You are on page 1of 39

Therapeutic Use of Self

& Therapeutic
Relationship

Lec.Maliwan Rueankam
PTOT 301 Analysis and Adaptation of Therapeutic media
การใช้ผู้บาบัดเป็นสือ
่ ในการรักษา
O ผู้บาบัดเป็นสื่อการรักษาที่สาคัญที่สุด
ในทางกิจกรรมบาบัด
O ใช้ตนเองเป็นสื่อในเรื่องการประเมิน
ตลอดจนกระบวนการรักษาและการ
สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้รับบริการ
Personal Characteristics
O Insight
O Patience
O A sense of humour
O Energy
O Honesty
O Valuing the individual
O Empathy
O Caring
Insight
O นักกิจกรรมบาบัดต้ องความสามารถที่จะมองและเข้ าใจอย่างชัดเจน มี
ความเข้ าใจที่ถกู ต้ อง เช่น เรื่ องความต้ องการ จุดแข็ง ทัศนคติ
O การตังใจฟั
้ ง สังเกตสีหน้ า อารมณ์ ความรู้สกึ ของผู้รับบริ การ
O ใช้ เวลาและสัมพันธภาพในการรักษา
O ไม่ใช่คณุ สมบัติที่จะได้ มาง่าย ๆ หรื อไม่ได้ เกิดขึ ้นในระยะเวลาอันสัน้
Patience
O นักกิจกรรมบาบัดจะต้ องมีความอดทนอดกลัน้
O กรณีที่ผ้ รู ับบริ การเคยมีประสบการณ์ทางลบกับผู้อื่นมาก่อน
O กรณีที่ผ้ รู ับบริ การขาดความไว้ วางใจในผู้บาบัด
O กรณีที่ผ้ รู ับบริ การเคยได้ รับบริ การจากผู้บาบัดรายอื่นมาก่อน
O กรณีที่ผ้ รู ับบริ การมี authority กว่าผู้บาบัด
A sense of humour
O นักกิจกรรมบาบัดต้ องมีอารมณ์ขนั ในระดับที่เหมาะสมต่อผู้รับบริ การ
O การหัวเราะทาให้ ผ่อนคลาย มองโลกในด้ านดีมากขึ ้น
O ทักษะที่สาคัญคือ จะต้ องทราบว่าเมื่อใดที่ควรหัวเราะและเมื่อใดที่ควร
จะช่วยให้ ผ้ รู ับบริ การสามารถหัวเราะกับเราได้
Energy
O นักกิจกรรมบาบัดจาเป็ นต้ องมีร่างกายที่แข็งแรง และมีพลังทางใจที่
เข้ มแข็ง
O เพื่อให้ สามารถบาบัดผู้รับบริ การได้ อย่างต่อเนื่องและส่งเสริ มการ
เปลี่ยนแปลงรวมถึงให้ กาลังใจผู้รับบริ การให้ ร้ ูสกึ ดีขึ ้นได้
Honesty
O นักกิจกรรมบาบัดต้ องมีความซื่อสัตย์
O หมายถึง การบอกความจริ งให้ แก่ผ้ รู ับบริ การและการรักษาคามัน่
สัญญาต่อผู้รับบริ การ
O บ่งบอกระดับคุณธรรมและจริ ยธรรมในตัวนักกิจกรรมบาบัดเอง
Valuing the individual
O นักกิจกรรมบาบัดต้ องตระหนักถึง การให้ คณ
ุ ค่า การเคารพต่อ
ผู้รับบริ การ เคารพในสิทธิผ้ ปู ่ วย
O แต่ไม่ได้ เป็ นการยอมรับต่อพฤติกรรมของผู้ป่วยทุกอย่าง หาก
พฤติกรรมนันมี ้ ผลกระทบต่อการบาบัดรักษาควรจะต้ องพูดคุยกันและ
ปรับให้ เหมาะสม
Empathy
O แสดงออกถึงความเข้ าใจในความรู้สกึ ของผู้อื่น สามารถที่จะเข้ าไปเห็น
มุมมองและจุดยืนของผู้อื่น
O ไม่เพียงแต่เข้ าใจสิ่งที่ผ้ รู ับบริ การเจอ แต่ต้องกระตุ้นให้ ผ้ รู ับบริ การพูด
