You are on page 1of 30

บทที่ 3

การสร้างสรรค์และนว ัตกรรม
ความหมายของความคิดสร้างสรรค์

ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ร ว บ ร ว ม ค ว า ม คิ ด เ ดิ ม จ า ก
ประสบการณ์ทผ ่ สร ้างรูปแบบใหม่ ซงึ่ สามารถ
ี่ ่านมาเพือ
คิด ได ้หลายทิศ ทาง แตกต่ า งไปจากเดิม น าไปสู่ ก าร
ิ ค ้นสงิ่ ใหม่ๆทีเ่ ป็ นประโยชน์และมีคณ
ประดิษฐ์คด ุ ค่า
ล ักษณะของความคิดสร้างสรรค์

❑ ความคิดคล่อง (Fluency)
❑ การคิดยืดหยุน
่ (Flexibility)
❑ การคิดริเริม
่ (Originality)
❑ ก า ร คิ ด อ ย่ า ง ล ะ เ อี ย ด ล อ อ
(Elaboration)
ประเภทของความคิดสร้างสรรค์

❑ ความคิด สร้า งสรรค์ป ระเภทความเปลีย


่ นแปลง
(Innovation)
❑ ค ว า ม คิด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ป ร ะ เ ภ ท ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์
(Synthesis)
❑ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ป ร ะ เ ภ ท ต่ อ เ นื่ อ ง
(Extension)
❑ ค ว า ม คิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ป ร ะ เ ภ ท ล อ ก เ ลี ย น
(Duplication)
ความหมายของนว ัตกรรม
ส า นั ก น วั ต ก ร ร ม แ ห่ ง ช า ติ ( 2563) ใ ห ้
ความหมายว่า “นวัตกรรม” คือ สงิ่ ใหม่ทเี่ กิด
จากการใชความรู้ ้และความคิดสร ้างสรรค์ทม ี่ ี
ประโยชน์ตอ ่ เศรษฐกิจและสงั คม
องค์ประกอบของนว ัตกรรม

❑ ความใหม่ (Newness)
❑ ประโยชน์ในเชงิ เศรษฐกิจ

❑ การใชความรู ้และความคิด
สร ้างสรรค์
่ าไปสู ่การสร ้างนว ัตกรรม
กระบวนการคิดทีน

นวัตกรรมเกิดขึน ้
้ ได ้จากการใชความคิ ดสร ้างสรรค์ โดยมี
กระบวนการคิด 6 ขัน ั วงษ์ ใหญ่ และมารุต พัฒผล
้ ตอน ได ้แก่ (วิชย
, 2560: 12-13)
1. การคิดวิเคราะห์ความต ้องการนวัตกรรม
2. การสงั เคราะห์ความคิดทีน
่ าไปสูน ่ วัตกรรม
3. การแสวงหาความร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรม
4. การสะท ้อนความคิดร่วมกัน
5. การสรุปความคิด
6. การประเมินความคิด
ความหมายของจิตนวัตกรรม

การมี จ ิ ตใจใฝ่ เรีย นรู ส้ ิ่ งใหม่ ท าสิ่ งใหม่ ๆ แก ไ้ ขปั ญ หาอย่ า ง


สร ้างสรรค ์ มองวิกฤติเป็ นโอกาสอย่างมี Growth mindsetหรือ
กระบวนการทางความคิด เพื่ อการเติบโต และมี ค วามมุ่ ง มั่น
พยายามทาให ้สาเร็จ
คุณล ักษณะผูเ้ รียนทีม
่ จ
ี ต
ิ นว ัตกรรม

