You are on page 1of 51

กลุม

่ กิจกรรมบำบ ัด
และแนวทางในการ
จ ัดกลุม
่ กิจกรรม
บำบ ัด
อ.เลอล ักษณ์ แทนเกษม
ว ัตถุประสงค์
1. ผู้เรี ยนมีความเข้ าใจเกี่ยวกับการกลุ่มกิจกรรมบำบัดและ
แนวทางในการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
2. ผู้เรี ยนสามารถวางแผนกลุ่มกิจกรรมบำบัดและแนวทาง
ในการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
3. ผู้เรี ยนมีความเข้ าใจบทบาทของพยาบาลในการจัดกลุ่ม
กิจกรรมบำบัด
4. ผู้เรี ยนสามรถประเมินผลการทำกลุ่มกิจกรรมบำบัดได้
กิจกรรมบำบัด
หมายถึง การบำบัดรั กษาและฟื ้ นฟูสมรรถภาพ ผู้ท่ ม
ี ีความ
พิการทัง้ ทางด้ านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม โดย
ประยุกต์ ดัดแปลงกิจกรรมต่ างๆ ในชีวติ ประจำวันของผู้ป่วย
ให้ เป็ นสื่อสำหรั บการรักษา เพื่อให้ ผ้ ูป่วยสามารถกลับไปใช้
ชีวติ อยู่ในสังคมได้ อย่ างมีความสุข และพึ่งตนเองได้ มากที่สุด
กลุ่มกิจกรรมบําบัด
(activity therapy group)
เป็ นองค์ประกอบหนึง่ ของการจัดสิง่ แวดล้ อม เพื่อการ
บำบัด กิจกรรมที่จะเป็ นการบำบัดได้ นนั ้ ควรเป็ น
กิจกรรมช่วยส่งเสริ มให้ ผ้ ปู ่ วยอยูก่ บั ความเป็ นจริ ง
ป้องกันการถดถอย และส่งเสริ มให้ ผ้ ปู ่ วยมีการพัฒนา
ทักษะทางสังคม โดยมีกิจกรรมเป็ นสื่อกลางในการช่วย
ให้ ผู้ป่วยมีโอกาสปฏิสมั พันธ์กบั บุคคลอื่นมากขึ ้น
วัตถุประสงค์ ท่ วั ไปของการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
1. เพื่อสังเกตพฤติกรรมที่ผ้ ูป่วย
2. เป็ นข้ อมูลที่ช่วยประกอบการวินิจฉัย ใช้ ประเมินผลการ
รักษาพยาบาล
3. ให้ ผ้ ูป่วยได้ เปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางสร้ างสรรค์ และ
เป็ นที่ยอมรั บของสังคม
4. กระตุ้นและสนับสนุนให้ ผ้ ูป่วยมีโอกาสสร้ าง
สัมพันธภาพกับบุคคลอื่น ๆ ได้ ด้วยความมั่นใจ
ว ัตถุประสงค์ทว่ ั ไปของการจ ัดกลุม ่ กิจกรรม
บำบ ัด
5. เสริมสร้ างความภาคภูมใิ จ และความมีคุณค่ าของตนเอง
6. ให้ โอกาสผู้ป่วยฟื ้ นฟูความสามารถและส่ งเสริ มทักษะตนเอง
สอดคล้ องกับแผนการบำบัดโดยใช้ พลังงานและความสนใจ
7. บรรเทา/ขจัดอาการเกร็ งของกล้ ามเนือ ้ และข้ อต่ อ ช่ วยผ่ อน
คลายความตึงเครี ยดทางร่ างกายและจิตใจ
8. ให้ โอกาสผู้ป่วยได้ เรี ยนรู้ ส่ งิ ใหม่ ๆ เป็ นการช่ วยกระตุ้นและส่ ง
เสริมความคิด ความสามารถและมีผลสำเร็จของงานเป็ นสิ่งจูงใจ
ผู้นำกลุ่มควรมีทกั ษะพืน้ ฐาน
1. ทักษะการแสดงปฏิกริ ิ ยาโต้ ตอบ (Reaction skills)
2. ทักษะการปฏิสัมพันธ์ (Interaction skills)
3. ทักษะการแสดงออก (Action skill)
องค์ ประกอบของกลุ่มกิจกรรมบำบัด

