You are on page 1of 8

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53 สาขาศึกษาศาสตร์

การพัฒนาบทปฏิบัตกิ าร เรื่องการลาเลียงสารผ่ านเซลล์ โดยใช้ ชุดทดลองไข่


เพื่อพัฒนาผลการเรี ยนรู้ วิชาชีววิทยา ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4
โรงเรียนสายปั ญญารังสิต
The Development of Practical Laboratory on Osmosis Using an Egg Experiment
Learning kit to Support Learning in Biology of Grade 10
Students at Saipanyarangsit School

กัลยารัตน์ ก้ อนแก้ ว¹* และ ปานันท์ กาญจนภูม²ิ


Kanlayarat Konkeaw¹ and Panan Kanchanaphum²

บทคัดย่ อ
การพัฒนาชุดทดลองไข่ เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาชุดทดลองไข่
เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ ให้ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของชุดทดลองไข่
3) เพื่อเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยน
ด้ วยชุดทดลองไข่โดยใช้ แบบสอบถาม กลุม่ ตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจยั คือ นักเรี ยนชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 33
คน ผลการวิจยั พบว่า ชุดทดลองไข่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 90.00/80.50 ดัชนีประสิทธิผล มีค่าเท่ากับ 0.68
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสูงขึน้ อย่างมีนัยสาคัญที่ ระดับ 0.05 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนจานวน
ทัง้ หมด 10 ข้ อ มีค่าความยากง่ายตังแต่ ้ 0.45-0.75 ค่าอานาจจาแนกรายข้ อตังแต่ ้ 0.20-0.56 และค่าความ
เชื่อมัน่ ของแบบทดสอบเท่ากับ 0.70 และนักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนด้ วยชุดทดลองไข่อยู่ในระดับมาก
ต ร ์
าส
ษ ตรศ ABSTRACT
The objectives of ัยthis
ล เก research were to construct the egg-experimental learning kit on the

transportation throughิทยsemi-permeable membrane in order to: 1) to develop the egg-experimental
า ว
learning kit and มit’หs efficient 80.00/80.00 2) to study the effectiveness index 3)compare between the

ิ ัล
pre-test and
ร ู้ด จ
ิ post-test score. 4) to study the satistication of students by using questionaire. The

samples

า consisted of 33 students Grade 10. The results were showed that the efficiency of the egg-

คลัง
experimental learning kit and the effectiveness index were 90.00/80.50 and 68.82.The post-test was
higher significant than the pre-test’s score at level of 0.05. The level of difficulty of the items was
during on 0.45-0.75. Discrimmination power of the items was during on 0.20-0.56 and reliability value
was 0.70. The students were highly satisfied in using this egg-experimental learning kit.
Key Words: the eggs-experimental learning kit, transportation through semi-permeable membrane
*Corresponding author; e-mail address: wankankon@gmail.com, wan_tingtong@hotmail.com
___________________________________________________________________________________________________________________________________

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต เมืองเอก ถ.พหลโยธิน จ.ปทุมธานี 12000


The graduate School, Rangsit University, Muang-Ake, Pahoyothin Rd. Pathumthani 12000
²ภาควิชาวิทยาศาสตร์ การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เมืองเอก ถ.พหลโยธิน จ.ปทุมธานี 12000
Department of Medical Science Faculty of Science Rangsit University Muang-Ake, Pahoyothin Rd. Pathumthani 12000

