You are on page 1of 32

สรุปสาระสาค ัญ

้ ระโยชน์ผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม


่ เสริมการใชป
พรบ. สง
พ.ศ. 2564

จิราภรณ์ เหลืองไพรินทร์
ผูอ ิ ทางปัญญา ม. ขอนแก่น
้ านวยการศูนย์ทร ัพย์สน
่ เสริมการใชป
พรบ. สง ้ ระโยชน์ผลงานวิจ ัยและ
นว ัตกรรม พศ. 2564

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 8 พย.
2564
มีผลบ ังค ับใช ้ หล ังจากประกาศ
180 ว ัน

7 พค. 2565 (บ ังค ับใช)้

น ักวิจ ัยจะได้เป็นเจ้าของงานวิจ ัย/นว ัตกรรม จริงหรือไม่ ?


สรุปสาระสาค ัญของ พรบ.

1. ผูร้ ับทุน สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจ ัย (แต่ตอ ้ งร้องขอ)


นักวิจัยสามารถเป็ นเจ ้าของผลงานวิจัยได ้ ถ้าผูร้ ับทุนไม่นาผลงานวิจัย

ไปใชประโยชน์
2. กาหนดหล ักเกณฑ์และหน้าที่ ในการโอนผลงานวิจ ัย/นว ัตกรรม
ระหว่างผู ้เป็ นเจ ้าของผลงานให ้แก่ผู ้อืน

3. ให้อานาจนายกร ัฐมนตรี ออกคาสงั่ ให ้หน่วยงานของรัฐหรือ
หน่วยงานทีไ่ ด ้รับมอบหมาย นาผลงานวิจ ัยมาใชก ้ รณีฉุกเฉิน/ภาวะ
วิกฤติ
้ ระโยชน์ และรายงาน
4. ผูเ้ ป็นเจ้าของผลงานวิจ ัย/นว ัตกรรม ต้องใชป
ผลต่อผู ้ให ้ทุน
5. ผูป ้ ระโยชน์ผลงานวิจ ัย/นว ัตกรรม เสนอเงือ
้ ระสงค์จะใชป ่ นไข/
ผลตอบแทนในการขออนุญาต
6. หน่วยงานต้องกาหนด วิธก ่ เสริม การจ ัดสรรผลประโยชน์
ี ารสง
ให้แก่น ักวิจ ัย
การบ ังค ับใช ้ พรบ. (ม.7)
้ ับใคร
มีผลบ ังค ับใชก

้ ับหน่วยงานร ัฐทีม่ ี หน้าที่ อานาจ หรือ


ใชก

ว ัตถุประสงค์ ในการให้ทน
ุ สน ับสนุนการวิจ ัยและนว ัตกรรม
สกสว.
บพข.
วช.
ฯลฯ มหาวิทยาล ัย ?

ปัจจุบ ัน มีการแต่งตงั้ คณะกรรมการสง ่ เสริมวิทยาศาสตร์ วิจ ัย


และ นว ัตกรรม (กสว) เพือ ่ กาก ับ/ดูแล พรบ.นี้
ภายใต้ พรบ.นี้ มหาวิทยาล ัย ร ับทุนวิจ ัย
จาก วช. โดยมี อ. A และ อ. B เป็ นผู ้วิจัย
ผลงานวิจัย/นวัตกรรมตกเป็นของใคร ?
วช.
ห ัวหน้าโครงการวิจ ัย
คณะน ักวิจ ัย
?
มหาวิทยาล ัย
การร ับทุน & การเป็นเจ้าของ
มหาวิทยาล ัยร ับทุนจาก
หน่วยงานร ัฐ

น ักวิจ ัยมีการสร้าง/
ค้นพบผลงานวิจ ัยและ มหาวิทยาล ัย ร้องขอเป็น
นว ัตกรรม เจ้าของผลงานวิจ ัยและ
นว ัตกรรมรทางอิเล็กทรอนิ กส ์อนิ
Yes
ห ัวหน้าโครงการ
เปิ ดเผยผลงานวิจ ัย/ มหาวิทยาล ัย พร้อมเสนอแผน/กลไกการ
นว ัตกรรม รายงานต่อ ต้องการเป็นเจ้าของ ใชป้ ระโยชน์/รายงานข้อ
มหาวิทยาลัย (ม.7) ผลงานวิจัย/นวัตกรรม ค้นพบใหม่ไปย ังผูใ้ ห้ทน

