You are on page 1of 6

ความหมาย

การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative learning)


หมายถึงการเปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนรู้ที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง
ตนเองอย่างลึกซึง้ ผ่านประสบการณ์สร้างสำนึกใหม่ และเปลี่ยนแปลง
โลกทัศน์ ให้เกิดความเข้าใจในตนเอง เข้าใจโลก และความสัมพันธ์ทาง
สังคม มีทักษะในการค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ สะท้อนคิด มีความคิด
สร้างสรรค์และจินตนาการ ซึง่ จิตตปั ญญาศึกษา (Contemplative
Education) เป็ นเครื่องมือที่สำคัญของการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (แ
จ่มจันทร์ ล, บุญชูช่วย ร, อินทรสิงห์ ส.)
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/view/30348

Transformative Learning (TL) คือการเรียนรู้ที่ผู้เรียน


เปลี่ยนแปลง หลังจากผ่านประสบการณ์ (experience) นำมาคิด
ใคร่ครวญ (contemplative thinking) สะท้อนการเรียนรู้ (critical
reflection)
แลกเปลี่ยนกัน (rational discourse) และใช้การสนทนา (dialogue)
เพื่อให้ได้ข้อสรุป (conceptualization) จนเกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมตนเองจากภายใน (behavior change/ inside out) การ
เปลี่ยนแปลงนีจ
้ ะเกิดได้ดี เมื่อใช้แนวทางจิตวิทยาเชิงบวก (positive
psychology) ให้เกิดความสุข สนุก เห็นคุณค่าของการเรียนรู้”
http://www.bcnpy.ac.th/v2/images/2564/pdf/km/Transformati
ve_learning.pdf
การเรียนรู้จึงเกิดขึน
้ ได้ตลอดเวลา มนุษย์สามารถเรียนรู้เพิ่มเติม แก้ไข
การเรียนรู้ที่ไม่ถูกต้อง
(unlearn) และเรียนรู้ใหม่แทนที่การเรียนรู้เดิม (relearn) ด้วยความ
สามารถพิเศษของสมองที่มีเฉพาะในมนุษย์
คือ การที่จิตสามารถ “คิดได้ว่ากำาลังคิดอะไร” พิจารณาทบทวน ย้อน
คิด แย้งความคิดตนเอง เปรียบเทียบความคิด
ได้ว่า คิดอย่างไร รู้สึกอย่างไร ทบทวนความคิดได้ว่ามีอคติ (bias) หรือไม่
ด้วยจิตที่สงบ (mindful) จิตจะมีพลัง
คิดได้ถูกต้อง ไม่หลงผิดติดอยู่กับความเชื่อเดิมที่ไม่ถูกต้อง สามารถคิดได้
ว่าความคิดนัน
้ มีที่มาอย่างไร
เหตุใดจึงคิด หรือรู้สึกเช่นนัน
้ พฤติกรรมที่เกิดขึน
้ เป็ นผลจากความคิดและ
ความรู้สึกใด สามารถหาวิธี
ดำาเนินชีวิตด้วยความดี ความถูกต้อง มีประโยชน์ต่อตนเองและผู้อ่ น
ื ไม่
เบียดเบียนผู้อ่ น
ื รักความสงบ
รักสิ่งแวดล้อม มีความงดงามในการดำาเนินชีวิต และสามารถค้นพบ
ความจริงในชีวิตได้ในที่สุด
ทักษะสำาคัญที่จำาเป็ นสำาหรับคนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ Critical
thinking การคิดแบบมีวิจารณญาณ
คิดเป็ นระบบเชื่อมโยงกัน Creativity ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สร้างสิ่ง
ใหม่ ๆ ที่จะตอบโจทย์แก้ปัญหา
และสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่จะแข่งขันได้ Communication การสื่อสาร
การฟั ง การถ่ายทอด การโน้มน้าวจูงใจ ผศ.นพ.พนม เกตุมาน
การเข้าใจผู้อ่ น
ื Collaboration การทำางานร่วมกับผู้อ่ น
ื ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และ Big Data Management ที่ปรึกษางานกิจการ
นักศึกษา
การจัดการข้อมูลที่มีมากมาย การใช้ Information technology คณะ
แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ครู จึงทำาหน้าที่ เป็ น Learning Facilitator อำานวยการเรียนรู้ 3. แลก