39
สาขาศึกษาศาสตร์ การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53

คานา
วิทยาศาสตร์ มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาประเทศ เนื่องจากวิทยาศาสตร์ นามาซึง่ ผลของการผลิต
เทคโนโลยี นวัตกรรมชิ น้ ใหม่ ๆ มีส่วนช่วยให้ คุณภาพชี วิตของคนในสังคมดีขึน้ ด้ วยเหตุนีก้ ารพัฒนาความรู้
ทางด้ านวิทยาศาสตร์ จงึ ถือเป็ นสิ่งสาคัญยิ่ง อย่างไรก็ตามพบว่า การพัฒนาความก้ าวหน้ าทางด้ านวิทยาศาสตร์
ยังไม่ประสบความสาเร็ จตามเป้าหมายที่ต้องการ โดยเฉพาะการส่งเสริ มให้ เยาวชนมีความรู้ มีทกั ษะกระบวนการ
ทางด้ านวิทยาศาสตร์ ที่ดี จากระบบการศึกษาขันพื ้ ้นฐานของประเทศ (ภาณุพงศ์ พนมวัน, 2554: 45-59) สาเหตุ
หนึง่ ที่เป็ นปั ญหาคือ การใช้ สื่อในการจัดการเรี ยนการสอนยังไม่มีประสิทธิภาพมากพอที่จะช่วยอธิบายให้ นกั เรี ยน
เข้ าใจเนื อ้ หา อันเนื่ องมาจากความไม่ พร้ อมทางด้ านอุปกรณ์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และการที่ผ้ ูสอนมี
ความสามารถในการใช้ สื่อการสอนได้ อย่างจากัด โดยส่วนมากผู้สอนจะมุ่งเน้ นให้ นักเรี ยนท่องจาจากหนังสือ
เรี ย น เน้ น การสอนในรู ป แบบการบรรยาย ท าให้ นัก เรี ย นไม่ส ามารถน าความรู้ ที่ เรี ย นไปประยุก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เกิ ด
ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ เพราะนักเรี ยนขาดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ที่นามาซึง่ ความเข้ าใจในเนื ้อหา
โดยแท้ จ ริ ง และยังส่งผลให้ ผ ลการเรี ยนรู้ ของนักเรี ย นไม่ดีเท่ าที่ ควร จากผลการส ารวจทัศนคติของนักเรี ย น
โรงเรี ยนสายปั ญญารังสิตต่อการเรี ยนวิชาชีววิทยา พบว่า จานวนนักเรี ยนที่ ชอบเรี ยนวิชาชีววิทยามีจานวนร้ อย
ละ 30 ของนัก เรี ยนทัง้ หมด เหตุผ ลคือนัก เรี ยนไม่ชอบการท่องจ าจากตาราและนักเรี ย นไม่มีโอกาสได้ ท า
ปฏิบตั ิการทดลองวิทยาศาสตร์ ทาให้ นกั เรี ยนไม่เข้ าใจในเนื ้อหาและไม่สนใจเรี ยนวิชาชีววิทยา ดังนันหากผู ้ ้ สอนมี
การใช้ สื่อได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ ใช้ สื่อที่ หาได้ ง่าย พบเจอในชี วิตประจาวัน จะช่วยให้ นักเรี ยนได้ เรี ยนรู้ จาก
ประสบการณ์ตรง ทาให้ นกั เรี ยนเกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ เกิดความคิดรวบยอดที่ดีขึ ้นในเนื ้อหา เกิดความรู้
คงทน ได้ ใช้ ประสาทสัมผัสทัง้ ห้ าในการเรี ยนรู้ เพื่อเชื่อมโยงประสบการณ์ เดิมกับความรู้ ใหม่ที่ได้ รับ เกิดเป็ นองค์
ความรู้ ที่ คงทนถาวร (Piaget, 1972: 1-12) ์ ซึ่งทาให้ ผลการเรี ยนรู้ ของนักเรี ยนดีขึน้ การลงมือปฏิบัติทาการ
ต ร
ทดลอง ส่งผลให้ เกิ ดกระบวนการเรี ย นรู
ร ศ าส้ ด้ วยตนเอง (ทิศนา แขมมณี , 2556: 90-98) ทาให้ นักเรี ยนเห็นว่า
วิทยาศาสตร์ เป็ นเรื่ องไม่ยากเกิกนษความเข้ ต าใจ เป็ นเรื่ องใกล้ ตัวที่พบเจอในชีวิตประจาวั น และทาให้ นักเรี ยนมี

ทัศนคติที่ดีตอ่ การเรี ยนวิทยยาศาสตร์าลัย สาขาชีววิทยา
า ว ิท
เนือ้ หาเรื่ องการออสโมซิ สของนา้ ผ่านเยื่อเลือกผ่านเป็ นเนือ้ หาที่สาคัญส่วนหนึ่งของการเรี ยนการสอน
ม ห
วิชาชีววิทยา (สถาบั ท
ิ ัล นส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ (สสวท), 2556: 88-90 )
ู้ด จ

เพราะเป็ามนรการลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แต่ในการจัดการเรี ยนการสอนพบว่า นักเรี ยนไม่

