You are on page 1of 21

แบบเสนอขอรับทุนสนับสนุนการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย

Routine to Research (R2R)


ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา


รุ่นปีการศึกษา 2560
(ภาษาอังกฤษ) The Analysis of academic achievement of students of Suan
Sunandha Rajabhat University Academic Year 2560 B.E. (2017)
คาสาคัญ วิเคราะห์, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
Keywords Analysis, Achievement
2. หัวหน้าโครงการ นางวีราวัลย์ จันทร์ปลา
หน่วยงาน ฝ่ายทะเบียนและประมวลผล กองบริการการศึกษา
ตาแหน่ง หัวหน้าฝ่ายทะเบียนและประมวลผล กองบริการการศึกษา
วุฒิการศึกษา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
การติดต่อ
เบอร์โทรศัพท์ (ติดต่อภายใน) โทร. 0-2160-1024, 0-2160-1026
เบอร์มือถือ 08-9422-5642
อีเมลล์ weerawal.ja@ssru.ac.th
3. ประเภทการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (R2R)
 การลดระยะเวลา/ขัน้ ตอนในการปฏิบัติงาน
 การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน
 การสร้างนวัตกรรมในการปฏิบัติงาน
4.ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้
 การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)

5. ที่มาและความสาคัญ (สาเหตุที่ต้องทาวิจัย)
การศึกษาในระดับอุดมศึกษานับว่าเป็นการศึกษาระดับสูงมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
ของประเทศให้เจริญก้าวหน้า ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนของชาติได้มีการศึกษาระดับสูงย่อมเป็นสิ่งที่จาแป็นและ
มีความสาคัญอย่างมากต่อการดารงชีวิตอยู่ในสังคม ช่วยยกระดับความรู้ ความคิดให้ความรู้สึกผิดชอบชั่วดีได้ แต่ก็
ยังมีหลายสาเหตุที่ผู้มีความประสงค์ศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีไม่สามารถจะดาเนินชีวิตไปตามความประสงค์ได้
เช่น สภาพปั ญหาเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ปัจจุบันรัฐบาลได้ให้ ความสาคัญกับการศึกษาโดยให้ความ
ช่วยเหลือแก่เยาวชนที่ต้ องการศึกษาต่อในเรื่องของทุนการศึกษาเพื่อมากขึ้นจะเห็นได้จากการที่ผู้เรียนสามารถ
กู้ยืมเงินได้ต้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจนถึงระดับปริญญาตรีกับสานักงานกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)
ซึ่งเป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษา นับว่าเป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาที่ครอบคลุมกับ
ความต้องการของผู้เรียน
มหาวิทยาลั ย ราชภัฏ สวนสุ นั น ทา เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐ บาลที่ผ ลิ ตบัณฑิตที่มี
คุณภาพตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเป็นที่ยอมรับของ สังคมและมีเป้าหมายที่ได้รับการยอมรับในระบบชาติ
และนานาชาติ มีการพัฒนาและปรับ ปรุงการจัดการเรียนการสอนทั้งระบบเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและ
สถานการณ์การแข่งขันด้านคุณภาพบัณฑิต และภายใต้มาตรการการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) มหาวิทยาลัยจึงพัฒนาการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอน
ในรูปแบบออนไลน์ผสมผสาน SSRU NEXT
เพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและสถานการณ์โลก ได้กาหนด 3
เสาหลักในการพัฒนา ประกอบด้วย การพัฒนาระบบการเรียนการสอน (Academic Education) ระบบฝึกปฏิบัติ
ในสถานการณ์จริง (Internship) และการพัฒนาบุคลิกภาพ (Personal Development) รวมไปถึงมีการปรับปรุง
และพัฒนาหลักสูตร สาขาวิชาใหม่ เพื่อให้บัณฑิตมีอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ที่โดดเด่นและมุ่งตอบสนองความ
ต้องการของผู้ประกอบการและสังคม จึงทาให้การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมีความแตกต่างไปจากหลักสูตร
ของมหาวิทยาลัยอื่น ๆ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาได้ดาเนินการตามพันธกิจ “ให้การศึกษา วิจัย
บริการวิชาการ และทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม” โดยมีเป้าหมายการพัฒนามหาวิทยาลัย โดยวิเคราะห์จาก
สถานการณ์จากสถานการณ์ปัจจุบัน ทาให้มหาวิทยาลัยต้องปรับเปลี่ยน เพื่อให้เกิ ดความสามารถในการแข่งขัน
และทันต่อโลกอนาคต แต่สาหรับสิ่งที่ดีและมีคุณค่า เราต้องธารงรักษา มหาวิทยาลัยจึงได้กาหนดรูปแบบของการ
บริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คือ SSRU “KEEP” Model เพื่อมุ่งเติมเต็มในสิ่งที่ยังเดินไปไม่ถึง
จุดหมายปลายทางและเป้าหมายที่ตั้ งไว้ ต่อยอดทุนความรู้และทุนสังคมที่มีอยู่ ติดตามอย่างต่อเนื่อง เพื่อกากับ
ติดตามระบบการทางานเพื่อการพัฒ นาอย่างต่ อเนื่องเพื่อนาไปสู่ ความเป็น “ต้นแบบ” ตามวิสั ยทัศ น์ 15 ปี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา “มหาวิทยาลัยแม่แบบที่ดีของสังคม” เพราะนี่คือสิ่งที่ทรงคุณค่ าที่จะต้องดูแล
รักษาเอาไว้โดยจากรูปแบบของการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาด้วย SSRU “KEEP” Model
มหาวิทยาลัยได้กาหนดเป้าหมายการพัฒนา SSRU “SWITCH” ในการไปสู่เป้าหมายที่กาหนดไว้ จานวน 6
เป้าหมาย ได้แก่ 1 ) Sustainability มหาวิทยาลัยแห่งความยั่งยืนที่พร้อมจะเติบโตกับสังคมยุคใหม่ 2) World-
Class มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก 3) Integrity มหาวิทยาลัยที่ยึดมั่นในความซื่อสัตย์ในชิงการบริหารงาน
และวิชาการ 4) Technology มหาวิทยาลัยที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย 5) Capacity and Capability
การทางานอย่ างเต็มกาลังและเต็มความสามารถตามความถนัดของแต่ละบุคคลและ 6) Happy Workplace
มหาวิทยาลัยแห่งความผาสุกที่ล้อมรอบด้วยบรรยากาศของนักวิชาการ (กองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราช
ภัฏสวนสุนันทา, 2564)
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยเปิดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก มีจานวนนักศึกษา 28,864
คน (รายงานสรุปจานวนนักศึกษาลงทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, ภาคการศึกษา 1 ปีการศึกษา
2564 ณ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2564) ข้อมูลฝ่ายทะเบียนและประมวลผล กองบริการการศึกษา ตลอดระยะเวลาที่
ผ่านมามหาวิทยาลัยมีการรับนักศึกษาเข้ามาศึกษาระดับปริญญาตรีในอัตราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกัน
ปัญหานักศึกษาออกกลางคันก่อนสาเร็จการศึกษา สาเร็จการศึกษาหลังระยะเวลาทีกาหนดส่งผลโดยตรงต่อ
ปัญหาการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน ผู้วิจัยจึงเห็นควรมีการศึกษาการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รุ่นปีการศึกษา 2560 ซึ่งเป็นนักศึกษาภาคปกติที่
เข้าศึกษาครบตามระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนดเมื่อสิ้นภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เพื่อเป็นการลดการ
สูญเสียงบประมาณในการผลิตบัณฑิตในสาขาวิชานั้น ๆ และเป็นข้อมูลให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันพัฒนาการจัดการ
สอนของมหาวิทยาลัยให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป
6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
6.1 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์หาอัตราร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาตามกาหนดเวลา หลังกาหนดเวลาออก
กลางคันก่อนการสาเร็จการศึกษา
6.2 เพื่อศึกษาจานวนปีเฉลี่ยทีสาเร็จการศึกษา
7. ขอบเขตการวิจัย
7.1 ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคปกติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่เข้า
ศึกษารุ่นปีการศึกษา 2560 จานวน 8,454 คน
7.2 ด้านเนื้อหา
7.2.1 วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ จานวนร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาตามระยะวเลากาหนด หลัง
กาหนดเวลาและออกกลางคันก่อนสาเร็จการศึกษา จาแนกตามคณะ และสาขาวิชา
7.2.2 วิเคราะห์เคราะห์แนวโน้มอัตราร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาตามกาหนดเวลา หลังกาหนดเวลา
ออกกลางคันก่อนสาเร็จการศึกษา ด้วยวิธีถั่วเฉลี่ย (Method of Semi-Average)
7.2.3 คานวณหาระยะเวลาโดยเฉลี่ยที่นักศึกษาใช้ศึกษาจนจบหลักสูตร โดยหาเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก
7.3 ด้านเวลา
ศึกษาตั้งแต่เดือน มกราคม - สิงหาคม 2565
7.4 ด้านสถานที่
ฝ่ายทะเบียนและประมวลผล กองบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
8.1 เพื่อให้ทราบถึงอัตราการสาเร็จการศึกษาตามกาหนดเวลา หลังกาหนดเวลา ออกกลางคันก่อนการสาเร็จ
การศึกษา
8.2 เพื่อให้ทราบถึงจานวนปีเฉลี่ยที่นักศึกษาสาเร็จการศึกษา
8.3 เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยให้มีคุณภาพ
ยิ่งขึ้น
9. ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับวิธีการทางาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จะได้ข้อมูลพื้นฐานประกอบการวางแผน มีแนวทางในปฏิบัติงาน มีการ
ตรวจสอบ และปรับปรุงการปฏิบัติงานเพื่อลดอัตราการสาเร็จการศึกษาหลังกาหนดเวลา และออกกลางคันก่อน
การสาเร็จการศึกษา
10.วิธีดาเนินการวิจัย
10.1 ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
ประชากรกลุ่ ม ตัว อย่ าง คือ นั กศึกษาระดั บปริญญาตรี ภาคปกติ ที่เข้ าศึกษารุ่นปีการศึกษา 2560
จานวน 8,454 คน
10.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและการหาคุณภาพของเครื่องมือ
10.1.1 ออกรายงานข้อมูล ประวัตินักศึกษาจากการประมวลผลโปรแกรมระบบงานทะเบียนเพื่อ
บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ฝ่ายทะเบียนและประมวลผล กองบริการการศึกษา ตามแบบ
สารวจ และนาข้อมูลประวัตินักศึกษามาเข้ากรอกในแบบสารวจ เพื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูล
10.1.2 น าข้อมูลนั กศึกษาที่ได้จากฝ่ายทะเบียนและประมวลผล กองบริการการศึกษา ตามแบบ
สารวจ และตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล ผู้ศึกษานาข้อมูลที่ได้มาวิ เคราะห์ แล้วนาไปประมวลผลโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
10.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
รวบรวมข้อมูลนักศึกษาระดับปริญญาตรี จาแนกตามหลักสูตรที่เข้าศึกษา ดังนี้
10.3.1 จานวนนักศึกษาที่เข้าศึกษาปีการศึกษา 2560 หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี และหลักสูตรปริญญา
ตรี 5 ปี
10.3.2 จานวนบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาตามกาหนดเวลา หลังกาหนดเวลาและออกกลางคันก่อนสาเร็จ
การศึกษา จ านวน 8,454 คน ใช้ข้อมูล จากฐานข้อมูลกองบริการการศึกษา ระบบงานทะเบียนเพื่อบริห าร
การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ข้อมูล ณ วันที่ 15 มกราคม 2565)
10.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลได้คานวณดัชนีที่ได้ในการพิจารณาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ ร้อยของผู้สาเร็จกร
ศึกษตามเวลากาหนด หลังกาหนดเวลา ร้อยละของนักศึกษาที่ออกกลางคัน ระยะเวลาเฉลี่ยที่นักศึกษาใช้ศึกษาจน
จบหลักสูตร
11. งบประมาณที่ขอ (บาท)
งบประมาณที่ขอ - บาท
12. ระยะเวลาที่ทาวิจัย
ตั้งแต่เดือน 1 ตุลาคม 2564 – 31 สิงหาคม 2565
13.ผู้ร่วมวิจัย
ตาแหน่งใน สัดส่วนการมี หน่วยงานต้นสังกัด
ชื่อ-สกุล
โครงการ ส่วนร่วม (ระบุฝ่ายและหน่วยงาน)
นางวีราวัลย์ จันทร์ปลา หัวหน้าโครงการ 100 ฝ่ายทะเบียนและประมวลผล