กรณีทผี่ ลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมสามารถ


ยืน
่ จดทะเบียนสท ิ ธิบ ัตร/อนุสทิ ธิบ ัตร
มหาวิทยาล ัย เป็นผูด ้ าเนินการ
No
บริหารผลงานวิจัย/นวัตกรรม
เสนอแผน/กลไกการ
มหาวิทยาล ัยไม่ น ักวิจ ัยต้องการเป็น และรายงานการใชประโยชน์้
้ ระโยชน์พร้อมก ับ
ใชป
ต้องการเป็นเจ้าของ เจ้าของผลงานวิจ ัย/ ต่อผู ้ให ้ทุน(ม.12)
รายงานข้อค้นพบใหม่
ผลงานวิจ ัย/นว ัตกรรม นว ัตกรรม ไปย ังผูใ้ ห้ทน

ม. ขอนแก่นร ับทุนวิจ ัยจาก เทศบาลนคร
ขอนแก่น โดยมี อ. A และ อ. B เป็ นผู ้วิจัย

จะตกอยูภ ้ ระโยชน์ฯ
่ ายใต้ พรบ. ใชป ?
พรบ. นี้ บ ังค ับแก่การให้ทน ุ ของ หน่วยงานของ
ร ัฐทีม่ วี ัตถุประสงค์ หรือหน้าทีแ
่ ละอานาจในการ
ให้ทน ุ สน ับสนุนการวิจ ัยและนว ัตกรรม

เทศบาลนครขอนแก่นเป็นหน่วยงานร ัฐ
จ ัดตงมี
ั้ ว ัตถุประสงค์ หรือหน้าทีแ
?
่ ละอานาจใน
การให้ทน ุ สน ับสนุนการวิจ ัยและนว ัตกรรม
?
สรุปประเด็นสาค ัญ

มหาวิทยาล ัยร ับทุน น ักวิจ ัยต ้องเปิ ดเผยผลวิจัยแก่มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาล ัยยืน่ ขอ เป็ นเจ ้าของ ถ้าไม่ดาเนินการภายใน


ผลงานวิจัย/นวัตกรรมภายใน 1 ปี หลังรับ ระยะเวลาทีก ่ าหนด
เรือ
่ งจากน ักวิจ ัย

มหาวิทยาล ัยนาผลงานวิจ ัย/ ความเป็นเจ้าของผลงานวิจัย/


นว ัตกรรมใชป้ ระโยชน์ นวัตกรรมตกเป็นของผูใ้ ห้ทน

น ักวิจ ัยสามารถยืน
่ ขอ เป็ น
ใชป้ ระโยชน์ภายใน 2 ปี
เจ ้าของผลงานวิจัย/นวัตกรรมได ้
รายงานการใชป ้ ระโยชน์ตอ
่ ผูใ้ ห้
ทุน
ถ้ามีรายได้ จ ัดสรรรายได้สว ่ นหนึง่
้ ไม่
ถ้าเกิดผลประโยชน์เกิดขึน
ให้น ักวิจ ัย
ต้องแบ่งปันให้มหาวิทยาล ัย
ผลกระทบต่อมหาวิทยาล ัย

1. มหาวิทยาล ัยเป็นผูร้ ับทุน+ ทาสญ


ั ญากับหน่วยงานรัฐ

ทาวิจ ัยเสร็จ ห ัวหน้าโครงการเปิ ดเผยผลวิจ ัยแก่มหาวิทยาล ัย

2. มหาวิทยาล ัยต้องการเป็น ้ ระโยชน์ (ภายใน


ถ้าไม่นาไปใชป
2 ปี )
เจ้าของผลงานวิจัย/นวัตกรรม
3. ต้องเปิ ดเผยผลวิจ ัย /ร ้องขอ/
พร ้อมสง่ แผนการใชประโยชน์
้ ิ ธิรอ
แก่ผู ้ให ้ทุน น ักวิจ ัยมีสท ้ งขอเป็น
เจ้าของผลงาน (ม.8 ว2)
้ ระโยชน์ + แบ่งปัน
4. นาไปใชป
ผลประโยชน์ให้น ักวิจ ัย
ถ้าเกิดผลประโยชน์
5. บริหารผลงานวิจ ัย และรายงาน ้ ไม่ตอ
เกิดขึน ้ งแบ่งปัน
การใชป ้ ระโยชน์ตอ
่ ผูใ้ ห้ทน
ุ (ม.12) ให้มหาวิทยาล ัย
ผลกระทบต่อมหาวิทยาล ัย