หรื อบอกความรู้สกึ ข้ างในของเขาออกมา
O ผู้รับบริ การจะเชื่อมัน่ และสามารถบอกเล่าถึงความรู้สกึ ของตนเอง
ต่อเมื่อ ผู้บาบัดแสดงความจริ งใจและความเข้ าใจอย่างแท้ จริ ง

Empathy vs. Sympathy


Sympathy คือ ความเห็นอกเห็นใจ (sharing feelings of another)
Caring
O นักกิจกรรมบาบัดจะต้ องมีการดูแลเอาใจใส่ต่อผู้รับบริ การและญาติ
O สนใจต่อสิทธิและสวัสดิการของผู้รับบริ การ
O การจูงใจให้ ผ้ รู ับบริ การช่วยเหลือตนเอง
O ส่งเสริ มความเป็ นอยู่ที่ดีและความปลอดภัยของผู้รับบริ การ
การใช้ปฏิสัมพันธ์ในการรักษา
O เป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2 คน
โดยมีจุดประสงค์ในการจัดการปัญหา
และบรรลุเป้าหมายในการบาบัดรักษา
เป็นปัจจัยสาคัญในการรักษาอย่างมี
ประสิทธิภาพ
องค์ประกอบทีจ่ ะนาไปสูค่ วามสาเร็จ
O Connection and Separation
O Sensitivity
O Respect
O Warmth
O Genuineness
O Self-disclosure
O Specificity
O Immediacy
Connection and separation
O การรักษาสมดุลของการมีปฏิสมั พันธ์ ระหว่างผู้บาบัดและผู้รับบริ การ
ไม่ให้ มีปฏิสมั พันธ์ที่ใกล้ ชิดกันเกินไปหรื อไม่ห่างกันจนเกินไป
O Optimal Balance
Sensitivity
O ความไวในการตอบสนองอารมณ์ พฤติกรรม โดยเฉพาะ การแสดงสี
หน้ าท่าทาง
O การแสดงสีหน้ า ท่าทาง จะบ่งบอกถึงความรู้สกึ ความคิดของ
ผู้รับบริ การได้ ดีกว่าคาพูด
O พฤติกรรมกับอารมณ์ เช่น ถ้ าผู้รับบริ การก้ มหน้ า มองที่พื ้น ไม่สบตา
บิดมือ แกะเล็บ กอดอก ที่สื่อถึง ความเครี ยด ความกลัว ความวิตก
กังวล
O ผู้บาบัดต้ องสังเกตให้ ไวและตอบสนองกับปฏิกิริยานันอย่
้ างทันท่วงที
Respect
O เคารพในความคิด ความเชื่อและเหตุผลส่วนบุคคลของผู้รับบริ การ
O ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ค่านิยมของแต่ละชุมชน
O เช่น ผู้ชายบางคนคิดว่าการทาอาหารเป็ นหน้ าที่ของภรรยาหรื อผู้หญิง
ดังนัน้ กิจกรรมการรักษาที่ให้ ทาอาหาร ผู้รับบริ การอาจจะไม่สนใจได้
O ผู้รับบริ การแต่ละบุคคลจะมีความคาดหวังที่ไม่เหมือนกัน
Warmth
O Sense of friendliness, interest, enthusiasm
O แสดงออกผ่านการสบตา, ยิ ้ม, โน้ มตัวไปข้ างหน้ าเล็กน้ อย, สัมผัส และ
ท่าทาง รวมทังน ้ ้าเสียง
O สังเกตว่า ผู้รับบริ การบางคนอาจไม่ชอบการสัมผัส หรื อ การยิ ้มจะต้ องตรง
กับสถานการณ์และมีความเหมาะสม
O น ้าเสียงหรื อการพูดจะต้ องไม่พดู เร็ วเกินไป หรื อใช้ โทนเสียงสูง หรื อ เร่ งเร้ า
ผู้รับบริ การ
Genuineness
O การแสดงออกถึงความจริ งใจ แสดงออกโดย คาพูดและท่าทางไป
ในทางเดียวกัน
