You are on page 1of 27

1

กลุ่มพฤติกรรมนิ ยม (Behaviorism)
ทฤษฎีการเรียนรู ้กลุ่มพฤติกรรมนิ ยม (Behaviorism)

นักคิดในกลุ่มนี มองธรรมชาติ ของมนุ ษย ์ ในลักษณะทีเป็่ นกลาง คือ ไม่ดี –
ไม่เลว การกระทาต่างของมนุ ษย ์เกิดจากอิทธิพลของสิงแวดล ่ อ้ มภายนอก พ
ฤติกรรมของมนุ ษย ์เกิดจากการตอบสนองต่อสิงเร ่ ้า (stimulus

response) การเรียนรู ้เกิดจากการเชือมโยงระหว่ างสิงเร่ ้าและการตอบสนอง
กลุ่มพฤติกรรมนิ ยมให ้ความสนใจกับ ”พฤติกรรม” มาก
่ เห็
เพราะพฤติกรรมเป็ นสิงที ่ นได ้ชัด สามารถวัดและทดสอบได ้
ทฤษฎีการเรียนรู ้ในกลุ่มพฤติกรรมนิ ยม ประกอบด ้วยแนวคิดสาคัญ 3
แนวคิด ดังต่อไปนี ้

1. ทฤษฎีการเชือมโยงของธอร ์นไดค ์ (Thorndike’s
Connectionism Theory)
2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
3. ทฤษฎีการเรียนรู ้ของฮัลล ์ (Hull’s Systematic Behavior
Theory)


1. ทฤษฎีการเชือมโยงของธอร ์นไดค ์ (Thorndike’s
Connectionism Theory)
เอ็ดเวิร ์ด ลี ธอร ์นไดค ์ (Edward Lee
Thomdike) เป็ นนักจิตวิทยาชาวอเมริกา เกิด วันที่
31สิงหาคม ค.ศ.1814 ทีเมื ่ องวิลเลียมเบอรี
่ ่
ร ัฐแมซซาชูเสท และสินชี ้ วต ิ วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ.1949
่ องมอนท ์โร ร ัฐนิ วยอร ์ค หลักการเรียนรู ้
ทีเมื
ทฤษฎีสม ่
ั พันธ ์เชือมโยง กล่าวถึง

การเชือมโยงระหว่ ่ ้ากับการตอบสนอง
างสิงเร

โดยมีหลักพืนฐานว่ า

การเรียนรู ้เกิดจากการเชือมโยงระหว่ ่ ้ากับการตอบสนองทีมั
างสิงเร ่ กจะออกมาใ
นรูปแบบต่างๆ หลายรูปแบบ โดยการลองถูกลองผิด
จนกว่าจะพบรูปแบบทีดี ่ และเหมาะสมทีสุ
่ ด
2

หลักการเรียนรู ้ของทฤษฎี
ทฤษฎีของธอร ์นไดค ์เรียกว่าทฤษฎีการเชือมโยง ่ (Connectionism
Theory) ทฤษฎีนีกล่ ้ าวถึงการเชือมโยงระหว่
่ ่ ้า (Stimulus - S)
างสิงเร
กับการตอบสนอง (Response - R) โดยมีหลักเบืองต ้ ้นว่า

“การเรียนรู ้เกิดจากการเชือมโยงระหว่ ่ ้ากับการตอบสนอง
างสิงเร

โดยทีการตอบสนองมั กจะออกมาเป็ นรูปแบบต่าง ๆ หลายรูปแบบ
จนกว่าจะพบรูปแบบทีดี ่ หรือเหมาะสมทีสุ ่ ด
เราเรียกการตอบสนองเช่นนี ว่้ าการลองถูกลองผิด (Trial and error)
นั่นคือการเลือกตอบสนองของผูเ้ รียนรู ้จะกระทาด ้วยตนเองไม่มผ ี ูใ้ ดมากาหนด
หรือชีช่ ้ องทางในการปฏิบต ่ ดการเรียนรู ้ขึนแล
ั ใิ ห ้และเมือเกิ ้ ้ว
การตอบสนองหลายรูปแบบจะหายไปเหลือเพียงการตอบสนองรูปแบบเดียวทีเห ่
มาะสมทีสุ ่ ด
และพยายามทาให ้การตอบสนองเช่นนั้นเชือมโยงกั ่ ่ ้าทีต
บสิงเร ่ ้องการให ้เรียนรู ้
ต่อไปเรือย ่ ๆ

จากข้อความด ังกล่าวข้างต้นสามารถเขียนเป็ นแผนผังได้ด ังนี ้

จากแผนผังอธิบายได ้ว่า
่ิ ้าทีต
ถ ้ามีสงเร ่ ้องการให ้เกิดการเรียนรู ้มากระทบอินทรีย ์
อินทรีย ์จะเลือกตอบสนองเองแบบเดาสุ่มหรือลองผิดลองถูก (Trial and
error) เป็ น R1, R2, R3 หรือ R อืน ่ ๆ
จนกระทังได่ ้ผลทีพอใจและเหมาะสมที
่ ่ ดของทังผู
สุ ้ ใ้ ห ้เรียนและผูเ้ รียน
การตอบสนองต่าง ๆ
่ เหมาะสมจะถูกกาจัดทิงไปไม่
ทีไม่ ้ นามาแสดงการตอบสนองอีก

เหลือไว ้เพียงการตอบสนองทีเหมาะสมคื อกลายเป็ น S-R

แล ้วทาให ้เกิดการเชือมโยงไปเรื ่ ๆ ระหว่าง S กับ R นั้น
อย
การทดลอง
3

การทดลอง ในการทดลอง ธอร ์นไดค ์ได ้นาแมวไปขังไว ้ในกรงทีสร ่ ้างขึน้


แล ้วนาปลาไปวางล่อไวนอกกรงใหห้ ่างพอประมาณ
โดยให ้แมวไม่สามารถยืนเท ่ ่
้าไปเขียได ้ จากการสังเกต
พบว่าแมวพยายามใช ้วิธก ่
ี ารต่าง ๆ เพือจะออกไปจากกรง
จนกระทังเท ่ ้าของมันไปเหยียบถูกคานไมโ้ ดยบังเอิญ ทาให ้ประตูเปิ ดออก
หลังจาก นั้นแมวก็ใช ้เวลาในการเปิ ดกรงได ้เร็วขึน้
จากการทดลองจึงสรุปได้วา ่
แมวเรียนรู ้วิธก ี ารเปิ ดประตูโดยการกดคานได ้ด ้วยตนเองจากการเดาสุ่ม
หรือแบบลองถูกลองผิด จนได ้วิธท ี ถู ่ี กต ้องทีสุ ่ ด
และพบว่ายิงใช ่ ้ั
้จานวนครงการทดลองมากขึ ้ าใด
นเท่
ระยะเวลาทีใช ่ ้ในการแก ้ปัญหาคือเปิ ดประตูกรงออกมาได ้ยิงน้ ่ อยลงเท่านั้น
และจากผลการทดลองดังกล่าว สามารถสรุปเป็ นกฎการเรียนรู ้ได ้ดังนี ้
กฎการเรียนรู ้
1. กฎแห่งความพร ้อม (Law of Readiness)
การเรียนรู ้จะเกิดขึนได ้ ้ดี ถ ้าผูเ้ รียนมีความพร ้อมทังทางร่ ้ างกายและจิตใจ
2. กฎแห่งการฝึ กหัด (Law of Exercise)
การฝึ กหัดหรือกระทาบ่อย ๆ ด ้วยความเข ้าใจจะทาใหก้ ารเรียนรู ้นั้นคงทนถาวร
ถ ้าไม่ได ้กระทาซาบ่ ้ อย ๆ การเรียนรู ้นั้นจะไม่คงทนถาวร และในทีสุ ่ ดอาจลืมได ้
3. กฎแห่งการใช้ (Law of Use and Disuse)
การเรียนรู ้เกิดจากการเชือมโยงระหว่ ่ างสิงเร ่ ้ากับการตอบสนอง
ความมั่งคงของการเรียนรู ้จะเกิดขึน้ หากได ้มีการนาไปใช ้บ่อย ๆ
หากไม่มก ี ารนาไปใช ้อาจมีการลืมเกิดขึนได ้ ้
4. กฎแห่งผลทีพึ ่ งพอใจ (Law of Effect)
่ คคลได ้ร ับผลทีพึ
เมือบุ ่ งพอใจย่อมอยากจะเรียนรู ้ต่อไป
่ พงึ พอใจ จะไม่อยากเรียนรู ้ ดังนั้นการได ้ร ับผลทีพึ
แต่ถ ้าได ้ร ับผลทีไม่ ่ งพอใจ
จึงเป็ นปัจจัยสาคัญในการเรียนรู ้
การประยุกต ์ทฤษฎีของธอร ์นไดค ์
1. ธอร ์นไดค ์ในฐานะนักจิตวิทยาการศึกษา
เข ้าได ้ใหค้ วามสนใจในปัญหาการปร ับปรุงการเรียนการสอนของนักเรียนในโร
งเรียน เขาเน้นว่า นักเรียนต ้องใหค้ วามสนใจในสิงที ่ เรี
่ ยน
ความสนใจจะเกิดขึนก็ ้ ต่อเมือครู ่ จด ้
ั เนื อหาที ่ เ้ รียนมองเห็นว่ามีความสาคัญต่อ
ผู
ตัวเขา
4

่ กมีความพร ้อมทีเรี
2. ครูควรจะสอนเด็กเมือเด็ ่ ยน
ผูเ้ รียนต ้องมีวุฒภ ่
ิ าวะเพียงพอทีจะเรี ยนและไม่ตกอยู่ในสภาวะบางอย่าง เช่น
เหนื่ อย ง่วงนอน เป็ นต ้น
3.
ครูควรจัดให ้ผูเ้ รียนได ้มีโอกาสฝึ กฝนและทดทวนในสิงที่ เรี
่ ยนไปแล ้วในเวลาอัน
เหมาะสม
4.

