You are on page 1of 6

วิชา ทักษะและวิธีการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย

Docs01

ความสําคัญและรูปแบบระบบการเรียนการสอน
ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ

การเรียนการสอนอีเลิรนนิง เปนโครงการที่ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น แตสิ่งทาทายแรกที่เผชิญคือ เราจะ


เริ่มตนอยางไร กรอบการดําเนินการที่ตองทําความเขาใจเกี่ยวกับปญหาของการเรียน การตัดสินใจเลือกใช
เทคโนโลยีใดในการจัดการสอน สิ่งตางๆ ที่ตองทําความเขาใจและจัดการนั้นเรียกวา กระบวนการออกแบบ
อยางเปนระบบ (Instructional system design process) การเขาใจขั้นตอนและวิธีการออกแบบระบบการ
เรียนการสอน จะชวยใหการคิดวางแผนการสอนของผูสอนรอบคอบ และมีวิธีการจัดการเรียนการสอนที่ดี ทํา
ใหผูเรียนมีสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนได
กอนที่จะมีการพัฒนาอีเลิรนนิงนั้น จําเปนตองทําความเขาใจลักษณะการใชอีเลิรนนิง เนื่องดวยการ
เรียนการสอนในระบบอิเล็กทรอนิกสนั้นกระทําผานการใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนหลัก มีผูใหคํานิยามอีเลิรนนิง
ไวมากมายหลายแบบดวยกัน บางก็วาเปนการใชสื่อการสอนที่จัดทําในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสใดๆ บางก็วา
จําเปนตองมีการเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ต และจําเปนตองมีการใชระบบบริหารจัดการการเรียนรู (Learning
management system) ดวย แตไมวาจะเปนเชนไร ลักษณะการใชอีเลิรนนิงที่รองรับกับวัตถุประสงคการใชจะ
เปนสวนสําคัญที่ทําใหผูออกแบบการสอนสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงที่สอดคลองและ
เหมาะสมได ลักษณะการใชอีเลิรนนิง ไดแก
1. การใช อี เ ลิ ร น นิ ง เพื่ อ เป น กิ จ กรรมเสริ ม ของการจั ด การเรี ย นการสอนในห อ งเรี ย น ซึ่ ง เป น การ
จัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended learning) ซึ่งอาจเปนการผสมผสานในระดับของ
กิจกรรมการเรียนรู Bersin (2004) ไดระบุวาการนําสวนของอีเลิรนนิงหรือการเรียนการสอนออนไลนเขามา
ผสมผสานรวมดวยนั้นจะตองคํานึงถึงการออกแบบและกําหนดกิจกรรม 3 ประการไดแก 1) การออกแบบและ
กําหนดกิจกรรมที่เปนแบบฝกหรือการทบทวนความรูใหแกผูเรียน 2) การออกแบบและกําหนดกิจกรรมที่ให
ผูเรียนไดมีการเรียนรูรวมกัน (collaboration) เพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคม และ 3) การออกแบบและกําหนด
กิจกรรมการเรียนรูหลักที่จะชวยใหผูเรียนไดเรียนรูตามที่ไดตั้งวัตถุประสงคไว
ทั้งนี้หากพิจารณาจากความหมายที่สมาคมสโลน (Allen and Seaman, 2005) ไดให
ความหมายของการเรียนการสอนแบบผสมผสานวามีสัดสวนของเนื้อหาที่นําเสนอทางอินเทอรเน็ตเปนรอยละ
30-79 และมีการนําเสนอเนื้อหาผานทางอินเทอรเน็ต มีการใชกระดานสนทนาออนไลน รวมกับการเรียนการ
สอนในหองเรียน สวนที่มีสัดสวนของเนื้อหาที่นําเสนอทางอินเทอรเน็ตนอยกวารอยละ 30 นั้น จัดเปนการใช
เทคโนโลยีเว็บชวยการเรียนการสอน แมวาจะมีการใชระบบบริหารจัดการเรียนรู มีการนําเสนอเนื้อหาผานทาง
อิ น เทอร เ น็ ต แต จ ะมี ป ริ ม าณกิ จ กรรมที่ นํ า เสนอทางออนไลน ไ ม ม าก และยั ง คงเน น การเรี ย นการสอนใน
หองเรียนเปนหลักอยู
2. การจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง หรือออนไลนเต็มรูปแบบ เปนการจัดการเรียนการสอนผานทาง
ออนไลนทั้งหมด ไมมีการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยมีสัดสวนของนําเสนอเนื้อหาทางอินเทอรเน็ตเปนรอยละ
วิชา ทักษะและวิธีการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
Docs01

