You are on page 1of 3

View metadata, citation and similar papers at core.ac.

uk brought to you by CORE


provided by PSU Knowledge Bank

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

โครงการ

การวิเคราะห์ แบบจาลองสาหรับปัญหาเงินทุนสารองน้ อยสุ ดในบริษัท


ประกันภัย

Model Analysis for Minimum Capital Reserve Problem in


Insurance Company

ผู้วจิ ัย

ดร.ครรชิต เชื้อขา

โครงการวิจัยนีไ้ ด้ รับทุนสนับสนุนจากเงินรายได้
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตามโครงการพัฒนาศักยภาพ

การทาวิจัยของอาจารย์ ใหม่ ประเภทดรุณาจารย์

ประจาปี งบประมาณ 2555

รหัสโครงการ C&M550535S
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) การวิเคราะห์แบบจาลองสาหรับปัญหาเงินทุนสารองน้อยสุ ดในบริ ษทั
ประกันภัย

(ภาษาอังกฤษ) Model analysis for minimum capital reserve problem in insurance


company

นักวิจัย ดร. ครรชิ ต เชื้ อขา สาขาสังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ คณะพาณิ ชยศาสตร์ และ
การจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตตรัง

อาจารย์พเี่ ลีย้ ง ดร. อาทิตย์ อินทรสิ ทธิ์ ภาควิชาคณิ ตศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี
กิตติกรรมประกาศ
โครงการวิจยั นี้ ไ ด้รับ ทุ นสนับ สนุ นจาก เงิ นรายได้มหาวิทยาลัย สงขลานคริ นทร์ ตามโครงการ
พัฒนาศักยภาพการทาวิจยั ของอาจารย์ใหม่ ประเภทดรุ ณาจารย์ ประจาปี งบประมาณ 2555 รหัสโครงการ
C&M550535S และได้รับ ความกรุ ณาจาก ดร.อาทิ ตย์ อิ นทรสิ ท ธิ์ ภาควิชาคณิ ตศาสตร์ และวิทยาการ
คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี ในการทา
หน้าที่อาจารย์พี่เลี้ยง

ผูว้ จิ ยั ขอขอบพระคุณผูบ้ ริ หารมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่และวิทยาเขตตรัง ที่


ได้ให้ความสาคัญกับการสร้างนักวิจยั รุ่ นใหม่เพื่อนามหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ไปสู่ มหาวิทยาลัยวิจยั ชั้น
นา ด้วยการสนับสนุนเงินทุนและอานวยความสะดวกในทุกประการ ทาให้ผวู ้ จิ ยั ได้มีเวลาในการทาวิจยั อย่าง
เต็มที่ จนสามารถผลิตงานวิจยั และตีพิมพ์ได้สาเร็ จ สุ ดท้ายนี้ ผวู ้ ิจยั ขอขอบพระคุ ณ ดร.อาทิตย์ อินทรสิ ทธิ์
และผูท้ รงคุณวุฒิทุกท่าน ที่ให้คาแนะนาในการทาวิจยั

บทคัดย่อ
โครงการวิจยั นี้ ตอ้ งการศึ กษาเงิ นทุ นเริ่ มต้นน้อยที่ สุดสาหรั บความเสี่ ยงด้านประกันภัยในบริ ษทั
ประกันภัยจากแบบจาลองทางคณิ ตศาตร์ และใช้วธิ ี ทางไบเซคชัน่ พิสูจน์การมีอยูข่ องเงินทุนเริ่ มต้นน้อยที่สุด
สาหรับความเสี่ ยงด้านประกันภัย นอกจากนี้ ได้หา Recursive form สาหรับคานวณเงินทุนเริ่ มต้นน้อยที่สุด
สาหรับความเสี่ ยงด้านประกันภัยและประยุกต์ใช้แบบจาลองกับตัวอย่างที่เหมาะสม
The goal of this project is to study the minimum initial capital for insurance risk in insurance
company via mathematic model and using bisection method to prove the existance of a minimum initial.
Finally, I found the recursive form for compute a minimum initial capital for insurance risk and apply the
model with the suitable example.