ครูควรจัดให ้ผูเ้ รียนได ้ร ับความพึงพอใจและประสบผลส าเร็จในการทากิจกรรมเ
่ นแรงจูงใจต่อตัวเองในการทากิจกรรมต่อไป
พือเป็
5

2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)


2.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค, อีวาน
เปโตรวิช พาฟลอฟ (Classical Conditioning Thoery,
Ivan Petrovich Pavlov)
พาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov)
เป็ นนักวิทยาศาสตร ์ชาวร ัสเซียทีมี ่ ชอเสี
่ื ยง
่ ชวี ต
ซึงมี ิ อยู่ระหว่าง ปี ค.ศ. 1849 – 1936
และถึงแก่กรรมเมืออายุ ่ ประมาณ 87 ปี
พาฟลอฟเป็ นนักวิทยาศาสตร ์
สนใจศึกษาระบบหมุนเวียนโลหิตและระบบหัวใจ
และได ้หันไปสนใจศึกษาเกียวกั ่ บระบบย่อยอาหาร
จนทาใหเ้ ขาได ้ร ับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยา ในปี ค.ศ.
1904 จากการวิจยั เรือง ่ สรีรวิทยาของการย่อยอาหาร
ต่อมาพาฟลอฟได ้หันมาสนใจเกียวกั ่ บด ้านจิตเวช (Psychiatry)

และได ้ใช ้เวลาในช่วงบันปลายของชี วต ิ ในการสังเกตความเป็ นไปในโรงพยาบา
ลโรคจิต
และพยายามนาการสังเกตเข ้ามาเกียวข ่ ้องกับการทดลองสุนัขในห ้องปฏิบต ั ก
ิ า
่ ยงโด่งดัง
รจนได ้ร ับชือเสี
่ าเป็ นผูต้ งทฤษฎี
และได ้ชือว่ ้ั ่
การวางเงือนไขแบบคลาสสิ คขึน้
การทดลอง
ในการวิจยั เกียวกั่ บการย่อยอาหารของสุนัข (ค.ศ. 1904)
พาฟลอฟสังเกตว่า สุนัขมีน้าลายไหลออกมา เมือเห็ ่ นผูท้ ดลองนาอาหารมาให ้
พาฟลอฟจึงสนใจในพฤติกรรมน้าลายไหลของสุนัขก่อนทีได ่ ้รบั อาหารมาก
และได ้ทาการศึกษาเรืองนี ่ อย่ ้ างมีระเบียบและการทาการวิจยั เรืองนี ่ อย่ ้ างละเอียด

ซึงการทดลองของพาฟลอฟเป็ นตัวอย่างทีดี ่ ของการใช ้วีธก ี ารทางวิทยาศาสตร ์
มาศึกษาพฤติกรรม เพราะเป็ นการทดลองทีใช ่ ้การควบคุมทีดี ่ มาก
ทาให ้พาฟลอฟได ้ค ้นพบหลักการทีเรี ่ ยกว่า Classic Conditioning

ซึงการทดลองดั งกล่าวอธิบายได ้ดังนี ้
พาฟลอฟได ้ทาการทดลองโดยการสันกระดิ ่ ่
งและให ้
้ผงเนื อแก่ สุนัข

โดยทาซาควบคู ั หลายครง้ั และในทีสุ
่กน ่ ดหยุดให ้อาหารเพียงแต่สนกระดิ ่ั ง่
ก็ปรากฎว่าสุนัขก็งยังคงมีน้าลายไหลได ้ ปรากฎการณ์เช่นนี เรี ้ ยกว่า
6

พฤติกรรมของสุนัขถูกวางเงือนไข ่
หรือการเรียนรู ้แบบการวางเงือนไขแบบคลาสสิ ่ ค
ในการทดลองของพาฟลอฟนัน ้ พบว่า
1. การวางเงือนไขแบบคลาสสิ ่ ค

ควรเริมจากการเสนอสิ ่ ้าทีวางเงื
งเร ่ ่
อนไขก่ อน
แล ้วจึงเสนอสิงเร ่ ้าทีไม่ ่ วางเงือนไข ่
2. ช่วงเวลาในการใหส้ งเร ่ิ ้าทีวางเงื
่ ่
อนไข
และไม่วางเงือนไขที ่ ่
แตกต่ างกัน ทาใหเ้ กิดการตอบสนองทีแตกต่ ่ างกัน
3. ถ ้ามีการวางเงือนไขซ ่ ้อนกันมากครง้ั
(หมายถึงการให ้สิงเร ่ ้าทีวางเงื ่ ่
อนไขหลาย ๆ สิง)่
การตอบสนองก็จะมีกาลังอ่อนลงมายิงขึ ่ น้
พาฟลอฟเชือว่ ่ า การเรียนรู ้ของสิงมี ่ ชวี ต ิ เกิดจากการวางเงือนไข ่
(Conditioning) คือ การตอบสนองหรือการเรียนรู ้ทีเกิ ่ ดขึนนั
้ ้น ๆ

ต ้องมีเงือนไขหรื อมีการสร ้างสถานการณ์ให ้เกิดขึน้ เช่น
สุนัขได ้ยินเสียงกระดิงแล ่ ้วน้าลายไหล เป็ นต ้น
โดยเสียงกระดิงคื ่ อสิงเร ่ ้าทีต ่ ้องการให ้เกิดการเรียนรู ้จากการวางเงือนไข ่
่ ยกว่า “สิงเร
ซึงเรี ่ ้าทีวางเงื ่ ่
อนไข (Conditioned stimulus)
และปฏิบต ิ ริ ยิ าการเกิดน้าลายไหลของสุนัข เรียกว่า
ั ก
“การตอบสนองทีถู ่ กวางเงือนไข ่ (Conditioned response)
่ นพฤติกรรมทีแสดงถึ
ซึงเป็ ่ งการเรียนรู ้จากการวางเงือนไข ่
ทฤษฎีการวางเงือนไขแบบคลาสสิ ่ กของพาฟลอฟนอกจากจะเป็ นการเรี
่ ดจากการวางเงือนไขหรื
ยนรู ้ทีเกิ ่ อมีการสร ้างสถานการณ์ขนมาแล ึ้ ้ว
ยังหมายถึงการสร ้างความสัมพันธ ์ระหว่าง
่ ้ากับปฏิกริ ยิ าตอบสนองอย่างฉับพลัน หรือปฏิกริ ยิ าสะท ้อน (Reflex)
สิงเร

ซึงพาฟลอฟได ้อธิบายเรืองราวการวางเงื ่ ่
อนไขในแง่ ่ ้า (Stimulus - S)
ของสิงเร
และการตอบสนอง (Response - R)
ว่า อินทรีย ์มีการเชือมโยงสิ ่ ่ ้าบางอย่างกับการตอบสนองบางอย่างมาตังแต่
งเร ้ แร
กเกิด แล ้วพัฒนาขึนเรื ้ อย ่ ๆ เมือเติ ่ บโตขึนตามธรรมชาติ้
่ ้าทีเกิ
โดยสิงเร ่ ดขึนตามธรรมชาติ
้ เรียกว่า สิงเร ่ ้าทีไม่ ่ ได ้ วางเงือนไข

(Unconditioned stimulus = UCS) หมายถึง สิงเร ่ ้าทีมี
่ อยู่ในธรรมชาติ
และเมือน ่ ามาใช ้คูก ่ บ ั สิงเร ่ ้าทีวางเงื ่ ่
อนไขแล ้วทาให ้เกิดการเรียนรู ้หรือตอบสนอง
จากการวางเงือนไขได ่ ้ และการตอบสนองทีเกิ ่ ดขึนตามธรรมชาติ
้ เรียกว่า
7