80-100 (Allen and Seaman, 2005) ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงจึงเปนรูปแบบหนึ่งของ


การศึกษาทางไกล
การออกแบบระบบการเรียนการสอนเปนกระบวนการ มีขั้นตอนในการวางแผนอยางเปนระบบเพื่อให
ไดระบบการเรียนการสอนที่ดี สําหรับการออกแบบระบบการเรียนการสอนทางไกลในรูปแบบของอีเลิรนนิง
จําเปนตองไดรับความรวมมือจากแหลงทรัพยากรที่มากกวาการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน รูปแบบระบบ
การเรียนการสอนจึงมีสวนสําคัญในการดําเนินการเพื่อประสานกับกลุมบุคคลที่เปนแหลงทรัพยากรและชวย
ดําเนินการใหการเรียนการสอนอีเลิรนนิงเกิดขึ้นได
จากการศึกษาของ Gustafon และ Branch (2002) ซึ่งไดศึกษาสํารวจรูปแบบการพัฒนาการสอน
(Instructional Development Model) นักการศึกษาทั้งสองไดสรุปรูปแบบที่พบและแบงออกเปน 3 ลักษณะ
ดวยกันไดแก
1) รู ป แบบที่ เ หมาะกั บ การพั ฒ นาการเรี ย นการสอนในชั้ น เรี ย น (Classroom-oriented
model) ตัวอยางเชน รูปแบบของ Gerlach and Ely
วิชา ทักษะและวิธีการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
Docs01

2) รูปแบบที่เหมาะกับการผลิตสื่อ (Product-oriented model) ตัวอยางเชน รูปแบบของ


Seels and Glasgow

3) รูปแบบที่เหมาะกับการพัฒนาการเรียนการสอนในขอบเขตที่ใหญกวาในชั้นเรียน
(System-oriented model) ตัวอยางเชน รูปแบบของ Dick and Carey
วิชา ทักษะและวิธีการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
Docs01

Gustafon และ Branch ไดอธิบายความแตกตางของรูปแบบทั้ง 3 แบบไวดังตารางขางลางนี้

ลักษณะ การเรียนการสอน การผลิตสื่อ การพัฒนาการเรียน


ในชั้นเรียน การสอน
ผลลัพธ การสอนเปนรายชั่วโมง การผลิตสื่อการสอน การสอนทั้งวิชาและทั้ง
รายบุคคล หลักสูตร
แหลงทรัพยากร นอยมาก สูง สูง
ทีมงานผลิต รายบุคคล ทีมงาน ทีมงาน
ประสบการณทางดาน ต่ํา สูง สูง/ สูงมาก
การออกแบบการสอน
เนนการพัฒนาหรือ การเลือกใช การพัฒนา การพัฒนา
การเลือกใช
ปริมาณของการ ต่ํา ต่ํา ถึง ปานกลาง สูงมาก
วิเคราะหความ
ตองการจําเปน
ความซับซอนของ ต่ํา ปานกลาง ถึง สูง ปานกลาง ถึง สูง
เทคโนโลยีที่ใชในการ
ถายทอดสื่อ
ปริมาณของการ ต่ํา ถึง ปานกลาง สูงมาก ปานกลาง ถึง สูง
ทดสอบและปรับปรุง
ปริมาณของการ ไมมี สูง ปานกลาง ถึง สูง
เผยแพร

ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา การจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงนั้นมีความแตกตางไปจากการ
จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน แมวาจะมีความคลายคลึงกันแตเนื่องจากผูเรียนและผูสอนมีความแตกตางกัน
ในเรื่องของเวลา และสถานที่ ผูที่จัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงจึงจําเปนตองมีความเขาใจลักษณะและ
ธรรมชาติของการเรียนการสอนทางไกลเปนอยางดี โดยเฉพาะการเรียนการสอนทางไกลที่ใชเทคโนโลยี
คอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต ซึ่งผูเรียนคาดหวังการไดรับปฏิสัมพันธจากผูสอน รวมถึงการตอบสนองความ
แตกตางรายบุคคลที่มากกวาในชั้นเรียน
การออกแบบการสอนไมวาจะใชรูปแบบระบบการเรียนการสอนใดๆ นั้น สิ่งสําคัญคือการชวยให
ผูสอนวางแผนการสอนอยางมีระบบ เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนบรรลุจุดมุงหมาย สิ่งที่ตองพิจารณาใน
การจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงนั้นมีคําถามเริ่มที่ไมแตกตางไปจากในชั้นเรียนนัก นั้นคือ
วิชา ทักษะและวิธีการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
Docs01