ถ้ามหาวิทยาล ัยไม่รอ้ งขอเป็นเจ้าของ


ผลงานวิจ ัย/นว ัตกรรม
?
ผลงานตกเป็นของแหล่งทุน

ิ ธิรอ
น ักวิจ ัยมีสท ้ งขอเป็นเจ้าของ
ผูอ้ น
ื่ ก็สามารถร้องขอได้

ถ้าเกิดผลประโยชน์เกิดขึน
ไม่ตอ
้ งแบ่งปันให้มหาวิทยาล ัย
ผลกระทบต่อมหาวิทยาล ัย

มหาวิทยาล ัยต้องการเป็นเจ้าของผลงานวิจัย/
นวัตกรรม
หน่วยงานไหนจะเป็นผูด
้ าเนินการ ?

??
ฝ่ายวิจ ัย
สถาบ ันวิจ ัย
ฝ่ายนว ัตกรรม
หน่วยทร ัพย์สนิ ทางปัญญา
ผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม
หมายถึง

้ จากการวิจ ัย หรือ
ข้อค้นพบหรือผลทีเ่ กิดขึน
การสร้างนว ัตกรรม โดยการค ้นคว ้า การทดลอง การ
สารวจหรือการศกึ ษา
รวมถึงองค์ความรู ้ การประดิษฐ ์ กระบวนการผลิต
ผลิตภ ัณฑ์ กระบวนการบริการ หรือ การจัดการในรูปแบบ
ใหม่
ซงึ่ เป็นข้อค้นพบใหม่หรือพ ัฒนาให้ดข ึ้ กว่าเดิม
ี น
อย่างมีน ัยสาค ัญและนาไปใชป ้ ระโยชน์ได้ ไม่วา ่ จะ
ได้ร ับความคุม ้ ครองตามกฎหมายเกีย ่ วก ับ
ทร ัพย์สน ิ ทางปัญญาหรือไม่ก็ตาม
้ ระโยชน์ผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม
การใชป
หมายถึง
การใช ้ หรือ อนุญาตให้ใชส
้ ท
ิ ธิ ในผลงานวิจัยและ
นวัตกรรมในการผลิตผลิตภัณฑ์ การจัดทาบริการ การ
ปรับปรุงกรรมวิธก
ี ารผลิต
การจ ัดโครงสร้างองค์กร การบริหารจัดการ หรือการ
่ ใดในเชงิ พาณิชย์ หรือสาธารณประโยชน์
ดาเนินการอืน
หรือ การนาผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมไปใชใ้ น
การศกึ ษา ค้นคว้า ทดลอง หรือวิจ ัยเพือ
่ พ ัฒนาต้นแบบ
ผลิตภ ัณฑ์หรือต่อยอดผลงานนน ั้
และให้หมายความรวมถึงการจาหน่ายจ่ายโอน
ผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมโดยมีประโยชน์ตอบแทนที่
คานวณเป็นเงินได้ดว้ ย
ข้อยกเว้นการบ ังค ับใช ้ พรบ. (ม.4)

่ พ ัฒนาการปฏิบ ัติงาน ตามหน้าที่


การวิจ ัยและนว ัตกรรมเพือ
และอานาจของหน่วยงานร ัฐ
คนต่างด้าวซงึ่ ไม่มถ
ี น
ิ่ ทีอ่ ยูใ่ นราชอาณาจ ักรไทย เว้นแต่
สภานโยบายประกาศกาหนดเป็นรายกรณี
่ วข้องก ับอาวุธยุทโธปกรณ์
การวิจ ัยและนว ัตกรรมทีเ่ กีย

การวิจ ัยและนว ัตกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ ่ มวลมนุษยชาติ


หรือประชาชนชาวไทยโดยรวม หรือจะต้องใชเ้ ป็นพืน ้ ฐาน
่ ซงึ่ ไม่สมควรให้ผลงานวิจ ัยและ
สาค ัญของการวิจ ัยอืน
นว ัตกรรมเป็นของบุคคลใดหรือองค์กรใดเป็นการเฉพาะ
หน้าทีผ
่ ร
ู ้ ับทุน & การเปิ ดเผยผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม (ม.7)

ผูร้ ับทุนมีหน้าทีเ่ ปิ ดเผยผลงานวิจ ัยและ


นว ัตกรรมทีเ่ กิดขึน ั
้ จากสญญาให้ ทนุ ให้ผใ
ู ้ ห้ทน

ทราบ ตามระเบียบทีค ่ ณะกรรมการกาหนด
เพือ่ ประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหนึง่ ให้

ห ัวหน้าโครงการวิจ ัยตามสญญาให้ ทนุ มีหน้าที่
เปิ ดเผยผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมต่อผูร้ ับทุน
โดยเร็ว
อย่างไรเรียกว่าโดยเร็ว ?

