You are on page 1of 74

ul ity y,

ak ers og
D ,
tis iv ol

M
หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการสั ตวแพทย์
n

V
(หลักสู ตรใหม่ ) ฉบับปี พ.ศ.$%%$
un Un ch
e
lo rn T
ha ko ry
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V

คณะสั ตวศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร


มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
1

หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการสั ตวแพทย์


(หลักสู ตรใหม่ ) ฉบับปี พ.ศ. 2552
คณะสั ตวศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

1. ชื, อหลักสู ตร

ul ity y,
1.1 ภาษาไทย : หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย์
1.2 ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Science Program in Veterinary Technology

ak ers og
D ,
tis iv ol

M
2. ชื, อปริญญา

n
2.1 ชื9อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการสัตวแพทย์)

V
un Un ch
ชื9อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Veterinary Technology)
2.2 ชื9อย่อภาษาไทย : วท.บ. (เทคนิคการสัตวแพทย์)
e

ชื9อย่อภาษาอังกฤษ : B.Sc. (Veterinary Technology)


lo rn T
ha ko ry

3. หน่ วยงานที,รับผิดชอบ
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
C pa na

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
S. Sil eri

โทรศัพท์ : 0-3259-4037 โทรสาร: 0-3259-4037 e-mail address: asat-fac@su.ac.th


rs
et

4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสู ตร
V

4.1 ปรัชญา
การพัฒนาประเทศที9ผ่านมา การเกษตรเป็ นรากฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที9แท้จริ งของประเทศ
ประเทศไทยเป็ นประเทศที9มีความอุดสมบูรณ์เป็ นอู่ขา้ วอู่นV าํ เป็ นครัวของโลก จึงนับว่าเป็ นโอกาสสําคัญของ
ประเทศไทย ในการเป็ นแหล่งผลิตอาหารเลีVยงประชากรของโลก สิ นค้าอาหารที9มีตน้ กําเนิดมาจากสัตว์เป็ น
สิ นค้าส่ งออกของประเทศที9สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้ ซึ9งมีความจําเป็ นต้องยกระดับมาตรฐาน ปริ มาณ
และคุณภาพของการผลิตและผลผลิต โดยต้องยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาหารให้มีมาตรฐานเท่า
เทียมในระดับสากล และเป็ นที9ยอมรับของตลาดโลก โดยต้องกระทําตัVงแต่ก่อนการเก็บเกี9ยวผลผลิตตลอดจน
หลังการเก็บเกี9ยวผลผลิต และรวมถึงต้องยกระดับมาตรฐานและคุณภาพการเลีVยงสัตว์ของประเทศให้
2

ทัดเทียมกับอารยะประเทศ นอกจากนัVนในสถานการณ์โลกปั จจุบนั นอกจากมาตรฐานและคุณภาพของการ


เลีVยงสัตว์ดงั กล่าว ประเทศยังต้องการมาตรฐานด้านห้องปฏิบตั ิการชันสู ตรโรคสัตว์และมาตรฐานด้านสวัสดิ
ภาพสัตว์ เพื9อให้อาหารมีความปลอดภัย เป็ นที9ยอมรับตามกติกาของการค้าระหว่างประเทศ และสามารถ
สร้างความเชื9อมัน9 ให้กบั ประเทศคูค่ า้ ได้ ดังนัVนจึงสมควรส่งเสริ มการผลิตบุคลากรให้มีความรู ้ความสามารถ
ในการจัดการดูแลสัตว์ มีทกั ษะการตรวจชันสู ตรโรคสัตว์โดยอาศัยห้องปฏิบตั ิการทางสัตวแพทย์ โดยมีความ
เข้าใจทัVงในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ พร้อมทัVงมีความเข้าใจเกี9ยวกับการพยาบาลสัตว์ดว้ ย เพื9อการเชื9อมโยงสู่
การวิเคราะห์ขอ้ มูล และการสังเคราะห์ความรู ้และวิธีปฏิบตั ิสําหรับการจัดการดูแลสัตว์ให้ได้ผลผลิตที9มีทV งั

ul ity y,
ปริ มาณและคุณภาพ เพื9อเพิ9มศักยภาพการผลิตและการแข่งขันของประเทศ

ak ers og
การปฏิบตั ิงานทางสุ ขภาพสัตว์ให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึVนนัVน ต้องอาศัยการทํางานเป็ นคณะ เฉกเช่น

D ,
tis iv ol
การปฏิบตั ิงานทางการแพทย์และการสาธารณสุ ข การปฏิบตั ิงานทางสุ ขภาพสัตว์ ต้องประกอบด้วยสัตว

M
แพทย์และนักเทคนิคการสัตวแพทย์ เพื9อปฏิบตั ิหน้าที9การพยาบาลสัตว์ (Veterinary Nursing) และการวินิจฉัย
n

V
ทางคลินิก (Clinical Laboratory) ดังนัVนการพัฒนาบุคลากรจึงเป็ นสิ9 งสําคัญยิ9ง เนื9องจากวิทยาการและ
un Un ch
เทคโนโลยี มีการเปลี9ยนแปลงก้าวหน้าอยูต่ ลอดเวลา และมีความสลับซับซ้อนมากยิ9งขึVน กอปรกับ
e

สถานการณ์โลกและสถานการณ์โรคมีพลวัตรอยู่เสมอเช่นกัน นักเทคนิคการสัตวแพทย์ เป็ นบุคลากรวิชาชีพ


lo rn T

ทางสุ ขภาพสัตว์ที9สามารถปฏิบตั ิหน้าที9ได้หลากหลาย (Multi-functional Profession) โดยที9ทาํ งานใกล้ชิด


ha ko ry

และเกี9ยวข้องกับสัตวแพทย์ โดยมุ่งเน้นสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของสัตวแพทย์ ทัVงด้านการพยาบาลสัตว์ การ


ปฏิบตั ิงานในด้านชันสู ตรทางสุขภาพสัตว์และด้านสัตวแพทยสาธารณสุ ข เพื9อให้สัตวแพทย์สามารถ
C pa na

ปฏิบตั ิงานภายในสถานพยาบาลสัตว์ ห้องปฏิบตั ิการทางสัตวแพทย์ ฟาร์มเลีVยงสัตว์ สถานที9เลีVยงสัตว์ทดลอง


สวนสัตว์หรื อสถานประกอบการอื9นๆ ที9เกี9ยวข้องได้โดยสะดวก และมีความคล่องตัวมากยิ9งขึVน นอกจากนัVน
S. Sil eri

นักเทคนิคการสัตว์แพทย์ยงั เป็ นวิชาชีพที9มีศกั ยภาพ ในการพัฒนาด้านการเลีVยงสัตว์และการสาธารณสุ ขของ


rs
et

ประเทศ โดยมุ่งเน้นการประเมิน การวิเคราะห์และการตรวจชันสู ตรด้านสุ ขภาพสัตว์ทV งั สัตว์มีชีวติ (Live


Animals) ซากสัตว์ (Animal Carcass) และผลผลิตจากสัตว์ (Animal Products)โดยอาศัยห้องปฏิบตั ิการทาง
V

สัตวแพทย์ ซึ9งจะก่อประโยชน์ทV งั ในด้านสุ ขภาพสัตว์และด้านสุ ขภาพของผูบ้ ริ โภค ให้กบั เกษตรกรผูเ้ ลีVยง


สัตว์และประชาชนของประเทศ
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร มีความมุ่งมัน9 ที9จะผลิตบุคลากร
ทางเทคนิคการสัตวแพทย์ โดยเน้นการผลิตบัณฑิตให้มีคณ ุ ลักษณะที9มีพVืนฐานความรู ้ทV งั ภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบตั ิ โดยมุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรนักเทคนิคการสัตวแพทย์ ที9มีทกั ษะทางเทคนิคการสัตวแพทย์ โดย
ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้และการปฏิบตั ิไปสู่การบูรณาการองค์ความรู ้เป็ นสําคัญ รวมทัVงการฝึ กทักษะการ
ปฏิบตั ิงานให้เกิดความชํานาญทัVงในห้องปฏิบตั ิการทางสัตวแพทย์และสถานที9เลีVยงสัตว์ของหน่วยงานทัVง
ภาครัฐ ภาคเอกชนและของเกษตรกร ตลอดจนเสริ มสร้างประสบการณ์การทํางานโดยตรง เพื9อให้บณ ั ฑิตมี
3

ความสามารถในการใช้เครื9 องมือและอุปกรณ์ที9เกี9ยวข้องกับการปฏิบตั ิงาน และเตรี ยมบัณฑิตให้มีความพร้อม


ที9จะปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและปฏิบตั ิงานได้จริ ง สามารถประกอบอาชีพเป็ นนักเทคนิคการสัตว
แพทย์ ตามแผนการเรี ยนที9จดั ไว้ในหลักสู ตรอย่างผูท้ ี9มคี วามรู ้ มีปัญญา มีความพร้อมที9จะค้นคว้าและ
ประยุกต์ความรู ไ้ ปแก้ปัญหาและส่ งเสริ มปรับปรุ งการทํางานอย่างมีระบบและมีประสิ ทธิภาพ พร้อมถึงซึ9ง
คุณธรรมและจริ ยธรรมในการประกอบวิชาชีพ มีจิตสํานึก ตระหนักรู ้ในบุญคุณของแผ่นดินไทย และ
สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพเทคนิคการสัตวแพทย์และการพยาบาลทางสัตวแพทย์ในระดับสากล

ul ity y,
4.2 วัตถุประสงค์

ak ers og
j. เพื9อผลิตบัณฑิตให้มีความรู ้แบบบูรณาการ สามารถมองปั ญหาแบบองค์รวมและเห็นความ

D ,
tis iv ol
สัมพันธ์เกี9ยวโยงกับความรู ้และทักษะการปฏิบตั ิงานในด้านชันสู ตรสุ ขภาพสัตว์ การพยาบาลสัตว์และการ

M
จัดการดูแลสัตว์เพื9อสนับสนุนการผลิตสัตว์และผลผลิตจากสัตว์ที9มีความปลอดภัยของอาหาร พร้อมทัVงมี
n

V
ทักษะด้านสวัสดิภาพและสิ ทธิของสัตว์
un Un ch
2. มุ่งหวังสร้างองค์คณะทํางานในทางวิชาชีพให้เกิดการประสานประโยชน์ครอบคลุมในการจัดการ
e

วิชาชีพให้สนองประโยชน์ต่อสุ ขภาพผูบ้ ริ โภคโดยการสร้างเสริ มให้สัตว์มีสุขภาพดี ทัVงนีVเพื9อการยกระดับ


lo rn T

คุณภาพชีวิตของประชาชนด้วยการมีอาหารบริ โภคที9มีคณ ุ ภาพและความปลอดภัยด้วยการปฏิบตั ิหน้าทีด9 า้ น


ha ko ry

การบริ บาลสัตว์เลีVยงในฟาร์ม และเพื9อการสร้างคุณภาพทางจิตใจและการนันทนาการของประชาชนด้วยการ


ปฏิบตั ิหน้าที9ดา้ นการบริ บาลสัตว์เลีVยงเป็ นเพื9อน
C pa na

3. มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที9มคี วามสามารถในการปฏิบตั ิงานวิจยั และพัฒนาวิทยาศาสตร์ดา้ นสัตว์และ


S. Sil eri

วิทยาศาสตร์สุขภาพมนุษย์เชิงเปรี ยบเทียบ โดยเน้นความเข้าใจในวิทยาศาสตร์ดา้ นสัตว์กบั ความเชื9อมโยงสู่


ระบบสุ ขภาพมนุษย์ เพื9อการใช้ประโยชน์จากสัตว์ทางด้านปั จจัยสี9 ได้แก่ อาหาร ที9อยู่อาศัย เครื9 องนุ่งห่ม ยา
rs
et

รักษาโรค ซึ9งรวมถึงการควบคุมป้องกันโรคในมนุษย์และสัตว์ โดยมุ่งหวังให้บณ ั ฑิตมีทกั ษะและความรู ้


พืVนฐานสําหรับศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทและเอก และการค้นคว้าวิจยั ทางแนวลึกในอนาคต
V

4. มุ่งเน้นส่ งเสริ มความตระหนักรู ้ซV ึงถึงความจําเป็ นในการพัฒนาคุณภาพและทุนความรู ้ ทัVงของ


ตนเอง ของวิทยาการ และของวิชาชีพ ให้สามารถปฏิบตั ิกจิ กรรมทีร9 องรับและกําหนดไว้ตามพันธะกิจและ
ภารกิจ เพื9อบรรลุวตั ถุประสงค์และเจตนารมณ์ทกี9 าํ หนดไว้เป็ นหลักฐานแห่งบุคลากรในสายวิชาชีพ โดย
มุ่งเน้นให้บณ ั ฑิตมีคณ ุ ธรรม จริ ยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึดเอาความกตัญkูต่อประเทศชาติ
และยึดประโยชน์ของประชาชนเป็ นทีต9 V งั

5. กําหนดการเปิ ดสอน
ตัVงแต่ภาคการศึกษาที9 1 ปี การศึกษา 2552
4

6. คุณสมบัติของผู้เข้ าศึกษา
เป็ นผูส้ ําเร็ จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรื อเทียบเท่า โดยได้รับการคัดเลือกเข้าศึกษาใน
มหาวิทยาลัยศิลปากร

7. การคัดเลือกผู้เข้ าศึกษา
คัดเลือกนักศึกษาเข้าศึกษา 4 วิธี คือ

ul ity y,
(1) การรับสมัครผ่านระบบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาโดยสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ak ers og
(2) การรับสมัครตรงผ่านระบบโควตาพิเศษของมหาวิทยาลัยศิลปากร

D ,
tis iv ol
(3) การรับสมัครผ่านระบบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาด้วยวิธีพิเศษโดยคณะสัตวศาสตร์และ

M
เทคโนโลยีการเกษตร และ
n

V
un Un ch
(4) การรับสมัครผ่านระบบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาด้วยวิธีอื9นๆ ตามที9มหาวิทยาลัยศิลปากรกําหนด
e

8. ระบบการจัดการศึกษา
lo rn T

8.1 การจัดการศึกษาโดยใช้ระบบทวิภาค โดย j ปี การศึกษาแบ่งออกเป็ น m ภาคการศึกษาปกติ โดย


ha ko ry

j ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่นอ้ ยกว่า jn สัปดาห์ และอาจจะจัดการศึกษาภาคพิเศษภาคฤดูร้อน


ต่อจากภาคการศึกษาปลายอีก 1 ภาคก็ได้ โดยมีระยะเวลาศึกษาประมาณ 8 สัปดาห์
C pa na

8.2 การคิดหน่วยกิต
S. Sil eri

8.2.1 รายวิชาภาคทฤษฏี ที9ใช้เวลาบรรยายหรื ออภิปรายปั ญหาไม่นอ้ ยกว่า jn ชัว9 โมงต่อ


ภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ j หน่วยกิตระบบทวิภาค
rs
et

8.2.2 รายวิชาภาคปฏิบตั ิการ ที9ใช้เวลาฝึ กหรื อทดลองไม่นอ้ ยกว่า op ชัว9 โมงต่อภาค


การศึกษาปกติ และเมื9อรวมกับการศึกษานอกเวลาเรี ยน (ถ้ามี) แล้ว ไม่นอ้ ยกว่า 45 ชัว9 โมงต่อภาคการศึกษา
V

ปกติ ให้มีค่าเท่ากับ j หน่วยกิตระบบทวิภาค


8.2.3 การฝึ กงานหรื อการฝึ กภาคสนาม ที9ใช้เวลาฝึ กไม่นอ้ ยกว่า qn ชัว9 โมงต่อภาค
การศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ j หน่วยกิตระบบทวิภาค
8.2.4 การทําโครงงานหรื อกิจกรรมการเรี ยนอื9นใดตามทีไ9 ด้รับมอบหมายที9ใช้เวลาทํา
โครงงานหรื อกิจกรรมนัVนๆ ไม่นอ้ ยกว่า qn ชัว9 โมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ j หน่วยกิต ระบบ
ทวิภาค
5

8.3 เกณฑ์ในการกําหนดหน่วยกิต ในแต่ละรายวิชากําหนดเกณฑ์ในการกําหนดค่าของหน่วย


กิต จากจํานวน ชัว9 โมงบรรยาย (บ) ชัว9 โมงปฏิบตั ิ (ป) และชัว9 โมงที9นกั ศึกษาต้องศึกษาด้วยตนเองนอกเวลา
เรี ยน (น) ต่อ 1 สัปดาห์ แล้วหารด้วย 3 ซึ9งมีวิธีคิดดังนีV
จํานวนหน่วยกิต = บ + ป + น
3
การเขียนหน่วยกิตในรายวิชาต่างๆ ประกอบด้วย ตัวเลขสี9ตวั คือ ตัวแรกอยู่นอกวงเล็บเป็ นจํานวน
หน่วยกิตของรายวิชานัVน ตัวที9สอง สาม และสี9 อยู่ในวงเล็บ บอกจํานวนชัว9 โมงบรรยาย ปฏิบตั กิ ารและศึกษา

ul ity y,
ด้วยตนเองนอกเวลาเรี ยน ตามลําดับ

ak ers og
D ,
tis iv ol
<. ระยะเวลาการศึกษา

M
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสู ตรเทียบเท่ากับ q ปี การศึกษา และให้เป็ นไปตามข้อบังคับของ
n

V
มหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 และ/หรื อ ที9มีการปรับปรุ ง
un Un ch
เปลี9ยนแปลงภายหลัง
e
lo rn T

10. การลงทะเบียนเรีย น
ha ko ry

จํานวนหน่วยกิตที9นกั ศึกษาปกติสามารถลงทะเบียนเรี ยนในแต่ละภาคการศึกษา ให้เป็ นไปตาม


ข้อบังคับของมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 และ/หรื อ ที9มีการ
C pa na

ปรับปรุ งเปลี9ยนแปลงภายหลัง
S. Sil eri

11. การวัดผลและการสํ าเร็จการศึกษา


rs
et

ระเบียบการเรี ยนและการวัดผลให้เป็ นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยศิลปากรว่าด้วยการศึกษา


ระดับปริ ญญาบัณฑิต พ.ศ. 2551 และ/หรื อที9มีปรับปรุ งเปลี9ยนแปลงภายหลัง และข้อกําหนดเพิ9มเติมของ
V

คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรสําหรับการจบหลักสู ตรเป็ นดังนีV


11.1 สอบได้หน่วยกิตสะสมตามหลักสู ตร ไม่นอ้ ยกว่า 138 หน่วยกิต และ
11.2 สอบได้ค่าระดับเฉลี9ยสะสมตลอดหลักสู ตร ไม่ต9าํ กว่า 2.00 จากระบบ q ระดับคะแนน และ
11.3 สอบได้ค่าระดับเฉลี9ยสะสมของรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะไม่ต9าํ กว่า 2.00 จากระบบ q ระดับ
คะแนน และ
11.4 สอบผ่านการสอบรวบยอดความรู ้เชิงบูรณาการ (Integrated Comprehensive Examination)
6

12. จํานวนและคุณวุฒ ขิ องอาจารย์


12.1 อาจารย์ประจําหลักสู ตร
ชื, อ-สกุล คุณวุฒ ิ สาขาวิชา ตัวอย่างผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอนเฉลี,ย
ตําแหน่ งทางวิชาการ ชื, อสถาบันที,จบการศึกษา (ชั,วโมง/สัปดาห์ /ปี การศึกษา)
ปี ที,จบการศึกษา ปัจจุบัน หลักสู ตรใหม่
1. นายสัตวแพทย์เกรี ยงศักดิy พูนสุข สพ.บ. งานวิจยั - 35
(รองศาสตราจารย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2514) 1. การพัฒนาจุลินทรี ยส์ ิ9งเติมใน
F.R.V.A.C.(Microbiology and อาหารสําหรับปศุสัตว์ (2548)

ul ity y,
Food Hygiene) Denmark (1973)

ak ers og
Cert. in Anaerobic Bacteriology
Virginia Polytechnic Institute,

D ,
tis iv ol
USA (1980)

M
2. นายสัตวแพทย์ ดร. นริ นทร์ ปริ ยวิชญภักดี สพ.บ. งานวิจยั - 35
(อาจารย์)
n มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1. Distribution of 28.5 kDa

V
un Un ch
(2538) antigen in the tegument of adult
ปร.ด. (พยาธิชีววิทยา) Fasciola gigantica (2006)
e
มหาวิทยาลัยมหิดล (2550)
lo rn T

3. นายสัตวแพทย์ศิริชยั เอียดมุสิก วท.บ. (วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์) งานวิจยั - 35


(อาจารย์) เกียรตินิยม อันดับ m j. การเกิดภาวะกระดูกบางและ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล แตกหักง่ายจากความผิดปกติที9
ha ko ry

(2539) เกี9ยวข้องกับโรคเมตาบอลิซึมของ
C pa na

สพ.บ. กระดูกในลูกช้าง (mnqƒ)


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
(2543)
S. Sil eri

4. นายสัตวแพทย์สุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล สพ.บ. งานวิจยั - 35


(อาจารย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2543) 1. การศึกษาเบืVองต้นทางโลหิต
rs
et

กษ.ม. (ส่งเสริ มการเกษตร) วิทยาและค่าเคมีเลือดของ


มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตะพาบนํVาพันธุ์ไต้หวันเพศผู,้
V

