You are on page 1of 12

บันทึกข้อความบันทึก

ข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดแจ้ง โทร. 0-3854-2116

ที่ ฉช 5210 ๕.๑/พิเศษ วันที่ 2๙

ธันวาคม 2564

เรื่อง ขออนุมัติโครงการน้ำตาลสด

เรียน ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดแจ้ง

เรื่องเดิม
ด้วยคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ ได้ส่งตัว
นักศึกษาชัน
้ ปี ที่ ๓ หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตร ๔ ปี ) เพื่อเข้ารับการ
ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครู ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา โดยนักศึกษาจะต้องมีการจัดทำโครงการพัฒนาผู้เรียนจำนวน
๑ โครงการ ดังนัน
้ คณะนักศึกษา ฝึ กประสบการณ์ โรงเรียนเทศบาล ๑
วัดแจ้ง จำนวน ๔ คน เป็ นนักศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป จำนวน ๒ คน
และนักศึกษาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา จำนวน ๒ คน จึงขอความ
อนุเคราะห์จัดทำโครงการน้ำตาลสด โดยไม่ใช้งบประมาณ เพื่อให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ใน รายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
ประจำปี การศึกษา ๒๕๖๔
ข้อเท็จจริง
เพื่อให้คณะนักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครู โรงเรียนเทศบาล ๑
วัดแจ้ง ดำเนินการในส่วนของการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูตรงกับ
วัตถุประสงค์ในรายวิชาการปฏิบัติการสอน ประจำปี การศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อ
ให้นักเรียนได้ร้ป
ู ระวัติความเป็ นมาและขัน
้ ตอนการทำน้ำตาลสด ให้นักเรียน
สามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับใช้ ในการเรียนรู้ในชีวิตประจำวันได้
โดยมีเป้ าหมายเชิงปริมาณผู้ที่เข้าร่วมโครงการของนักเรียน
โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดแจ้ง ในระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖ โดยเข้าร่วม
กิจกรรมร้อยละ ๗๐ ของห้อง เป้ าหมายเชิงคุณภาพ ให้นักเรียนมีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาและขัน
้ ตอนการทำน้ำตาลสด ให้
นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนในรายวิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ข้อเสนอเพื่อพิจารณา
โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดแจ้ง จึงเห็นควรพิจารณาให้คณะนักศึกษาฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพครูจัดทำโครงการน้ำตาลสด ให้แก่นักเรียนในภาค
เรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๔ ในวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕
ดังแนบโครงการ ฯ มาพร้อมนี ้
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

( นางสาวอรุณี นพโสภณ )
หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ
โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดแจ้ง
1

๑.ชื่อโครงการ โครงการน้ำตาลสด
๒.สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา/ตัวบ่งชี ้
มาตรฐานการศึกษา ตัวบ่งชี ้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการ ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการ
เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ น คิดและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน
สำคัญ ชีวิตได้
๓.๒ ใช้ส่ อ
ื เทคโนโลยีสารสนเทศ
และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

๓.หลักการและเหตุผล
การจัดการศึกษาแก่ผเู้ รียนเป็ นการจัดอบรมและส่งเสริม
กระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติ และพัฒนาการของผู้เรียน ให้มี
พัฒนาการทัง้ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสม
กับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็ นการสร้าง
รากฐานชีวิตให้ผู้เรียนไปสู่ความเป็ นมนุษย์ ที่สมบูรณ์
สังคมโลกในปั จจุบันเป็ นสังคมของฐานความรู้ โดยเฉพาะความรู้ทาง
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วมาก ทัง้ นี ้
เนื่องจากเทคโนโลยีการสื่อสารมีการเชื่อมโยงส่วนต่าง ๆ ของโลก อย่าง
กว้างขวาง ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนการจัดการศึกษาทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทุกระดับโดยเฉพาะระดับการ
ศึกษาขัน
้ พื้นฐานที่จะต้องสร้างเยาวชนให้มีความเข้มแข็งในสังคมยุคใหม่
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนด
จะต้องมีการจัดกิจกรรมหลากหลาย เพื่อพัฒนาศักยภาพ
และทักษะต่าง ๆ ของนักเรียนให้เต็มศักยภาพ และโครงการน้ำตาลสด
เป็ นกิจกรรม เสริมความรู้วิทยาศาสตร์อีกรูปแบบหนึ่งที่มีคุณค่าที่จัด
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ขยายขอบเขตจากการทำกิจกรรม ในห้องเรียน ทำให้
2

