You are on page 1of 53

ทฤษฎีพฒ

ั นาการทางอาชีพและการเลือกอาชีพ

W2 อาจารย์ภาวิดา มหาวงศ์ : จิตวิทยาและการแนะแนว


ความหมายของอาชีพ

อาชีพ ตรงกับคา หลายคาในภาษาอังกฤษ ดังนี้
Employment Meatier : การจ้างงาน
Occupation : อาชีพ
Profession : อาชีพ
Pursuit Vocation : การแสวงหาอาชีพ
Avocation Business : ธุรกิจการทามาหากิน
Career : อาชีพ
จากวิกิพเี ดีย สารานุกรมเสรี
อาชีพ เป็ น รูปแบบการดารงชีพในสังคมมนุษย์ปัจจุบนั
อาชีพเป็ นหน้าที่ของบุคคลในสังคม
การที่บุคคลประกอบอาชีพจะได้มาซึ่ง
ค่าตอบแทน หรือ รายได้
เพื่อใช้จา่ ยในการดารงชีวิต
ลักษณะอาชีพ

วิชาชีพ

สัมมาชีพ มิจฉาชีพ
จากพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

อาชีพ เป็ น คานาม หมายถึง การเลี้ยงชีวิต , การทา


มาหากิน , งานที่ทาเป็ นประจาเพื่อเลี้ยงชีพ
สานักงานสถิติแห่งชาติ

 กล่าวว่า อาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิดของงาน


ที่บุคคลนั้นทา ปกติบุคคลมีอาชีพเดียว หากใน
ระหว่างรอบ 52 สัปดาห์ที่แล้ว บุคคลใดมีอาชีพ
มากกว่า 1 ชนิด ให้ถืออาชีพที่มีจานวนสัปดาห์การ
ทางานมากที่สุด หากจานวนสัปดาห์เท่ากันให้นบั
อาชีพที่มีรายได้มากที่สุด
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเลือกอาชีพ

 ทฤษฎีวิเคราะห์ลกั ษณะและองค์ประกอบของบุคคล
(Traits and Factors Theory)
 ทฤษฎีภาพเลือกอาชีพของ Ginzberg

 ทฤษฏีการเลือกอาชีพของ Roe

 ทฤษฏีการเลือกอาชีพของ Super

 ทฤษฏีการเลือกอาชีพของ Hoppock
ทฤษฎีวิเคราะห์ลกั ษณะและองค์ประกอบของบุคคล
(Traits and Factors Theory)

"อาชีพของบุคคลมิใช่การลองผิดลองถูก
แต่ตอ้ งใช้ความคิดในการพินิจพิเคราะห์อย่างดี"
ทฤษฎี TF : มีหลักการเหมือนของ Frank Parson

1. การวิเคราะห์ตนเอง บุคคลจะวิเคราะห์คณ ุ สมบัตติ า่ ง ๆ และ


องค์ประกอบของตนเองเป็ นต้นว่า ความสามารถ ความสนใจ ความ
ถนัด บุคลิกภาพ ฐานะเศรษฐกิจ สภาพการณ์ตา่ ง ๆในครอบครัว
2. การวิเคราะห์อาชีพ บุคคลจะแสวงหาความรูต้ า่ ง ๆ เกี่ยวกับอาชีพ
เป็ นต้นว่าความรูเ้ กี่ยวกับลักษณะของอาชีพ ความต้องการของ
ตลาดแรงงานเกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ เวลาและทุนทรัพย์ที่ใช้ในการ
เตรียมตัวประกอบอาชีพ รายได้ ความมั ่นคง และโอกาสก้าวหน้าใน
อาชีพต่าง ๆ
3. การใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกอาชีพ โดยอาศัยหลักการ
วิเคราะห์ตนเองและวิเคราะห์อาชีพประกอบกัน
ทฤษฎีของ Holland

Realistic (R) Investigative (I)

Conventional (C) Artistic (A)

Enterprise (E) Social (S)


ทฤษฎีอาชีพของกินสเบอร์ก (Ginzberg and Associates’ Theory)

ข้อมูลพื้นฐาน การเลือกอาชีพของบุคคลมักจะขึ้นอยูก่ บั ตัวแปร


4 ประการ คือ
1. องค์ประกอบด้านความเป็ นจริง (Reality Factor)
หมายถึง การตอบสนองที่บุคคลมีตอ่ ความกดดันจาก
สภาพความเป็ นจริงของสิ่งแวดล้อม
 2. กระบวนการทางการศึกษา
(Educational Process)
 3. องค์ประกอบด้านอารมณ์ (Emotional Factors)
หมายถึง ลักษณะทางบุคลิกภาพของบุคคล ที่ทาให้บุคคล
ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร
 4. ค่านิยมของแต่ละบุคคล (Personal Values)
Ginzberg เชื่อว่า

กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพนั้น จะเกิดควบคู่ไปกับ
ชีวิตการทางานของบุคคล
และถ้าการเลือกอาชีพในช่วงต้นของชีวิตไม่นาไปสูค่ วาม
พึงพอใจในการทางาน บุคคลอาจเลือกอาชีพใหม่ได้
ในชีวิตการทางานนั้น บุคคลต้องมีการเปลื่ยนแปลง
ปรับปรุงตัวเองอยูเ่ สมอตามพัฒนาการของชีวิต หากความ
ต้องการเปลี่ยนไป อาจมีผลต่อการปรับตัวของบุคคลให้ตรงกับ
ความต้องการของตนเองมากที่สุด
Ginzberg แบ่งขั้นตอนของการเลือกอาชีพเป็ น 3 ระยะ คือ

 1. Fantasy Period เริ่มตัง้ แต่วยั เด็กจนถึง 11 ปี


เป็ นระยะเพ้อฝันถึงอาชีพต่าง ๆ ที่ตนเองอยากเป็ น โดยยังไม่
คานึงถึงความสามารถและความเป็ นไปได้
 2. Tentative Period ช่วงระหว่างอายุ 11-17 ปี

 เป็ นระยะการพิจารณาอาชีพแต่ยงั ยึดองค์ประกอบเกี่ยวกับ


ตนเอง เช่น ความสนใจ ความสามารถและค่านิยม องค์ประกอบ
ที่แท้จริงยังไม่นามาพิจารณา ซึ่งยังสามารถแบ่งย่อย ๆ ออกเป็ น
แต่ละขั้น ดังนี้
2.1 Interest Stage อายุ 11 ถึง 12 ปี ขั้นนี้ยังใช้ความ
สนใจของตนเองในการเลือกอาชีพที่ตอ้ งการ
2.2 Capacity Stage อายุ 13 ถึง 14 ปี ขั้นนี้ นา
ความสามารถของตนเองมาพิจารณาด้วยแต่เนื่องจาก
ความรูค้ วามสามารถยังไม่ถึง จึงเลือกอาชีพแบบ
ทดลอง
 2.3 Value Stage อายุ 15 ถึง 16 ปี ขั้นนี้จะใช้
ค่านิยมของสังคม เช่น รายได้ ชื่อเสียงเกียรติยศจะถูกนามา
พิจารณาในการเลือกอาชีพมากกว่าความสนใจและความ
สามารถ ของตน
2.4 Transition Stage อายุ 17 ปี เริ่มมีการ
พิจารณาถึงความสนใจ ความสามารถ ค่านิยม ซึ่งขั้นนี้มักจะ
ทราบว่าตนเองต้องการ มีอาชีพแบบใด สามารถทาอะไรได้บา้ ง
 3. Realistic Period อายุ 17 ปี ถึงวัยผูใ้ หญ่ อายุประมาณ
25 ปี
 เป็ นระยะที่จะมีการประนี ประนอม (Compromise) ระหว่าง
องค์ประกอบที่เป็ นจริง กับความต้องการและความสามารถเข้า
ด้วยกัน แบ่งออกเป็ น 3 ระยะ
 3.1 Exploration Stage เป็ นขั้นสารวจอาชีพ
ต่าง ๆ
3.2 Crystallization Stage พร้อมที่จะเลือกอาชีพใด
อาชีพหนึ่ง เนื่องจากได้ขอ้ มูลในอาชีพมากพอควรแล้ว
3.3 Specification Stage ขั้นเลือกอาชีพระยะนี้จะ
ตัดสินใจเมื่อเข้าสูอ่ าชีพนั้น เช่น เลือกงาน หรือเลือกเรียนวิชาชีพ
ที่ตอ้ งการ
ทฤษฏีการเลือกอาชีพของ Roe

 ทัศนคติพ้ ืนฐานของบิดา-มารดานี้เองเป็ น
สิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อความคิด ความสนใจ
ความคาดหวังบุตร นอกจากนี้ฐานะ ทางเศรษฐกิจ
ของครอบครัวก็เป็ นส่วนหนึ่งที่มีผลต่อโอกาส และ
การเลือกอาชีพของบุตร
ทฤษฎีการเลือกอาชีพของโรว์ (Roe’s Theory)
23