ั คว
คล ด วิเคราะห์ปัญหาสถานการณ์ ในข้ อสอบที่ซับซ้ อนขึน้ ได้ เนื่องจากนักเรี ยนมีการเรี ยนรู้ ในรู ปแบบ
สามารถคิ
ท่องจาจากตาราและขาดกระบวนการคิด วิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อ เกิดความเข้ าใจในเนือ้ หาที่เรี ยน วิธีแก้ ปัญหาดัง
กล่าวคือการใช้ การทดลองร่ วมในการจัดการเรี ยนการสอนในรายวิชาชีววิทยา เพื่อให้ นกั เรี ยนได้ เห็นภาพ และ
แสดงผลการทดลองที่เกิดขึ ้นจริ ง ซึง่ การทดลองไข่ถือได้ วา่ เป็ นการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ที่ใช้ อปุ กรณ์ ที่สามารถ
หาซือ้ ได้ ตามท้ องตลาด มีราคาถูก เพื่ อเพิ่ มความเข้ าใจ ต้ องมียุทธวิธีการสอนให้ แก่นักเรี ยนที่ เรี ยนรายวิชา
ชีววิทยา เรื่ องการออสโมซิสได้ ซึง่ สอดคล้ องกับการวิจยั เปรี ยบเทียบการเรี ยนรู้ เรื่ องการแพร่ ของสารของนักเรี ยน
สองกลุ่ม คือ กลุ่มที่เรี ยนรู้ จากการทดลองด้ วยกระบวนการเรี ยนรู้ ด้ วยตัวเอง และกลุ่มที่สองคือ กลุ่มนักเรี ยนที่
เรี ยนด้ วยรู ปแบบเดิมคือการบรรยาย ผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนกลุ่มที่เรี ยนรู้ จากการทาการทดลองจะมีความ
เข้ าใจในเชิงลึกมากกว่ากลุม่ นักเรี ยนที่เรี ยนด้ วยรู ปแบบเก่า (Christianson and Fisher, 1999: 687-698)

40
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53 สาขาศึกษาศาสตร์

วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาชุดทดลองไข่ เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา ของนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4
ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของชุดทดลองไข่
3. เพื่อเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนที่ได้ เรี ยนด้ วยชุดทดลองไข่
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีตอ่ การเรี ยนด้ วยชุดทดลองไข่
ขอบเขตของการวิจัย
1. ประชากร คือ นักเรี ยนห้ องเรี ยนวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4
โรงเรี ยนสายปั ญญารังสิต มีทงหมด ั้ 4 ห้ องจานวนนักเรี ยนรวมทังสิ
้ ้น 150 คน
2. กลุม่ ตัวอย่าง คือ นักเรี ยนห้ องเรี ยนพิเศษวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4
โรงเรี ยนสายปั ญญารังสิต ทังหมด
้ 1 ห้ อง มีจานนนักเรี ยนทังสิ
้ ้น 33 คน
โดยมีวิธีการเลือกกลุม่ ตัวอย่างแบบ The single group pretest – posttest design
3. เนื ้อหาที่ใช้ ในทาการวิจยั คือ วิชาชีววิทยา เรื่ องกระบวนการออสโมซิส ชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4
4. ระยะเวลาที่ใช้ ในทาการวิจยั คือ ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2557
ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับ
1. นักเรี ยนมีความรู้ ความเข้ าใจในการเรี ยน เรื่ องกระบวนการออสโมซิส
2. นักเรี ยนได้ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ และสามารถนาความรู้ ที่ ได้ มาประยุกต์ ใช้ ให้ เกิ ด
ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้
ต ร ์
3. เป็ นการประหยัดงบประมาณในการเตรี ส ยมเครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
ร ศ า
4. เป็ นการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์
เษตจากสิ่งรอบตัว ซึง่ ทาให้ นกั เรียนมีความสนใจใฝ่ รู้มากยิ่งขึ ้น

ล ย

ว ิทยา อุปกรณ์ และวิธีการ
ห า
ม นการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างโดยนาชุดทดลองไข่ วิชาชีววิทยา เรื่ องลาเลียงสารผ่านเซลล์
ผู้วิจยั ดัลาเนิ
ู้ดิจ ท

า ม ร
(กระบวนการออสโมซิ ส ) ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญและปรั บปรุ งแก้ ไขแล้ ว ไป

ทดลองใช้

ั ว ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อหาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เปรียบเทียบผลกาเรี ยนรู้ และศึกษาความ

