You are on page 1of 30

ชื่อโครงการ เลีย

้ งไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา
แผนงาน บริหารทั่วไป
สนองตอบ กลยุทธ์ของสถานศึกษาด้าน ปลูกฝั งคุณธรรม
ความสำนักในการเป็ นชาติไทยและ
วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สนองมาตรฐาน สพฐ. มาตรฐานที่ 3 ตัวชีว้ ัดที่ 3.4
มาตรฐานที่ 7 ตัวชีว้ ัด 7.2
สนองจุดเน้นของ สพฐ. ข้อที่ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม รักความ
เป็ นไทย ห่างไกลยาเสพติด มี
คุณลักษณะและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประเจิด สุขสิงห์
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
หน่วยงาน โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์
ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2559 – เมษายน 2559
********************************************************
*************************
1. ความหมายและขอบข่ายของโครงการ
โครงการเลีย
้ งไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา เป็ นโครงการหนึ่งที่
โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ มุ่งจัดทำขึน
้ เพื่อสนองตอบกับ กระแสพระราชดำรัส
ของ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ที่
พระองค์ทรงให้ไว้กับประชาชนชาวไทยได้น้อมนำไปปฏิบัติเพื่อการดำรงชีวิต
อยู่อย่างพออยู่พอกิน โดยเล็งเห็นว่า การจัดทำโครงการดังกล่าวนี ้ นอกจาก
จะได้รับประโยชน์โดยตรงจากการบริโภคไข่ไก่ เป็ นแหล่งโปรตีนให้กับ
นักเรียนแล้ว ยังเป็ นการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน ที่ไม่ใช่เฉพาะการ
เรียนในห้องเรียน แต่สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ทุกที่ ทุกโอกาส อีกทัง้ ยัง
เป็ นการผสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน ในการศึกษาหาความรู้
ร่วมกัน เป็ นแหล่งการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับผู้สนใจทัง้ นักเรียน
ชุมชน ได้เป็ นอย่างดีอีกด้วย โครงการดังกล่าวนีจ
้ ะเน้นการจัดการอย่างครบ
วงจรโดยมีกลุ่มแกนนำที่เลีย
้ งไก่ทงั ้ หมด 20 คน ที่เป็ นแกนนำในการทำ
กิจกรรมและเผยแพร่ความรู้ให้กับนักเรียนและผู้ที่สนใจ เน้นให้บรรลุตาม
วัตถุประสงค์ของโครงการ

2. สภาพปั จจุบันและปั ญหา


ตามสภาพสังคมปั จจุบันที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดย
เฉพาะสภาพทางเศรษฐกิจ ที่นับวันราคาสินค้าจะยิ่งมีราคาสูงขึน
้ ส่งผลกระ
ทบกับสังคมโดยรวม โดยเฉพาะโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ นักเรียนส่วนใหญ่มี
ฐานะยากจนและมีจำนวนนักเรียนพักนอนมากถึง 287 คน ดังนัน
้ ค่าใช้จ่าย
ที่เกิดขึน
้ จากการประกอบอาหารเพื่อนักเรียนนัน
้ จึงมีมากเพิ่มขึน
้ ตาม ดังนัน

โครงการเลีย
้ งไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา จึงเป็ นโครงการที่แก้ปัญหาดังกล่าวได้
เป็ นอย่างดี เพราะเป็ นการเพิ่มแหล่งอาหารโปรตีนที่ได้จากไข่ไก่ที่เลีย
้ งเอง
ราคาไม่แพงมากนัก อีกทัง้ ยังส่งเสริมให้ทุกๆฝ่ ายเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
3. หลักการและเหตุผล
วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของชาวไทย ที่สืบสานกันมารุ่นต่อรุ่นนัน

ล้วนเป็ นวิถีชีวิตที่เรียบง่าย อยู่แบบพึ่งพาธรรมชาติ พึ่งพากันและกัน สร้าง
ความรักความผูกพันเข้าสู่วิถีชีวิตของความเป็ นไทยมาเนิ่นนาน ดังจะเห็นได้
ชัดจากวิถีแห่งเกษตรกรรม อันเป็ นอาชีพหลักของคนไทย ไม่ว่าจะเป็ น การ
ปลูกพืช เลีย
้ งสัตว์ ค้าขาย เป็ นต้น แต่ทว่าในปั จจุบัน ถ้ามองย้อนกลับไป
ประมาณ 10 – 20 ปี ที่ผ่านมา สังคมไทยนับว่าเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
โดยเฉพาะในด้านวิถีการดำเนินชีวิต จากสังคมเกษตรกรรม เป็ นสังคมแห่ง
วัตถุนิยม ที่มีแต่ความฟุ ้งเฟ้ อ สินค้าราคาแพง ดังนัน
้ จึงจำเป็ นอย่างยิ่งที่
ระบบการศึกษาจะต้องดึงเอาความเป็ นวิถีชีวิตดัง้ เดิม วิถีแห่งความพอเพียง
กลับคืนมาสู่สังคม โดยเฉพาะควรจะปลูกฝั งให้กบ
ั เด็กและเยาวชน ดังนัน

โครงการนี ้ จึงหวังว่าจะเป็ นส่วนหนึ่งที่ช่วยพลิกฟื้ นให้ทุกคนหันกลับมาเห็น
ความสำคัญของ ความพอเพียง และเป็ นการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และ
เผยแพร่ขยายวงกว้างออกไป

4. วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็ นการส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียน
โดยเฉพาะการเลีย
้ งไก่ไข่ เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
2. เป็ นการผสานความร่วมมือจากทุกๆฝ่ าย ไม่ว่าจะเป็ น นักเรียน
ชุมชน องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ในการส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างกัน
5. เป้ าหมาย
เชิงปริมาณ
1. นักเรียนแกนนำโครงการเลีย
้ งไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลาจำนวน 20
คน ครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 3 คน ร่วมกิจกรรมตางโครงการได้เป็ น
อย่างดีและต่อเนื่อง
2. นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ จำนวน 374 คน ร่วมเรียนรู้ตาม
กิจกรรมโครงการ
3. คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน จำนวน 27 คนให้ความสนใจ
และเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการ
4. ชุมชน องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ให้ความสนใจเข้าร่วม
กิจกรรมตามโครงการ
เชิงคุณภาพ
1. สนับสนุนโครงการอาหารของนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ เพิ่ม
แหล่งอาหารโปรตีนให้กับนักเรียน
2. ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียน โดยเฉพาะการ
เลีย
้ งไก่ไข่ เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
3. ผสานความร่วมมือจากทุกๆฝ่ าย ไม่ว่าจะเป็ น นักเรียน ชุมชน
องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ในการส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างกัน
4. ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้จากสภาพจริง สามารถบูรณาการการ
เรียนรู้ได้หลายหลาย และเรียนรู้ได้รอบด้าน
6. ทรัพยากรที่ต้องการ
1. ทรัพยากรบุคคล
- นักเรียนแกนนำโครงการ จำนวน 20 คน
- ครูผู้รับผิดชอบโครงการเลีย
้ งไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา จำนวน 3
คน
- นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ จำนวน 374 คน
- บุคลากรในโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ จำนวน 27 คน
2. งบประมาณในการดำเนินโครงการ
- ไก่พันธุ์ไข่ 100 ตัว x 180 บาท = 18,000 บาท
- อาหารไก่ = 24,000 บาท
- ยาวัคซีนไก่ = 2,000 บาท
รวม = 44,000 บาท