่ เสริมวิทยาศาสตร์ วิจ ัยและนว ัตกรรม ว่า


ระเบียบคณะกรรมการสง
ด้วยการเปิ ดเผย ความเป็นเจ้าของ และการโอนผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๕
หน้าทีผ
่ ร
ู ้ ับทุน & การเปิ ดเผยผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม
ม.ขอนแก่น ร ับทุนวิจ ัยจาก วช. (อ. รวยทรัพย์เป็ นหัวหน ้า
โครงการ)

อ. รวยทร ัพย์ ต้องเปิ ดเผยผลงานวิจัยฯ แก่ ม.ขอนแก่น

ม.ขอนแก่นเปิ ดเผยผลวิจ ัย /ร ้องขอความเป็ นเจ ้าของ/


พร ้อมสง่ แผนการใชประโยชน์
้ แก่ผใู ้ ห้ทน
ุ (วช.) (ม.8)

ถ้าม.ขอนแก่น ไม่ต ้องการเป็ นเจ ้าของผลงาน ผูใ้ ห้ทนุ


(วช.) แจ ้งให ้นักวิจัยทราบผ่านหัวหน ้าโครงการวิจัย
อ. รวยทร ัพย์ สามารถร้องขอเป็นเจ้าของได้

?
ถ้าน ักวิจ ัยไม่แจ้ง/ไม่เปิ ดเผยผลงานวิจ ัยฯ แก่มหาวิทยาล ัย ?
ข้อยกเว้นการบ ังค ับใช ้ พรบ. (ม.10)
ในกรณีทห ี่ น่วยงานของร ัฐตามม. 3 และหน่วยงานอืน
่ ของร ัฐ
หรือหน่วยงานหรือบุคคลในภาคเอกชนร่วมก ันให้ทน ุ
สน ับสนุนการวิจ ัยและนว ัตกรรม
ความเป็นเจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมให้เป็นไป
ตามทีก ั
่ าหนดในสญญาร่
วมให้ทน

ในกรณีทส ี่ ถาบ ันอุดมศกึ ษาของร ัฐตามกฎหมายว่าด้วยการ


อุดมศก ุ โดยใชเ้ งินรายได้ของตน ซงึ่ มิใชเ่ งินที่
ึ ษาเป็นผูใ้ ห้ทน
ได้ร ับจ ัดสรรจากกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย หรือ
ทุนสน ับสนุนการวิจ ัยและนว ัตกรรมตาม พรบ.นี้
ความเป็นเจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมให้เป็นไปตามที่

กาหนดในสญญาให้
ทนุ
ข้อยกเว้นการบ ังค ับใช ้ พรบ. (ม.10)

กรณีรว่ มให้ทน ั
ุ ให้เป็นไปตามสญญาร ับทุน

บพข.+ บริษ ัท A ร่วมก ันให้ทน ุ ม.ขอนแก่น


ทาวิจ ัย (อ.ไก่เป็ นหัวหน ้าโครงการ)


สญญาร ับทุน สามารถระบุได้วา่ เจ้าของ
ผลงานวิจ ัย/นว ัตกรรม ให้ตกเป็นของ

ม.ขอนแก่นแต่เพียงผูเ้ ดียว หรือ


ม.ขอนแก่น + บริษ ัท A เป็นเจ้าของร่วม
ข้อยกเว้นการบ ังค ับใช ้ พรบ. (ม.10 ว.2)