สถานที่ (Structure) มีสถานที่สำหรับดำเนินกิจกรรมที่
สะดวก ปลอดภัย และมีอปุ กรณ์เพียงพอตามความจำเป็ น
ผู้นำกลุ่ม (Leader) ได้ แก่ บุคลากรในทีมจิตเวชทำหน้ าที่
เป็ นผู้นำกลุม่ ทำหน้ าที่ดแู ลกลุม่ ให้ ดำเนินไปด้ วยความ
เรี ยบร้ อยตามวัตถุประสงค์ เป็ นผู้ฟังที่ดี ช่างสังเกต
สมาชิกกลุ่ม (Member) เป็ นองค์ประกอบที่สำคัญที่สด ุ การ
จัดกลุม่ ไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนขึ ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์ของ
รู ปแบบกลุ่มบําบัดในผู้ป่วยจิตเวช
1. กลุ่มกิจกรรม (activity groups)
2. กลุ่มให้ ความรู้ (educational groups)
3. กลุ่มบําบัดเพื่อการรั กษา (therapeutic groups)
 4. กลุ่มเรี ยนรู้ แบบมีส่วนร่ วม (Participatory Learning)
1. กลุ่มกิจกรรม (activity groups)
กลุ่มที่มีเป้าหมายเน้ นให้ ผ้ ูป่วยได้ มีปฏิสัมพันธ์ กับบุคคลอื่น
ช่ วยให้ มีการสื่อสาร ส่ งเสริมให้ ผู้ป่วยอยู่ในความเป็ นจริง
เพิ่มทักษะทางสังคม ป้องกันการถดถอยของผู้ป่วย เป็ น
กิจกรรมอย่ างง่ าย ทําให้ ผ้ ูป่วยเกิดความภาคภูมใิ จในตนเอง
2.กลุ่มให้ ความรู้ (educational groups)
เป็ นกลุ่มที่มีเป้าหมายเน้ นเกี่ยวกับการให้ ข้อมูลความรู้
ต่ างๆ ส่ งเสริมให้ เกิดทักษะในการดูแลตนเอง เช่ น
กลุ่มให้ ความรู้ เรื่องยา การผ่ อนคลายความเครี ยด กลุ่ม
ทักษะทางสังคม กลุ่มสุขภาพจิตศึกษา เป็ นต้ น
3.กลุ่มบําบัดเพื่อการรักษา (therapeutic groups)
เป็ นกลุ่มที่มีเป้าหมายให้ ผ้ ูป่วยเกิดความเข้ าใจ
และพัฒนาความตระหนักรู้อารมณ์ ความรู้สึก
ของตนเองเพื่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง
4. กลุ่มเรี ยนรู้ แบบมีส่วนร่ วม
(Participatory Learning)
 เป็ นการเรี ยนรู้ในเชิงประสบการณ์และการเรี ยนรู้ด้วย
กระบวนการกลุม่ ซึง่ มีข้อดี คือ ผู้เรี ยนได้ มีการดึงเอา
ประสบการณ์ของตนเองที่ติดตัวออกมาใช้ ในการเรี ยนรู้ ผู้เรี ยน
ได้ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ซงึ่ กัน
และกัน ซึง่ จะทำให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับประสบการณ์ใหม่ๆ จากเพื่อน
ในกลุม่ เพิ่มมากขึ ้น
หล ักสำค ัญของการเรียนรูแ
้ บบ
่ นร่วม
มีสว
1. ประสบการณ์เดิมของผู้เรี ยนซึง่ เป็ นพื ้นฐานในการต่อเติมความรู้
ใหม่
2. มีการเรี ยนใหม่ๆ เกิดขึ ้นตลอดเวลา (active learning)
3. เน้ นการมีปฏิสม ั พันธ์
4. การมีปฏิสม ั พันธ์ทำให้ เกิดการขยายความรู้
