You are on page 1of 23

การใช้ภาษาแสดง

ทรรศนะ
จัดทําโดย

1. นาย ปิโยรส เอี่ยมไพบูลย์ เลขที่ 2 5. นางสาว ศุภวรรณ สั งข์นุช เลขที่ 14

2. นาย ก้องภพ มูลอัต เลขที่ 5 6. นางสาว ธนั ชชา สิ พพนะโกศล เลขที่ 17

3. นาย รวิพล ประเสริฐบูรณ์ เลขที่ 8 7. นาย ศุภณั ฐ ศรีบูระไชย เลขที่ 20


4. นางสาว นลพรรณ รุ ง
่ โรจน์ พนาวัลย์
8. นางสาว ปราชญา อุตสาหกิจอํานวย
เลขที่ 11
เลขที่ 23
ในสั งคมประชาธิปไตย การแสดง
ทรรศนะของบุคคลเกี่ยวกับเรือ ่ งใดเรือ
่ ง
หนึ่ งย่อมเป็นปกติวส
ิ ั ยที่พง
ึ กระทํา

หากทรรศนะนั้ นๆ แสดงแแกโดย
บริสุทธิใ์ จ เพือ
่ ประโยชน์ ทางสร้างสรรค์
โดยเจตนาอันดีต่อสั งคม
ทรรศนะ คือ

หมายถึง ความเห็น การเห็น เขียนว่า ทัศนะก็ได้

คือ ความคิดเห็นที่ประกอบด้วยเหตุผลตัวอย่าง

: การถามนั กเรียนว่าอยากจัด : การถามนั กเรียนว่าอยากจัด


กีฬาสี หรือไม่ กีฬาสี หรือไม่
โดยนั กเรียนไม่ได้มเี หตุผล เพราะเหตุใด
ประกอบ
โครงสร้างของทรรศนะ
โครงสร้างของทรรศนะมี 3 ส่ วนสํ าคัญ คือ

● ที่มา
- ส่ วนที่เป็นเรือ
่ งราวต่างๆที่ทําให้เกิดทรรศนะเเละชี้เเจงให้
เห็นความจําเป็นเเละช่วยให้ผูร ้ บ
ั สารเกิดความเข้าใจ

● ข้อสนั บสนุ น
- ข้อเท็จจริง หลักการ รวมทั้งทรรศนะเเละมติของผูอ ้ ื่นที่แสดง
เพือ
่ ประกอบกันให้เป็นเหตุผลสนั บสนุ นข้อสรุ ป ของตน

● ข้อสรุ ป
- อาจเป็นข้อเสนอเเนะ ข้อวินิจฉั ย ข้อสั นนิ ษฐาน หรือการ
ประเมินค่าเพือ
่ ให้ผูอ
้ ื่นพิจารณา ยอมรับ หรือนํ าไปปฏิบัติ
ทรรศนะของแต่ละบุคคลต่างกันอย่างไร

ทรรศนะของคนในสั งคมเกี่ยวกับเรือ
่ งใดเรือ
่ งหนึ่ งขึ้นอยู่กับความคิดของเเต่ละคนกล่าวเนื่ อง
มาจากเหตุสําคัญ ๒ ประการ

