You are on page 1of 11

การขอเก็บข้อมูลเพื่อการวิจัยในหน่วยงานสังกัดกรมพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน

1. คานิยาม การขออนุญาตเก็บข้อมูล หมายถึง การที่บุคคล/หน่วยงาน ที่ดาเนินการศึกษาวิจัย ได้ขออนุญาต


มายังกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เพื่อขออนุญาตเข้าเก็บข้อมูลกับเด็ก เยาวชน และเจ้ าหน้าที่ ในหน่วยงาน
สังกัดกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
2. หลักเกณฑ์
1. ต้องคานึงถึงสิทธิประโยชน์ของเด็กและเยาวชนเป็นสาคัญ
2. ไม่ลิดรอนสิทธิของผู้ปฏิบัติงาน
3. กิจกรรมที่จะดาเนินการต้องมีลักษณะ ดังนี้ ไม่กระทาย่ายี ไม่ลิดรอนสิทธิ์ ไม่เลือกปฏิบัติ
และไม่กระทบ/ขัดขวางช่วงเวลาการบาบัดแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชน
3. ขั้นตอนและระยะเวลา
3.1 ผู้วิจัยเตรียมเอกสาร ตามเอกสาร วพ.1 เอกสารประกอบการพิจารณาขออนุญาตเก็บข้อมูลกับเด็ก
เยาวชน และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ให้ครบถ้วนและทาหนังสือ
ขออนุญาตจากมหาวิทยาลัย/หน่วยงานต้นสังกัด จัดส่งมายังอธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยาวชน
เอกสารประกอบการพิจารณาขออนุญาตเก็บข้อมูลกับเด็ก เยาวชน และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน (วพ.1) ประกอบด้วย
3.1.1 หนังสือขออนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย/หน่วยงานต้นสังกัด ถึงอธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก
และเยาวชน จานวน 1 ฉบับ
3.1.2 โครงร่างงานวิจัยบทที่ 1 – 3 จานวน 1 ฉบับ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. ชื่อโครงการเป็นภาษาไทยที่กะทัดรัด และสื่อความหมายได้ดี ถ้ามีชื่อโครงการเป็นภาษาอังกฤษ
ต้องมีความหมายตรงกับชื่อโครงการภาษาไทย
2. ชื่อและที่ทางานของผู้วิจัย
3. บทนา ให้ระบุรายละเอียดต่อไปนี้
- ความเป็นมา
- เหตุผลและความจาเป็นที่ต้องวิจัย
- ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย
4. วัตถุประสงค์
5. แนวคิดหรือทฤษฎีที่นามาใช้ในการวิจัย (สรุปย่อ)
6. กรอบแนวคิดการวิจัย
7. ระบุสถานทีศ่ ึกษาวิจัยและระยะเวลาศึกษาวิจัย
8. วิธีการดาเนินการวิจัย
- กลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา (Population and Sample)
- เกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมวิจัย (Inclusion Criteria)
- เกณฑ์การแยกกลุ่มตัวอย่างออกจากการวิจัย (Exclusion Criteria)
- ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย การควบคุมการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลและ
การวิเคราะห์ข้อมูล