5. เน้ นให้ ผ้ เู รี ยนทุกคนได้ แสดงออกทังด้้ านความคิดเห็น ความรู้สกึ
หรื อประสบการณ์ตา่ ง ๆ โดยผ่านการสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ
ข้อควรปฏิบ ัติเพือ่ ให้เกิดการ
เรียนรูแ
้ บบมีสว่ นร่วม
1. ต้ องทำให้ เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์
ประสบการณ์
- สมาชิกแลกเปลี่ยนประสบการณ์กนั
- ผู้สอนกระตุ้นให้ สมาชิกเล่าประสบการณ์
การสะท้ อนความคิดและอภิปราย
ผู้สอนจะเป็ นผู้กำหนดประเด็นการวิเคราะห์ วิจารณ์
ผู้เรี ยนจะได้ เรี ยนรู้ ถงึ ความคิด ความรู้ สก
ึ ของคนอื่นที่ตา่ งไป
กลุ่มผู้เรี ยนจะได้ เรี ยนรู้ ถงึ การทำงานเป็ นทีม บทบาทของสมาชิกที่ดีที่
จะทำให้ งานเสร็จ การควบคุมตนเอง และการยอมรับความคิดเห็นของ
ผู้อื่น
ข้อควรปฏิบ ัติเพือ่ ให้เกิดการ
เรียนรูแ
้ บบมีสว่ นร่วม
ความคิดรวบยอด (concept) จากการบรรยายของผู้สอน โดยมอบ
หมายงานให้ อา่ นหรื อจากการสะท้ อนความคิดเห็นและการอภิปราย
ผู้สอน สรุปความคิดรวบยอดจากการอภิปรายและการนำเสนอของผู้
เรี ยนแต่ละกลุม่
ผู้เรียน เกิดความเข้ าใจและเกิดความคิดรวบยอด จะส่งผลไปถึงการ
เปลี่ยนแปลงเจตคติหรื อความเข้ าใจในเนื ้อหาขันตอนของการฝึ
้ กทักษะ
ต่าง ๆ ที่ทำให้ ผ้ เู รี ยน
ปฏิบตั ิได้ งา่ ยขึ ้น
ข้อควรปฏิบ ัติเพือ่ ให้เกิดการ
เรียนรูแ
้ บบมีสว่ นร่วม
การทดลอง/การประยุกต์ แนวคิด
(experimental/application) ให้ ผ้ เู รี ยนได้ ทดลองใช้ ความคิด
รวบยอดหรื อผลิตขันความคิ
้ ดรวบยอดในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
การสนทนาสร้ างคำขวัญ ทำแผนภูมิ แผนภาพ เล่นบทบาท
สมมติ ฯลฯ เป็ นการแสดงถึงผลของความสำเร็จของการเรี ยนรู้
ข้อควรปฏิบ ัติเพือ่ ให้เกิดการ
เรียนรูแ
้ บบมีสว่ นร่วม
ทำให้ เกิดการเรี ยนรู้ สูงสุดด้ วยกระบวนการกลุ่ม (group
process) ซึง่ จะช่วยทำให้ ผ้ เู รี ยนได้ มีสว่ นร่วมและบรรลุงานสูงสุด
โดยออกแบบกลุ่มให้ ผ้ เู รี ยนได้ พด ู คุยได้ ทำงานได้ แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นซึง่ กันและกันอย่างทัว่ ถึง ให้ ผ้ ูเรียนทำในกลุ่มย่ อยๆ
ก่ อน แล้ วจึงรวบรวมเป็ นกลุ่มใหญ่ อีกครั ง้
ข้อควรปฏิบ ัติเพือ่ ให้เกิดการ
เรียนรูแ
้ บบมีสว่ นร่วม
การออกแบบใบงาน
 กำหนดกิจกรรมที่ชด
ั เจน
 กำหนดบทบาทของกลุม ่ หรื อสมาชิกให้ ชดั เจน
 รายละเอียดของกิจกรรม ได้ แก่ ใบกิจกรรม
กลุ่มกิจกรรมบําบัด
(activity therapy group)
การเลือกผูป
้ ่ วยจิตเวชเข้ากลุม