(2548) (2544)
5. สัตวแพทย์หญิงจารุ ณี เกษรพิกุล สพ.บ. งานวิจยั - 35
(อาจารย์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2543) j. ผลของยาอามิทราสต่อระดับ
ส.ม. นํVาตาลกลูโคสและฮอร์โมน
มหาวิทยาลัยมหิดล (mnqƒ) อินซูลินในกระแสเลือดของสุนขั ,
(2544)
7

12.2 อาจารย์ผูส้ อนประจําคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร


ชื, อ-สกุล คุณวุฒ ิ สาขาวิชา ตัวอย่างผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอนเฉลี,ย
ตําแหน่ งทางวิชาการ ชื, อสถาบันที,จบการศึกษา (ชั,วโมง/สัปดาห์ /ปี การศึกษา)
ปี ที,จบการศึกษา ปัจจุบัน หลักสู ตรใหม่
j. นายพิเชษฐ ศรี บุญยงค์ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) งานวิจยั 8 8.5
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (mno…) j. การศึกษาผลของการใช้กลูโคแมนแนน
วท.ม. (สัตวศาสตร์) ในรู ปแป้งบุกเพื9อลดโคเลสเตอรอลในไก่
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (mnqq) เนืVอ (2544)

ul ity y,
m. นายพิรวิทย์ เชืVอวงษ์บุญ ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) งานวิจยั 7 15
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยรามคําแหง (2540) 1. การตัดแบ่งตัวอ่อนแบบง่ายและการ

ak ers og
วท.บ. (เทคโนโลยีการเพาะขยายพันธุ์สัตว์) ตัดสินเพศโดยใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่ของ
มหาวิทยาลัยมหิดล (2541) เอนไซม์โพลิเมอเรส (2544)

D ,
tis iv ol

M
วท.ม. (สัตวศาสตร์)

n มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2544)

V
o. น.ส.ภัทราพร ภุมริ นทร์ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) งานวิจยั 12 8.5
un Un ch
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2541) 1. การประเมินค่าคํานวณเชิงโภชนาการ
วท.ม. (สัตวศาสตร์) ของเอนไซม์ไฟเตสในอาหารลูกสุกรหย่า
e

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (mnqn) นม (2545)


lo rn T

4. น.ส.สุภาวดี มานะไตรนนท์ วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) งานวิจยั 5 15


(อาจารย์) มหาวิทยาลัยศิลปากร (mnqm) j. การปรับปรุ งพันธุกรรมสัตว์เศรษฐกิจ
ha ko ry

วท.ม. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว์) ให้ตา้ นทานโรคโดยใช้วิธี Molecular


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (mnqn) genetics เข้าช่วย (2545)
C pa na

n. น.ส.กฤติยา เลิศชุณหะเกียรติ วท.บ. (สัตวศาสตร์) งานวิจยั 11 5.5


(อาจารย์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ j. อิทธิพลของสารไตรฟลูราลินที9มีต่อ
S. Sil eri

ทหารลาดกระบัง (2541) สารชีวเคมีเลือดกุง้ กุลาดํา (2545)


วท.ม. (ชีววิทยา)
rs
et

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2546)
ƒ. นายศรัณย์พงศ์ ทองเรื อง วท.บ. (เกษตรศาสตร์) งานวิจยั 5 5.5
V

(อาจารย์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (mnqj) j. การใช้ฮอร์โมน Bovine somatotropin


วท.ม. (เกษตรศาสตร์) และการให้ความเย็นในโรงเรื อนเปิ ดต่อ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (mnqƒ) การเพิ9มผลผลิตนํVานมของโคนมใน
ประเทศไทย (2546)
…. น.ส.วัชราภรณ์ รวมธรรม วท.บ. (ชีววิทยา) งานวิจยั 7 5.5
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2542) 1. Detoxification mechanisms of the
วท.ม. (สัตววิทยา) golden apple snail against nut grass
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2545) extracts containing 4, 11- Selinnadien-3-
one and extract toxicity to some
nontarget species. (2545)
8

ชื, อ-สกุล คุณวุฒ ิ สาขาวิชา ตัวอย่างผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอนเฉลี,ย


ตําแหน่ งทางวิชาการ ชื, อสถาบันที,จบการศึกษา (ชั,วโมง/สัปดาห์ /ปี การศึกษา)
ปี ที,จบการศึกษา ปัจจุบัน หลักสู ตรใหม่
†. น.ส.พรพรรณ แสนภูมิ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) เกียรตินิยม อันดับ m งานวิจยั 9.5 5.5
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2542) j. ผลของการใช้อาหารข้นร่ วมกับฟาง
วท.ม. (สัตวศาสตร์) แห้งและฟางหมักต่อสมรรถนะการ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2546) เจริ ญเติบโต ลักษณะซากและการยอมรับ
ของการบริ โภคเนืVอแพะและแกะ (2545)

ul ity y,
‡. นายอนันท์ เชาว์เครื อ วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตสัตว์) งานวิจยั 7 5.5
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (2540) j. ชีววิทยาของเนืVอทราย (Cervus

ak ers og
วท.ม. (สัตวศาสตร์) porcinus): การเจริ ญเติบโต ปริ มาณการ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2546) กินได้ (2545)

D ,
tis iv ol

M
10. น.ส.วิไลวรรณ สิริโรจนพุฒิ วท.บ. (เศรษฐศาสตร์ เกษตร) งานวิจยั 4 10
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (mno†) j. การวิเคราะห์การจัดการดูแลไหมเพื9อ
n

V
วท.ม. (เศรษฐศาสตร์เกษตร) การผลิตอุตสาหกรรมเส้นไหมของ
un Un ch
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (mnqm) ประเทศไทย ปี การผลิต mno‡ (2542)
11. ดร.ศิวพร แพงคํา วท.บ. (สัตวบาล) เกียรตินิยมอันดับ1 งานวิจยั 5 6.5
e
(อาจารย์) สถาบันราชภัฎบุรีรัมย์ (2539) 1. การศึกษาเปรี ยบเทียบสัดส่วนของ
lo rn T

วท.ม. (สัตวศาสตร์) อาหารหยาบต่ออาหารข้นที9มีผลต่อจุลิน


มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2543) ทรี ยใ์ นกระเพาะหมัก และผลผลิตสุดท้าย
ha ko ry

ปร.ด. (สัตวศาสตร์) จากกระบวนการหมักในโคและกระบือ


มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2549) ปลัก (2544)
C pa na

12. นายภูธฤทธิy รักษาศิริ คอ.บ. (เทคโนโลยีการเกษตร) งานวิจยั 5 5.5


(อาจารย์) เกียรตินิยม อันดับ m 1. คุณภาพและการยอมรับของผูบ้ ริ โภค
S. Sil eri

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ต่อไส้กรอกแฟรงเฟอร์เตอร์ ที9ใช้ไขมัน


ทหารลาดกระบัง (2544) ปาล์มเป็ นองค์ประกอบ (2551)
วท.ม. (สัตวศาสตร์)
rs
et

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
V

ทหารลาดกระบัง (2548)
13. น.ส.ดาวรุ่ ง ศิลาอ่อน วท.บ. (ชีววิทยา) งานวิจยั 5 15
(อาจารย์) มหาวิทยาศาสตร์เกษตรศาสตร์ (2545) 1. การศึกษาความสัมพันธ์ของไตที9เกิด
วท.ม. (กายวิภาคศาสตร์ทางสัตวแพทย์) วิการจุดขาว (White spot) กับการเกิดโรค
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2550) Leptospirosis ในโค (2550)
14. นายภวพล คงชุม วท.บ.(ประมง) งานวิจยั 26.5 3.5
(อาจารย์) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ( ) 1. Salinity tolerance of different strains
M.S.(Aquaculture) of genetically improved tilapia
Central Luzon State University, (Oreochromis militias), (2542)
Philippines (1997)
9

ชื, อ-สกุล คุณวุฒ ิ สาขาวิชา ตัวอย่างผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอนเฉลี,ย


ตําแหน่ งทางวิชาการ ชื, อสถาบันที,จบการศึกษา (ชั,วโมง/สัปดาห์ /ปี การศึกษา)
ปี ที,จบการศึกษา ปัจจุบัน หลักสู ตรใหม่
15. นายชนม์ ภู่สุวรรณ วท.บ.(วาริ ชศาสตร์) งานวิจยั 25 3.5
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยบูรพา ( /) 1. Structure and Condition of Choaloa
M.Sc.(Biological Sciences), Brock Coral Reef, Chanthaburi 3 years after
University, Canada (1997) 1997-98 El Nino. (2544)
16. น.ส.สมฤดี ศิลาฤดี วท.บ.(ประมง) งานวิจยั 23.5 3.5

ul ity y,
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ( 67) 1. การศึกษาปริ มาณแพลงก์ตอน
วท.ม.(วิทยาศาสตร์การประมง) แบคทีเรี ยและคุณภาพนํ<าในนาเกลือ,

ak ers og
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( 69) (2545)
@A. นายสาธิต บุญน้อม วท.บ.(ชีววิทยา) งานวิจยั 10 3.5

D ,
tis iv ol

M
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยรามคําแหง ( A) @.ผลกระทบของการเลี<ยงกุง้ กุลาดําใน
วท.ม.(เพาะเลี<ยงสัตว์น< าํ ) ระดับความเค็มตํGาต่อคุณสมบัติของดิน
n

V
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( 6 ) (2545)
un Un ch
@/. นายอนวัช บุญญภักดี วท.บ.(การประมง) งานวิจยั 11 3.5
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยแม่โ จ้ ( I) 1. Genetic diversity and species-
e
วท.ม.(วาริ ชศาสตร์) diagnostic markers of Mud Crab
lo rn T

มหาวิทยาลัยบูรพา ( 6 ) (Genus Scylla) in eastern Thailand


determined by RAPD analysis (1999)
ha ko ry

19. นายมานะ กาญจนมณีเสถียร วท.บ. (เกษตรศาสตร์) งานวิจยั - 10


(รองศาสตราจารย์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( @@) j. การคัดเลือกสายพันธุ์และการศึกษาเพื9อ
C pa na

วท.ม. (เกษตรศาสตร์) จําแนกเชืVอราปฏิปักษ์ Trichoderma Spp.


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( @6) ที9มีศกั ยภาพในการควบคุมเชืVอราสาเหตุ
S. Sil eri

M.Appl.Sc. (Microbiology) (2543)


Lincoln University, New Zealand (1994)
rs

20. นายกฤษณะ เรื องฤทธิK วท.บ.(เกษตรศาสตร์) งานวิจยั 16 2.5


et

(อาจารย์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ( 6 ) @. การเปรี ยบเทียบลานพิมพ์ดีเอ็นเอในไม


V

วท.ม.(เกษตรศาสตร์) โตคอนเดียเพืGอการจําแนกพันธุ์ไ หมไทย


มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ( 69) พื<นเมือง ( 6 )
@. น.ส.พฤฒิยา นิลประพฤกษ์ วท.บ.(เทคโนโลยีการอาหาร) งานวิจยั 16 2.5
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ( 6 ) @. การผลิตซอสปรุ งรสกลิGนเนื<อย่างโดย
วท.ม.(เทคโนโลยีหลังการเก็บเกีGยว) กระบวนการให้ความร้อน ( 6@)
มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี ( 6 )
22. น.ส.อุไ รวรรณ ไอยสุวรรณ วท.บ.(เกษตรศาสตร์) งานวิจยั 10 2.5
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์) ม.สงขลานคริ นทร์ (2542) 1. ศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและทาง
วท.ม.(การจัดการทรัพยากรดิน) กายภาพของกากตะกอนของเสีย ( 6 )
ม.สงขลานคริ นทร์ ( 6 )
10

ชื, อ-สกุล คุณวุฒ ิ สาขาวิชา ตัวอย่างผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอนเฉลี,ย


ตําแหน่ งทางวิชาการ ชื, อสถาบันที,จบการศึกษา (ชั,วโมง/สัปดาห์ /ปี การศึกษา)
ปี ที,จบการศึกษา ปัจจุบัน หลักสู ตรใหม่
. ดร.พรรณธิภา ณ เชียงใหม่ วท.บ.(เกษตรศาสตร์) งานวิจยั 1 2.5
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ( 67) @. ระดับปุ๋ ยและช่วงเวลาการกําจัดวัชพืชทีG
วท.ม.(เกษตรศาสตร์) มีผลต่อการผลิตข้าวไร่ ( I)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ( 6 )
ปร.ด.(พืชไร่ )

ul ity y,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ( 6/)
24. น.ส.ยุภา ปู่ แตงอ่อน วท.บ.(เคมี) งานวิจยั 12.5 12.5

ak ers og
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ( 63) @. การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของ
วท.ม.(เคมีอินทรี ย)์ เปลือกผลสุกของสารภี (2548)

D ,
tis iv ol

M
มหาวิทยาลัยศิลปากร ( 68)
25. น.ส.ศิรินทร์นภา พุ่มแจ้ วท.บ.(ชีววิทยา) งานวิจยั 12.5 12.5
n

V
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ( 64) @. จุลพยาธิวิทยาของตับและไตปลานิล
un Un ch
วท.ม.(สัตววิทยา) ภายหลังได้รับสุราขาว 30 ดีกรี ระดับ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ( 68) ความเข้มข้นตํ9าเป็ นระยะเวลานาน (2548)
e
26. น.ส.อรอุมา ทองหล่อ วท.บ.(คณิตศาสตร์) งานวิจยั 12.5 12.5
lo rn T

(อาจารย์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( 64) @. การใช้โ ปรแกรมเชิงเส้นในการจัดสรร


วท.ม.(สถิติ) เงินกูข้ องธนาคารพานิชย์ กรณีศึกษา
ha ko ry

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( 66) ธนาคารกรุ งเทพ จํากัด(มหาชน) (2546)


27. น.ส.สุวิมล ชินกังสดาร วท.บ.(วิทยาศาสตร์สGิงแวดล้อม) งานวิจยั 12.5 12.5
C pa na

(อาจารย์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ( 67) @. สําเนียงถิ9นของนกกะรางหัวหงอก


วท.ม.(ชีววิทยา) (Garrulax leucolophus) (2550)
S. Sil eri

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ( 50)
28. นายพิสิษฐ์ สุวรรณแพทย์ วท.บ.(ฟิ สิกส์) งานวิจยั 12.5 12.5
rs

(อาจารย์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ( 48) @. ศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงาน


et

วท.ม.(ฟิ สิกส์) แสงอาทิตย์ระบบความร้อนแบบรวมแสง


V

มหาวิทยาลัยศิลปากร ( 50) กรณีศึกษาสําหรับจังหวัดร้อยเอ็ด (2550)


29. น.ส.ฌานิกา จันทสระ วท.บ.(เคมี) เกียรตินิยม อันดับ 1 งานวิจยั 12.5 12.5
(อาจารย์) มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ( 63) @. การหาปริ มาณแอนไอออนและแคต
วท.ม.(เคมีศึกษา) ไอออนในนํ<าฝนโดย เทคนิคไอออนโคร
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ( 69) มาโทรกราฟี (2548)
30. นายทวีศกั ดิK เตชะเกรี ยงไกร วท.บ. (สัตวศาสตร์) งานวิจยั 12.5 15
(อาจารย์) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ 1. ผลของการเสริ มแบซิทราซิน เมทีลีน
ทหารลาดกระบัง (2540) ไดซาลิไ ซเลท ร่ วมกับคลอเตตราซัยคลิน
วท.ม.(เกษตรศาสตร์) หรื อไทโลซีน-ซัลฟาเม็ทธาซีน ในอาหาร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( 63) สุกรระยะหย่านมและสุกรรุ่ นขุน (2543)
11

12.3 คณาจารย์พิเศษจากมหาวิทยาลัยศิลปากร และจากหน่วยงานราชการภาครัฐ ภาคเอกชนและผูท้ ี9


มีประสบการณ์เกี9ยวกับสาขาวิชาที9เปิ ดสอนในหลักสู ตรตามที9มหาวิทยาลัยประกาศแต่งตัVง
ชื, อ-ชื, อสกุล/ คุณวุฒ ิ/สาขาวิชา สาขาที,เชีย วชาญ สังกัด
ตําแหน่ งทางวิชาการ
ศ.ดร.จรัญ จันทลักขณา B.S. (Animal Husbandry) การปรับปรุ งพันธุ์สัตว์ ข้าราชการบํานาญ
M.S. (Animal Husbandry) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Ph.D. (Dairy Breeding)
ผศ.ดร.ประดน จาติกวณิช B.V.Sc. วิทยาศาสตร์สัตว์ทดลอง ข้าราชการบํานาญ

ul ity y,
Ph.D. (Parasitology) มหาวิทยาลัยมหิดล

ak ers og
น.สพ.ยันต์ สุขวงศ์ สพ.บ. เทคโนโลยีชีวภาพการสื บพันธุ์ ข้าราชการบํานาญ
ส.ม. สัตว์ กรมปศุสัตว์

D ,
tis iv ol
ศ.น.สพ.สมชาย จันทร์ผ่องแสง วท.บ.(สัตวศาสตร์) โภชนศาสตร์สัตว์เคีVยวเอืVอง ภาควิชาสัตวบาล

M
สพ.บ. คณะสัตวแพทยศาสตร์

n M.Agr.St. (Ruminant Nutrition) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

V
un Un ch
รศ.น.สพ.ดร.วรวุฒิ ฤกษ์อาํ นวยโชค วท.บ.(สัตวศาสตร์) กายวิภาคศาสตร์ คณะเทคนิคการสัตวแพทย์
สพ.บ. ทางสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
e
M.Agr. (Veterinary Medicine
and Animal Science)
lo rn T

D.Agr. (Veterinary Medicine


and Animal Science)
ha ko ry

รศ.สพ.ญ.ดร.ศิรินทร หยิบโชคอนันต์ สพ.บ. เภสัชวิทยาทางสัตวแพทย์ ภาควิชาเภสัชวิทยา


C pa na

M.S. (Veterinary Physiology) คณะสัตวแพทยศาสตร์


Ph.D. (Veterinary Physiology) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
น.สพ.สุรศักดิy เอกโสวรรณ สพ.บ. วิทยาภูมิคุม้ กันและวิทยาเซรุ่ ม สถานีเพาะเลีVยงม้าและ
S. Sil eri

ทางสัตวแพทย์ สัตว์ทดลอง สถานเสาวภา


สภากาชาดไทย
rs
et

สพ.ญ.ช้องมาศ อันตรเสน สพ.บ. วิทยาไวรัสทางสัตวแพทย์ ศูนย์วิจยั และพัฒนาการ


สัตวแพทย์ภาคตะวันตก
V

กรมปศุสัตว์
น.สพ.ชาติชาย ยิVมเครื อ สพ.บ., น.บ., รอ.ม. การบริ หารงานปศุสัตว์ สํานักงานปศุสัตว์จงั หวัด
เพชรบุรี
น.สพ.ธีรยุทธ ชาวุฒิ สพ.บ. การจัดการสุขภาพโคเนืVอ- วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
โคนม เพชรบุรี
12

CD. จํานวนนักศึกษา
ชัEนปี ที, จํานวนนักศึกษา (คน)
ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556
ชัVนปี ที9 1 40 40 40 40 60
ชัVนปี ที9 2 - 40 40 40 40
ชัVนปี ที9 3 - - 40 40 40

ul ity y,
ชัVนปี ที9 4 - - - 40 40

ak ers og
รวม 40 80 120 160 180
จํานวนที,คาดว่ าจะสํ าเร็จการศึกษา - - - 40 40

D ,
tis iv ol

M
n
CF. สถานที,และอุปกรณ์ การสอน

V
un Un ch
CF.C สถานที,
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
e

CF.G อุปกรณ์ การสอน


lo rn T

ครุ ภณ
ั ฑ์ของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
ha ko ry
C pa na

CH. ห้ องสมุด
สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร มีสื9อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
S. Sil eri

วิทยาศาสตร์การแพทย์และเกษตรศาสตร์ เป็ นหนังสื อจํานวนประมาณ 5,000 เล่ม และวารสารจํานวน


ประมาณ 30 รายการ
rs
et
V

CI. งบประมาณ
jƒ.j งบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดินที9ได้รบั จัดสรร และงบประมาณอื9นๆ ตามที9
ได้รับจัดสรรประจําปี ตามแผนงาน
jƒ.m ใช้งบประมาณของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ทัVงนีVโดย
การใช้หลักการของการจัดสรรและการใช้สอยทรัพยากรร่ วมกัน
13

CJ. หลักสู ตร
CJ.C จํานวนหน่ วยกิตลอดหลักสู ตร ไม่นอ้ ยกว่า 138 หน่วยกิต
17.2 โครงสร้ างหลักสู ตร ประกอบด้วย 4 หมวดวิชา ดังตาราง
หมวดวิชา จํานวนหน่ วยกิต
1. หมวดวิชาการศึกษาทั,วไป 30
1.1 กลุ่มวิชาภาษา 15

ul ity y,
1.2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิ ตศาสตร์ 8
1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 7

ak ers og
2. หมวดวิชาเฉพาะ 102

D ,
tis iv ol

M
2.1 กลุ่มวิชาแกน 30

n
2.2 กลุ่มวิชาพืVนฐานวิชาชีพและวิชาชีพ 54

V
un Un ch
2.3 กลุ่มวิชาประสบการณ์วิชาชีพ 6
2.4 กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน 12
e