● คุณสมบัติตามธรรมชาติของมนุ ษย์ หมายถึง คุณสมบัติที่ติดตัวมนุ ษย์มาแต่เกิดเช่น


ความมีไหวพริบ เชาวน์ ปฏิภาณ ความถนั ด ฯลฯ
● สิ่ งแวดล้อม หมายถึงรวมทุกสิ่ งทุกอย่างทั้งที่เป็นธรรมชาติ และสิ่ งที่มนุ ษย์กระทําขึ้น
เช่น บ้านเมือง ชุมชน ระบบการศึกษา สื่ อสารมวลชน
● คุณสมบัติตามธรรมชาติ ต้องอาศัยการส่ งเสริมจากสิ่ งเเวดล้อมเพือ ่ ที่จะพัฒนาได้
เต็มที่
● อิทธิพลของสิ่ งเเวดล้อม ทําให้มค
ี วามรู ้ ประสบการณ์ ความเชื่อที่ต่างกันไป ทําให้
บุคคลเกิดทัศนะที่ต่างกันไป
ทรรศนะของแต่ละบุคคลต่างกันอย่างไร
● ความรู แ
้ ละประสบการณ์
○ ผูม
้ ค
ี วามรู ม
้ ากย่อมแสดงทรรศนะได้ลึกซึ้งและกว้างขวางกว่า
○ ประสบการณ์ เกิดจากการอ่าน ฟัง สั งเกตด้วยตนเองและสะสมมาอย่างต่อเนื่ อง
● ความเชื่อ
○ แต่ละคนมีความเชื่อแตกต่างกัน ทําให้วธ
ิ แ
ี ก้ปัญหาและทรรศนะก็ต่างไปด้วย
○ เกิดจากการศึกษาอบรบจากครอบครัวและสิ่ งแวดล้อมอื่นๆ
○ มักเปลี่ยนไปตามวัย และประสบการณ์
● ค่านิ ยม
○ เป็นความรู ส ้ ึ กที่มอ
ี ยู่ในจิตใจของแต่ละคนที่มค
ี ณ
ุ ค่าหรือความสํ าคัญ
○ เป็นเครือ
่ งกําหนดพฤติกรรมของแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม
○ ค่านิ ยมมีอิทธิพลต่อการแสดงทรรศนะเป็นอย่างมาก บางครัง ้ ค่านิ ยมอาจเป็นเครือ
่ ง
หน่ วงเหนี่ ยวไม่ให้บุคคลกล้าแสดงทรรศนะได้
ประเภทของทรรศนะ
๑.ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง

- ทรรศนะที่กล่าวถึงเรือ ่ งที่เกิดขึ้นแล้ว แต่ยัง


เป็นเรือ
่ งที่คนในสั งคมถกเถียงกันอยู่วา ่
ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเป็นอย่างไร
- การแสดงทรรศนะ เชิงข้อเท็จจริงจึงเป็น
เพียงการสั นนิ ษฐานเท่านั้ น จะน่ าเชื่อถือมาก
น้ อยเพียงใด แล้วแต่เหตุผลที่ผูแ ้ สดง
ทรรศนะนํ ามาสนั บสนุ นเป็นสํ าคัญ
ประเภทของทรรศนะ

๒.ทรรศนะเชิงคุณค่า

- เป็นทรรศนะที่ประเมินว่า สิ่ งใดดีหรือด้อย เป็น


ประโยชน์ หรือเป็นโทษ หมาะสมหรือไม่
เหมาะสม อาจเป็นวัตถุ บุคคล กิจกรรม
โครงการ วิธก
ี าร นโยบาย หรือแม้แต่ทรรศนะ
ก็ได้

- อาจประเมิณได้โดยคนเดียว หรืออิงตาม
หลักเกณฑ์หรือเปรียบเทียบสิ่ งที่อยู่ในประเภท
เดียวกัน
ประเภทของทรรศนะ
๓.ทรรศนะเชิงนโยบาย

- เป็นทรรศนะที่ชี้บ่งว่าควรทําอะไร อย่างไร ต่อไป หรือควร


ปรับปรุ งแก้ไขสิ่ งใดไปในทางใด อย่างไร
- นโยบายมีได้หลายระดับ ตั้งแต่ระดับบุคคล กลุ่มบุคคล
องค์การ สถาบัน ตลอดไปจนถึงระดับประเทศชาติ
- ทรรศนะเชิงนโยบายมักจะต้องบ่งชี้วา ่
● ขั้นตอน
● เป้าหมาย
● ประโยชน์
● แนวทางแก้ไข
● วิธกี าร
ลักษณะของภาษาทีใ่ ช้ในการแสดงทรรศนะ

ถือหลักเดียวกับการใช้ภาษาโดยทั่วไป

- ใช้ถ้อยคํากะทัดรัด
- มีความหมายชัดเจน
- เรียงลําดับเนื้ อความ ไม่วกวน
- ใช้ภาษาถูกต้องกับระดับของการ
สื่ อสาร
- ใช้สํานวนภาษาได้ถูกต้อง
ลักษณะของภาษาทีใ่ ช้ในการแสดงทรรศนะ
ลักษณะเฉพาะของภาษาที่ใช้ในการแสดงทรรศนะนอกเหนื อจากที่ได้
กล่าวไว้ข้างต้นที่ควรสั งเกตคือ