กิจกรรมบำบ ัด

เหมาะสมกับวัย
ระยะของโรคหรื อการเกิดอาการทางจิต

ผู้ป่วยที่ไม่ อยู่ในโลกของความเป็ นจริง (Out of reality) ไม่


เหมาะกับการเข้ ากลุ่มที่ต้องใช้ ความคิด
ความจำเป็ นในการฟื น ้ ฟูทกั ษะ/สมรรถภาพที่หายไปหรื อลดลง
ระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดจากกิจกรรมที่จด ั ให้
กิจกรรมบำบัดที่เหมาะกับDepression
กิจกรรมผ่ อนคลาย เพื่อที่จะได้ ดงึ ดูดความสนใจของตนเองไปสู่
ภายนอกและเบี่ยงเบนความสนใจจากอาการซึมเศร้ า
กิจกรรมที่ระบายความรู้ สึก เพื่อลดภาวะความกดดันหรื อความ
ตึงเครี ยด เช่น การวาดภาพ
ควรเป็ นกิจวัตรประจำวัน เพื่อกระตุ้นให้ ผ้ ป ู ่ วยสนใจตนเอง
เป็ นกิจกรรมที่ง่ายๆ และสำเร็ จได้ ในระยะเวลาที่สัน ้ ๆ
กลุ่มกิจกรรมบำบัด : กลุม ่ อาชีวบำบัด กลุม่ เสริมสร้ างแรงจูงใจ กลุม่
วาดภาพ กลุม่ ทำอาหาร
กิจกรรมบำบัดที่เหมาะกับAnxiety
 ผู้บำบัดควรมีทา่ ทีที่สงบ เงียบ สิง่ แวดล้ อมมีโครงสร้ างที่แน่นอน ไม่ต้องอาศัยการ
ตัดสินใจเพื่อผู้ป่วยยังไม่พร้ อม
 กิจกรรมที่ใช้ ควรเป็ นกิจกรรมผ่ อนคลาย สนุกสนาน เพื่อจะได้ เบี่ยงเบนความ
สนใจจากอาการวิตกกังวล
 กิจกรรมแบบง่ ายๆ สำเร็ จได้ ในเวลาสัน ้ ๆ
 กิจกรรมที่ใช้ กำลังกาย เช่น ทำสวน การออกำลังกายบริ หาร เพื่อลดความ
ตึงเครี ยด
 ควรงดกิจกรรมประเภทแข่ งขัน เพราะจะทำให้ ผ้ ป ู ่ วยวิตกกังวลมากขึ ้น
 กลุ่มกิจกรรมบำบัด : กลุม ่ อาชีวบำบัด กลุม่ เสริ มแรงจูงใจ กลุม่ วาดภาพ กลุม่ ทำ
อาหาร
กิจกรรมบำบัดที่เหมาะกับChronic Psychosis Patients
ผู ้บำบัดควรมีทา
่ ทีสงบ ้
สุภาพ ใชคำพู ั เจน
ดชด
เข ้าใจง่าย
กิจกรรมทีทำ ่ ให้ผป ู ้ ่ วยได้ทำตลอดว ัน
่ การมอบหมายงานในตึกที่
เป็ นการกระตุ ้น เชน
รับผิดชอบ การทำสวนหย่อม ดูแลรอบหอผู ้
ป่ วย ฝึ กหัดงานอาชพ ี
การจ ัดไปท ัศนศก ึ ษานอกสถานที่ เพือ ่ ให ้
เกิดประสบการณ์และเรียนรู ้ในการดำเนินชวี ต ิ
ต่อไป
กิจกรรมบำบัดที่เหมาะกับManic Aggressive
ผู้บำบัดกำหนดให้ ชด
ั เจนและรักษาความคงเส้ นคงวาว่าพฤติกรรมใด
ยอมรับได้ และพฤติกรรมใดไม่เป็ นที่ยอมรับ ควรพูความจริ งให้ เกิดความ
เข้ าใจแต่ไม่ใช่กระตุ้นเพื่อให้ เกิดความโกรธ
กิจกรรมที่ควรทำในด้ านการออกกำลังกาย เช่น การทำสวนงานบ้ าน
งานซ่อมบำรุง เพื่อให้ ผ้ ปู ่ วยได้ ระบายความก้ าวร้ าว
กลุ่มกิจกรรมบำบัด : กลุม ่ ออกกำลังกาย กลุม่ วาดภาพ
กลุม่ อาชีวบำบัด
กิจกรรมบำบัดที่เหมาะกับ Delusion Hallucination
กิจกรรมที่เป็ นชิ ้นเป็ นอัน สำเร็ จในระยะเวลาสันๆ
้ เท่านัน้
ไม่ใช่การแข่งขันหรื อถูกควบคุม
เพราะผู้ป่วยจะเกิดอาการหวาดระแวง
ระมัดระวังการกระซิบกระซาบ/กิริยาที่ทำให้ ผ้ ป
ู ่ วยไม่ไว้ วางใจ
ผู้บำบัดควรมีความสงบ สุภาพ ใช้ คำพูดชัดเจนเข้ าใจง่ายมีความคงเส้ น
คงวาของกิจกรรมและสิง่ แวดล้ อม
กิจกรรมบำบัดที่เหมาะกับ Hysteria
เป็ นกิจกรรมที่ผ้ ป
ู ่ วยสนใจ เพื่อให้ ผ้ ปู ่ วยรู้สกึ ว่าตัวเองมีประโยชน์แก่
ผู้อื่นและสังคมเป็ นการให้ ผ้ ปู ่ วยเกิดการเรี ยนรู้เรี ยกร้ องความสนใจ
ด้ วยวิธีที่ถกู ต้ อง
จัดให้ ผ้ ูป่วยมีหน้ าที่ช่วยเหลืองานเล็กๆ น้ อยๆ ภายในตึก ไม่
ควรปล่อยให้ อยูว่ า่ งๆ เพื่อช่วยเบี่ยงเบนความสนใจจากอาการป่ วย
ทางร่างกายไปสูก่ ิจกรรมที่ทำ
กลุ่มกิจกรรมบำบัด : กลุม ่ อาชีวบำบัด กลุม่ วาดภาพ กลุม่ ศิลปะ
บำบัด
ตัวอย่างกลุม
่ กิจกรรม
ระยะเวลาในการทำกลุม

