You are on page 1of 37

แบบสอบพทุ ธิพสิ ั ย จิตพิสัย

และทักษะพิสัย
พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Dom
ain)
เป็ นการเรียนรู้ทางด้านความคิด ความรู้ การแก้
ปั ญหา จัดเป็ นพฤติกรรมทางด้านสมองและสติ
ปั ญญา โดย แบ่งเป็ น 6 ระดับ ได้แก่
1. ความรู้ความจำ (Knowledge)
2. ความเข้าใจ (comprehension)
3. การนำไปใช้ (application)
4. การวิเคราะห์ (analysis)
5. การสังเคราะห์ (synthesis)
6. การประเมินค่า (evaluation)
ลักษณะของผู้ที่จะสร้างแบบ
ทดสอบได้ดี
ทราบเนื้ อหาวิชาที่จะเขียนข้อสอบ
มีความรู้ความเข้าใจนักเรียนที่จะทดสอบเป็ น
อย่างดี
มีทักษะในการใช้คำพูด ไม่ควรใช้ภาษาที่
กำกวม
มีความเข้าใจกับข้อสอบต่าง ๆ เป็ นอย่างดี
หัดเขียนหัดวิจารณ์ข้อสอบ
วิเคราะห์ข้อสอบและปรับปรุงข้อสอบได้
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
1.00 ความรู้ความจำ
1.11 ความรู้เกี่ยวกับศัพท์และนิยาม เช่น
- มุมที่กาง 90 องศา เรียกว่ามุมอะไร
- พระนาสิกแปลว่าอะไร (จมูก)
1.12 ความรู้เกี่ยวกับกฎและความจริง เช่น
- มุมภายในของสามเหลี่ยมรวมกันได้กี่
องศา
- การเป็ นโรคคอพอก เกิดจากขาดสาร
ใด
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
1.13 ความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน
เช่น
- ตราไปรษณีย์ติดที่ใดของซองจดหมาย
- ไปงานศพควรแต่งกายชุดสีใด
1.14 ความรู้เกี่ยวกับลำดับขั้นและแนว
โน้ม เช่น
- ศีล 5 ห้ามเรื่องใดเป็ นข้อแรก
- ให้เรียงลำดับจำนวนที่มีค่าน้อย ไป
มาก 4 2 3 5 1 8
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
1.15 ความรู้เกี่ยวกับการจัดประเภท เช่น
- สิ่งใดจัดเป็ นอาหารประเภทโปรตีน
ก. มันแกว ข. ถัว่ ต้ม ค. มันเผา ง. ฝรัง่
1.16 ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์ เช่น
- สิ่งที่บ่งบอกว่าน้ำในแม่น้ำสกปรกมากน้อยคือ
อะไร
ก. ความยามแม่น้ำ ข. สี ค. ออกซิเจน ง.
ความลึก
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
1.17 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการ เช่น
- การขยายพันธ์มะนาววิธีการใดเหมาะสมที่สุด
- ก่อนรับประทานอาหารควรปฏิบัติอย่างไร
1.18 ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาและการขยาย เช่น
- งู กบ มีลักษณะใดที่เหมือนกัน
ก. ออกลูกเป็ นตัว ข. มีกระดูก
สันหลัง
ค. กินพืชเป็ นอาหาร ง.
เป็ นสัตว์เลื้ อยคลาน
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
1.19 ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและ
โครงสร้าง เช่น
- มุมแหลม มุมฉาก มุมป้ าน ต่างกัน
ในเรื่องใด (จำนวนองศา)
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
2.00 ความเข้าใจ
2.10 การแปลความ เช่น
- “ฟิ น” เป็ นคำพูดที่แสดงอารมณ์
ลักษณะใด
(ดุ ขู่ โมโห มี
ความสุข ประหลาดใจ)
2.11 การตีความ เช่น
- คำประพันธ์น้ ใี ห้คติใดแก่ผู้อ่าน
- ข้อความนี้กล่าวถึงเรื่องใด
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
2.12 การขยายความ เช่น
- เมื่อเกิดน้ำท่วมนานๆ จะเกิดโรคใด