O ไม่เสแสร้ งหรื อแสดงออกในลักษณะปกป้องตนเองมากเกินไป
O ไม่แสดงออกถึงความเป็ นนักวิชาชีพที่มากเกินไป หรื อ แสดงท่าทีว่า
เข้ าใจผู้รับบริ การทุกอย่าง
Self-disclosure
O การเปิ ดเผยตนเอง เมื่อผู้รับบริ การเกิดความไว้ วางใจผู้บาบัดก็จะเล่าถึง
เรื่ องของตนเองมากขึ ้น ซึง่ อาจจะเป็ นเรื่ องส่วนตัว หรื ออารมณ์
ความรู้สกึ ที่กดไว้ อยู่ภายใน
O เวลาเป็ นเรื่ องสาคัญ ในขณะที่ทาการพูดคุยหรื อรักษา บางครัง้
ผู้รับบริ การอาจต้ องการเปิ ดเผยความรู้สกึ ของตนเอง ผู้บาบัดต้ องให้
เวลา ไม่ขดั จังหวะหรื อจบการสนทนาระหว่างที่ผ้ รู ับบริ การยังไม่พร้ อม
หรื อยังไม่ร้ ูสกึ ดีขึ ้น
O เรื่ องส่วนตัว เช่น เบอร์ โทรศัพท์ ที่อยู่ของผู้บาบัด เป็ นเรื่ องที่ลาบากใจ
ในการให้ ข้อมูล ให้ เป็ นโทรศัพท์กลาง หรื อที่ทางานจะดีกว่า
Specificity
O ความเฉพาะเจาะจง เช่น การใช้ คาพูดที่ง่ายต่อการเข้ าใจ สามารถสื่อ
ความหมายได้ ตรงไปตรงมา ไม่ซบั ซ้ อน
O มุ่งเน้ นไปที่สิ่งที่เกี่ยวข้ อง เช่น ในกรณีที่ผ้ รู ับบริ การทาผิดพลาด เน้ นไป
ที่การช่วยเหลือแก้ ไขความผิดพลาดที่เกิดขึ ้น
Immediacy
O การให้ ข้อมูลย้ อนกลับทันทีเพื่อให้ ผ้ รู ับบริ การได้ เรี ยนรู้ความสาเร็ จหรื อ
ความผิดพลาดที่เกิดขึ ้น
O เพราะหากไม่ให้ feedback ณ ขณะนัน้ เมื่อเวลาผ่านไปทัง้
ผู้รับบริ การและผู้บาบัดจะจาไม่ได้ ทาให้ พลาดสิ่งสาคัญที่ควรแก้ ไข
หรื อเรี ยนรู้
Role in Therapeutic relationship
O Instructor : teaching activity
O Coach : support their efforts
O Supervisor : check quality of work, monitor progress,
supply with new tasks or new challenges
O Problem solver: identify solution & encourage person to
solve problem
O Environmental manager: change the nature of task, tools &
materials, social or physical context in which
activity occur
O Group member : model appropriate behavior (role model)
Developing therapeutic qualities

O Ask
O Listen
O Observe
O Reflect
Good
Supervisor
องค์ประกอบทีส่ าคัญในการติดต่อสือ่ สาร
O ความเป็ นนักวิชาชีพ O สติปัญญาและการตัดสินใจที่ดี
O วุฒิภาวะ O มนุษยนิยมและความเข้ าใจตนเอง
O ความเชื่อถือได้ O การให้ กาลังใจตนเอง
O ลักษณะส่วนบุคคล
O ความซื่อสัตย์และความจริ งใจ
O ความยืดหยุ่น
O ความคิดสร้ างสรรค์
O วิสยั ทัศน์
สัมพันธภาพเพือ่ การรักษา
O เป็ นสิ่งสาคัญสาหรับนักกิจกรรมบาบัด
O เน้ นระหว่างผู้รักษา ผู้ป่วยและกิจกรรม
O การมีปฏิสมั พันธ์ที่ดีจะนาไปสูค่ วามสาเร็ จของการบาบัดรักษา
O เริ่ มต้ นตังแต่