ุ โดยใชเ้ งินรายได้
กรณีมหาวิทยาล ัยให้ทน

ของตนเองให้เป็นไปตามสญญาร ับทุน

ม.ขอนแก่นใชเ้ งินรายได้เพือ่ ให้ทน


ุ อ.ไก่
เป็ นทาวิจ ัย


สญญาร ับทุน สามารถระบุได้วา ่ เจ้าของ
ผลงานวิจ ัย/นว ัตกรรม ให้ตกเป็นของ

ม.ขอนแก่นแต่เพียงผูเ้ ดียว หรือ


ม.ขอนแก่น +อ. ไก่ เป็นเจ้าของร่วม
ทุนวิจ ัยทีอ ่ ายใต้ พรบ.นี้
่ ยูภ ่ ายใต้ พรบ.นี้
ทุนวิจ ัยทีไ่ ม่อยูภ
1. การให้ทน ุ ของหน่วยงานของร ัฐ
ทีม
่ วี ัตถุประสงค์ หรือ หน้าทีแ
่ ละ 1. การให้ทน ึ ษาซงึ่ มี
ุ การศก
อานาจในการให ้ทุนสนับสนุนการวิจัยฯ เงือ
่ นไขให้ทาการวิจ ัย หรือ
หรือ การให ้ทุนของหน่วยงานด ้านการ สร้างนว ัตกรรมเป็นสว่ น
ให ้ทุนตามทีส
่ ภานโยบายประกาศ หนึง่ แห่งการให้ทนุ
2. การให้ทนุ สน ับสนุนการวิจ ัยและ 2. การให้ทน ุ สน ับสนุนการวิจ ัย
นว ัตกรรมโดยใชเ้ งินจาก และนว ัตกรรม ทีม ่ ล
ี ักษณะ
ก. งบประมาณแผ่นดิน ก. การจ ้างทีป
่ รึกษาตาม
ข. กองทุนสง่ เสริม ววน. กฎหมายว่าด ้วยการจัดซอ ื้ จัดจ ้าง
ค. กองทุนหรือทุนหมุนเวียนอืน
่ ทีม
่ ี
และการบริหารพัสดุภาครัฐ
วัตถุประสงค์การให ้ทุนสนับสนุนการวิจัย
ข. การให ้ทุนการแบบอืน ่
3. การให้ทน ุ แบบให้เปล่าทงหมด
ั้ ตามทีห่ น่วยงานกาหนด โดย
(grant) หรือ บางสว
่ น (matching ความเห็นชอบของกสว.
Grant) การให ้ทุนแบบกาหนดเงือ ่ นไข
การใชคื้ น (recoverable Grant) หรือการ
ให ้ทุนเป็ นเงินให ้กู ้ยืมแบบมีกาหนด
ระยะเวลาชาระคืนแก่ผู ้ให ้ทุน (loans)
ข้อยกเว้นการบ ังค ับใช ้ พรบ. (ม.11)

คนต่างด้าวซงึ่ มีถน
ิ่ ทีอ
่ ยูใ่ นราชอาณาจ ักรไทย
ิ ธิและหน้าทีต
จะมีสท ่ ามพระราชบ ัญญ ัตินเ้ี พียงใด

ให้เป็นไปตามหล ักเกณฑ์ วิธก


ี าร และเงือ
่ นไข ที่
สภานโยบายประกาศกาหนด

ประกาศสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร ์
่ สิทธิและหน้าทีของคนต่
วิจ ัยและนวัตกรรมแห่งชาติ เรือง ่ ่
างด้าวซึงมี
่ อยู
ถินที ่ ่ในราชอาณาจักรไทย ทีจะได้
่ ร ับการส่งเสริมการใช้ประโยชน์
ผลงานวิจย ั และนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๕
การบริหารจ ัดการผลงานวิจ ัย/นว ัตกรรม (ม.12)

เมือ
่ ได้เป็นเจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมแล้ว
เจ้าของมีหน้าทีใ่ ชป ้ ระโยชน์ภายใน 2 ปี (หรือ
ระยะเวลาอืน ่ ตามทีก
่ าหนด) นับจากวันทีเ่ ป็ นเจ ้าของ
้ ายใน 2 ปี ผูใ้ ห้ทน
หากไม่ใชภ ุ จะแจ้งเตือนก่อน
หากต้องการใชป ้ ระโยชน์ตอ ่ ไป เจ้าของผลงานอาจ
่ คาขอ และแสดงหล ักฐานความพยายามการใช ้
ยืน
ประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ห้ทนุ เพือ
่ ขอขยายเวลาได ้ตามสมควร
แต่หากย ังไม่มก ้ ระโยชน์อก
ี ารนาไปใชป ี ผลงานวิจ ัย
นนจะ
ั้ กล ับมาเป็นของผูใ้ ห้ทนุ
ถ ้าไม่เห็นชอบกับการขยายเวลาของผู ้ให ้ทุน สามารถอุทธรณ์กบ
ั กรรมการฯ ได ้ภายใน
30 วันนับจากวันทีไ่ ด ้รับผลการพิจารณา
้ ระโยชน์
การใชป
้ ระโยชน์
ต ัวอย่าง ความพยายามใชป