9 ข้อพิจารณา....
-2-

9. ข้อพิจารณาด้านจริยธรรม ให้มีเนื้อหาและเอกสารดังนี้
- ระบุความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและการปูองกันแก้ไข
- ระบุการตอบแทน ชดเชย การดูแลรักษา และแก้ไขปัญหาอื่นๆ กรณีเกิดผล
แทรกซ้อนแก่ผู้วิจัย
- ระบุประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวกับด้านจริยธรรม
- เอกสารคาแนะนาหรือแจ้งข้อมูลแก่ผู้วิจัยหรืออนุญาต (Subject information sheet)
- ใบยินยอมให้ทาการวิจัยของกลุ่มตัวอย่าง (Inform Consent Form)
10. เอกสารอ้างอิง
11. ประวัติผู้วิจัย (ทุกคน)
3.1.3 เครื่ องมือในการวิจัย เช่น แบบสอบถาม แบบสั มภาษณ์ โปรแกรม/รูปแบบการจัดกิจกรรม
(อย่างละ 1 ฉบับ)
3.1.4 หนังสือรับรองการผ่านคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยของสถาบัน/หน่วยงานต้นสังกัด
3.1.5 หนังสือรับทราบข้อปฏิบัติในการเก็บข้อมูลในหน่วยงานกรมพินิจฯ (วพ.3)
**หมายเหตุ เอกสารจะต้องครบทุกรายการ กรมพินิจฯ ถึงจะดาเนินการพิจารณาตามขั้นตอนต่อไป
3.2 เมื่อกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ได้รับ หนังสือและเอกสารแล้ว สถาบันวิจัยและพัฒนา
ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร วพ.1 ภายใน 3 วันทาการ หากเอกสารครบถ้วน จะดาเนินการจัดส่งเอกสาร
ให้กับคณะกรรมการเพื่อพิจารณา หากตรวจสอบแล้วพบว่าเอกสารไม่ครบถ้วน สถาบันวิจัยและพัฒนาจะแจ้งให้
ผู้วิจัยทราบ ภายใน 3 วัน ทาการ เพื่อจัดส่งเอกสารมาให้ครบถ้วน
3.3 คณะกรรมการพิจารณางานวิจัยเฉพาะด้านพิจารณางานวิจัยที่ขออนุญาตเก็บข้อมูลกับเด็ก เยาวชน
และเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์แบบ วพ.2 ภายใน 7 วันทาการ นับจากวันที่คณะกรรมการ ได้รับหนังสือขอความ
อนุเคราะห์ พิจารณาแบบการพิจารณางานวิจัย/วิทยานิพนธ์ ที่ขอเก็บข้อมูลในหน่วยงานกรมพินิจฯ
ตามหลักเกณฑ์การพิจารณางานวิจัย/วิทยานิพนธ์ที่ขอเก็บข้อมูลในหน่วยงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยาวชน (วพ.2) ประกอบด้วย
 การพิทักษ์และคุ้มครองเด็ก เยาวชน และเจ้าหน้าที่
วิธีการเก็บข้อมูล และข้อคาถาม ต้องไม่ส่งผลกระทบต่อกลุ่มตัวอย่างทั้งทางร่างกายและจิตใจ (เด็ก
เยาวชน เจ้าหน้าที่)
วิธีการเก็บข้อมูล กับกลุ่มตัวอย่างต้องระบุถึงการเยียวยา กรณีเมื่อเกิดปัญหาระหว่างการเก็บข้อมูล
วิธีการเก็บข้อมูล ต้องระบุวิธีรักษาความลับของข้อมูลสาหรับกลุ่มตัวอย่าง
มีการชี้แจงรายละเอียดของการวิจัย วัตถุประสงค์และชี้แจงสิทธิในการเข้าร่วมการวิจัยแก่กลุ่มตัวอย่าง
 คุณค่าของงานวิจัยที่เกิดขึ้นต่อกรมพินิจฯ
การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ เป็นประโยชน์ต่อเด็ก เยาวชน และเจ้าหน้าที่ และเป็นประโยชน์ต่อกรมพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยาวชน
การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ ต้องไม่มีความซ้าซ้อน
การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ ตรงตามความต้องการของกรมพินิจฯ/สอดคล้องกับนโยบายของกรมพินิจฯ
(ทั้งนี้ให้พิจารณาแผนการปฏิบัติงานของกรมพินิจฯ ร่วมด้วย)