พึคงพอใจของนักเรี ยน โดยมีลาดับขันต่ ้ อไปนี ้
1. ทดลองใช้ เครื่ องมือ อุปกรณ์ ชุดทดลองไข่ และกระบวนการสอนกับนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 5
จานวน 15 คน ซึง่ แบ่งเป็ นกลุม่ นักเรี ยนเก่ง กลาง อ่อน กลุม่ ละ 5 คน โดยการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
แบบเจาะจงจากผลคะแนนวิชาชีววิทยา จากนันน ้ าผลข้ อมูลไปวิเคราะห์ ค่าทางสถิติ เพื่อปรับปรุ ง
ชุดทดลองไข่ให้ เหมาะสมต่อการนาไปใช้ กบั กลุม่ ตัวอย่างจริ ง
2. ให้ กลุ่มทดลองทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน (Pre-test) ผู้วิจัยสร้ างขึน้ และได้ วิเคราะห์ คุณภาพแล้ ว
จานวน 10 ข้ อ
3. จัดการเรี ยนการสอนโดย ผู้สอนทบทวนความรู้ โดยการตังค ้ าถาม ทากิจกรรมการทดลองเรื่ องลาเลียง
สารผ่ านเซลล์ ด้ วยชุดทดลองไข่ มี เอกสารประกอบการเรี ย นรู้ และใบกิ จ กรรมเพื่ อให้ นัก เรี ย นเกิ ด

41
สาขาศึกษาศาสตร์ การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53

กระบวนการคิดวิเคราะห์ สมาชิกในห้ องเรี ยนร่ วมกันทากิจกรรมชุดทดลองไข่และอภิปรายเสนอความ


คิดเห็นเป็ นกลุ่ม ผู้สอนจะสรุ ปภาพรวมและสาระสาคัญทังหมดโดยการใช้
้ แผนผังมโนทัศน์ซงึ่ เป็ นส่วน
หนึง่ ของชุดทดลองไข่
4. ให้ กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบหลังเรี ย น (Post-test) ผู้วิจยั สร้ างขึน้ และได้ วิเคราะห์ คณุ ภาพแล้ ว
จานวน 10 ข้ อ โดยทาทันทีที่เรี ยนเนื ้อหาจบ ซึง่ เป็ นแบบทดสอบฉบับเดียวกันกับแบบทดสอบก่อน
เรี ยน
5. ให้ กลุม่ ตัวอย่างตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการเรี ยนโดยใช้ ชดุ ทดลองไข่ วิชาชีววิทยา
เรื่ องลาเลียงสารผ่านเซลล์ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 10 ข้ อ หลังทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
6. นาข้ อมูลที่ได้ วิเคราะห์คา่ ทางสถิติตามจุดมุง่ หมายของการวิจยั
จากการดาเนินการทดลองแล้ วสิ ้น ผู้วิจยั นาผลข้ อมูลมาจัดกระทาและวิเคราะห์ดงั นี ้
1. การวิ เคราะห์ ห าประสิ ท ธิ ภ าพของชุดทดลองไข่ โดยหาค่าสถิ ติพื น้ ฐาน ได้ แ ก่ ร้ อยละของค่าเฉลี่ ย
อัตราส่วน (X) ของค่าคะแนนที่ ไ ด้ จากคะแนนผลการสอบหลังเรี ย น หาค่าประสิท ธิ ภาพของชุดการ
ทดลองไข่ ใช้ สตู ร E1/E2 ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด 80/80 (วิเคราะห์ข้อมูลจากคะแนนใบกิจกรรม
และคะแนนทดสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยนกลุม่ ตัวอย่างจานวน 33 คน)
2. การวิเคราะห์หาประสิทธิผลของชุดทดลองไข่
3. การเปรี ยบเที ย บผลสัมฤทธิ์ ก ารเรี ย นรู้ ระหว่างก่ อนเรี ย นและหลัง เรี ย น โดยค่าทางสถิ ติ ที่ใ ช้ ใ นการ
วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ร้ อยละ การวิเคราะห์คณ ุ ภาพของเครื่ องมือการวิจยั
4. การวิเ คราะห์ ความพึงพอใจของนัก เรี ย นที่ มีต่อ การเรี ยนวิ ช าชี ว วิท ยา เรื่ องล าเลี ยงสารผ่ า นเซลล์
(กระบวนการออสโมซิส) โดยชุดทดลองไข่ ์ นาคะแนนที่หาได้ มาหาค่าเฉลี่ย
ส ต ร
ตร ศา
เก ษ ผล
ในการวิเคราะห์ขย้ อามูลลัย ผู้วิจยั ได้ เสนอผลของการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับ ดังนี ้
า ว ิท
1. ลาดับขันตอนในการเสนอผลการวิ
้ เคราะห์ข้อมูล
ม ห
ิทัล ข้อมูล
2. ผลการวิเคราะห์
ู้ดิจ
า ม ร
ค ว
1.ลลัง าดับขัน้ ตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ผู้วิจยั ได้ ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับขันตอนต่้ อไปนี ้
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ หาประสิทธิ ภาพของชุดทดลองไข่ เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 ตามเกณฑ์ 80/80
ตอนที่ 2 วิเคราะห์หาดัชนีประสิทธิผลของชุดทดลองไข่ เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ได้ พฒ
ั นาขึ ้น
ตอนที่ 3 วิเคราะห์ผลการเรี ยนรู้ ของนักเรี ยนต่อการเรี ยน เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4
ตอนที่ 4 วิเคราะห์ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนด้ วยชุดทดลองไข่เรื่ องการ
ลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา สาหรับนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