เปลี่ยนเรียนรู้ (discourse) เมื่อเขียน reflection
ให้ผู้เรียนมีความสนใจ อยากเรียน สนุกตื่นเต้นท้าทาย ให้แนวทาง ข้อมูล
อ้างอิง แล้ว ขัน
้ ตอนสุดท้ายคือ ให้ผู้เรียนแต่ละคนเล่าให้เพื่อน
วิธีตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล แล้วให้เรียนรู้ด้วยการกระทำาด้วย
ตัวเอง ในกลุ่มฟั งว่า ได้เรียนรู้อะไร อย่างไร เพื่อช่วยกระตุ้นให้เกิด
ผู้เรียนจึงเรียนรู้ได้มากกว่าที่ครูสอนแบบเก่า (learning is more than
teaching) การเรียนรู้ต่อยอดจากกัน หลังจากนัน
้ ครูจะช่วยกระตุ้น
ครูเป็ น Mentor/Coach ช่วยให้เด็กพัฒนาไปตามศักยภาพที่แตกต่างกัน
ให้กลุ่มได้สนทนากัน (dialogue) ด้วยการใช้คำาถามแล้ว
ครูรู้จักผูเ้ รียนเป็ นรายบุคคล ที่จะส่งเสริมให้เติบโตตามความแตกต่าง
และช่วยเป็ น ทำาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปได้ความรู้รวบยอด
Knowledge manager จัดหาทรัพยากรที่จำาเป็ น ช่องทางข้อมูลที่ถูก
ต้อง และ (conceptualization) จากกลุ่ม ทำาให้แต่ละคนเกิด
จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสม ความรู้ใหม่ ความเชื่อใหม่ นำาไปสู่การ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นัน
้ ควรนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
จากภายใน ซึ่งมีความยั่งยืน
ซึ่งเกิดแรงจูงใจจากภายใน (inside out) ซึง่ จะเป็ นพฤติกรรมที่ยั่งยืน
มั่นคง และ
เรียนรู้ด้วยตัวเองต่อไป
ประเภทของกิจกรรม
แนวทางการเรียนรู้แบบ Transformative learning มี 3 ขัน
้ ตอนดังนี ้
กิจกรรมที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
1. กิจกรรม การจัดกิจกรรมมีการวางแผนว่า วัตถุประสงค์ต้องการให้
เปลี่ยนพฤติกรรมใด เช่น ในแนวทาง transformative leaning เป็ น
กิจกรรม
• ความรู้ ต้องการให้ร้อ
ู ะไร ที่มีลักษณะผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ที่
ใช่ทงั ้
• ทักษะ ต้องการให้มีทักษะใด เช่น การสื่อสาร การทำางาน ความคิด
(head) การกระทำา (hand) และทำาให้
• เจตคติต้องการให้เปลี่ยนความเชื่อ หรือเกิดแรงจูงใจ เกิดความรู้สึกที่ดี
(heart) เกิดการกระทบของจิตใจ
แรงบันดาลใจอย่างไร ต่อความคิด ความเชื่อ ความรู้สึกเดิม แล้วนำาไปสู่
การจัดกิจกรรม ให้วัยรุ่นได้สัมผัสการเรียนรู้ ทัง้ สามด้าน การทบทวนเมื่อ
จบกิจกรรม ได้แก่ การเจริญสติ ศิลปะ
พร้อม ๆ กัน คือ ความรู้ (head) ทักษะ (hand) และเจตคติ (heart)
กิจกรรมกลุ่ม การสัมผัสธรรมชาติ งานสร้างสรรค์
ก่อนเริ่มต้น ควรสอบถามความคาดหวังของผู้เรียนต่อการเรียนรู้นน
ั้
เป็ นการ บำาเพ็ญประโยชน์ จิตอาสา ทัศนศึกษา ศิลปะ
กระตุ้นให้คิด และสามารถเปรียบเทียบกับตอนจบกิจกรรม เพื่อตอบตัว
เอง วัฒนธรรม
ได้ว่า ได้เรียนรู้อะไร เป็ นไปตามที่คาดหวังหรือไม่
สรุป Transformative Learning
2. คิดทบทวน (critical thinking) เมื่อกิจกรรมจบลง ให้ผเู้ รียนคิด
ทบทวน ช่วยให้ผเู้ รียนเปลี่ยนแปลงจากภายใน หลังจาก
ตนเองว่า กิจกรรมนัน
้ ทำาอะไรบ้าง รู้สึกอย่างไร เหมือนหรือแตกต่าง
จาก ผ่านประสบการณ์ (experience) นำามาคิดใคร่ครวญ
การเรียนรู้ที่มีในอดีตหรือไม่อย่างไร ได้เรียนรู้อะไรใหม่ เชื่อถือการเรียน
(critical reflection) และสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยน
รู้ได้หรือไม่ เหตุใดจึงเชื่อหรือไม่เชื่อ มีอคติในตนเองอย่างไร จะนำาไปใช้
เรียนรู้ (rational discourse)
ต่อไปอย่างไร จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เคยทำามาหรือไม่ เปลี่ยน
อย่างไร
ได้ความคิดสรุปรวบยอดอะไร และได้แนวคิดหรือแนวคิดอะไรใหม่ สำาห
รับการบรรยาย Pearls in Medical
(concept) ที่นำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม Education ในครัง้
หน้า จะเป็ นเรื่อง Medical students,
การคิดทบทวนนี ้ ให้ผู้เรียนเขียนสิ่งที่คิดออกมาเป็ น การสะท้อน
attitudes toward rural practice ทัศนคติของการเรียนรู้ (reflection)
หลังจากนัน
้ ให้ เพื่อแบ่งปั นแก่เพื่อนในกลุ่ม (group นักศึกษาแพทย์ต่อ
การทำางานในชนบท ในวันพุธที่ 10 reflection) การนำาเสนอ
reflection ของสมาชิกกลุ่ม จะกระตุ้นให้เกิด มกราคม 2561 ณ ห้อง
บรรยาย 3A01 อาคารศรีสวรินทิรา
การเรียนรู้ต่อยอด และเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากการแลก
เปลี่ยน ชัน
้ 3A วารสารศิริราชประชาสัมพันธ์จะนำาข้อมูลดี ๆ
เรียนรู้กันนีเ้ พิ่มขึน
้ จากการเรียนรู้ตามลำาพัง มาบอกอาจารย์และผูส
้ นใจ
กันอีก อย่าพลาดนะคะ

You might also like