ตามมาบ้าง
- ถ้าโลกหมุนช้าลงจะเกิดอะไรขึ้น
(ฤดูกาลช้าลง)
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
3.00 การนำไปใช้
เป็ นการนำความรู้ความจำที่เคยเรียนมา
มาใช้แก้ปัญหาที่แปลก แตกต่างจากที่เคย
เรียนรู้มา
3.10 ถามความสอดคล้องระหว่างหลัก
วิชากับการปฏิบัติ เช่น นายขาวเก็บเงินได้
แล้วไม่นำไปแจ้งความ ถือว่าผิดศีล 5 ข้อ
ใด
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
3.11 ถามขอบเขตของหลักวิชาและการปฏิบัติ เช่น
- เครื่องมือชนิดใดใช้ในการขุด (เสียม มีด พร้า )
3.12 ถามให้อธิบายหลักวิชา เช่น
- เพราะเหตุใดน้ำมันจึงลอยบนผิวน้ำ
3.13 ถามให้แก้ปัญหา เช่น
- เมื่ออยู่กลางป่ า ไม่มีนาฬิกา เราสามารถใช้สิ่งใด
บอกเวลา
3.14 ถามเหตุผลการปฏิบัติ เช่น
- การเลือกซื้ ออาหารควรยึดหลักใดในการเลือกซื้ อ
(สด สะอาด ประหยัด มีประโยชน์ต่อร่างกาย)
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
4.00 การวิเคราะห์
4.10 การวิเคราะห์ความสำคัญ เช่น
- อะไรคือสาเหตุที่ทำให้เกิดความอ้วน
4.11 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ เช่น
- อาชีพคู่ใดมีลักษณะคล้ายกันมากที่สุด
ก. ทำไร่ ทำสวน
ข. ทำไร่ ทำนา
ค. ทำสวน ทำนา
ง. ทำนา ทำป่ าไม้
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
4.12 การวิเคราะห์หลักการ เช่น
- “ครูเป็ นปูชนียบุคคล” คำกล่าวนี้ผู้
พูดมีความรู้สึกอย่างไร
ก. รัก
ข. ภูมิใจ
ค. เคารพ
ง. ตื่นเต้น
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
5.00 การสังเคราะห์
5.10 การสังเคราะห์ข้อความ เช่น
- จงเขียนเรียงความเรื่อง “ยาบ้า ภัยสังคม”
5.11 การสังเคราะห์แผนงาน เช่น
- หากท่านได้รับการเลือกตั้งเป็ นผู้ใหญ่บ้าน
ท่านจะมีแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้านอย่างไร
5.12 การสังเคราะห์ความสัมพันธ์ เช่น
- ให้กล่าวสรุปผลการทดลองจากที่ได้ทำการ
ทดลอง
การเขียนข้อคำถามด้านพุทธิพิสัย
(ต่อ)
6.00 การประเมินค่า
6.10 การประเมินค่าโดยอาศัยเกณฑ์ภายใน
เช่น
- จากละครเรื่อง สามีตีตรา สายน้ำผึ้งเป็ น
คนอย่างไร
6.11 การประเมินค่าโดยอาศัยเกณฑ์
ภายนอก เช่น
- เมื่อเรียนจบปริญญาตรี ควรเรียนต่อ
ปริญญาโทหรือไม่
พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective
Domain)
เป็ นพฤติกรรมที่เกี่ยวกับอารมณ์
หรือความรู้สึก
นึกคิด เช่น เจตคติ ความสนใจ ความ
ซาบซึ้ง คุณธรรมและการปรับตัว ความรู้สึกหรือ
ลักษณะนิสัยต่าง ๆ ของบุคคล แบ่งเป็ น 5
ระดับ
1. การรับรู้
2. การตอบสนอง
3. การสร้างค่านิยม
4. การจัดระบบค่านิยม
5. การสร้างลักษณะนิสัย
1. ธรรมชาติของการวัดผลด้านจิต
พิสัย
1. เป็ นการวัดทางอ้อม วัดด้านอารมณ์
2. คุณลักษณะด้านจิตพิสัยมีลักษณะเป็ น
นามธรรม ไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง
3. มีความคลาดเคลื่อนได้ง่าย เนื่องจาก
อารมณ์ ความรู้สึกเปลี่ยนไปตาม
สถานการณ์
4. การวัดด้านจิตพิสัยไม่มีถูก ไม่มีผิด
5. การวัดด้านจิตพิสัย วัดได้ 2 แบบ คือ
การประเมินโดยตนเองและการประเมินโดย
ผู้อ่ น

