะผูrวิจัยอธิบายใหrกลุ?มตัวอย?างเขrาใจ
วัตถุประสงคE วิธีตอบแบบวัดใหrเขrาใจก?อนลงมือทำ และการดำเนินกิจกรรมในโครงการวิจัยนี้ และมีสิทธิ์ถอนตัว
ออกจากกิจกรรมเมื่อใดก็ไดr จากนั้นคณะผูrวิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมขrอมูลและดำเนินกิจกรรมส?งเสริมความ
เชื่อมั่นในตนเอง ตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย

วัดความเชื่อมั่นในตนเองในกลุ?มทดลอง วัดการความเชื่อมั่นในตนเองในกลุ?มควบคุม
(Pre - test) (Pre - test)

กลุ?มทดลองไดrรับกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 : อธิบายความหมายของความเชื่อมั่นในตนเอง กลุ?มควบคุม
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมวาดภาพสำรวจเอกลักษณEของตนเอง ไม?ไดrรับกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง
กิจกรรมที่ 3 : ใหrความรูrการสรrางเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง

วัดความเชื่อมั่นในตนเองหลังสิ้นสุดกิจกรรม
(Post-test)

ภาพที่ 2 ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม
กิจกรรมสUงเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง
การดำเนินกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง ใชrหลักการตามแนวคิดทฤษฎี ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 : อธิบายความหมายของความเชื่อมั่นในตนเอง
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมวาดภาพสำรวจเอกลักษณEของตนเอง โดยใชrแนวคิดทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสันใน
ขั้นที่ 5 การคrนหาอัตลักษณEในตนเอง
กิจกรรมที่ 3 : ใหrความรูrการสรrางเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง

กิจกรรมที่ 1 : อธิบายความหมายของความเชื่อมั่นในตนเอง
กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมวาดภาพสำรวจเอกลักษณ@ของตนเอง
ใหrผูrเขrาร?วมกิจกรรม (กลุ?มทดลอง) วาดภาพจุดเด?นหรือสิ่งที่บ?งบอกความเปnนตนเอง โดยใน
ภาพวาดจะประกอบลักษณะทางกายภาพและความสามารถที่คิดว?าโดดเด?นหรือทำไดrดีของผูrเขrาร?วมกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 : ใหMความรูMการสรMางเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง
ไดrแก? แนวทางในการฝšกความเชื่อมั่นในตนเอง เช?น การไม?เปรียบเทียบตนเองกับผูrอื่น การฝšกพูด
กับตนเองในเชิงบวก เปnนตrน รวมถึงแนวทางการพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองใหrดียิ่งขึ้น คือ การไม?พยายามที่จะ
สมบูรณEแบบจนเกินไปและการยอมรับจุดอ?อนของตนเอง

สถิติที่ใชRในการวิเคราะหUขRอมูล
สถิติที่ใชrในการวิเคราะหEขrอมูล ไดrแก? ค?าเฉลี่ย (Mean) ค?าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
และใชrสถิติค?าทีแบบอิสระต?อกัน (t-test for Independent Sample) ในการทดสอบสมมติฐานการวิจัย

ผลการวิจัย
จากนั้นดำเนินการวิเคราะหEขrอมูลโดยใชrสถิติค?าทีแบบอิสระต?อกัน (t-test for Independent Sample)
เพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัยขrอที่ 1 ผลการวิเคราะหEขrอมูลพบว?า นักศึกษาที่เขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมความ
เชื่อมั่นในตนเอง มีความเชื่อมั่นในตนเองสูงกว?านักศึกษาที่ไม?ไดrเขrาร?วมกิจกรรมอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
.01 ซึ่งเปnนไปตามสมมติฐานการวิจัยขrอที่ 1 ดังตารางต?อไปนี้
ตาราง 1 ผลการเปรียบเทียบค?าเฉลี่ยความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาที่เขrาร?วม (กลุ?มทดลอง) และ
ไม?ไดrเขrาร?วม (กลุ?มควบคุม) กิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองหลังสิ้นสุดกิจกรรม

เงื่อนไขการทดลอง n Mean SD. t

เขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง 33 4.35 .82 3.43**

ไม?ไดrเขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง 31 3.70 .72

** p ≤ .01

เมื่อทำวิเคราะหEขrอมูลโดยใชrสถิติค?าทีแบบอิสระต?อกัน (t-test for Independent Sample) เพื่อทดสอบ


สมมติฐานการวิจัยขrอที่ 2 ผลการวิเคราะหEขrอมูลพบว?า หลังสิ้นสุดกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง นักศึกษา
มีความเชื่อมั่นในตนเองสูงกว?าก?อนเขrาร?วมกิจกรรมอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเปnนไปตามสมมติฐาน
การวิจัยขrอที่ 2 ดังตารางต?อไปนี้