- ใช้คําหรือกลุ่มคํา ที่แสดงว่าเป็นเจ้าของทรรศนะ อาจเป็นคํานาม คํา


สรรพนาม ประกอบกับคํากริยา หรือกลุ่มคํากริยา ที่ชี้ชัดว่าเป็นการ
แสดงทรรศนะ
ตัวอย่าง
ที่ประชุมมีมติวา
่ ให้ระงับการ
จัดทัศนศึกษาไปก่อน
ข้าพเจ้าเข้าใจว่า เหตุการณ์ ไฟ
ไหม้โรงแรมเป็นความประมาท
ของผูบ้ ริหาร
ลักษณะของภาษาทีใ่ ช้ในการแสดงทรรศนะ
- ใช้คํา หรือ กลุ่มคํากริยาช่วยในข้อสรุ ปเพือ
่ ชี้ให้เห็นว่าเป็นการแสดงทรรศนะ
เช่น น่ า น่ าจะ คง ควรจะต้้ อง

โรงเรียนควรจะต้องคํานึ งถึง ตัวอย่าง


ความปลอดภัยของนั กเรียน
เป็นอันดับแรก
เรือ
่ งนี้ น่ า ส่ งต่อให้องค์การที่
เกี่ยวข้องรับไปดําเนิ นการ
ลักษณะของภาษาทีใ่ ช้ในการแสดงทรรศนะ

- ใช้คํา หรือ กลุ่มคําอื่นๆ ที่สื่อความหมายไปในทางแสดงทรรศนะ อาจเป็นการ


ประเมินค่า แสดงความเชื่อมัน ่ คาดคะเน ฯลฯ ก็ได้
ตัวอย่าง
นั กกีฬาของเรามีทางชนะ
อย่างไม่ต้องสงสั ย ครู ได้สอดส่ องพฤติกรรมของ
นั กเรียนอย่างเต็มความ
(แสดงความเชื่อมัน
่ ) สามารถ

(ประเมินค่า)
ปัจจัยส่งเสริมการแสดงทรรศนะ

● ปัจจัยภาคนอก ● ปัจจัยภายใน
○ สื่ อ ○ ความสามารถในการใช้ภาษา ทั้ง
○ ผูร ้ บ
ั สาร วัจนภาษาและอวัจนภาษา
○ บรรยากาศแวดล้อม ○ ความเชื่อมัน
่ ในคนเอง
○ เวลา ○ ความรู แ
้ ละประสบการณ์
○ สถานที่ ○ ทัศนคติ
○ บุคคลอื่น ○ สติปัญญา
○ ความพร้อมทางร่างกาย
ตัวอย่าง
ในที่ประชุมแห่งนึ ง ขณะที่บุคคลคนหนึ่ งกําลังแสดงทัศนะของตน แต่ผูอ
้ ื่นที่อยุ่ในที่
ประชุมกลับไม่สนใจโดยการพูดคุยกันและลุกออกไปด้านนอก สิ่ งเหล่านี้ คือปัจจัย
ภายนอกที่ไม่สนั บสนุ นในการแสดงทัศนะ แต่ในทางกลับกัน หากคนในที่ประชุมตั้งใจ
ฟัง ก็จะเป็นการสนั บสนุ นในการแสดงทัศนะของบุลคลนั้ นๆ
การประเมินค่า
ไม่ควรยึดตัวบุคคลเป็นสํ าคัญ แม้จะเป็นผูท
้ รงคุณวุฒิหรือผูท
้ ี่มช
ี ื่อเสี ยง
เพราะมนุ ษย์ไม่สามารถเสนอสิ่ งที่ถูกต้องเสมอไปในทุกโอกาส

แนวทางในการประเมินค่า

- ประโยชน์ และลักษณะสร้างสรรค์
- ความน่ าเชื่อถือและความสมเหตุสมผล
- ความหมายเหมาะสมกับผูร ้ บ
ั สารและกาลเทศะ
- การใช้ภาษา
ประโยชน์และลักษณะสร้างสรรค์
● ทรรศนะที่ดีต้องก่อให้เกิดประโยชน์ หมายถึง ควรเป็นประโยชน์ แก่ส่วนรวม และไม่เป็น
โทษต่อผูอ้ ื่น
● สํ าหรับทรรศนะในทางสร้างสรรค์ ควรจะเสนอแนะให้เกิดสิ่ งใหม่ นํ าไปใช้ประโยชน์ ได้
และธํารงสิ่ งที่ดีงามของสั งคมไว้ให้ได้คงอยู่ตลอดไป
● ทรรศนะที่ค่อยมีคณ ุ ค่า
○ มีประโยชน์ เฉพาะตนหรือส่ วนน้ อยแต่อย่างเดียว
● ทรรศนะที่ไม่พง ึ ประสงค์
○ เป็นประโยชน์ เฉพาะตนหรือส่ วนน้ อย แต่กลับเป็นโทษแก่คนส่ วนใหญ่หรือส่ วนรวม
ความน่าเชื่อถือและความสมเหตุสมผล