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6
lo rn T

4. การสอบรวบยอดความรู้ เชิงบูรณาการ ไม่ นับหน่ วยกิต


ha ko ry

รวมหน่ วยกิตสะสมต้องไม่ น้อยกว่ า 138


C pa na

17.3 คําอธิบายรหัสวิชา
S. Sil eri

กําหนดรหัสวิชาไว้เป็ น 6 หลัก โดยแบ่งเลขออกเป็ น m กลุม่ กลุ่มละ 3 หลัก


17.3.1 เลขสามหลักแรก เป็ นเลขประจําหน่วยงานที9รับผิดชอบรายวิชานัVน ๆ
rs
et

080 มหาวิทยาลัยศิลปากร
V

700 คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
710 สาขาวิชาสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
711 สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์นV าํ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
712 สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
713 สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
14

CJ.D.G เลขสามหลักหลัง (เฉพาะรายวิชาที9มีรหัส …jo)


 เลขตัวแรก หมายถึง ระดับชัVนปี ที9นกั ศึกษาปกติควรเรี ยนได้คือ
1 = ระดับการศึกษาปริ ญญาบัณฑิต ชัVนปี ที9 1 หรื อ ชัVนปี ที9 2
2 = ระดับการศึกษาปริ ญญาบัณฑิต ชัVนปี ที9 2
3 = ระดับการศึกษาปริ ญญาบัณฑิต ชัVนปี ที9 3
4 = ระดับการศึกษาปริ ญญาบัณฑิต ชัVนปี ที9 4

ul ity y,
 เลขตัวที,สองและสาม หมายถึง อนุกรมของรายวิชา

ak ers og
รายละเอียดโครงสร้ างหลักสู ตร

D ,
tis iv ol

M
1) หมวดวิชาการศึกษาทั,วไป

n
นักศึกษาสาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย์ตอ้ งศึกษารายวิชาในหมวดวิชาการศึกษาทัว9 ไป

V
un Un ch
ไม่นอ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต ประกอบด้วย
e

1.1) กลุ่มวิชาภาษา จํานวนไม่นอ้ ยกว่า 15 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปนีV


lo rn T

080 176 ภาษากับการสื9 อสาร 3(3-0-6)


ha ko ry

(Language and Communication)


080 177 ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5)
C pa na

(English I)
S. Sil eri

080 178 ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5)


(English II)
rs
et

700 207 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์ 1 3(3-0-6)


V

(Scientific English I)
713 201 ศัพทวิทยาการสัตวแพทย์ 3(3-0-6)
(Veterinary Medical Terminology)
หรื อเลือกเรี ยนจากรายวิชาที9ได้รับอนุมตั ิให้เปิ ดสอนเพิ9มเติม
15

1.2) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ จํานวนไม่นอ้ ยกว่า 8 หน่วยกิต ประกอบด้วย


รายวิชาต่อไปนีV
700 202 แคลคูลสั 3(3-0-6)
(Calculus)
700 203 ชีวสถิติเบืVองต้น 3(2-3-4)
(Basic Biostatistics)

ul ity y,
700 303 ห้องสมุดดิจิตอลและสารสนเทศเพื9อการวิจยั 2(1-3-2)
(Digital Library and Information for Research)

ak ers og
D ,
tis iv ol
1.3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ จํานวนไม่นอ้ ยกว่า 7 หน่วยกิต

M
080 101 มนุษย์กบั การสร้างสรรค์ 3(3-0-6)
n

V
un Un ch
(Man and Creativity)
080 107 ดนตรี วิจกั ษ์ 2(2-0-4)
e

(Music Appreciation)
lo rn T

080 114 ศิลปวิจกั ษ์ 2(2-0-4)


ha ko ry

(Art Appreciation)
080 127 จิตวิทยาเบืVองต้น 2(2-0-4)
C pa na

(Introduction to Psychology)
S. Sil eri

080 140 กีฬาศึกษา 2(1-2-3)


(Sport Education)
rs
et

080 141 หลักนันทนาการ 1(1-0-2)


(Principles of Recreation)
V

080 145 การจัดการทัว9 ไป 3(3-0-6)


(Introduction to Management)
080 146 มนุษย์และสัตว์ในสังคม 3(3-0-6)
(Humans and Animals in Society)
700 206 กฎหมายการเกษตร 2(2-0-4)
(Agricultural Laws)
700 208 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์ 2 3(3-0-6)
(Scientific English II)
16

700 271 หลักสหกรณ์และการส่ งเสริ มการเกษตร 2(2-0-4)


(Principles of Cooperatives and Agricultural Extension)
700 272 เศรษฐกิจพอเพียง 1(1-0-2)
(Self Sufficient Economy)
700 281 ภูมิปัญญาไทยทางการเกษตร 2(2-0-4)
(Thai Wisdom in Agriculture)
700 301 เศรษฐศาสตร์การเกษตร 2(2-0-4)

ul ity y,
(Agricultural Economics)

ak ers og
700 471 การตลาดสิ นค้าเกษตรและอาหาร 2(2-0-4)

D ,
tis iv ol
(Food and Agricultural Marketing)

M
712 271 ธุรกิจเกษตร 2(2-0-4)
n

V
(Agribusiness)
un Un ch
712 382 ลอจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6)
e

(Logistics and Supply Chain)


lo rn T

712 481 การจัดอบรมเพื9อการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 3(2-3-4)


ha ko ry

(Training for Agricultural Technology Transfer)


713 102 พันธภาพมนุษย์และสัตว์เลีVยงเป็ นเพื9อน 2(2-0-4)
C pa na

(Human – Companion Animal Bond)


713 209 กฎหมาย สิ ทธิและการคุม้ ครองสัตว์ 2(2-0-4)
S. Sil eri

(Animal Laws, Rights and Protections)


rs
et

หรื อเลือกเรี ยนจากรายวิชาที9ได้รับอนุมตั ิให้เปิ ดสอนเพิ9มเติม


V

2) หมวดวิชาเฉพาะ
2.1) กลุ่มวิชาแกน จํานวน 30 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปนีV
700 181 เคมีเบืVองต้น 3(3-0-6)
(Fundamental Chemistry)
700 182 ปฏิบตั ิการเคมีเบืVองต้น 1(0-3-0)
(Fundamental Chemistry Laboratory)
700 183 เคมีอินทรี ยเ์ บืVองต้น 3(3-0-6)
(Fundamental Organic Chemistry)
17

700 184 ปฏิบตั ิการเคมีอินทรี ยเ์ บืVองต้น 1(0-3-0)


(Fundamental Chemistry Laboratory)
700 185 ชีววิทยา 1 3(3-0-6)
(Biology I)
700 186 ปฏิบตั ิการชีววิทยา 1 1(0-3-0)
(Biology Laboratory I)
700 187 ชีววิทยา 2 3(3-0-6)

ul ity y,
(Biology II)

ak ers og
700 188 ปฏิบตั ิการชีววิทยา 2 1(0-3-0)

D ,
tis iv ol
(Biology Laboratory II)

M
700 201 จุลชีววิทยาสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์การเกษตร 3(2-3-4)
n

V
(Microbiology for Agricultural Science Students)
un Un ch
700 204 ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์การเกษตร 3(3-0-6)
e

(Biochemistry for Agricultural Science Students)


lo rn T

700 205 ปฏิบตั ิการชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์การเกษตร 1(0-3-0)


ha ko ry

(Biochemistry Laboratory for Agricultural Science Students)


700 206 ฟิ สิ กส์พVืนฐาน 4(4-0-8)
C pa na

(Basic Physics)
700 302 พันธุศาสตร์การเกษตร 3(3-0-6)
S. Sil eri

(Agricultural Genetics)
rs
et

2.2) กลุ่มวิชาพืEนฐานวิชาชีพและวิชาชีพ จํานวน 51 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาต่อไปนีV


V

713 101 ความรู ้เบืVองต้นทางเทคนิคการสัตวแพทย์ 1(1-0-2)


(Introduction to Veterinary Technology)
713 202 วิทยาเซลล์และมิชญวิทยาทางสัตวแพทย์ 2(1-2-3)
(Veterinary Cytology and Histology)
713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์ 4(3-4-5)
(Veterinary Physiology and Applied Anatomy)
713 204 โลหิ ตวิทยาและวิทยาภูมิคุม้ กันทางสัตวแพทย์ 2(1-2-3)
(Veterinary Hematology and Immunology)
18

713 205 จุลชีววิทยาทางสัตวแพทย์ 4(3-4-5)


(Veterinary Microbiology)
713 206 พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์ 3(3-0-6)
(Veterinary Pathology)
713 207 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางสัตวแพทย์ 2(2-0-4)
(Veterinary Pharmacology and Toxicology)
713 208 โภชนศาสตร์ อาหารและการให้อาหารสัตว์ 3(2-3-4)

ul ity y,
(Animal Nutrition, Feed and Feeding)

ak ers og
713 301 ปรสิ ตวิทยาและกีฏวิทยาทางสัตวแพทย์ 4(3-4-5)

D ,
tis iv ol
(Veterinary Parasitology and Entomology)

M
713 302 การปฏิบตั ิงานสถานพยาบาลสัตว์และวิธีทางคลินิก 3(2-3-4)
n

V
(Veterinary Hospital Procedures and Clinical Methods)
un Un ch
713 303 เทคโนโลยีทางสัตว์ที9ใช้วิจยั 1 2(1-2-3)
e

(Research Animal Technology I)


lo rn T

713 304 การถ่ายภาพรังสี และเครื9 องมือวินิจฉัยทางสัตวแพทย์ 2(1-2-3)


ha ko ry

(Veterinary Radiography and Diagnostic Instruments)


713 305 การพยาบาลสัตว์เล็กและการจัดการสุ ขภาพ 2(1-2-3)
C pa na

(Small Animal Nursing and Health Management)


713 306 การปรับปรุ งพันธุ์และการสื บพันธุ์สัตว์ 3(2-3-4)
S. Sil eri

(Animal Breeding and Reproduction)


rs
et

713 307 การพยาบาลสัตว์เลีVยงในฟาร์มและการจัดการสุ ขภาพ 2(1-2-3)


(Farm Animal Nursing and Health Management)
V

713 308 เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย์ 1 3(2-3-4)


(Diagnostic Technology in Veterinary Medicine I)
713 309 เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย์ 2 3(2-3-4)
(Diagnostic Technology in Veterinary Medicine II)
713 310 เทคโนโลยีห้องปฏิบตั ิการตรวจอาหารทางสัตวแพทย์ 2(1-2-3)
(Laboratory Technology in Veterinary Food Inspection)
713 311 วิธีการวิจยั และการสื9 อสาร 2(2-0-4)
(Methods in Research and Communication)
19

713 312 การจัดการปฏิบตั ิงานทางสัตวแพทย์ 2(2-0-4)


(Veterinary Practice Management)
713 313 สัมมนาทางเทคนิคการสัตวแพทย์ 1(0-3-0)
Seminar in Veterinary Technology
713 499 จุลนิพนธ์ 2(0-6-0)
(Senior Project)

ul ity y,
2.3) กลุ่มวิชาประสบการณ์ วิชาชีพ จํานวน I หน่ วย โดยเลือกฝึ กประสบการณ์วิชาชีพกลุ่ม

ak ers og
ใดกลุ่มหนึ9ง โดยได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและเป็ นไปตามตามข้อกําหนดของ

D ,
tis iv ol
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

M
n

V
2.3.1) การฝึ กปฏิบตั ิทางเทคนิคการสั ตวแพทย์ แบบหมุนเวีย น
un Un ch
713 491 การฝึ กปฏิบตั ิทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน 1 1(0-3-0)
e

(Veterinary Technology Internship Rotation I)


lo rn T

713 492 การฝึ กปฏิบตั ิทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน 2 1(0-3-0)


ha ko ry

(Veterinary Technology Internship Rotation II)


713 493 การฝึ กปฏิบตั ิทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน 3 1(0-3-0)
C pa na

(Veterinary Technology Internship Rotation III)


S. Sil eri

713 494 การฝึ กปฏิบตั ิทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน 4 1(0-3-0)


(Veterinary Technology Internship Rotation IV)
rs
et

713 495 การฝึ กปฏิบตั ิทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน 5 1(0-3-0)


(Veterinary Technology Internship Rotation V)
V

713 496 การฝึ กปฏิบตั ิทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน 6 1(0-3-0)


(Veterinary Technology Internship Rotation VI)
หรื อ
2.3.2) สหกิจศึกษาทางเทคนิคการสั ตวแพทย์
713 497 สหกิจศึกษาทางเทคนิคการสัตวแพทย์ 6(0-18-0)
(Cooperative Education in Veterinary Technology)
20

2.4) กลุ่มวิชาเฉพาะด้ าน จํานวนไม่นอ้ ยกว่า 12 หน่วยกิต โดยเลือกเรี ยนจากรายวิชา


ดังต่อไปนีV
700 231 สวัสดิภาพสัตว์และจรรยาบรรณการทดลองในสัตว์ 2(2-0-4)
(Animal Welfare and Ethics on Animal Experimentation)
700 381 การเตรี ยมความพร้อมสําหรับสหกิจศึกษา 2(1-2-3)
(Preparation for Co-operative Education)

ul ity y,
713 401 เทคโนโลยีและการจัดการสัตว์ให้นมและผลผลิต 3(2-3-4)
(Technology and Management of Dairy Animals and Products)

ak ers og
713 402 เทคโนโลยีและการจัดการสัตว์ให้เนืVอและผลผลิต 3(2-3-4)

D ,
tis iv ol
(Technology and Management of Meat Animals and Products)

M
713 403 เทคโนโลยีและการจัดการการสัตว์ปีกและผลผลิต 3(2-3-4)
n

V
(Technology and Management of Avian and Products)
un Un ch
713 404 เทคโนโลยีและการจัดการสัตว์ให้ขนและผลผลิต 3(2-3-4)
e

(Technology and Management of Fur Animals and Products)


lo rn T

713 405 เทคโนโลยีและการจัดการสัตว์นV าํ และผลผลิต 3(2-3-4)


ha ko ry

(Technology and Management of Aquatic Animals and Products)


713 406 เทคโนโลยีและการจัดการผึVงและผลผลิต 3(2-3-4)
C pa na

(Technology and Management of Bee and Products)


S. Sil eri

713 407 เทคโนโลยีและการจัดการโรงฆ่าสัตว์ 3(2-3-4)


(Technology and Management of Slaughterhouse)
rs
et

713 408 เทคโนโลยีและการจัดการโรงฟัก 3(2-3-4)


(Technology and Management of Hatchery)
V

713 409 เทคโนโลยีการสื บพันธุ์และการเพาะขยายพันธุ์เทียม 3(2-3-4)


(Reproductive Technology and Artificial Breeding)
713 410 เทคโนโลยีห้องปฏิบตั ิการโภชนศาสตร์ประยุกต์ 3(2-3-4)
(Laboratory Technology in Applied Nutrition)
713 411 เทคโนโลยีห้องปฏิบตั ิการเภสัชกรรม 3(2-3-4)
(Laboratory Technology in Pharmaceutics)
713 412 เทคโนโลยีห้องปฏิบตั ิการพิษวิทยาสิ9 งแวดล้อม 3(2-3-4)
(Laboratory Technology in Environmental Toxicology)
21

713 413 การจัดการและมาตรฐานห้องปฏิบตั ิการทางสัตวแพทย์ 3(3-0-6)


(Veterinary Laboratory Management and Standardizations)
713 414 เทคโนโลยีทางสัตว์ที9ใช้วิจยั 2 3(2-3-4)
(Research Animal Technology II)
713 481 เรื9 องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสัตวแพทย์ j 3(2-3-4)
(Selected Topics in Veterinary Technology I)
713 482 เรื9 องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสัตวแพทย์ m 3(2-3-4)

ul ity y,
(Selected Topics in Veterinary Technology II)

ak ers og
713 498 การฝึ กงานภาคสนามทางเทคนิคการสัตวแพทย์ 1(0-3-0)

D ,
tis iv ol
(Field Practicum in Veterinary Technology)

M
และรายวิชาของสาขาวิชาอื9นๆ ที9เปิ ดสอนในคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร โดยได้รับความ
n

V
เห็นชอบจากคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและเป็ นไปตามตามข้อกําหนดของคณะสัตวศาสตร์และ
un Un ch
เทคโนโลยีการเกษตร
e
lo rn T

3) หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต


ha ko ry

ให้เลือกศึกษาได้จากทุกรายวิชาที9เปิ ดสอนในมหาวิทยาลัย หรื อสถาบันการศึกษาอื9นที9ได้รับความ


เห็นชอบจากคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ถ้านักศึกษาเลือกศึกษารายวิชาในกลุ่มวิชาเฉพาะ
C pa na

ด้ าน จะต้ องนําไปคิดค่ าระดับคะแนนเฉลีย, ในหมวดวิชาเฉพาะด้ วย เพือ, ตรวจสอบเงื,อนไขการสํ าเร็จ


S. Sil eri

การศึกษา
การนับหน่ วยกิตในแต่ ละหมวดวิชา ให้ นบั เป็ นรายวิชา จะแยกนับหน่ วยกิตรายวิชาใดรายวิชาหนึ,ง
rs
et

ไปไว้ ทEังสองหมวดวิชาไม่ ได้


อนึ9งคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร อาจพิจารณาเทียบสาระเนืVอหาและจํานวนหน่วย
V

กิต รายวิชาของคณะวิชาหรื อของสถาบันการศึกษาอื9นให้เทียบเท่ากับรายวิชาของคณะสัตวศาสตร์และ


เทคโนโลยีการเกษตรได้

4) การสอบรวบยอดความรู้เชิงบูรณาการ
การสอบรวบยอดความรู ้เชิงบูรณาการให้เป็ นไปตามความเห็นชอบคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตร
และเป็ นไปตามข้อกําหนดของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร และ/หรื อเป็ นไปตามข้อกําหนด
ขององค์กรวิชาชีพ เพื9อเป็ นเงื9อนไขของการสําเร็ จการศึกษา
22

17.4 แผนการศึกษาหลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคนิคการสั ตวแพทย์ 138 หน่ วยกิต


ทัVงนีVคณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรอาจมีการปรับเปลี9ยนได้ตามความเหมาะสม ตามสถานภาพและ
แนวโน้มการเปลี9ยนแปลงของวิชาชีพนักเทคนิคการสัตวแพทย์ และ/หรื อตามคําแนะนําขององค์กรวิชาชีพ

ปี ที, 1 (ภาคการศึกษาที, 1)

รหัสวิชา ชื, อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต

ul ity y,
080 177 ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5)

ak ers og
700 180 แคลคูลสั 3(3-0-6)

D ,
700 181 เคมีเบืVองต้น 3(3-0-6)

tis iv ol

M
700 182 ปฏิบตั ิการเคมีเบืVองต้น 1(0-3-0)
n

V
700 185 ชีววิทยา 1 3(3-0-6)
un Un ch
700 186 ปฏิบตั ิการชีววิทยา 1 1(0-3-0)
e
700 189 ฟิ สิ กส์พVืนฐาน 4(4-0-8)
lo rn T

รวมหน่ วยกิต 18
ha ko ry

ปี ที, 1 (ภาคการศึกษาที, 2)
C pa na

รหัสวิชา ชื, อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต


S. Sil eri

080 176 ภาษากับการสื9 อสาร 3(3-0-6)


rs
et

080 178 ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5)


700 183 เคมีอินทรี ยเ์ บืVองต้น 3(3-0-6)
V

700 184 ปฏิบตั ิการเคมีอินทรี ยเ์ บืVองต้น 1(0-3-0)


700 187 ชีววิทยา 2 3(3-0-6)
700 188 ปฏิบตั ิการชีววิทยา 2 1(0-3-0)
713 101 ความรู ้เบืVองต้นทางเทคนิคการสัตวแพทย์ 1(1-0-2)
... ... วิชาเลือกในกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 3
รวมหน่ วยกิต 18
23

ปี ที, 2 (ภาคการศึกษาที, 1)

รหัสวิชา ชื, อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต


700 201 จุลชีววิทยาสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์การเกษตร 3(2-3-4)
700 207 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์ 1 3(3-0-6)
713 201 ศัพทวิทยาการสัตวแพทย์ 3(3-0-6)
713 202 วิทยาเซลล์และมิชญวิทยาทางสัตวแพทย์ 2(1-2-3)

ul ity y,
713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์ 4(3-4-5)

ak ers og
713 204 โลหิ ตวิทยาและวิทยาภูมคิ ุม้ กันทางสัตวแพทย์ 2(1-2-3)

D ,
…… วิชาเลือกในกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 2

tis iv ol

M
รวมหน่ วยกิต 19
n

V
un Un ch
ปี ที, 2 (ภาคการศึกษาที, 2)
e
lo rn T

รหัสวิชา ชื, อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต


ha ko ry

700 203 ชีวสถิติเบืVองต้น 3(2-3-4)


700 204 ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์การเกษตร 3(3-0-6)
C pa na

700 205 ปฏิบตั ิการชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์การเกษตร 1(0-3-0)


S. Sil eri

713 205 จุลชีววิทยาทางสัตวแพทย์ 4(3-4-5)


713 206 พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์ 3(3-0-6)
rs
et

713 207 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางสัตวแพทย์ 2(2-0-4)


V

713 208 โภชนศาสตร์ อาหารและการให้อาหารสัตว์ 3(2-3-4)


…… วิชาเลือกในกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 2
รวมหน่ วยกิต 21
24

ปี ที, 3 (ภาคการศึกษาที, 1)