❑ มองกิจกรรมต่างๆว่าเป็ นโอกาสของการเรียนรู ้
❑ มองปั ญหาว่าเป็ นสงิ่ ทีต ่ ้องได ้รับการแก ้ไขด ้วย
นวัตกรรม
❑ เชอื่ มโยงความคิดและความรู ้ต่างๆได ้ดี
❑ กาหนดเป้ าหมายทีท ่ ้าทายความสามารถของ
ตนเองได ้
❑ มีวน ิ ัยในตนเอง (Self-discipline) ในการดาเนินการ
ต่างๆเพือ ่ ให ้ได ้มาซงึ่ นวัตกรรม
จิตนว ัตกรรมก ับท ักษะการสร้างสรรค์และนว ัตกรรม
การจ ัดการเรียนรูท
้ เี่ สริมสร้างจิตนว ัตกรรม
❑ กระตุ ้นความอยากรู ้อยากเห็นและความกระตือรือร ้น
ของผู ้เรียน โดยใชส้ อ
ื่ และแหล่งการเรียนรู ้ทีต
่ อบสนอง
ความสนใจของผู ้เรียน
้ ในสมอง
❑ ฝึ กให้จด Idea ใหม่ๆทีเ่ กิดขึน
❑ จัดกิจกรรมการเรียนรู ้ให ้ผู ้เรียนมีประสบการณ์ใหม่ๆไม่
ซ้าซากจาเจ
❑ ฝึ กผู ้เรียนมีสติอยูก
่ บ
ั ปั จจุบน
ั มีสมาธิในการปฏิบต
ั ิ
กิจกรรมการเรียนรู ้ เพราะการมีสติและสมาธิจะทาให ้
เกิด Idea ใหม่ๆทีน ่ ารสร ้างสรรค์นวัตกรรมได ้
่ าไปสูก
การจ ัดการเรียนรูท
้ เี่ สริมสร้างจิตนว ัตกรรม (ต่อ)

❑ เปิ ดโอกาสให ้ลงมือปฏิบต


ั จ
ิ ริงและเรียนรู ้ข ้อผิดพลาดแล ้ว
นามาเป็ นบทเรียนในการพัฒนานวัตกรรมให ้ดียงิ่ ขึน

❑ เปิ ดโอกาสให ้ผู ้เรียนแลกเปลีย
่ นเรียนรู ้ให ้มาก เพราะการ
่ นเรียนรู ้ชว่ ยทาให ้มีความคิดทีก
แลกเปลีย ่ ว ้างขวางมากขึน

❑ ฝึ กผู ้เรียนมีความมุง่ มัน
่ อดทน และพยายาม เพราะเป็ น
พืน
้ ฐานของความเข ้มแข็งทางจิตใจของนวัตกร
การจ ัดการเรียนรูท
้ เี่ สริมสร้างจิตนว ัตกรรม (ต่อ)

❑ กระตุ ้นให ้ผู ้เรียนใชมุ้ มมองทีห


่ ลากหลายต่อปั ญหาที่
เกิดขึน
้ เพราะเมือ
่ มีปัญหานั่นหมายความว่า นวัตกรรม
กาลังรออยูข
่ ้างหน ้า
ื่ มโยงและบูรณาการ ไม่แยกสว่ น
❑ ฝึ กผู ้เรียนให ้คิดเชอ
เพราะนวัตกรรมเกิดขึน
้ จากผสมผสานความคิดหรือ
่ วามคิดหรือความรู ้อย่างใด
ความรู ้หลายๆอย่าง ไม่ใชค
อย่างหนึง่ เท่านัน

ความหมายของท ักษะการสร้างสรรค์
และนว ัตกรรม

ความสามารถในการใช ้
ความรู ้ (Knowledge)
จินตนาการ (Imagination)
ความคิดสร ้างสรรค์ (Creative thinking)
ความร่วมมือ (Collaborative)
ท า ใ ห เ้ กิ ด น วั ต ก ร ร ม ที่ อ า จ อ ยู่ ใ น รู ป แ บ บ ข อ ง
ความคิด วิธก ี ารหรือสงิ่ ประดิษฐ์ต่างๆ โดยอาจเป็ นสงิ่
ใหม่ ทั ้ง หมดหรื อ ไม่ เ พี ย งบางส่ ว น และอาจใหม่ ใ น
บริบทใดบริบทหนึง่ หรือในชว่ งเวลาใดเวลาหนึง่
องค์ประกอบของท ักษะการสร้างสรรค์และนว ัตกรรม
องค์ประกอบของท ักษะการสร้างสรรค์
และนว ัตกรรม

1. การคิดสร้างสรรค์

1.1 มองเห็นโอกาสมากกว่าปั ญหา


่ สงิ่ ใหม่ๆทีเ่ ป็ นประโยชน์
1.2 ริเริม
1.3 ใชวิ้ ธก
ี ารคิดและมุมมองอย่างหลากหลาย
1.4 ทางานด ้วยวิธก
ี ารหลากหลายและยืดหยุน

1.5 ประเมินและปรับเปลีย
่ นความคิดของตนเอง
องค์ประกอบของท ักษะการสร้างสรรค์
และนว ัตกรรม (ต่อ)
2. การทางานร่วมมือก ับบุคคลอืน
่ อย่างสร้างสรรค์