คุณค่าของ...
-3-

 คุณค่าของงานวิจัยที่เกิดขึ้นต่องานวิชาการ
การศึ ก ษาวิ จั ย /วิ ท ยานิ พ นธ์ มี ค วามถู ก ต้ อ งและน่ า เชื่ อ ถื อ ตามหลั ก วิ ช าการ (โดยพิ จ ารณาจาก
ความเป็นเหตุและผลของการศึกษาวิจัย รวมทั้งทาการศึกษาวิจัยตามจรรยาบรรณของนักวิจัย
การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ มีประโยชน์ต่องานด้านวิชาการ (การใช้ประโยชน์ของงานวิจัยด้านวิชาการ
พิจารณาถึงประโยชน์ในวงกว้างต่อสังคมของการศึกษาวิจัยในเรื่องนั้น ๆ อาจหมายถึงการนาข้อสรุปที่เกิดขึ้นไปสู่
การปฏิบัติ หรือการนาข้อสรุปไปต่อยอดในเชิงวิชาการ)
3.4 คณะกรรมการพิจารณางานวิจัย ดาเนินการพิจารณาสรุปผลการพิจารณางานวิจัยที่ ขออนุญาตเก็บ
ข้อมูลกับเด็ก เยาวชน และเจ้าหน้าที่ และให้ข้อเสนอแนะในการดาเนินการของผู้วิจัย (ถ้ามี) ภายใน 7 วันทาการ
ภายหลังการพิจารณา พบว่า
1. งานวิจัยตรงตามคุณสมบัติหรือมีคุณภาพตามที่กรมพินิจฯ กาหนด ทางสถาบันวิจัยและพัฒนาจะแจ้ง
ให้ผู้วิจัยทราบภายใน 3 วันทาการ นับจากวันที่คณะกรรมการพิจารณางานวิจัยแล้วเสร็จ และทาหนังสือแจ้งไปยัง
มหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานต้นสังกัด พร้อมทั้งหน่วยงานในสังกัดกรมพินิจฯ ที่ผู้วิจัยจะเข้าเก็บข้อมูล โดยหลังจาก
ผู้วิจัยได้รับหนังสืออนุญาตเข้าเก็บข้อมูลจากกรมพินิจฯ ให้ผู้วิจัยประสานยังหน่วยงานที่จะเข้าเก็บข้อมูลด้วยตนเอง
เพื่อประสานวัน เวลา ในการเข้าเก็บข้อมูล
2. งานวิจัยไม่มีคุณสมบัติหรือคุณภาพตามที่กรมพินิจฯ กาหนด ทางสถาบันวิจัยและพัฒนาจะแจ้งให้
ผู้วิจัยทราบภายใน 3 วันทาการ นับจากวันที่คณะกรรมการพิจารณางานวิจัยแล้วเสร็จ เพื่อให้ผู้วิจัยดาเนินการ
แก้ไข และหากมีการแก้ไขเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้จัดส่งมายังสถาบันวิจัยและพัฒนา เพื่อให้คณะกรรมการพิจารณา
งานวิจัยพิจารณาอีกครั้ง
กรณีที่ 1 หากตรงตามคุณสมบัติหรือคุณภาพตามที่กรมพินิจฯ กาหนด ให้ดาเนินการตามข้อ 1
กรณีที่ 2 หากพบว่างานวิจัยไม่มี คุณสมบัติหรือคุณภาพตามที่กรมพินิจฯ กาหนด หรือไม่แก้ไขตามที่
กาหนด กรมพินิจฯ จะไม่ พิจารณาอนุ ญาตให้เข้าเก็บข้อมูล และแจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ภายใน 3 วัน ทาการ
นับจากวันที่ได้รับเอกสารแก้ไข
4. ผู้วิจัยดาเนินการเข้าเก็บข้อมูลในหน่วยงาน ตามวัน เวลา ที่ได้ประสานกับหน่วยงานที่เข้าเก็บข้อมูล
โดยให้ปฏิบัติตามเอกสาร วพ.3 หากเป็นการเก็บข้อมูลกับเด็กและเยาวชน ใช้หนังสือรับทราบข้อปฏิบัติในการเก็บ
ข้อมูลกับเด็กและเยาวชน ในหน่วยงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน วพ.3 (ด/ย) หากเป็นการเก็บข้อมูล
กับเจ้าหน้าที่ ใช้หนังสือรับทราบข้อปฏิบัติในการเก็บข้อมูลกับเจ้าหน้าที่ ในหน่วยงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยาวชน) วพ.3 (จนท.)
5. เมื่อดาเนินการศึกษาวิจัยเสร็จสิ้นแล้ว ขอให้ส่งผลงานวิจัยให้กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
จานวน 1 เล่ม พร้อมกับ CD จานวน 1 แผ่น ภายใน 15 วัน หลังการวิจัยแล้วเสร็จ
4. อานาจหน้าทีใ่ นการพิจารณา
อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นผู้เสนอความเห็น
ติดต่อสอบถามได้ที่ E-mail : djopthailand@gmail.com โทร. 02 141 6519