กลุม
่ ขนาดเล็ก สมาชก ิ ประมาณ 8 – 12 คน

ใชเวลาประมาณ 30 – 60 นาที เชน ่ กลุม่ อ่าน
หนังสอ ื พิมพ์ กลุม
่ วาดภาพ กลุม ่ เสริมแรงจูงใจ
กลุม ่ ขนาดกลาง สมาชก ิ ประมาณ 20 -30 คน

ใชเวลาประมาณ 1 ชวั่ โมง เชน ่ กลุม ่ กีฬาในร่ม
กีฬากลางแจ ้ง
กลุม ่ ขนาดใหญ่ สมาชก ิ ประมาณ 30 – 50

คน ใชเวลาประมาณ 1 – 2 ชวั่ โมง เชน ่ กลุม่
นันทนาการ
กลุ่มภาพสะท้ อน (Creative therapy)
โดยการให ้ผู ้ป่ วยได ้มีการแสดงออกของ
ความนึกคิดของตัวเองออกมาในด ้านการ
วาดภาพ การปั น ้ การแกะสลัก เป็ นต ้น
สำหรับผู ้ป่ วยทีห
่ มกมุน
่ ด ้วยความคิดฝั น จะมี
โอกาสได ้คลายความคิดฝั นลง และมีผลใน
การทำกิจกรรมบำบัดด ้วย
กลุ่มเสริมแรงจูงใจ (Group remotivation)
หลักการคือ การกระตุ้นให้ ผ้ ูป่วยได้ คด
ิ และวิจารณ์ เกี่ยวกับ
เรื่ องต่ าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในสิ่งแวดล้ อมที่แท้ จริงของผู้ป่วย
การวิจารณ์ เป็ นการกระตุ้นผู้ป่วยเกิดความสนใจและให้
ความร่ วมมือ มักใช้ สถานที่ต่าง ๆ กัน และในผู้ป่วยโรค
เรือ้ รั ง
กลุ่มสอนสุขศึกษา (Health Educational Group)
การให้ ความรู้ แก่ ผ้ ูป่วยและญาติเรื่ องระวังรั กษา
สุขภาพและปฏิบัตเิ พื่อให้ ร่างกายแข็งแรง
ปราศจากโรคภัยไข้ เจ็บ
กลุ่มศิลปะบำบัด (Art group)
กลุม
่ ที่จดั ขึ ้นเพื่อให้ ผ้ ปู ่ วยได้ แสดงออกทางศิลปะ ไม่วา่ จะ
เป็ นการวาดภาพ ปั น้ ดินน้ำมัน ติดหรื อตกแต่งภาพด้ วยสิง่ ของ
ต่างๆ หรื อประดิษฐ์ สงิ่ ของ ได้ ระบายความรู้สกึ นึกคิดต่างๆ ออก
มาเป็ นภาพเรื่ องราวหรื อการใช้ สีสนั ต่างๆ ฝึ กการอภิปรายแลก
เปลี่ยนความคิดเห็นทางสังคมและมีการกระตุ้นให้ สมาชิกได้
แสดงถึงอารมณ์ความรู้สกึ ต่างๆ
กลุ่มทักษะการใช้ ชีวติ ในบ้ าน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ผ้ ูป่วยใช้ เวลาว่ างให้ เกิดประโยชน์
รู้ จักวิธี
การทำงานร่ วมกับผู้อ่ ืน รู้ จักวิธีการประกอบอาหารที่ผ้ ูป่วยคุ้น
เคยหรืออาจะไม่ ค้ ุนเคยแต่ มีความความเรียบง่ าย ราคาไม่ แพง
แต่ มีคุณค่ าทางโภชนาการ การปลูกผักสวนครัว การนำของ
เหลือใช้ มาประดิษฐ์ ฯลฯ ให้ สามารถประยุกต์ ทำเองได้ เมื่อกลับ
ไปอยู่บ้าน
กลุ่มทักษะการผ่ อนคลาย
เป็ นกิจกรรมที่เน้ นการผ่ อนคลายทางร่ างกาย เช่ น การหาย
ใจลึกๆ การออกกำลังกาย การนวด การฝึ กการผ่ อนคลาย
กล้ ามเนือ้
การลดความตึงเครี ยดทางจิตใจ เช่ น การสร้ างอารมณ์ ขัน
การคิดในทางบวก การดูภาพยนตร์ การฟั งเพลง การ
หัวเราะ การหายใจลึกๆ การทำสมาธิ เพื่อหยุดความคิด
ของตัวเอง ในเรื่ องที่ทำให้ เครียด
กลุ่มทักษะการตระหนักรู้ในตนเอง
เป็ นการส่ งเสริ มให้ ผ้ ูป่วยสามารถ "ค้ นหา" "รู้ จัก" และ
"เข้ าใจ" ตนเอง
เช่ น รู้ ข้อดีข้อเสียของตนเอง รู้ ความต้ องการและสิ่งที่
ไม่ ต้องการของตนเอง ซึ่งจะช่ วยให้ ผ้ ูป่วยเกิดการ
ยอมรั บตนเอง และสามารถเผชิญกับปั ญหาหรื อ
สถานการณ์ ต่างๆ ได้
กลุ่มทักษะทางสังคม
จำเป็ นต้ องมีทก
ั ษะเฉพาะตัวบุคคลเพื่อให้ มี ปฏิสัมพันธ์ ท่ ดี ี
กับผู้อ่ ืน เช่ น การแต่ งกายอย่ างเหมาะสมกับกาลเทศะ การ
ทักทาย การขอโทษ การแสดงความรู้สึกอย่ างเหมาะสม การ
ฝึ กความอดทนและอดกลัน้ การสร้ างความเชื่อมั่นในตนเอง
การตัดสินใจและการแก้ ปัญหา การปฏิเสธ การปฏิบัตติ ามกฎ
ระเบียบ
ทักษะการจัดการกับอารมณ์
กิจกรรมมีวัตถุประสงค์ เพื่อ การรู้ เท่ าทันอารมณ์ ตนเอง