14.ลายมือชื่อ หัวหน้าโครงการวิจัย

ลงชื่อ...............................................................
(นางวีราวัลย์ จันทร์ปลา)
หัวหน้าโครงการวิจัย
วันที่ 15 เดือน มกราคม พ.ศ. 2565
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

เข้าประชุมครั้งที่ รับเลขที่ วันที่


วันที่ ผูป้ ระเมิน 1. 2.
ผลพิจารณา

คำชี้แจง
1.ให้ผู้วิจัยดำเนินกำรกรอกข้อมูลในแบบเสนอโครงกำรให้ครบทุกข้อ
2.ใช้ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนำด 16 ตัวอักษรสีดำทั้งหมด ในกรณีกำรส่งแก้ให้ขีดเส้นใต้ข้อควำมที่ปรับแก้
3.ใส่เลขหน้ำเป็นเลขอำรบิค เรียงหน้ำ ตั้งแต่หน้ำแรกถึงหน้ำสุดท้ำย
4.ตรวจสอบคำถูกผิดให้ครบถ้วน ปริ้นเอกสำร จัดเรียง เอกสำรตั้งแต่ AP 01-1 ถึง AP 01-4 พร้อมเครื่องมือและเอกสำร
อื่นๆ และใช้คลิปหนีบ (ไม่ต้องเข้ำเล่ม)
5.ลงลำยมือชื่อ พร้อมวันที่ที่นำส่ง นำส่งเอกสำรจำนวน 4 ชุด ที่คณะกรรมกำรจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ มหำวิทยำลัย
รำชภัฏสวนสุนันทำ สถำบันวิจัยและพัฒนำ พร้อมไฟลล์ข้อมูล หรือส่งข้อมูลที่ Email: EC_SSRU@ssru.ac.th
ส่วนที่ 1. ข้อมูลโครงกำรวิจัย
1.1 ชื่อโครงกำรวิจัย (ภำษำไทย) กำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักศึกษำมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนนั ทำ
รุ่นปีกำรศึกษำ 2560
ชื่อโครงกำรวิจัย (ภำษำอังกฤษ) The Analysis of academic achievement of students of Suan
Sunandha Rajabhat University Academic Year 2560 B.E. (2017)
1.2 ชื่อหัวหน้ำโครงกำรวิจัย นำงวีรำวัลย์ จันทร์ปลำ
(ภำษำไทย)
ชื่อหัวหน้ำโครงกำรวิจัย Mrs. Weerawal Janpla
(ภำษำอังกฤษ)
❏อำจำรย์ ระบุสังกัด:
สถำนภำพ ❏นักศึกษำ ❏ป.โท ❏ป.เอก ระบุสังกัด:
 บุคลำกรอื่นๆ ระบุสังกัด: กองบริกำรกำรศึกษำ สำนักงำนอธิกำรบดี มหำวิทยำลัยรำชภัฏ
สวนสุนันทำ
ที่อยู่ 89/317 ม. 1 ถ.อัจฉริยะพัฒนำ ต.ศำลำกลำง อ.บำงกรวย จ. นนทบุรี 11130
สถำนที่ติดต่อ หมำยเลขโทรศัพท์ 089 422 5642
E-mail address weerawal.ja@ssru.ac.th
1.3 1.3.1 ชื่อผู้ร่วมวิจัย (ภำษำไทย) -
ชื่อผู้ร่วมวิจัย (ภำษำอังกฤษ) -
อำจำรย์ ระบุสังกัด:
สถำนภำพ นักศึกษำ ❏ป.ตรี ❏ป.โท ❏ป.เอก
บุคลำกรอื่นๆ ระบุสังกัด:
ที่อยู่ -
สถำนที่ติดต่อ
หมำยเลขโทรศัพท์ -

1
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

E-mail address -
1.3.2 ชื่อผู้ร่วมวิจัย (ภำษำไทย)
-
ชื่อผู้ร่วมวิจัย (ภำษำอังกฤษ) -

อำจำรย์ ระบุสังกัด:
สถำนภำพ นักศึกษำ ❏ป.ตรี ❏ป.โท ❏ป.เอก ระบุสังกัด:
บุคลำกรอื่นๆ ระบุสังกัด:
ที่อยู่ -
สถำนที่ติดต่อ
หมำยเลขโทรศัพท์ -
E-mail address -
***หำกมีผู้วิจัยร่วมมำกกว่ำ 2 คน ให้พิมพ์เพิ่มเติมเป็นเอกสำรแนบ***
1.4 ระยะเวลำโครงกำรวิจัย.......11......เดือน
ตั้งแต่ เดือน....ตุลำคม......พ.ศ. ..2564..... ถึง เดือน...สิงหำคม..พ.ศ. .2565....
ได้รับทุนภำยในมหำวิทยำลัย ได้รับทุนภำยนอกมหำวิทยำลัย
ระยะเวลำและแหล่งทุนสนับสนุน ❏งบประมำณแผ่นดิน จำกหน่วยงำน....................................
กำรวิจัย จำนวนเงินที่ได้รับ.................... บำท
❏งบประมำณเงินรำยได้
❏ มีแหล่งทุนสนับสนุน
❏ สถำบันวิจัยฯ
❏ อยู่ระหว่ำงกำรขอทุน
❏ หน่วยงำน
..............................................
*หลังจำกได้รับทุนแล้วขอให้แนบหลักฐำน (ระบุ)..................
กำรอนุมัติทุนด้วย ❏ อื่น ๆ
 ไม่มแี หล่งทุนสนับสนุน (ระบุ)..........................
จำนวนเงินที่ได้รับ........ บำท
รวมจำนวนเงินที่ได้รับ .................... บำท
ส่วนที่ 2. กำรประเมินเพื่อขอเข้ำรับกำรพิจำรณำจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์
2.1 งำนวิจัยเกี่ยวข้องกับกำรทดลอง หรือกำรกระทำต่อมนุษย์ กำรเก็บข้อมูลส่วนบุคคล หรือกำรเก็บตัวอย่ำงทำง
ชีวภำพของมนุษย์หรือไม่
❏ใช่ ☐ ❏ ไม่ใช่ (ข้ำมไปกรอกข้อมูลส่วนที่ 3 ข้อ 1-10)
ประเภทของโครงกำรวิจัย
1 เป็นวิจัยทำงด้ำนกำรศึกษำ ใช่ ❏ ไม่ใช่ (ข้ำมไปตอบข้อ 2)
1.1 เป็นกำรวิจัยที่ดำเนินกำรในโรงเรียนหรือสถำบันกำรศึกษำ
ใช่ ❏ ไม่ใช่
2
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

1.2 เป็นกำรวิจัยที่เกี่ยวข้องกำรเรียนกำรสอนตำมแนวปฏิบตั ิที่เป็นมำตรฐำนทำงกำรศึกษำ