5.แผนผัง....
-4-

5. แผนผังกระบวนงาน
ผู้วิจัย
- เตรียมเอกสารประกอบการขออนุญาต (ตามเอกสาร วพ. 1 )
- ทาหนังสือขออนุญาตเก็บข้อมูลจากทางมหาวิทยาลัย/หน่วยงานต้นสังกัด ถึงอธิบดีกรมพินิจ

สถาบันวิจยั และพัฒนา
พิจารณาความครบถ้วนของเอกสาร
วพ. 1 ภายใน 3 วันทาการ

ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน

สถาบันวิจัยและพัฒนา กลั่นกรองงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา แจ้งให้ผู้วิจัยทราบ ภายใน


เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการฯ 3 วัน ทาการ และให้จัดส่งเอกสารมาให้ครบถ้วน

คณะกรรมการพิจารณางานวิจัยเฉพาะด้าน พิจารณา
ประเมินความเหมาะสมของงานวิจยั ภายใน 7 วันทาการ

คณะกรรมการพิจารณางานวิจยั
สรุปผลและให้ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)
ภายใน 7 วันทาการ

เหมาะสม ไม่เหมาะสม

สถาบันวิจัยและพัฒนา แจ้งให้ผู้วิจัยแก้ไข
ภายใน 3 วันทาการ

สถาบันวิจัยและพัฒนา แจ้งให้ผู้วิจัย ผู้วิจัยไม่แก้ไข ผู้วิจัยแก้ไข


ทราบ ภายใน 3 วันทาการ

ผู้วิจัยดาเนินการเก็บข้อมูลในหน่วยงาน ไม่อนุญาตให้เข้าเก็บข้อมูลในหน่วยงานและ
แจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ภายใน 3 วันทาการ