การวางยุทธศาสตร์การใชป ้ ระโยชน์ทงทางธุ
ั้ รกิจ และทางสาธารณะ
ประโยชน์
การทา due diligence ของต ัวเอง
การทา market survey
พ ัฒนาต่อยอดจาก TRL ระด ับตา่ สู่ TRL ระด ับสูง ให้ใกล้ market
การออกแบบรูปล ักษณะภายนอกและบรรจุภ ัณฑ์
การหา potential license
การวางแผนการลงทุน
การเข้าร่วมงานแสดงผลงานสงิ่ ประดิษฐ์/การประกวด/การจับคูธ ่ รุ กิจ

ต ัวอย่าง
้ ระโยชน์จริง
การใชป ั
มีการทาสญญาอนุ ้ ท
ญาตให้ใชส ิ ธิ
มีการนาไปใชใ้ นการประกอบธุรกิจ หรือ
วางยุทธศาสตร์ธรุ กิจของตนเอง
ิ ธิในผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม
การโอนสท
ข้อมูลจากเวบไซต์สานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) https://www.nxpo.or.th/th/bda/
การบริหารจ ัดการผลงานวิจ ัย/นว ัตกรรม (ม.13)
ก่อนครบระยะเวลาทีผ ่ ใู ้ ห้ทน
ุ กาหนด หากผู ้เป็ นเจ ้าของผล

งานวิจัยฯ ยังมิได ้ใชประโยชน์ ผลงานวิจัยฯ แต่ประสงค์จะใช ้
ประโยชน์ผลงานวิจ ัยฯ ต่อไป
ให้ยน
ื่ คาขอต่อผูใ้ ห้ทน
ุ พร ้อมแสดงข ้อเท็จจริงและหลักฐาน
อันแสดงให้เห็นถึงความพยายามในการใชประโยชน์ ้ ผล
งานวิจัยฯ
หากผูใ้ ห้ทน
ุ เห็นด้วยก ับคาขอ ให ้ผู ้ให ้ทุนขยายระยะเวลาการ

ใชประโยชน์ ผลงานวิจัยฯ ตามทีเ่ ห็นสมควร
หากพ้นระยะเวลาทีผ ่ ใู ้ ห้ทน
ุ ขยายให้แล้วย ังไม่มก ี ารนา
ผลงานวิจ ัยฯ ไปใชป ้ ระโยชน์ ให้ความเป็นเจ้าของผล
งานวิจ ัยฯ นนเป
ั้ ็ นของผูใ้ ห้ทน ุ ท ันที นับแต่วน
ั ทีค
่ รบกาหนด
ระยะเวลาทีข่ ยายนัน้ เว้นแต่จะได้มก ี ารอุทธรณ์
การแบ่งปันรายได้ (ม.14)

ถ้าผูร้ ับทุนทีเ่ ป็นเจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมมีรายได้


จากการนาผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมไปใชป ้ ระโยชน์
่ นหนึง่ ให้แก่น ักวิจ ัย
ผูร้ ับทุนต้องจ ัดสรรรายได้สว

ถ้าผูร้ ับทุนเป็นสถาบ ันอุดมศกึ ษา


ให้นารายได้สว ่ นหนึง่ ไปใชส้ าหร ับการวิจ ัยและสร้าง
นว ัตกรรมด้วย
ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์และเงือ
่ นไขตามระเบียบทีค
่ ณะกรรมการ
กาหนด
การแบ่งปันรายได้ (ม.14)

ถ้าผูร้ ับทุนทีเ่ ป็นเจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมมีรายได้


จากการนาผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมไปใชป ้ ระโยชน์ ผูร้ ับทุน
่ นหนึง่ ให้แก่น ักวิจ ัย
ต้องจ ัดสรรรายได้สว
ึ ษาให้นารายได้สว
ถ้าผูร้ ับทุนเป็นสถาบ ันอุดมศก ่ นหนึง่ ไปใช ้
สาหร ับการวิจ ัยและสร้างนว ัตกรรมด้วย ทัง้ นี้ ตาม
หลักเกณฑ์และเงือ ่ นไขตามระเบียบทีค
่ ณะกรรมการกาหนด