้ การสนทนาหรื อสัมภาษณ์ผ้ ปู ่ วย การสื่อสารอย่างมี
ประสิทธิภาพ ทาให้ ได้ ข้อมูลที่ครบถ้ วนและตรงประเด็น
1. เทคนิคในการกระตุน้ การสนทนา
O การเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ป
ู ่ วยได้ เลือกแนวทางการสนทนาด้ วยตนเอง
O การกระตุ้นให้ ผ้ ป
ู ่ วยเริ่ มพูดหรื อพูดต่อ เพื่อแสดงให้ เห็นว่าผู้ฟังให้ ความ
สนใจเรื่ องนันอยู
้ ่
O การซ ้าคาพูดของผู้ป่วย เพื่อให้ ผ้ ป
ู ่ วยได้ มีโอกาสไตร่ตรองคาพูดของ
ตนเอง
O การเสนอตนเอง เช่น เสนอทางเลือก หรื อ ต้ องการนัง่ คุยกันไหม
2. เทคนิคทีจ่ ะช่วยให้บุคคลแสดงออกถึง
ความรูส้ กึ และความคิด
O การสังเกตท่าที พฤติกรรมหรื อคาพูด
O การจาหรื อระลึกได้ ของผู้บาบัดเกี่ยวกับผู้รับบริ การ
O การเลือกกล่าวซ ้าเป็ นบางส่วน
O การให้ ข้อมูลหรื อบอกข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องให้ ผ้ รู ับบริ การรู้ เพื่อลดความ
เข้ าใจผิดและให้ ความกระจ่าง
O การพูดซ ้าหรื อทวนคาในเนื ้อหาสาคัญ
3. เทคนิคทีส่ ง่ เสริมให้เข้าใจซึง่ กันและกัน
O การค้ นหาความกระจ่าง ทาความเข้ าใจกับประโยคที่ผ้ รู ับบริ การพูด ใน
กรณีที่ไม่แน่ใจว่าเข้ าใจตรงกันกับผู้รับบริ การหรื อไม่
O การตรวจสอบความเข้ าใจ หมายถึง การที่ผ้ รู ับบริ การไม่สามารถบอก
ความรู้สกึ ของตนเองออกมาได้ แต่ผ้ บู าบัดใช้ คาพูดให้ ผ้ รู ับบริ การเห็น
ถึงความคิดของตนเอง
การสือ่ สารสัมพันธ์ทข่ี าดประสิทธิภาพ
O การพูดให้ กาลังใจของผู้บาบัดโดยไม่คิด แต่ตอบไปตามความเคยชิน
O การบอกหรื อแนะนาให้ ผ้ รู ับบริ การ โดยเอาประสบการณ์และความคิดของผู้บาบัดเอง
ใส่ลงไปด้ วย
O การแสดงความเห็นดีด้วยหรื อตัดสินว่าสิ่งที่ผ้ ปู ่ วยทาหรื อพูดเป็ นสิ่งที่ดีหรื อถูกต้ อง จะ
เป็ นการชี ้แนะว่าสิ่งที่ตรงข้ ามนันไม่
้ ดี
O ประณามหรื อกล่าวโทษพฤติกรรมหรื อความคิดของผู้ป่วย โดยนาค่านิยมของตนเองไป
ตัดสิน
O การแสดงความคิดเห็นที่ขดั แย้ งกับความคิดของผู้ป่วย
O การสนทนาในลักษณะผิวเผิน ใช้ คาพูดทัว่ ไป ไม่มีจดุ มุ่งหมายหรื อทิศทางในการ
สนทนา
O การยืนยันความคิดของตนเองอย่างแข็งขัน โดยไม่ยอมฟั งความคิดเห็นของคนอื่น
O การแสดงให้ เห็นว่า ผุ้บาบัดมีธรุ การงานยุ่งมาก ไม่มีเวลานัง่ ฟั งผู้ป่วยได้ นาน เร่งเร้ าให้
พูดเร็ว ๆ หรื อ พูดตัดบท
สัมพันธภาพที่อาจเกิดขึ ้นได้
ระหว่างการรักษา
สัมพันธภาพแบบ Transference and
countertransference
O Transference จะเกิดกับผู้รับบริ การที่ร้ ูสกึ เชื่อมโยงผู้บาบัดกับ
บุคคลสาคัญของตนเอง เช่น ผู้ป่วยหญิงรายหนึง่ ที่ร้ ูสกึ กับผู้บาบัด