7. วิธีและขั้นตอนการดำเนินโครงการ
1.  เตรียมการโดยการ ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่าง ครูผู้รับผิดชอบ
โครงการ จำนวน 3 คน และนักเรียนแกนนำโครงการ จำนวน 20 คน ถึง
แนวทางการดำเนินงานโครงการ กิจกรรมตามโครงการเพื่อเตรียมจัดทำแผน
ปฏิบัติการ
2. จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการเลีย
้ งไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา
3. ดำเนินงานตามโครงการ
4. รวบรวมข้อมูลและประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ
5. ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
6. สรุปและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
7.  ประเมินผลและเผยแพร่ผลการดำเนินงานสู่สาธารณชน ใน
ลักษณะกิจกรรมต่างๆ
8. ตารางการปฏิบัติงาน
งบ

กิจกรรม ระยะเวลา ประมา ผู้รับผิดชอบ
ี่

1 เตรียมการโดยการ ประชุม พฤษภาคม 44,000 นายประเจิด
. วางแผนร่วมกันระหว่าง ครูผู้รับ สุขสิงห์
ผิดชอบโครงการ และนักเรียน
แกนนำโครงการ จำนวน 20
คน ถึงแนวทางการดำเนินงาน
โครงการ กิจกรรมตามโครงการ
เพื่อเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติการ
2 จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการ พฤษภาคม - นายประเจิด
. เลีย
้ งไก่พันธุ์ไข่บนบ่อปลา สุขสิงห์
3 ดำเนินงานตามโครงการ พฤษภาคม - นายประเจิด
. สุขสิงห์
4 รวบรวมข้อมูลและประเมินผล พฤษภาคม - นายประเจิด
. การดำเนินงานตามโครงการ สุขสิงห์
5 ปรับปรุงและพัฒนาโครงการ สิงหาคม - นายประเจิด
. และกิจกรรมตามโครงการอย่าง สุขสิงห์
ต่อเนื่อง
6 สรุปและรายงานผลการดำเนิน เมษายน - นายประเจิด
. งานโครงการ สุขสิงห์
7 ประเมินผลและเผยแพร่ผลการ เมษายน - นายประเจิด
. ดำเนินงาน สุขสิงห์
สู่สาธารณชน

9. การวัดและประเมินผล
ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ในหลายๆด้าน ทัง้ ในด้าน
นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และบทบาทของชุมชน โดยใช้วิธีการที่หลาก
หลาย ดังนี ้
เชิงปริมาณ
KPI เกณฑ์ เครื่องมือ
1. นักเรียนแกนนำโครงการ 1.นักเรียนแกนนำ 1. แบบบันทึก
ร้อยละ 100 เข้าร่วม โครงการเข้าร่วม การ ปฏิบัติ
กิจกรรมตามโครงการอย่าง กิจกรรมตามโครงการ งาน
ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ ในแต่ละกิจกรรมไม่ต่ำ
กว่า ร้อยละ 100 ของ
นักเรียนทัง้ หมด

2. นักเรียนโรงเรียนบ้าน 1.มีนักเรียนโรงเรียน 1. แบบลง


ห้วยสิงห์ ร้อยละ 80 เข้าร่วม บ้านห้วยสิงห์ เข้าร่วม ทะเบียนการ
กิจกรรมตามโครงการที่จัด กิจกรรมตามโครงการ เข้าร่วม
ขึน
้ เลีย
้ งไก่พันธุ์ไข่ สร้างราย กิจกรรม
ได้ ให้พออยู่
อย่างน้อยร้อยละ 80

เชิงคุณภาพ
KPI เกณฑ์ เครื่องมือ
1. นักเรียนแกนนำโครงการ 1.นักเรียนแกนนำ 1. แบบ
ร้อยละ 80 มีความรู้ ความ โครงการ ร้อยละ 80 ทดสอบ
เข้าใจเกี่ยวกับการเลีย
้ งไก่ ผ่านการทดสอบเกี่ยวกับ 2.
พันธุ์ไข่เป็ นอย่างดี การเลีย
้ งไก่พันธุ์ไข่ แบบสอบถาม
ความพึงพอใจ
2. ผลผลิต จากโครงการมี 1.ผลผลิตจากโครงการ 1. แบบบันทึก
ค ว า ม เ พ ีย ง พ อ ก ับ ค ว า ม ร้อยละ 80 สนับสนุน ผลผลิตตาม
ต้องการของโครงการอาหาร โครงการอาหารกลางวัน โครงการ
กลางวัน
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สนับสนุนโครงการอาหารของนักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์ เพิ่ม
แหล่งอาหารโปรตีนให้กับนักเรียน
2. ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียน โดยเฉพาะการ
เลีย
้ งไก่ไข่ เพื่อเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
3. ผสานความร่วมมือจากทุกๆฝ่ าย ไม่ว่าจะเป็ น นักเรียน ชุมชน
องค์กรและหน่วยงานในชุมชน ในการส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างกัน
4. ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้จากสภาพจริง สามารถบูรณาการการ
เรียนรู้ได้หลายหลาย และเรียนรู้ได้รอบด้าน
ลงชื่อ ………………………….. ผู้รับผิด
ชอบโครงการ
( นายประเจิด สุขสิงห์ )
ตำแหน่ง ครู คศ. 2

ลงชื่อ ………………………….. ผู้อนุมัติ


โครงการ
( นายอินสอน อินตาวงษ์ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์