การตอบสนองทีไม่ ่ ได ้วางเงือนไข
่ (Unconditioned response = UCR)

ซึงหมายถึ ง การตอบสนองตามธรรมชาติทไม่ ่ี ต ้องมีการบังคับ
เช่น การเคาะเอ็นทีสะบ ่ ้าหัวเข่าทาให ้เกิดการกระตุกขึนนั ้ ้น
เป็ นปฏิกริ ยิ าสะท ้อนโดยธรรมชาติ
(Reflex) สมมุตวิ ่าเราสร ้างการเชือมโยงบางอย่่ ้
างขึนในระบบประสาท เช่น

สันกระดิ ่ กครงที
งทุ ้ั มี
่ การเคาะหัวเข่า
จากนั้นเข่าจะกระตุกเมือได ่ ่
้ยินเสียงกระดิงโดยไม่ ต ้องเคาะหัวเข่า เป็ นต ้น
จากหลักการข้างต้นสามารถสรุปหลักการเรียนรู ้ของพาฟลอฟเป็ นแ
ผนผัง ด ังนี ้
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค = สิงเร
่ ้าทีวางเงื
่ ่อนไข +
่ ้าทีไม่
สิงเร ่ ได้วางเงื่อนไข = การเรียนรู ้

การนาหลักการมาประยุกต ์ใช้ในการสอน
1. ครูสามารถนาหลักการเรียนรู ้ของทฤษฎีนี ้

มาทาความเข ้าใจพฤติกรรมของผูเ้ รียนทีแสดงออกถึ งอารมณ์
้ ้านดีและไม่ดี รวมทังเจตคติ
ความรู ้สึกทังด ้ ตอ ่
่ สิงแวดล อ้ มต่างๆ
่ ยนกิจกรรมหรือครูผูส้ อน
เช่นวิชาทีเรี

เพราะเขาอาจได ้ร ับการวางเงือนไขอย่ างใดอย่างหนึ่ งอยู่ก็เป็ นได ้
2. นาไปปร ับพฤติกรรมทีไม่่ พงึ ประสงค ์ ในการเรียนของนักเรียนอันเป็ น
อุปสรรคต่อการศึกษาเช่น เด็กไม่ชอบเรียนคณิ ตศาสตร ์
เรียนคณิ ตศาสตร ์ >
เด็กไม่ชอบ
3. เล่นเกม > เด็กชอบ
เรียนคณิ ต+เล่นเกม
> เด็่กชอบ
ครูนาทฤษฎีไปสร ้างบรรยากาศทีดี ในการเรียนการสอน
่ เรียนคณิ ตศาสตร ์ >
่ ครู
อันเป็ นการวางเงือนไขที ดี สามารถวางตัวให ้ผูเ้ รียน เกิดความศร ัทธา
เป็ นกันเอง และอบอุน ่ กชอบ
เด็
่ จัดสิงแวดล ่
อ้ มในสถานศึกษาเพือกระตุ ้น
ให ้ผูเ้ รียนรกั สถาบันศึกษาได ้
8

4. ครูควรใช ้หลักการเรียนรู ้จากทฤษฎี


ปลูกฝังความรู ้สึกและเจตคติทดี ่ี ต่อ เนื อหาวิ
้ ชา กิจกรรมนักเรียน

ครูผูส้ อนและสิงแวดล ่ ทีเกี
อ้ มอืนๆ ่ ยวข
่ ้องให ้เกิดในตัวผูเ้ รียน
5. ครูสามารถป้ องกันความรู ้สึกล ้มเหลว ผิดหวัง
และวิตกกังวลของผูเ้ รียนได ้โดยการส่งเสริม
ให ้กาลังใจในการเรียนและการทากิจกรรมไม่
คาดหวังผลเลิศจากผูเ้ รียนและหลีกเลียง ่
การใช ้อารมณ์หรือลงโทษผูเ้ รียนอย่างรุนแรง

จนเกิดการวางเงือนไขขึ ้
นกรณี ่ี เ้ รียนเกิด ความเครียด และวิตกกังวลมาก
ทผู
9

2.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก, จอห ์น บี.ว ัตสัน


(Classical Conditioning Thoery, John B. Watson)
เป็ นนักจิตวิทยาชาวอเมริกน
ั มีชว่ งชีวต
ิ อยู่ระหว่างปี
ค.ศ. 1878 – 1958 รวมอายุได ้ 90 ปี

วัตสันได ้นาเอาทฤษฎีของพาฟลอฟมาและถือว่าเขาเป็ นผูน้ าแห่งกลุ่มจิตวิทยา


พฤติกรรมนิ ยม
และทฤษฎีของเขามีลก ่
ั ษณะในการอธิบายเรืองการเกิ
ดอารมณ์จากการวางเงือ ่
นไข
หลักการเรียนรู ้ของว ัตสัน
่ นการวางเงือนไขแบบคลาสสิ
ซึงเป็ ่ ค คือการใช ้สิงเร ่ ้าสองสิงคู ่ ก ่ น ั
่ ้าทีมี
สิงเร ่ การวางเงือนไข ่ (CS) กับสิงเร่ ้าทีไม่
่ วางเงือนไข
่ (UCS)

เพือให ้เกิดการตอบสนองทีต ่ ้องการ คือ การเรียนรู ้นั่นเองและการทีจะทราบว่ ่ า

การวางเงือนไขแบบคลาสสิ คได ้ผลหรือไม่ ก็คอ ื การตัดสิงเร ่ ้าทีไม่ ่ วางเงือนไข่
(CS)
ถ ้ายังมีการตอบสนองเหมือนเดิมทียั ่ งมีสงเร
่ิ ้าทีไม่
่ วางเงือนไขอยู
่ ่แสดงว่าการวาง

เงือนไขได ่ เพิ
้ผล สิงที ่ มเติ
่ มในหลักการเรียนรู ้ของวัตสัน
คือแทนทีจะทดลองกั ่ บสัตว ์ เขากลับใช ้การทดลองกับคน เพือทดลองกั ่ บคน
ก็มก ั จะมีอารมณ์มากเกียวข ่ ้อง วัตสันกล่าวว่าอารมณ์ทเกิ ่ี ดขึน้ เช่น
อารมณ์กลัวมีผลต่อสิงเร ่ ้าบางอย่างตามธรรมชาติอยู่แล ้ว
อาจจะทาใหก้ ลัวสิงเร ่ ้าอืนที ่ มี ่ อยู่รอบ ๆ
ต่างกายอีกได ้จากการเงือนไขแบบคลาสสิ ่ ค
โดยให ้สิงเร ่ ้าทีมี ่ ความกลัวตามธรรมชาติ เป็ นสิงเร ่ ้าทีไม่
่ วางเงือนไข ่ (UCS)
กับสิงเร ่ ้าอืนที ่ ต ่ ้องการให ้เกิดความกลัว เป็ นสิงเร ่ ้าทีวางเงื
่ ่
อนไข (CS)
มาคูก ่ น
ั บ่อย ๆ เข ้าในทีสุ ่ ดก็จะเกิดความกลัวในสิงเร ่ ้าทีวางเงื
่ ่
อนไขได ้
10

และเมือท ่ าให ้เกิพฤติกรรมใดได ้


วัตสันเชือว่่ าสามารถลบพฤติกรรมนั้นให ้หายไปได ้
การทดลอง
การทดลองของวัตสัน วัตสันได ้ร่วมกับเรย ์เนอร ์ (Watson and
Rayner 1920) ได ้ทดลองวางเงือนไขเด็ ่ กอายุ 11 เดือน
ด ้วยการนาเอาหนู ตะเภาสีขาวเสนอให ้เด็กดูคู่กบ ั การทาเสียงดัง
เด็กตกใจจนร ้องไห ้ เมือน ่ าเอาหนู ตะเภาสีขาวไปคูก ่ บ
ั เสียงดังเพียงไม่กคร ่ี ง้ั
เด็กก็เกิดความกลัวหนู ตะเภาสีขาว และกลัวสิงอื ่ น ่ ๆ
่ ลก
ทีมี ั ษณะคล ้ายหนู ตะเภาหรือมีลก ้
ั ษณะสีขาว เช่น กระต่าย สุนัข เสือขนสั ตว ์
่ นสิงเร
ซึงเป็ ่ ้าทีคลายคลึ
่ งกัน
ความคล ้ายคลึงกันทาให ้กรริยาสะท ้อนตกอยู่ภายใต ้การควบคุมของสิงเร ่ ้ามาก
้ กทีเคยกลั
ขึนเด็ ่ ้ ขาว
วหมอฟันใส่เสือสี
ก็จะกลัวหมอคนอืนที ่ แต่
่ งตัวคล ้ายกันความคล ้ายคลึงกันก็สามารถทาให ้ลดลง
โดยการจาแนกได ้เช่นเดียวกัน เช่นถ ้าหากต ้องการให ้เด็กกลัวเฉพาะอย่าง
ก็ไม่เสนอสิงเร ่ ้าทังสองอย่
้ างพร ้อมกัน
แต่เสนอสิงเร ่ ้าทีละอย่างโดยให ้สิงเร
่ ้านั้นเกิดความรู ้สึกในทางผ่อนคลายลง