เหมือนพี่ชายที่คอยดูแลเธอเวลาที่มีปัญหากับเพื่อน โดยที่ผ้ ปู ่ วยหญิงก็
ไม่ร้ ูสกึ ตัว
O Countertransference จะเกิดขึ ้นกับผู้บาบัด คือ ผู้บาบัดจะ
รู้สกึ ตอบกลับความรู้สกึ ของผู้ป่วย ดังกรณีข้างต้ น ผู้บาบัดจะทาตน
เลียนบทบาทพี่ชายของผู้ป่วย โดยที่ไม่ร้ ูสกึ ตัวเช่นกัน
O ข้ อเสีย คือ ทาให้ ผ้ ป
ู ่ วยยึดผู้บาบัดเป็ นเหมือนคนสาคัญ ไม่เรี ยนรู้ที่จะ
ค้ นหาปั ญหาและวิธีแก้ ไข เมื่อปล่อยให้ สมั พันธภาพนี ้คงอยู่นานจะยาก
ต่อการจัดการ
O หากเกิด transference กับ countertransference วิธี
จัดการคือ
1. ต้ องสังเกตพฤติกรรมของตนเอง สารวจว่าสิ่งที่ตนเองทากับผู้ป่วย
คนนี ้กับคนอื่น ๆ แตกต่างกันหรื อไม่
2. ต้ องเรี ยนรู้กบั supervisor และ staff คนอื่น ๆ จะทาให้
เข้ าใจความคิดความรู้สกึ ของตนเอง และดึงกลับมาได้
สัมพันธภาพแบบ Dependent
O เป็ นแบบพึง่ พิงผู้บาบัด แบ่งออกเป็ น
O พึง่ พิงมากเกินไป เกิดขึ ้นจากการที่ผ้ บ
ู าบัดทาหลาย ๆ สิ่งให้ กบั ผู้ป่วย
ในสิ่งที่ผ้ ปู ่ วยควรจะทาเอง ทาให้ ผ้ ปู ่ วยทาเองไม่ได้ วิธีแก้ ไขคือ ช่วย
ผู้ป่วยให้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาของตนเองให้ ได้
O พึง่ พิงในส่วนของงาน (productive) ผู้ป่วยจะขอให้ ผ้ บ ู าบัดช่วยในส่วนที่
ผู้ป่วยไม่สามารถทาได้ เช่น ผู้ป่วยที่ poor daily living skills ต้ องการผู้
บาบัดช่วยเตรี ยมเสื ้อผ้ าสาหรับใส่ในงานเลี ้ยง
O พึง่ พิงในแง่ของความมัน่ ใจในตนเอง ทากิจกรรมต่าง ๆ ได้ เองแต่จะขอ
ความเห็นหรื อความมัน่ ใจจากผู้บาบัด
สัมพันธภาพแบบ Helplessness, Anger and
Depression
O นักศึกษาหรื อผู้บาบัดที่เพิ่งทางาน จะรู้สกึ ว่าต้ องการช่วยเหลือทุกคน
ทาให้ ดีขึ ้น แต่เมื่อไปเจอสถานการณ์จริ งที่ผ้ ปู ่ วยไม่สามารถหายหรื อ
กลับไปเป็ นปกติได้ แต่ผ้ บู าบัดให้ ความหวังที่ไม่เป็ นจริ ง เมื่อรักษาไปสัก
ระยะทังผู ้ ้ บาบัดและผู้ป่วยก็จะรู้สกึ สิ ้นหวัง จะเปลี่ยนเป็ นความรู้สกึ
โกรธและซึมเศร้ า ผู้บาบัดก็จะรู้สกึ ไม่ดี ไม่อยากเจอผู้ป่วยอีก
O วิธีที่จะทาให้ ดีขึ ้น คือ ต้ องพูดคุยแบ่งปั นความรู้สกึ ต่อผู้บาบัดคนอื่น
ประสบการณ์จากผู้อื่นจะทาให้ ผ้ บู าบัดใหม่ ได้ นามาใช้ เป็ นบทเรี ยน
เรี ยนรู้วิธีการจัดการกับความรู้สกึ ของตนเองและจัดการกับปั ญหาที่
เกิดขึ ้นได้
สัมพันธภาพแบบ Sexual Feeling
O เป็ นเรื่ องอาจเกิดขึ ้นได้ เนื่องจาก ผู้ป่วยรู้สกึ สับสนบวกกับความใกล้ ชิด
ความเอาใจใส่ดแู ลจากผู้บาบัด ทาให้ ร้ ูสกึ รักหรื อชอบผู้บาบัดมาก
O วิธีจดั การค่อนข้ างยาก คือ ต้ องแสดงท่าทางที่ firmly but
warmth นิ่งแต่อบอุ่น อธิบายให้ ผ้ ปู ่ วยรู้ว่าเป็ นสิ่งที่ไม่เหมาะสม