การยอมรั บอารมณ์ ของตนเอง การเติมพลังใจให้ ตนเอง ฝึ กให้


มีทศั นคติและความคิดในเชิงบวก ฝึ กให้ ร้ ูสึกดีต่อตนเอง
ขัน้ ตอนการดำเนินการกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ขัน
้ เตรี ยมการกลุ่ม
ขัน
้ ดำเนินการ
1.ขัน
้ เริ่มต้ นหรือระยะสร้ างสัมพันธภาพ
(The introductory or initiating phase)
2.ขัน
้ ดำเนินการ (The working phase)
3. ขัน
้ สิน้ สุดการทำกลุ่ม (Terminate phase)
การประเมินผล
ขนเตรี
ั้ ยมการจ ัดกลุม
่ กิจกรรม
บำบ ัด
พยาบาลหรื อผู้นำกลุ่มวางแผนการจัดกิจกรรม
เลือกกิจกรรม เลือกผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม ผู้สังเกตการณ์

ผู้บันทึก
คัดเลือกสมาชิกให้ เหมาะสมกับกิจกรรม
และเลือกวัตถุประสงค์
เตรี ยมสถานที่ทำกลุ่ม
เตรี ยมอุปกรณ์ (ถ้ ามี)
สงิ่ สำค ัญ
เลือกสรรกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย ระยะของโรค เช่น ผู้
ป่ วยที่ไม่อยูใ่ นโลกของความเป็ นจริ ง (Out of reality) ไม่
เหมาะกับการเข้ ากลุม่ ที่ต้องใช้ ความคิด
ระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดจากกิจกรรมที่จด ั ให้ ซึง่ อาจ
เกิดจากการทำกิจกรรมที่ไม่สำเร็จ หรื อทำให้ เกิดการเห็น
คุณค่าในตนเองต่ำ
ระมัดระวังการจัดกิจกรรมในผู้ป่วยที่ได้ รับยารักษาอาการ
ทางจิตที่ยงั มีอาการข้ างเคียงจากการรับการรักษาด้ วยยา
øć÷úđą Ă÷é ñî ÖćøÝĆ
ĊĒ éÖúčöÖÝ
Š ĉÖøøöï Ğ
ćï Ć
é
ßî ĉé×ĂÜÖúčŠ ö……………………………………………………………………………………………….……………………………………….
đøęČ
ĂÜ……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………
üĆ
îìĊ …………………………………đüúć………………………..ÿëćî ì Ċ ę………………………………………………………………………
ßČĂ
ęñĎšîĞ ćÖúčŠ
ö(Leader) …………………………………………..…………øĀĆ ÿðøÝĞ
ą ćêĆüî ĉĉ..............................................
ÿê
ßČĂ
ęñĎ šîĞćÖúčŠ
öøŠüö(Co-leader) …………………………………………..øĀĆ ÿðøÝĞ
ą ćêĆüî ĉĉ..............................................
ÿê
ßČĂ
ęñĎ šÿĆ
ÜđÖêÖćøèÖ ŤúčŠ
ö (Observer) …………………………………….øĀĆ ÿðøÝĞ
ą ćêĆüî ĉĉ........................
ÿê ......................
üĆêëč ðøÿÜ
ą Ùđ ŤÞóćą
1. ………………………………………………………………………………………………
2. ………………………………………………………………………………………………
3. ……………………………………………………………………………………………..