42
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53 สาขาศึกษาศาสตร์

2. ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ หาประสิทธิ ภาพของชุดทดลองไข่ เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 ตามเกณฑ์ 80/80
ผู้วิจยั ได้ ทดลองกับนักเรี ยนกลุม่ ตัวอย่างจานวน 33 คน โดยใช้ ชดุ ทดลองไข่ ในการเรี ยนเรื่ องการลาเลียง
สารผ่านเซลล์ โดยให้ นกั เรี ยนทาแบบทดสอบก่อน-หลังเรี ยน และใบกิจกรรม ที่ ผ้ วู ิจยั สร้ างขึ ้น จากนันน้ าข้ อมูลที่
ได้ มาทาการวิเคราะห์คา่ ทางสถิติ แล้ วนามาหาประสิทธิภาพของชุดทดลองตามเกณฑ์ 80/80 ดังตาราง
ตาราง ประสิทธิภาพของชุดทดลองไข่ เพื่อใช้ เป็ นสื่อการจัดการเรี ยนการสอน เรื่ องการลาเลียงสารผ่าน
เซลล์ วิชาชีววิทยา ชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

Pre-test score Worksheet score Post-test score


Full score 10 10 10
average 3.72 9.00 8.05
S.D. 1.44 0.43 1.32
percentage 37.20 90.00 80.50
E1 = 90.00 E2 = 80.50
Table showed the full score, average, S.D. and percentage of Pre-test, Worksheet and Post-
test score. They were analyzed the efficiency of the egg-experimental learning kit was 90.00/80.50.

ต ร ์
ตอนที่ 2 วิเคราะห์หาดัชนีปาระสิ
ศ ส ทธิผลของชุดทดลองไข่ เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรี ยนชันมั

้ ธยมศึกษาปีกทีษ่ 4ต ที่ได้ พฒั นาขึ ้น

ผู้วิจยั ได้ ทดลองกัยบานัลัยกเรี ยนกลุม่ ตัวอย่างจานวน 33 คน โดยใช้ ชดุ ทดลองไข่ ในการเรี ยนเรื่ องการลาเลียง
ิท
สารผ่านเซลล์ โดยให้หนาวกั เรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน จากนันน ้ าข้ อมูลที่ได้ มาทาการวิเคราะห์ค่า

ทางสถิติ และวิิทเัลคราะห์ประสิทธิผลของชุดทดลองไข่ ดังตาราง
ม ร ู้ดิจ
คว า
ลัง ชนีประสิทธิผลของชุดทดลองไข่เรื่องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยาชันมั
คตารางดั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

Number of Overall Pre-Test Overall Post-Test The Effectiveness


students Index
33 123.00 265.50 0.6882
Table showed the effectiveness index of the egg-experimental learning kit. It was 0.6882.
This data was shown the scores of the students who learned with the egg-experimental learning kit
were better than pre-test scores 68.82 percent.

43
สาขาศึกษาศาสตร์ การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53

ตอนที่ 3 วิเคราะห์ผลการเรี ยนรู้ ของนักเรี ยนต่อการเรี ยน เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา


สาหรับนักเรี ยนชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

Pre-test score Post-test score


Full score 10 10
average 3.72 8.05
S.D. 1.44 1.32
percentage 37.20 80.50
T-test 14.85370051
p-value 0.05**
The table showed that the post-test score was instantly better than the pre-test score. It is
absolutely increase 43.30 percent.