ผู้วิจัยจัดส่งผลงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์
ให้กรมพินิจฯ พร้อม CD ภายใน 15 วัน
วพ.1
เอกสารประกอบการพิจารณาขออนุญาตเก็บข้อมูลกับเด็ก เยาวชน
และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
เอกสาร มี ไม่มี
1. หนังสือขออนุญาตจากทางมหาวิทยาลัย/หน่วยงานต้นสังกัด ถึงอธิบดีกรมพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยาวชน..............................................................................
2. โครงร่างงานวิจัยบทที่ 1 – 3 จานวน 1 ฉบับ
2.1 ชื่อโครงการเป็นภาษาไทยที่กะทัดรัด และสื่อความหมายได้ดี ถ้ามีชื่อ
โครงการเป็นภาษาอังกฤษต้องมีความหมายตรงกับชื่อโครงการภาษาไทย...........
2.2 ชื่อและที่ทางานของผู้วิจัย............................................................................
2.3 บทนา ให้ระบุรายละเอียดต่อไปนี้
- ความเป็นมา.................................................................................................
- เหตุผลและความจาเป็นที่ต้องวิจัย...............................................................
- ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย..................................................................
2.4 วัตถุประสงค์……………………………………………………………………..……….........
2.5 แนวคิดหรือทฤษฎีที่นามาใช้ในการวิจัย (สรุปย่อ)........................................
2.6 กรอบแนวคิดการวิจัย...................................................................................
2.7 ระบุสถานที่ศึกษาวิจัยและระยะเวลาศึกษาวิจัย...........................................
2.8 วิธีการดาเนินการวิจัย
- กลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา (Population and Sample)......
- เกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมวิจัย (Inclusion Criteria)..............
- เกณฑ์การแยกกลุม่ ตัวอย่างออกจากการวิจัย (Exclusion Criteria)…………
- ขั้นตอนการดาเนินการวิจัย การควบคุมการวิจยั การเก็บรวบรวมข้อมูล
และการวิเคราะห์ข้อมูล.......................................................................................................
2.9 ข้อพิจารณาด้านจริยธรรม ให้มเี นื้อหาและเอกสารดังนี้
- ระบุความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นและการปูองกันแก้ไข.........................................
- ระบุการตอบแทน ชดเชย การดูแลรักษา และแก้ไขปัญหาอื่นๆ กรณีเกิดผล
แทรกซ้อนแก่ผู้วิจัย.......................................................................................
- ระบุประเด็นอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวกับด้านจริยธรรม....................................................
- เอกสารคาแนะนาหรือแจ้งข้อมูลแก่ผู้วิจยั หรืออนุญาต (Subject
information sheet)..........................................................................................................
- ใบยินยอมให้ทาการวิจัยของกลุ่มตัวอย่าง (Inform Consent Form)...........
2.10 เอกสารอ้างอิง................................................................................................
2.11 ประวัตผิ ู้วิจัย (ทุกคน)....................................................................................
3. เครื่องมือในการวิจัย เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ โปรแกรม/รูปแบบการ
จัดกิจกรรม (อย่างละ 1 ฉบับ).............................................................................
4. หนังสือรับรองการผ่านคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยของสถาบัน/หน่วยงาน
ต้นสังกัด...............................................................................................................
5. หนังสือรับทราบข้อปฏิบัติในการเก็บข้อมูลในหน่วยงานกรมพินิจฯ (วพ.3).........
หมายเหตุ เอกสารจะต้องครบทุกรายการ กรมพินิจฯ ถึงจะดาเนินการพิจารณาตามขั้นตอนต่อไป

ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน

(ลงชื่อ).............................................................ผูต้ รวจสอบ
(นางสาวพิจิตราพรรณ พีรคาไล้)
วพ.2
แบบการพิจารณางานวิจัย/วิทยานิพนธ์ที่ขอเก็บข้อมูลในหน่วยงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
(เฉพาะคณะกรรมการพิจารณางานวิจัยเฉพาะด้าน)

ชื่อเรื่อง

ชื่อผู้วิจัย/องค์กร/โครงการ

หน่วยงาน/สถาบัน
เกณฑ์การให้คะแนน

เนื้อหา มาก ปานกลาง น้อย

(3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน)

การพิทักษ์ และ 1. วิธีการเก็บข้อมูล และข้อคาถาม ต้องไม่ส่งผล


คุ้มครอง เด็ก เยาวชน กระทบต่อกลุ่มตัวอย่างทั้งทางร่างกายและจิตใจ (เด็ก
และเจ้าหน้าที่ เยาวชน เจ้าหน้าที่)
2. การเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างต้อง ระบุถึงการ
เยียวยา กรณีเมื่อเกิดปัญหาระหว่างการเก็บข้อมูล
3. การเก็บข้อมูลต้องระบุวิธีรักษาความลับของข้อมูล
สาหรับกลุ่มตัวอย่าง
4. มีการชี้แจงรายละเอียดของการวิจัย วัตถุประสงค์
และชี้แจงสิทธิในการเข้าร่วมการวิจัยแก่กลุ่มตัวอย่าง
คุณค่าของงานวิจัยที่ 1. การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ เป็นประโยชน์ต่อเด็ก
เกิดขึ้นต่อกรมพินิจฯ เยาวชน และเจ้าหน้าที่ และเป็นประโยชน์ต่อกรมพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยาวชน
2. การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ ต้องไม่มีความซ้าซ้อน
3. การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ ตรงตามความต้องการ
ของกรมพินิจฯ /สอดคล้องกับนโยบายของกรมพินิจฯ
(ทั้งนี้ให้พิจารณาแผนการปฏิบัติงานของกรมพินิจฯ ร่วม
ด้วย)
เกณฑ์การให้คะแนน