นักเรียนได้สังเกตสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติในท้องถิ่น เป็ นกิจกรรมที่ส่ง


เสริม ความคิดริเริ่ม ความสร้างสรรค์ และสร้างความรู้ด้วย
ตนเองจากการเรียนรู้ ฝึ กทักษะทางสังคมในการทำงาน
ซึง่ คุณสมบัติเหล่านีเ้ ป็ นเป้ าหมายของการเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับแนวปฏิรูปการเรียนรู้ ดังนัน
้ ผู้จัดทำโครงการได้
เห็นความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงได้จัดทำโครงการน้ำตาลสด
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการดู การฟั ง การสอบถามข้อมูลจากผู้จัด
ทำโครงการที่จะมาให้ความรู้ กับผู้เรียน เพื่อช่วยเสริมสร้างคุณธรรม
จริยธรรม ร่วมอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เกิดคุณค่า
ต่อตนเองและชุมชน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตนเองทุกด้านอย่าง
สมดุลและเต็มศักยภาพ และฝึ กฝนทักษะ กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ได้ครบทุกขัน
้ ตอน จึงร่วมกันจัดกิจกรรมอบรมออนไลน์
ในโครงการน้ำตาลสด ทางผู้จัดทำโครงการอยากจะแสดงให้เห็นถึง
เอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ ที่เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น
และสามารถต่อยอดให้ผู้เรียนได้มีแนวทางในการนำไปประกอบอาชีพได้
และส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คนรุ่นหลังสืบทอดกันต่อไป
๔. วัตถุประสงค์
๔.๑ เพื่อให้นักเรียนได้ร้จ
ู ักน้ำตาลสด ขัน
้ ตอนและวิธีทำน้ำตาลสด
๔.๒ เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ผ่านการดูและฟั งการบรรยาย
จากวิดีโอ
๔.๓ เพื่อเป็ นแนวทางในการนำไปประกอบอาชีพของนักเรียน

/๕.เป้ าหมาย...
3

๕. เป้ าหมาย
๕.๑ เชิงปริมาณ
๕.๑.๑ นักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรียนเทศบาล ๑
วัดแจ้ง จำนวน ๘๕ คน
๕.๒ เชิงคุณภาพ
๕.๒.๑ นักเรียนชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ๖ ได้ร้ข
ู ัน
้ ตอนและวิธีการ
ทำน้ำตาลสดซึ่งสามารถ เป็ นแนวทางในการนำไปประกอบอาชีพ
ของนักเรียนได้ และส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๖.ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาท้องถิ่น/แผนพัฒนาการศึกษาของ
สถานศึกษา
๖.๑ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเทศบาลตำบลบางคล้า
- สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการส่ง
เสริมคุณภาพชีวิต การศึกษาศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้อง
ถิ่น และเทิดทูนพิทักษ์ รักษาสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
แนวทางการพัฒนาที่ (๔) การส่งเสริมการศึกษา
๖.๒ ความสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน
๖.๒.๑ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพครู
และคุณภาพนักเรียน
์ างการเรียนและส่ง
- กลยุทธ์ ๑.๒ ยกระดับผลสัมฤทธิท
เสริมความเป็ นเลิศตามศักยภาพ ของผู้เรียน

๗.วิธีดำเนินงาน

ขัน
้ ตอน กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ขัน
้ เตรียม ๑.วางแผนการเขียน พฤศจิกายน นายทิวากร เย็น
การ โครงการ – ธันวาคม สบาย
(Plan) ๒๕๖๔ นายดนุสรณ์ วีระ
4

พิศาลกุล
นายธนาธร คชภูติ
นางสาวณัฐธิดา
รติวัฒนะ
ขัน
้ ๑.ดำเนินการตามแผน ๔ มกราคม นายทิวากร เย็น
ดำเนิน ปฏิบัติการของโครงการ ๒๕๖๕ สบาย
การ นายดนุสรณ์ วีระ
(Do) พิศาลกุล
นายธนาธร คชภูติ
นางสาวณัฐธิดา
รติวัฒนะ
ขัน
้ ตรวจ ๑.กำกับดูแลและติดตาม ๔ มกราคม คุณครูพรทิพย์
สอบ การดำเนินงาน ตามแผน ๒๕๖๕ วงษ์นาค
(Check) ปฏิบัติการของโครงการ คุณครูจุรีรัตน์
น้ำตาลสด ขุมทรัพย์
ขัน
้ ๑.สรุปผลการจัดกิจกรรม / ๖ มกราคม นายทิวากร เย็น
ปรับปรุง/ รายงานโครงการ ๒๕๖๕ สบาย
แก้ไข(Ac นายดนุสรณ์ วีระ
t) พิศาลกุล
นายธนาธร คชภูติ
นางสาวณัฐธิดา
รติวัฒนะ

๘. ระยะเวลาดำเนินการ
- วันอังคารที่ ๔ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๐๐ -
๑๔.๐๐ น.
5

๙. สถานที่ดำเนินการ
- โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดแจ้ง

/๑๐.หน่วยงาน...