จากการทดลองด ังกล่าว วต ั สันสรุปเป็ นทฤษฎีการเรียนรู ้ ดงั นี ้


่ สามารถควบคุ
1. พฤติกรรมเป็ นสิงที ่ ้
มให ้เกิดขึนได ้
โดยการควบคุมสิงเร ่ ้าทีวางเงื
่ ่
อนไขให ่ ้าตามธรรมชาติ
้สัมพันธ ์กับสิงเร
และการเรียนรู ้จะคงทนถาวรหากมีการให ้สิงเร ่ ้าทีสั
่ มพันธ ์กันนั้นควบคูก
่ น
ั ไปอย่
างสม่าเสมอ

2. เมือสามารถท าใหเ้ กิดพฤติกรรมใด ๆ ได ้
ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นใหห้ ายไปได ้
ลักษณะของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
1. การตอบสนองเกิดจากสิงเร ่ ้า หรือสิงเร ่ ้าเป็ นตัวดึงการตอบสนองมา

2. การตอบสนองเกิดขึนโดยไม่ ้
ได ้ตังใจ หรือไม่ได ้จงใจ
3. ใหต้ วั เสริมแรงก่อน แล ้วผูเ้ รียนจึงจะตอบสนอง เช่น
้ อนจึงจะมีน้าลายไหล
ให ้ผงเนื อก่
11

4. รางวัลหรือตัวเสริมแรงไม่มค ่
ี วามจาเป็ นต่อการวางเงือนไข
5. ไม่ต ้องทาอะไรกับผูเ้ รียน
เพียงแต่คอยจนกระทังมี ่ สงเร
่ิ ้ามากระตุ ้นจึงจะเกิดพฤติกรรม

6. เกียวข ้องกับปฏิกริ ยิ าสะท ้อนและอารมณ์
่ ระบบประสาทอัตโนมัตเิ ข ้าไปเกียวข
ซึงมี ่ ้องในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคค

การประยุกต ์ใช้ในด้านการเรียนการสอน
1. ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความแตกต่างทางด ้านอารมณ์มแี บบแผน การตอบสนองได ้ไม่เท่ากัน

จาเป็ นต ้องคานึ งถึงสภาพทางอารมณ์ผูเ้ รียนว่าเหมาะสมทีจะสอนเนื ้
อหาอะไร

2. การวางเงือนไข ่ เกี
เป็ นเรืองที ่ ยวกั
่ บพฤติกรรมทางด ้านอารมณ์ด ้วย

โดยปกติผูส้ อนสามารถทาให ้ผูเ้ รียนรู ้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื อหาที ่ ยนหรือ
เรี

สิงแวดล ้อมในการเรียน

3. การลบพฤติกรรมทีวางเงื ่
อนไข ่ กวางเงือนไขให
ผูเ้ รียนทีถู ่ ้กลัวผูส้ อน
เราอาจช่วยได ้โดยป้ องกันไม่ให ้ผูส้ อนทาโทษเขา
4. การสรุปความเหมือนและการแยกความแตกต่าง เช่น

การอ่านและการสะกดคา ผูเ้ รียนทีสามารถสะกดค าว่า "round"
เขาก็ควรจะเรียนคาทุกคาทีออกเสี ่ ยง o-u-n-d ไปในขณะเดียวกันได ้
เช่นคาว่า found, bound, sound, ground, แต่คาว่า wound (บาดแผล)
นั้นไม่ควรเอาเข ้ามารวมกับคาทีออกเสี
่ ยง o - u - n - d

และควรฝึ กใหร้ ู ้จักแยกคานี ออกจากกลุ ่ม

2.3
ทฤษฎีการเรียนรู ้แบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท ์
(Operant Conditioning Theory)
12


ทฤษฎีการเรียนรู ้แบบการวางเงือนไขแบบโอเปอแรนท ์ (Operant

Conditioning Theory) หรือ ทฤษฎีการวางเงือนไขแบบการกระท ่
า ซึงมี
่ ค.ศ.
สกินเนอร ์ (B.F. Skinner) เป็ นเจ ้าของทฤษฎี สกินเนอร ์ เกิดเมือปี
1904 เขาเป็ นนักการศึกษาและนักจิตวิทยาทีมี ่ ชอเสี
่ื ยงมาก

เขาได ้ทดลองเกียวกั ่
บการวางเงือนไขแบบอาการกระท า (Operant
้ ปี ค.ศ. 1935
Conditioning) จนได ้ร ับการยอมรบั อย่างกว ้างขวางตังแต่
เป็ นต ้น

แนวคิด
สกินเนอร ์มีแนวคิดว่า

การเรียนรู ้เกิดขึนภายใต ่
้เงือนไขและสภาวะแวลล ่
้อมทีเหมาะสม
เพราะทฤษฎีนีต ้ ้องการเน้นเรืองสิ
่ งแวดล
่ ่
อ้ ม สิงสนั บสนุ นและการลงโทษ
โดยพัฒนาจากทฤษฎีของ พาฟลอฟ และธอร ์นไดค ์
โดยสกินเนอร ์มองว่าพฤติกรรมของมนุ ษย ์เป็ นพฤติกรรมทีกระท ่ ่
าต่อสิงแวดล ้อ
มของตนเอง พฤติกรรมของมนุ ษย ์จะคงอยู่ตลอดไป จาเป็ นต ้องมีการเสริมแรง

ซึงการเสริ ้ ทงการเสริ
มแรงนี มี ้ั มแรงทางบวก (Positive Reinforcement)
และการเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement)
การเสริมแรง หมายถึง
่ นอั
การทาให ้มีพฤติกรรมเพิมขึ ้ นเนื่ องจากผลกรรม ได ้แก่
1.เสริมแรงทางบวก เช่น ทางานเสร็จแล ้วแม่ให ้ถูโทรทัศน์

2. เสริมแรงทางเชิงลบ เช่น การขึนสะพานลอยเพื ่ นจากการถูกจับ
อพ้
ในการด ้านการเสริมแรงนั้น สกินเนอร ์ใหค้ วามสาคัญเป็ นอย่างยิง่
โดยได ้แยกวิธก
ี ารเสริมแรงออกเป็ น 2 วิธ ี คือ
13

1. การใหก้ ารเสริมแรงทุกครง้ั (Continuous Reinforcement)


เป็ นการให ้การเสริมแรงทุกครงที ้ั ผู่ เ้ รียนแสดงพฤติกรรมทีพึ ่ งประสงค ์ตามทีก
่ าห
นดไว ้
2. การใหก้ ารเสริมแรงเป็ นครงคราว ้ั (Partial Reinforcement)
เป็ นการให ้การเสริมแรงเป็ น
้ั
ครงคราว ้ั ผู
โดยไม่ใหท้ ุกครงที ่ เ้ รียนแสดงพฤติกรรมทีพึ ่ งประสงค ์
โดยแยกการเสริมแรงเป็ นครงคราว ้ั ได ้ดังนี ้
2.1 เสริมแรงตามอัตราส่วนทีแน่ ่ นอน
2.2 เสริมแรงตามอัตราส่วนทีไม่ ่ แน่ นอน
2.3 เสริมแรงตามช่วงเวลาทีแน่ ่ นอน
2.4 เสริมแรงตามช่วงเวลาทีไม่ ่ แน่ นอน

ตัวอย่างตารางการให้การเสริมแรง
ตารางการเสริมแรง ลักษณะ ต ัวอย่าง
้ั เปิ
่ ดโทรทัศน์แ
การเสริมแรงทุกครง้ั ้ั ่ ทุกครงที
เป็ นการเสริมแรงทุกครงที
ล ้ว
(Continuous) แสดงพฤติกรรม
เห็นภาพ
การเสริมแรงความช่วงเ
ให ้การเสริมแรงตามช่วงเว ทุก ๆ
วลาที่
ลาที่ สัปดาห ์ผูส้ อนจะทา
แน่ นอน (Fixed -
กาหนด การทดสอบ
Interval)
การเสริมแรงตามช่วงเว
ให ้การเสริมแรงตามระยะเ ผูส้ อนสุ่มทดสอบตามช่
ลาที่
วลา วงเวลา
ไม่แน่ นอน ่ แน่ นอน ่ ้องการ
ทีไม่ ทีต
(Variable - Interval)
การเสริมแรงตามจานว ให ้การเสริมแรงโดยดูจาก
นครง้ั ้ั
จานวนครงของการตอบส การจ่ายค่าแรงตามจาน
ของการตอบสนองทีแน่่ นอง วน
นอน ่ กต ้องด ้วยอัตราทีแน่
ทีถู ่ น ้ั ขายของได
ครงที ่ ้
(Fixed - Ratio) อน
14