ตาราง 2 ผลการเปรียบเทียบค?าเฉลี่ยความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาที่ก?อน (Pretest) และหลังจาก (Posttest)


เขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองในกลุ?มทดลอง

ช?วงเวลาการวัดผล n Mean SD. t

หลังจากเขrาร?วมกิจกรรม (Post-test) 33 4.35 .82 2.95**

ก?อนเขrาร?วมกิจกรรม (Pre-test) 31 3.78 .75

** p ≤ .01
คณะผูrวิจัยไดrทำการเปรียบเทียบค?าเฉลี่ยความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาที่ก?อนและหลังจากเขrาร?วม
กิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองในกลุ?มควบคุมของนักศึกษาในกลุ?มควบคุม พบว?า ไม?มีความแตกต?างอย?างมี
นัยสำคัญทางสถิติ

ตาราง 3 ผลการเปรียบเทียบค?าเฉลี่ยความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาที่ก?อนและหลังจากเขrาร?วมกิจกรรม
ส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง ในกลุ?มควบคุม

ช?วงเวลาการวัดผล n Mean SD. t

หลังจากเขrาร?วมกิจกรรม (Post-test) 31 3.69 .72 0.44

ก?อนเขrาร?วมกิจกรรม (Pre-test) 31 3.61 .71

คณะผูrวิจัยไดrทำการเปรียบเทียบค?าเฉลี่ยความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาในกลุ?ม ทดลองและกลุ?ม
ควบคุมก?อนการทดลอง พบว?า ไม?มีความแตกต?างอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงว?านักศึกษาใน กลุ?มทดลองและ
กลุ?มควบคุมความเชื่อมั่นในตนเองก?อนเริ่มตrนกิจกรรมไม?ต?างกัน (แสดงถึงความเท?าเทียมกันของกลุ?มตัวอย?างก?อน
เริ่มดำเนินการทดลอง)

ตาราง 4 ผลการเปรียบเทียบค?าเฉลี่ยความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาที่เขrาร?วมและไม?ไดrเขrาร?วมกิจกรรม
ส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองก?อนเริ่มตrนกิจกรรม

เงื่อนไขการทดลอง n Mean SD. t

เขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง 33 3.78 .75 0.93

ไม?ไดrเขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง 31 3.61 .71


การอภิปรายผล
จากผลการดำเนินกิจกรรมที่พบว?า นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมความเชื่อมั่นใน
ตนเองสูงกว?านักศึกษาที่ไม?ไดrเขrาร?วมกิจกรรมส?งเสริมส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ .01 และหลังสิ้นสุดกิจกรรมส?งเสริมการความเชื่อมั่นในตนเองนักศึกษาระดับปริญญาตรีมีความเชื่อมั่นใน
ตนเองสูงกว?าก?อนเขrาร?วมกิจกรรมอย?างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้งนี้อาจเปnนเพราะกิจกรรมที่นำมาใชrใน
การพัฒนาและส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองดrวยวิธีการอธิบายความหมายของความเชื่อมั่นในตนเอง การใหr
ผูrเขrาร?วมกิจกรรมไดrสำรวจตนเองและพิจารณาถึงสิ่งที่เปnนเอกลักษณE ความสามารถ และขrอดีของตนเอง เพื่อนำมา
วาดภาพ และการใหrความรูrเกี่ยวกับแนวทางการเสริมสรrางความเชื่อมั่นในตนเอง หลังจากไดrทำกิจกรรมและไดr
ความรูrเรื่องความเชื่อมั่นในตนเอง จึงส?งผลใหrบุคคลเกิดการเรียนรูr ปรับเปลี่ยนมุมมองเพื่อที่จะนำไปพัฒนาตนเอง
เพราะการวิเคราะหEผลของความคิดเห็นดังกล?าวนั้น ทrายที่สุดจะช?วยใหrบุคคลสามารถคrนหาเอกลักษณE ความถนัด
และมองเห็นถึงความสามารถของตน เป©ดโอกาสใหrตนเองไดrพูดคุยและทบทวนสิ่งต?าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต เป©ดใจ
เรียนรูrจากขrอผิดพลาดของตนเองและนำมาปรับปรุงแกrไข พยายามมองหาขrอดี ขrอดrอยของตนเองและยอมรับว?า
ไม?มีใครสมบูรณEแบบไปทุกอย?าง เมื่อบุคคลคิดเช?นนี้จะส?งผลใหrมีความภาคภูมิใจและเห็นคุณค?าในตัวเองซึ่งจะ
นำไปสู?ความเชื่อมั่นในตนเองในการดำเนินชีวิตต?อไป

