You are on page 1of 15

ชื่อเรื่องสารนิพนธ์ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อ

วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ สำหรับนักเรียน


ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยการอาชีพกระนวน โดยใช้
เทคนิค การสอนแบบ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
STAD
ชื่อเทคนิคการสอน แบบ 5 ขั้น ชื่อเทคนิคการสอน แบบร่วมมือ
(5E) STAD
ชื่องานวิจัยรองรับ ชื่องานวิจัยรองรับ
ผู้วิจัย 1.ธนภัทร นิลศรี ผู้วิจัย 1.ประภาพันธ์ บุญยัง
2.ภานุวัฒน์ ศรีไชยเลิศ 2.สพลณภัทร์ ศรีแสนยงค์
ปี ที่วิจัย ( ปี 2563) 3.สมสิริ สิงห์ลพ
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาบทเรียน ปี ที่วิจัย ( ปี 2557)
ออนไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาชุด
ระบบนิเวศ สำหรับนักเรียนชั้น กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องระบบ
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนถาวรา นิเวศ สำหรับนักเรียนชั้น
นุกุล จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้การเรียน
วิธีการสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ รู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD
5 ขั้น (5E) วัตถุประสงค์ของการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพ
1.พัฒนาบทเรียนออนไลน์ วิชา ของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง
วิทยาศาสตร์ เรื่องระบบนิเทศ ระบบนิเวศ สำหรับนักเรียนชั้น
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยการเรียนรู้
3 โรงเรียนถาวรานุกูล จังหวัด แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ให้
สมุทรสงครามโดยใช้วิธีการสอน มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์
แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) มาตรฐาน 80/80
ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
มาตรฐาน 80/80 ทางการเรียน เรื่องระบบนิเวศและ
2. เปรียบเทียบผลผลสัมฤทธิ์ ทักษะกระบวนการทาง
ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชา วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ก่อนเรียนและหลังเรียนที่ใช้ชุด
เรื่องระบบนิเวศ ที่พัฒนามากขึ้น กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
3. ศึกษาความพึงพอใจของ ด้วยเทคนิค STAD
นักเรียนต่อการเรียนด้วยบทเรียน 3. เพื่อศึกษาเจตคติทาง
ออนไลน์ วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา วิทยาศาสตร์ เรื่องระบบนิเวศ
ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ ที่ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
พัฒนามากขึ้น 3 ที่ใช้ชุด
ผลการวิจัย กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
1. ผลการพัฒนาและหา ด้วยเทคนิค STAD
ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ ผลการวิจัย
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องระบบนิเวค 1.การจัดกิจกรรมการสอนด้วยวิธี
สำหรับชั้นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา แบบกลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค
ปี ที่ 3 โรงเรียนถาวรานุกูล จังหวัด STAD ในแต่ละบทเรียนนั้น
สมุทรสงคราม โดยวิธีการสอน นักเรียนแต่ละกลุ่มจะได้ฝึ กฝน
แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น(5E) ทักษะเพื่อให้เกิด
โดยใช้เกณฑ์ 80/80 ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ด้วยการ
พบว่า บทเรียนออนไลน์มี ทำใบงาน การตรวจคำตอบ ทำให้
ประสิทธิภาพเท่ากับ 80. นักเรียนเห็นถึงความก้าวหน้าของ
10/80.00 ซึ่งเป็ นไปตามเกณฑ์ ตนเองและกลุ่มอย่างชัดเจน
มาตรฐานที่กำหนดไว้ รวดเร็ว นับว่าเป็ นการเสริมแรง
2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ทางบวกที่ทำให้เกิดความ
วิทยาศาสตร์ เรื่องระบบนิเวศ หลัง กระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น
เรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ออนไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง วิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียน
ระบบนิเวศ สำหรับชั้นนักเรียนชั้น ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนถาวรา ระบบนิเวศ สำหรับนักเรียนชั้น
นุกูล จังหวัดสมุทรสงคราม โดยวิธี มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้การเรียน
การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 รู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD
ขั้น(5E) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
ระดับ .05 นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3.นักเรียนที่เรียนด้วย บทเรียน
ออนไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง
ระบบนิเวศ สำหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนถาวรา
นุกูล จังหวัดสมุทรสงคราม โดยใช้
วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
5 ชั้น(5E มีความพึงพอใจ ใน
ระดับมาก
ผู้วิจัย นาวินทร์ ประดิษฐ์ธานี ผู้วิจัย วรลักษณ์ เอียดรอด
ปี ที่วิจัย ( ปี 2558) ปี ที่วิจัย ( ปี 2561)
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผล ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์
สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ทางการเรียนและเจตคติต่อ
วิทยาศาสตร์ เรื่องระบบนิเวศที่ได้ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น
รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักร มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้ชุด
การเรียนรู้ 5E ร่วมกับกลวิธีการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียน
ระบบความคิดโดยใช้แผนผังกับ แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง
การจัดการเรียนรู้แบบปกติของ ระบบนิเวศ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
โรงเรียนมัธยมบ้านบางกะปิ 1. เพื่อสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ของการวิจัย ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ STAD เรื่อง ระบบ
ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง นิเวศสําหรับนักเรียน ชั้น
ระบบนิเวศที่ได้รับการจัดการเรียน มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ให้มี
รู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5E ร่วม ประสิทธิภาพตามเกณฑ์75/ 75
กับกลวิธีการจัดระบบความคิดโดย 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการ
ใช้แผนผัง กับการจัดการเรียนรู้ เรียนของนักเรียนที่ใช้ชุดกิจกรรม
แบบปกติของนักเรียนชั้น การเรียนรู้ด้วย
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนมัธยม การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
บ้านบางกะปิ STAD เรื่อง ระบบนิเวศ
ผลการวิจัย 3. เพื่อศึกษาระดับเจตคติต่อ
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ใช้ชุด
วิทยาศาสตร์ เรื่องระบบนิเวศที่ได้ กิจกรรมการเรียนรู้ด้วย
รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักร การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
การเรียนรู้ 5E ร่วมกับกลวิธีการจัด STAD เรื่อง ระบบนิเวศ
ระบบความคิดโดยใช้แผนผัง กับ ผลการวิจัย
การจัดการเรียนรู้แบบปกติ 1. การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้
แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทาง ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
สถิติที่ระดับ ่0.05 โดยกลุ่มที่เรียน STAD เรื่อง ระบบ
โดยใช้การเรียนจัดการเรียนรู้แบบ นิเวศ สําหรับนักเรียนชั้น
วัฏจักรการเรียนรู้ 5E ร่วมกับ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีประสิทธิภาพ
กลวิธีการจัดระบบความคิดโดยใช้ (E1/ E2) เป็ น 78.26/ 77.96
แผนผังมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวากลุ่มที่ 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้
ปกติ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
STAD เรื่อง ระบบนิเวศ สําหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดย
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่ผู้วิจัย
สนใจศึกษาประกอบด้วยองค์
ประกอบ 3 ด้าน โดยองค์ประกอบ
หลักคือด้านความรู้ พบวานักเรียน
มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ

.05 นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยอยูใน
ระดับดี
3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนโดยใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
STAD เรื่อง ระบบนิเวศหลังเรียน
กบเกณฑ์ร้อยละ 70 พบว่า
สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อยางมีนัย
สําคัญที่ระดับ .05 ซึ่งเป็ นไปตาม
สมมติฐานที่ตั้งไว้ คิดเป็ น
ร้อยละ 77.77 ของจํานวนนักเรียน
ทั้งหมด
4. ผลการศึกษาเจตคติต่อ
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ผู้วิจัย
ได้ทําการศึกษาเพิ่มเติมหลัง ่
การเรียนโดยชุดกิจกรรมการเรียน
รู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
STAD เรื่อง ระบบนิเวศ
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
3 เทียบกบเกณฑ์จัดอยู่ในเกณฑ์
ระดับดี
ผู้วิจัย รุจรา ธัญญานนท์ ผู้วิจัย 1.ภริตา ตันเจริญ
ปี ที่วิจัย ( ปี 2558) 2.นพมณี เชื้อวัชรินทร์
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ 3.สมศริ สิงห์ลพ
ทางการเรียนและความสามารถ 4.เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
ด้านการคิดวิเคราะห์เรื่อง ระบบ ปี ที่วิจัย ( ปี 2561)
นิเวศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์
ปี ที่ 4 โดยใช้ชุดกิจกรรม ทางการเรียนและเจตคติต่อ
การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น
5E เป็ นฐาน มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้ชุด
วัตถุประสงค์ของการวิจัย กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียน
1. ศึกษาประสิทธิภาพและ แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง
ประสิทธิผลของชุดกิจกรรมการ ระบบนิเวศ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เป็ นฐาน เรื่องระบบนิเวศของ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โดย ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อ
เทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 พัฒนาทักษะชีวิตเรื่องระบบนิเวศ
และ 0.5 ตามล่าดับ ระหว่างก่อนและหลังการใช้
2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ
เรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง เทคนิค STAD
ระบบนิเวศของนักเรียน 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่เรียนโดยใช้ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะ พัฒนาทักษะชีวิตเรื่องระบบนิเวศ
หาความรู้ 5E เป็ นฐาน หลังการใช้กิจกรรมการเรียนแบบ
3. เปรียบเทียบความสามารถด้าน ร่วมมือเทคนิค STAD กับเกณฑ์
การคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนและหลัง ร้อยละ 70
เรียนเรื่องระบบนิเวศ 3. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชา
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
ที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียน เรื่องระบบนิเวศ ระหว่างก่อนและ
รู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E เป็ น หลังการใช้กิจกรรมการเรียนแบบ
ฐาน ร่วมมือเทคนิค STAD
4. ศึกษาความก้าวหน้าทางการ 4. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อวิซา
เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
และด้านความสามารถด้านการคิด เรื่องระบบนิเวศ หลังการใช้
วิเคราะห์ เรื่องระบบนิเวศของ กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ เทคนิค STAD กับเกณฑ์ร้อยละ
เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการ 70
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E ผลการวิจัย
เป็ นฐาน ผลการวิจัย 1. นักเรียนระตับประกาศนียบัตร
1.คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาชีพ สาขาวิซาช่างไฟฟ้ ากำลังที่
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี เรียนวิซาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ ด้วย
ทั้งรายชั้น รายบุคคลและราย การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วม
เนื้อหา โดยคะแนนก่อนเรียนและ มือเทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์หลัง
หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัย
เท่ากับร้อยละ 22.56 (ระดับไม่ สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็ นไป
ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ) และ 83.89 ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ข้อที่ 1
(ระดับดีเยี่ยม) 2. นักเรียนระดับประกาศนียบัตร
2.นักเรียนทั้งชั้นมีความก้าวหน้า วิชาชีพ สาขาวิซาช่างไฟฟ้ ากำลัง
ทางการเรียนด้านผลสัมฤทธิ์ ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
ทางการเรียนอยู่ในระดับสูง ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ ด้วย
(0.79) หากพิจารณาค่าความ การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วม
ก้าวหน้าทางการเรียนตามเกณฑ์ มือเทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์
มาตรฐาน (0.5) พบว่า ค่าความ ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่า
ก้าวหน้า เกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญ
ทางการเรียนด้านผลสัมฤทธิ์ ทางสถิติที่ระดับ 05 ซึ่งเป็ นไปตาม
ทางการเรียนทุกรายเนื้อหาสูงกว่า สมมติฐานที่ตั้งไว้ข้อที่ 2
เกณฑ์มาตรฐาน โดยทุกเนื้อหามี 3. นักเรียนระดับประกาศนียบัตร
ความก้าวหน้าทางการเรียนอยู่ใน วิชาชีพ สาขาวิซาซ่างไฟฟ้ ากำลัง
ระดับสูง แสดงให้เห็นว่ากิจกรรม ที่เรียนวิซาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
การเรียนรู้ เรื่องระบบนิเวศ ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ ด้วย
สามารถทำให้นักเรียนมีความ การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วม
ก้าวหน้าทางการเรียนด้านผล มือเทคนิค STAD มีเจตคติต่อวิชา
สัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับสูง วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
เรื่องระบบนิเวศ หลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็ นไปตาม
สมมติฐานที่ตั้งไว้ข้อที่ 3
4. นักเรียนระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ ากำลัง
ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ ด้วย
การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วม
มือเทคนิค STAD มีเจตคติต่อวิซา
วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
เรื่องระบบนิเวศ หลังเรียนสูงกว่า
เกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 70 อย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ง
เป็ นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ข้อที่
4