การเสริมแรงตามจานว
ให ้การเสริมแรงตามจานว
นครง้ั ้ั การได ้ร ับรางวัลจากเครื่
่ นคร ง
ของการตอบสนองทีไม่ อง
ของการตอบสนองแบบไม่
แน่ นอน เล่นสล๊อตมาชีน
แน่ นอน
(Variable - Ratio)


สกินเนอร ์ (B.F. Skinner) ได ้กาหนดการวางเงือนไขการกระท า
่ นเทคนิ คทีใช
ซึงเป็ ่ ้กันมากในปัจจุบน ั โดยวิธก ่
ี ารวางเงือนไขจะใช ้การเสริมแรง
โดยทดลองกับสัตว ์ในห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารและค ้นคว ้าจนพบว่าใช ้ได ้ดีกบ ั มนุ ษย ์
หลักการวางเงื่อนไขผลกรรม (Operant Conditioning)
มีแนวคิดว่า การกระทาใด ๆ (Operant) ย่อมก่อใหเ้ กิดผลกรรม
(Consequence หรือ Effect)

การเรียนรู ้เงื่อนไขผลกรรมนี ต้
้ องการให้เกิดพฤติกรรมโดยใช้ผลกรร
มเป็ นต ัวควบคุม
15


การเรียนรู ้เงือนไขผลกรรมนี ้ ้องการให ้เกิดพฤติกรรมโดยใช ้ผลกรรมเป็

นตัวควบคุม ผลกรรมทีเกิ ่ ดขึน้
- ถ้าเป็ นผลรวมทีต้ ่ องการ เป็ นผลกรรมเชิงบวก เรียก การเสริมแรง
- ถ้าเป็ นผลรวมทีไม่ ่ ตอ้ งการ เป็ นผลกรรมเชิงลบ เรียกว่า การลงโทษ
การเสริมแรงแต่ละวิธใี ห ้ผลต่อการแสดงพฤติกรรมทีต่ ่ างกัน และพบว่า
การเสริมแรงตามอัตราส่วนทีไม่ ่ แน่ นอนจะให ้ผลดีในด ้านทีพฤติ ่ กรรมทีพึ ่ งประส

งค ์จะเกิดขึนในอั ตราสูงมาก
และเกิดขึนต่ ้ อไปอีกเป็ นเวลานานหลังจากทีไม่ ่ ได ้ร ับการเสริมแรง
จากการศึกษาและทดลองของสกินเนอร ์นั้น สามารถสรุปเป็ นลักษณะ
และทฤษฎีการเรียนรู ้ของทฤษฎีการวางเงือนไขแบบโอเปอแรนท ่ ์หรือทฤษฎีการ

วางเงือนไขแบบการกระท าได ้ดังนี ้
ลักษณะของทฤษฎีโอเปอแรนท ์
1. การตอนสนองเกิดจากอินทร ์เป็ นผูก้ ระทาขึนเอง ้ (Operant
Behavior)
2. การตอบสนองเกิดขึนโดยตั ้ ้
งใจ หรือจงใจ (Voluntary
Response)
3. ให ้ตัวเสริมแรงหลังจาก ทีมี ่ การตอบสนองขึนแล ้ ้ว
4. ถือว่ารางวัลหรือตัวเสริมแรงมีความจาเป็ นมากต่อการวางเงือนไข ่
่ นไปตามกฎแห่งความพอใจ (Law of Effect)
ซึงเป็
5. ผูเ้ รียนต ้องทาอะไรอย่างหนึ่ งอย่างใด จึงจะได ้ร ับการเสริมแรง
6. เป็ นการเรียนรู ้
่ ยวกั
ทีเกี ่ บการตอบสนองของกระบวนการทางสมองทีสู ่ งกว่า
อันมีระบบประสาทกลางเข ้าไปเกียวข ่ ้อง
ทฤษฎีการเรียนรู ้
1. การกระทาใด ๆ ถ ้าได ้ร ับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มทีจะเกิ ่ ดขึนอี ้ ก
ส่วนการกระทาทีไม่ ่ ม
การเสริมแรง แนวโน้มทีความถี ่ ่
ของการกระท านั้นจะลดลงและหายไปในทีสุ ่ ด
2.
การเสริมแรงทีแปรเปลี ่ ่
ยนท าให ้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงทีตายตั ่ ว
3. การลงโทษทาใหเ้ รียนรู ้ได ้เร็วและลืมเร็ว
4. การใหแ้ รงเสริมหรือให ้รางวัลเมืออิ ่ นทรีย ์กระทาพฤติกรรมทีต ่ ้องการ
สามารถช่วยปร ับ
16

่ ้องการได ้
หรือปลูกฝังนิ สยั ทีต
การนาทฤษฎีไปประยุกต ์ใช้
1. การเสริมแรงทางบวก (Positive
Reinforcement) เมือมี ่ การแสดงออก ซึงพฤติ ่ กรรมจิตสาธารณะ

ซึงอาจใช ้ตัวเสริมแรงได ้เป็ น 4 ประเภท คือ
1.1 ตัวเสริมแรงทีเป็่ นสิงของ่ ( material
reinforce ) เป็ นตัวเสริมแรงทีประกอบได ่ ้ด ้วยอาหาร ของทีเล่ ่ นได ้

และสิงของต่ างๆ เช่น เสือผ ้ า้ ของเล่น รถยนต ์
1.2 ตัวเสริมแรงทางสังคม ( social reinforce )
ตัวเสริมแรงทางสังคมเป็ นตัวเสริมแรงทีไม่ ่ ต ้องลงทุนซือหามี ้ อยู่กบ
ั ตัวเราและค่อ
นข ้างจะมีประสิทธิภาพสูงในการปร ับพฤติกรรม แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ คาพูด
ได ้แก่ คาชมเชย เช่น ดีมาก น่ าสนใจมาก และการแสดงออกทางท่าทาง เช่น
ยิม้ จับมือ
1.3 ตัวเสริมแรงทีเป็ ่ นกิจกรรม ( activity reinforce)
เป็ นการใช ้กิจกรรมหรือพฤติกรรมทีชอบไปเสริ ่ มแรงกิจกรรมหรือพฤติกรรมทีไ่
ม่ชอบ
1.4 ตัวเสริมแรงทีเป็ ่ นเบียอรรถกร
้ (token reinforce)

โดยการนาเบียอรรถกรไปแลกเป็ นตัวเสริมแรงอืนๆได ่ ้ เช่น ดาว คูปอง โบนัส
เงิน คะแนน
2. การเสริมแรงทางลบ ( negative
reinforcement ) เป็ นการทาใหค้ วามถีของพฤติ ่ กรรมคงทีหรื ่ อเพิมมากขึ
่ น้

ซึงการเสริ มแรงทางลบของผูส้ อนควรปฏิบต ั ิ คือ ทาทันทีหรือเร็วทีสุ ่ ด
เมือพฤติ่ กรรมทีไม่ ่ ต ้องการเกิดขึน้
ควรให ้มีความรุนแรงพอเหมาะไม่มากหรือน้อยจนเกินไป
ควรให ้ผูถ้ ก ู ลงโทษรู ้ว่าพฤติกรรมใดทีถู ่ กลงโทษและเพราะเหตุใด
ควรใช ้เหตุผลไม่ใช ้อารมณ์ ควรใช ้การลงโทษควบคูก ่ บ ั การเสริมแรงบวก
ผูล้ งโทษต ้องเป็ นตัวแบบทีดี ่ ในทุกๆด ้าน และการลงโทษควรเป็ นวิธส ี ุดท ้าย
ถ ้าไม่จาเป็ นก็ไม่ควรใช ้การลงโทษ
3. การกาจัดพฤติกรรมทีไม่ ่ พงึ ประสงค ์
1. ไม่สนใจ แต่ระวัง การเรียกร ้องความสนใจ
2. เสริมแรงทุกพฤติกรรมทีไม่ ่ ใช่พฤติกรรมทีไม่ ่ พงึ ประสงค ์
3. เสริมแรงพฤติกรรมอืนแทน ่
17

4. เสริมแรงพฤติกรรมทีไม่ ่ ทาให ้พฤติกรรมทีไม่


่ พงึ ประสงค ์เกิด เช่น
เสริมแรงพฤติกรรมนั่ง เพือที่ พฤติ
่ กรรมลุกจะได ้ไม่เกิด (Incompatible
Behavior)
4. การเรียนการสอน
4.1 Observable & Measurement คือ สังเกตและวัดได ้ เช่น

หลังเรียนคอร ์สนี จบแล ้วจะสามารถอธิบายทฤษฎีได ้
4.2 Conditions คือ เงือนไข่ เช่น
่ าหนดแผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบให ้
เมือก
สามารถอ่านข ้อมูลและอภิปรายประเด็นต่างๆได ้
4.3 Criterion คือ เกณฑ ์ เช่น