ใช่ ❏ ไม่ใช่
1.3 เป็นกำรวิจัยที่เกี่ยวข้องกำรประเมินประสิทธิภำพเทคนิคกำรสอน/ กำรบริหำรจัดกำรชั้นเรียน/
กำรประเมินหลักสูตร/ กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ
❏ใช่  ไม่ใช่
2 โครงกำรวิจัยที่ใช้ผลทดสอบทำงกำรศึกษำ (cognitive, diagnostic, attitude, achievement) หรือเป็น
โครงกำร ที่เกี่ยวข้องกับกำรสำรวจ/กำรสัมภำษณ์/กำรเฝ้ำสังเกตพฤติกรรมสำธำรณะใช่หรือไม่
ใช่ ❏ ไม่ใช่ (ข้ำมไปตอบข้อ 3)
2.1 อำสำสมัครในโครงกำรเป็นกลุม่ ประชำกรต่อไปนี้ใช่หรือไม่ ไม่ใช่ ❏ใช่ ระบุ
 ทำรกในครรภ์/ตัวอ่อน
 ทำรก เด็ก ผู้เยำว์ (อำยุต่ำกว่ำ ๑๘ ปี)
 สตรีมีครรภ์
 ผู้ต้องขัง, แรงงำนต่ำงด้ำว
 ผู้ป่วยโรคติดเชื้อร้ำยแรง หรือผู้ป่วยเรื้อรัง
 นักเรียน/ นักศึกษำ/หรือผู้ใต้บังคับบัญชำ
 ผู้ด้อยโอกำสทำงสังคม เช่น ขอทำน คนพิกำร หรืออำชีพหญิงบริกำร ฯลฯ
2.2 หำกใช้ผลทดสอบทำงกำรศึกษำ/แบบบันทึกข้อมูลของหน่วยงำน ได้รับควำมยินยอมจำก
ผู้รับผิดชอบข้อมูลแล้ว ใช่หรือไม่
❏ใช่ ❏ ไม่ใช่ (ต้องขอรับกำรพิจำรณำจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์) ไม่เกีย่ วข้อง
2.3 แบบบันทึกที่ใช้ของผู้วิจัยมีกำรระบุชื่อเจ้ำของข้อมูลหรือรหัสที่สำมำรถสำวถึงเจ้ำของ
ข้อมูลได้โดยตรง (ชื่อ สกุล ที่อยู่ เลขที่บัตรประชำชน/ข้ำรำชกำร เวชระเบียน) หรือ ระบุบุคคลได้โดย
อ้อม (เข้ำรหัสไว้โดยมีข้อมูลบุคคลเชื่อมสืบค้นได้) ใช่หรือไม่
❏ใช่ (ต้องขอรับกำรพิจำรณำจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์)  ไม่ใช่ ☐ ❏ไม่เกี่ยวข้อง

2.4 ข้อมูลที่วิจัยเกี่ยวข้องกับประเด็นอ่อนไหวต่อไปนี้หรือไม่ ไม่ใช่ ❏ใช่ ระบุ


 พฤติกรรม หรือทัศนคติทำงเพศ
 กำรดื่มสุรำหรือเสพสำรเสพติด
 กำรกระทำผิดศีลธรรมหรือกฎหมำยในลักษณะอื่นๆ
 ควำมเจ็บป่วยทำงจิตหรือโรคติดต่อที่ไม่เป็นที่ยอมรับทำงสังคม เช่น HIV/AIDs, TB, ฯลฯ
 อื่นๆ ระบุ.............................................................................................................
(หำกตอบใช่ในข้อนี้ ต้องขอรับกำรพิจำรณำจริยธรรมกำรวิจัยฯ)
2.5 กำรเปิดเผยข้อมูลทีไ่ ด้จำกกำรวิจัย อำจทำให้อำสำสมัครได้รับผลกระทบต่อจิตใจ สีย่ งต่อกำรเสื่อมเสีย
ชื่อเสียงเงินทองหรือได้รับควำมเสียหำยต่ออำชีพตำแหน่งหน้ำที่กำรงำนหรือผลกระทบทำงกำรศึกษำ
หรือ ควำมก้ำวหน้ำหรือไม่
❏ ใช่ (ต้องขอรับกำรพิจำรณำจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์)  ไม่ใช่
3 โครงกำรวิจัยทำงด้ำนบริกำรสำธำรณะ ❏ใช่  ไม่ใช่ (ข้ำมไปตอบข้อ 4)

3
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

3.1 เป็นโครงกำรสำธิต/โครงกำรสำรวจ/หรือโครงกำรประเมินระบบงำนที่ได้รับอนุญำตจำกหัวหน้ำงำน
หรือผู้รบั ผิดชอบองค์กรใช่หรือไม่
❏ใช่ ❏ ไม่ใช่
3.2 โครงกำรมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภำพ/ กำรศึกษำทำงเลือก/กำรพัฒนำระบบงำน หรือ
นโยบำยใช่หรือไม่
❏ใช่ ❏ ไม่ใช่
3.3 มีกำรเปิดเผยชื่อบุคคลหรือข้อมูลส่วนบุคคลของอำสำสมัครในโครงกำรใช่หรือไม่
❏ใช่ ❏ ไม่ใช่
4 โครงกำรสำรวจควำมพึงพอใจต่ออำหำร สินค้ำและบริกำร ❏ ใช่ ไม่ใช่ (ข้ำมไปตอบข้อ 5)
4.1 อำหำร หรือสินค้ำ หรือบริกำรมีส่วนประกอบที่เป็นสำรเสพติดหรือสำรก่อโทษต่อมนุษย์
หรือสิ่งแวดล้อมหรือไม่
❏มี ☐ ❏ ไม่มี
4.2 อำหำร หรือสินค้ำ หรือบริกำรอำจก่อให้เกิดโทษต่อสุขภำพของผู้บริโภคหรือไม่
❏ใช่ ☐ ❏ ไม่ใช่
5 โครงกำรวิจัยในห้องปฏิบัติกำร ❏ ใช่  ไม่ใช่ (ข้ำมไปกรอกส่วนที่ 3 และ AP1.2)
5.1 กำรวิจัยใช้เชื้อที่แยกได้จำกสิ่งส่งตรวจ (Isolated microorganisms) และเพำะเลี้ยงในห้องปฏิบัตกิ ำรไว้
เป็นสำยพันธุ์ และไม่มีข้อมูลเชื่อมโยงถึงบุคคลที่เป็นเจ้ำของ ใช่หรือไม่
❏ใช่ ☐❏ ไม่ใช่ ☐ ❏ไม่เกี่ยวข้อง
5.2 กำรวิจัยใช้เซลล์เพำะเลี้ยงจำกเนื้อเยื่อมนุษย์ที่ได้รับกำรปรับสภำพให้เป็นเซลล์สำยพันธุ์ (cell line) แล้ว
ใช่หรือไม่
❏ใช่ ☐❏ ไม่ใช่ ☐ ❏ไม่เกี่ยวข้อง
5.3 กำรวิจัยใช้ตัวอย่ำงจำกโครงกระดูก หรือศพอำจำรย์ใหญ่ของคณะแพทยศำสตร์หรือฟันที่ถูกถอนทิ้ง
ตำมปกติของงำนทันตกรรม ใช่หรือไม่
❏ใช่ ☐❏ ไม่ใช่ ☐ ❏ไม่เกี่ยวข้อง
5.4 กำรวิจัยหำสำรปนเปื้อน สำรเคมี เชื้อโรค หรือชีววัตถุ และไม่มกี ำรกระทำโดยตรงต่ออำสำสมัครใช่
หรือไม่
❏ใช่ ☐❏ ไม่ใช่ ☐ ❏ไม่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 3 แบบโครงร่ำงกำรวิจัย
โปรดกรอกเครื่องหมำย ว่ำมีหรือไม่มีเพื่อตรวจสอบเอกสำรให้ครบถ้วน
เมื่อยื่นแบบเสนอเพื่อขอรับกำรพิจำรณำ พร้อมด้วยต้นฉบับ 1 ชุด สำเนำ 3 ชุด รวมเป็น 4 ชุด
รำยกำรเอกสำร มี ไม่มี แสดงในหน้ำที
1. แบบเสนอเพื่อขอรับกำรพิจำรณำด้ำนจริยธรรมของกำรวิจัยในมนุษย์(AP01_1 V.1.0) 
2. แบบโครงร่ำงกำรวิจัย (AP 01_2 V.1.1)
2.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำวิจัย 
2.2 วัตถุประสงค์กำรวิจัย 
4
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

2.3 สมมติฐำนกำรวิจัย(ถ้ำมี) 
2.4 ขอบเขตกำรวิจัย 
2.5 นิยำมตัวแปร/ศัพท์เฉพำะ 
2.6 ประโยชน์ที่ได้รับ 
2.7 กำรทบทวนวรรณกรรม 
2.8.กรอบแนวคิดกำรวิจัย 
2.9.วิธีดำเนินกำรวิจัย
2.9.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง 
2.9.2 เครื่องมือวิจัย 
2.9.3 กำรดำเนินกำรวิจัย/กำรเก็บรวบรวมข้อมูล 
2.9.4 กำรวิเครำะห์ข้อมูล/สถิติ 
3. เอกสำรอ้ำงอิง 
4. ภำคผนวก:- รำยละเอียดเครื่องมือวิจัย/แบบสอบถำม และอื่น ๆ 
5. เอกสำรชี้แจงผู้เข้ำร่วมกำรวิจัย (Participant information sheet) (AP 01_3 V.1.0) 
6. หนังสือแสดงเจตนำยินยอมเข้ำร่วมกำรวิจัย (Informed Consent Document) (AP 01_4 
V.1.0)
6. เอกสำร หรือสื่ออื่นๆ ที่ใช้ในกำรประชำสัมพันธ์โครงกำรวิจัย หรือรับสมัครกลุ่มตัวอย่ำง 
7. สำเนำใบรับรองกำรผ่ำนกำรอบรมจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ของหัวหน้ำโครงกำรวิจัย 
(ต้องแนบ)
8. เอกสำรยืนยันกำรผ่ำนกำรสอบป้องกันโครงร่ำงวิทยำนิพนธ์จำกบัณฑิตวิทยำลัย 
(กรณีผู้วิจัยเป็นนักศึกษำ)