ชื่อโครงการ เลีย
้ งปลาน้ำจืด
แผนงาน บริหารทั่วไป
สนองตอบ กลยุทธ์ของสถานศึกษาด้านปลูกฝั งคุณธรรม
ความสำนักในการเป็ นชาติไทยและ
วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สนองมาตรฐาน สพฐ. มาตรฐานที่ 3 ตัวชีว้ ัดที่ 3.4
มาตรฐานที่ 7 ตัวชีว้ ัด 7.2
สนองจุดเน้นของ สพฐ. ข้อที่ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม รักความ
เป็ นไทย ห่างไกลยาเสพติด มี
คุณลักษณะและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประเจิด สุขสิงห์
ลักษณะโครงการ โครงการใหม่
หน่วยงาน โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์
ระยะเวลาดำเนินการ มิถุนายน 2559 – เมษายน 2560
********************************************************
*************************
1. ความหมายและขอบข่ายของโครงการ
โครงการเลีย
้ งปลาน้ำจืดเป็ นโครงการที่ส่งเสริมได้เรียนรู้และปฏิบัติจริง
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ให้แก่
ตนเองและครอบครัวปลูกฝั่ งให้นก
ั เรียนรู้จักอดออม อดทนและความเสีย
สละให้แก่ส่วนรวมนักเรียนได้ฝึกปฏิบัติให้เกิดคุณธรรม คุณนิสัยในการ
ทำงานทำให้เกิดทักษะและสามารถนำทักษะจากการเลีย
้ งปลาน้ำจืดไป
ประกอบอาชีพได้
2. หลักการและเหตุผล
โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้
เรียนเป็ นสำคัญจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลายทัง้ ในและ
นอกสถานศึกษา ใช้วิธีการสอนที่หลากหลายทุกกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ลงมือ
ปฏิบัติจริงโดยเฉพาะการฝึ กทักษะวิชาชีพ โรงเรียนได้ยึดแนวทางการ
ปฏิบัติงานด้านการเกษตรตามแนวพระราชดำริขององค์พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง โดยพึง่ ตัวเองเป็ นหลักเพื่อเป็ น
กิจกรรมการเรียนการสอนที่ฝึกให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้จากการปฏิบัติ
จริงในโรงเรียนไปประกอบอาชีพในอนาคตได้ และเพื่อให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของนักเรียน ชุมชน ท้องถิ่นอีกทัง้ ยังเป็ นการสนับสนุน
โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
3. สภาพปั จจุบันและปั ญหา
โรงเรียนบ้านห้วยสิงห์เป็ นโรงเรียนขนาดกลางที่เปิ ดทำการสอนตัง้ แต่
ระดับอนุบาลปี ที่ 1 ถึงชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีนักเรียนจำนวนทัง้ สิน
้ 374
คน ส่วนใหญ่มีฐานะยากจนประกอบด้วยหลากหลายชนเผ่า เช่น กระเหรี่
ยง ละว้า พื้นเมือง และในปี การศึกษา 2549 โรงเรียนได้ให้โอกาส
ทางการศึกษาสำหรับนักเรียนที่อยู่ห่างไกลได้มาพักนอนที่โรงเรียน ทาง
โรงเรียนต้องจัดหาทุนจากหน่วยงานต่าง ๆ มาช่วยเหลือในด้านเสื้อผ้า
เครื่องแต่งกาย อุปกรณ์การเรียนแต่ก็ยังไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนที่เพิ่ม
มากยิ่งขึน

ทางโรงเรียนตระหนักถึงความสำคัญของปั ญหาดังกล่าวและเพื่อ
เป็ นการพัฒนาให้เด็กเหล่านีม
้ ีคณ
ุ ภาพชีวิตที่ดีขน
ึ ้ หนึ่งในปั จจัยสี่ที่มีความ
สำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคือเรื่องอาหารซึ่งปั จจุบันนับว่ายัง
ขาดแคลนเป็ นอย่างมาก แม้ว่าจะได้รับจัดสรรงบประมาณสนับสนุนจาก
ทางราชการแต่ก็ไม่เพียงพอต่อการจัดหาอาหารมาให้เด็กได้ครบทัง้ ปี ทาง
โรงเรียนจึงคิดหาวิธีแก้ปัญหานีโ้ ดยการช่วยเหลือตัวเอง ได้ร่วมมือกับคณะ
ครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขัน
้ พื้นฐาน นักการภารโรง ผู้
ปกครองและชุมชน จัดทำโครงการเลีย
้ งปลาน้ำจืดเพื่อเป็ นการหมุนเวียน
การเกษตรพืชผักสวนครัวเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
4. วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็ นอาหารเสริมโครงการอาหารกลางวัน
2. เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากประสบการณ์จริงเรื่องการ
เลีย
้ งปลาน้ำจืด
3. เพื่อฝึ กให้นักเรียนเป็ นคนที่มีความขยัน อดทนและรับผิดชอบต่อ
หน้าที่
4. เพื่อเป็ นการใช้พ้น
ื ที่ในโรงเรียนให้ได้ประโยชน์ทางการเกษตรอย่าง
คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
5. เป้ าหมาย
ด้านคุณภาพ
คณะครู โรงเรียน และชุมชนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงร่วมกับผู้อ่ น

สามารถนำความรู้ที่ได้จากโครงการมาประยุกต์และปรับปรุงให้เหมาะกับ
สภาพพื้นที่ที่แตกต่างกันสามารถแปรรูปอาหารจากปลา เป็ นการสร้างราย
ได้เสริมเกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็ นระบบร่วมกันทัง้ โรงเรียนและชุมชน
ด้านปริมาณ
คณะครูและนักเรียนบ้านห้วยสิงห์จำนวน 404 คน สามารถเลีย
้ งปลา
เพื่อเสริมสร้างรายได้และรู้จักอนุรักษ์พันธ์ปลาจาการลงมือปฏิบัติ
6. ทรัพยากรที่ต้องการ
6.1 ด้านบุคลากร
- นักเรียนทุกชัน
้ จำนวน 374 คน
- ครูและบุคลากรในโรงเรียน จำนวน 27 คน
- ครูผู้รับผิดชอบโครงการเลีย
้ งปลาน้ำจืด จำนวน 2 คน
- ผู้ปกครองและชุมชน จำนวน 20 คน
6.2 ด้านงบประมาณ
- ค่าพันธุ์ปลา (6,000 ตัว x 5 บาท) = 30,000 บาท
7. วิธีและขัน
้ ตอนการทำงาน
1. ศึกษาสภาพปั จจุบันในการเลีย
้ งปลาน้ำจืด
2. ประชุมวางแผนดำเนินการ
3. เสนอโครงการ
4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้
5. ติดตามกำกับประเมินผล
6. รายงานผลแลสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

8. วิธีการดำเนินงาน
ที่ กิจกรรม ระยะเวลา งบ ผู้รับผิด
ประมาณ ชอบ
1 ศึกษาสภาพปั จจุบัน ปั ญหา มิ.ย. 59 - อ.ประเจิด
ความต้องการ
จัดทำโครงการ มิ.ย. 59 - อ.ประเจิด
2
ขออนุมัติโครงการ มิ.ย. 59 - อ.ประเจิด
3
ดำเนินงานตามโครงการ มิ.ย. 59 – 30,000 อ.ประเจิด
4 เม.ย. 59
สรุปผล/ ประเมินผล เม.ย. 59 - อ.ประเจิด
5
รายงานผลการจัดกิจกรรม เม.ย 59 - อ.ประเจิด
6
7 การประเมินโครงการ เม.ย. 59 - อ.ประเจิด
9.การวัดและประเมินผล

ตัวบ่งชี ้ (KPI) เกณฑ์ เครื่องมือ


ด้านปริมาณ
มีการเลีย
้ งปลาหลาก สามารถเลีย
้ งปลา - แบบสังเกตการ
หลายพันธุ์ในโรงเรียน แต่ละชนิดให้เจริญ ปฏิบัติจริง
อย่างน้อย 10 ชนิด เติบโตและสามารถ - แบบบันทึกการ
ขึน
้ ไป จำหน่ายได้ จำนวน ปฏิบัติงาน
10 ชนิดขึน
้ ไป
ด้านคุณภาพ
นักเรียนมีความรู้และ 1. นักเรียนร้อยละ 80 - แบบทดสอบความรู้
ทักษะในการเลีย
้ งปลา มีความรู้ในการเลีย
้ ง - แบบสังเกตการ
ปลาและรู้ประโยชน์ ปฏิบัติจริง
ของอาหารที่ได้จาก
ปลา
2. สามารนำไปปฏิบัติ
ได้จริง