รหัสวิชา ชื, อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต


700 302 พันธุศาสตร์การเกษตร 3(3-0-6)
700 303 ห้องสมุดดิจิตอลและสารสนเทศเพื9อการวิจยั 2(1-3-2)
713 301 ปรสิ ตวิทยาและกีฏวิทยาทางสัตวแพทย์ 4(3-4-5)
713 302 การปฏิบตั ิงานสถานพยาบาลสัตว์และวิธีทางคลินิก 3(2-3-4)

ul ity y,
713 303 เทคโนโลยีทางสัตว์ที9ใช้วจิ ยั 2(1-2-3)

ak ers og
713 304 การถ่ายภาพรังสี และเครื9 องมือวินิจฉัยทางสัตวแพทย์ 2(1-2-3)

D ,
713 305 การพยาบาลสัตว์เล็กและการจัดการสุ ขภาพ 2(1-2-3)

tis iv ol

M
... ... วิชาเลือกในหมวดวิชาเลือกเสรี 3
n

V
รวมหน่ วยกิต 21
un Un ch
e

ปี ที, 3 (ภาคการศึกษาที, 2)
lo rn T

รหัสวิชา ชื, อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต


ha ko ry

713 306 การปรับปรุ งพันธุ์และการสื บพันธุ์สัตว์ 3(2-3-4)


C pa na

713 307 การพยาบาลสัตว์ เลีVยงในฟาร์มและการจัดการสุ ขภาพ 2(1-2-3)


713 308 เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย์ 1 3(2-3-4)
S. Sil eri

713 309 เทคโนโลยีการวินิจฉัยทางสัตวแพทย์ 2 3(2-3-4)


rs

713 310 เทคโนโลยีห้องปฏิบตั ิการตรวจอาหารทางสัตวแพทย์ 2(1-2-3)


et

713 311 วิธีการวิจยั และการสื9 อสาร 2(2-0-4)


V

713 312 การจัดการปฏิบตั ิงานทางสัตวแพทย์ 2(2-0-4)


713 313 สัมมนาทางเทคนิคการสัตวแพทย์ 1(0-3-0)
... ... วิชาเลือกในหมวดวิชาเลือกเสรี 3
รวมหน่ วยกิต 21
25

ปี ที, 4 (ภาคการศึกษาที, 1)
รหัสวิชา ชื, อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต
713 … การฝึ กปฏิบตั ิทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน หรื อ 6
สหกิจศึกษาทางเทคนิคการสัตวแพทย์
รวมหน่ วยกิต 6

ul ity y,
ปี ที, 4 (ภาคการศึกษาที, 2)

ak ers og
รหัสวิชา ชื, อรายวิชา จํานวนหน่ วยกิต

D ,
tis iv ol

M
713 499 จุลนิพนธ์ 2(0-6-0)
n

V
713 … วิชาเลือกในกลุ่มวิชาเลือกวิชาชีพ 12
un Un ch
การสอบรวบยอดความรู ้เชิงบูรณาการ ไม่นบั หน่วยกิต
e
รวมหน่ วยกิต 14
lo rn T
ha ko ry
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
26

CJ.H คําอธิบายรายวิชา

080 101 มนุษย์กับการสร้ างสรรค์ 3(3-0-6)


(Man and Creativity)
ศึกษาหลักความคิดเกีย9 วกับความสํานึกในตนอันเกิดจากการพิจารณาเอกภาพของโลก
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลกับเพื9อนมนุษย์ ระหว่างปั จเจกบุคคลกับสิ9 งแวดล้อม การดํารงอยูข่ อง

ul ity y,
จักรวาลโลกและมวลมนุษย์ อันเป็ นปั จจัยก่อให้เกิดแรงสร้างสรรค์ส่วนบุคคลและพลังร่ วมในการจรรโลง
ความเป็ นมนุษย์ทV งั ที9เป็ นในรู ปของปรัชญา ศาสนา และความเชื9อถือ สภาวะทางจิต สภาวะทางธรรมชาติ

ak ers og
และสังคมที9เอืVอต่อ การสร้างสรรค์ทางศิลปะ ตลอดจนการประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

D ,
tis iv ol

M
ทัVงนีVให้ศึกษาตัวอย่างที9สําคัญ ๆ จากกิจกรรมสร้างสรรค์ของมนุษย์ทV งั ในอดีตและปั จจุบนั รวมทัVงข้อขัดแย้ง
และอุปสรรคที9มีต่อการสร้างสรรค์ในการสอน
n

V
un Un ch
080 107 ดนตรีวิจักษ์ 2(2-0-4)
e

(Music Appreciation)
lo rn T

ศึกษาองค์ประกอบของดนตรี เครื9 องดนตรี ไทยและต่างชาติ ผลงานของคีตกวีไทยและ


ha ko ry

ต่างประเทศที9สําคัญ เปรี ยบเทียบลักษณะของดนตรี ชาติต่างๆ รวมทัVงดนตรี พVืนบ้าน ลักษณะเฉพาะของดนตรี


ประจําชาติไทย ความสัมพันธ์ระหว่างคีตศิลป์ กับศิลปะแขนงอื9น ทัVงนีVโดยให้นกั ศึกษาได้ฟังดนตรี ไทยและ
C pa na

ต่างชาติให้มากที9สุดเท่าที9จะมากได้
S. Sil eri

080 114 ศิลปวิจักษ์ 2(2-0-4)


rs
et

(Art Appreciation)
V

ศึกษาลักษณะและความสําคัญของทัศนศิลป์ โดยมุ่งสร้างรสนิยม ความชื9นชม และความ


สํานึก ในคุณค่าของงานสร้างสรรค์ทางศิลปะจากตัวอย่างศิลปกรรมทัVงในอดีตและปั จจุบนั บทบาทของ
ทัศนศิลป์ ในวัฒนธรรมของมนุษยชาติทV งั ตะวันออกและตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ9งในการแสดงออก ทัVงนีV
ให้เห็นอิทธิพลโดยตรงของทัศนศิลป์ ที9มีต่อการดํารงชีวิตของคนไทย
27

080 127 จิตวิทยาเบือE งต้น 2(2-0-4)


(Introduction to Psychology)
ศึกษาพืVนฐานของวิชาจิตวิทยา ความหมาย ประวัติ และขอบข่ายของวิชาจิตวิทยา พฤติกรรม
และการก่อให้เกิดพฤติกรรมของมนุษย์ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ การจูงใจ การรับรู ้ บุคลิกภาพ ความ
ขัดแย้ง การปรับตัว สุ ขภาพจิต การนําวิชาจิตวิทยาไปใช้ให้เป็ นประโยชน์ในด้านต่างๆ

ul ity y,
080 140 กีฬ าศึกษา 2(1-2-3)
(Sports Education)

ak ers og
ศึกษาความเป็ นมาของกีฬาแต่ละประเภท เทคนิคและทักษะของการเล่น ระเบียบและกติกา

D ,
tis iv ol

M
การแข่งขัน การป้องกันอุบตั ิเหตุทางการกีฬา เลือกศึกษากีฬาหนึ9งประเภท เช่น บาสเกตบอล วอลเล่ยบ์ อล
แบดมินตัน ยูโด ตะกร้อ กิจกรรมเข้าจังหวะและกีฬาอื9น ๆ ตามความเหมาะสม
n

V
un Un ch
080 141 หลักนันทนาการ 1(1-0-2)
e

(Principles of Recreation)
lo rn T

ศึกษาความหมาย ประโยชน์ และขอบข่ายของกิจกรรมนันทนาการ รวมทัVงแหล่ง


ha ko ry

นันทนาการ หลักในการเลือก การจัด และการบริ หารกิจกรรมนันทนาการ


C pa na

080 145 การจัดการทั,วไป 3(3-0-6)


S. Sil eri

(Introduction to Management)
ศึกษาจัดการทัว9 ไป การจัดการองค์การ การจัดการธุรกิจ การจัดการในระบบรัฐกิจ เพื9อให้
rs
et

นักศึกษามีความรู ้พVนื ฐานด้านจัดการรู ปแบบขององค์การ การแบ่งส่ วนงาน หน้าที9และความรับผิดชอบใน


V

การจัดการ ระบบจัดการ กลวิธีในการจัดการ การจัดการงานบุคคล พัสดุ และอาคารสถานที9

080 146 มนุษย์ และสั ตว์ ในสั งคม 3(3-0-6)


(Humans and Animals in Society)
ความสัมพันธ์ของมนุษย์และสัตว์ในสังคม ทางด้านนิเวศวิทยา สิ9 งแวดล้อม วัฒนธรรม
เศรษฐกิจ การเมือง สังคม จิตวิทยาและสุ ขภาพ
28

080 176 ภาษากับการสื, อสาร 3(3-0-6)


(Language and Communication)
ศึกษาหลักเกณฑ์และแนวความคิดที9เป็ นพืVนฐานของการสื9อสาร และการใช้ภาษาเพื9อการสื9 อ
ความหมายไปยังผูร้ ับให้สัมฤทธิyผล ให้รู้จกั คิดและลําดับความคิดอย่างมีเหตุผลโดยศึกษาหลักและข้อบกพร่ อง
ในการใช้เหตุผลซึ9งปรากฏในการใช้ภาษา ฝึ กการใช้ถอ้ ยคํา สํานวน โวหาร วลี การเตรี ยมและรวบรวมข้อมูล
ในการเขียนตามจุดประสงค์ การใช้ภาษาในเชิงบรรยาย พรรณนา อธิบาย อภิปรายโดยคํานึงถึงผลสัมฤทธิyใน

ul ity y,
ด้านการสื9 อสาร การวิเคราะห์และวิจารณ์ปัญหาในสภาวการณ์ต่างๆ

ak ers og
080 177 ภาษาอังกฤษ 1 3(2-2-5)

D ,
tis iv ol
(English I)

M
ทบทวนทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษทัVง 4 ทักษะ คือ การอ่าน การเขียน การฟัง การพูด ซึ9ง
n

V
un Un ch
นักศึกษาได้เรี ยนมาแล้วในชัVนมัธยม และเพิ9มความรู ้ที9จาํ เป็ นเพื9อนําไปประกอบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
เน้นการอ่านเพื9อความเข้าใจส่ วนการสอนทักษะอืน9 ให้มีความสัมพันธ์กบั เอกสารที9ใช้อ่าน
e
lo rn T

080 178 ภาษาอังกฤษ 2 3(2-2-5)


ha ko ry

(English II)
วิชาบังคับก่อน : 080 177 ภาษาอังกฤษ 1
C pa na

ฝึ กการใช้ทกั ษะทัVง 4 ในระดับที9สูงขึVนและเน้นทักษะการอ่านโดยฝึ กอ่านเอกสารที9ยากขึVน


S. Sil eri

700 180 แคลคูลัส 3(3-0-6)


rs
et

(Calculus)
V

การหาอนุพนั ธ์และการอินทิเกรต อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคลอริ น สมการเชิง


อนุพนั ธ์อนั ดับหนึ9ง การหาคําตอบของระบบสมการเชิงเส้น
700 180 Calculus 3(3-0-6)
Differentiation and integration. Taylor and MacClaurin series. First-order differential
equations. Systems of simultaneous linear equations and solutions.
29

700 181 เคมีเบือE งต้น 3(3-0-6)


(Fundamental Chemistry)
โครงสร้างอะตอมและพันธะเคมี ปริ มาณสารสัมพันธ์ แก๊ส ของเหลว และสารละลาย
สมดุลเคมี กรดและเบส
700 181 Fundamental Chemistry 3(3-0-6)
Atomic structure and chemical bonding. Stoichiometry. Gases, liquids, and solution.

ul ity y,
Chemical equilibrium. Acids and base.

ak ers og
700 182 ปฏิบัตกิ ารเคมีเบืEองต้ น 1(0-3-0)

D ,
tis iv ol

M
(Fundamental Chemistry Laboratory )

n
วิชาบังคับก่อน: * 700 181 เคมีเบืVองต้น

V
un Un ch
*อาจเรี ยนพร้อมกันได้
การทดลองที9สอดคล้องกับเนืVอหาในรายวิชา …pp j†j เคมีเบืVองต้น
e

Prerequisite: * 700 181 Fundamental Chemistry


lo rn T

*may be taken concurrently


ha ko ry

Experiments related to the contents in 700 181 Fundamental Chemistry.


C pa na

700 183 เคมีอินทรีย์ เบือE งต้น 3(3-0-6)


S. Sil eri

(Fundamental Organic Chemistry )


วิชาบังคับก่อน: …pp j†j เคมีเบืVองต้น
rs
et

โครงสร้าง การเรี ยกชื9อ การสังเคราะห์และปฏิกิริยาของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน


V

แอลคิลเฮไลด์ แอลกอฮอล์ อีเธอร์ แอลดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซิลิกและเอมีน


700 183 Fundamental Organic Chemistry 3(3-0-6)
Prerequisite:700 181 Fundamental Chemistry
Structure, nomenclature, synthesis and reactions of hydrocarbons, alkyl halides, alcohols,
ethers, aldehydes, ketones, carboxylic acids and amines.
30

700 184 ปฏิบัตกิ ารเคมีอนิ ทรีย์ เบืEองต้ น 1(0-3-0)


(Fundamental Organic Chemistry Laboratory)
วิชาบังคับก่อน: 700 182 ปฏิบตั ิการเคมีเบืVองต้น
*700 183 เคมีอินทรี ยเ์ บืVองต้น
*อาจเรี ยนพร้อมกันได้
ปฏิบตั ิการที9สอดคล้องกับเนืVอหาในรายวิชา …pp j†o เคมีอนิ ทรี ยเ์ บืVองต้น

ul ity y,
700 184 Fundamental Organic Chemistry Laboratory 1(0-3-0)
Prerequisite:700 182 Fundamental Chemistry Laboratory

ak ers og
*700 183 Fundamental Organic Chemistry

D ,
tis iv ol
* may be taken concurrently

M
Experiments related to the contents in 700 183 Fundamental Organic Chemistry.
n

V
un Un ch
700 185 ชีววิทยา C 3(3-0-6)
e

(Biology I)
lo rn T

หลักการทางชีววิทยา พืVนฐานของชีวิตระดับโมเลกุลโภชนาการพลังงานกับชีวิตเมแทบอลิ
ha ko ry

ซึม การจัดระบบ โครงสร้างและหน้าทีข9 องเซลล์ เนืVอเยื9อและอวัยวะ ความหลากหลายทางชีวภาพและการจัด


จําแนก การประยุกต์ทางชีววิทยา
C pa na

700 185 Biology I 3(3-0-6)


S. Sil eri

Principles of biology. Molecular basis of life. Nutrition. Energy and life. Metabolism.
Organization, structure, and function of cells. Tissue and organs. Biodiversity and classification. Biological
rs
et

application.
V
31

700 186 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 1(0-3-0)


(Biology Laboratory I)
วิชาบังคับก่อน: *700 185 ชีววิทยา j
*อาจเรี ยนพร้อมกันได้
ปฏิบตั ิการที9สอดคล้องกับเนืVอหาในรายวิชา …pp j†n ชีววิทยา 1
700 186 Biology Laboratory I 1(0-3-0)

ul ity y,
Prerequisite: * 700 185 Biology I
*may be taken concurrently

ak ers og
Experiments related to the contents in 700 185 Biology I.

D ,
tis iv ol

M
700 187 ชีววิทยา G 3(3-0-6)
n

V
un Un ch
(Biology II)
วิชาบังคับก่อน: …pp j†n ชีววิทยา j
e
พันธุกรรมและวิวฒั นาการ นิเวศวิทยา ฮอร์โมน การสื บพันธุแ์ ละการพัฒนา การย่อยอาหาร
lo rn T

การลําเลียง การไหลเวียนและการหายใจ การขับถ่ายและการรักษาสมดุลของร่ างกาย ระบบประสาท อวัยวะรับ


ความรู ้สึกและพฤติกรรม
ha ko ry

700 187 Biology II 3(3-0-6)


C pa na

Prerequisite: 700 185 Biology I


Genetics and evolution. Ecology. Hormones. Reproduction and development. Digestion.
S. Sil eri

Transportation. Circulation and respiration. Excretion and maintenance of body equilibrium. The nervous
system. Sense organs and behavior.
rs
et
V
32

700 188 ปฏิบัตกิ ารชีววิทยา 2 1(0-3-0)


(Biology Laboratory II)
วิชาบังคับก่อน: 700 186 ปฏิบตั ิการชีววิทยา j
*700 187 ชีววิทยา m
*อาจเรี ยนพร้อมกันได้
ปฏิบตั ิการที9สอดคล้องกับเนืVอหาในรายวิชา …pp j†… ชีววิทยา m
700 188 Biology Laboratory II 1(0-3-0)

ul ity y,
Prerequisite: 700 186 Biology Laboratory I

ak ers og
*700 187 Biology II
*may be taken concurrently

D ,
tis iv ol

M
Experiments related to the contents in 700 187 Biology II.
n

V
un Un ch
700 189 ฟิ สิ กส์ พืEนฐาน 4(4-0-8)
(Fundamental Physics)
e
lo rn T

กลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ ง สมบัติของสสาร กลศาสตร์ของไหล ทฤษฎีจลน์ของ


แก๊ส เทอร์โมไดนามิกส์ ทัศนศาสตร์ ไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้า
ha ko ry

700 189 Fundamental Physics 4(4-0-8)


C pa na

Mechanics of particles and rigid bodies. Properties of matter. Fluid mechanics. Kinetic
theory of gases. Thermodynamics. Optics. Electricity. Electromagnetism.
S. Sil eri

rs
et
V
33

700 201 จุลชีววิทยาสํ าหรับสํ าหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์ การเกษตร 3(2-3-4)


(Microbiology for Agricultural Science Students)
วิชาบังคับก่อน : …pp j†… ชีววิทยา m
โครงสร้างและสัณฐานวิทยาของจุลินทรี ย์ การจําแนก พันธุศาสตร์ หลักการควบคุม
จุลินทรี ยแ์ ละการควบคุมโดยชีวินทรี ย์ การประยุกต์ใช้จุลินทรี ยท์ ี9มีความสําคัญในการผลิตทางการเกษตร
เครื9 องมือในห้องปฏิบตั ิการจุลชีววิทยา วิธีทาํ ให้ปลอดเชืVอ การเพาะเลีVยง การแยกเชืVอจุลินทรี ย์ การทําเชืVอ

ul ity y,
บริ สุทธิy
700 201 Microbiology for Agricultural Science Students 3(2-3-4)

ak ers og
Prerequisite: 700 187 Biology II

D ,
tis iv ol
Structure and morphology of microorganisms. Identification. Genetics. Principles of

M
microbial and biological controls. Species of agricultural importance and their application in agricultural
n

V
un Un ch
production. Microbiological laboratory equipment. Aseptic techniques. Microbial cultivation. Isolation and
purification of microorganism.
e
lo rn T

700 203 ชีวสถิติเบืEองต้ น 3(2-3-4)


ha ko ry

(Basic Biostatistics)
C pa na

การจัดการข้อมูลทางชีววิทยา การแจกแจงความน่าจะเป็ น การแจกแจงค่าตัวอย่าง การ


ประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน สถิติแบบไม่ใช้พารามิเตอร์ การวิเคราะห์ความถดถอย และสหสัมพันธ์
S. Sil eri

การวิเคราะห์ความแปรปรวน
700 203 Basic Biostatistics 3(2-3-4)
rs
et

Quantitative treatments of biological data. Probability distribution. Sampling distribution.


V

Estimation. Hypothesis testing. Non-parametric statistics. Regression and correlation analyses. Analysis of
variance.
34

700 204 ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์ การเกษตร 3(3-0-6)


(Biochemistry for Agricultural Science Students)
วิชาบังคับก่อน: 700 183 เคมีอินทรี ยเ์ บืVองต้น
700 187 ชีววิทยา m
*700 205 ปฏิบตั ิการชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์การเกษตร
*อาจเรี ยนพร้อมกันได้

ul ity y,
เคมีของโมเลกุลที9มีความสําคัญต่อสิ9 งมีชีวิตและหน่วยพืVนฐานของโมเลกุล ได้แก่ กรด
นิวคลีอิก โปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมัน เคมีของดีเอ็นเอและอาร์ เอ็นเอในส่ วนที9สัมพันธ์กับการ

ak ers og
สังเคราะห์โปรตีน หมู่ฟังก์ชนั ของกรดอะมิโนซึ9งกําหนดสมบัติทางเคมีและชีววิทยาของโปรตีน เคมีและ

D ,
tis iv ol
บทบาทของเอนไซม์ในการเร่ งปฏิกิริยาของสิ9 งมีชีวิต เมแทบอลิซึมพืVนฐานที9เกี9ยวข้องกับการเปลี9ยนแปลงชีว

M
โมเลกุล รวมถึงการควบคุมในสิ9 งมีชีวติ
n

V
un Un ch
700 204 Biochemistry for Agricultural Science Students 3(3-0-6)
Prerequisite: 700 183 Fundamental Organic Chemistry
e

700 187 Biology II


lo rn T

*700 205 Biochemistry Laboratory for Agricultural Science Students


ha ko ry

*may be taken concurrently


Chemistry of biologically important molecules and their building blocks, eg. nucleic acids,
C pa na

proteins, carbohydrates, and lipids. Chemistry of DNA and RNA about their roles in dictating the synthesis
S. Sil eri

of proteins. Functional groups of amino acids contribute to the chemical and biological properties of
proteins. Enzymes as biocatalysts. Basic concepts of metabolic conversion of biomolecules and their
rs
et

regulation in life.
V
35

700 205 ปฏิบัตกิ ารชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์ การเกษตร 1(0-3-0)


(Biochemistry Laboratory for Agricultural Science Students)
วิชาบังคับก่อน: 700 184 ปฏิบตั ิการเคมีอินทรี ยเ์ บืVองต้น
*…pp mpq ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์การเกษตร
*อาจเรี ยนพร้อมกันได้
การทดลองที9สอดคล้องกับเนืVอหาในรายวิชา …pp mpq ชีวเคมีสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์

ul ity y,
การเกษตร
700 205 Biochemistry Laboratory for Agricultural Science Students 1(0-3-0)

ak ers og
Prerequisite: 700 184 Fundamental Organic Chemistry Laboratory

D ,
tis iv ol
*700 204 Biochemistry for Agricultural Science Students

M
*may be taken concurrently
n

V
un Un ch
Experiment related to the contents in 700 204 Biochemistry for Agricultural Science
Students.
e
lo rn T

700 206 กฎหมายการเกษตร 2(2-0-4)


ha ko ry

(Agricultural Laws)
กฎหมายและข้อบังคับที9เกี9ยวข้องกับการผลิตและการจัดการทางการเกษตร
C pa na

700 206 Agricultural Laws 2(2-0-4)


S. Sil eri

Laws and regulations concerning agricultural production and management.


rs
et
V
36

700 207 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์ 1 3(3-0-6)


(Scientific English I)
วิชาบังคับก่อน: 080 177 ภาษาอังกฤษ j
ฝึ กอ่านบทความวิชาการทางวิทยาศาสตร์ เพื9อให้เข้าใจและจับใจความสําคัญของบทความและ
เข้าใจวัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียนตลอดจนฝึ กเขียนสรุ ปใจความสําคัญและเขียนรายงานทางวิทยาศาสตร์
700 207 Scientific English I 3(3-0-6)

ul ity y,
Prerequisite: 080 177 English I
Practice reading scientific articles to understand and get the main ideas of the articles and of

ak ers og
the authors as well as practice summarizing and writing scientific reports.