หลังเรียนคอร ์สนี จบแล ้วจะสามารถทาข ้อสอบ O-NET ได ้ 80%
4.4 Programmed Instruction and Computer-Assisted
Instruction เช่น ใช ้โปรแกรมช่วยสอนสาเร็จรูป
4.5 Mastery Learning คือ เรียนให ้ประสบความสาเร็จไปทีละขัน ้
เช่น ต ้องสอบบทที่ 1 ให ้ผ่าน จึงจะสอนบทต่อไป
18

2.4 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่องของกัทธรี
(Guthrie’s Continuous Conditioning Theory)
เอ็ดวิน อาร ์ กัทธรี (Edwin R. Guthrie)
มีชว่ งชีวต
ิ อยู่ในระหว่างปี ค.ศ. 1886 – 1959
รวมอายุได ้ 73 ปี

เป็ นศาสตราจารย ์ทางจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยวอชิงตันสหร ัฐอเมริกา


เป็ นบุคคลสาคัญบุคคลหนึ่ งทีท ่ าให ้วงการทฤษฎีการเรียนรู ้ก ้าวหน้าไปได ้ไกล
่ ้นของทฤษฎีการเรียนรู ้ของเขามีรากฐานมาจาก
จุดเริมต
“ทฤษฎีการเรียนรู ้ของวัตสัน” คือ

การศึกษาการวางเงือนไขแบบคลาสสิ คหรือผลจากการแสดงปฏิกริ ยิ าสะท ้อน
(Reflex) เน้นถึงการเรียนรู ้แบบสัมพันธ ์ต่อเนื่ อ
แต่ตอ่ มาเขาได ้พัฒนาทฤษฎีของเขาให ้มีเอกลักษณะของตนมากขึน้
่ มที กัทธรี เริมอาชี
แรกเริมเดิ ่ ้
พจากการเป็ นครู จนกระทังเขาอายุ 45 ปี
่ นมาสนใจสอนเฉพาะวิชาทางจิตวิทยาแก่นิสต
เขาจึงเริมหั ิ ปริญญาตรีในมหาวิ
ทยาลัยวอชิงตัน จนกระทังเป็่ นศาสตราจารย ์ทางจิตวิทยาดังกล่าวข ้างต ้น

ด ้วยเหตุนีเขาจึ
งศึกษาทางด ้านปร ัชญามาก่อนทีจะศึ ่ กษาทางด ้านจิตวิทยา
ในปี ค.ศ. 1921 สมิธ (Smith) และกัทธรีได ้เขียนหนังสือชือจิ ่ ตวิทยาเบืองต
้ ้น
(Introductory psychology textbook) ขึน้

กล่างถึงการวางเงือนไขที ่ บซ ้อนต่าง ๆ มากกว่าของวัตสันและพาฟลอฟ
ซั
19

หลักการเรียนรู ้ของทฤษฎี
กัทธรีกล่าวว่าการเรียนรู ้ของอินทรีย ์เกิดจากความสัมพันธ ์ต่อเนื่ องระหว่
างสิงเร ่ ้ากับการตอบสนอง โดยเกิดจากการกระทาเพียงครงเดี ั้ ยว (One-trial
Learning) มิต ้องลองทาหลาย ๆ ครง้ั
เขาเชือว่ ่ าเมือใดก็ ่ ตามทีมี ่ การตอบสนองต่อสิงเร ่ ้าแสดงว่าอินทรีย ์เรียนรู ้ทีจะตอ

บสนองต่อสิงเร ่ ้าทีปรากฏในขณะนั
่ ้นทันที
และเป็ นการตอบสนองต่อสิงเร ่ ้าอย่างสมบูรณ์ ไม่จาเป็ นต ้องฝึ กหัดอีกต่อไป
เขาค ้านว่าการฝึ กในครงต่ ้ั อไปไม่มผ ่ ้าและการตอบสนองสัมพันธ ์กันแ
ี ลให ้สิงเร
น่ นแฟ้ นขึนเลย ้ ่
(ซึงแนวความคิ ้
ดนี ตรงกั นข ้ามกับแนวความคิดของธอร ์นไดค ์
่ าวว่าการเรียนรู ้จะเกิดจากการลองผิดลองถูก
ทีกล่
โดยกระทาการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง
และเมือเกิ ่ ดการเรียนรู ้คือการแก ้ปัญหาแลว้ จะต ้องมีการฝึ กหัดให ้กระทาซาบ่ ้ อย
ๆ)
ก ัทธรี กล่าวว่า “สิงเร ่ ้า
ทีท ่ าให้เกิดอาการเคลือนไหวเป็ ่ ่ ้าทีวางเงื
นสิงเร ่ ่อนไขทีแท้ ่ จริง”
การทดลอง
กัทธรีและฮอร ์ตัน (Horton) ได ้ร่วมกันทดลองการเรียนรู ้แบบต่อเนื่ อง
โดยใช ้แมวและสร ้างกล่องปัญหาขึน้ ซึงมี ่ ลก ั ษณะพิเศษ คือ
มีกล ้องถ่ายภาพยนตร ์ติดไว ้ทีกล่ ่ องปัญหาด ้วย นอกจากนี ยั ้ งมีเสาเล็ก ๆ
อยู่กลางกล่อง และมีกระจกทีประตู ่ ทางออก
จุดประสงค ์ของการทดลอง คือ
ต ้องการรู ้รายละเอียดเกียวกั ่ บอาการเคลือนไหของแมว ่ ่
(ซึงคาดว่ า
เมือแมวเข่ ้ามาทางประตูหน้า ถ ้าแมวแตะทีเสาไม่ ่ ว่าจะแตะในลักษณะใดก็ตาม
ประตูหน้าจะเปิ ดออกและแมวจะหนี ออกจากกล่องปัญหา

ซึงพฤติ กรรมทังหมดจะได้ ้ร ับการบันทึกด ้วยกล ้องถ่ายภาพยนตร ์

ซึงจะเริ ่ ายตังแต่
มถ่ ้ ประตูเริมปิ ่ ดจนกระทังแมวออกไปพ้ ่ นจากกล่องปัญหา)
ในการทดลอง กัทธรีจะปล่อยแมวทีหิ ่ วจัดเข ้าไปในกล่องปัญหา
แมวจะหาทางออกทางประตูหน้า ซึงเปิ ่ ดแงม้ อยู่ โดยมีปลาแซลมอน (Salmon)
วางไว ้บนโต๊ะทีอยู ่ ่เบืองหน้
้ าก่อนแล ้ว ตลอดเวลาในการทดลอง
กัทธรีจะจดบันทึกพฤติกรรมต่าง ๆ
ของแมวตังแต่ ้ ถูกปล่อยเข ้าไปในกล่องปัญหาจนหาทางออกจากกล่องได ้
ผลทีได้ ่ จากการทดลอง สรุปได้ด ังนี ้
20

1. แมวบางตัวจะกัดเสาหลายครง้ั
2. แมวบางตัวจะหันหลังชนเสาและหนี จากกล่องปัญหา
3. แมวบางตัวอาจใช ้ขาหน้าและขาหลังชนเสาและหมุนรอบ ๆ เสา
จากผลการทดลองด ังกล่าว ก ัทธรีได้สรุปเป็ นกฎการเรียนรู ้
ด ังนี ้
กฎการเรียนรู ้
กัทธรีกล่าวว่า พฤติกรรมของมนุ ษย ์มีสงเร ่ิ ้าควบคุม

และการเชือมโยงระหว่ ่ ้ากับการตอบสนองจะเปลียนไปตามกฎเกณฑ
างสิงเร ่ ์
เขายอมร ับว่าพฤติกรรมหลายอย่างมีจด ุ มุ่งหมาย พฤติกรรมใดทีท ่ าซา้ ๆ
เกิดจากกลุ่มสิงเร ่ ้าเดิมมาทาให ้เกิดพฤติกรรมเช่นนั้นอีก
กัทธรีจงึ ได ้สรุปกฎการเรียนรู ้ต่าง ๆ ไวด้ งั นี ้
1. กฎแห่งความต่อเนื่ อง (Law of Contiguity)
่ สงเร
เมือมี ่ิ ้ากลุ่มหนึ่ งทีเกิ ่ ดพร ้อมกับอาการเคลือนไหว ่ ่ งเร
เมือสิ ่ ้านั้นเกิดขึนอี้ ก
อาการเคลือนไหวเดิ่ มก็มแี นวโน้มทีจะเกิ่ ดตามมาด ้วย เช่น
เมือมี่ งูมาปรากฏต่อหน้าเด็กชาย ก. จะกลัวและวิงหนี ่ ทุกครงที ้ั เห็
่ นงู เด็กชาย ก.
ก็จะกลัวและวิงหนี ่ เสมอ ฯลฯ
2. กฎของการกระทาครงสุ ้ั ดท้าย (Law of Recency)
หลักของการกระทาครงสุ ้ั ดท ้าย
(Recency) นั้น
ถ ้าการเรียนรู ้เกิดขึนอย่้ างสมบูรณ์จากการกระทาเพียงครงเดี ้ั ยว
่ นการกระทาครงสุ
ซึงเป็ ้ั ดท ้ายในสภาพการณ์น้ัน