ข้อสัญญำ
ข้ำพเจ้ำในฐำนะหัวหน้ำโครงกำรวิจัยได้ลงชื่อไว้ในเอกสำรนี้ โดยจะดำเนินกำรวิจัยตำมที่ระบุไว้ในโครงกำรวิจัย
ฉบับที่ได้รับกำรรับรองจำกคณะกรรมกำรจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ และได้
ขอควำมยินยอมจำกผู้เข้ำร่วมกำรวิจัยอย่ำงถูกต้องตำมหลักจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ ดังที่ได้ระบุไว้ในแบบ
เสนอโครงกำรวิจัย โดยจะให้ควำมเคำรพในสิทธิและคำนึงถึงสวัสดิภำพของผู้เข้ำร่วมกำรวิจัยเป็นสำคัญ

ลงชื่อ...............................................หัวหน้ำโครงกำรวิจัย
(นำงวีรำวัลย์ จันทร์ปลำ)
วันที่…15………/……ม.ค.………/....65…..
ลงชื่อ..............-.................................อำจำรย์ที่ปรึกษำ (ถ้ำมี)
(.....................................................)
วันที่…………/……………/....…..
5
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

แบบโครงร่ำงกำรวิจัย
1.ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำวิจัย (ระบุปัญหำวิจัย คืออะไร เป็นปัญหำของสังคมที่คนส่วนใหญ่อยำกรู้ จึงมี
ประโยชน์ในกำรทำวิจัย)
กำรศึกษำในระดับอุดมศึกษำนับว่ำเป็นกำรศึกษำระดับสูงมีบทบำทสำคัญในกำรพัฒนำเศรษฐกิจ สังคมของ
ประเทศให้เจริญก้ำวหน้ำ ดังนั้นกำรส่งเสริมให้เยำวชนของชำติได้มีกำรศึกษำระดับสูงย่อมเป็นสิ่งที่จำเป็นและมีควำมสำคัญ
อย่ำงมำกต่อกำรดำรงชีวิตอยู่ ในสังคม ช่วยยกระดับควำมรู้ ควำมคิดให้ควำมรู้สึกผิดชอบชั่วดีได้ แต่ก็ยังมีหลำยสำเหตุที่ผู้มี
ควำมประสงค์ศึกษำต่อในระดับปริญญำตรีไม่สำมำรถจะดำเนินชีวิตไปตำมควำมประสงค์ได้ เช่น สภำพปัญหำเศรษฐกิจ
สังคม และกำรเมือง ปัจจุบันรัฐบำลได้ให้ควำมสำคัญกับกำรศึกษำโดยให้ ควำมช่วยเหลือแก่เยำวชนที่ต้องกำรศึกษำต่อใน
เรื่องของทุนกำรศึกษำเพื่อมำกขึ้นจะเห็นได้จำกกำรที่ผู้เรียนสำมำรถกู้ยืมเงินได้ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำยจนถึงระดับ
ปริญญำตรีกับสำนักงำนกองทุนกู้ยืมเพื่อกำรศึกษำ (กยศ.) ซึ่งเป็นหน่วยงำนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำ นับว่ำ
เป็นกำรเพิ่มโอกำสทำงกำรศึกษำที่ครอบคลุมกับควำมต้องกำรของผู้เรียน
มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ เป็นสถำบันกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำของรัฐบำลที่ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภำพ
ตำมอัตลักษณ์ของมหำวิทยำลัยเป็นที่ยอมรับของ สังคมและมีเป้ำหมำยที่ได้รับกำรยอมรับในระบบชำติและนำนำชำติ มีกำร
พัฒนำและปรับปรุงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทั้งระบบเพื่อรองรับกำรเปลี่ยนแปลงและสถำนกำรณ์กำรแข่งขันด้ำนคุณภำพ
บัณฑิต และภำยใต้มำตรกำรกำรจั ดกำรศึกษำในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนำ ( COVID-19)
มหำวิทยำลัยจึงพัฒนำกำรบริหำรจัดกำร และกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ในรูปแบบออนไลน์ผสมผสำน SSRU NEXT
เพื่อยกระดับคุณภำพกำรเรียนกำรสอนให้สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรอุดมศึกษำและสถำนกำรณ์โลก ได้กำหนด 3 เสำหลักใน
กำรพัฒนำ ประกอบด้วย กำรพัฒนำระบบกำรเรียนกำรสอน (Academic Education) ระบบฝึกปฏิบัติในสถำนกำรณ์จริง
(Internship) และกำรพัฒนำบุคลิกภำพ (Personal Development) รวมไปถึงมีกำรปรับปรุงและพัฒนำหลักสูตร สำขำวิชำ
ใหม่ เพื่อให้บัณฑิตมีอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ที่โดดเด่นและมุ่งตอบสนองควำมต้องกำรของผู้ประกอบกำรและสังคม จึงทำให้
กำรจัดกำรศึกษำของมหำวิทยำลัยมีควำมแตกต่ำงไปจำกหลักสูตรของมหำวิทยำลัยอื่น ๆ นอกจำกนี้มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวน
สุนันทำได้ดำเนินกำรตำมพันธกิจ “ให้กำรศึกษำ วิจัย บริกำรวิชำกำร และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม” โดยมีเป้ำหมำย
กำรพัฒนำมหำวิทยำลัย โดยวิเครำะห์จำกสถำนกำรณ์จำกสถำนกำรณ์ปัจจุบัน ทำให้มหำวิทยำลัยต้องปรับเปลี่ยน เพื่อให้เกิด
ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันและทันต่อโลกอนำคต แต่สำหรับสิ่งที่ดีและมีคุณค่ำ เรำต้องธำรงรักษำ มหำวิทยำลัยจึงได้กำหนด
รูปแบบของกำรบริหำรจัดกำรมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ คือ SSRU “KEEP” Model เพื่อมุ่งเติมเต็มในสิ่งที่ยังเดินไป
ไม่ถึงจุดหมำยปลำยทำงและเป้ำหมำยที่ตั้งไว้ ต่อยอดทุนควำมรู้และทุนสังคมที่มีอยู่ ติดตำมอย่ำงต่อเนื่อง เพื่อกำกับติดตำม
ระบบกำรทำงำนเพื่อกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่องเพื่อนำไปสู่ควำมเป็น “ต้นแบบ” ตำมวิสัยทัศน์ 15 ปี มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวน
สุนันทำ “มหำวิทยำลัยแม่แบบที่ดีของสังคม” เพรำะนี่คือสิ่งที่ทรงคุณค่ำที่จะต้องดูแลรักษำเอำไว้โดยจำกรูปแบบของกำร
บริหำรจัดกำรมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำด้วย SSRU “KEEP” Model มหำวิทยำลัยได้กำหนดเป้ำหมำยกำรพัฒนำ
SSRU “SWITCH” ในกำรไปสู่เป้ำหมำยที่กำหนดไว้ จำนวน 6 เป้ำหมำย ได้แก่ 1 ) Sustainability มหำวิทยำลัยแห่งควำม
ยั่งยืนที่พร้อมจะเติบโตกับสังคมยุคใหม่ 2) World-Class มุ่งสู่กำรเป็นมหำวิทยำลัยระดับโลก 3) Integrity มหำวิทยำลัยที่ยึด
มั่นในควำมซื่อสัตย์ในชิงกำรบริหำรงำนและวิชำกำร 4) Technology มหำวิทยำลัยที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย 5)
Capacity and Capability กำรทำงำนอย่ำงเต็มกำลังและเต็มควำมสำมำรถตำมควำมถนัดของแต่ละบุคคลและ 6) Happy
Workplace มหำวิทยำลัยแห่งควำมผำสุกที่ล้อมรอบด้วยบรรยำกำศของนักวิชำกำร (กองนโยบำยและแผน มหำวิทยำลัยรำช
ภัฏสวนสุนันทำ, 2564)
6
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

ปัจจุบันมหำวิทยำลัยเปิดสอนในระดับปริญญำตรี ปริญญำโท และปริญญำเอก มีจำนวนนักศึกษำ 28,864 คน


(รำยงำนสรุปจำนวนนักศึกษำลงทะเบียน มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ, ภำคกำรศึกษำ 1 ปีกำรศึกษำ 2564 ณ วันที่ 2
พฤศจิกำยน 2564) ข้อมูลฝ่ำยทะเบียนและประมวลผล กองบริกำรกำรศึกษำ ตลอดระยะเวลำที่ผ่ำนมำมหำวิทยำลัยมีกำรรับ
นักศึกษำเข้ำมำศึกษำระดับปริญญำตรีในอัตรำเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง ขณะเดียวกันปัญหำนักศึกษำออกกลำงคันก่อนสำเร็จ
กำรศึกษำ สำเร็จกำรศึกษำหลังระยะเวลำทีกำหนดส่งผลโดยตรงต่อปัญหำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนของมหำวิทยำลัยใน
ปัจจุบัน

ผู้วิจัยจึงเห็นควรมีกำรศึกษำกำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักศึกษำมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
รุ่นปีกำรศึกษำ 2560 ซึ่งเป็นนักศึกษำภำคปกติที่เข้ำศึกษำครบตำมระยะเวลำที่หลักสูตรกำหนดเมื่อสิ้นภำคเรียนที่ 2 ปี
กำรศึกษำ 2564 เพื่อเป็นกำรลดกำรสูญเสียงบประมำณในกำรผลิตบัณฑิตในสำขำวิชำนั้น ๆ และเป็นข้อมูลให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ได้ร่วมกันพัฒนำกำรจัดกำรสอนของมหำวิทยำลัยให้มีคุณภำพและประสิทธิภำพยิ่งขึ้นต่อไป
2.วัตถุประสงค์กำรวิจัย (ต้องเป็นคำตอบชื่อเรืองวิจัย)
2.1. เพื่อศึกษำและวิเครำะห์หำอัตรำร้อยละของผู้สำเร็จกำรศึกษำตำมกำหนดเวลำ หลังกำหนดเวลำออกกลำงคัน
ก่อนกำรสำเร็จกำรศึกษำ
2.2 เพื่อศึกษำจำนวนปีเฉลี่ยที่สำเร็จกำรศึกษำ