10.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. โรงเรียนมีอาหารสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
2. นักเรียนมีความรู้และสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
3. นักเรียนมีความขยัน อดทนและรับผิดชอบต่อหน้าที่
4. พื้นที่ในโรงเรียนได้ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรอย่างคุ้มค่าและเกิด
ประโยชน์สูงสุด

ลงชื่อ ประเจิด สุขสิงห์ ผู้รับผิด


ชอบโครงการ
( นายประเจิด สุขสิงห์ )
ครู คศ.2

ลงชื่อ อินสอน อินตาวงษ์ ผู้อนุมัติโครงการ


(นายอินสอน อินตาวงษ์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านห้วยสิงห์

โครงการ เลี้ยงหมูหลุมคู่ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กลุ่มงาน บริ หารทัว่ ไป
ผู้รับผิดชอบ นายประเจิด สุ ขสิ งห์
ลักษณะของโครงการ โครงการต่อเนื่อง
หน่ วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์
สนองมาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1 ผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ 1.1
มาตรฐานที่ 3 ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพสุ จริ ต
ตัวบ่งชี้ 3.1,3.2,3.3,3.4,3.5
มาตรฐานที่ 5 ผูเ้ รี ยนมีความรู้และทักษะที่จ ำเป็ นตามหลักสู ตร
ตัวบ่งชี้ 5.3,5.5
มาตรฐานที่ 6 ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง รักการเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ 6.2,6.3
มาตรฐานที่ 7 ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสยั สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ 7.4,7.5
สนองมาตรฐานด้ านการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 10 ครู มีความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
ตัวบ่งชี้ 10.3,10.4
มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
ตัวบ่งชี้ 14.7
มาตรฐานที่16 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริ การที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาตามธรรมชาติเต็ม
ศักยภาพ
ตัวบ่งชี้ 16.5
สนองมาตรฐานด้ านการพัฒนาชุ มชนแห่ งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น
ตัวบ่งชี้ 17.1
มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนาสถาบันทางวิชาการ และองค์กรภาค
รัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรี ยนรู้ในชุมชน
ตัวบ่งชี้ 18.1,18.2
1. ความหมายและขอบข่ ายของโครงการ

โครงการเลี้ยงหมูหลุม เป็ นโครงการที่จดั ทำขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพที่เอื้อต่อการจัดการศึกษา


ของคนในชุมชนและสังคมที่อาศัยอยู่ โดยเป็ นการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับอาชีพที่เหมาะสมต่อภาวะ
เศรษฐกิจปั จจุบนั และได้ยดึ แนวทางการปฏิบตั ิงานด้านการเกษตรตามแนวพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั ได้แก่ การเกษตรพอเพียง ซึ่ งการเลี้ยงหมู เป็ นอีกกิจกรรมหนึ่งที่ฝึกให้นกั เรี ยนได้ลงมือปฏิบตั ิ
จริ ง ได้เรี ยนรู้แบบพึ่งพาตนเอง เพื่อที่จะทำให้นกั เรี ยนเกิดความรัก และความสามัคคีภายในกลุ่ม ในการ
ทำงาน อีกทั้งยังเป็ นการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นผูท้ ี่มีทกั ษะในการเลี้ ยงหมู ซึ่ งถือได้วา่ เป็ นอาชีพหนึ่งที่สร้างราย
ได้ให้กบั คนในชุมชนเป็ นจำนวนมาก ที่สำคัญโครงการเลี้ยงหมูยงั สามารถนำเข้าในโครงการอาหารกลางวัน
ของนักเรี ยนได้ ประกอบกับเป็ นการสร้างรายได้ให้กบั นักเรี ยนในช่วงระหว่างเรี ยน และนอกจากนี้ นักเรี ยน
สามารถนำความรู้ที่ได้ ไปใช้เป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตได้