เมือสภาพการณ์ ใหม่เกิดขึนอี ้ กบุคคลจะทาเหมือนทีเคยได ่ ้กระทาในครงสุ ้ั ดท ้า
ย ไม่ว่าการกระทาครงสุ ้ั ดท ้ายจะผิดหรือถูก ก็ตาม
3. การเรียนรู ้เกิดขึนได้ ้ แม้เพียงครงเดี ้ั ยว (One trial
learning) เมือมี ่ สงเร่ิ ้ามากระตุ ้น อินทร ์จะ
แสดงปฏิกริ ยิ าตอบสนองออกมา ถ ้าเกิดการเรียนรู ้ขึนแล ้ ้วแมเ้ พียงครงเดี้ั ยว
ก็นับว่าได ้เรียนรู ้แล ้ว ไม่จาเป็ นต ้องทาซาอี ้ ก หรือไม่จาเป็ นต ้องฝึ กซา้
4. หลักการจู งใจ (Motivation) ในการทาให ้เกิดการเรียนรู ้นั้น
กัทธรีเน้นการจูงใจ
(Motivation) มากกว่าการเสริมแรง
่ แนวความคิดเช่นเดียวกับการวางเงือนไขแบบคลาสสิ
ซึงมี ่ คของพาฟลอฟและวั
ตสัน
21

การนาไปประยุกต ์ใช้ในการเรียนการสอน
1. การนาหลักการเรียนรู ้ไปใช ้
จากการหลักการเรียนรู ้ทีว่่ าการเรียนรู ้เกิดจากการกระทาหรือการตอบสนองเพี
้ั ยว ได ้ต ้องลองกระทาหลาย ๆ ครง้ั
ยงครงเดี
หลักการนี น่้ าจะใช ้ได ้ดีในผูใ้ หญ่มากกว่าเด็ก
และผูม้ ปี ระสบการณ์เดิมมากกว่าผูไ้ ม่เคยมีประสบการณ์เลย
2. ถ ้าต ้องการใหอ้ น ิ ทรีย ์เกิดการเรียนรู ้ควรใช ้การจูงใจ

เพือให ้เกิดพฤติกรรมมากกว่าการเสริมแรง
3.
เนื่ องจากแนวความคิดของกัทธรีคล ้ายคลึงกับแนวความคิดของวัตสันมาก
ดังนั้นการนาไป
ประยุกต ์ใช ้ในการเรียนการสอนก็เป็ นไปในทานองเดียวกันกับทฤษฎีของวัตสัน
นั้นเอง
4. กัทธรีเชือว่่ าการลงโทษมีผลต่อการเรียนรู ้
คือทาใหอ้ น ่
ิ ทรีย ์กระทาในสิงใดสิ ่
งหนึ ่ ง เขาแยก
การลงโทษออกเป็ น 4 ขัน ้ ดังนี ้
4.1 การลงโทษสถานเบา
อาจทาให ้ผูถ้ ูกลงโทษมีอาการตืนเต ่ ้นเพียงเล็กน้อย แต่ยงั คงแสด
พฤติกรรมเดิมอีกต่อไป

4.2 การเพิมการลงโทษ
อาจทาให ้ผูถ้ ูกลงโทษเลิกแสดงพฤติกรรมทีไม่ ่ พงึ ปรารถนาได ้
4.3 ถ ้ายังคงลงโทษต่อไป
การลงโทษจะเปรียบเสมือนแรงขับทีกระตุ ่ ่ ้า
้นให ้อินทรีย ์ตอบสนองต่อสิงเร
จนกว่าอินทรีย ์จะหาทางลดความเครียดจากแรงขับทีเกิ ่ ดขึน้
กัทธรีกล่าวว่าการเรียนรู ้ทีแท ่ ้จริงเกิดจากการได ้ร ับรางวัลทีพอใจ ่
4.4 ถ ้าเกิดพฤติกรรมทีไม่ ่ ดค ี อื พฤติกรรมทีไม่ ่ พงึ ปรารถนา
แล ้วลงโทษจะทาให ้มีพฤติกรรมอืนเกิ ่ ดตามมาหลังจากถูกลงโทษ
จึงควรขจัดพฤติกรรมทีไม่ ่ ดเี สียก่อน ก่อนทีจะลงโทษ ่
22

3. ทฤษฎีการเรียนรู ้ของฮัลล ์ (Hull’s Systematic Behavior


Theory)
ฮัลส ์ (Clark L. Hull, 1844-1952)
เป็ นนักจิตวิทยาชาวอเมริกน ั หลักการทดลองของเขา

่ นแบบ
ใช ้หลักการคณิ ตศาสตร ์มาสร ้างทฤษฏีทางจิตวิทยาอย่างมีระบบ ซึงเป็
S-R
คือการต่อเนื่ องระหว่างสิงเรากั
่ บการตอบสนองโดยกล่าวถึงกระบวนการเรียนรู ้
ต่าง ๆ
ในรูปของคณิ ตศาสตร ์มีการวิเคราะห ์แยกแยะระหว่างการจูงใจกับกลไกในการเ

รียน รู ้ และกล่างถึงพืนฐานของการเรี
ยนรู ้เกิดจากการเสริมแรงมากว่าการจูงใจ
หลักการเรียนรู ้ของทฤษฎีทฤษฎีการเรียนรู ้ชองฮัลส ์
23


เริมจากสมมุ ตฐิ านโดยใช ้กระบวนการอนุ มาน (Deductive Process)

ก่อนแล ้วจึงทดลองเพือทดสอบสมมุ ่
ตฐิ านและเมือสมมุ ่ นจริงเขาก็
ตฐิ านใดทีเป็
้ นทฤษฎีตอ
ได ้ตังเป็ ่ ไป
สมมุตฐิ านแรกของฮัลล ์
่ าการทีมนุ
ฮัลล ์เชือว่ ่ ษย ์และสัตว ์จะเกิดการเรียนรู ้ได ้ต ้องมีการสร ้างแรง
ขับ(Drive) ได ้แก่ ความหิว ความกระหาย

เป็ นต ้น ซึงเขากล่ าวว่า B=DxH
B = พฤติกรรม
(Behavior)
D = แรงขับ
(Drive)
การแสดงพฤติกรรมการเรียนรู ้มากหรือน้อยเกิดจากผลคูณระหว่างแรงขับ
(Drive) กับอุปนิ สยั (Habit) H = นิคสคลนั
ของบุ ยั (Habit)
้นเมือได
่ ้ร ับการเสริมแรง
เขียนเป็ นสมการได ้ว่า


ฮัลล ์ เน้นการเรียนรู ้ซึงจะเกิ ดขึนถ ้ ้าลดแรงขับ
และความต ้องการของร่างกาย การลดแรงขับนั้นไม่ จาเป็ นต ้องลดลงไปหมด
เพียงแต่ลดลงไปบางส่วน
การลดแรงขับมากหรือน้อยขึนอยู ้ ่กบ ั การพิจารณาของ รางวัล
แม้จะทาให ้เกิดการเรียนรู ้ แต่ก็กาหนดได ้ไม่แน่ นอน
อาจจะเป็ นรางวัลจานวนมากหรือน้อย และมี
ความหมายเพียงใดย่อมขึนอยู ้ ่กบ ่ นเป็
ั ผูเ้ รียนแต่ละคน การเรียนรู ้จะเพิมขึ ้ นระยะ

ซึงจะสะสมเพิ ่ นไปเรื
มขึ ้ ่ ๆ เป็ นลักษณะทีกระท
อย ่ าต่อเนื่ องกัน

การเสริมแรงจะทาใหก้ ารเรียนรู ้เพิมความแรงและกระชั บขึน้
แต่ในบางครงอั ้ั ตราการเพิมจะลดลงแม
่ ว้ ่าการเรียน
การเรียนรู ้ของแต่ละคนมีความไม่สม่าเสมอ มีขนมี ึ ้ ลง
เพราะมีตวั แปรหลายอย่างทีมี ่ อท ิ ธิพลต่อการเรียนรู ้
เพือ่ หาวิชาทีเรี ่ ยน ความพร ้อมของผูเ้ รียน สภาพของแรงขับ
24