ขRอเสนอแนะ
1. นักศึกษาที่ไดrรับการส?งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองสามารถนำวิธีการไปใชrประยุกตEใชrในการดำเนิน
ชีวิตและทำกิจกรรมต?างๆ ไดr
2. อาจนำกิ จ กรรมการส? ง เสริ ม ความเชื ่ อ มั ่ น ในตนเองไปใชr ส ? ง เสริ ม ใหr บ ุ ค คลในกลุ ? ม อื ่ น ๆ และ
ทำการศึกษาวิจัยเชิงทดลองเพื่อศึกษาว?าใหrผลการวิจัยเช?นเดียวกันกับงานวิจัยฉบับนี้หรือไม?
บรรณานุกรม
จิดาภา พงษEชุบ. (2549). การพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง สำหรับนักเรียนชUวงชั้นที่ 3 โครงการ
โรงเรียนสองภาษา โดยใชMกิจกรรมกลุUมสัมพันธ@. กรุงเทพฯ : สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ
ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตรE มหาวิทยาลัยศิลปากร.
จันทรEเพ็ญ ทัศนียสกุลชัย. (2548). การศึกษาและพัฒนาอัตลักษณ@ของเยาวชนในศูนย@ฝGกและอบรมเด็กและ
เยาวชนหญิงบMานปรานี. ปริญญานิพนธE กศ.ม (จิตวิทยาการแนะแนว). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.
สุจิตรา ชัยจำรัส. (2554). ผลการจัดการเรียนรูMแบบเด็กนักวิจัยที่มีผลตUอความมั่นใจในตนเองของเด็กปฐมวัย.
ปริญญานิพนธE (สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
เอกราช จันทรEกรุง. (2554). ศึกษาความเชื่อมั่นในตนเองของนักกีฬา และ เทคนิคของผูMฝGกสอนที่ชUวย พัฒนา
ความมั่นใจ ของนักกีฬายิมนาสติกศิลป[ ในการแขUงขันกีฬาแหUงชาติ ครั้งที่ 39. ปริญญาบัณฑิต(สาขา
วิชาพลศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อรุณกมล สุขพิบูลยE. (2561). การศึกษาชุดกิจกรรมศิลปะเพื่อเสริมสรMางความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตMน. ปริญญานิพนธE (สาขาวิชาศิลปศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
DIY INSPIRE NOW Team. (2564). How to เชื่อมั่นในตัวเอง (Self Confidence) ฝGกไดMจริง ทำไดMทุกคน.
สืบคrนเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2564 , จาก https://www.diyinspirenow.com/bm-ความเชื่อมั่นใน
ตัวเอง/
ภาคผนวก
1. แบบสอบถามเกี่ยวกับความเชื่อมั่นในตนเอง : ดrานอัตลักษณEแห?งตน
คำชี้แจง : ขอใหrผูrเขrาร?วมกิจกรรมตอบแบบสอบถามว?ามีความเห็นดrวยต?อคำถามในแต?ละขrอมากหรือนrอย
เพียงใด จากระดับมากที่สุด – นrอยที่สุด
ค?อนขrาง
คำถาม มากที่สุด มาก ค?อนขrางมาก นrอย นrอยที่สุด
นrอย
1. โดยทั่วไปแลrวฉันมีความพอใจในตนเอง
2.ฉันกลrาแสดงออกทางวาจาและท?าทาง
ดrวยความมั่นใจ
3.ฉันรูrสึกมีทัศนคติทางบวกต?อตนเอง
4.ฉันรูrสึกมั่นใจที่จะทำอะไรตามลำพังคน
เดียว
5.ฉันไม?มีขrอบกพร?องอะไรที่บางครั้ง
รบกวนฉัน
6.ฉันรูrสึกว?าฉันเปnนคนที่มีคุณค?าอย?างนrอย
ก็เท?ากับคนอื่นในระดับเดียวกัน
7.ฉันมีความนับถือตัวเอง
8.ฉันเปnนคนมีความรูrความสามารถไม?นrอย
ไปกว?าคนอื่น
9.ฉันมีความภูมิใจในความสามารถของ
ตนเอง
10.ฉันรูrว?าสิ่งใดเปnนจุดเด?นในตัวของฉัน
11.คนอื่นสามารถจดจำฉันไดrจากท?าทาง
ของฉัน
12.ฉันรูrสึกมีความสุข ความสนุกสนานใน
การทำกิจกรรม
2. ตัวอย?างภาพวาดของกลุ?มทดลองในกิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมวาดภาพสำรวจเอกลักษณEของตนเอง

ภาพที่ 1

ภาพที่ 2
ภาพที่ 3

ภาพที่ 4
ภาพที่ 5

ภาพที่ 6

You might also like