ถ้าผูร้ ับทุนทีเ่ ป็นเจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมมอบหมายให้นต ิ ิ


บุคคล ซงึ่ มีวัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการผลงานวิจัยและนวัตกรรมเป็ นผู ้ใช ้
ประโยชน์โดยไม่มค
ี า่ ตอบแทนอันคานวณเป็ นเงินได ้

หากนิตบ ิ ค
ุ คลนนมี
ั้ รายได้จากการนาผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมไป
ใชป ้ ระโยชน์ ให้นต ิ บ ุ คลด ังกล่าวจ ัดสรรรายได้สว่ นหนึง่ ให้แก่
ิ ค
น ักวิจ ัยด้วย
การแบ่งปันรายได้ (ม.14)

ี ักวิจ ัยหลายคน แต่น ักวิจ ัยเพียงบางคนเป็น


กรณีมน
เจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมมีรายได้จากการ
นาผลงานนนไปใช
ั้ ป้ ระโยชน์
ให้น ักวิจ ัยซงึ่ เป็นเจ้าของผลงานด ังกล่าวจ ัดสรรรายได้
่ นหนึง่ ให้แก่น ักวิจ ัยอืน
สว ่ ซงึ่ มิได้เป็นเจ้าของด้วย

กรณีผใู ้ ห้ทน ุ เป็นเจ้าของ หรือร่วมเป็นเจ้าของผลงานวิจ ัยและ


นว ัตกรรมมีรายได้จากการนาผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมไปใช ้
ประโยชน์
ให้ผใู ้ ห้ทน
ุ ด ังกล่าวจ ัดสรรรายได้สว่ นหนึง่ ให้แก่น ักวิจ ัยด้วย
การจัดสรรรายได ้ให ้แก่นักวิจัยให ้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และ
เงือ
่ นไขตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการกาหนด
การแบ่งปันรายได้ (ม.14)

อ. ไก่ + อ.กุง้ + อ.หมู ทาวิจ ัย “เซรม


่ ั ทาหน้า” ร่วมก ัน
ื่ ขอเป็นเจ้าของ “เซรม
อ. ไก่ ได้ยน ่ ั ทาหน้า”
อ.ไก่ ผลิต“เซรม
่ ั ทาหน้า” ขาย และมีรายได้

อ.กุง้ + อ.หมู จะได้อะไร ?

อ.ไก่ ต้องจ ัดสรรรายได้สว่ นหนึง่ ให้แก่ อ.กุง้ +


อ.หมู ซงึ่ มิได้เป็นเจ้าของด้วย
การโอนผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม (ม.15)
การโอนผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม ซงึ่ ผูร้ ับทุน หรือ
น ักวิจ ัยเป็นเจ้าของ ไปเป็นของบุคคลอืน

ต้องได้ร ับความยินยอมจากผูใ้ ห้ทน
ุ และต้องทาเป็น
ลายล ักษณ์อ ักษร รวมทงน ิ ทาง
ั้ าไปจดทะเบียนทร ัพย์สน
ปัญญาตามกฎหมายว่าด้วยการนนด้
ั้ วย
ทัง้ นี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธก
ี าร และเงือ
่ นไขตามระเบียบทีค
่ ณะกรรมการกาหนด

หากเป็นการโอนให้แก่นต ิ บ ุ คล ซงึ่ ผูร้ ับทุนมอบหมายให้บริหารจ ัดการ


ิ ค
ผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม ไม่ตอ้ งได้ร ับความยินยอมจากผูใ้ ห้ทนุ

ผูใ้ ห้ทน ้ งึ่ ผูใ้ ห้ทน


ุ หรือ ผูซ ุ มอบหมาย ย ังมีสทิ ธิใชผ ้ ลงานวิจ ัย
และนว ัตกรรม เพือ ่ การศก ึ ษา ค้นคว้า ทดลอง วิจ ัย หรือ
พ ัฒนา (ม. 16)
้ ท
การบ ังค ับ การโอน/การอนุญาตให้ใชส ิ ธิ (ม.17)
หาก กสว. เห็นว่าผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมนนจะเป
ั้ ็ นประโยชน์
ต่อสาธารณะมากกว่า หากอยูใ่ นการบริหารจัดการของหน่วยงานของ
รัฐหรือบุคคลอืน
่ ใด

กสว. อาจมีคาสง่ ั ให้โอนผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมไปให ้แก่