ความแตกต่างระหว่างบุคคล
่ อใจเหล่านี เป็
เครืองล่ ้ นสิงเร ่ ้าทีอิ่ ทธิพลต่อการเรียนรู ้ของคนเราเป็ น อย่างมาก
การทดลอง
การทดลองทีสนั ่ บสนุ นสมมุตฐิ านของฮัลล ์ เป็ นการทดลองของวิเลียม
(William 1938)และเพอริน (Perin 1942) โดยมีขนตอนดั ้ั งนี ้
การทดลองของวิเลียม
เป็ นการฝึ กให ้หนู กดคานโดยแบ่งหนู ออกเป็ นกลุ่ม ๆ
แต่ละกลุ่มได ้ร ับการอดอาหารนานถึง 24 ชัวโมง ่
และมีแบบแผนในการเสริมแรงเป็ นแบบตายตัวตังแต่ ้ 5-90 กล่าวคือ
ต ้องกดคาน5 ครง้ั จึงได ้ร ับอาหาร 1 ครง้ั เรือย ่ ๆ ไป จนต ้องกดคาน 90 ครง้ั
จึงจะได ้อาหาร 1 ครง้ั
สาหร ับการทดลองของเพอริน เป็ นการฝึ กให้หนู กดคานเช่นเดียวกัน
โดยมีวธิ ก ี ารทดลองเช่นเดียวกับของวิลเลียมต่างกันตรงทีหนู ่ ทดลองของเพอริ
น ได ้ร ับการอดอาหารเพียง 3 ชัวโมง ่
การทดลองนี แสดงให้ เ้ ห็นว่าความเข ้มข ้น
ของการแสดงพฤติกรรมการเรียนรู ้ขึนอยู ้ ่กบ
ั แรงขับ (Drive)
คือความหิวของหนู กบ ั อุปนิ สยั ทีเกิ ่ ดขึนจากการได
้ ้ร ับการเสริมแรง
คืออาหารกับการตอบสนอง การกินอาหารยิงอดอาหารมาก ่ สร ้างแรงขับมาก ๆ
การแสดงพฤติกรรมการเรียนรู ้ (คือการกดคาน) ก็ยงเข ่ิ ้มข ้นมากขึนเท่
้ านั้น
กฎการเรียนรู ้ในทัศนะของฮัลล ์
เข ้าได ้กล่าวถึงปรากฏการณ์ทส ่ี าคัญ คือ
1. การเสริมแรง (Reinforcement) หมายถึง
ลักษณะการใช ้รางวัลให ้เกิดการลดแรงขับ การเสริมแรง
เป็ นความสัมพันธ ์ระหว่างแรงขับกับการได ้รางวัล แรงขับเป็ นสภาพความเครียด
อันเป็ นผลจากความต ้องการส่วนรางวัลเป็ นความพอใจทีสามารถสนองความต ่ ้
องการใน การลดแรงขับ
การเสริมแรงของเขาจึงแบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ
1.1 การเสริมแรงเบืองต ้ ้น
่ งที
คือการเรียนรู ้เพิมสิ ่ เกิ ่ ดต่อเนื่ องและสะสมมากขึนเป็ ้ นช่วงตอนทีไม่ ่

ได ้เกิดขึนเฉพาะพฤติ กรรมทีต ่ ้องการแสดงออกเท่านั้น
แมใ้ นเวลาทีไม่ ่ มพ ี ฤติกรรมทีสั ่ งเกตได ้การเรียนรู ้ก็ยงั สะสมอยู่
จนในทีสุ ่ ดก็ถงึ ขันที
้ มี ่ พฤติกรรมเปลียนไป ่
25

1.2 การเสริมแรงขันที ้ สอง


่ เกิดจากการถ่ายโยงการเรียนรู ้
ถ ้าการเรียนรู ้ใหม่คลา้ ยคลึงกับการเรียนรู ้เดิม
ผูเ้ รียนจะสามารถตอบสนองต่อการเรียนรู ้ใหม่นั้น

เหมือนเดิมหรือคล ้ายคลึงกับเมือตอบสนองต่ อการเรียนรู ้เดิม
องค ์ประกอบอืนที ่ จ ่ าเป็ นในการเรียนรู ้คือ
1. ความสามารถ (Capacity)
แต่ละบุคคลมีความสามารถในการเรียนรู ้ต่างกันขึนอยู ้ ่กบ ั ปัจจัยหลายอย่างเช่น
เชาว ์ปัญญา ความถนัด เป็ นต ้น
2. การจู งใจ (Motivation)

เป็ นการช่วยใหเ้ กิดพฤติกรรมการเรียนรู ้ขึนโดยการสร ้
้างแรงขับให ้เกิดขึนในตั
วผูเ้ รียน
3. ความเข้าใจ (Understanding)
การเรียนรู ้โดยสร ้างความเข ้มใจในเรืองที ่ เรี
่ ยน

เมือประสบปั ญหาทีคล ่ ้ายคลึงกันก็สมารถจะทาความเข ้าใจโดยอาศัยประสบกา
รณ์เดิม

4. การลืมฮัลล ์อธิบายการลืม ในเรืองของการไม่ ได ้นาไปใช ้ (Law

of Disused) เมือเวลาผ่ านไปผูเ้ รียนไม่ได ้นาสิง่
่ ้เรียนรู ้ไปใช ้ก็จะเกิดการลืมขึน้
ทีได

การนาไปใช้ในการเรียนการสอน
1. ผูส้ อนสร ้างแรงขับให ้เกิดขึนมาก ้ ๆ
แก่ผูเ้ รียนแล ้วเมือมี ่ การตอบสนองตามทีต ่ ้องการ ต ้องรีบเสริมแรงทันที
จึงจะทาให ้พฤติกรรมการเรียนรู ้เข ้มขันและคงทนถาวรอยู่เรือย ่ ๆ
่ เ้ รียนเกิดความเหนื่ อยล ้าในบทเรียน
2. เมือผู
ควรจะมีเวลาพักก่อนแล ้วจึงเรียนต่อไป

ระยะเวลาทีเหมาะส าหร ับผูเ้ รียนในวัยผูใ้ หญ่แล ้ว
่ ทาให ้เกิดความเหนื่ อยล ้าประมาณช่วงเวลาละ 50 นาที
ทีไม่
3. เมือผู่ เ้ รียนใกล ้จะเรียนรู ้และมีความตังใจมาก

ควรจะให ้การเสริมแรงถีขึ ่ น้
4. ควรให ้พยายามเรียนรู ้ด ้วยตนเอง จะทาให ้เข ้าใจใจสิงที ่ เรี
่ ยนมากขึน้
และสามารถตอบสนองได ้หลายรูปแบบ
26

5. การให ้ผูเ้ รียนเกอดการเรียนรู ้ทีดี ่ ต ้องพิจารณาถึงสิงต่


่ อไปนี ้
คือความสามารถของผูเ้ รียนใจแต่ละบุคคล
การสร ้างความเข ้าใจให ้เกอดขึนมาก้ ๆ
่ ยนรู ้แล ้วต ้องให ้ผูเ้ รียนคิดหรือกระทาบ่อย ๆ
ในบทเรียนเมือเรี
่ องกันการลืม
เพือป้
และพยายามให ้ผูเ้ รียนรู ้จักถ่ายโยงการเรียนรู ้ในสิงที ่ คล
่ ้ายคลึงกันจากบทเรียน
หนึ่ งไปสู่อก
ี บทเรียนหนึ่ ง

บรรณานุ กรม
27

- Early Childhood. (พ.ศ.2559). ทฤษฎีการเรียนรู ้ของพาฟลอฟ.


่ (7 ก.ย. 2559) จาก
สืบค ้นเมือ
http://hoossanee3661.blogspot.com/2015/11/blog-
post_19.html.
- จิตวิทยาสาหร ับครู. (พ.ศ.2556). ทฤษฎีการเรียนรู ้ของจอห ์น บี วัตสัน.
่ (7 ก.ย. 2559) จาก
สืบค ้นเมือ
http://gamlovenew.blogspot.com/2015/11/blog-post_12.html.

- novabizz. (พ.ศ.2557). ทฤษฎีความสัมพันธ ์เชือมโยง
(Connectionism). สืบค ้นเมือ ่ (7 ก.ย. 2559) จาก
http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Connectionism_T
heory.htm.
- watcharaphon_chai. (พ.ศ.2547). ทฤษฎีการเรียนรู ้ของ Hull.
่ (7 ก.ย. 2559) จาก
สืบค ้นเมือ
http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/hull.html.
- พนิ ตา สว่างศรี . (พ.ศ.2553).

ทฤษฎีการวางเงือนไขแบบต่ อเนื่ องของกัทธรี. สืบค ้นเมือ
่ (7 ก.ย. 2559) จาก
http://phanita10.blogspot.com/2010/09/blog-post_4075.html.
- นู รล
ุ อินซาน กอระ. (พ.ศ.2555). ทฤษฎีการเรียนรู ้ของสกินเนอร ์
่ (7 ก.ย. 2559) จาก
(Skinner). สืบค ้นเมือ
http://405404027.blogspot.com/2012/10/skinner.html.

You might also like