ตอนที่ 4 วิเคราะห์ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนด้ วยชุดทดลองไข่เรื่ องการ


ลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา สาหรับนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4
ผู้วิจยั ได้ ให้ กลุม่ ตัวอย่าง ประเมินความพึงพอใจ จานวน 10 ข้ อ หลังจากที่เรี ยนเรื่ องการลาเลียงสารผ่าน
เซลล์ด้วยชุดทดลองไข่ จากนันน ้ าผลที่ได้ มาวิเคราะห์คา่ ทางสถิติพื ้นฐาน
พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนเรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ด้วยชุดทดลองไข่โดยรวมอยู่ในระดับดี
มาก เมื่อพิจารณาในระดับรายข้ อ พบว่า นักรเรี์ ยนมีความพึงพอใจในชุดทดลองไข่มากที่สดุ ในเรื่ องของชุดทดลอง
ไข่ทาให้ นักเรี ยนเข้ าใจในบทเรี ยนมากยิ า ส่
ตขึน้ เพราะเป็ นการเรี ย นที่ได้ ปฏิบัติการทดลอง ได้ คิดวิเคราะห์ผ่าน

ต รศ
กระบวนการที่เป็ นรู ปธรรม ซึง่ กระบวนการเรีเ ก ษ ยนรู้ ในรู ปแบบนีท้ าให้ ผ้ ูเรี ยนมองเห็นภาพรวม เข้ าใจหลักการของ
กระบวนการออสโมซิส และสามารถอธิ าล ย
ั บาย ถ่ายทอดข้ อมูลความรู้ ได้ จากการอภิปรายผลการทดลองที่เกิดขึ ้นจริ ง
ิาวทย
ซึง่ มีคา่ เฉลี่ยของคะแนนเท่
ม ห ากับ 4.5152 ส่วนระดับความพึงพอใจข้ ออื่น ๆ อยู่ในระดับมาก ซึง่ มีคา่ เฉลี่ยของระดับ
ัล
ความพึงพอใจอยู
ู้ด ิจิท ่ที่ 4.00-4.49
ว า มร

คลัง วิจารณ์
ผลการพัฒนาชุดทดลองไข่เพื่อใช้ เป็ นสื่อในการจัดการเรี ยนการสอน เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชา
ชีววิทยา ของนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนสายปั ญญารังสิต มีประเด็นที่นามาอภิปรายผลดังนี ้
1. การพัฒนาชุดทดลองไข่ เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 มี
ประสิทธิภาพเท่ากับ 90.00/80.50 เนื่องจากชุดทดลองที่สร้ างขึ ้นมานันเป็ ้ นลักษณะของสื่อประสม ประกอบด้ วย
ชุดทดลองไข่ วีดีทศั น์ ใบกิจกรรม เอกสารประกอบการเรี ยนรู้ เพาเวอร์ พอยด์ แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
ซึง่ ผู้เรี ยนสามารถเข้ าใจในเนื ้อหาที่เรี ยนได้ อย่างง่ายเพราะเป็ นสิ่งที่เป็ นรู ปธรรม สามารถมองจับ สัมผัส มองเห็น
เปรี ยบเทียบผลการทดลองได้ อย่างชัดเจน การจัดกิจกรรมให้ นกั เรี ยนได้ เรี ยนรู้ นนั ้ ทาให้ นกั เรี ยนรู้ สกึ สนุกสนาน
พร้ อมที่จะเรี ยนรู้ มีความสนใจใฝ่ รู้ ต้ องการทากิจกรรมนันมากยิ
้ ่งขึ ้น และสามารถอธิบายเนื ้อหาที่เป็ นนามธรรม