2.1 เคารพความคิดของคนอืน

2.2 เปิ ดรับความคิดใหม่ๆทีท
่ ันสมัย
2.3 นาเสนอความคิดเห็นเกีย
่ วกับผู ้อืน

2.4 แลกเปลีย
่ นเรียนรู ้กับบุคคลอืน
่ อยูเ่ สมอ
2.5 ทางานร่วมกับบุคคลอืน
่ ด ้วยความร่วมมือ
ร่วมใจ
องค์ประกอบของท ักษะการสร้างสรรค์
และนว ัตกรรม (ต่อ)

3. การสร้างสรรค์นว ัตกรรมให้สาเร็จ

3.1 วางแผนพัฒนานวัตกรรมอย่างเป็ นระบบ


3.2 พัฒนานวัตกรรมและประเมินระหว่างการพัฒนา
ิ ธิผลของนวัตกรรมทีพ
3.3 ประเมินสรุปประสท ่ ัฒนา
3.4 ปรับปรุงแก ้ไขจุดบกพร่องของนวัตกรรมให ้ดีขน
ึ้

3.5 ใชเทคโนโลยี
ดจิ ท ื่ สารนวัตกรรมสูส
ิ ัลสอ ่ งั คม
ความรูใ้ นการสร้างสรรค์นว ัตกรรม

1. ความรู ้ทีม
่ อ
ี ยูก
่ อ
่ นการปฏิบต
ั ิ

2. ความรู ้ทีเ่ กิดขึน


้ ระหว่างการปฏิบต
ั ิ

3. ความรู ้ทีไ่ ด ้รับหลังการปฏิบต


ั ิ
แนวทางการพ ัฒนาท ักษะการสร้างสรรค์และนว ัตกรรม
▪ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู ้ให ้ท ้าทายความคิดตอบสนอง
ธรรมชาติ

▪ เปิ ดโอกาสให ้ผู ้เรียนใชความคิ
ดของตนเองให ้มากทีส
่ ด

ี้ นะวิธก
▪ ชแ ี ารแสวงหาความรู ้จากแหล่งการเรียนรู ้ที่
หลากหลายให ้กับผู ้เรียน
▪ สง่ เสริมให ้ผู ้เรียนใชเทคโนโลยี
้ ดจิ ท
ิ ล
ั เทคโนโลยี AI
▪ สร ้างโอกาสให ้ผู ้เรียนนาเสนอนวัตกรรมของตนเองผ่าน
เทคโนโลยีดท
ิ ล

▪ ประเมินทักษะการสร ้างสรรค์นวัตกรรมของผู ้เรียนอย่าง
ต่อเนือ
่ ง
การจ ัดการเรียนรูแ
้ บบบูรณาการทีเ่ สริมสร้าง
ท ักษะการสร้างสรรค์และนว ัตกรรม
ต ัวชวี้ ัดการจ ัดการเรียนรูแ
้ บบบูรณาการทีม
่ ป ิ ิิภาพ
ี ระสท

▪ สง่ เสริมกระบวนการเรียนรู ้ (Learning process) ทีเ่ ชอ ื่ มโยงกับวิถช ี วี ต



ของผู ้เรียน
▪ เชอ ื่ มโยงสาระสาคัญของการเรียนรู ้ (Main concept) ทีส ่ อดคล ้องกับ
มาตรฐานการเรีย นรู ้ควบคู่ กั บ การพั ฒ นาสมรรถนะและคุ ณ ลั ก ษณะ
พึงประสงค์
▪ นาสาระสาคัญทีเ่ รียนรู ้มาประยุกต์ใชในการแก ้ ้ปั ญหาและการดารงชวี ต ิ
▪ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร พั ฒ น า ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด ขั ้ น สู ง เ ช ่ น คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์
คิดสงั เคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ คิดสร ้างสรรค์
▪ สง่ เสริมการพัฒนาทักษะการเรียนรู ้ การศก ึ ษา ค ้นคว ้า การแลกเปลีย ่ น
เรียนรู ้
▪ สง่ เสริมการเรียนรู ้ด ้วยตนเอง (Self-learning) ของผู ้เรียน
ื่ มโยงความคิดรวบยอด
รูปแบบการสอนแบบบูรณาการทีเ่ ชอ