D ,
tis iv ol

M
700 208 ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์ G 3(3-0-6)
n

V
un Un ch
(Scientific English II )
วิชาบังคับก่อน: …pp mp… ภาษาอังกฤษเชิงวิทยาศาสตร์ j
e

ฝึ กอ่านบทความวิชาการทางวิทยาศาสตร์ที9ซับซ้อนขึVน เพือ9 ให้เข้าใจและจับใจความสําคัญ


lo rn T

ของบทความ เข้าใจวัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียนตลอดจนฝึ กเขียนสรุ ปใจความสําคัญและเขียนรายงานทาง


ha ko ry

วิทยาศาสตร์เป็ นภาษาอังกฤษได้คณ ุ ภาพสู งขึVน


700 208 Scientific English II 3(3-0-6)
C pa na

Prerequisite: 700 207 Scientific English I


S. Sil eri

Practice of reading complicated scientific articles in order to understand and get the main
ideas of the articles and of the authors as well as practice of summarizing and producing well-written
rs
et

scientific reports in English.


V
37

700 231 สวัสดิภาพสั ตว์ และจรรยาบรรณการทดลองในสั ตว์ 2(2-0-4)


(Animal Welfare and Ethics on Animal Experimentation)
การประยุกต์หลักพฤติกรรมศาสตร์และสรี รวิทยาของสัตว์เพื9อปรับปรุ งสวัสดิภาพสัตว์
กฎระเบียบและแนวทางปฏิบตั ิในการใช้สัตว์เพื9อการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์และการเกษตรโดยคํานึงถึง
จรรยาบรรณในการใช้สัตว์ แนวทางและวิธีปฏิบตั ิที9พึงยึดถือในงานวิจยั งานทดสอบและงานผลิตชีววัตถุให้
อยู่บนพืVนฐานของจริ ยธรรมและความแม่นยําทางวิชาการ จรรยาบรรณของนักวิจยั และจรรยาบรรณการใช้

ul ity y,
สัตว์ของสภาวิจยั แห่งชาติและองค์กรระหว่างประเทศ แนวปฏิบตั ิในการเสนอและทํารายงานโครงการวิจยั ที9
ใช้สัตว์

ak ers og
700 231 Animal Welfare and Ethics on Animal Experimentation 2(2-0-4)

D ,
tis iv ol
Application of principles of animal behavior and physiology to the improvement of the

M
welfare of animal. Regulations and practical guidelines associated with the use of animal for scientific and
n

V
un Un ch
agricultural research with regard to animal ethics. Guideline and procedure that should be followed in
researching, testing and producing biomaterials on the basis of ethics and technical accuracy.
e

Researchers’ ethics and the ethics of animal use as regulated by the National Research Council and
lo rn T

international agencies. Practical guidelines in writing research proposals and technical reports for projects
ha ko ry

that use animals for experimentation.


C pa na

700 271 หลักสหกรณ์ และการส่ งเสริมการเกษตร 2(2-0-4)


S. Sil eri

(Principles of Cooperatives and Agricultural Extension)


หลักสหกรณ์ กระบวนการจัดตัVงสหกรณ์การเกษตร กรณี ตวั อย่าง ปั ญหาและข้อจํากัด
rs
et

ความสําเร็ จของสหกรณ์การเกษตร หลักการเกษตรและส่ งเสริ มศึกษา การถ่ายทอดเทคโนโลยี การยอมรับ


เทคโนโลยี การวิเคราะห์และการวิจยั ทางส่ งเสริ มการเกษตร
V

700 271 Principles of Cooperatives and Agricultural Extension 2(2-0-4)


Principles of cooperatives. Processes of agricultural cooperatives. Case studies. Problems
and constraints. The success of agricultural cooperatives. Principles of agricultural and extension education.
Technology transfer. Adoption of technology. Agricultural extension analysis and research.
38

700 272 เศรษฐกิจพอเพีย ง 1(1-0-2)


(Self Sufficient Economy)
โครงสร้างเศรษฐกิจสังคมไทย บทบาทของชุมชนในการพัฒนาเศรษฐกิจ ปั ญหาและ
ข้อจํากัด ปั ญหาความยากจนและความไม่เท่าเทียมทางสังคม แนวคิดและนโยบายทฤษฎีใหม่ เกษตร
ผสมผสานและสังคมเศรษฐกิจพอเพียงเพื9อแก้ปัญหาความยากจนของชุมชนโดยใช้ทรัพยากรอย่างยัง9 ยืนและ
รักษาสิ9 งแวดล้อม

ul ity y,
มีการศึกษานอกสถานที9
700 272 Self Sufficient Economy 1(1-0-2)

ak ers og
Thai socio-economic structures. Roles of communities in economic development.

D ,
tis iv ol
Problems and constraints. Problems associated with poverty and social inequality. Concept and policies of

M
the new theory of self-sufficiency. Integrated agriculture and self-sufficient economic society as a means of
n

V
un Un ch
solving poverty, through the sustainable utilization of resources and preservation of the environment.
Field trips are required.
e
lo rn T

700 281 ภูมิปัญ ญาไทยทางการเกษตร 2(2-0-4)


ha ko ry

(Thai Wisdom in Agriculture)


การนําภูมิปัญญาไทยและองค์ความรู ้ในระดับรากหญ้ามาใช้ในการส่ งเสริ มและพัฒนาการ
C pa na

เลีVยงสัตว์และการผลิตพืช การอนุรักษ์วฒั นธรรมไทยเพื9อการเกษตรยัง9 ยืน


S. Sil eri

700 281 Thai Wisdom in Agriculture 2(2-0-4)


The use of Thai wisdom and knowledge at the grassroots level to promote and develop animal
rs
et

and plant production. Conservation of Thai culture for sustainable agriculture.


V
39

700 301 เศรษฐศาสตร์ การเกษตร 2(2-0-4)


(Agricultural Economics)
หลักเศรษฐศาสตร์เกษตร ฟังก์ชนั การผลิต กฎผลได้ลดน้อยถอยลง รายได้ที9เกี9ยวข้องกับการ
ผลิต ต้นทุนการผลิต บัญชีตน้ ทุน การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนทางบัญชีและทางเศรษฐศาสตร์
กรณี ศกึ ษาบัญชีตน้ ทุนการผลิตทางการเกษตร การประยุกต์ใช้เพื9อการผลิตทางการเกษตร การตลาดและ
สิ นเชื9อการเกษตร

ul ity y,
700 301 Agricultural Economics 2(2-0-4)
Principles of agricultural economics. Production functions. Laws of diminishing returns.

ak ers og
Revenue related to production. Production costs. Cost accounting. Analysis of cost and benefit in

D ,
tis iv ol
accounting and economics. Case studies on cost accountability in Agriculture. Application of economics to

M
agricultural production. Agricultural marketing and credit.
n

V
un Un ch
700 302 พันธุศาสตร์ การเกษตร 3(3-0-6)
e

(Agricultural Genetics)
lo rn T

วิชาบังคับก่อน : 700 187 ชีววิทยา m


ha ko ry

โครงสร้างทางเคมีและคุณสมบัติของสารพันธุกรรม การจําลองดีเอ็นเอในพืชและสัตว์ การ


แสดงออกของยีนและการควบคุม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทฤษฎีของเมนเดล การเรี ยงตัวกันใหม่
C pa na

ของยีน การหาตําแหน่งยีนบนโครโมโซม การถ่ายทอดพันธุกรรมนอกโครโมโซม การกลายพันธุ์ พันธุศาสตร์


S. Sil eri

เชิงปริ มาณ พันธุศาสตร์ประชากรและวิวฒั นาการ การวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ การให้คาํ ปรึ กษาทาง


พันธุกรรม สิ9 งมีชีวิตแปลงพันธุ์
rs
et

700 302 Agricultural Genetics 3(3-0-6)


V

Prerequisite : 700 187 Biology II


Chemical structures and properties of genetic materials. DNA replication in plants and
animals. Gene expression and regulation. Inheritance of genetic characteristics. Mendel’s law. Genetic
recombination. Genetic mapping. Extra chromosomal inheritance. Mutation. Quantitative genetics.
Population genetics and evolution. DNA fingerprinting analysis. Genetic counseling. Transgenic
organisms.
40

700 303 ห้ องสมุดดิจิตอลและสารสนเทศเพื,อการวิจัย 2(1-3-2)


(Digital Library and Information for Research)
การค้นหาข้อมูลผ่านระบบห้องสมุดดิจติ อล การวางแผนงานวิจยั การเขียนโครงร่ างงานวิจยั
และจัดทํารายงาน การนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเสนอผลงานวิจยั
700 303 Digital Library and Information for Research 2(1-3-2)
Searching data from the digital libraries. Research planning. Research proposal and report

ul ity y,
writing. Utilization of computer technology in research presentation.

ak ers og
700 381 การเตรีย มความพร้ อมสํ าหรับสหกิจศึกษา 2(1-2-3)

D ,
tis iv ol

M
(Preparation for Co-operative Education)

n
การแนะนําตัวอย่างมืออาชีพ การพูดในที9สาธารณะ การจัดการประชุมกลุ่มย่อย การเขียน

V
un Un ch
ประวัติและจดหมายสมัครงาน การฝึ กสัมภาษณ์งาน การเขียนโครงการ ทักษะวิชาชีพในการจัดการฟาร์ม
การใช้คอมพิวเตอร์และซอฟท์แวร์เพื9อการจัดการธุรกิจ ความเท่าเทียมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
e

มีการศึกษานอกสถานที9
lo rn T

700 381 Preparation for Co-operative Education 2(1-2-3)


ha ko ry

Professional self-introduction, public speaking, and coordination of small group


discussion. Writing technical resume and cover letters. Practice for job interview. Project writing.
C pa na

Professional skills for farm management. Use of computer and software for business management. Equality
S. Sil eri

and Profession ethics.


Field trips are required.
rs
et
V
41

700 471 การตลาดสิ นค้ าเกษตรและอาหาร 2(2-0-4)


(Food and Agricultural Marketing)
ประวัตคิ วามเป็ นมาและทฤษฎีการจัดการตลาดเบืVองต้น ระบบเศรษฐศาสตร์สินค้าเกษตร
และอาหาร อุปสงค์ อุปทานและผลกระทบต่อราคา สถาบันและองค์กรที9เกีย9 วข้องกับการตลาดเกษตรและ
อาหาร ช่องทางการตลาด พ่อค้าคนกลาง ตลาดซืVอขายล่วงหน้า ขนส่ งและกระจายสิ นค้า การส่ งเสริ มและ
โฆษณาประชาสัมพันธ์ พฤติกรรมผูบ้ ริ โภค ความสําคัญของตราสิ นค้าและบรรจุภณ ั ฑ์ สิ ทธิ ประโยชน์และ

ul ity y,
ลิขสิ ทธิy ทรัพย์สินทางปั ญญา การจัดการการตลาด การค้าระหว่างประเทศ คุณภาพ มาตรฐาน และสุ ขอนามัย
อาหาร คุณค่าโภชนาการและความปลอดภัยอาหาร กฎหมายและระเบียบข้อบังคับเกี9ยวกับสุ ขลักษณะอาหาร

ak ers og
และการค้า

D ,
tis iv ol
700 471 Food and Agricultural Marketing 2(2-0-4)

M
History and basic theory in marketing management. Agricultural commodity and food
n

V
un Un ch
economic systems. Demand, supply, and factors affecting prices. Institutes and organizations about
agricultural and food marketing. Marketing channels. Merchant middle-men. Advanced marketing.
e

Transportation and product distribution. Promotion and advertisement. Consumer behavior. Importance of
lo rn T

brands and packaging. Rights and the copyrighting of intellectual property. Marketing management.
ha ko ry

International marketing. Quality, standard, and sanitation of food. Nutrition facts and food safety. Laws
and regulations concerning food hygiene and trading.
C pa na
S. Sil eri

712 271 ธุรกิจเกษตร 3(3-0-6)


(Agribusiness)
rs
et

ระบบธุรกิจเกษตร ปั จจัยการผลิตสิ นค้าเกษตร ระบบการแปรรู ปและเก็บรักษาสิ นค้าเกษตร


ระบบการค้า ระบบการกระจายสิ นค้า ระบบการส่ งออกสิ นค้าเกษตร วิธีการหามูลค่าธุรกิจเกษตรของ
V

ประเทศไทย
712 271 Agribusiness 3(3-0-6)
Agribusiness systems. Agricultural production factors. Processing and storage of
agricultural product systems. Trading, distribution, and export systems for agricultural products. Methods
for evaluation agribusiness in Thailand.
42

712 382 ลอจิสติกส์ และห่ วงโซ่ อุปทาน 3(3-0-6)


(Logistics and Supply Chain)
การวางแผนและการจัดการกระจายสิ นค้าทางการเกษตรจากผูผ้ ลิตถึงผูบ้ ริ โภค การบริ หารห่วง
โซ่อุปทานสิ นค้าเกษตร
712 382 ลอจิสติกส์ และห่ วงโซ่ อุปทาน 3(3-0-6)
(Logistics and Supply Chain)

ul ity y,
Planning and distribution of agricultural products from producers to consumers, supply
chain management of agricultural products.

ak ers og
D ,
tis iv ol
712 481 การจัดอบรมเพื,อการถ่ ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 3(2-3-4)

M
(Training for Agricultural Technology Transfer)
n

V
วิชาบังคับก่อน: 700 303 ห้องสมุดดิจิตอลและสารสนเทศเพื9อการวิจยั
un Un ch
ความรู ้เบืVองต้นเกี9ยวกับการจัดอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร การวางแผนและ
e

การดําเนินการ โสตทัศนูปกรณ์ การจัดทําเอกสารสิ9 งพิมพ์ นิเทศศิลป์ ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมกับ


lo rn T

การเกษตร การยอมรับและการเปลี9ยนแปลงพฤติกรรมเพื9อการส่ งเสริ มและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร


ha ko ry

ของเกษตรกร จิตวิทยาในการถ่ายทอดเทคโนโลยี การประเมินผล


712 481 Training for Agricultural Technology Transfer 3(2-3-4)
C pa na

Prerequisite: 700 303 Digital Library and Information for Research


S. Sil eri

The principles of agricultural training and technology transfer, presentation techniques,


the art of communication, the relationship between society and farming. Behavior change benefiting the
rs
et

farmers. Psychology in transferring of agricultural technology. Evaluation.


V
43

713 101 ความรู้ เบืEองต้ นทางเทคนิคการสั ตวแพทย์ 1(1-0-2)


(Introduction to Veterinary Technology)
ภาพรวมของวิทยาศาสตร์การสัตวแพทย์และการแนะแนวโอกาสในอาชีพ แนะนําการบํารุ ง
เลีVยงและการบําบัดสัตว์ที9พบในงานวิจยั เกษตรอุตสาหกรรม สวนสัตว์และเวชปฏิบตั ิทางสัตวแพทย์ รวมถึง
จรรยาบรรณและกฎหมายที9เกีย9 วข้องกับนักเทคนิคการสัตวแพทย์
713 101 Introduction to Veterinary Technology 1(1-0-2)

ul ity y,
Overview of veterinary science and a career orientation. Introduces proper maintenance
and treatment of animals encountered in research, industry agriculture, zoological gardens, and veterinary

ak ers og
practices including ethics and legal concerns of the veterinary technicians.

D ,
tis iv ol

M
713 102 พันธภาพมนุษย์และสั ตว์ เลียE งเป็ นเพือ, น 2(2-0-4)
n

V
un Un ch
(Human- Companion Animal Bond)
ภาพรวมของหัวข้อปั จจุบนั ในมนุษย์และสัตว์ศกึ ษา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสัตว์
e

เลีVยง คุณค่าทางจิตวิทยาและทางสรี รวิทยาของสัตว์เลีVยงเป็ นเพื9อนและความตระหนักที9เกี9ยวกับสิ ทธิของสัตว์


lo rn T

และสวัสดิภาพสัตว์
ha ko ry

713 102 Human- Companion Animal Bond 2(2-0-4)


Overview of current issues in human-animal studies. Human relationships with pets,
C pa na

psychological and physiological benefits of companion animals, and concerns for animal rights and animal
S. Sil eri

welfare.
rs
et

713 201 ศัพทวิทยาการสั ตวแพทย์ 3(3-0-6)


V

(Veterinary Medical Terminology)


โครงสร้างของคํา คํานําหน้า คําเสริ มท้ายและรากคําศัพท์ทางการแพทย์ คําผสมและอักษร
ย่อ พืVนฐานรายการคําศัพท์ทางการแพทย์ของระบบร่ างกาย ความหมาย การออกเสี ยง และการสะกดคําศัพท์
ทางการแพทย์ การสื9 อสารทางการพูดและการเขียน
713 201 Veterinary Medical Terminology 3(3-0-6)
Structure of words, prefixes, suffixes, and root words of medical terms. Combining forms
and abbreviations. Medical vocabulary based on body systems. Meaning, pronunciation, and spelling of
medical terms. Verbal and written communications
44

713 202 วิทยาเซลล์ และมิชญวิทยาทางสั ตวแพทย์ 2(1-2-3)


(Veterinary Cytology and Histology)
วิชาบังคับก่อน: *713 201 ศัพทวิทยาการสัตวแพทย์
*อาจเรี ยนพร้อมกันได้
ความรู ้เกี9ยวกับวิทยาเซลล์และมิชญวิทยาเปรี ยบเทียบของระบบอวัยวะ ความสัมพันธ์
ระหว่างโครงสร้างและหน้าที9ของเซลล์ คุณลักษณะทางมิชญวิทยาและหน้าที9ของเนืVอเยื9อระบบประสาท

ul ity y,
ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบนํVาเหลือง ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย
ระบบกล้ามเนืVอและโครงร่ างและระบบสื บพันธุข์ องสัตว์

ak ers og
713 202 Veterinary Cytology and Histology 2(1-2-3)

D ,
tis iv ol
Prerequisite: *713 201 Veterinary Medical Terminology

M
*may be taken concurrently
n

V
un Un ch
Knowledge of comparative cytology and histology to organ systems. The relationships
between the cell structure and their functions. Histological characteristics and functions of tissues from the
e

nervous, endocrine, lymphatic, cardiovascular, digestive, respiratory, urinary, musculoskeletal, and


lo rn T

reproductive systems of animals.


ha ko ry
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
45

713 203 สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ ประยุกต์ ทางสั ตวแพทย์ 4(3-4-5)


(Veterinary Physiology and Applied Anatomy)
วิชาบังคับก่อน: *…jo mpm วิทยาเซลล์และมิชญวิทยาทางสัตวแพทย์
*อาจเรี ยนพร้อมกันได้
ความรู ้เกี9ยวกับหน้าที9ในแต่ละระบบที9แตกต่างกันและและภาวะธํารงดุล ระบบชีววิทยาตาม
ส่ วน ประกอบด้วย ระบบห่อหุ้มร่ างกาย ระบบการหายใจ ระบบการไหลเวียนโลหิ ต ระบบการย่อยอาหาร

ul ity y,
และการครองธาตุ ระบบการควบคุมอุณหภูมิ ระบบการควบคุมความดัน ระบบการขับถ่าย ระบบประสาท
ระบบกล้ามเนืVอและโครงร่ าง ระบบสื บพันธุ์ ระบบฮอร์โมน ระบบการรับความรู ้สึก ระบบนํVาเหลืองและ

ak ers og
ระบบต่อมไร้ท่อ การประยุกต์ทางกายวิภาคศาสตร์คลินิกสําหรับเทคนิคการสัตวแพทย์

D ,
tis iv ol
713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy 4(3-4-5)

M
Prerequisite: *713 202 Veterinary Cytology and Histology
n

V
un Un ch
*may be taken concurrently
Knowledge of functions of different systems and homeostasis. Several biological systems,
e

including integument, respiratory, circulatory, digestive and metabolic, thermoregulatory, osmoregulatory,


lo rn T

excretory, nervous, musculoskeletal, reproductive, hormonal, sensory, lymphatic, and endocrine systems.
ha ko ry

Clinical anatomy application in veterinary technology.