● วิธน
ี ิ รนั ย
○ ประเมินว่าหลักการที่นํามามีค่าควรแก่การยอมรับหรือไม่
○ ถูกต้องตามความเป็นจริงโดยไม่มก ี ารบิดเบือนหรือไม่
○ ใช้วธ
ิ อ
ี นุ มานที่ถูกต้องสมเหตุสมผลหรือไม่ อย่างไร
● วิธน
ี ิ รนั ยโดยไม่ระบุหลักการ หรือกรณี เฉพาะ
○ ประเมินว่าสิ่ งที่ละไว้นั้น ผูร
้ บ
ั สารอาจเข้าใจและยอมรับได้
หรือไม่
● วิธอ
ี ุปนั ย
○ ประเมินว่า กรณี ตัวอย่างที่นํามาอ้างเพียงพอหรือไม่
ตัวอย่างเหล่านั้ นถูกต้องตามความเป็นจริงหรือไม่
ความน่าเชื่อถือและความสมเหตุสมผล

● การอ้างผูท
้ รงคุณวุฒิ
○ อ้างได้ถูกต้องโดยไม่คลาดเคลื่อนและอ้างได้เพียงพอควร
แก่กรณี หรือไม่
● ใช้แนวเทียบ
○ พิจารณากรณี ที่นํามาใช้เทียบว่ามีลักษณะสอดคล้อง
ต้องกันหรือไม่
● ใช้เหตุผลที่เป็นความสั มพันธ์ระหว่างสาเหตุกับผลลัพธ์
○ พิจารณาว่าเป็นจริงและเป็นไปได้เพียงไร
○ มีอิธพ
ิ ลจากสาเหตุอื่นที่ทําให้ข้อสรุ ปคลาดเคลื่อนไปได้
หรือไม่
ความเหมาะสมกับผู้รับสารและกาลเทศะ
➢ บางทรรศนะอาจนํ าเสนอแก่สาธารณะชนทั่วไปได้ แต่บางทรรศนะก็ไม่สมควร
➢ ต้องพิจารณาว่าได้เสนออย่างเหมาะและควรแก่ประชุมชนหรือไม่ นํ าเสนอถูก
ต้องกับกาลเทศะหรือไม่
➢ มีความพอเหมาะพอดี ไม่มากเกินไป เหมาะแก่เนื้ อที่หรือเวลาที่มอ
ี ยู่ เหมาะแก่
สมรรถภาพการรับสารของผูร ้ บ
ั หรือไม่
○ ตัวอย่าง : ทรรศนะเกี่ยวกับความมัน
่ คงของชาติ รายละเอียดบางประการควรสงวน
ไว้เพือ
่ เสนอแก่ผูร
้ บ
ั ผิดชอบโดยตรง เพราะอาจทําให้ผูไ้ ม่ประสงค์ดีนําไปใช้ในทางที่
เป็นอันตรายต่อประเทศชาติได้
การใช้ภาษา

➢ เป็นเครือ
่ งมือสํ าคัญที่สุดสํ าหรับการนํ าเสนอ
➢ จําเป็นต้องประเมินการใช้ภาษาด้วยว่า
○ มีความแจ่มแจ้งชัดเจน
○ แม่นตรงตามต้องการ
○ เหมาะสมแก่ระดับการสื่ อสารหรือไม่ เพียงใด
➢ ห้ามด่วนสรุ ป
➢ ต้องอาศัยเวลาและข้อมูลหลายๆ ด้านประกอบกัน
สรุป

การแสดงทรรศนะหมายถึง การแสดง
ความเห็น ที่ต้องมีเหตุผลประกอบและมี
โครงสร้างในการนํ าเสนอ

ทั้งนี้ ทรรศนะของแต่ละบุคคลมีความ
แตกต่างกัน ผูร ้ บั ฟังจึงควรเคารพความ
คิดเห็นของผูอ ้ ื่น แต่ในขณะเดียวกันควรรับ
ฟังและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเปิดกว้าง

You might also like