You are on page 1of 6

ความร่วมมือเพื่อการแข่งขันในอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าทางอากาศโลก กรณีศึกษา สายการบินร่วมทุน 'AeroLogic' ของ DHL Express และ

Lufthansa Cargo A.G.

กษา
ในสภาพแวดล้ อ มทางธุ ร กิ จ ที มี ก ารแข่ ง ขั น สู ง ในปจจุ บั น เพื อบรรลุ ค วามได้ เ ปรีย บทางการแข่ ง ขั น และเพื อความ
อยู่ ร อดขององค์ ก ร หลายบริษั ท ได้ ส ร้า งการเชื อมโยงเชิ ง กลยุ ท ธ์ กั บ บริษั ท อื น โดยปรากฏการณ์ ที เกิ ด นี ถู ก นํา มาใช้ อ ย่ า ง
แพร่ห ลาย เนื องจากการนํา กลยุ ท ธ์ ก ารจั ด การห่ ว งโซ่ อุ ปทานมาใช้ ม ากขึ น ส่ ง ผลให้ มี ก ารบู ร ณาการและความร่ว มมื อ
ระหว่ า งผู้ ร ่ว มลงทุ น ที เข้ า ร่ว มในห่ ว งโซ่ อุ ปทานการขนส่ ง สิ น ค้ า ทางอากาศมากขึ นตามไปด้ ว ย โดยความร่ว มมื อ นี นอกจาก
เพื อตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า พั น ธมิ ต รยั ง อํา นวยความสะดวกในการเพิ มประสิ ท ธิ ภ าพผลกํา ไรที เกิ ด ขึ นร่ว มกั น

วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องบทความนี คื อ เพื อศึ ก ษาความพั ฒ นาและความคื บ หน้ า ในปจจุ บั น ของสายการบิ น ขนส่ ง สิ น ค้ า
เชิ ง กลยุ ท ธ์ "AeroLogic" ซึ งเปนความร่ว มมื อ ระหว่ า ง ลุ ฟ ท์ ฮั น ซ่ า คาร์โ ก้ เอจี และบริษั ท ดี เ อชเเอล โดยความร่ว มมื อ นี
ถื อ เปนความร่ว มมื อ ด้ า นปฏิ บั ติ ก ารครังใหญ่ ที สุ ด ของอุ ตสาหกรรมขนส่ ง สิ น ค้ า ทางอากาศทั วโลก

จุ ด มุ่ ง หมายเพิ มเติ ม ของบทความนี คื อ การตรวจสอบว่ า สายการบิ น ร่ว มทุ น AeroLogic ได้ เ พิ มความสามารถใน
การแข่ ง ขั น ให้ กั บ ลุ ฟ ท์ ฮั น ซ่ า คาร์โ ก้ เอจี และบริษั ท ดี เ อชเเอล ในอุ ตสาหกรรมขนส่ ง สิ น ค้ า ทางอากาศโลก อี ก ทั งเพื อ
ตรวจสอบการเลื อ กประเภทเครืองบิ น ขนส่ ง สิ น ค้ า และฐานปฏิ บั ติ ก ารหลั ก ของสายการบิ น ด้ ว ย นอกจากนี ยั ง เพื อตรวจ
สอบเครือ ข่ า ยเส้ น ทาง AeroLogic มี วิ วั ฒ นาการอย่ า งไรเมื อเวลาผ่ า นไป
ศึ
Background
แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี ยวกั บ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นร่ว มทุ น (Joint Venture
ไ อง ด หมด ไ
Partnerships) เน fora
ะ 5
แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี ยวกั บ แรงจู ง ใจในการจั ด ตั งห้ า งหุ้ น ส่ ว นร่ว มทุ น
(The Motivations for Forming Joint Venture
Iilvresof ว Ir

Partnerships) .
Jointvmtm
แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี ยวกั บ ปจจั ย ความสํา เร็จ ของกิ จ การร่ว มค้ า (Joint
Venture Success Factors)
แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี ยวกั บ การร่ว มทุ น ในอุ ตสาหกรรมขนส่ ง สิ น ค้ า ทาง
อากาศทั วโลก (Joint Ventures in the Global Air Cargo
Industry)
แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี ยวกั บ ความล้ ม เหลวในอดี ต ของพั น ธมิ ต รการขนส่ ง
สิ น ค้ า ทางอากาศ (Past Failures of Air Cargo Alliances)
แนวคิ ด ทฤษฎี โ มเดล Five Force ของศาสตราจารย์ ไมเคิ ล ยู จี น
พอร์เ ตอร์ (Porters Five Forces Model)
ก้
พู
ต้
น้
ม่
ด้
การ ย

Research Method
3.1 แนวทางการวิจย
ั (Research Approach)

การศึ ก ษาวิ จั ย ครังนี เปนการสํา รวจในลั ก ษณะกว้ า งๆ


และเปนไปตามแนวทางอุ ปนั ย โดยใช้ วิ ธี ศึ ก ษากรณี ศึ ก ษาเชิ ง
คุ ณ ภาพในระยะยาวเปาหมายหลั ก ของการดํา เนิ น การศึ ก ษาวิ จั ย คื อ
“การพั ฒ นาและการสร้า งทฤษฎี ” ที เปนมากกว่ า การวิ เ คราะห์ ส ถิ ติ
หรือ ทดสอบสมมติ ฐ านตามที โรเบิ ร ์ต เค หยิ น นั ก สั ง คมศาสตร์ช าว
อเมริกั น ได้ บั น ทึ ก ไว้ โดยกรณี ศึ ก ษาช่ ว ยให้ ส ามารถสํา รวจ
ปรากฏการณ์ ที ซั บ ซ้ อ น (complex phenomena) และช่ ว ยให้
สามารถรวบรวมข้ อ มู ล ได้ อ ย่ า งละเอี ย ด นอกจากนี ประโยชน์ เ พิ ม
เติ ม ของการศึ ก ษาคื อ พวกเขายั ง เปดโอกาสให้ นั ก วิ จั ย สามารถ
สร้า งทฤษฎี ที เชื อมโยงกั บ วิ ธี ป ฏิ บั ติ
วิ
วิ
จั
ธี
Research Method
3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data collection )