44
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53 สาขาศึกษาศาสตร์

ได้ เป็ นอย่างดี ทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ คล้ ายกับงานวิจยั ของธีระยุทธ (2551: 197-204)
ได้ สร้ างชุดการเรี ยนรู้ ปฏิบัติการฟิ สิกส์ เรื่ องการหาความเร็ วเสียงโดยวิธีเรโซแนนซ์ พบว่า ประสิทธิ ภาพของชุด
ทดลองฟิ สิกส์ เรื่ องการหาความเร็ วแสงโดยวิธีเรโซแนนซ์มีค่าเท่ากับ 61.87/78.43 และยังสอดคล้ องกับงานวิจยั
ของอมราภรณ์ (2549: 66) ได้ พฒ ั นาสื่อการสอน เรื่ องการขับถ่ายปั สสาวะของคน พบว่า สื่อการเรี ยนการสอนนัน้
มีประสิทธิ ภาพเท่ากับ 82.70/82.08 สูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐานที่ ตงั ้ ไว้ 80/80 ซึ่งสอดคล้ องกับ คากล่าวของ
Oshinaike (2012) กล่าวไว้ วา่ สื่อที่ช่วยในการจัดการเรี ยนการสอน จะมีสว่ นช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรี ยนรู้ ของ
ผู้เรี ยนเป็ นอย่างยิ่ง ช่วยเพิ่มในการจดจาได้ มากถึงร้ อยละ 20
2. การพัฒนาชุดทดลองไข่ เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 มี
ประสิทธิ ผลเท่ากับ 0.6882 หมายความว่า นักเรี ยนที่เรี ยนเรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์ด้วยชุดทดลองไข่ มี
พัฒนาการในการเรี ยนเพิ่มสูงขึ ้น ร้ อยละ 68.82 ซึง่ สอดคล้ องกับงานวิจยั ของรัตนาภรณ์ (2551) สร้ างสื่อการสอน
วิทยาศาสตร์ วิชาชีววิทยา เรื่ องการลาเลียงสารของคน พบว่ามีดชั นีประสิทธิผลเท่ากับ 0.6193 หมายความว่า
หลังจากที่นกั เรี ยนได้ เรี ยนด้ วยสื่อการเรี ยนการสอนนี ้ นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเพิ่มสูงขึ ้นร้ อยละ 61.93
ผู้เรี ยนมีความรู้ ความเข้ าใจในการเรี ยนเพิ่มมากขึ ้น
3. จากการศึกษาผลการเรี ยนรู้ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนของนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ได้ เรี ยนเรื่ อง
การลาเลียงสารผ่านเซลล์ด้วยชุดทดลองไข่ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีค่า t-test เท่ากับ 14.85 โดยที่คะแนนเพิ่มสูงขึน้ จากเดิมร้ อยละ 43.30 ซึ่ง
สอดคล้ องกับงานวิจยั ของบงกช (2551) พัฒนาสื่อการสอนชุด Amazing word วิชาภาษาอังกฤษ โรงเรี ยนเซนต์
หลุยส์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลการวิจยั พบว่า คะแนนสอบหลังเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.01 นักเรี ยนมีทักษะในการจดจาคาศั ์ พท์มากขึ ้น โดยมีคะแนนความก้ าวหน้ าเท่ากับร้ อยละ 63.3 ซึ่ง
ต ร
สอดคล้ องกับงานวิจยั ของรุ้ งลาวัลย์ เจริศาญสรักษ์ รัตนะ ที่พฒ ั นาสื่อประสมเพื่อใช้ เป็ นสื่อในการจัดการเรี ยนการสอน

วิชาชีววิทยา เรื่ องโครงสร้ างและเซลล์
เ ก ษต สืบพันธุ์ของพืชดอก ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์หลัง
เรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยนอย่ายงมีาลนัยยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และความพึงพอใจของนักเรี ยนต่อการเรี ยนด้ วยสื่อ
ประสมอยู่ในระดับมากที า ว ิท่สดุ และงานวิจยั ของสุวรรณา (2549) พัฒนาชุดการสอนเรื่ องโครงสร้ างและหน้ าที่ข อง

ั มห
พืชดอก เพื่อิจเปรี ท
ิ ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนรู้ ผลการวิจยั พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยนหลัง
เรี ยนด้ วายชุ ม รดู้ดการสอนนี ้สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และมีคา่ t-test เท่ากับ 13.79 โดย

มีคคลาัง่ คเฉลี่ยของความก้ าวหน้ าของคะแนนคิดเป็ นร้ อยละ 37.84
4. จากการศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนด้ วยชุดทดลองไข่ พบว่า นักเรี ยนมีความพึง
พอใจในการเรี ยนด้ วยชุดทดลองไข่อยู่ในระดับมาก นันหมายความว่ ้ า นักเรี ยนชอบทากิจกรรม รู้ สกึ สนุกสนานใน
การท าการทดลอง มีความสนใจใฝ่ รู้ ต้ องการต่อยอดความรู้ โดยการน าไปท าเป็ นโครงงาน เพื่ ออธิ บ ายถึ ง
ความสัมพันธ์ของกระบวนการออสโมซิสและกระบวนการทาไข่เค็มในชีวิตประจาวันได้ ซึง่ สอดคล้ องกับงานวิจยั
ของของธี ระยุทธ (2551: 197-204) ได้ สร้ างชุดการเรี ยนรู้ ปฏิบัติการฟิ สิกส์ เรื่ องการหาความเร็ วเสียงโดยวิธีเ ร
โซแนนซ์ พบว่านักเรี ยนมีความพึงพอใจในการเรี ยนด้ วยชุดทดลองนี ้อยู่ในระดับมาก