❑ การบูรณาการโดยผู ้สอนคนเดียว
❑ การบูรณาการแบบคูข
่ นาน
❑ การบูรณาการแบบสหวิทยาการ
❑ การบูรณาการแบบโครงการ
การโค้ชทีเ่ สริมสร้างท ักษะการสร้างสรรค์และ
นว ัตกรรม
การโค้ชทีเ่ สริมสร้างท ักษะการสร้างสรรค์และ
นว ัตกรรม
ผู ้สอนจะต ้องมีค วามรู ้และความสามารถที่เ อื้อ ต่อ การ
พัฒนาทักษะการสร ้างสรรค์และนวัตกรรม ได ้แก่

❑ มีความรู ้เกีย
่ วกับปั จจัยทีท ่ าให ้ผู ้เรียนเกิดการเรียนรู ้
❑ การสะท ้อนผลการปฏิบต ั ิ
❑ การปรับวิธก ี ารจัดการเรียนรู ้ให ้สอดคล ้องกับบริบท
ต่างๆ เชน่ ระดับความสามารถของผู ้เรียน
❑ การสร ้างสม ั พันธภาพทีด ่ ก ั ผู ้เรียน ซงึ่ จะสง่ เสริม
ี บ
การเรียนรู ้ได ้เป็ นอย่างมาก
❑ การจัดกิจกรรมการเรียนรู ้และการประเมินผลที่
หลากหลาย
หล ักการจ ัดบรรยากาศการเรียนรูท ้ ต่อการพ ัฒนา
้ เี่ อือ
ท ักษะการสร้างสรรค์และนว ัตกรรม

❑ การเรียนรู ้ในลักษณะชุมชนแห่งการเรียนรู ้ระหว่างผู ้สอน


กับผู ้เรียนและผู ้เรียนกับผู ้เรียน
❑ สง่ เสริมวินัยในตนเองของผู ้เรียน
❑ เสริมสร ้างปฏิสม ั พันธ์ทด
ี่ รี ะหว่างกัน
❑ ผู ้เรียนมีอส ิ ระในการเลือกใชวิ้ ธก ี ารเรียนรู ้และกระบวนการ
เรียนรู ้ของตนเอง

❑ ผู ้สอนใชการสะท ้อนผลการปฏิบต ั เิ พือ
่ การปรับปรุงและ
พัฒนาแก่ผู ้เรียน
❑ การให ้ผลย ้อนกลับอย่างสร ้างสรรค์
การประเมินผลการเรียนรูท้ เี่ สริมสร้างท ักษะการ
สร้างสรรค์และนว ัตกรรม
การประเมินผลการเรียนรูท้ เี่ สริมสร้าง
ท ักษะการสร้างสรรค์และนว ัตกรรม

1. การประเมินเพือ
่ การเรียนรู ้
1.1 การให ้ข ้อมูลกระตุ ้นการเรียนรู ้
1.2 การให ้ข ้อมูลย ้อนกลับ
1.2 การประเมิ
1.3 การให น ขณะเรี
้ข ้อมู ่ การเรีย
ลเพือ นรู
ยนรู ้
้ต่อยอด
(Assessment
2. การประเมินขณะเรี as ยนรูlearning)

3. การประเมินผลการเรียนรู ้
บทบาทของผู ส ่ มสร ้าง
้ อนในการประเมินผลการเรียนรู ้ทีเสริ
ทักษะการสร ้างสรรค ์และนวัตกรรม

้ งโดยให ้ข ้อมูลย ้อนกลับเชงิ สร ้างสรรค์


❑ เป็ นพีเ่ ลีย
ี้ นะโดยการวินจ
❑ เป็ นผู ้ชแ ่ าร
ิ ฉั ยจุดบกพร่องในการเรียนของผู ้เรียนและ นามาสูก
ดูแลชว่ ยเหลือให ้เกิดการเรียนรู ้
❑ บันทึกผลการประเมินทีส
่ ะท ้อนความก ้าวหน ้าทางการเรียนรู ้ของผู ้เรียนอย่างเป็ น
การสอน
ระบบ
ื่ สารผลการประเมินไปยังผู ้เกีย
❑ สอ ่ ผู ้เรียน ผู ้บริหาร ผู ้ปกครอง
่ วข ้องทุกฝ่ าย เชน
เป็ นต ้น
ิ ธิภาพ
❑ เป็ นผู ้จัดการคุณภาพ โดยนาผลการประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาประสท
ของการจัดการเรียนการสอน

You might also like