เนื้อหา มาก ปานกลาง น้อย

(3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน)

คุณค่าของงานวิจัยที่ 1. การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ มีความถูกต้องและ


เกิดขึ้นต่องานวิชาการ น่าเชื่อถือตามหลักวิชาการ (โดยพิจารณาจากความเป็น
เหตุและผลของการศึกษาวิจัย รวมทั้งทาการศึกษาวิจัย
ตามจรรยาบรรณของนักวิจัย)
2. การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ มีประโยชน์ต่องานด้าน
วิชาการ (การใช้ประโยชน์ของงานวิจัยด้านวิชาการ
พิจารณาถึงประโยชน์ในวงกว้างต่อสังคมของการ
ศึกษาวิจัยในเรื่องนั้นๆ อาจหมายถึงการนาข้อสรุปที่
เกิดขึ้นไปสู่การปฏิบัติ หรือการนาข้อสรุปไปต่อยอดใน
เชิงวิชาการ)
3. การศึกษาวิจัย/วิทยานิพนธ์ ทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่
หรือข้อค้นพบสิ่งใหม่ๆ หรือนวัตกรรมจากการศึกษาวิจัย

สรุปผลการประเมิน

21-30 คะแนน เห็นควรดาเนินการได้

11-20 คะแนน เห็นควรดาเนินการได้ โดยมีการแก้ไข

1-10 คะแนน ไม่เห็นควรให้ดาเนินการ เนื่องจาก

ข้อเสนอแนะอื่นๆ

ลงชื่อ.......................................................
(..............................................................)
วันที่........................................................
วพ. 3 ประกอบด้วย
1. หนังสือรับทราบข้อปฏิบัติในการเก็บข้อมูล กับเด็กและเยาวชนในหน่วยงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก
และเยาวชน วพ.3 (ด/ย)
2. หนังสือรั บทราบข้อปฏิบัติ ใ นการเก็บข้อมูล เจ้า หน้า ที่ ใ นหน่วยงานกรมพิ นิจและคุ้มครองเด็ กและ
เยาวชน วพ.3 (จนท.)
วพ.3 (ด/ย)