1. การออกแบบและพั ฒ นาโปรแกรมการเรี ย นนี้ เ พื่ อ ใคร นั้ น คื อ ใครเป น ผู เ รี ย น


กลุมเปาหมาย ผูออกแบบมีความเขาใจและรูจักลักษณะของกลุมผูเรียนเปาหมายนี้มาก
นอยเพียงใด
2. ตองการใหผูเรียนไดเรียนอะไร มีความรูความเขาใจ ความสามารถอะไรเมื่อเรียนจบแลว
นั้นคือ จะตองมีการกําหนดจุดมุงหมายของเรียนใหชัดเจน
3. ผูเรียนจะเรียนรูเนื้อหาวิชานั้นๆ ไดดีที่สุดอยางไร มีวิธีการและกิจกรรมอะไรที่จะชวยให
ผูเรียนเรียนรูได และมีสิ่งใดที่ตองคํานึงถึงบาง
4. เมื่อผูเรียนเขาสูกระบวนการเรียน จะทราบไดอยางไรวาผูเรียนมีการเรียนรูเกิดขึ้น และ
ประสบผลสําเร็จในการเรียนรู

วิธีสอนและกิจกรรม
ผูเรียน การเรียนรู

จุดมุงหมาย การประเมิน

จะเห็นไดวาไมวานักออกแบบการสอน จะยึดถือรูปแบบระบบการเรียนการสอนใดๆ เปนฐานในสราง


โปรแกรมการเรียนรูก็ไมไดหมายความวา การใชรูปแบบนั้นจะทําใหนักออกแบบการสอนเกิดขอจํากัดในการ
ออกแบบการสอนแตอยางใด เพราะกระบวนการตางๆ นั้นมีความยืดหยุนไปตามแตองคประกอบตางๆ การ
ออกแบบวิธีการและกิจกรรมการเรียนรูจะมีความแตกตางไปตามแนวคิดของนักออกแบบและผูสอนแตละคน
แตทั้งนี้ควรเปนแนวทางที่สามารถนําไปปฏิบัติจริงได และสามารถแกปญหาไดอยางเหมาะสม
สําหรับการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิงนั้นจําเปนตองมีความเขาใจเกี่ยวหลักการการศึกษาทางไกล
ทฤษฎีการสื่อสาร ทฤษฎีการเรียนรู ทฤษฎีระบบ และรูปแบบระบบการเรียนการสอน เพื่อเปนฐานในการ
ออกแบบระบบการเรียนการสอนอีเลิรนนิงได อีกทั้งการออกแบบการสอน มิไดเปนการเนนที่การถายโอน
ความรู (Transfer of knowledge) จากผูสอนไปยังผูเรียนเทานั้น การเรียนการสอนอีเลิรนนิงจําเปนตอง
คํานึงถึ งการออกแบบการสอนที่เน นผูเรีย นเปนสํ าคัญซึ่ งประกอบดวยการเรี ยนตามอัตราความก าวหน า
รายบุคคล และการมีปฏิสัมพันธในการเรียนการสอน ซึ่งจะไดกลาวในรายละเอียดตอไป
วิชา ทักษะและวิธีการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิง โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
Docs01

บรรณานุกรม

Allen, I. E. and Seaman, J. (2005). Growing by Degrees: Online education in the United States,
2005. The Sloan Consortium. [Online] Available from
http://www.sloan-c.org/publications/survey/pdf/growing_by_degrees.pdf
Bersin, J. (2004). The Blended Learning Book: Best practices, proven methodologies, and lessons
learned. CA: Pfeiffer.
Gustafson, K.L. and Branch, R. M. (2002). Survey of Instructional Development Models. 4th Edition.
[Online] Available from ERIC, http://www.ericit.org
Kemp, J. E. (1985). The Instructional Design Process. New York: Harper & Row.
Moore, M. G. and Kearsley, G. (2005). Distance education: A systems view. Belmont, CA:
Thomson/Wadsworth.

You might also like