3.สมมติฐำนกำรวิจัย
-
4.ขอบเขตกำรวิจัย
4.1 ด้ำนประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
ประชำกร
ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษำระดับปริญญำตรีภำคปกติ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
ที่เข้ำศึกษำรุ่นปีกำรศึกษำ 2560 จำนวน 8,454 คน
4.2 ด้ำนเนื้อหำ
ในกำรวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยศึกษำเนื้อหำที่เกี่ยวข้อง 2 ด้ำน ดังนี้
4.2.1 ศึกษำและวิเครำะห์หำอัตรำร้อยละของผู้สำเร็จกำรศึกษำตำมกำหนดเวลำ หลังกำหนดเวลำออก
กลำงคันก่อนกำรสำเร็จกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
4.2.2 ศึกษำจำนวนปีเฉลี่ยที่สำเร็จกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนนั ทำ
4.3 ด้ำนเวลำ
ปีงบประมำณ 2565
4.4 ด้ำนสถำนที่
มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ

7
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

5.นิยำมตัวแปร/ศัพท์เฉพำะ
1. มหำวิทยำลัย หมำยถึง มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
2. คณะ หมำยถึง คณะที่นักศึกษำสังกัด หมำยรวมถึง วิทยำลัย ส่วนรำชกำรหรือ
หน่วยงำนอื่นของมหำวิทยำลัยที่จัดกำรศึกษำระดับปริญญำตรี
3. สำขำวิชำ หมำยถึง สำขำวิชำที่ระบุไว้ในหลักสูตรแต่ละหลักสูตร
4. นักศึกษำ หมำยถึง นักศึกษำระดับปริญญำตรีภำคปกติ
5. รุ่นปีกำรศึกษำ หมำยถึง ปีกำรศึกษำที่นักศึกษำเข้ำศึกษำในมหำวิทยำลัย
6. กำรออกกลำงคัน หมำยถึง นักศึกษำที่พ้นจำกกำรมีสภำพเป็นนักศึกษำของมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำตำม
ข้อบังคับว่ำด้วยกำรศึกษำระดับปริญญำตรี
7. ระยะเวลำตำมกำหนด หมำยถึง ผู้ ส ำเร็จกำรศึกษำที่ใช้ ระยะเวลำกำรศึกษำที่กำหนดไว้ในหลั กสูตร ได้แก่
หลักสูตร 4 ปี ใช้เวลำศึกษำ 4 ปีกำรศึกษำ และหลักสูตร 5 ปี ใช้เวลำศึกษำ 5 ปีกำรศึกษำ
8. ระยะเวลำหลังกำหนด หมำยถึง ผู้สำเร็จกำรศึกษำที่ใช้ระยะเวลำกำรศึกษำมำกกว่ำเวลำที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
6.ประโยชน์ที่ได้รับ (ต่อ ด้ำนวิชำกำร หน่วยงำน ชุมชน/สังคม เชิงนโยบำย เชิงพำณิชย์)
6.1. เพื่อให้ทรำบถึงอัตรำกำรสำเร็จกำรศึกษำตำมกำหนดเวลำ หลัง กำหนดเวลำ ออกกลำงคันก่อนกำรสำเร็จ
กำรศึกษำ
6.2 เพื่อให้ทรำบถึงจำนวนปีเฉลี่ยที่นักศึกษำสำเร็จกำรศึกษำ
6.3 เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับใช้ประโยชน์ในกำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนของมหำวิทยำลัย
7. กำรทบทวนวรรณกรรม (เขียนให้ให้เข้ำใจในที่มำและควำมสำคัญของกำรทำงำนถ้ำไม่สำมำรถกรอกได้ให้แ นบโครงร่ำง
งำนวิจัยมำประกอบ)
กำรวิจัยเรื่อง กำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักศึกษำมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ รุ่นปีกำรศึกษำ
2560 ผู้วิจัยได้ทำกำรทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องดังนี้
7.1 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
7.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน
เป็นผลผลิตที่สำคัญของกำรเรียนกำรสอน เพรำะเป็นข้อมูลพื้นฐำนที่ทำให้ ครูผู้ส อน ทรำบถึง
ระดับพื้นฐำนควำมรู้ของผู้เรียนว่ำมีมำกน้อยเพียงใด เพื่อที่ครูผู้สอนจะได้ให้ควำมช่วยเหลือ และจัดสภำพกำรเรียนกำรสอน
ให้เกิดคุณภำพในกำรเรียนกำรสอนมำกขึ้น
ควำมหมำยของผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน (Learning Achievement) มีนักวิชำกำรทั้งในและต่ำงประเทศได้ให้
นิยำมไว้ ดังนี้
Good (1973) ผลสัมฤทธิ์ หมำยถึง กำรทำให้สำเร็จ (Accomplishment) หรือประสิทธิภำพ
ทำงด้ำนกำรกระทำในทัก ษะที่ กำหนดให้ ห รื อในด้ำนควำมรู้ ส่ ว นผลสั มฤทธิ์ท ำงกำรเรียน หมำยถึ ง กำรเข้ำถึ งควำมรู้
(Knowledge Attained) กำรพัฒนำทักษะในกำรเรียน ซึ่งอำจพิจำรณำจำกคะแนนสอบที่กำหนดให้ คะแนนที่ได้จำกครู
มอบหมำยงำน
Mehren (1976) ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน หมำยถึง ควำมรู้ ทักษะและสมรรถภำพของสมอง
ด้ำนต่ำง ๆ ของผู้เรียนต่อกำรเรียนแต่ละวิชำซึ่งสำมำรถวัดได้จำกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
8
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

พจนำนุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติพุทธศักรำช 2530 ( 2530 : 529 ) ให้ควำมหมำยผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนไว้ว่ำ หมำยถึง


ผลสำเร็จ
มณฑำรัตน์ ชูพินิจ (2540) ให้ควำมหมำยผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน หมำยถึง ควำมสำเร็จในกำร
พยำยำมเข้ำถึงควำมรู้ ซึ่งเกิดจำกกำรทำงำนที่ต้องอำศัยควำมพยำยำมอย่ำงมำกทั้งองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสติปัญญำและ
องค์ประกอบที่ไม่ใช่สติปัญญำ แสดงออกในรูปของคะแนน หรือเกรดเฉลี่ยสะสม ซึ่งสำมำรถสังเกตได้จำกำรวัดหรือกำร
ทดสอบทั่วไป
ประภัสสร วงษ์ศรี (2541) ให้ควำมหมำยของผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน หมำยถึงคุณลักษณะและ
ควำมสำมำรถของบุคคล เกิดจำกกำรเรียนกำรสอนเป็นกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ที่เกิดจำกกำร
อบรมหรือจำกกำรสอน กำรวัดผลสัมฤทธิ์เป็นกำรตรวจสอบระดับควำมสำมำรถของบุคคลว่ำเรียนแล้วมีควำมรู้เท่ำใด
สุรัตน์ เตียวเจริญ (2543) กล่ำวว่ำผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน คือ ระดับควำมสำเร็จที่ได้รับจำกกำร
เรียนในด้ำนควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ทักษะและควำมสำมำรถทำงด้ำนวิชำกำรรวมทั้งควำมสำมำรถทำงสมองด้ำนต่ำงๆ เช่น
ระดับสติปัญญำ กำรคิด กำรแก้ปัญหำต่ำงๆ ของเด็ก ซึ่งประเมินจำกเกรดเฉลี่ยที่ได้จำกสถำบันกำรศึกษำ และโรงเรียน จึงถือ
ได้ว่ำผลสัมฤทธิ์เป็นตัวแสดงให้เห็นถึงควำมสำเร็จหรือล้มเหลวทำงกำรศึกษำ
นฤมล คงขุนเทียน (2545) สรุปว่ำ ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน คือ ควำมสำมำรถของบุคคลที่ได้รับ
จำกกำรเรียนรู้ ฝึกอบรม ทั้งในสถำนศึกษำและนอกสถำนศึกษำ ส่งผลให้เกิดควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ทักษะและควำมสำมำรถ
ทำงด้ำนวิช ำกำรรวมทั้งควำมสำมำรถทำงสมองด้ำนต่ำงๆ ซึ่งสำมำรถประเมินได้จำกระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมที่ได้จำก
สถำบันกำรศึกษำ
มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช (2546) ให้ควำมหมำยว่ำ กำรวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนเป็น
กำรวัดผลควำมสำเร็จทำงกำรศึกษำ หรือวัดประสบกำรณ์ทำงกำรเรียน หรือวัดประสบกำรณ์ทำงกำรเรียนได้รับจำกกำรเรียน
กำรสอน โดยวัดตำมจุดมุ่งหมำยของกำรสอน หรือวัดผลสำเร็จกำรอบรม
ปฐมำ อำแวและคณะ (2554) สรุปว่ำ ผลสมฤทธิ์ทำงกำรเรียน หมำยถึงควำมสำเร็จในกำรที่จะ
พยำยำมเข้ำถึงควำมรู้ซึ่งเกิดจำกกำรทำงำนนที่ต้องอำศัยควำมพยำยำมมำก ทั้งองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสติปัญญำและ
องค์ประกอบที่ไม่ใช่สติปัญญำแสดงออกในรูปของคะแนน หรือเกรดเฉลี่ยสะสมซึ่งสำมำรถสังเกตและวัดได้ด้วยแบบทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทั่วไป หรืออำจจะประมวลควำมหมำยของผลสัมฤทธิ์ในกำรเรียนได้ว่ำ คือ ควำมรู้ควำมเข้ำใจ ทักษะ และทัศนคติ
อันเกิดจำกกำรเรียนรู้ซึ่งอำจวัดได้จำกกำรทดสอบระหว่ำงหรือหลังกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน ด้วยกำรทดสอบหรือ
วิธีกำรอื่น ๆ นอกจำกผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนจะบอกคุณภำพของผู้เรียนแล้วยังแสดงให้เห็นถึงคุณค่ำของหลักสูตร คุณภำพ
ของกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน ตลอดจนควำมรู้ควำมสำมำรถของครูผู้สอนและผู้บริหำรอีกด้วย