โรว์ สรุปว่า ความแตกต่างของบุคคลในการเข้าสูอ่ าชีพนั้น


เป็ นผลสืบเนื่องมาจากประสบการณ์วยั เด็ก โดยเฉพาะอิทธิพล
ในการเลี้ยงดูที่พอ่ แม่มีตอ่ ลูกจะมีผลต่อบุคลิกภาพการเข้าหา
หรือไม่เข้าหาผูอ้ ื่นของเด็ก และมีผลต่อการเลือกประกอบอาชีพ
ประเภทอยากทาร่วมกับผูอ้ ื่น หรือหลีกหนีจากผูอ้ ื่น
 โรว์เน้นความสาคัญของ พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม

และความต้องการ ที่มีผลต่อการเลือกทิศทางอาชีพของบุคคล
หลักการใหญ่ๆ ของโรว์ มีดงั นี้

1. พันธุกรรมพันธุกรรม จะเป็ นตัวกาหนดและจากัด


ในการพัฒนาคุณลักษณะต่างๆ ของมนุษย์ แต่
คุณลักษณะบางอย่างก็ไม่อยูใ่ นอิทธิพลของ
พันธุกรรม
2. วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมทางสังคม รวมทั้ง
ประสบการณ์เฉพาะตัวของเด็กแต่ละคน จะกาหนด
ทิศทางพัฒนาการของคุณลักษณะต่างๆ ที่ได้จาก
พันธุกรรม
3. ประสบการณ์ความพึงพอใจ หรือความคับข้องใจ
ในวัยเด็กจะกาหนดทิศทางความสนใจของบุคคล
4. แบบแผนความสนใจที่เด่นชัด

จะถูกกาหนดโดยพลังทางจิต (Psychic Energy)


5. แรงจูงใจจะนาไปสูค่ วามสัมฤทธิผลนั้น ขึ้นอยูก่ บั ระดับ
ความต้องการ และความสามารถที่จะตอบสนองความ
ต้องการนั้น
ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางอาชีพของซูเปอร์
 (Super’s Theory of Vocational Development)

พื้นฐานทางทฤษฎี
1. มนุษย์มีความแตกต่างกันในด้านความสามารถ
ความสนใจ และบุคลิกภาพ
2. ความแตกต่างของบุคคลแต่ละคน ทาให้เขาเหมาะสม
กับอาชีพแตกต่างกันออกไป
3. ในงานแต่ละอาชีพ แม้ตอ้ งการบุคคลที่มีคณ ุ ลักษณะ
บางอย่างเข้าไปทาก็ตาม
แต่ก็กว้างขวางมากพอที่จะให้บุคคลที่มีบุคลิกภาพ
ใกล้เคียงอื่นๆ สามารถประกอบงานอาชีพนั้นได้เช่นกัน
4. ความพึงพอใจของบุคคล ความสามารถ สถานการณ์ที่เขา
ดารงชีวิตอยู่ รวมทั้งความคิดรวบยอดที่มีตอ่ ตนเอง
จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและประสบการณ์
ทาให้การตัดสินใจเลือกอาชีพของบุคคลมีการเปลื่ยน
แปลงได้เสมอ
5. ชีวิตเป็ นกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงไม่หยุดนิ่ง

5.1 ระยะการเจริญเติบโต (Growth Stage)


5.2 ระยะการสารวจ (Exploratory Stage)
5.3 ระยะการวางรากฐาน (Establishment Stage)
5.4 ระยะการสร้างความมั ่นคง ( Maintenance
Stage)
5.5 ระยะเสื่อมถอย (Decline Stage)
6. องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อแบบแผนทางอาชีพของบุคคล คือ

6.1 ระดับสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของพ่อแม่
6.2 ความสามารถทางสติปัญญา
6.3 บุคลิกภาพ
6.4 โอกาสที่จะมีประสบการณ์ทางอาชีพต่างๆ
7. การแนะแนวอาชีพ มีอิทธิพลต่อการเลือกอาชีพของเด็ก

36
 8. พัฒนาการทางอาชีพ คือพัฒนาการทางจิตใจและร่างกาย
ประกอบกับการแสดงออกของความคิดรวบยอดของบุคคล
 9. การเข้าสูอ่ าชีพของบุคคล มักถูกกาหนดโดยกระบวนการ
ประนีประนอมระหว่างตัวบุคคลกับตัวแปรทางสังคม เช่น
ระหว่างภาพพจน์ที่ตนมีอยูก่ บั สภาพความเป็ นจริง
10. ความพึงพอใจในการทางานในชิวิตขึ้นอยูก่ บั
10.1 ความสามารถ ความสนใจ บุคลิกภาพ และ
ค่านิยมของบุคคล มีโอกาสได้แสดงออกมามากน้อย
เพียงใดในงานที่ทา
10.2 ประสบการณ์ของบุคคลทีได้รบั จากการทางาน
สอดคล้องกับภาพพจน์ของตัวเขาเองมากเพียงใด
Super แบ่งระยะพัฒนาการด้านอาชีพไว้ 4 ขั้น ดังนี้