C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
46

713 204 โลหิตวิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกันทางสัตวแพทย์ 2(1-2-3)


(Veterinary Hematology and Immunology)
วิชาบังคับก่อน: *…jo mpm วิทยาเซลล์และมิชญวิทยาทางสัตวแพทย์
*อาจเรี ยนพร้อมกันได้
กายสัณฐานวิทยา สรี รวิทยา และพยาธิวิทยาของเลือด เน้นตามลักษณะของชนิดสัตว์ การจัด
หมู่เลือดและเนืVอเยื9อ ระบบภูมิคุม้ กัน ชนิดของภูมคิ ุม้ กัน การตอบสนองภูมิคุม้ กัน โครงสร้างและหน้าที9ของ

ul ity y,
สารก่อภูมิตา้ นทานและสารภูมิตา้ นทาน ภูมิแพ้และภาวะภูมิคุม้ กันไว ความรู ้เกีย9 วกับธนาคารเลือดและการ
ถ่ายเลือดในสัตว์อย่างสังเขป ภาวะทางคลินิกที9สัมพันธ์กบั โลหิ ตวิทยาและวิทยาภูมคิ ุม้ กัน

ak ers og
713 204 Veterinary Hematology and Immunology 2(1-2-3)

D ,
tis iv ol
Prerequisite: *713 202 Veterinary Cytology and Histology

M
*may be taken concurrently
n

V
un Un ch
Morphology, physiology, and pathology of blood. Emphasis on animal species variations.
Blood groups and tissue typing. Immune system. Types of immunity. Immune response. Structure and
e

function of antigens and antibodies. Allergy and hypersensitivity. Abridged Knowledge of Blood Banks and
lo rn T

transfusion in Animals. Clinical conditions associated with hematology and Immunology.


ha ko ry

713 205 จุลชีววิทยาทางสั ตวแพทย์ 4(3-4-5)


C pa na

(Veterinary Microbiology)
S. Sil eri

วิชาบังคับก่อน: 700 201 จุลชีววิทยาสําหรับนักศึกษาวิทยาศาสตร์การเกษตร


ความรู ้เกี9ยวกับจุลชีววิทยาคลินิก วิทยาไวรัสและกิณวิทยาทางสัตวแพทย์ เทคนิคที9ใช้ทาง
rs
et

จุลชีววิทยา ประกอบด้วยการประเมินค่าตัวอย่าง การแยกจุลชีพก่อโรค การระบุจุลชีพก่อโรค การทดสอบภูมิ


ไวรับยาต้านจุลชีพ
V

713 205 Veterinary Microbiology 4(3-4-5)


Prerequisite: 700 201 Microbiology for Agricultural Science Students
Knowledge in veterinary clinical microbiology, virology and mycology. Techniques used
in microbiology including specimen evaluation, isolation, identification of pathogenic microorganisms.
Antimicrobial susceptibility testing.
47

713 206 พยาธิวิทยาทางสั ตวแพทย์ 3(3-0-6)


(Veterinary Pathology)
วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์
หลักของโรคและกลไกพืVนฐานสําหรับสถานการณ์การก่อโรค หลักพยาธิวิทยาทัว9 ไปที9ใช้
กําหนดพยาธิกาํ เนิดและการพยากรณ์โรค พยาธิชีววิทยาของระบบอวัยวะที9สําคัญ โดยเน้นกลไกของการ
บาดเจ็บ กระสวนของการตอบสนองต่อการบาดเจ็บ และสมดุลระหว่างความเสี ยหายและการซ่อมแซม

ul ity y,
713 206 Veterinary Pathology 3(3-0-6)
Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy

ak ers og
Principles of disease and fundamental mechanisms for creating disease situation. General

D ,
tis iv ol
pathological principles used to determine disease pathogenesis and prognosis. Pathobiology of major organ

M
systems. Emphasis on mechanisms of injury, patterns of response to injury, and balance between damage
n

V
un Un ch
and repair.
e

713 207 เภสั ชวิทยาและพิษวิทยาทางสั ตวแพทย์ 2(2-0-4)


lo rn T

(Veterinary Pharmacology and Toxicology)


ha ko ry

วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์


หลักเภสัชวิทยาทางสัตวแพทย์ ผลกระทบของการเปลี9ยนแปลงทางสรี รวิทยาต่อเภสัช
C pa na

จลนศาสตร์ของยา ผลข้างเคียงจากการใช้ยา กระบวนงานเภสัชกรรมสําหรับเวชปฏิบตั ิทางสัตวแพทย์


S. Sil eri

เวชระเบียนทางเภสัชกรรม การคํานวณทางเภสัชกรรม การอ่านใบสั9งยา การเขียนฉลากภาชนะบรรจุยา


การผสมยา พิษวิทยาทางสัตวแพทย์เบืVองต้น ภาวะถูกพิษจากสารเคมี พืชและสารพิษเชืVอราในสัตว์เลีVยง
rs
et

พยาธิวิทยาและลักษณะทางคลินิกของสารพิษ
713 207 Veterinary Pharmacology and Toxicology 2(2-0-4)
V

Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy


Principles of veterinary pharmacology. Effects of physiological changes on drug
pharmacokinetics. Adverse drug reactions. Pharmacy procedures in veterinary practice. Pharmacy record
keeping. Pharmacy calculations. Reading prescriptions, labeling drug containers, compounding.
Introduction to veterinary toxicology. Chemical, plant, and mycotoxin poisonings of domestic animals.
Pathological and clinical aspects of toxic substances.
48

713 208 โภชนศาสตร์ อาหารและการให้ อาหารสั ตว์ 3(2-3-4)


(Animal Nutrition, Feed and Feeding)
วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์
หลักการให้อาหารและโภชนศาสตร์สัตว์ หน้าที9และเมแทบอริ ซึมของสารอาหาร การ
จําแนกและลักษณะเฉพาะของวัตถุดิบอาหาร โภชนศาสตร์ทางสัตวแพทย์เบืVองต้น สาเหตุสําคัญของโรคที9
เกิดจากโภชนาการ

ul ity y,
713 208 Animal Nutrition, Feed and Feeding 3(2-3-4)
Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy

ak ers og
Principles of animal feeding and nutrition. Functions and metabolism of nutrients.

D ,
tis iv ol
Feedstuff classification and characteristics. Introduction to veterinary nutrition. Important nutritionally

M
caused diseases
n

V
un Un ch
713 209 กฎหมาย สิทธิและการคุ้มครองสั ตว์ 2(2-0-4)
e

(Animal Laws, Rights and Protections)


lo rn T

กฎหมายที9เกี9ยวกับสัตว์ หลักแนวคิดในการยอมรับของมนุษย์ต่อสิ ทธิของสัตว์ วิวฒั นาการ


ha ko ry

ของสิ ทธิ การสู ญเสี ยความเป็ นมิตร ทุเวชปฏิบตั ิทางสัตวแพทย์ การบาดเจ็บที9มีสาเหตุมาจากสัตว์ สถานภาพ
การต่อต้านการทารุ ณกรรมต่อสัตว์ การป้องกันทางกฎหมายของทัVงสัตว์เลีVยงและสัตว์ป่า
C pa na

713 209 Animal Laws, Rights and Protections 2(2-0-4)


S. Sil eri

Animal Law. Conceptual principles for human acceptance of animal rights. Evolution of
rights. Loss of companionship. Veterinary malpractice. Injuries caused by animals. Anti-cruelty statutes.
rs
et

Legal protections of both domestic and wild animals.


V
49

713 301 ปรสิ ตวิทยาและกีฏวิทยาทางสั ตวแพทย์ 4(3-4-5)


(Veterinary Parasitology and Entomology)
วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์
ลักษณะทางชีววิทยาและทางคลินิกของปรสิ ตและสาเหตุของโรคสัตว์ ประกอบด้วย
หนอนพยาธิ สัตว์เซลล์เดียว ริ กเกตเซีย สัตว์ขอ้ ปล้องและเห็บไร วิธีการเก็บตัวอย่าง การจัดเก็บและขนส่ ง
ตัวอย่างทางคลินิกที9เหมาะสม วิธีสําหรับการป้องกันและการรักษา

ul ity y,
713 301 Veterinary Parasitology and Entomology 4(3-4-5)
Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy

ak ers og
Biological and clinical aspects of parasites and resulting diseases in animals, including

D ,
tis iv ol
helminthes, protozoa, rickettsia, arthropods and acari. Appropriate methods of collection, handle and

M
transportation of clinical specimens. Methods of prevention and treatment.
n

V
un Un ch
713 302 การปฏิบัตงิ านสถานพยาบาลสั ตว์ และวิธีทางคลินกิ 3(2-3-4)
e

(Veterinary Hospital Procedures and Clinical Methods)


lo rn T

วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์


ha ko ry

ทักษะทางคลินิกเบืVองต้น หัวข้อประกอบด้วยการตรวจร่ างกาย การควบคุมและจับบังคับ


การบริ หารยา การบริ บาลภาวะฉุกเฉินและวิกฤติ การเจาะเลือด การให้สารนํVา การพันแผล เทคนิคการทําให้
C pa na

ปราศจากเชืVอ การเป็ นผูช้ ่วยวิสัญญีและศัลยกรรม การพยาบาลก่อนและหลังการผ่าตัด และทักษะทาง


S. Sil eri

พยาบาลอื9นๆ ในสัตว์เลีVยง การให้ความรู ้ลูกค้า


มีการศึกษานอกสถานที9
rs
et

713 302 Veterinary Hospital Procedures and Clinical Methods 3(2-3-4)


Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy
V

Introduction to clinical skills. Topics include physical examinations, restraint/handling,


medication administration, emergency, and critical care, venipuncture, fluid therapy, bandaging, aseptic
techniques, anesthesia and surgical assisting, pre-operative and post-operative nursing, and other
clinical nursing skills of domestic animals, and client education.
Field trips are required.
50

713 303 เทคโนโลยีทางสั ตว์ ทใี, ช้ วิจัย 1 3(2-3-4)


(Research Animal Technology I)
วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์
พืVนฐานกายวิภาคศาสตร์และสรี รวิทยา การควบคุมและการจับบังคับ การจัดการด้านอาหาร
การบํารุ งเลีVยงและเวชบริ บาลในสัตว์ทดลอง โดยเน้นหนูขาวใหญ่ หนูถีบจักร แฮมสเตอร์ หนูตะเภา กระต่าย
และสัตว์ฟันแทะอื9นๆ กระบวนงานที9ใช้ในงานวิจยั ทางชีวเวช การออกแบบโครงการวิจยั ที9ใช้สัตว์ทดลอง

ul ity y,
มีการศึกษานอกสถานที9
713 303 Research Animal Technology I 3(2-3-4)

ak ers og
Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy

D ,
tis iv ol
Fundamental laboratory animal anatomy and physiology, restraint and handling, nutrition

M
management, husbandry, and medical care with emphasis on the laboratory rat, mouse, hamster, Guinea
n

V
un Un ch
pig,
rabbit, and other laboratory rodents. Procedures used in biomedical research. Design of research project
e

using laboratory animals.


lo rn T

Field trips are required.


ha ko ry
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
51

713 304 การถ่ ายภาพรังสี และเครื, องมือวินิจฉัย ทางสั ตวแพทย์ 2(1-2-3)


(Veterinary Radiography and Diagnostic Instruments)
วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์
ทฤษฎีและหลักการผลิตรังสี เอ็กซ์ การเปิ ดรับรังสี การกําหนดตําแหน่งและการจับบังคับ
สําหรับในแต่ละกายวิภาคทรรศน์ หลักการและวิธีป้องกันอันตรายจากรังสี หลักพืVนฐานทางอัลตราซาวน์

ul ity y,
การสอบเทียบและมาตราส่ วนของเครื9 องมือทางห้องปฏิบตั กิ าร อิเล็กทรอนิกส์เบืVองต้น เครื9 องมือสําหรับ
ห้องปฏิบตั ิการทางสัตวแพทย์และสถานพยาบาลสัตว์

ak ers og
มีการศึกษานอกสถานที9

D ,
tis iv ol
713 304 Veterinary Radiography and Diagnostic Instruments 2(1-2-3)

M
Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy
n

V
un Un ch
Theory and principles of x-ray production. Radiological exposure. Positioning and
restraint for various anatomical views. Principles and procedures of radiation protection. Ultrasound basic
e

principles . Laboratory instruments scales and calibration. Elementary electronics. Instruments for
lo rn T

veterinary laboratories and hospitals.


ha ko ry

Field trips are required.


C pa na

713 305 การพยาบาลสั ตว์ เล็กและการจัดการสุ ขภาพ 3(2-3-4)


S. Sil eri

(Small Animal Nursing and Health Management)


วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์
rs
et

พืVนฐานการพยาบาลสัตว์เล็ก สายพันธุ์สัตว์เล็ก เทคนิคที9ใช้ในการพยาบาลสัตว์เล็ก เทคนิค


พืVนฐานที9เกี9ยวกับโภชนการ การสื บพันธุ์ การบริ บาลลูกสัตว์และลูกสัตว์แรกเกิด พืVนฐานการบริ บาลภาวะ
V

วิกฤติ การจัดการทางการพยาบาลโรคทัว9 ไปในสัตว์เล็ก กรณี ยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ


มีการศึกษานอกสถานที9
713 305 Small Animal Nursing and Health Management 3(2-3-4)
Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy
Basics of small animal nursing care. Small animal breeds. Techniques used in small
animal nursing care. Fundamental techniques involved with nutrition, reproduction, neonatal and pediatrics
care. Basics of critical nursing care. Nursing aspects of managing common small animal diseases.
Deontology and professional ethics.
52

Field trips are required.


713 306 การปรับปรุงพันธุ์และการสื บพันธุ์สัตว์ 3(2-3-4)
(Animal Breeding and Reproduction)
วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์
พันธุศาสตร์ทางสัตวแพทย์ หลักพันธุศาสตร์ของระบบการคัดเลือกสําหรับการปรับปรุ ง
สัตว์ ชีววิทยาการเจริ ญเติบโตและการพัฒนาของสัตว์ ชีววิทยาการสื บพันธุ์ของสัตว์เลีVยง เทคนิคทาง

ul ity y,
ห้องปฏิบตั ิการที9สัมพันธ์กบั ความผิดปรกติทางระบบสื บพันธุ์ โรคหรื อลักษณะสื บสายพันธุ์ที9เป็ น
คุณลักษณะของยีนหรื อการชํารุ ดของยีน

ak ers og
713 306 Animal Breeding and Reproduction 3(2-3-4)

D ,
tis iv ol
Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy

M
Veterinary genetics. Genetic principles of selection systems for animal improvement.
n

V
un Un ch
Growth and development biology of animals. Reproductive biology of domestic animals. Laboratory
techniques regarding reproductive anomalies. Diseases or traits attributed to genes or gene defects.
e
lo rn T

713 307 การพยาบาลสั ตว์ เลียE งในฟาร์ มและการจัดการสุ ขภาพ 3(2-3-4)


ha ko ry

(Farm Animal Nursing and Health Management)


วิชาบังคับก่อน: 713 203 สรี รวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ประยุกต์ทางสัตวแพทย์
C pa na

หลักพืVนฐานของการจับบังคับ โภชนาการ กายวิภาคและการระบุสายพันธุ์ของสัตว์เลีVยงใน


S. Sil eri

ฟาร์ม โรคของสัตว์เลีVยงในฟาร์มและสัตว์ต่างถิ9นอื9นๆ พืVนฐานการรักษาและการวินิจฉัย การทําวัคซีน


แนวคิดด้านความปลอดภัยอาหาร ระเบียบข้อบังคับที9เกี9ยวข้องกับสุ ขภาพสัตว์ พฤติกรรมปกติและผิดปกติที9
rs
et

สัมพันธ์กบั สุ ขภาพของสัตว์
มีการศึกษานอกสถานที9
V

713 307 Farm Animal Nursing and Health Management 3(2-3- 4)


Prerequisite: 713 203 Veterinary Physiology and Applied Anatomy
Basic principles of farm animal restraint, nutrition, anatomy and breed identification.
Diseases of farm animals and selected exotic animals. Basic therapeutic and diagnostic approaches.
Vaccinations. Concepts of food safety. Regulatory issues as they apply to animal health. Normal and
abnormal behavior as it relates to health of the animal.
Field trips are required.
53

713 308 เทคโนโลยีการวินิจฉัย ทางสั ตวแพทย์ 1 3(2-3-4)


(Diagnostic Technology in Veterinary Medicine I)
วิชาบังคับก่อน: 713 206 พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์
หัวข้อทัว9 ไปเกีย9 วกับการจัดการ ความปลอดภัย การควบคุมคุณภาพและประเด็นทาง
กฎหมายของห้องปฏิบตั ิการ หลักการและการปฏิบตั ิการสําหรับเครื9 องมือทางห้องปฏิบตั ิการ พืVนฐานเทคนิค
ทางห้องปฏิบตั ิการ การเก็บตัวอย่าง การจัดการและการเตรี ยมตัวอย่าง การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการของสิ9 งส่ ง

ul ity y,
ตรวจแต่ละชนิดประกอบด้วย เลือด ปั สสาวะ อุจจาระ สารนํVาในร่ างกายและตัวอย่างอื9นๆ
713 308 Diagnostic Technology in Veterinary Medicine I 3(2-3-4)

ak ers og
Prerequisite: 713 206 Veterinary Pathology

D ,
tis iv ol
General topics of laboratory management, safety, quality control, and legal aspects.

M
Principles and procedures for laboratory instruments. Basic laboratory techniques. Specimen collection,
n

V
un Un ch
handling, and preparation. Laboratory evaluation of various diagnostic samples including blood, urine,
feces, body fluids, and other specimens
e
lo rn T
ha ko ry
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
54

713 309 เทคโนโลยีการวินิจฉัย ทางสั ตวแพทย์ 2 3(2-3-4)


(Diagnostic Technology in Veterinary Medicine II)
วิชาบังคับก่อน: 713 206 พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์
เทคนิคการตรวจที9ใช้ในการปฏิบตั ิงานในสถานพยาบาลสัตว์ ประกอบด้วยโลหิ ตวิทยา การ
วิเคราะห์ปัสสาวะ จุลชีววิทยา ปรสิ ตวิทยา วิทยาเซลล์ วิทยาภูมิคุม้ กัน โลหิ ตวิทยาภูมิคุม้ กัน เคมีคลินิก
วิทยาเซรุ่ ม วิทยาเอนไซม์ และการชันสู ตรซาก โดยเน้นการใช้กล้องจุลทรรศน์ เครื9 องมือวินิจฉัยอัตโนมัติ

ul ity y,
และกระบวนงานวินิจฉัยที9ทนั สมัย แนวคิดเรื9 องความปลอดภัยในที9ปฏิบตั ิงาน โรครับจากสัตว์และพิษจาก
สิ9 งแวดล้อม และหัวข้อการปฏิบตั ิงานทางห้องปฏิบตั ิการอืน9 ๆ

ak ers og
มีการศึกษานอกสถานที9

D ,
tis iv ol
713 309 Diagnostic Technology in Veterinary Medicine II 3(2-3-4)

M
Prerequisite: 713 206 Veterinary Pathology
n

V
un Un ch
Surveys techniques used in the veterinary hospital laboratory. Includes hematology,
urinalysis, microbiology, parasitology, cytology, immunology, immunohematology, clinical chemistry,
e

serology, enzymology, and necropsy. Emphasizes the use of microscopes, automated laboratory
lo rn T

equipment, and modern diagnostic procedures. concepts of workplace safety issues. zoonotic diseases and
ha ko ry

environmental toxins and other practical aspects of laboratory operations.


Field trips are required.
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
55

713 310 เทคโนโลยีห้องปฏิบตั ิการทางการตรวจอาหารทางสั ตวแพทย์ 2(1-2-3)


(Laboratory Technology in Veterinary Food Inspection)
วิชาบังคับก่อน: 713 206 พยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์
หลักและการปฏิบตั ิทางความปลอดภัยของอาหาร โดยเน้นอาหารที9มีตน้ กําเนิดมาจากสัตว์
การตรวจเนืVอสัตว์สําหรับการติดเชืVอแบคทีเรี ย ไวรัสและปรสิ ตในซากสัตว์ การตรวจหาสารตกค้างใน
เนืVอสัตว์และเนืVอสัตว์ปีก และการตรวจประเมินเนืVอสัตว์สําหรับการบริ โภคของมนุษย์ สุขลักษณะของนํVานม

ul ity y,
ประกอบด้วยคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของนํVานมที9ปลอมปน การประเมินคุณภาพนํVานม แหล่ง
ปนเปืV อน การให้ความร้อน โรครับจากสัตว์ที9ตดิ ต่อผ่านทางผลิตภัณฑ์นมและเนืVอสัตว์

ak ers og
มีการศึกษานอกสถานที9

D ,
tis iv ol
713 310 Laboratory Technology in Veterinary Food Inspection 2(1-2-3)

M
Prerequisite: 713 206 Veterinary Pathology
n

V
un Un ch
Principles and practice of food safety with emphasis on foods of animal origin. Meat
inspection for bacterial, viral, and parasitic infections of slaughtered animals. Detection of chemical
e

residues in meat and poultry, and judgement of the meat for human consumption. Milk hygiene including
lo rn T

physical and chemical properties of adulteration, quality evaluation of milk, sources of contamination, heat
ha ko ry

treatment, zoonotic diseases transmitted through milk and meat products.