45
สาขาศึกษาศาสตร์ การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53

สรุป
จากการวิจยั เรื่ องการพัฒนาชุดทดลองไข่ เพื่อใช้ เป็ นสื่อในการจัดการเรี ยนการสอน เรื่ องการลาเลียงสาร
ผ่านเซลล์ วิชาชีววิทยา สาหรับนักเรี ยนชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 4 สรุ ปผลได้ ดงั นี ้
1. ชุดทดลองไข่ ที่พฒ ั นาขึ ้นเพื่อใช้ เป็ นสื่อในการจัดการเรี ยนการสอน เรื่ องการลาเลียงสารผ่านเซลล์มี
ประสิทธิภาพเท่ากับ 90.00/80.50
2. ดัชนีประสิทธิผลของชุดทดลองไข่ มีคา่ เท่ากับ 0.68
3. การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนรู้ ก่อนและหลังเรี ยน มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ
0.05
4. นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการเรี ยนด้ วยชุดทดลองไข่อยู่ในระดับดีมาก

เอกสารอ้ างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. 2556. หนังสือรายวิชาพืน้ ฐานชีววิทยา กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ สาหรั บ
นักเรี ยนที่เน้ นวิทยาศาสตร์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 4. โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้ าว 2249 ถนนลาดพร้ าว
วังทองหลาง: องค์การค้ าของ สกสค. กรุ งเทพฯ.
ธีระยุทธ์ เพลิดพริ ง้ . 2551. การสร้ างชุดการสอนฟิ สิกส์ 1 เรื่ อง การหาความเร็วเสียงด้ วยวิธีเรโซแนนซ์ .
มทร.พระนคร. (5) (พิเศษ): 197-2.
ทิศนา เขมมณี. 2556. ศาสตร์ การสอนองค์ ความรู้ เพื่อการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ท่ มี ีประสิทธิภาพ. พิมพ์
ครัง้ ที่ 17. บริ ษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จากัด: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุ งเทพฯ.
บงกช บุญเจริ ญ. 2551. การศึกษาผลของการใช้ ์ ชุดการสอน Amazing Word ของนักเรี ยนชัน้
ส ร
ต หลุยส์ ฉะเชิงเทรา. โรงเรียนเซนต์หลุยส์, ฉะเชิงเทรา.
ประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนเซนต์ า
ภาณุพงศ์ พนมวัน. 2554. สถิตกิษารศึ ตรศกษาของประเทศไทย ปี การศึกษา 2554. สานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา กระทรวงศึ ล ย
ั เกษาธิการ

ว ท
ิ ยา
รัตนาภรณ์ กาลังดี. ห2551. า การพัฒนาชุดการสอน เรื่องการลาเลียงสารในสัตว์ วิชาชีววิทยา ระดับชัน้
มัธยมศึ

ัล กษาปี ที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ิ ท

รู้ด 2549. การพัฒนาชุดการสอน เรื่องโครงสร้ างและหน้ าที่ของพืชดอก ของนักเรียนชัน้
สิธรา สุาวมรรณแสง.

ั คว มัธยมศึกษาปี ที่ 5. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
คล
อมราภรณ์ นาสมยนต์. 2549. การพัฒนาชุดสื่อการสอน เรื่ องการขับถ่ ายปั สสาวะของคน ชัน้
มัธยมศึกษาปี ที่ 4. การศึกษาค้ นคว้ าอิสระ กศ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Oshinaki. 2012. Use of Multimedia for Teaching in Nigerian University System: A case study of
University of Ibadan. Library Philosophy and Practice 5: 682.
Piaget, J. 1972. Intellectual evolution for adolescence to adulthood. Human Development, 19:
1-12.
Roger G. Christianson and Kathleen M. Fisher. 1991. Comparison of student learning about
diffusion and osmosis in constructivist and traditional classroom. International Journal of
Science Education. 21: 687-698.

46

You might also like