ข้ อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพสํา หรับ การวิ จั ย ได้ ม าจากเอกสารต่ า ง ๆ


ประกอบด้ ว ย รายงานประจํา ป วารสารอุ ตสาหกรรมการขนส่ ง ทางอากาศ
รายงานอุ ตสาหกรรม บทความข่ า ว และแหล่ ง รวมนิ ต ยสารที เกี ยวข้ อ งกั บ
อุ ตสาหกรรมการขนส่ ง ทางอากาศและการขนส่ ง สิ น ค้ า เช่ น โลกการขนส่ ง
ทางอากาศ (Air Transport World) วารสารพาณิ ช ยศาสตร์
(Journal of Commerce) และ Payload Asia เปนต้ น โดยเข้ า ถึ ง
ข้ อ มู ล จาก Proquest ABI / INFORM และ EBSCO Information
Sources อี ก ทั งยั ง รวมถึ ง ข้ อ มู ล จากเว็ บ ไซต์ AeroLogic DHL
Express ข้ อ มู ล เว็ บ ไซต์ Lufthansa Cargo AG และข่ า ว
ประชาสั ม พั น ธ์ ข องทั งสององค์ ก ร
จากตารางที 1 ฐานข้อมูลของการสืบค้น คือ SCOPUS และ Google
Scholar โดยคําทีใช้ในการค้นหาข้อมูล ได้แก่ 'AeroLogic' ' 'air cargo
industry joint ventures', joint ventures', 'Lufthansa Cargo
and DHL Express joint venture'
เอกสาร ใ ประกอบ การ ก ชา
f

ทีมา: Infrastructures, 2018

การวิจย
ั เลือกใช้การวิเคราะห์ขอ
้ มูลทุติยภูมเิ พือตรวจสอบปญหาการวิจย
ั โดย
ในการวิจย ั ิตามหลักการ 3 ประการ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามที
ั ครังนีปฏิบต
โรเบิรต
์ เค หยิน แนะนํา ได้แก่ การใช้แหล่งข้อมูลจากหลายแหล่ง การสร้างฐาน
ข้อมูลในประเด็นทีสนใจ และการสร้างห่วงโซ่การคุ้มครองพยานหลักฐาน
(chain of evidence / custody)
ท้
กั
ช้
Research Method
3.3 กระบวนการวิเคราะห์เอกสาร ( Document Analysis Process )
ั การตรวจสอบโดยใช้การวิเคราะห์เอกสาร การตรวจสอบตามเกณฑ์ 4 ประการ
ข้อมูลเชิงประสบการณ์ทีเก็บรวบรวมสําหรับกรณีศึกษาได้รบ

เกณฑ์ที 1 ความถูกต้อง (Authenticity ) บริบทของการสร้างเอกสารต้องได้รบ ั การพิจารณาและการประเมินความถูกต้องของเอกสาร


แหล่งทีมาไม่มป
ี ญหาหรือมีการเปลียนแปลงในภายหลัง หากพบว่าเอกสารถูกเปลียนแปลง
โดยผ่านการแก้ไขข้อความ หรือวิธก
ี ารอืนใด ผูว้ จ
ิ ย
ั จะต้องระบุการเปลียนแปลงเหล่านันอย่าง
ชัดเจน

เกณฑ์ที 2 ความน่าเชือถือ(Credibility) หมายถึงขอบเขตทีเอกสารมีความถูกต้องและแม่นยํา และปราศจากข้อผิดพลาด เอกสารที


รวบรวมเพือการศึกษาครังนีพบว่าไม่มข
ี อ
้ ผิดพลาด ความถูกต้องของเอกสารทังหมดได้รบ
ั การ
ตรวจสอบว่าเปนบทความทีน่าเชือถือ

เกณฑ์ที 3 ความเปนตัวแทนหรือกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลเอกสารของกลุ่มตัวอย่างอาจเปลียนแปลงไปเมือเวลาผ่านไป ทําให้ขอ ้ มูลเหล่านันอาจถูก


(Representative) มองว่ามีค่าน้อย ในการศึกษานีใช้ขา่ วประชาสัมพันธ์และรายงานประจําปของสายการบินลุฟท์ฮัน
ซ่าและดีเอชแอล ปรากฏเปนสาธารณสมบัติ รายการข่าวใน AEROLOGIC ถูกจัดเก็บไว้ในฐาน
ข้อมูล PROQUEST ABI / INFORM หรือ EBSCOHOST ดังนัน เอกสารจึงได้รบ ั การเก็บ
รักษาไว้ ดังนันปญหาของเอกสารทีใช้อย่างดีและไม่มค ี วามเสือมสภาพ

เกณฑ์ที 4 ความหมาย(Meaning) หมายถึงระดับของหลักฐานทีชัดเจนและเข้าใจได้สาํ หรับผูว้ จ


ิ ย
ั และเกียวข้องกับการประเมิน
เอกสารทีรวบรวมเพือการศึกษา

เอกสารทีรวบรวมเพือการศึกษานีครอบคลุมช่วงป 2534 ถึง 2560 กล่าวคือ เอกสารครอบคลุมระยะเวลาตังแต่ก่อตัง AEROLOGIC JV ระหว่าง


DHL EXPRESS และ LUFTHANSA CARGO จนถึงเวลาปจจุบน ั ของการศึกษา

You might also like