Field trips are required.
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
56

713 311 วิธีการวิจัย และการสื, อสาร 2(2-0-4)


(Methods in Research and Communication)
วิชาบังคับก่อน: 700 203 ชีวสถิติเบืVองต้น
ระเบียบวิธีวิทยาการวิจยั เบืVองต้น การออกแบบและการปรับใช้สถิติในการวิจยั ทาง
ประกอบด้วยวิธีวิจยั เชิงคุณภาพและเชิงปริ มาณ การกําหนดโจทย์การวิจยั และการจําแนกปัญหาการวิจยั
วิธีการเก็บข้อมูล กรอบการสุ่ ม ชนิดของการวิเคราะห์ขอ้ มูล การแปลผลข้อมูลอย่างเหมาะสม การเตรี ยม

ul ity y,
รายงานการวิจยั การเขียนเชิงวิทยาศาสตร์ ทักษะการสื9 อสาร การทบทวนเรื9 องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสัตว
แพทย์และการวิจยั ที9เป็ นปั จจุบนั ด้วยการนําเสนอและการอภิปราย

ak ers og
713 311 Methods in Research and Communication 2(2-0-4)

D ,
tis iv ol
Prerequisite: 700 203 Basic Biostatistics

M
Introduction to research methodology. Design and statistical applications in research,
n

V
un Un ch
including qualitative and quantitative research methods. Formulate a research question and define a
research problem. Data collection methods. Sampling frame. Types of data analyses. Interpreting data
e

appropriately. Prepare a research report. Scientific writing. Communication skills. Select review a topic of
lo rn T

veterinary technology and recent research with presentation and discussion.


ha ko ry

713 312 การจัดการปฏิบัติงานทางสัตวแพทย์ 2(2-0-4)


C pa na

(Veterinary Practice Management)


S. Sil eri

หลักและเทคนิคสําหรับการจัดการบริ ภณ ั ฑ์ วัสดุ ความปลอดภัย การเงิน ข้อมูลและ


ทรัพยากร วิธีปฏิบตั ิงานสํานักงานที9ใช้สําหรับการจัดการสถานพยาบาลสัตว์ หลักธุรกิจพืVนฐาน
rs
et

ประกอบด้วยการบัญชีและการจัดการการเงิน มนุษยสัมพันธ์ทV งั กับลูกค้าและเจ้าหน้าที9 การรายงานทาง


การแพทย์และเวชระเบียน การปรับใช้คอมพิวเตอร์ทางสัตวแพทย์และการใช้ส่วนชุดคําสั9งทางสัตวแพทย์
V

มีการศึกษานอกสถานที9
713 312 Veterinary Practice Management 2(2-0-4)
Principles and techniques for management of equipment, materials, safety, finances, data,
and resources. Office procedures used in veterinary hospital management. Basic business principles
including accounting and money management. Human relations with clients and staff. Medical reports and
record keeping. Veterinary computer applications and use of veterinary software.
Field trips are required.
57

713 313 สั มมนาทางเทคนิคการสั ตวแพทย์ 1(0-3-0)


Seminar in Veterinary Technology
การวิเคราะห์บทความ รายงานวิจยั รายงานสัVน หรื อรายงานสัตว์ป่วย จากวารสารทาง
สัตวแพทย์ที9เป็ นปั จจุบนั การสังเคราะห์รายงานเชิงวิทยาศาสตร์จากการทบทวนบทความทางเทคนิคการ
สัตวแพทย์ มีการรายงานด้วยวาจาทุกสัปดาห์ ผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนาต้องมีส่วนร่ วมส่ งเสริ มบรรยากาศในการ
อภิปราย แลกเปลี9ยนความคิดเห็นและแสดงความเห็นแย้งเชิงสร้างสรรค์

ul ity y,
713 313 Seminar in Veterinary Technology 1(0-3-0)
Literature analysis of articles, research papers, short reports, or case reports from current

ak ers og
veterinary journals. Synthesis of a scientific report by reviewing articles in veterinary technology. An oral

D ,
tis iv ol
report is presented at a weekly seminar. All participants are encouraged to foster an atmosphere in which

M
discussion, exchange of ideas, and the airing of controversial opinions might flourish.
n

V
un Un ch
713 401 เทคโนโลยีและการจัดการสั ตว์ ให้นมและผลผลิต 3(2-3-4)
e

(Technology and Management of Dairy Animals and Products)


lo rn T

ประวัติและการพัฒนาอุตสาหกรรมนม ระบบเต้านม การขับนํVานมและการหลัง9 นํVานม การ


ha ko ry

คัดเลือกและการจัดการการเพาะขยายพันธุ์สัตว์ให้นม การจัดการสุขภาพสัตว์และการสุ ขาภิบาล การจัดการ


ฟาร์ม เทคนิคการผลิต ผลิตภัณฑ์นม คุณภาพนํVานม เครื9 องรี ดนํVานม กลยุทธการตลาด เศรษฐกิจและแนวโน้ม
C pa na

ผูบ้ ริ โภค
S. Sil eri

มีการศึกษานอกสถานที9
713 401 Technology and Management of Dairy Animals and Products 3(2-3-4)
rs
et

History and development of dairy industry. Mammary system. Milk secretion and ejection.
Selection and management of dairy animals breeding. Animal health management and sanitation. Farm
V

management. Production techniques. Dairy products. Milk quality. Milking machines. Marketing strategies,
economics and consumer trends.
Field trips are required.
58

713 402 เทคโนโลยีและการจัดการสั ตว์ ให้เนือE และผลผลิต 3(2-3-4)


(Technology and Management of Meat Animals and Products)
การผลิตสัตว์ประเภทให้เนืVอ การเพาะขยายพันธุ์ การให้อาหาร การคัดเลือกและการจัดการ
โครงสร้างและองค์ประกอบของกล้ามเนืVอและเนืVอเยื9ออื9นๆ กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เนืVอสัตว์ การ
เปลี9ยนแปลงของกล้ามเนืVอหลังตาย องค์ประกอบทางเคมีและคุณลักษณะทางกายภาพของซากและผลิตภัณฑ์
เนืVอสัตว์ คุณภาพและความปลอดภัยของเนืVอสัตว์ ชัVนคุณภาพของปศุสัตว์และซาก แนวโน้มตลาด

ul ity y,
ปั จจุบนั สําหรับผลิตภัณฑ์เนืVอสัตว์
มีการศึกษานอกสถานที9

ak ers og
713 402 Technology and Management of Meat Animals and Products 3(2-3-4)

D ,
tis iv ol
Production of meat animals. Breeding, feeding, selection and management. Structure and

M
composition of muscle and associated tissues. Processing of meat products. Postmortem muscle changes.
n

V
un Un ch
Chemical composition and physical characteristics of carcasses and meat products. Meat quality and safety.
Livestock and carcass grades. Current market trends for meat products.
e

Field trips are required.


lo rn T
ha ko ry

713 403 เทคโนโลยีและการจัดการสั ตว์ ปีกและผลผลิต 3(2-3-4)


(Technology and Management of Avian and Products)
C pa na

การผลิตเนืVอจากสัตว์ปีกและการผลิตไข่เชิงพาณิ ชย์ ประกอบด้วยการคัดเลือก สาเหตุของ


S. Sil eri

ปั ญหาการเพาะขยายพันธุ์และปั ญหาพันธุกรรมในการผลิตจํานวนมาก สมรรถนะทางการสื บพันธุ์ ระบบให้


แสงสว่าง สุ ขภาพและโปรแกรมวัคซีน โภชนาการ การควบคุมสิ9 งแวดล้อม การรวบรวมและการจัดการไข่
rs
et

การบันทึกข้อมูลคอมพิวเตอร์ แนวโน้มตลาดปั จจุบนั สําหรับผลิตภัณฑ์ไก่และไข่


มีการศึกษานอกสถานที9
V

713 403 Technology and Management of Avian and Products 3(2-3-4)


Meat production from poultry and commercial egg production such as selection,
breeding and genetic problems caused in high production, reproductive performance, lighting systems,
health and vaccination programs, nutrition, environmental control, egg gathering and handling, computer
record keeping. Current market trends for poultry and egg products.
Field trips are required.
59

713 404 เทคโนโลยีและการจัดการสั ตว์ ให้ขนและผลผลิต 3(2-3-4)


(Technology and Management of Fur Animals and Products)
สายพันธุ์สัตว์ให้ขนและหนังที9สําคัญ คุณลักษณะทัว9 ไป โรงเรื อนและการบํารุ งเลีVยง การ
สื บพันธุ์ การให้อาหาร พฤติกรรม กระบวนการผลิตขนและหนัง การตลาด สุขอนามัย แนวโน้มตลาด
ปั จจุบนั
มีการศึกษานอกสถานที9

ul ity y,
713 404 Technology and Management of Fur Animals and Products 3(2-3-4)
Importance of breeding of feather and fur animals, general characters, housing and

ak ers og
husbandry conditions, reproduction, feeding, behavior, feather and fur production processing, marketing,

D ,
tis iv ol
hygiene. Current market trends.

M
Field trips are required.
n

V
un Un ch
713 405 เทคโนโลยีและการจัดการสั ตว์ นํEาและผลผลิต 3(2-3-4)
e

(Technology and Management of Aquatic Animals and Products)


lo rn T

การเพาะเลีVยงสัตว์นV าํ และการเพาะเลีVยงสัตว์ทะเล การทําประมงและการเก็บเกี9ยวจาก


ha ko ry

ธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ประมงและอาหารทะเล องค์ประกอบทางเคมี การเปลี9ยนแปลงทางชีวเคมีและจุลชีววิทยา


หลังการตาย หลักการเก็บถนอม การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพ แนวโน้มการตลาดในปั จจุบนั
C pa na

มีการศึกษานอกสถานที9
S. Sil eri

713 405 Technology and Management of Aquatic Animal and Products 3(2-3-4)
Aquaculture and mariculture. Fisheries and wild harvest. Fisheries products and seafood.
rs
et

Chemical composition, biochemical and microbiological changes in post-mortem. Principles of


V

preservation. Inspection and quality control. Current market trends.


Field trips are required.
60

713 406 เทคโนโลยีและการจัดการผึงE และผลผลิต 3(2-3-4)


(Technology and Management of Bee and Products)
การศึกษาหลักและวิธีปฏิบตั ิที9เกี9ยวข้องกับการพัฒนาและการจัดการฟาร์มผึVงและการเลีVยง
ผึVงสําหรับการผลิตนํVาผึVงเชิงพาณิ ชย์ การจัดการสุขาภิบาลและการจัดการสุ ขภาพของผึVงและการผลิตนํVาผึVง
การตรวจสอบและควบคุมภาพนํVาผึVง แนวโน้มการตลาดในปั จจุบนั
มีการศึกษานอกสถานที9

ul ity y,
713 406 Technology and Management of Bee and Products 3(2-3-4)
Study of the principles and practices involved in the development and management of

ak ers og
apiaries and apiculture for commercial production of honey. Hygienic and health management of bees and

D ,
tis iv ol
honey productions. Honey inspection and quality control. Current market trends.

M
Field trips are required.
n

V
un Un ch
713 407 เทคโนโลยีและการจัดการโรงฆ่ าสั ตว์ 3(2-3-4)
e

(Technology and Management of Slaughterhouses)


lo rn T

หลักการมาตรฐานการฆ่าปศุสัตว์เชิงเปรี ยบเทียบ การขนส่งและการพักสัตว์ การออกแบบ


ha ko ry

โรงฆ่าสัตว์และกระบวนงานการฆ่าสัตว์ เครื9 องมือและอุปกรณ์ฆ่าสัตว์ การจัดการห้องเย็น หลักของ


สุ ขาภิบาล การตรวจและการแบ่งเกรดซาก การจัดการซาก การจัดการซากก่อนตัดแต่ง การตัดแต่งซากและ
C pa na

การจัดการของเสี ย
S. Sil eri

มีการศึกษานอกสถานที9
713 407 Technology and Management of Slaughterhouses 3(2-3-4)
rs
et

Principles of comparative livestock slaughtering standards. Animal transportation


and resting. Abattoir design and slaughtering procedure. Equipment and utensils. Refrigerated room
V

management. Hygienic principles, carcass inspection, and grading. Carcass management before meat
cutting. Meat cutting and waste management.
Field trips are required.
61

713 408 เทคโนโลยีและการจัดการโรงฟัก 3(2-3-4)


(Technology and Management of Hatchery)
การจัดการฟาร์มพ่อแม่พนั ธุ์ไก่เนืVอและไก่ไข่ การผลิตไข่ฟัก พัฒนาการของตัวอ่อน การ
จัดการไข่ฟัก การให้ความอบอุ่นลูกไก่และการจัดการโรงฟัก
มีการศึกษานอกสถานที9
713 408 Technology and Management of Hatchery 3(2-3-4)

ul ity y,
Broiler and layer breeder farm management. Hatching egg production. Embryo growth
and development. Hatching egg management, incubation, and hatchery management.

ak ers og
Field trips required.

D ,
tis iv ol

M
713 409 เทคโนโลยีการสื บพันธุ์และการเพาะขยายพันธุ์เทีย ม 3(2-3-4)
n

V
un Un ch
(Reproductive Technology and Artificial Breeding)
วิชาบังคับก่อน: 713 306 การปรับปรุ งพันธุ์และการสื บพันธุ์สัตว์
e

หลักการปรับปรุ งพันธุ์สัตว์และพันธุศาสตร์ของสัตว์ วิทยาศาสตร์ของรอบการเป็ นสัดและ


lo rn T

วิทยานํVาเชืVอ ธนาคารยีนและเทคโนโลยีธนาคารยีน เทคโนโลยีที9เกี9ยวข้องกับการสื บพันธุ์ ประกอบด้วยการ


ha ko ry

ผสมเทียม การคุมกําเนิด การเหนี9ยวนําการเป็ นสัดพร้อมกัน การตกไข่จาํ นวนมาก การย้ายฝากตัวอ่อน การ


ปฏิสนธิในหลอดแก้ว การคัดเพศอสุ จิและตัวอ่อน การตัดแบ่งตัวอ่อน สัตว์แปลงพันธุ์ และเทคโนยีชีวภาพ
C pa na

การทําให้เกิดตามแม่แบบ
S. Sil eri

713 409 Reproductive Technology and Artificial Breeding 3(2-3-4)


Prerequisite: 713 306 Animal Breeding and Reproduction
rs
et

Principles of breeding and genetics in animals. Science of estrous cycle and seminology.
V

Gene banks and gene bank technology. Reproduction-related biotechnologies including artificial
insemination, birth control, estrus synchronization, superovulation, embryo transfer, in vitro fertilization,
sperm and embryo sexing, embryo splitting, transgenic animals, and cloning biotechnology.
62

713 410 เทคโนโลยีห้องปฏิบตั ิการทางโภชนศาสตร์ ประยุกต์ 3(2-3-4)


(Laboratory Technology in Applied Nutrition)
วิชาบังคับก่อน: 713 208 โภชนศาสตร์ อาหารและการให้อาหารสัตว์
แนวคิดพืVนฐานของโภชนะในอาหาร หลักและทฤษฎีการวิเคราะห์อาหาร การประเมินค่า
โภชนะ เทคนิคการวิเคราะห์การประเมินค่าอาหาร การจัดการห้องปฏิบตั ิการอาหาร การปรับใช้คอมพิวเตอร์
ทางโภชนศาสตร์และอุตสาหกรรมอาหาร

ul ity y,
713 410 Laboratory Technology in Applied Nutrition 3(2-3-4)
Prerequisite: 713 208 Animal Nutrition, Feed and Feeding

ak ers og
Basic concepts of feed nutrients. Principles and theories of feed analysis. Dietary

D ,
tis iv ol
assessment. Analytical techniques in feed evaluation. Management of nutrition laboratories. Computer

M
applications in nutrition science and the food industry.
n

V
un Un ch
713 411 เทคโนโลยีห้องปฏิบตั ิการทางเภสั ชกรรม 3(2-3-4)
e

(Laboratory Technology in Pharmaceutics)


lo rn T

วิชาบังคับก่อน: 713 207 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางสัตวแพทย์


ha ko ry

การกระจายและคุณสมบัติของสารเคมีบาํ บัดจากธรรมชาติ กระบวนการสกัดสาร


ออกฤทธิy พืชที9ใช้เป็ นยาที9สําคัญในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เภสัชจลนศาสตร์และเภสัช
C pa na

พลศาสตร์ของยา การจําแนกผลและฤทธิyของยา เทคนิคทางเภสัชวิทยาโมเลกุล หลักและทฤษฎีของ


S. Sil eri

โครมาโทกราฟี การพิจารณากําหนดความไวของยา
713 411 Laboratory Technology in Pharmaceutics 3(2-3-4)
rs
et

Prerequisite: 713 207 Veterinary Pharmacology and Toxicology


V

Distribution and properties of natural chemotherapeutic agents. Extraction processing


of active agents. Important medicinal plants in Thailand and South East Asia. Pharmacokinetics and
pharmacodynamics of drugs. Classification efficacy and potency of drugs. Molecular pharmacological
techniques. Principles and theory of chromatography. Drug sensitivity determination.
63

713 412 เทคโนโลยีห้องปฏิบตั ิการทางพิษวิทยาสิ, งแวดล้ อม 3(2-3-4)


(Laboratory Technology in Environmental Toxicology)
วิชาบังคับก่อน: 713 207 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางสัตวแพทย์
การวิเคราะห์ดินและนํVา คุณสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีววิทยาของดิน เทคนิคทาง
พิษวิทยาและที9เกี9ยวเนื9องกับมลพิษทางนิเวศวิทยา การใช้สารฆ่าสัตว์รังควานและสารตกค้าง สารฆ่าเห็บไร
สารฆ่าวัชพืชและสารฆ่าแมลง สารพิษธรรมชาติ การควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืช มลพิษสิ9 งแวดล้อม

ul ity y,
สุ ขศาสตร์ส9ิ งแวดล้อมขัVนมูลฐาน นํVา อากาศและสิ9 งปลูกสร้าง
713 412 Laboratory Technology in Environmental Toxicology 3(2-3-4)

ak ers og
Prerequisite: 713 207 Veterinary Pharmacology and Toxicology

D ,
tis iv ol
Soil and water analyses. Physical, chemical and biological properties of soil.

M
Toxicological techniques and relevant eco-pollutants. Pesticides use and residues. Ixodicides. Herbicides
n

V
un Un ch
and insecticides. Natural toxicants. Plant growth regulators, environmental pollution. Elements of
environmental sanitation, water, air and buildings.
e
lo rn T
ha ko ry
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
64

713 413 การจัดการและมาตรฐานห้องปฏิบัตกิ ารทางสั ตวแพทย์ 3(3-0-6)


(Veterinary Laboratory Management and Standardizations)
วิชาบังคับก่อน: 713 312 การจัดการปฏิบตั ิงานทางสัตวแพทย์
การจัดองค์กรห้องปฏิบตั ิการ การออกแบบห้องปฏิบตั ิการ หลักการจัดการและการ
จัดการข้อมูลทางห้องปฏิบตั ิการ การดําเนินการห้องปฏิบตั กิ าร การประกันคุณภาพห้องปฏิบตั ิการ
ความปลอดภัยและการบํารุ งรักษาห้องปฏิบตั กิ าร จรรยาบรรณห้องปฏิบตั ิการ หลักการดําเนินการและ

ul ity y,
การเทียบมาตรฐานสําหรับอุปกรณ์ชนิดพิเศษ การวินิจฉัยปั ญหาของเครื9 องมือ การบํารุ งรักษาเครื9 องมือ
อัตโนมัติ การจัดการคุณภาพโดยองค์รวมและมาตรฐานขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน

ak ers og
มีการศึกษานอกสถานที9

D ,
tis iv ol
713 413 Veterinary Laboratory Management and Standardizations 3(3-0-6)

M
Prerequisite: 713 312 Veterinary Practice Management
n

V
un Un ch
Laboratory organization. Laboratory design. Principles of management and
laboratory data management. Laboratory operations. Laboratory quality assurance. Laboratory safety
e

and maintenance. Ethics in laboratories. Principles of operation and calibration of specialized


lo rn T

equipment. Instrumentation problem diagnosis. Maintenance of automated equipment. Total Quality


ha ko ry

Management (TQM) and standards of International Organization for Standardization. (ISO)


Field trips are required.
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
65

713 414 เทคโนโลยีทางสั ตว์ ทใี, ช้ วิจัย 2 3(2-3-4)


(Research Animal Technology II)
วิชาบังคับก่อน: 713 303 เทคโนโลยีทางสัตว์ที9ใช้วจิ ยั 1
พืVนฐานกายวิภาคศาสตร์และสรี รวิทยา โรงเรื อน การดูแลสัตว์ พันธุกรรมและการควบคุม
คุณภาพทางจุลชีววิทยา การระงับความรู ้สึกและการระงับความเจ็บปวด การให้อาหาร เทคนิคการทดลองใน
สัตว์ทดลอง โดยเน้นสุ นขั แมว ไพรเมท ปศุสัตว์ สัตว์นV าํ และสัตว์ทดลองชนิดอื9นๆ

ul ity y,
มีการศึกษานอกสถานที9
713 414 Research Animal Technology II 3(2-3-4)

ak ers og
Prerequisite: 713 303 Research Animal Technology I

D ,
tis iv ol
Fundamental laboratory animal anatomy and physiology, housing, caretaking, genetic and

M
microbial quality control, anesthesia and analgesia, feeding, experimental techniques with emphasis on the
n

V
un Un ch
laboratory dogs, cats, non-human primates, livestock animals, aquatic animals and other laboratory animal
species.
e

Field trips are required.


lo rn T
ha ko ry

713 481 เรื, องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสั ตวแพทย์ 1 3(2-3-4)


(Selected Topics in Veterinary Technology II)
C pa na

เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
S. Sil eri

เรื9 องปั จจุบนั ที9น่าสนใจทางเทคนิคการสัตวแพทย์


713 481 Selected Topics in Veterinary Technology I 3(2-3-4)
rs
et

Condition: By consent of the Faculty of Animal Science and Agricultural


Technology
V

Topics of current interest in veterinary technology

713 482 เรื, องคัดเฉพาะทางเทคนิคการสั ตวแพทย์ G 3(2-3-4)


(Selected Topics in Veterinary Technology II)
เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
เรื9 องปั จจุบนั ที9น่าสนใจทางเทคนิคการสัตวแพทย์
66

713 482 Selected Topics in Veterinary Technology II 3(2-3-4)


Condition: By consent of the Faculty of Animal Science and Agricultural
Technology
Topics of current interest in veterinary technology
713 491 การฝึ กปฏิบัติทางเทคนิคการสั ตวแพทย์แบบหมุนเวีย น 1 1(0-3-0)
(Veterinary Technology Internship Rotation I)

ul ity y,
เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
การฝึ กประสบการณ์โดยการปฏิบตั ิงานทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน ทัVงภายใน

ak ers og
และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแต่ละโอกาส

D ,
tis iv ol
713 491 Veterinary Technology Internship Rotation I 1(0-3-0)

M
Condition: By consent of the Faculty of Animal Science and Agricultural
n

V
un Un ch
Technology
Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus
e

opportunities.
lo rn T
ha ko ry

713 492 การฝึ กปฏิบัติทางเทคนิคการสั ตวแพทย์แบบหมุนเวีย น 2 1(0-3-0)


(Veterinary Technology Internship Rotation II)
C pa na

เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
S. Sil eri

การฝึ กประสบการณ์โดยการปฏิบตั ิงานทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน ทัVงภายใน


และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแต่ละโอกาส
rs
et

713 492 Veterinary Technology Internship Rotation II 1(0-3-0)


V

Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology


Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus
opportunities.