đîĚ
ĂđøČ
Č Ă
ęÜé÷
ē ÷ĂŠ (ï ĂÖúĆ
Ā ÖÖćøĒúąđêč
Ā ñúì đ
ęúČ
Ċ ĂÖì Ğ
ćÖúčŠ
öóøšĂöì Ć
Ü
ĚÿøčðđîČ
Ă
ĚđøČ
Ă
ęÜé÷
ē ÷Š
Ăêćö×Ć
îĚêĂî )
Ăč
ðÖøèŤ
1.………………………………………………………………………………………………
2. ……………………………………………………………………………………………….

üíĉĊ
ÖćøéĞ
ćđîĉî Öćø
: ………………………………………………………………………………………………
×Ě
î đêøĊ
Ć ÷öÖćøÖúč ö
Š
: …………………………………………………………………………………….....................
×Ě
î éĞ
Ć ćđîĉî Öćø(øï ą čđüúćĒêŠúą×Ě
î êĂî )
Ć
(1) ǰ×Ě
îĆđøĉęöÖúčŠ
ö
……………………………………………………………………………………………………
(2) ×ĚîĆéĞćđîĉî Öćø
……………………………………………………………………………………………
(3) ×Ě îĆÿøčð
…………………………………………………………………………………………………
Öćøðøđą öĉî ñú
1. ðøđ ą öîĉñúđîČ
Ă
ĚĀć
2. ðøđ ą öîĉñúÖøïą üî ÖćøÖúčŠö
3. ðøđ ą öîĉñúÖćøì Ğ
ćÖúčŠ
öĒúą×šĂđÿî ĂĒî ąÝćÖñšĎ
ÿĆ
ÜđÖêÖćøèÖ
ŤúčŠ
ö
4. ךĂđÿî ĂĒî ąÝćÖĂćÝćø÷Ťĉ î đì ý
ขนตอนการดำเนิ
ั้ นการกลุม

กิจกรรมบำบ ัด

ขัน้ เริ่มต้นหรือระยะสร้าง
สัมพันธภาพ
เป็ นระยะที่ผ้ นำ
ู กลุม่ และสมาชิกทำความรู้จกั คุ้นเคย
สร้ างสัมพันธภาพต่อกัน ขันตอนต่
้ อไปนี ้จะเกิดขึ ้นได้ เร็วหรื อ
ช้ าขึ ้นกับทักษะของผู้นำกลุม่ ระลึกเสมอว่ ากระบวนการ
กลุ่มจะไม่ เกิดขึน้ หากไม่ มีสัมพันธภาพที่ดีในขัน้ ตอนนี ้
ขัน้ ดำเนินการ (The working phase)