๑๐.หน่วยงานที่รับผิดชอบ
- งานวิชาการโรงเรียนเทศบาล ๑ วัดแจ้ง
๑๑. การใช้จ่ายงบประมาณ
- ไม่มี -
๑๒. การประเมินผลการดำเนินงาน

ตัวชีว
้ ัดตามความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้

๑๒.๑ เชิงปริมาณ
- นักเรียนชัน
้ ประถาม - ตรวจสอบจำนวนผู้ - แบบบันทึกการ
ศึกษาปี ที่ ๖ โรงเรียนเทศบาล ที่ลงชื่อเข้าร่วม เช็คชื่อการเข้าร่วม
๑ วัดแจ้ง จำนวน ๘๕ คน โครงการ กิจกรรมด้วย
Google form รูป
แบบออนไลน์
๑๒.๒ เชิงคุณภาพ
- นักเรียนชัน
้ ประถม - การมีส่วนร่วมใน - Application
ศึกษาปี ที่ ๖ ได้ร้ข
ู ัน
้ ตอนและ การตอบคำถาม Kahoot
วิธีการทำน้ำตาลสดซึ่ง Kahoot - แบบประเมิน
สามารถ เป็ นแนวทาง - การทำแบบ ความพึงพอใจด้วย
ในการนำไปประกอบอาชีพ ประเมินความพึง Google form รูป
ของนักเรียนได้ และส่งเสริม พอใจ แบบออนไลน์
การอนุรักษ์ ภูมิปัญญา - รายงานสรุป
6

ท้องถิ่น โครงการ

๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑๓.๑ นักเรียนสามารถอธิบายกระบวนการทำน้ำตาลสดได้
๑๓.๒ นักเรียนเกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีผ่านการดู
และฟั งการบรรยายจากวิดีโอ
๑๓.๓ นักเรียนสามารถนำไปเป็ นแนวทางในการนำไปประกอบ
อาชีพของนักเรียนได้ในอนาคต
๑๔. ผู้จัดทำโครงการ

(นายทิวากร เย็นสบาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูชัน
้ ปี ที่ ๓

(นายดนุสรณ์ วีระพิศาลกุล)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูชัน
้ ปี ที่ ๓
7

(นายธนาธร คชภูติ)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูชัน
้ ปี ที่ ๓

(นางสาวณัฐธิดา รติวัฒนะ)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูชัน
้ ปี ที่ ๓

๑๕. ผู้เสนอโครงการ

(นางสาวอรุณี นพโสภณ)
ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ

๑๖. ผู้อนุมัติโครงการ

(นางสาวอรสา มิง่ ฉาย)


8

ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาการในตำแหน่งผู้อำนวย
การสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล ๑ วัดแจ้ง
กำหนดการ โครงการ “น้ำตาลสด”
วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น.
อบรมออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม Google Meet
………………………………………………………………………………………

………………

วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๕

๑๓.๐๐ – ๑๓.๑๐ น. ลงทะเบียนผ่าน Google form

๑๓.๑๐ – ๑๓.๒๐ น. วิทยากรพูดบรรยายประวัติความเป็ นมาของ

น้ำตาลสด

วิทยากร : นายทิวากร เย็นสบาย , นายดนุสรณ์


วีระพิศาลกุล
, นายธนาธร คชภูติ , นางสาวณัฐธิดา รติ
วัฒนะ

๑๓.๒๐ – ๑๓.๔๐ น. ผู้เข้าอบรมดูวิดีโอขัน


้ ตอนในการทำน้ำตาล

สด

๑๓.๔๐ – ๑๓.๕๐ น. ตรวจสอบความเข้าใจ Kahoot


๑๓.๕๐ – ๑๔.๐๐ น. ผู้เข้าอบรมทำแบบประเมินความพึงพอใจต่อ

โครงการผ่าน Google form

******************************************************

You might also like