2. สภาพปัจจุบันและปัญหา
สภาพสังคมปัจจุบนั จะเห็นได้ว า่ ความนิยมในการบริ โภคเนื้ อหมู มีมากขึ้นเรื่ อย ๆ และจากการ
สำรวจตามร้านค้าในแหล่งชุมชนต่าง ๆ จะเห็นได้วา่ ส่ วนใหญ่จะเป็ นรายการอาหารเกี่ยวกับเนื้อหมู โดย
เฉพาะร้านหมูกระทะ ซึ่ งมีจ ำนวนมากและคนก็นิยมบริ โภคกันมาก สำหรับผูป้ กครองนักเรี ยนที่อยูบ่ นพื้นที่สูง
ส่ วนใหญ่จะนิยมเลี้ยงหมู ดังนั้นจะเห็นได้วา่ อาชีพเลี้ยงหมูเป็ นอาชีพหนึ่งที่สร้างรายได้ให้ก บั เกษตรกรเป็ น
จำนวนมาก แต่การเลี้ยงหมูน้ นั จะต้องใช้เวลานาน ซึ่ งปั ญหาที่เกิดขึ้นตามมานั้นมีมากถ้าไม่มีการป้ องกัน
อย่างจริ งจัง ก็คือ การเลี้ยงหมูแบบปล่อยให้หาอาหารบนดิน หรื อการเลี้ยงแบบคอก จะส่ งกลิ่นเหม็นรบกวน
เพื่อนบ้าน รวมไปถึงการเลี้ยงแบบปล่อยจะเป็ นปั ญหาในการทำลายพืชผลทางการเกษตรและทำลายทัศนวิสยั
ของชุมชน ส่ งผลต่อสุ ขภาพของคนในชุมชนเป็ นอย่างมาก ดังนั้นทางสมาชิกโครงการเลี้ยงหมู ของโรงเรี ยน
บ้านห้วยสิ งห์ จึงเห็นถึงปัญหาดังกล่าวนี้ จึงได้จดั ตั้งโครงการเลี้ยงหมูข้ ึนมา เพื่อเป็ นการแก้ไขปั ญหาที่เกิด
ขึ้น และยังเป็ นการพัฒนาให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ถึงการเลี้ ยงหมู สามารถเป็ นตัวอย่างให้กบั ผูอ้ ื่นได้ และนำความรู ้
ที่ได้รับไปเผยแพร่ ให้กบั ชุมชนของตนเองได้
3. หลักการและเหตุผล
สภาพชุมชนบ้านห้วยสิ งห์ ประชาชนส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ไม่วา่ จะเป็ นการทำนาทำ
สวน เช่น ข้าวโพด ลำไย ถัว่ เหลือง เป็ นต้น หรื ออาชีพเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว หมู ไก่ แพะ เป็ นต้น แต่ทว่า
การทำการเกษตรดังกล่าวยังไม่ประสบผลสำเร็ จเท่าที่ควร เนื่องจากยังขาดความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องดังกล่าว
โรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์ ตั้งอยู่ ณ หมู่ที่ 4 ตำบลแม่ยวม อำเภอแม่สะเรี ยง จังหวัดแม่ฮ่องสอนในปี การศึกษา
2558 มีนกั เรี ยนจำนวน 374 คน แยกเป็ นชาย 161 คน หญิง 213 คน โดยได้รับนักเรี ยนจากพื้นที่ห่างไกล
มาพักนอนในโรงเรี ยน ผูป้ กครองนักเรี ยนส่ วนใหญ่จะเลี้ยงหมูแบบปล่อยซึ่ งประสบปั ญหาหลาย ๆ อย่าง
โรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์เป็ นโรงเรี ยนหนึ่งที่จดั กิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่สนองต่อความต้องการของสังคม โดยส่ ง
เสริ มการเรี ยนรู้เกี่ยวกับเกษตรกรรม และได้ยดึ แนวทางปฏิบตั ิงานด้านการเกษตรตามแนวพระราชด ำริ ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้แก่ การเกษตรพอเพียง โดยการเลี้ยงหมู ซึ่ งเป็ นการสร้างให้นกั เรี ยนได้ลงมือ
ปฏิบตั ิจริ ง ได้เรี ยนรู้โดยการพึ่งพาตนเอง เพื่อที่จะทำให้นกั เรี ยนเกิดความรัก และความสามัคคีภายในกลุ่ม
ในการทำงาน และพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นผูท้ ี่มีทกั ษะในการเลี้ ยงหมู ซึ่ งเป็ นอาชีพหนึ่งที่สร้างรายได้ให้ก บั คนใน
หมู่บา้ นเป็ นจำนวนมาก ที่สำคัญโครงการเลี้ยงหมูน้ ีสามารถนำเข้าในโครงการอาหารกลางวันของนักเรี ยนได้
และเป็ นการสร้างรายได้ให้กบั นักเรี ยนในช่วงระหว่างเรี ยน นอกจากนี้ นักเรี ยนสามารถนำความรู ้ที่ได้ เป็ น
แนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตได้จริ ง
4. จุดประสงค์
1. เพื่อให้ได้เรี ยนรู้และลงมือปฏิบตั ิจริ ง เกี่ยวกับการเลี้ยงหมู
2. เพื่อให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู้ถึงทักษะการเลี้ยงหมูและมีความเข้าใจได้อย่างแท้จริ ง
3. เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างสู งสุ ด
4. เพื่อเป็ นที่สนองต่อโครงการ อาหารกลางวัน ของโรงเรี ยนและนักเรี ยนหอพัก
5. เพื่อให้นกั เรี ยนสามารถนำความรู ้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและกับชุมชน
6. เพื่อให้น กั เรี ยนเรี ยนรู้อย่า งมีคุณภาพ ให้เ กิด ความสุ ข ความสามัค คี กับ งานที่ไ ด้รับ ผิด ชอบ
สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ ให้กบั ผูอ้ ื่นได้
5. เป้าหมาย
* เชิงปริมาณ
- นักเรี ยนสมาชิกโครงการเลี้ยงหมูหลุม จำนวน 20 คน
- ครู ผรู้ ับผิดชอบ จำนวน 2 คน
- ประชาชนในเขตชุมชนบ้านห้วยสิ งห์ที่ประกอบอาชีพเลี้ยงหมู จำนวน 5 ราย
- ผูป้ กครองนักเรี ยนหอพักและประชาชนในบริ เวณดังกล่าว จำนวน 10 ราย
* เชิงคุณภาพ
- นักเรี ยนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
- นักเรี ยนเกิดทักษะการเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิจริ ง
- นักเรี ยนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ ให้กบั ผูอ้ ื่นได้
- นักเรี ยนเรี ยนรู้อย่างมีคุณภาพและมีความสุ ขกับการปฏิบตั ิจริ ง
- สามารถใช้เป็ นอาหารกลางวันของโรงเรี ยนได้
- นักเรี ยนมีความคิดสร้างสรรค์และรู ้จกั ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

6. ทรัพยากร
1. งบประมาณในการดำเนินโครงการ จำนวน 12,000 บาท เพื่อจัดหาพันธุห์ มูสำหรับเลี้ยง จำนวน
4 ตัว ตัวละ 2,000 บาท อาหารหมู 6 กระสอบ กระสอบละ 500 บาท ยารักษาโรค 1,000
2. ชุมชนบ้านห้วยสิ งห์
3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

7. วิธีการ/ ขั้นตอน / และระยะเวลาในการดำเนินการ


* วิธีการดำเนินงาน
1. จัดตั้งคณะกรรมการการดำเนินงาน
2. ประชุมวางแผนร่ วมกันระหว่างผูด้ ำเนินการโครงการ ที่ปรึ กษาโครงการ ผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง
เพื่อจัดทำโครงการ วางแผนการดำเนินงานและขออนุมตั ิโครงการ
3. ดำเนินโครงการตามแผนการที่วางไว้
4. รวบรวมข้อมูลและสรุ ปผลการดำเนินโครงการ
5. รายงานผลการดำเนินงาน

8.ตารางแผนการปฏิบัติงาน
ที่ กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผูร้ ับผิดชอบ
1 จัดตั้งคณะกรรมการการดำเนินงาน ก.ค. 59 - อ.ประเจิด
2 ประชุมวางแผนร่ วมกันระหว่าง ก.ค. 59 - อ.ประเจิด
ดำเนินการโครงการที่ปรึ กษา
โครงการ ผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อจัด
ทำโครงการ วางแผนการดำเนินงาน
3 เสนอโครงการ ก.ค. 59 - อ.ประเจิด
4 ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ก.ค. 59 – เม.ย 12,000 อ.ประเจิด
60
5 รวบรวมข อ้ มูล และสรุ ป ผลการ ก.ค. 59 – เม.ย - อ.ประเจิด
ดำเนินโครงการ 60
6 รายงานผลการดำเนินงาน ก.ค. 59 – เม.ย - อ.ประเจิด
60

9.การวัดและประเมินผล
ตัวบ่ งชี้ (KPI) เกณฑ์ เครื่องมือ
ด้ านปริมาณ
มีการเลี้ยงหมูในโรงเรี ยน สมารถเลี้ยงและดูแลหมูจ ำนวน - แบบสังเกตการปฏิบตั ิจริ ง
จำนวน 4 ตัว 4 ตัวได้อย่างถูกสุ ขลักษณะและ - แบบบันทึกการปฏิบตั ิงาน
มีการจัดการที่ดี

ด้ านคุณภาพ 1. นักเรี ยนร้อยละ 80 มีความรู ้ - แบบทดสอบความรู ้


นักเรี ยนมีความรู้และทักษะใน ในเรื่ องการเลี้ยงหมูและรู ้ - แบบสังเกตการปฏิบตั ิจริ ง
การเลี้ยงหมู ประโยชน์ของเลี้ยงหมูที่ถูกวิธี
2. สามารนำไปปฏิบตั ิได้จริ ง