7.1.2 ข้อบังคับมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ ว่ำด้วยกำรศึกษำระดับปริญญำตรี พ.ศ. 2558


ข้อบังคับมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ ว่ำด้วยกำรศึกษำระดับปริญญำตรี พ.ศ. 2558 เกี่ยวกับ
ระบบกำรจัดกำรศึกษำ กำรลำ กำรพ้นสภำพกำรเป็นนักศึกษำ และกำรสำเร็จกำรศึกษำ ในมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
มีดังนี้
ระบบกำรจัดกำรศึกษำ
1.กำรจัดกำรศึกษำภำคปกติ เป็นกำรจัดกำรศึกษำเต็มเวลำ ใช้ระบบทวิภำค โดย 1 ปีกำรศึกษำแบ่ง
ออกเป็ น 2 ภำคกำรศึกษำปกติ 1 ภำคกำรศึกษำปกติมีระยะเวลำศึกษำไม่น้อยกว่ำ 15 สั ปดำห์ มหำวิ ทยำลั ยอำจเปิด
9
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

กำรศึกษำภำคฤดูร้อน โดยกำหนดระยะเวลำและจำนวนหน่วยกิต ให้มีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับภำคกำรศึกษำปกติ


2. ปีกำรศึกษำที่ส ำเร็จ กำรศึกษำของนักศึกษำภำคปกติ หมำยถึงปีกำรศึกษำสุดท้ำยที่สำเร็จ
กำรศึกษำตำมหลักสูตร จะไม่นำภำคกำรศึกษำฤดูร้อนในปี กำรศึกษำนั้นมำรวม ส่วนนักศึกษำภำคพิเศษให้นำภำคกำรศึกษำ
ฤดูร้อนมำรวมด้วย
กำรลำ
1. กำรลำไม่เข้ำชั้นเรียน นักศึกษำที่มีกิจจำเป็น หรือป่วยไม่สำมำรถเข้ำชั้นเรียนในชั่วโมงเรียนได้
จะต้องยื่นใบลำต่ออำจำรย์ผู้สอน แต่ถ้ำลำติดต่อกันตั้งแต่ 7 วันขึ้นไป ให้ยื่นใบลำตำมแบบที่คณะกำหนดผ่ำนอำจำรย์ที่
ปรึกษำ แล้วนำไปขออนุญำตต่ออำจำรย์ผู้สอน
2. กำรลำพักกำรศึกษำ
2.1 ถูกเรียกพล ระดมพล หรือเกณฑ์เข้ำรับรำชกำรทหำร
2.2 ได้รับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษำระหว่ำงประเทศ หรือทุนอื่นใด ซึ่งมหำวิทยำลัยเห็นสมควร
สนับสนุน
2.3 เจ็บ ป่วย หรือประสบอุบัติเหตุ
2.4 ไม่ได้ลงทะเบียนรำยวิชำ หรือชุดวิชำเรียน หรือลงทะเบียนไม่สมบูรณ์ หรือถอนทุกรำยวิชำ
หรือทุกชุดวิชำ ที่ลงทะเบียนเรียนโดยไม่ได้รับอักษร W
2.5 เหตุผลอื่นๆ ที่คณะเห็นสมควร
2.6 รำยวิชำที่ได้ลงทะเบียนในภำคกำรศึกษำที่ได้รับอนุมัติให้ลำพักจะไม่ปรำกฏในทะเบียนผล
กำรศึกษำ
2.7 กำรลำพักกำรศึกษำ นักศึกษำใหม่ไม่มีสิทธิ์ลำพักกำรศึกษำในภำคกำรศึกษำแรกเว้นแต่
ได้รับอนุมัติจำกอธิกำรบดี
2.8 นั กศึกษำที่มีควำมประสงค์จ ะลำพักกำรศึกษำ ต้องยื่นใบลำตำมแบบของมหำวิทยำลั ย
พร้อมด้วยหนังสือยินยอมจำกผู้ปกครองผ่ำนอำจำรย์ที่ปรึกษำ หัวหน้ำสำขำวิชำและ/หรือภำควิชำ ถึงคณบดี เพื่อพิจำรณำ
อนุมัติแล้วแจ้งมหำวิทยำลัยทรำบ
2.9 สำหรับนักศึกษำปริญญำที่สอง และ/หรือนักศึกษำที่มีอำยุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปสำมำรถลำพัก
กำรศึกษำได้โดยไม่ต้องมีหนังสือยินยอมจำกผู้ปกครอง
2.10 นั กศึกษำที่ล ำพักกำรศึกษำ หรือถูกสั่ งพักกำรศึกษำตลอดหนึ่ง ภำคกำรศึกษำปกติห รือ
มำกกว่ำ ต้องชำระค่ำธรรมเนียมเพื่อรักษำสถำนภำพนักศึกษำทุกภำคกำรศึกษำปกติ
2.11 กำรลำพักกำรศึกษำไม่ว่ำด้วยเหตุใดๆ ไม่เป็นเหตุให้ขยำยระยะเวลำศึกษำ
3. กำรลำออก นักศึกษำที่ประสงค์จะลำออกให้ยื่นใบลำ พร้อมหนังสือ ยินยอมจำกผู้ปกครองผ่ำน
อำจำรย์ที่ปรึกษำถึงคณบดี เพื่อเสนอมหำวิทยำลัยอนุมัติ
กำรพ้นสภำพกำรเป็นนักศึกษำ
1. ตำย
2. ลำออก และได้รับอนุมัติจำกมหำวิทยำลัยแล้ว
3. โอนไปเป็นนักศึกษำสถำบันกำรศึกษำอื่น
4. ไม่มำลงทะเบียนให้เสร็จสิ้นภำยในเวลำที่มหำวิทยำลัยกำหนด และมิได้ลำพักกำรศึกษำภำยใน 30 วัน
10
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

นับจำกวันเปิดภำคกำรศึกษำปกติ
5. ถูกลบชื่อออกจำกกำรเป็นนักศึกษำ ตำมระเบียบมหำวิทยำลัย ว่ำด้วยวินัยนักศึกษำ
6. ได้รับอนุมัติให้สำเร็จกำรศึกษำตำมหลักสูตร
7. ต้องโทษโดยคำพิพำกษำถึงที่สุ ดให้จำคุก เว้นแต่ควำมผิดที่เป็นลหุโทษหรือควำมผิดอันได้กระทำโดย
ประมำท
8. กำรพ้นสภำพกำรเป็นนักศึกษำอันเนื่องมำจำกเกณฑ์กำรวัดผล
นักศึกษำภำคปกติจะพ้นสภำพกำรเป็นนักศึกษำโดยเหตุดังต่อไปนี้
8.1 ผลกำรประเมินผลกำรศึกษำ ได้ค่ำระดับคะแนนสะสมเฉลี่ยต่ำกว่ำ 1.60 เมื่อสิ้น
ภำคกำรศึกษำปกติที่ 2 นับตั้งแต่เริ่มเข้ำศึกษำ
8.2 ผลกำรประเมินผลกำรศึกษำ ได้ค่ำระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่ำ 1.80 เมื่อสิ้นภำคกำรศึกษำปกติ
ที่ 4 ที่ 6 ที่ 8 ที่ 10 ที่ 12 ที่ 14 และที่ 16 นับตั้งแต่เข้ำศึกษำ
8.3 นักศึกษำลงทะเบียนเรียนครบตำมหลักสูตร แต่มีค่ำระดับคะแนนสะสมเฉลี่ยต่ำกว่ำ 1.80
8.4 ใช้เวลำในกำรศึกษำเกิน 16 ภำคกำรศึกษำปกติกรณีเรียนหลักสูตร 4 ปี เกิน 20 ภำคกำรศึกษำปกติ
กรณีเรียนหลักสูตร 5 ปี และเกิน 8 ภำคกำรศึกษำปกติกรณีเรียนหลักสูตรปริญญำตรี (ต่อเนื่อง)
กำรสำเร็จกำรศึกษำ
1.กำรขอสำเร็จกำรศึกษำ ให้นักศึกษำที่คำดว่ำจะสำเร็จกำรศึกษำตำมที่หลักสูตรกำหนดดำเนินกำรขอสำเร็จ
กำรศึกษำตำมขั้นตอนที่มหำวิทยำลัยกำหนด
2. ระยะเวลำสำเร็จกำรศึกษำ นักศึกษำจะสำเร็จกำรศึกษำได้ต้องมีระยะเวลำศึกษำ ดังนี้
2.1 หลักสูตรปริญญำตรี (4 ปี) สำเร็จกำรศึกษำได้ไม่ก่อน ๖ ภำคกำรศึกษำปกติ สำหรับกำรศึกษำภำค
ปกติ ไม่ก่อน 9 ภำคกำรศึกษำสำหรับกำรศึกษำภำคพิเศษที่ลงทะเบียนเรียนเต็มเวลำและไม่ก่อน 14 ภำคกำรศึกษำปกติ
สำหรับกำรลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลำ
2.2 หลักสูตรปริญญำตรี (5 ปี) สำเร็จกำรศึกษำได้ไม่ก่อน 8 ภำคกำรศึกษำปกติ สำหรับกำรศึกษำภำค
ปกติ ไม่ก่อน 12 ภำคกำรศึกษำสำหรับกำรศึกษำภำคพิเศษที่ลงทะเบียนเรียนเต็มเวลำและไม่ก่อน 17 ภำคกำรศึกษำปกติ
สำหรับกำรลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลำ
3. เกณฑ์กำรสำเร็จกำรศึกษำ ผู้ที่สำเร็จกำรศึกษำตำมหลักสูตรปริญญำตรีต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
3.1 สอบได้ในรำยวิชำหรือชุดวิชำต่ำงๆ ครบตำมหลักสูตร ทั้งในรำยวิชำหรือชุดวิชำและเงื่อนไขที่กำหนด
ของสำขำวิชำนั้น
3.2 ได้ค่ำระดับคะแนนสะสมเฉลี่ยตลอดหลักสูตรและค่ำระดับคะแนนสะสมเฉลี่ยในวิชำเอกไม่ต่ำกว่ำ
2.00 และไม่มีรำยวิชำหรือชุดวิชำใดได้ค่ำระดับคะแนนเป็น I หรือ P
3.3 ไม่มีค่ำธรรมเนียมต่ำงๆ หรือเงินอื่นๆ ที่ค้ำงชำระตำมที่มหำวิทยำลัยเรียกเก็บ
3.4 เป็นผู้มีควำมซื่อสัตย์ มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม และมีจิตสำธำรณะ โดยมีคะแนน
ควำมประพฤติไม่ต่ำกว่ำร้อยละ 80 และควำมประพฤติดีอันเป็นเกียรติและศักดิ์ของนักศึกษำ ตำมหลักเกณฑ์ที่มหำวิทยำลัย
กำหนดโดยทำเป็นประกำศมหำวิทยำลัย
3.5 ผ่ ำ นเกณฑ์ ก ำรวั ด ระดั บ ควำมรู้ ภ ำษำอั ง กฤษและกำรใช้ เ ทคโนโลยี ส ำรสนเทศตำมประกำศ
มหำวิทยำลัย
11
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