1. ธรรมชาติของการวัดผลด้านจิตพิสัย
(ต่อ)
6. การวัดด้านจิตพิสัยต้องใช้สถานการณ์
จำลองเป็ นเงื่อนไขให้ผู้ถูกวัดตอบ
7. การวัดด้านจิตพิสัย ผู้ตอบสามารถบิดเบือน
คำตอบได้ โดยผู้ตอบมักจะตอบให้ตนเองมี
คุณลักษณะที่ดีในสายตาผู้วัด
8. พฤติกรรมการแสดงออกมีทิศทางการ
แสดงออกได้สองทาง ในทางตรงกันข้าม
เช่น ชอบ-ไม่ชอบ
2. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวัด
ด้านจิตพิสัย
1. กำหนดคุณลักษณะที่ต้องการวัด
2. กำหนดพฤติกรรมชี้บ่ง
3. กำหนดวิธีการวัดและเครื่องมือวัด
4. สร้างเครื่องมือวัด
5. ตรวจสอบคุณภาพ
6. ปรับปรุงเครื่องมือ
7. สร้างเกณฑ์การแปลความหมายและจัดทำ
คู่มือการใช้
2.1 การกำหนดคุณลักษณะทีต่ ้ องการวัด
ได้ แก่ คุณลักษณะด้ านความรู้ สึก ค่ านิยม คุณธรรม จริยธรรม
ทีร่ ะบุไว้ ในจุดมุ่งหมายของหลักสู ตร จุดประสงค์ ของรายวิชา
ตัวอย่ าง เช่ น

วิชา คุณลักษณะทีต่ ้ องการเน้ น


คณิ ตศาสตร์ - ตระหนักในคุณค่าคณิ ตศาสตร์
- มีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์
2.2 กำหนดพฤติกรรมทีบ่ ่ งชี้
เป็ นการนำคุณลักษณะที่ต้องการวัดมา
วิเคราะห์ว่า จะมีพฤติกรรมใดที่บ่งชี้
คุณลักษณะดังกล่าวให้ชัดเจน เช่น