10. ผลที่คาดว่าจะได้ รับ


นักเรี ยนทุกคนจะได้รับความรู ้ในการเลี้ ยงหมู ได้รู้วิธีการเลี้ยงหมูและขั้นตอนต่าง ๆ ในการ
เลี้ยง และลักษณะหมูแต่ละพันธุ์ ด้วยการลงมือปฏิบตั ิจริ งของนักเรี ยน ทำให้นกั เรี ยนเป็ นผูท้ ี่มีความขยัน ตรง
ต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อการงานและหน้าที่ รู ้จกั แก้ไขปั ญหาและอุปสรรคด้วยตนเองเป็ นการสร้างรายได้
ระหว่างเรี ยน นอกจากนี้ ยงั เป็ นอาหารกลางวันของโรงเรี ยน และนักเรี ยนสามารถนำกระบวนการเรี ยนรู ้ไปใช้
ดำเนินในชีวิตประจำวันได้
ลงชื่อ..............................................ผูเ้ สนอโครงการ
( นายประเจิด สุ ขสิ งห์ )
ครู ค.ศ. 2

ลงชื่อ.............................................. ผูอ้ นุมตั ิโครงการ


(นายอินสอน อินตาวงษ์)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์

ชื่อโครงการ โครงการเพาะเห็ดนางฟ้ า
กลุ่มงาน บริ หารทัว่ ไป
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประเจิด สุ ขสิ งห์
ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
หน่ วยงานที่รับผิดชอบ โรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์
สนองมาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1 ผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ 1.1
มาตรฐานที่ 3 ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพสุ จริ ต
ตัวบ่งชี้ 3.1,3.2,3.3,3.4,3.5
มาตรฐานที่ 5 ผูเ้ รี ยนมีความรู้และทักษะที่จ ำเป็ นตามหลักสู ตร
ตัวบ่งชี้ 5.3,5.5
มาตรฐานที่ 6 ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง รักการเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ 6.2,6.3
มาตรฐานที่ 7 ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสยั สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ 7.4,7.5
สนองมาตรฐานด้ านการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 10 ครู มีความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
ตัวบ่งชี้ 10.3,10.4
มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
ตัวบ่งชี้ 14.7
มาตรฐานที่16 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริ การที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาตามธรรมชาติเต็ม
ศักยภาพ
ตัวบ่งชี้ 16.5
สนองมาตรฐานด้ านการพัฒนาชุ มชนแห่ งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น
ตัวบ่งชี้ 17.1
มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนาสถาบันทางวิชาการ และองค์กรภาค
รัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรี ยนรู้ในชุมชน
ตัวบ่งชี้ 18.1,18.2

1. ความหมายและขอบข่ ายของโครงการ
โครงการเพาะเห็ดนางฟ้ า เป็ นโครงการที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเรี ยนรู ้เกี่ยวกับการเพาะเห็ดนางฟ้ า การ
ดูแล การจัดการผลผลิต การฝึ กทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย ทักษะด้านคุณธรรม คุณนิสยั ซึ่ งสามารถนำ
ประสบการณ์ที่ได้เรี ยนรู้ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและนำไปประกอบอาชีในอนาคตได้ อีกทั้งเป็ นโครงการ
ที่ผลิตอาหารเสริ มให้กบั โครงการอาหารกลางวันของโรงเรี ยน ทำให้นกั เรี ยนมีอาหารหลากหลายรับประทาน
ราคาถูกและปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ

2. สภาพปัจจุบันและปัญหา
โรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์เป็ นโรงเรี ยนขนาดใหญ่ปัจจุบนั มีนกั เรี ยนจำนวนทั้งสิ้ น 374 คน มีนกั เรี ยนพัก
นอนจำนวน 274 คน ผูป้ กครองนักเรี ยนส่ วนใหญ่มีฐานะยากจน ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จากปี การศึกษา
2549 โรงเรี ยนประสบปัญหาการขาดแคลนงบประมาณในการจัดสรรอาหารเนื่องจากอาหารมีราคาสู งขึ้ น งบ
ประมาณจึงไม่เพียงพอในการจัดหาอาหารที่มีคุณภาพและเพียงพอสำหรับนักเรี ยน
ทางโรงเรี ยนตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และจำเป็ นต้องแก้ไขปั ญหาโดยการช่วยเหลือตัวเอง โดยการ
ทำโครงการเห็ดนางฟ้ า ให้ผลคุม้ ค่า ส่ งผลคุม้ ทุน (การเพาะเห็ดนางฟ้ า) เพื่อเป็ นการหมุนเวียนผลผลิตทางการ
เกษตร พืชผักสวนครัว ในโรงเรี ยน สนับสนุนโครงการอาหารกลางวันโรงเรี ยน อีกทั้งยังเป็ นการส่ งเสริ มให้ผู ้
เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ ทักษะ และนำไปสู่ อาชีพ ในอนาคตได้

3. หลักการและเหตุผล
ในสังคมของทุกประเทศเด็กเป็ นทรัพยากรที่สำคัญ เพราะความรู ้ความสามารถของเด็กๆ จะเป็ นกำลัง
สำคัญของการพัฒนาประเทศในอนาคต ถ้าเด็กมีความรู ้ ทักษะ คุณธรรม คุณนิสยั ที่พึงประสงค์ สุ ขภาพกาย
และสุ ขภาพจิตที่สมบูรณ์ สามารถเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ก็จะเป็ นกำลังที่สำคัญของประเทศชาติ
ตามมาตรฐานการศึกษาด้านผูเ้ รี ยน มาตรฐานข้อที่ 5 ผูเ้ รี ยนมีความรู ้และทักษะพื้นฐานที่จ ำเป็ นตาม
หลักสู ตร โรงเรี ยนจัดการเรี ยนการสอนตามแนวปฏิรูปการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ จัดกิจกรรมการเรี ยน
การสอนอย่างหลากหลายทั้งในและนอกสถานศึกษา ให้ผเู ้ รี ยนได้ลงมือปฏิบตั ิจริ งโดยเฉพาะการฝึ กทักษะ
วิชาชีพ โรงเรี ยนได้ยดึ แนวทางการปฏิบตั ิงานด้านการเกษตรตามแนวพระราชดำริ ขององค์พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั ในเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียง โดยพึ่งตัวเองเป็ นหลักเพื่อเป็ นกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ฝึกให้ผู ้
เรี ยนสามารถนำความรู้จากการปฏิบตั ิจริ งในโรงเรี ยนไปประกอบอาชีพในอนาคตได้ ดังนั้นทางโรงเรี ยนจึงเห็น
ว่าการเพาะเห็ดนางฟ้ าจึงเป็ นโครงการหนึ่งที่สามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนด้านความรู ้และทักษะ และเพื่อให้สอดคล้อง
กับความต้องการของนักเรี ยน ชุมชน ท้องถิ่นอีกทั้งยังเป็ นการสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันของโรงเรี ยน