บทสรุ ปผู้บริหาร
ธุ รกิ จการประกันภัย (บริ ษทั ประกันชี วิตและบริ ษทั ประกันวินาศภัย) เป็ นธุ รกิจที่กาลังได้รับความ
สนใจเป็ นอย่างมากในปั จจุบนั และถือว่าเป็ นกลุ่มธุ รกิจอันดับต้นๆ ที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วแต่
การขยายกิ จการของบริ ษทั จะต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดพระราชบัญญัติประกันชี วิตและพระ ราชบัญญัติ
ประกันวินาศภัย โดยมีคณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย (คปภ) เป็ นหน่วยงาน
หลัก ที่ ค อยก ากับ และดู แลธุ รกิ จการประกันภัย ในประเทศไทยเพื่ อให้ เกิ ดความเป็ นธรรมระหว่า งผูเ้ อา
ประกันภัยกับผูร้ ับประกันภัย (บริ ษทั ประกันภัย) และเพื่อให้เกิดการเข้าใจที่ตรงกัน บริ ษทั ประกันภัยที่จะ
กล่าวถึงต่อไปนี้คือ บริ ษทั ประกันวินาศภัยเท่านั้น
การประกันภัย คือ การถ่ายโอนความเสี่ ยงระหว่างผูเ้ อาประกันภัยและผูร้ ับประกันภัย (บริ ษทั
ประกันภัย วินาศภัย ) ภายใต้ข ้อตกลงหรื อสัญญา ผูเ้ อาประกันภัย จะได้รับการคุ ้ม ครองตามสัญญา
ขณะเดียวกัน ผูร้ ับประกันภัยก็จะได้เบี้ยประกันภัยเป็ นการตอบแทน เมื่อมีเหตุการณ์ไม่คาดคิดเกิดขึ้นภายใต้
ข้อตกลง ผูร้ ับประกันภัยก็ตอ้ งจ่ายเงิน เพื่อการซ่ อมแซม หรื อการรักษา หรื ออื่นๆ โดยจะเรี ยกว่า ค่าสิ นไหม
ทดแทน ซึ่ งถือว่าเป็ นความเสี่ ยงของบริ ษทั ประกันภัยนัน่ เอง โดยปกติแล้วค่าสิ นไหมทดแทนของเหตุการณ์
ที่ไม่คาดคิดที่บริ ษทั ประกันภัยจะสู ญเสี ยจะมากกว่าเบี้ยประกันภัยที่ได้รับจากผูเ้ อาประกันภัยอยูแ่ ล้ว ดังนั้น
บริ ษ ัท ประกัน ภัย จะต้อ งมี เ งิ น ทุ น จ านวนหนึ่ งส ารองไว้ส าหรั บ เหตุ ก ารณ์ ดัง กล่ า ว ตามที่ ก าหนดใน
พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ดังรายละเอียดต่อไปนี้

พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๑/๑ การดารงเงินกองทุนและ


สิ นทรั พย์ สภาพคล่ อง มาตรา ๒๗ ให้ ค ณะกรรมการ* มี อานาจประกาศกาหนดประเภทและชนิ ดของ
เงินกองทุนรวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคานวณเงินกองทุนของบริ ษัท
บริ ษัทต้ องดารงไว้ ซึ่งเงิ นกองทุนตลอดเวลาที่ ประกอบธุ รกิ จประกันวิ นาศภัย เป็ นอัตราส่ วนกั บ
สิ นทรั พย์ หนีส้ ิ น ภาระผูกพัน หรื อความเสี่ ยงตามอัตราที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
การกาหนดอัตราการดารงเงิ นกองทุนตามวรรคสอง คณะกรรมการประกาศจะกาหนดตามขนาด
หรื อประเภทสิ นทรั พย์ หนีส้ ิ น ภาระผูกพัน หรื อความเสี่ ยงรวมทุกประเภท หรื อแต่ ละประเภทก็ได้

หมายเหตุ คณะกรรมการ* คือ คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุรกิจประกันภัย (คภป)

You might also like