3.6 มีคุณสมบัติอื่นตำมที่มหำวิทยำลัยกำหนด
7.2 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จำกกำรศึกษำค้นคว้ำกำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักศึกษำมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
รุ่นปีกำรศึกษำ 2560 ผู้วิจัยจึงได้รวบรวมผลงำนที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
หยำดนที ปินตำโมงค์ และคณะ (2553) ศึกษำสำเหตุกำรไม่สำเร็จกำรศึกษำของนักศึกษำระดับปริญญำ
ตรี มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ภำยหลังกำรคำดว่ำจะสำเร็จกำรศึกษำ ปีกำรศึกษำ 2550-2552 มีวัตถุประสงค์เพื่อสำเหตุกำรไม่
สำเร็จกำรศึกษำของนักศึกษำระดับปริญญำตรี มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ภำยหลังกำรคำดว่ำจะสำเร็จกำร ศึกษำ ปีกำรศึกษำ
2550-2552 ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจัย คือ นักศึกษำระดับปริญญำตรี มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ที่คำดว่ำจะสำเร็จกำรศึกษำ ปี
กำรศึกษำ 2550-2552 จำนวน 2,317 รำย สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ ข้อมูลประกอบด้วยกำรแจกแจงควำมถี่ และร้อยละ
ผลกำรวิจัยพบว่ำ 1. นักศึกษำที่คำดว่ำจะสำเร็จกำรศึกษำแล้วไม่สำเร็จกำรศึกษำมำกที่สุด ภำยหลังคำดว่ำจะสำเร็จกำรศึกษำ
ในปีกำรศึกษำ 2550-2552 คือ คณะวิศวกรรมศำสตร์ จำนวน 639 รำย คิดเป็นร้อยละ 27.58 รองลงมำ คณะวิทยำศำสตร์
จำนวน 632 คิดเป็นร้อยละ 27.28 ในปีกำรศึกษำ 2550 จำนวนนักศึกษำที่คำดว่ำจะสำเร็จกรศึกษำแล้วไม่สำเร็จกำรศึกษำ
มำกที่สุดภำยหลังกำรคำดว่ำจะสำเร็จกำรศึกษำ คือ คณะวิทยำศำสตร์ และคณะวิศวกรรมศำสตร์ จำนวน 185 รำย คิดเป็น
ร้อยละ 27.29 รองลงมำคือ คณะมนุษยศำสตร์ จำนวน 57 รำย คิดเป็นร้อยละ 8.41ตำมลำดับ ปีกำรศึกษำ 2551 คือ คณะ
วิศวกรรมศำสตร์ จำนวน 216 รำย คิดเป็นร้อยละ 28.72 รองลงมำคือ คณะวิทยำศำสตร์ จำนวน 214 รำย คิดเป็นร้อยละ
28.46 ตำมลำดับ ปีกำรศึกษำ 2552 คณะวิศวกรรมศำสตร์ จำนวน 238 รำย คิดเป็นร้อยละ 26.83 รองลงมำคือ คณะ
วิทยำศำสตร์ จำนวน 233 รำย คิดเป็นร้อยละ 26.27 ตำมลำดับ 2. สำเหตุที่ นักศึกษำคำดว่ำจะสำเร็จกำรศึกษำแล้วไม่
สำเร็จกำรศึกษำมำกที่สุด ภำยหลัง คำดว่ำจะสำเร็จกำรศึกษำ ในปีกำรศึกษำ 2550-2552 คือ กระบวนวิชำเอกบังคับได้รับ
อักษรล ำดับ P คิดเป็ นร้อยละ 43.16 รองลงมำ คือ ค่ำลำดับขั้นสะสมในวิชำเอกน้อยว่ำ 2.00 คิดเป็นร้อยละ 15.88
ตำมลำดับ
สุพัชรี อังคสุวรรณ (2555) ศึกษำสัมฤทธิผลของกำรผลิตบัณฑิตปริญญำตรีที่รับตำมโครงกำรพิเศษของ
มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขตหำดใหญ่ ระหว่ำงปีกำรศึกษำ 2553-2543 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำสัมฤทธิผลของ
กำรผลิตบัณฑิตปริญญำตรีที่รับตำมโครงกำรพิเศษของมหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ ซึ่งเป็นกำรรับเข้ำศึกษำโดยคณะกรรมผู้
คัดเลือกนักศึกษำที่มีควำมสำมำรถด้ำนต่ำง ๆ งำนวิจัยนี้ วิเครำะห์กำรสำเร็จกำรศึกษำ กำรออกกลำงคัน ผลิตภำพของกำร
ผลิตบัณฑิต อัตรำกำรสูญเสีย จำนวนปีเฉลี่ยในกำรศึกษำและดัชนีสะสมเฉลี่ย จำแนกตำมคณะ รุ่นปีก ำรศึกษำ และตำม
โครงกำรพิเศษต่ำง ๆ ประชำกรคือ นักศึกษำโครงกำรพิเศษระดับปริญญำตรี วิทยำเขตหำดใหญ่ ตั้งแต่ปีกำรศึกษำ 2533 -
2543 จำนวน 11 รุ่นปีกำรศึกษำ จำนวน 456 คน จำกผลกำรวิจัย พบว่ำในภำพรวม 11 รุ่นปีกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยมีผลิต
ภำพของกำรผลิตบัณฑิต โครงกำรพิเศษ ร้อยละ 95.57 อัตรำกำรสูญ เสีย ร้อยละ 4.33 อัตรำกำรสำเร็จกำรศึกษำ ร้อยละ
80.70 อัตรำกำรออกกลำงคัน ร้อยละ 19.30 ดัชนีสะสมเฉลี่ย 2.75 และ จำนวนปีเฉลี่ยในกำรศึกษำ หลักสูตร 4 ปี 4.06 ปี
คณะวิศวกรรมศำสตร์ มำกที่สุด 4.14 ปี คณะพยำบำลศำสตร์ น้อยที่สุด 4.00 หลักสูตร 5 ปี 5.04 หลักสูตร 6 ปี 6.47
กองแผนงำน ส ำนั ก งำนอธิ ก ำรบดี มหำวิท ยำลั ย นเรศวร (2556) รำยงำนกำรศึ ก ษำกำรวิ เ ครำะห์
ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนิสิต มหำวิทยำลัยนเรศวร รุ่นปีกำรศึกษำ 2548 พบว่ำนิสิตระดับปริญญำตรี หลักสูตร 4 ปี 5 ปี
และ 6 ปี มีอัตรำกำรออกกลำงคัน ร้อยละ 20.32, 16.77 และ 6.67 เมื่อวิเครำะห์สำเหตุกำรออกกลำงคันของนิสิตในแต่ละ
12
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

หลักสู ตร สรุป ได้ดังนี้ หลักสู ตร 4 ปี พบว่ำสำเหตุที่ทำให้นิสิตออกกลำงคันมำกที่สุด คือ ผลกำรเรียนไม่ถึงเกณฑ์ตำมที่