เป็ นขันดำเนิ
้ นการตามวัตถุประสงค์พฒ
ั นาความไว้ วางใจในกลุม่ นำมาสู่
การมีความเข้ าใจจุดมุง่ หมายของกลุม่ สมาชิกกลุม่ เปิ ดเผยตนเองมากขึ ้น มี
การระบายความรู้สกึ เกิดความรู้สกึ เป็ นส่วนหนึง่ ของกลุม่ ร่วมทำกิจกรรม
ในกลุม่ แก้ ไขปั ญหาร่วมกัน ให้ กำลังใจกัน สมาชิกมีบทบาทเป็ นทังผู
้ ้ ให้ และ
ผู้รับ และมีสว่ นร่วมในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความคิดเห็นในกลุม่
เพื่อให้ กลุม่ สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์
วิธก
ี าร
 ผู้นำกลุม
่ กล่าวเปิ ดประชุมกลุม่ อาจเริ่มต้ นด้ วยการพูดคุยเรื่ องทัว่ ๆไป
ก่อน เรี ยกว่า “small talk”
กล่าวทักทายสมาชิกกลุม ่
สร้ างบรรยากาศกลุม ่ ให้ สนทนากันอย่างผ่อนคลายทำให้ สมาชิกรู้สกึ
ปลอดภัยและไว้ วางใจ
ผู้นำกลุม่ ใช้ น้ำเสียง ท่าทีและการแสดงออกที่เป็ นมิตร
แนะนำตัวผู้นำกลุม ่ และทีมทุกคน จากนันให้
้ สมาชิกกลุม่ แนะนำตัว
เองทุกคน(แล้ วแต่เทคนิค)
2. ขนดำเนิ
ั้ นการ
ผู้นำกลุม
่ นำเข้ าสูเ่ นื ้อหาสาระโดยย่อหรื อเกริ่นบทนำเนื ้อหา (สามารถ
ปรับได้ ตามความเหมาะสม)
อธิบายอุปกรณ์ตา่ งๆ ที่ใช้ ในการทำกลุม ่
เข้ าสูเ่ นื ้อหากระบวนการกลุม ่ โดยมีผ้ ูนำกลุม่ ทำหน้ าที่เป็ นผู้เชื่อมโยง
เรื่ อง กระตุ้นให้ สมาชิกในกลุม่ ได้ แสดงความคิดเห็น
ผู้นำกลุม ่ เป็ นผู้ฟังที่ดี ปฏิบตั ิกิจกรรมดำเนินการตามที่วางแผนและ
ประคับประคองให้ กลุม่ ดำเนินต่อไปตามขันตอนและแผนที ้ ่เตรี ยมมา
รับฟั งการถกเถียง รับฟั ง ข้ อเสนอแนะต่างๆและสังเกตพฤติกรรมของผู้
ป่ วยด้ วย
ขัน้ สิน้ สุดการทำกลุ่ม (Terminate phase)
จำเป็ นต้ องทำทุกครัง้ ที่สิ ้นสุดการทำกลุม
่ ซึง่ จะช่วยให้ สมาชิกได้
สะท้ อนความคิด ทบทวนตนเอง รวบรวมประสบการณ์ได้ เรี ยนรู้
อะไรจากกลุม่ บ้ าง จะนำไปใช้ เป็ นประโยชน์ได้ อย่างไรในสภาพ
แวดล้ อมที่เป็ นจริ ง ผู้นำกลุม่ ต้ องสรุปประสบการณ์ทงหมดที
ั้ ่
เกิดขึ ้นในกลุม่ ช่วยให้ สมาชิกประเมินความก้ าวหน้ าการ
เปลี่ยนแปลง ความสำเร็จของกลุม่
วิธีการ
ผู้นำกลุม
่ ควรบอกสมาชิกให้ ทราบล่วงหน้ า หากสมาชิกกังวลจะต้ อง
เปิ ดโอกาสให้ ระบายความรู้สกึ
ผู้นำกลุม
่ ต้ องสรุปประสบการณ์ทงหมดที
ั้ ่เกิดขึ ้นในกลุม่
ช่วยให้ สมาชิกประเมินความก้ าวหน้ าการเปลี่ยนแปลง ความสำเร็ จ
ของกลุม่
 มีการบอกเล่าความรู้ สก ึ ก่อนสิ ้นสุดกลุม่
ชี ้แนะให้ สมาชิกเห็นถึงประโยชน์ที่สมาชิกจะได้ รับเมื่อออกจากกลุม

การประเมินผล
ประเมินร่ วมกันระหว่างผู้นำกลุม
่ ผู้ชว่ ยผู้นำกลุม่ ผู้สงั เกตการณ์และ
ผู้บนั ทึก ตามประเด็นต่อไปนี ้ได้ แก่ ความเหมาะสมของกลุม่ เนื ้อหา
กลุม่ กระบวนการกลุม่ ผู้นำกลุม่ บรรยากาศกลุม่ ปั ญหาและ
อุปสรรค การเรี ยนรู้ของกลุม่ การบรรลุวตั ถุประสงค์ การมีสว่ นร่วม
ของสมาชิก

You might also like