หนังสือรับทราบข้อปฏิบัติในการเก็บข้อมูลกับเด็กและเยาวชน
ในหน่วยงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
เมื่อได้รั บอนุ ญาตจากอธิบ ดีกรมพินิจฯ ให้ ดาเนินการเก็บข้อมูล ผู้ ขอเก็บข้อมูล จะต้องประสานไปยัง
หน่วยงานที่จะเข้าทาการเก็บข้อมูลเพื่อนัดวัน/เวลา ที่จะเข้าทาการเก็บข้อมูลอีกครั้งด้วยตนเอง เนื่องจากหากตรง
กับวันที่มีการจัดกิจกรรมให้กับเด็กและเยาวชน หน่วยงานอาจไม่พร้อมให้เข้าดาเนินการเก็บข้อมูล
การแต่งกาย แต่ ง กายสุ ภ าพ เรี ย บร้ อ ย สุ ภ าพสตรี ส ามารถสวมกางเกงได้ แ ต่ ต้ อ งเป็ น แบบสุ ภ าพ
ไม่ควรสวมเสื้อผ้ารัดรูป
ข้อปฏิบัติสาหรับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเด็กและเยาวชน
1. ในระหว่างการเก็บข้อมูลให้อยู่ภายในสายตาของเจ้าหน้าที่ประจาสถานควบคุม ไม่ อนุญาตให้อยู่โดยลาพัง
กับเด็กหรือเยาวชน โดยจะต้องให้มีเจ้าหน้าที่ เช่น นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ เข้าร่ วมสังเกตการณ์ใน
การสัมภาษณ์ด้วย
2. การเก็บข้อมูลต้องชี้แจงให้กลุ่มตัวอย่าง (เด็ก เยาวชน) เข้าใจถึงวัตถุประสงค์และข้อมูลสาคัญอื่นๆของการ
เข้าร่วมการวิจัย และต้องเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนยินยอมและสมัครใจที่จะเข้าร่วมการวิจัยเท่านั้น พร้อมทั้งให้
เด็กหรือเยาวชนลงลายมือกากับแสดงการยินยอมด้วย ในกรณีที่เด็กและเยาวชนอยู่ในศูนย์ฝึกและอบรมฯ จะต้องมี
การลงลายมือชื่อยินยอมจากผู้ปกครองตามกฎหมาย คือ ผู้อานวยการศูนย์ฝึกและอบรม นั้นๆ ด้วย และในกรณี
เด็กและเยาวชนที่อยู่ในสถานพินิจฯ ควรให้ผู้ปกครองของเด็กและเยาวชนรายนั้นๆ ทราบและลงลายมือชื่อยินยอม
ด้วย
3. ในระหว่างดาเนินการเก็บข้อมูลเด็กและเยาวชน ไม่ประสงค์ที่จะเข้าร่วมการวิจัยต่อสามารถยุติได้โดยทันที
หรือหากเด็กและเยาวชนอึดอัดไม่สบายใจ หรือมีอาการปุวยฉับพลัน จะต้องยุติการเก็บข้อมูลกับเด็กหรือเยาวชน
รายนั้นทันที และขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ที่อยู่ร่วมสังเกตการณ์การสัมภาษณ์
4. ไม่ อ นุ ญ าตให้ ร ะบุ ชื่ อ หรื อ ระบุ ตั ว ตนเด็ ก /เยาวชน ที่ เ ป็ น กลุ่ ม ตั ว อย่ า ง หรื อ กระท าการใด ๆ
ทีเ่ ป็นการเปิดเผยตัวเด็กหรือเยาวชนนั้นๆ เช่น การถ่ายภาพ การบันทึกเทป การอัดเสียงสัมภาษณ์ ฯลฯ
5. การดาเนินการใดๆ หากนอกเหนือขอบเขตทีไ่ ด้รับอนุญาตไม่สามารถทาได้
6. หากเ ด็ ก ห รื อ เย าว ช นขอใ ห้ ติ ด ต่ อ บุ คคลภ ายน อกให้ โ ดย การ โ ทรศั พท์ หรื อ ส่ งจด หมา ย
ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ที่ดูแลหรือให้เด็กหรือเยาวชนติดต่อกับเจ้าหน้าที่ในสถานควบคุมที่มีหน้าที่โดยตรงเพื่อดาเนินการ
ให้
7. กรณีต้องการให้รางวัลตอบแทนเด็กหรือเยาวชน ควรแจ้งเจ้าหน้าที่ที่ดูแลทราบก่อน เพื่อจะได้ดาเนินการ
ให้ถูกต้องตามระเบียบ
8. กรณีเก็บข้อมูลเด็กหรือเยาวชนแล้ว มีข้อสังเกตใดเกี่ยวกับเด็กหรือเยาวชนที่อาจจะเกิดอันตรายต่อเด็ก
หรือเยาวชน หรือผู้อื่น ขอให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ที่ดูแล เพื่อการดูแลและปูองกันต่อไป
9. ไม่นาข้อมูลใด ๆ เกี่ยวกับเด็กและเยาวชนไปเผยแพร่ อันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่เด็กหรือเยาวชนและ
ครอบครัว
10. เมื่อดาเนิ น การศึกษาวิจั ยเสร็ จ สิ้ น แล้ ว ขอให้ ส่ งผลงานวิจัยให้กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
จานวน 1 เล่ม พร้อม file ข้อมูล เพื่อจะได้นาข้อมูลไปประกอบการพัฒนาการดาเนินงานของกรมพินิจและ
คุ้มครองเด็กและเยาวชนต่อไป
11. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของหน่วยงานที่เข้าเก็บข้อมูลอย่างเคร่งครัด หากมีข้อสงสัยให้สอบถามเจ้าหน้าที่ใน
หน่วยงานก่อนดาเนินการเข้าเก็บข้อมูล
ข้าพเจ้าและคณะที่จ ะเข้าเก็บข้อมูล ได้รับทราบข้อปฏิบัติต่าง ๆ ข้างต้นแล้ ว และจะปฏิบัติตามอย่าง
เคร่งครัด