ความขยันหมัน่ เพียร มีการกำหนด


คุณลักษณะ คือ
- ช่วยงานครูที่โรงเรียน
- ช่วยเหลืองานกลุ่ม
- มาโรงเรียนสม่ำเสมอ
2.3 กำหนดวิธีการวัดและเครื่องมือ
พิจารณาว่า พฤติกรรมที่เรากำหนดนั้น
เหมาะที่จะใช้เครื่องมือหรือวิธีการวัดแบบใด
โดยต้องเลือกเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่ง
ที่จะวัด
2.4 สร้ างเครื่องมือวัด
เมื่อเลือกเครื่องมือวัดที่เหมาะสมได้แล้วก็
เป็ นขั้นการลงมือสร้างเครื่องมือ โดยในการ
เขียนข้อความในการวัดพฤติกรรมด้านจิต
พิสัยจะมี 2 ลักษณะ คือ
ข้อความเป็ นบวก เช่น เรียนวิชา
คณิตศาสตร์แล้วสนุก
ข้อความเป็ นลบ เช่น เรียน
คณิตศาสตร์แล้วปวดหัว
2.5 ตรวจสอบคุณภาพ
หลังจากสร้างเครื่องมือแล้วต้องมีการตรวจ
สอบคุณภาพของเครื่องมือก่อนนำไปใช้จริง
โดยมีวิธีดังนี้
1. ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาข้อความนั้นๆ
ว่าเหมาะสมกับเรื่องที่จะวัด ครอบคลุมเรื่อง
ที่จะวัดหรือไม่
2. ทดลองใช้เครื่องมือ แล้ววิเคราะห์หา
ค่าความเชื่อมัน ่ ซึ่งนิยมกันมี 2 วิธี
คือ โดนใช้สูตรการหาสัมประสิทธิแ ์ อลฟา
ของครอนบาค และการหาค่าความเชื่อมัน ่
2.6 ปรับปรุ งเครื่องมือ
เมื่อทราบผลการตรวจสอบคุณภาพของ
เครื่องมือ ผู้สร้างควรปรับปรุงเครื่องมือ
เพื่อให้ได้ข้อความที่มีคุณภาพมากที่สุด
2.7 สร้ างเกณฑ์ ในการแปลความหมายและจัดทำคู่มอื การใช้
ในการสร้างเกณฑ์ในการแปลความหมายจะ
ต้องชัดเจน เข้าใจตรงกัน และทำการจัด
ทำคู่มือการใช้ เพื่อทำให้เครื่องมือมีความ
เป็ นมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ โดยใน
คู่มือการใช้จะประกอบด้วย จุดมุ่งหมายการ
วัด ลักษณะการวัด คุณภาพการวัด วิธี
ดำเนินการวัด การแปลความหมายคะแนน
และการรายงานผล
3. เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวัดพฤติกรรมด้ านจิตพิสัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดพฤติกรรมด้านจิต
พิสัย อาจเป็ นเครื่องมือที่ผู้ตอบประเมิน
ตนเอง หรือให้ผู้อ่ น
ื ประเมิน โดยอาจใช้
การสังเกต การสัมภาษณ์ แบบสอบถาม
หรืออื่นๆ ตามคุณลักษณะที่ต้องการวัด
พฤติกรรมด้ านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)