และผู้บาบัดคงไม่สามารถช่วยเหลือแก้ ไขปั ญหาของผู้ป่วยได้ หากผู้ป่วย
ยังรู้สกึ แบบนี ้ และถ้ าจัดการไม่ได้ ให้ บอกว่าเป็ นกฎของโรงพยาบาล
O การนัดพบพูดคุยเชิงชู้สาวกับผู้ป่วย ถึงแม้ จะออกจากโรงพยาบาลเป็ น
เรื่ องที่ไม่เหมาะสม
O ตัวอย่าง
สัมพันธภาพแบบ Fear and Revulsion
O การทางานกับผู้ป่วยจิตเวช ผู้บาบัดหรื อนักศึกษาจะรู้สกึ กลัวหรื อถอย
ห่าง ซึง่ ความกลัวจะเกิดขึ ้นเนื่องจาก กลัวว่าจะติดโรค เช่น HIV หรื อ
โรคติดต่ออื่น หรื อ กลัวผู้ป่วยจะคลุ้มคลัง่ อาละวาด ทาร้ ายร่างกาย
O กลัวเพราะความไม่ร้ ู ไม่ร้ ูว่าจะทาอย่างไรกับผู้ป่วย จะรักษาแบบไหน
กลัวจะถูกปฏิเสธ
O วิธีการจัดการ ต้ องหาความรู้และข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง ปรึกษาผู้ร้ ูถึงวิธีการ
สังเกตอาการเริ่ มต้ น ข้ อควรระวัง การป้องกัน วิธีการจัดการให้ ดี เพื่อให้
เกิดความมัน่ ใจและสามารถรับมือกับปั ญหาที่เกิดขึ ้นได้
สัมพันธภาพแบบ Ethics
O เป็ นการรักษาสัมพันธภาพแบบยึดตามกฎ กติกา ระเบียบข้ อบังคับของ
วิชาชีพ เช่น
O การพาผู้ป่วยไปห้ องน ้า สาคัญกว่าการพูดคุยโทรศัพท์กบั เพื่อน
O การสรุปผลการประเมินและวางแผนการรักษา หรื อส่งต่อผู้ป่วยไปยัง
แผนกอื่นที่เกี่ยวข้ องอย่างรวดเร็ว ทาให้ ผ้ ปู ่ วยได้ รับบริ การอย่างทันท่วงที
O ยึดสิทธิผ้ ปู ่ วย ไม่เลือกรักษา
O เคารพในความเป็ นส่วนตัว รักษาความลับของผู้ป่วย
O ป้องกันไม่ให้ ผ้ ปู ่ วยเกิดอันตรายในขณะที่อยู่ในความดูแลของผู้บาบัด
O เพิ่มพูนประสบการณ์ความรู้ของตนเองเพื่อนาไปพัฒนางานและรักษา
ผู้ป่วย
O Saying goodbye is hard, especially when we
have been close to someone
O คากล่าวนี ้ใช้ ไม่ได้ กบ ั สัมพันธภาพในการรักษา
O เนื่องจากผู้บาบัดจะต้ องรู้บทบาทของตนเอง การจบสัมพันธภาพในการ
รักษามีได้ หลายแบบ เช่น เมื่อผู้ป่วยต้ องออกจากโรงพยาบาล หรื อ เมื่อ
ผู้ป่วยบรรลุเป้าหมายในการรักษา หรื อ เมื่อต้ องการการรักษาทางด้ าน
อื่นที่เฉพาะทางกว่า หรื อ เมื่อผู้ป่วยต้ องกลับไปอยู่บ้าน
O การ termination ถึงแม้ จะยาก แต่หากทาได้ ควรเตรี ยมความ
พร้ อมเพื่อให้ ผ้ ปู ่ วยสามารถออกไปใช้ ชีวิตได้ อย่างอิสระ
Reference
O จิรนันท์ กริ ฟฟิ ทส์และคณะ. ทฤษฎี กรอบอ้างอิง และกระบวนการทาง
กิจกรรมบาบัด. คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2550.
O Early Beth Mary. Mental Health Concepts and Techniques for the
Occupational Therapy Assistant.3rd edition. Lippincott
Williams&Wilkins;Philadelphia,2000.

You might also like