ผู้วิจัย 1.ชนิดาภา ยาประกัลป์ ผู้วิจัย ภริตา ตันเจริญ


2.เจริญวิทย์ สมพงษ์ธรรม ปี ที่วิจัย ( ปี 2561)
3.ศิริพร อยู่ประเสริฐ์ ชื่อเรื่องวิจัย ผลการใช้กิจกรรม
ปี ที่วิจัย ( ปี 2562) การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการ STAD เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
เรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทางการเรียนและเจตคติต่อการ
ระบบนิเวศชุดการถ่ายทอด เรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
พลังงานในระบบนิเวศชั้น ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 สํานักงานเขต สำหรับนักเรียนระดับ
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
29 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบ วัตถุประสงค์ของการวิจัย
5E 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
วัตถุประสงค์ของการวิจัย ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อ
1. เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้โดยใช้ พัฒนาทักษะชีวิตเรื่อง
การจัดการเรียนรู้แบบ 5E กลุ่ม ระบบนิเวศ ระหว่างก่อนและหลัง
สาระวิทยาศาสตร์ เรื่องระบบ การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วม
นิเวศ ชุดการถ่ายทอดพลังงานใน มือเทคนิค STAD
ระบบนิเวศ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
โรงเรียนบุณฑริกวิทยาคาร ในด้าน ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและด้าน พัฒนาทักษะชีวิตเรื่อง
ความพึงพอใจเพื่อศึกษา ระบบนิเวศ หลังการใช้กิจกรรม
2.เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน STAD กับเกณฑ์ละ 70
เรียนและหลังเรียนโดยใช้ การ 3. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติต่อวิชา
จัดการเรียนรู้แบบ 5E ของ วิทยาศาสตร์พัฒนาทักษะชีวิต
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เรื่องระบบนิเวศ
โรงเรียนบุณฑริกวิทยาคาร ระหว่างก่อนและหลังการใช้
ผลการวิจัย กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ
ผลการวิจัยพบว่าการวิเคราะห์ผล เทคนิค STAD
การเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้ 4. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติตอวิชา
แบบ 5E กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
เรื่องระบบนิเวศชุดการถ่ายทอด เรื่องระบบนิเวศ ่
พลังงานในระบบนิเวศชั้น หลังการใช้กิจกรรมการเรียนแบบ
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ด้านผลสัมฤทธิ์ ร่วมมือเทคนิค STAD กับเกณฑ์
ทางการเรียนและด้านความพึง ละ 70
พอใจพบว่า ผลการวิจัย
1.ผลการเรียนรู้โดยใช้การจัดการ 1.นักเรียนระดับประกาศนียบัตร
เรียนรู้แบบ 5E กลุ่มสาระ วิชาชีพ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ ากำลัง
วิทยาศาสตร์ เรื่องระบบนิเวศชุด ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
การถ่ายทอดพลังงานในระบบ ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ ด้วย
นิเวศชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ด้านผล การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วม
สัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่า ผล มือเทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์หลัง
สัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัย
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
อยู่ในระดับพอใช้ ส่วนผลสัมฤทธิ์ 2. นักเรียนระดับประกาศนียบัตร
ทางการเรียนหลังเรียนนักเรียนมี วิชาชีพ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ ากำลัง
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ใน ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
ระดับดีมาก ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ ด้วย
2.ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจ การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วม
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3 มือเทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์
หลังการจัดการเรียนรู้แบบ ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่า
5E กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่อง เกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญ
ระบบนิเวศชุดการถ่ายทอด ทางสถิติที่ระดับ .05
พลังงานในระบบนิเวศ โดยรวมพบ
ว่า นักเรียนมี
ความพึงพอใจในระดับมาก 3. นักเรียนระดับประกาศนียบัตร
วัตถุประสงค์ที่ 2 ผลการวิจัยพบ วิชาชีพ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ ากำลัง
ว่าการวิเคราะห์เปรียบเทียบผล ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
การเรียนรู้ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการ ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ ด้วย
เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดย การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วม
ใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5E กลุ่ม มือเทคนิค STAD มีเจตคติต่อวิชา
สาระวิทยาศาสตร์ เรื่องระบบ วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
นิเวศชุดการถ่ายทอดพลังงานใน เรื่องระบบนิเวศ หลังเรียนสูงกว่า
ระบบนิเวศชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทาง
3 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ระดับ 05
ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดย 4. นักเรียนระดับประกาศนียบัตร
ใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5E แตก วิชาชีพ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ ากำลัง
ต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา
ระดับ .01 ทักษะชีวิต เรื่องระบบนิเวศ ด้วย
การใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วม
มือเทคนิค STAD มีเจตคติต่อวิชา
วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
เรื่องระบบนิเวศ หลังเรียนสูงกว่า
เกณฑ์ที่กำหน f ร้อยละ 70 อย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผู้วิจัย จำนง จุลพรหม ผู้วิจัย 1.วรลักษณ์ เอียดรอด
ปี ที่วิจัย ( ปี 2557) 2.กิตติมา พันธ์พฤกษา
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนากิจกรรม 3.นพมณี เชื้อวัชรินทร์
การเรียนรู้แบบ 5E โดยใช้เกม ปี ที่วิจัย ( ปี 2559)
ประกอบการสอน เรื่อง ระบบ ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลสัมฤทธิ์
นิเวศวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ทางการเรียนและเจตคติต่อ
สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น
3 มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้ชุด
วัตถุประสงค์ของการวิจัย กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียน
1. เพื่อสร้าง และหาประสิทธิภาพ แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง
ของกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5E ระบบนิเวศ
โดยใช้กมประกอบการสอน เรื่อง วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ระบบนิเวศ วิชาวิทยาศาสตร์พื้น 1.เพื่อสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ฐาน สำหรับนักเรียนชั้น ด้วยการเรียนแบบร่วมมือเทคนิค
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ตามเกณฑ์ STAD เรื่อง ระบบนิเวศสําหรับ
80/80 2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ให้มี
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75
ทางการเรียนของนักเรียนระหว่าง 2.เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน และหลังเรียนด้วยกิจกรรม เรียนของนักเรียนที่ใช้ชุดกิจกรรม
การเรียนรู้แบบ 5E โดยใช้เกม การเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วม
ประกอบการ สอนเรื่องระบบนิเวศ มือเทคนิค STAD เรื่อง ระบบ
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน สำหรับ นิเวศ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 3.เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิทยาศาสตร์
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ ของนักเรียนที่ใช้ชุดกิจกรรมการ
นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการ เรียนรู้ด้วยการเรียนแบบร่วมมือ
เรียนรู้แบบ 5E โดยใช้เกม เทคนิค STAD เรื่อง ระบบนิเวศ
ประกอบการสอน เรื่องระบบนิเวศ ผลการวิจัย
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน สำหรับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 นักเรียนหลังเรียนโดยใช้ชุด
ผลการวิจัย กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการเรียน
1. กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5E โดย แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง
ใช้เกมประกอบการสอน เรื่อง ระบบนิเวศ สูงกว่าก่อนเรียนและ
ระบบนิเวศ วิชา สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัย
วิทยาศาสตร์ พื้นฐาน สำหรับ สําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มี เจตคติต่อวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับ
กระบวนการเรียนรู้ตาม 5 ขั้นตอน ดี
และใช้เกมในการประกอบการ
เรียนการสอน มีประสิทธิภาพ
85.83/82.50 เป็ นไปตามเกณฑ์
ที่กำหนดไว้
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนระหว่างก่อนเรียน และ
หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้
แบบ 5E โดยใช้เกมประกอบการ
สอน เรื่อง ระบบนิเวศ วิชา
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 สูง
กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ .01
3. ความพึงพอใจของนักเรียนหลัง
เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
5E โดยใช้เกมประกอบการสอน
เรื่อง ระบบนิเวศ วิชาวิทยาศาสตร์
พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยภาพรวมมี
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก

นางสาวกมลมาศ ฝ้ ายป่ าน ห้อง 8/4 เลขที่


21

You might also like