มหำวิทยำลัยกำหนด คิดเป็นร้อยละ 73.79 หลักสูตร 5 ปี พบว่ำ สำเหตุที่ทำให้นิสิตออกกลำงคันมำกที่สุด คือ ผลกำรเรียน
ไม่ถึงเกณฑ์ตำมที่มหำวิทยำลัยกำหนด คิดเป็นร้อยละ 76.92 หลักสูตร 6 ปี พบว่ำสำเหตุที่ทำให้นิสิตออกกลำงคันมำกที่สุด
คือ ผลกำรเรีย นไม่ถึงเกณฑ์ตำมที่มหำวิทยำลัย กำหนด คิดเป็นร้อยละ 38.10 เมื่อพิจำรณำอัตรำร้อยละของนิสิตออก
กลำงคันปรำกฏว่ำมีสำเหตุมำจำกผลกำรเรียนมำกที่สุดเมื่อเทียบกับสำเหตุกำรออกกลำงคันของนิสิติด้วยสำเหตุอื่น สำเหตุที่
ทำให้นิสิตต้องออกกลำงคันเป็นเพรำะกำรแบ่งเวลำไม่เหมำะสม กำรไม่ตั้งใจเรียน พื้นฐำนควำมรู้ไม่ดีพอ หรือกำรปรับตัวเข้ำ
กับกำรเยนอุดมศึกษำไม่ได้ ดังนั้นควรมีกำรศึกษำเพื่อหำสำเหตุจำกผู้ที่เกี่ยวข้องไม่ว่ำจะเป็นอำจำรย์ที่ปรึกษำ อำจำรย์ผู้สอน
หรือตัวนิสิตเอง เพื่อหำแนวทำงในกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำดังกล่ำวต่อไป
8.กรอบแนวคิดกำรวิจัย (ระบุแนวคิด หรือ ทฤษฎีที่นำมำใช้ ต้องอธิบำยกำรเชื่อมโยงในกรอบ
ถ้ำไม่มีกำรทดสอบสมมุติฐำน ไม่ต้องมีกรอบแนวคิด เขียนเป็นเรียงควำม)
กำรวิจัย เรื่อง กำรศึกษำกำรวิเครำะห์ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักศึกษำมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ รุ่นปี
กำรศึกษำ 2560 ครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษำทฤษฎี แนวคิด หลักกำรจำกเอกสำร ตำรำและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องนำมำวิเครำะห์
เนื้อหำ เพื่อกำหนดแนวทำงกำรวิเครำะห์ข้อมูล ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักศึกษำมหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ และ
ประมวลผลโปรแกรมคอมพิวเตอร์
9.วิธีดำเนินกำรวิจัย เขียนให้ครบทุกหัวข้อ
9.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
-ประชำกร (คือใคร)
นักศึกษำระดับปริญญำตรีภำคปกติ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ ที่เข้ำศึกษำรุ่นปี
กำรศึกษำ 2560
-คุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่ำง เกณฑ์คัดเข้ำ เกณฑ์คัดออก
ผู้วิจัยได้มีกำรนำข้อมูลนักศึกษำระดับปริญญำตรี มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ ทุกคน
ที่เข้ำศึกษำรุ่นปีกำรศึกษำ 2560
-ขนำดตัวอย่ำง ระบุสูตรกำรคำนวณด้วย
ผู้วิจัยได้มีกำรคัดเลือกกลุ่มตัวอย่ำงด้วยวิธีกำรแบบเฉพำะเจำะจง โดยนำข้อมูลนักศึกษำ
ระดับปริญญำตรี มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ ทุกคนที่เข้ำศึกษำรุ่นปีกำรศึกษำ 2560
จำนวน 8,454 คน
-เทคนิคกำรสุ่มตัวอย่ำง (บอกวิธีตำมหลักกำรวิจัย ถ้ำเป็น Multistage Random
Sampling แสดงตำรำงด้วย)
9.2 เครื่องมือวิจัย
-ที่มำของเครื่องมือวิจัย (สร้ำงเอง อ้ำงอิงจำกใคร)
เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสร้ำงขึ้นเอง
-ลักษณะของเครื่องมือวิจัย (ถ้ำเป็นทดลอง ต้องระบุรำยละเอียดของเนื้อหำที่จะทดลอง
เช่นมีรำยละเอียดของโปรแกรม)
13
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

เครื่องมือที่ใช้ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อกำรวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย
1. ออกรำยงำนข้อมูลประวัตินักศึกษำจำกฝ่ำยทะเบียนและประมวลผล ระบบงำน
ทะเบียนเพื่อบริหำรกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ ตำมแบบสำรวจ นำข้อมูล
ประวัตินักศึกษำมำเข้ำกรอกในแบบสำรวจ
2. นำข้อมูลนักศึกษำที่ได้จำกระบบงำนทะเบียนเพื่อบริหำรกำรศึกษำ มหำวิทยำลัย
รำชภัฏสวนสุนันทำ ฝ่ำยทะเบียนและประมวลผล กองบริกำรกำรศึกษำ ตำมแบบสำรวจ
และตรวจสอบควำมสมบูรณ์ของข้อมู ล ผู้ศึกษำนำข้อมูลที่ได้มำวิ เครำะห์ แล้วประมวลผล
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
-กำรหำคุณภำพเครื่องมือวิจัย (validity , Reliability)
กำรสร้ำงและพัฒนำเครื่องมือผู้วิจัยดำเนินกำรตำมลำดับ ดังนี้
1. ออกแบบสำรวจสำหรับกำรจัดเก็บข้อมูล ข้อมูลประวัตินักศึกษำที่นำออกมำ
จำกฝ่ำยทะเบียนและ
ประมวลผล ระบบงำนทะเบียนเพื่อบริหำรกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
2. น ำข้ อ มู ล นั ก ศึ ก ษำที่ ไ ด้ จ ำกระบบงำนทะเบี ย นเพื่ อ บริ ห ำรกำรศึ ก ษำ
มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
ฝ่ำยทะเบียนและประมวลผล กองบริกำรกำรศึกษำ กรอกตำมแบบสำรวจ และตรวจสอบ
ควำมสมบูรณ์ของข้อมูล ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้มำวิเครำะห์ แล้วประมวลผลด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
-กำรกำหนดกำรแปล ควำมหมำยของคะแนน
กำรวิเครำะห์ข้อมูล ผู้วิจัยจะดำเนินกำรวิเครำะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีกำรดังต่อไปนี้
นำข้อมูลนักศึกษำที่ได้จำกฝ่ำยทะเบียนและประมวลผล กองบริกำรกำรศึ กษำ ตำมแบบ
สำรวจ ตรวจสอบควำมสมบูรณ์ของข้อมูล นำข้อมูลที่ได้มำวิเครำะห์ และประมวลผล
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
9.3 กำรดำเนินกำรวิจัย/กำรเก็บรวบรวมข้อมูล (ถ้ำเป็นกำรทดลองต้องบอกรำยละเอียดกำรทดลองด้วย)
ผู้วิจัยศึกษำจำกเอกสำรแนวคิด ทฤษฏีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อทำกรอบแนวทำงกำรทำวิจัยและกำร
สร้ำงแบบสำรวจให้เหมำะสมกับเนื้อหำและขอบข่ำยของเรื่องที่ศึกษำ
1. ผู้วิจัยนำแบบสำรวจให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขตำมข้อเสนอแนะของ
ผู้ทรงคุณวุฒิให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
2. ผู้วิจัยจัดทำแบบสำรวจฉบับสมบูรณ์เพื่อใช้ในกำรเก็บข้อมูลต่อไป
3. ผู้วิจัยทำกำรเก็บข้อมูลจำแนกนักศึกษำที่เข้ำศึกษำปีกำรศึกษำ 2560 หลักสูตรปริญญำ
ตรี 4 ปี และหลักสูตร 5 ปี จำนวน 8,454 คน
4. ผู้ วิ จั ย ท ำกำรเก็ บ ข้ อ มู ล จ ำนวนบั ณ ฑิ ต ที่ ส ำเร็ จ กำรศึ ก ษำตำมเวลำที่ ก ำหนด หลั ง
กำหนดเวลำและออกกลำงคันก่อนสำเร็จกำรศึกษำ ใช้ข้อมูลจำกฐำนข้อมูลของระบบงำนทะเบียนเพื่อ
บริหำรกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ ฝ่ำยทะเบียนและประมวลผล กองบริกำรกำรศึกษำ
14
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา
AP 01.1
Suan Sunandha Rajabhat University Ethics Committee

แบบเสนอเพื่อขอรับการพิจารณาด้านจริยธรรมของการวิจัยในมนุษย์ เริ่มใช้ 10.9.20

5. ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้จำกระบบงำนทะเบียน ฝำยทะเบียนและประมวลผลมำวิเครำะห์
ผล
9.4 กำรวิเครำะห์ข้อมูล/สถิติ (เขียนเรียงตำมวัตถุประสงค์กำรวิจัย เพิ่มขอมูลทั่วไป 1 ข้อ)
กำรวิเครำะห์ข้อมูลได้คำนวณดัชนีที่ใช้ในกำรพิจำรณำผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน คือ ร้อยละขอ
ผู้สำเร็จกำรศึกษำตำมกำหนดเวลำ หลังกำหนดเวลำ ร้อยละของนักศึกษำที่ออกกลำงคัน ระยะเวลำเฉลี่ยที่
นักศึกษำใช้ศึกษำจนจบหลักสูตร
10. เอกสำรอ้ำงอิง
- กองนโยบำยและแผน สำนักงำนอธิกำรบดี มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
- กองแผนงำน สำนักงำนอธิกำรบดี มหำวิทยำลัยนเรศวร
- ฝ่ำยทะเบียนและประมวลผล กองบริกำรกำรศึกษำ สำนักงำนอธิกำรบดี มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ
- มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช
11. งบประมำณและแหล่งทุน
ได้รับทุนภำยในหน่วยงำน ประเภทงบรำยได้ จำนวน....-.........บำท
12. ภำคผนวก (ชนิดละเอียดและใช้จริงมำด้วย)
แนบเครื่องมือวิจัยได้แก่
1) แบบชี้แจงอำสำสมัครและแบบยินยอมอำสำสมัคร AP01.2
2) แบบสอบถำม
3) แผ่นพับประชำสัมพันธ์ (ถ้ำมี)
4) บทสัมภำษณ์ (ถ้ำมี)
5) อื่นๆ (ถ้ำมี)

15

You might also like