หน่วยงานของรัฐหรือบุคคลนัน ้ หรือ มีคาสงั่ อนุญาตให ้หน่วยงาน
ของรัฐหรือบุคคลนัน้ ใชส้ ท
ิ ธิในผลงานวิจัยและนวัตกรรมได ้

โดยต้องชดใชค ้ า
่ ทดแทน หรือ เสย ี ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรม
ภายในเวลาอ ันควร ทัง้ นี้ กสว. จะกาหนดเงือ
่ นไขตามทีเ่ ห็นสมควร
ด ้วยก็ได ้

่ เสริมวิทยาศาสตร์ วิจ ัย และ นว ัตกรรม (กสว)


กสว. = คณะกรรมการสง
้ ระโยชน์ (ม.18)
่ เสริมการนาผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมไปใชป
การสน ับสนุน/สง

กสว. สามารถจ ัดสรรเงินจากกองทุนให ้เพียงพอและเหมาะสมกับสถานการณ์


ในการสน ับสนุนและสง ่ เสริม การนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมเกีย
่ วกับ

เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมไปใชประโยชน์ ในวงกว ้าง

เพือ
่ ประโยชน์ในการเพิม
่ สมรรถนะในการผลิตและผลิตภาพ สร้าง
รายได้
ยกระด ับคุณภาพชวี ต
ิ และสงิ่ แวดล้อม ในการสร้างประโยชน์ให้

สงคมหรื อชุมชน
รวมทงการถ่
ั้ ายทอดความรู ้ หรือเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมแก่เกษตรกร
กลุม
่ อาชพี ในชุมชน วิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเพือ ั
่ สงคมผู
ด ้ อ
้ ยโอกาส
หรือประชาชนในพืน ้ ที่
ยกระด
กสว. = ับเศรษฐกิ
จฐานรากและเพิ
คณะกรรมการสง ม
่ ขีดความสามารถการแข่
่ เสริมวิทยาศาสตร์ วิจ ัย และ นว ัตกรรม ง ข ันของ
(กสว)
ประเทศ

น ักวิจ ัยทีด ้ ส
่ าเนินการตามนีม ิ ธิได้ร ับค่าตอบแทน (ม.19)
ี ท
้ ระโยชน์โดยผูอ
การร้องขอใชป ้ น
ื่ (ม.20)

ผูซ ้ ระโยชน์ผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมอาจยืน


้ งึ่ ประสงค์จะใชป ่ คาขอต่อ
กสว. เพือ ่ ขออนุญาตใชป ้ ระโยชน์ผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมด ังกล่าว

แสดงหล ักฐานว่าได้พยายามขออนุญาตใชป ้ ระโยชน์ผลงานวิจ ัยและ


นว ัตกรรมจากเจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม โดยได้เสนอเงือ ่ นไข/
ค่าตอบแทนทีเ่ พียงพอตามพฤติการณ์แห่งกรณีแล ้ว แต่ไม่สามารถตกลงก ันได้
ภายในระยะเวลาอ ันควร
เมือ
่ ได ้รับคาขอแล ้ว คณะกรรมการพิจาณาว่าเจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรม
มิได้ดาเนินการใด ๆ นาผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมด ังกล่าวไปใช ้
ประโยชน์ในระยะเวลา 2 ปี นับแต่วน
ั ทีผ
่ ลงานวิจัยและนวัตกรรมตกเป็ นของผู ้นัน

ให ้คณะกรรมการพิจารณามีคาสง่ ั อนุญาตให้ผข ู ้ อสามารถนาผลงานวิจ ัยและ
นว ัตกรรมนนไปใช
ั้ ้ ระโยชน์ได้และกาหนดค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรมภายใน

ระยะเวลาอ ันควร โดยอาจกาหนดเงือ ่ นไขหรือข้อจาก ัดสทิ ธิได้ตามที่
เห็นสมควร และต้องแจ้งให้เจ้าของผลงานวิจ ัยและนว ัตกรรมทราบเป็ นหนังสอ ื
โดยไม่ชกั ชา้ โดยให ้ถือว่าคาสงั่ อนุญาตดังกล่าวเป็ นการให ้ใชส้ ท
ิ ธิในทรัพย์สน ิ ทาง
ปั ญญาตามกฎหมายว่าด ้วยการนัน ้ ทัง้ นี้ ตามระเบียบทีส่ ภานโยบายกาหนด

You might also like