 1. Exploration อายุระหว่าง 15-24 ปี


 มีพฤติกรรมทางอาชีพในการสารวจตนเองทดลองทางานอาจเป็ น

งานหลังเลิกเรียน (Part-Time)
 2. Establishment อายุระหว่าง 25-44 ปี
 เริ่มต้นแบบงานและอาชีพที่ตนเองถนัด และเหมาะสมกับตนเอง
 3. Maintenance อายุระหว่าง 45-64 ปี
 เป็ นการค้นพบโลกของงานอย่างแท้จริง เป็ นพฤติกรรมที่รก
ั ษา
ความมั ่นคงในการทางานไว้ ไม่ตอ้ งการเปลี่ยนแปลง
 4. Decline อายุ 65 ปี ขึ้นไป
 ไม่สนใจในการทางานหนักเนื่ องจากสุขภาพไม่เอื้ออานวย อาจ

แสวงหางาน Part-Time เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์


ภาระกิจทางด้านอาชีพ (Vocational Tasks)

Super เชื่อว่า
ในทุกระยะของพัฒนาการของบุคคล จะต้องมีภาระกิจทางด้าน
อาชีพเกิดขึ้นควบคู่กนั ด้วย
เช่น ในช่วงวัยรุน่ ก็มีภาระกิจที่ยงั ต้องแสวงหา ค้นคว้าอาชีพ
ต่างๆ ที่เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด
เมื่อเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ ภาระกิจทางอาชีพคือการสร้างความมั ่นคง
และความก้าวหน้าให้กบั ชีวิตการทางานของตนเอง

“ มนุษย์ ใช้การทางานเป็ นทางแสดงออกของบุคลิกภาพ” 44


 ทฤษฎีความต้องการของฮอพพอค
(Hoppock’s Composite Theory)
45

1. คนเราเลือกอาชีพเพื่อ
สนองความต้องการ

2. อาชีพที่เราเลือกสามารถตอบสนองความต้องการที่สูงสุด
ของเราได้
 3. ความต้องการที่เกิดขึ้นนี้ อาจชัดเจนในบุคคลบาง
คน แต่อาจคลุมเครือในคนบางคน แต่มนั จะมี
อิทธิพลต่อการเลือกอาชีพของเราทั้งสิ้น
4. พัฒนาการทางอาชีพเริ่มจากจุดที่บุคคลเริ่มตระหนักว่า
มีอาชีพบางชนิดที่จะทาให้เขาได้รบั ความพึงพอใจ และ
สามารถตอบสนองความต้องการของเขาได้
5. สิ่งที่จะเป็ นเครื่องแสดงว่า เรามีการพัฒนาทางการเลือก
อาชีพมากขึ้นหรือไม่น้นั ขึ้นอยูก่ บั ว่า เราเข้าใจว่าการ
เลือกอาชีพของเราได้ตอบสนองความต้องการของตนเอง
เพียงใด
49

6. การเข้าใจตนเองจะทาให้เราได้รูถ้ ึงสิ่งที่เราต้องการ และรูว้ ่า


เรามีอะไรจะไปแลกเปลี่ยนกับสิ่งที่ตอ้ งการนั้น
7. ความรูเ้ กี่ยวกับอาชีพก็มีสว่ นสาคัญในการตัดสินใจเลือก
อาชีพของเรา คือ เราได้ตระหนักว่า อาชีพนั้นๆ สนองตอบ
ความต้องการของเราหรือไม่ เราจะได้อะไรจากการ
ประกอบอาชีพนั้น และเราต้องให้อะไรแก่อาชีพนั้นๆ บ้าง
8. ความพึงพอใจในอาชีพเกิดจากการได้ประกอบอาชีพที่ตรง
กับความต้องการของเรา
9. ความพึงพอใจจากการทางาน มิได้หมายถึงเฉพาะสิ่งที่
52
บุคคลได้รบั ในปั จจุบนั เท่านั้น อาจเป็ นสิ่งที่เขาคาดหวังใน
อนาคตที่ดีกว่า
10. คนเราเมื่อเลือกอาชีพแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงได้เสมอ ถ้า
เขารูส้ ึกว่าการเปลี่ยนแปลงจะทาให้เขาได้รบั การตอบสนองที่
ดีกว่างานเก่า

You might also like