713 493 การฝึ กปฏิบัติทางเทคนิคการสั ตวแพทย์แบบหมุนเวีย น 3 1(0-3-0)


(Veterinary Technology Internship Rotation III)
เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
การฝึ กประสบการณ์โดยการปฏิบตั ิงานทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน ทัVงภายใน
และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแต่ละโอกาส
67

713 493 Veterinary Technology Internship Rotation III 1(0-3-0)


Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology
Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus
opportunities.

713 494 การฝึ กปฏิบัติทางเทคนิคการสั ตวแพทย์แบบหมุนเวีย น 4 1(0-3-0)

ul ity y,
(Veterinary Technology Internship Rotation IV)
เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

ak ers og
การฝึ กประสบการณ์โดยการปฏิบตั ิงานทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน ทัVงภายใน

D ,
tis iv ol

M
และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแต่ละโอกาส
713 494 Veterinary Technology Internship Rotation IV 1(0-3-0)
n

V
un Un ch
Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology
Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus
e

opportunities.
lo rn T
ha ko ry

713 495 การฝึ กปฏิบัติทางเทคนิคการสั ตวแพทย์แบบหมุนเวีย น 5 1(0-3-0)


(Veterinary Technology Internship Rotation V)
C pa na

เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
S. Sil eri

การฝึ กประสบการณ์โดยการปฏิบตั ิงานทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน ทัVงภายใน


และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแต่ละโอกาส
rs
et

713 495 Veterinary Technology Internship Rotation V 1(0-3-0)


V

Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology


Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus
opportunities.

713 496 การฝึ กปฏิบัติทางเทคนิคการสั ตวแพทย์แบบหมุนเวีย น 6 1(0-3-0)


(Veterinary Technology Internship Rotation VI)
เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
การฝึ กประสบการณ์โดยการปฏิบตั ิงานทางเทคนิคการสัตวแพทย์แบบหมุนเวียน ทัVงภายใน
และภายนอกมหาวิทยาลัยตามแต่ละโอกาส
68

713 496 Veterinary Technology Internship Rotation VI 1(0-3-0)


Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology
Rotational experience training in veterinary technology practices. On- and off-campus
opportunities.

713 497 การฝึ กงานภาคสนามทางเทคนิคการสั ตวแพทย์ 1(0-3-0)

ul ity y,
(Field Practicum in Veterinary Technology)
เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร

ak ers og
นักศึกษาแต่ละคนต้องมีชว9ั โมงการฝึ กงาน j†p ชัว9 โมง โดยฝึ กปฏิบตั ิงานด้านสัตว์เล็ก หรื อ

D ,
tis iv ol

M
สัตว์ใหญ่ หรื อทัVงสองชนิด ทัVงนีVเพื9อเสริ มสร้างประสบการณ์ในชุมชน หรื อห้องปฏิบตั ิการ หรื อสถาน
ประกอบการทางสัตวแพทย์โดยทัว9 ไป
n

V
un Un ch
713 497 Field Practicum in Veterinary Technology 1(0-3-0)
Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology
e

Each student spends 180 hours in a small animal or large animal or mixed animal
lo rn T

veterinary practice to gain practical experience in the community or laboratory or general veterinary
ha ko ry

facility operations.
C pa na

713 498 สหกิจศึกษาทางเทคนิคการสั ตวแพทย์ 6(0-18-0)


S. Sil eri

(Cooperative Education in Veterinary Technology)


เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
rs
et

การฝึ กประสบการณ์โดยการปฏิบตั ิงานทางเทคนิคการสัตวแพทย์และการวิจยั อย่างน้อย j


V

ภาคการศึกษา ทัVงภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยตามแต่ละโอกาส
713 498 Cooperative Education in Veterinary Technology 6(0-18-0)
Condition: By consent of the Faculty of Animal Science and Agricultural
Technology
A minimum of one semester of on-the-job experience in veterinary technology or research.
On- and off-campus opportunities.
69

713 499 จุลนิพนธ์ 2(0-6-0)


(Senior Project)
วิชาบังคับก่อน: …jo ojj วิธีการวิจยั และการสื9 อสาร
เงื9อนไข: โดยความยินยอมของคณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
วิจยั ในหัวข้อที9น่าสนใจทางเทคนิคการสัตวแพทย์และ/หรื อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดา้ น
สัตว์อื9นๆ

ul ity y,
713 499 Senior Project 2(0-6-0)
Prerequisite: 713 311 Methods in Research and communication

ak ers og
Condition: By consent of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology

D ,
tis iv ol
Research on topics of interest in veterinary technology and/or others animal sciences &

M
technology.
n

V
un Un ch
e
lo rn T
ha ko ry
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V
70

18. การประกันคุณภาพหลักสู ตร

การประกันคุณภาพสําหรับหลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย์จะยึดถือ


ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื9 อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. mnq† และเป็ นไป
ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยจะมีกิจกรรมต่าง ๆ ของสาขาวิชาฯ
ดังต่อไปนีV

ul ity y,
18.1 การบริหารหลักสู ตร

ak ers og
เป้าหมาย การดําเนินการ การประเมินผล
1. เพื9อจัดการเรี ยนการสอนในแต่ 1. จัดระบบการเรี ยนการสอนที9เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น 1. ทําแบบประเมินเกี9ยวกับเนืVอหาวิชา

D ,
tis iv ol
ละวิชาให้ตรงกับความต้องการ ศูนย์กลาง รวมทัVงในส่วนของจุลนิพนธ์ และเทคนิควิธีการสอนของอาจารย์

M
ของผูใ้ ช้บณั ฑิต 2. จัดอุปกรณ์การเรี ยนการสอนที9ทนั ต่อ เพื9อนําไปปรับเปลี9ยนตามความ

n
2. เพื9อกระตุน้ ให้ผูเ้ รี ยนสามารถ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการชันสูตรและการ เหมาะสมและตรงตามความต้องการ

V
un Un ch
คิดอย่างมีระบบในการ วินิจฉัยทางสัตวแพทย์ ของนักศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา
แก้ปัญหาและการริ เริ9 ม 3. จัดหาแหล่งข้อมูลทางวิชาการที9ทนั สมัยให้ 2. มีการจัดสอบกลางและปลายภาค
สร้างสรรค์ นักศึกษาได้คน้ คว้าประกอบการศึกษา พร้อมทัVงทํารายงานในภาคปฏิบตั ิของ
e

3. เพื9อส่งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนสามารถ 4. ปรับปรุ งเนืVอหาวิชาการที9สอนใน วิชาต่างๆ ในสาขาวิชาฯ


lo rn T

พัฒนาการเรี ยนรู ้จาก หลักสูตรให้ทนั ต่อความเจริ ญทางวิชาการ และ 3. นักศึกษาในหลักสูตรควรสําเร็จ


ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ และ เปิ ดรายวิชาที9นาํ ไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้ การศึกษาตามเวลาทีร9 ะบุไว้ใน
ha ko ry

นํามาประยุกต์ใช้ในการ 5. กําหนดมาตรฐานในการวัดผลและการสําเร็จ หลักสูตรไม่น้อยกว่า 80%


C pa na

ประกอบวิชาชีพต่อไป การศึกษาที9ชดั เจน


6. กําหนดขอบเขตของรายวิชา โดยเฉพาะรายวิชา
จุลนิพนธ์ให้เหมาะกับบุคลากร สภาพปัญหา
S. Sil eri

และอุปกรณ์ที9มีอยู่
rs
et
V
71

C….G ทรัพยากรประกอบการเรีย นการสอน


เป้าหมาย การดําเนินการ การประเมินผล
1. เพื9อให้การจัดการด้านการเรี ยนการ 1. ส่งเสริ มให้อาจารย์และนักศึกษามี 1. ประเมินผลการผลิตสื9อการสอนสอนทัVง
สอน และวัสดุอุปกรณ์กา้ วทันกับ การใช้เครื อข่ายสื9อสารทาง ด้านปริ มาณและคุณภาพ รวมถึงการใช้
เทคโนโลยีใหม่ โดยจัดหาทรัพยากร อินเทอร์เน็ต เพื9อให้ได้ทราบถึง ประโยชน์ของนักศึกษา
เพื9อสนับสนุนการเรี ยนการสอนอย่าง ทฤษฎีและเทคโนโลยีใหม่ 2. ประเมินผลความก้าวหน้าของโครงร่ าง
เหมาะสมและเพียงพอ 2. จัดหาหนังสือ วารสาร ตําราใหม่ๆ จุลนิพนธ์ก่อนปฏิบตั ิการ และสอบจุล
2. ส่งเสริ มให้นักศึกษาเข้าถึงทรัพยากร ที9เกี9ยวข้องกับรายวิชาในหลักสูตร นิพนธ์ ในภาคปลายของปี การศึกษา

ul ity y,
และใช้ทรัพยากรเป็ น โดยเฉพาะสื9อ เพื9อให้นักศึกษาและคณาจารย์ สุดท้าย
การสอนอิเล็กทรอนิกส์ สามารถใช้ได้อย่างสะดวก 3. ประเมินผลโดยการสอบจุลนิพนธ์ ซึ9งมี

ak ers og
3. ส่งเสริ มให้นักศึกษามีความเชี9ยวชาญ 3. จัดการโสตทัศนูปกรณ์และ กรรมการสอบอย่างน้อย 3 คน ตาม
ทัVงทางด้านทฤษฎีและปฏิบตั ิในเรื9 อง ครุ ภณ ั ฑ์ที9จาํ เป็ นสําหรับการเรี ยน ข้อกําหนดของสาขาวิชาฯ

D ,
tis iv ol

M
ที9ทาํ จุลนิพนธ์สามารถวางแผน และ การสอนให้ทนั ต่อความก้าวหน้า 4. ประเมินผลการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ
กําหนดเป้ าหมายของโครงงานได้ดว้ ย ทางวิชาการ ตามระบบสหกิจศึกษาทัVงสองฝ่ าย
n

V
ตนเอง 4. จะมีการจัดการสัมมนาภายใน (สถานศึกษาและสถานประกอบการ)
un Un ch
4. สนับสนุนนักศึกษาในการฝึ ก สาขาวิชาสําหรับนักศึกษาและ ตามข้อกําหนดของสาขาวิชาฯ
ประสบการณ์วิชาชีพตามระบบสห คณาจารย์ของสาขาวิชาฯ
e

กิจศึกษากับหน่วยงานภาครัฐ 5. ส่งเสริ มอาจารย์ประจําหลักสูตรให้


lo rn T

ภาคเอกชนและภาคประชาชนเพื9อให้ ไปสัมมนาและประชุมทางวิชาการ
เกิดทักษะ ความชํานาญและกระตุน้ ในระดับชาติและระดับนานาชาติ
ha ko ry

ให้เกิดการเรี ยนรู ้ตามสภาพจริ ง 6. ส่งเสริ มให้อาจารย์ได้ศึกษาต่อขัVน


สูง รวมถึงการศึกษาเพื9อเป็ น
C pa na

ผูเ้ ชี9ยวชาญทางวิชาชีพเฉพาะด้าน
7. ส่งเสริ มให้คณาจารย์ผลิตตํารา
S. Sil eri

เอกสารประกอบการสอน สื9อการ
สอนอิเล็กทรอนิกส์
rs

8. กําหนดให้นักศึกษาเสนอร่ างจุล
et

นิพนธ์ต่ออาจารย์ที9ปรึ กษาและ
V

อาจารย์ที9ปรึ กษาร่ วม เพื9อพิจารณา


ร่ วมกันและให้ขอ้ เสนอแนะ
9. นักศึกษาจะใช้เวลาในทําจุลนิพนธ์
1 ภาคการศึกษา ในภาคปลาย
ส่งเสริ มให้นักศึกษาได้เผยแพร่
ผลงาน ในการประชุมวิชาการ หรื อ
งานสัมมนาต่างๆ
10. กําหนดให้นักศึกษาเข้ารับการฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพตามระบบสห
กิจศึกษา ในภาคต้น
72

18.3 การสนับสนุนและการให้ คําแนะนํานักศึกษา


เป้าหมาย การดําเนินการ การประเมินผล
1. เพื9อให้นักศึกษาได้รับความเอาใจใส่ 2. ให้นักศึกษาหรื อบัณฑิตกรอก มีการประเมินในรายละเอียด และโดย
ดูแลจากอาจารย์ที9ปรึ กษาทาง แบบสอบถาม เพื9อประเมินทัศนคติต่อ ภาพรวมของหลักสูตรดังนีV
วิชาการอย่างดีที9สุด ได้รับการ เนืVอหาวิชาและเทคนิคการสอนของ 1. ผลที9ได้จากแบบสอบถาม จะนํามา
ประคับประคองให้เกิดการ อาจารย์ และวิธีการวัดผล เพื9อการ พิจารณาในสาขาวิชาฯ เพื9อปรับปรุ ง
พัฒนาการเรี ยนรู ้อย่างเป็ นระบบ ปรับปรุ งวิธีการสอนและเนืVอหาของ ตามที9สมควร
และสามารถเข้าใจสภาพอุปสรรคที9 วิชาตามความเหมาะสมและตรงต่อการ 2. ผลจากการประเมินโดยนักวิชาการ

ul ity y,
นักศึกษาได้รับ โดยสามารถทราบ นําไปใช้งานของบัณฑิต และเพื9อการ และผูเ้ ชี9ยวชาญจะนํามาวิเคราะห์เพื9อ
ถึงอุปสรรคต่างๆได้อย่างรวดเร็ว พิจารณาปรับปรุ งหลักสูตร เป็ นแนวทางในการปรับปรุ งหลักสูตร

ak ers og
และสามารถแก้ไขปรับปรุ งหรื อ 3. จะมีการประเมินความต้องการบัณฑิต ให้เหมาะสมตรงกับสถานการณ์ที9
เปลี9ยนแลงไปในทางที9ดีได้อย่าง จากสถานประกอบการ หรื อหน่วยงาน เป็ นไปในปัจจุบนั

D ,
tis iv ol

M
รวดเร็ว นําพานักศึกษาไปใน ต่างๆ รวมทัVงประเมินโดยผูเ้ ชีย9 วชาญใน 3. ผลจากการประเมินหลักสูตรตาม
ทิศทางที9ถูกต้องและเหมาะสมตาม สาขาวิชาเพื9อพิจารณาปรับปรุ ง ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ
n

V
ศักยภาพของนักศึกษาและเป็ นไป หลักสูตรให้ดีย9ิงขึVน ทัVงในด้านคุณภาพ มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื9อนํามา
un Un ch
ตามเป้าหมายของหลักสูตร และประสิทธิภาพ ปรับปรุ งให้เหมาะสมและสอดคล้อง
4. มีการประเมินหลักสูตรตามระบบ กับสถานการณ์ปัจจุบนั
e

ประกันคุณภาพการศึกษาของ
lo rn T

มหาวิทยาลัยศิลปากร ภายในระยะเวลา
5 ปี
ha ko ry
C pa na

C….F ความต้ องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรื อความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิต


เป้าหมาย การดําเนินการ การประเมินผล
S. Sil eri

1. เพื9อให้เห็นจุดอ่อนและจุดแข็งของ 1. ให้บณ ั ฑิตกรอกแบบสอบถาม เพื9อ มีการประเมินในรายละเอียด และโดย


หลักสูตรโดยรวมในแต่ละปี ประเมินทัศนคติต่อเนืVอหาวิชาและเทคนิค ภาพรวมของหลักสูตรดังนีV
การศึกษาเพื9อปรับเปลี9ยนให้ทนั กับ การสอนของอาจารย์ และวิธีการวัดผล - ผลที9ได้จากแบบสอบถาม จะนํามา
rs
et

ความก้าวหน้าทางวิทยาการและตรง เพื9อการปรับปรุ งวิธีการสอนและเนืVอหา พิจารณาในสาขาวิชาฯ เพื9อปรับปรุ งตามที9


V

ตามความต้องการทางอุตสาหกรรม ของวิชาตามความเหมาะสมและตรงต่อ สมควร


การนําไปใช้งานของบัณฑิต และเพื9อการ - ผลจากการประเมินโดยนักวิชาการ และ
พิจารณาปรับปรุ งหลักสูตร ผูเ้ ชี9ยวชาญจะนํามาวิเคราะห์เพื9อเป็ น
2. จะมีการประเมินความต้องการบัณฑิต แนวทางในการปรับปรุ งหลักสูตรให้
จากสถานประกอบการ หรื อหน่วยงาน เหมาะสมตรงกับสถานการณ์ที9เป็ นไปใน
ต่างๆ รวมทัVงประเมินโดยผูเ้ ชี9ยวชาญใน ปัจจุบนั
สาขาวิชาเพื9อพิจารณาปรับปรุ งหลักสูตร - ผลจากการประเมินหลักสูตรตามระบบ
ให้ดีย9ิงขึVน ทัVงในด้านคุณภาพ และ ประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ประสิทธิภาพ ศิลปากร เพื9อนํามาปรับปรุ งให้เหมาะสม
3. มีการประเมินหลักสูตรตามระบบประกัน และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั
คุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย
ศิลปากร ภายในระยะเวลา 5 ปี
73

C<. การพัฒ นาหลักสู ตร


การพัฒนาหลักสู ตรสําหรับหลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคสัตวแพทย์จะยึดถือตาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื9 อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ. mnq†
เป้าหมาย การดําเนินการ การประเมินผล
1. เพื9อให้มีการพัฒนาหลักสูตรให้ 1. ให้บณ
ั ฑิตกรอกแบบสอบถาม เพื9อ มีการประเมินในรายละเอียด และโดย
ทันสมัยและมีการประเมินเพื9อ ประเมินทัศนคติต่อหลักสูตรตามความ ภาพรวมของหลักสูตรดังนีV
พัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื9อง เหมาะสมและตรงต่อการนําไปใช้งานของ - ผลที9ได้จากแบบสอบถาม จะนํามา

ul ity y,
บัณฑิต และเพื9อการพิจารณาปรับปรุ ง พิจารณาในสาขาวิชาฯ เพื9อปรับปรุ งพัฒนา
หลักสูตร หลักสูตรตามที9สมควร

ak ers og
2. จะมีการประเมินคุณลักษณะบัณฑิตที9 - ผลจากการประเมินโดยผูป้ ระกอบการ
เหมาะสม จากสถานประกอบการ หรื อ นักวิชาการ และผูเ้ ชี9ยวชาญจะนํามา

D ,
tis iv ol

M
หน่วยงานต่างๆ รวมทัVง วิเคราะห์เพื9อเป็ นแนวทางในการปรับปรุ ง
3. จะมีการประเมินคุณลักษณะบัณฑิตที9 พัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมตรงกับ

n เหมาะสม โดยผูเ้ ชี9ยวชาญในสาขาวิชาเพื9อ สถานการณ์ที9เป็ นไปในปัจจุบนั และ

V
un Un ch
พิจารณาปรับปรุ งหลักสูตรให้ดีย9ิงขึVน ทัVง สอดคล้องการความต้องการบัณฑิต
ในด้านคุณภาพ และประสิทธิภาพ
e
lo rn T
ha ko ry
C pa na
S. Sil eri

rs
et
V

You might also like