ลงชื่อ
( )

(หน่วยงาน/สถานศึกษา)
วันที่
วพ.3 (จนท.)

หนังสือรับทราบข้อปฏิบัติในการเก็บข้อมูลเจ้าหน้าที่
ในหน่วยงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
เมื่อได้รั บอนุ ญาตจากอธิบ ดีกรมพินิจฯ ให้ ดาเนิน การเก็บข้อมูล ผู้ ขอเก็บข้อมูล จะต้องประสานไปยัง
หน่วยงานที่จะเข้าทาการเก็บข้อมูลเพื่อนัดวัน/เวลา ที่จะเข้าทาการเก็บข้อมูลอีกครั้งด้วยตนเอง เนื่องจากหากตรง
กับวันที่มีการจัดกิจกรรมให้กับเด็กและเยาวชน หน่วยงานอาจไม่พร้อมให้เข้าดาเนินการเก็บข้อมูล
การแต่งกาย แต่ ง กายสุ ภ าพ เรี ย บร้ อ ย สุ ภ าพสตรี ส ามารถสวมกางเกงได้ แ ต่ ต้ อ งเป็ น แบบสุ ภ าพ
ไม่ควรสวมเสื้อผ้ารัดรูป
ข้อปฏิบัติสาหรับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเจ้าหน้าที่
1. การเก็บข้อมูลต้องชี้แจงให้กลุ่มตัวอย่าง เข้าใจถึงวัตถุประสงค์และข้อมูลสาคัญอื่นๆของการเข้าร่วมการ
วิจัย และสมัครใจทีจ่ ะเข้าร่วมการวิจัย พร้อมลงรายมือชื่อในใบแสดงความยินยอม
2. ในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างปฏิบัติงานอยู่ในสถานที่ควบคุม ไม่อนุญาตให้ผู้วิจัยเข้าไปเก็บข้อมูลในสถานควบคุม
และการดาเนินการใดๆ หากนอกเหนือขอบเขตที่ได้รับอนุญาตไม่สามารถทาได้
3. ช่วงเวลาในการเก็บข้อมูลกับเจ้าหน้าที่ต้องไม่รบกวนเวลาที่เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกับเด็กและเยาวชน
4. เมื่อดาเนิ น การศึกษาวิจั ยเสร็ จ สิ้ น แล้ ว ขอให้ ส่ งผลงานวิจัยให้กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
จานวน 1 เล่ม พร้อม file ข้อมูล เพื่อจะได้นาข้อมูลไปประกอบการพัฒนาการดาเนินงานของกรมพินิจและ
คุ้มครองเด็กและเยาวชนต่อไป
5. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของหน่วยงานที่เข้าเก็บข้อมูลอย่างเคร่งครัด หากมีข้อสงสัยให้สอบถามเจ้าหน้าที่ใน
หน่วยงานก่อนดาเนินการเข้าเก็บข้อมูล
ข้าพเจ้าและคณะที่จ ะเข้าเก็บข้อมูล ได้รับทราบข้อปฏิบัติต่าง ๆ ข้างต้นแล้ว และจะปฏิบัติตามอย่าง
เคร่งครัด

ลงชื่อ
( )

(หน่วยงาน/สถานศึกษา)
วันที่

You might also like