เป็ นการวัดความสามารถในการปฏิบัติ หรือ


ทักษะของผู้เรียน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้
แสดงความสามารถในรูปการกระทำจริง ให้
ออกมาเป็ นผลงาน ภายใต้สถานการณ์ที่ผู้
ทดสอบกำหนดสามารถวัดได้
1. ธรรมชาติของการวัดผลด้าน
ทักษะพิสัย
1. สามารถประเมินได้ท้ งั เป็ นกลุ่มและราย
บุคคล ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ต้อง
ปฏิบัติ
2. งานที่ปฏิบัติแตกต่างกันย่อมมีวิธีการวัดที่
แตกต่างกัน
3. การวัดภาคปฏิบัติสามารถวัดได้ 3 แบบ
คือ วัดกระบวนการ วัดผลงาน หรือวัดทั้ง
กระบวนการและผลงาน
4. การวัดการปฏิบัติอาจแยกได้เป็ น 3 ระดับ
คือ ระดับพฤติกรรม ระดับผลลัพธ์ และ
2. ลักษณะการวัดภาคปฏิบัติ
การวัดภาคปฏิบัติ สามารถวัดได้ 4 ลักษณะ ดังนี้
1. การทดสอบการปฏิบัติด้วยการเขียนตอบ มุ่งวัด
การใช้ความรู้ ทักษะ
2. การทดสอบเชิงจำแนก เป็ นการทดสอบที่ผู้เรียน
จำแนกเครื่องมือหรือวิธีการที่ใช้ในการปฏิบัติ โดย
ประเมินว่าผู้ที่สามารถจำแนกได้เป็ นผู้ที่มี
ประสบการณ์ในงานนั้น
3. การปฏิบัติเชิงสร้างสถานการณ์ โดยเน้นให้ผู้เรียน
ได้ปฏิบัติในสถานการณ์ที่เหมือนจริง
4. การปฏิบัติงานจริง เช่น การอ่านออกเสียง การคัด
ลายมือ
3. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวัดพฤติกรรม
ด้านทักษะพิสัย
1. การกำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้
ต้องมีการกำหนดพฤติกรรมการเรียนรู้
แล้งแปลงให้เป็ นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ที่สามารถวัดได้ สังเกตได้ โดยจะเน้นที่การ
ปฏิบัติเป็ นสำคัญ
2. การกำหนดคุณลักษณะของพฤติกรรมที่
ต้องการวัด
เป็ นการกำหนดว่าจะให้ผู้เรียนปฏิบัติ
อะไร โดยลักษณะงานที่จะปฏิบัติต้อง
สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียน
3. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวัดพฤติกรรม
ด้านทักษะพิสัย (ต่อ)
3. กำหนดวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัด
โดยทำได้หลายวิธี ได้แก่
1. การใช้แบบสอบข้อเขียนหรือแบบสอบ
ปากเปล่า เช่น การทดสอบความรู้เกี่ยว
กับขั้นตอนการเย็บผ้า
2. การสร้างสถานการณ์จำลอง เช่น การ
จำลองสนามฝึ กหัดขับรถ
3. การวัดผลจากการปฏิบัติจริง โดยอาจ
วัดที่กระบวนการ ผลงาน หรือวัดทั้งสอง
อย่าง
3. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวัดพฤติกรรม
ด้านทักษะพิสัย (ต่อ)
4. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล
โดยต้องคำนึงถึงการเลือกเครื่องมือให้
เหมาะสมกับลักษณะที่ต้องการวัด
5. การตรวจสอบคุณภาพ
ก่อนที่จะนำเครื่องมือไปใช้ ต้องมีการตรวจ
สอบคุณภาพก่อน
3. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวัดพฤติกรรม
ด้านทักษะพิสัย (ต่อ)

6. ปรับปรุงเครื่องมือ
เมื่อทราบผลการตรวจสอบเครื่องมือแล้ว
ต้องมีการปรับปรุงเครื่องมือ ให้พร้อมใช้งาน
ในสถานการณ์จริง
7. การกำหนดวิธีการประเมิน
เพื่อให้สามารถแปลความหมายของคะแนน
ให้เข้าใจตรงกัน กำหนดวิธีการตรวจให้
คะแนนอย่างละเอียด
4. เครื่องมือที่ใช้วัดพฤติกรรมด้านทักษะ
พิสัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวัดพฤติกรรมด้าน
ทักษะพิสัย จะมีท้ งั การเขียน
ตอบหรือการทดสอบเชิงจำแนก และ
จะใช้การทดสอบเป็ นการให้ปฏิบัติจริง
หรือปฏิบัติเชิงสถานการณ์
คำถามท้ายบท
คำชี้แจง ให้นักศึกษาเขียนตอบคำถามต่อไปนี้ ให้
ได้ใจความสมบูรณ์
๑. ให้นักศึกษาเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิ
พิสัย (Cognitive Domain) ทั้ง ๖ ด้าน ๆ ละ ๑
ข้อ (วิชาภาษาอังกฤษ ระดับการศึกษาขั้นพื้ นฐาน)
๒. ธรรมชาติของการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
(Affective Domain) มีอะไรบ้าง จงอธิบาย
๓. ธรรมชาติของการวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย
(Psychomotor Domain) มีอะไรบ้าง จงอธิบาย
๔. ลักษณะการวัดผลภาคปฏิบัติมีอะไรบ้าง จงอธิบาย

You might also like