4. วัตถุประสงค์
5. เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู้เรื่ องเห็ดนางฟ้ า
6. เพื่อให้นกั เรี ยนได้ศึกษาและเรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิจริ งเรื่ องการเพาะเห็ดนางฟ้ า
7. เพื่อเป็ นอาหารเสริ มโครงการอาหารกลางวัน
8. เพื่อฝึ กให้นกั เรี ยนเป็ นคนที่มีความขยัน อดทนและรับผิดชอบต่อหน้าที่
5. เป้าหมาย
ด้านคุณภาพ
1. นักเรี ยนที่รับผิดชอบโครงการ จำนวน 20 คน มีความรู ้ มีคุณนิสยั ที่ดีในการ
ทำงานและสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
ด้านปริ มาณ
1. นักเรี ยนโรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์ได้รับประทานอาหารที่ปรุ งด้วยเห็ดนางฟ้ า
6. ทรัพยากรที่ต้องการ
6.1 ด้ านบุคลากร
- นักเรี ยนจำนวน 20 คน
- ครู จำนวน 3 คน
6.2 ด้ านงบประมาณ
- ค่าก้อนเห็ด ก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้ า 8 บาท x 1,500 ก้อน = 12,000 บาท
- อุปกรณ์ในการทำโรงเรื อนเพาะเห็ด = 2,000 บาท
รวม 14,000 บาท
7. วิธีการ ขั้นตอนและระยะเวลาในการดำเนินงาน
1. ศึกษาสภาพปัจจุบนั ในการเพาะเห็ดนางฟ้ า
2. ประชุมวางแผนดำเนินการ
3. เสนอโครงการ
4. จัดทำโครงการ
5. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
5.1 รับสมัครสมาชิก/สัง่ ก้อนเห็ดนางฟ้ า
5.2 ทำโรงเรื อนเพาะเห็ด
5.3 จัดการเรี ยนการสอนบูรณาการ
5.4 ศึกษาการเพาะเห็ดนางฟ้ าจากวิทยากรภายนอก
5.5 ศึกษาดูแลเห็ดนางฟ้ า
5.6 ประชุมชี้แจงปัญหา
5.7 การจัดการผลผลิต (บัญชีรายรับ - รายจ่าย)
6. ประเมินผลการดำเนินงานแต่ละกิจกรรม
7. สรุ ปโครงการ

8.ตารางแผนการปฏิบัติงาน
ที่ กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผูร้ ับผิดชอบ
1. ศึกษาสภาพปัจจุบนั ในการเพาะเห็ดนางฟ้ า ส.ค. – เม.ย - นายประเจิด สุ ขสิ งห์

2. ประชุมวางแผนดำเนินการ ส.ค. – เม.ย - ผูบ้ ริ หาร


3. จัดทำโครงการ ส.ค. – เม.ย - นายประเจิด สุ ขสิ งห์
4. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ส.ค. – เม.ย นายประเจิด สุ ขสิ งห์
4.1 รับสมัครสมาชิก/สัง่ ก้อนเห็ดนางฟ้ า ส.ค. – เม.ย 12,000 นายประเจิด สุ ขสิ งห์
4.2 ทำโรงเรื อนเพาะเห็ด ส.ค. – เม.ย 2,000 นักการภารโรง
4.2 จัดการเรี ยนการสอนบูรณาการ ส.ค. – เม.ย - นายประเจิด สุ ขสิ งห์

4.3 ศึกษาการเพาะเห็ดนางฟ้ าจากวิทยากร ส.ค. – เม.ย - นายประเจิด สุ ขสิ งห์


ภายนอก
4.4 ศึกษาดูแลเห็ดนางฟ้ า ส.ค. – เม.ย - นายประเจิด สุ ขสิ งห์

4.5 ประชุมชี้แจงปัญหา ส.ค. – เม.ย - นักเรี ยน

4.6 การจัดการผลผลิต (บัญชีรายรับ - รายจ่าย) ส.ค. – เม.ย - นายประเจิด สุ ขสิ งห์

ประเมินผลโครงการ เม.ย. - นายประเจิด สุ ขสิ งห์

สรุ ปโครงการ เม.ย - นายประเจิด สุ ขสิ งห์


รวม 14,000

9. การวัดและประเมินผลโครงการ
ตัวชี้วดั ( KPI ) เกณฑ์ เครื่ องมือ
เชิงปริมาณ
1. นักเรี ยนโรงเรี ยนบ้านห้วย นักเรี ยนร้อยละ 95 ได้รับประทาน แบบบันทึกรายการอาหาร
สิ งห์ทุกคนได้รับประทานอาหารที่ อาหารที่ปรุ งด้วยเห็ดนางฟ้ า
ปรุ งด้วยเห็ดนางฟ้ า

เชิงคุณภาพ
1.นักเรี ยน มีความรู้ มีคุณนิสยั ที่ดี -นักเรี ยนร้อยละ 75 มีความรู ้เกี่ยวกับ แบบทดสอบ,แบบบันทึกการ
ในการทำงานและสามารถนำไป การเพาะเห็ด สังเกต,การสัมภาษณ์
ประกอบอาชีพได้ - นักเรี ยนกลุ่มสนใจร้อยละ 95 มี
ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย

10.ผลที่คาดว่าจะได้ รับ
1. นักเรี ยนมีความรู้เรื่ องเห็ดนางฟ้ า
2. นักเรี ยนได้ศึกษาและเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิจริ งเรื่ องการเพาะเห็ดนางฟ้ า
3. นักเรี ยนได้รับประทานอาหารอย่างหลากหลายและปลอดภัย
4. นักเรี ยนมีความขยัน อดทนและรับผิดชอบต่อหน้าที่

ลงชื่อ……………………….......…ผูร้ ับผิดชอบโครงการ
( นายประเจิด สุ ขสิ งห์ )
ครู อันดับ คศ.2

ลงชื่อ…………… ………………....ผูอ้ นุมตั ิโครงการ


(นายอินสอน อินตาวงษ์)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์

โครงการ ผักปลอดสารพิษ
กลุ่มงาน บริ หารทัว่ ไป
ผู้รับผิดชอบ นายประเจิด สุ ขสิ งห์
ลักษณะของโครงการ โครงการต่อเนื่อง
หน่ วยงาน โรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์
สนองมาตรฐานด้ านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1 ผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ 1.1
มาตรฐานที่ 3 ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพสุ จริ ต
ตัวบ่งชี้ 3.1,3.2,3.3,3.4,3.5
มาตรฐานที่ 5 ผูเ้ รี ยนมีความรู้และทักษะที่จ ำเป็ นตามหลักสู ตร
ตัวบ่งชี้ 5.3,5.5
มาตรฐานที่ 6 ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง รักการเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ 6.2,6.3
มาตรฐานที่ 7 ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสยั สุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ 7.4,7.5
สนองมาตรฐานด้ านการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 10 ครู มีความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
ตัวบ่งชี้ 10.3,10.4
มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
ตัวบ่งชี้ 14.7
มาตรฐานที่16 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริ การที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาตามธรรมชาติเต็ม
ศักยภาพ
ตัวบ่งชี้ 16.5
สนองมาตรฐานด้ านการพัฒนาชุ มชนแห่ งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่งเรี ยนรู ้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น
ตัวบ่งชี้ 17.1
มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการร่ วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนาสถาบันทางวิชาการ และองค์กรภาค
รัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาวิถีการเรี ยนรู้ในชุมชน
ตัวบ่งชี้ 18.1,18.2
1. ความหมายขอบเขตของโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรี ยน หมายถึงโครงการที่จดั ขึ้น เพื่อจัดการเรี ยนรู ้ดา้ นการเกษตรในโรงเรี ยนโดย
การปลูกพืชผักปลอดสารพิษจะใช้วิธีตามธรรมชาติในการเพาะปลูกและใช้ปุ๋ยคอกในการบำรุ งพืชผักให้
สมบูรณ์และไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพ

2. สภาพปัจจุบัน/ปัญหา
โรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์ ตั้งอยูท่ ี่หมู่บา้ นห้วยสิ งห์หมู่ 4 ต.แม่ยวม อ.แม่สะเรี ยง จ.แม่ฮ่องสอน มี
เนื้อที่ประมาณ 22 ไร่ 3 งาน โรงเรี ยนได้จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญโดยใช้กระบวนการ
กลุ่ม เรี ยนรู ้จากโครงงาน วิทยากร ภูมิปัญญาในท้องถิ่น จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
สอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รี ยน ชุมชนและท้องถิ่น
ปั จจุบนั ชุมชนในท้องถิ่นหันมาใช้สารเคมีเพื่อประกอบอาชีพการเกษตรสู งมาก ซึ่ งส่ งผล
กระทบโดยตรงต่อแหล่งน้ำ ดิน ในแต่ละปี สัตว์น ้ำตายเป็ นจำนวนมาก ถ้าหากไม่รีบแก้ไข จะส่ งผลกระทบต่อ
ชุมชนในระยะยาว ไม่วา่ ทางด้านเศรษฐกิจ ความสงบสุ ขของสังคม ซึ่ งนำเรื่ องปั ญหายาเสพติดและยังมีผลกระ
ทบในด้านการศึกษาต่อไปอีก ดังนั้นทางโรงเรี ยนจึงจัดทำโครงการเกษตรในโรงเรี ยนขึ้นภายในโรงเรี ยนเพื่อ
เป็ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน เช่นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรี ยน เพื่อให้ชุมชนได้ศึกษาดูงานเป็ น
แบบอย่างในการประกอบอาชีพทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำริ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั

3. หลักการและเหตุผล
การเรี ยนการสอนมีจุดมุ่งหมายอยูท่ ี่ผเู ้ รี ยน เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีพฒั นาการที่ดี มีทกั ษะในการคิด
มีทกั ษะในการทำงาน มีคุณธรรมคุณนิสยั อันพึงประสงค์ พัฒนาการตามศักยภาพ เรี ยนรู ้คู ่คุณธรรม สภาพ
แวดล้อมในโรงเรี ยนมีอิทธิพลต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน เพื่อเน้นการส่ งเสริ มสนับสนุนการจัด
กิจกรรมการเรี ยนการสอน จัดสภาพแวดล้อมในโรงเรี ยนให้สอดคล้อง และเอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรี ยนการ
สอน โรงเรี ยนได้จดั ทำโครงการเกษตรในโรงเรี ยนขึ้น เพื่อให้นกั เรี ยนได้ศึกษาสภาพแวดล้อมในโรงเรี ยน มอง
เห็นความสำคัญ คุณค่า มีทศั นคติที่ดีต่อสภาพแวดล้อมในโรงเรี ยน นักเรี ยนสามารถวางแผนพัฒนาสภาพ
แวดล้อมในโรงเรี ยน การอนุรักษ์ การนำไปใช้ให้คุม้ ค่า ประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุ ดและสามารถวางแผน
พัฒนาแก้ไขปัญหาสภาพแวดล้อมในชุมชนของตนเองได้อีกด้วย

4. วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็ นการสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันของนักเรี ยน
2. เพื่อเป็ นแหล่งการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน ชุมชนในท้องถิ่น โรงเรี ยนอื่น ๆ
3. เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในโรงเรี ยน
4. เพื่อเป็ นตัวอย่างในการทำเกษตรพอเพียงใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ไม่ใช้สารเคมี
5. เพื่อจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของนักเรี ยน ผูป้ กครอง ชุมชนในท้อง
ถิ่น

5. เป้าหมาย
-เชิงปริ มาณ
โรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์มีผกั ไว้ประกอบอาหารและพืชผักมีจ ำหน่ายตลอดทั้งปี
- เชิงคุณภาพ
นักเรี ยนได้ท ำการเกษตรและนำความรู ้ที่ได้ไปประกอบเป็ นอาชีพเสริ มระหว่างเรี ยนและช่วง
ปิ ดภาคเรี ยนได้ และไม่ใช้ปุ๋ยเคมี

6. ทรัพยากรที่ต้องการ
6.1. ด้านบุคลากร
1.1. คณะครู นักการภารโรง จำนวน 20 คน
1.2 นักเรี ยน จำนวน 150 คน
6.2. ด้านงบประมาณ 2,500 บาท

7. วิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน
1. ศึกษาสภาพปัจจุบนั
2. การวางแผนเสนอโครงการ
3. ประชุมวางแผนดำเนินการ
4. ดำเนินการตามขั้นตอนที่วางไว้
5. ติดตามกำกับประเมินผล
6. สรุ ปผลการดำเนินงาน

8.ตารางแผนการปฏิบัติงาน
ที่ กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผูร้ ับผิดชอบ
1 ประชุมจัดวางแผน มิ.ย. 59 - อ.ประเจิด
2 การวางแผนเสนอโครงการ มิ.ย. 59 - อ.ประเจิด
3 ประชุมวางแผนดำเนินการ มิ.ย. 59 - อ.ประเจิด
4 ดำเนินการตามขั้นตอนที่วางไว้ มิ.ย 59-เม.ย 59 2,500 อ.ประเจิด
5 ติดตามกำกับประเมินผล มิ.ย 59-เม.ย 59 - อ.ประเจิด
6 สรุ ปผลการดำเนินงาน เม.ย 59 - อ.ประเจิด

9.การวัดและประเมินผล
ตัวบ่ งชี้ (kpI) เกณฑ์ เครื่องมือ
ด้ านปริมาณ โรงเรี ยนมีผกั ไว้ประกอบอาหาร -บัญชีรายรับรายจ่าย
มีการปลูกผักชดเชยผักที่เก็บแล้ว และจำหน่ายทั้งปี ร้อยละ 100 -แบบบันทึกการปลูกผัก
ตลอดทั้งปี

ด้ านคุณภาพ ป ล ูก ผ กั ป ล อ ด ส า ร พ ิษ แ ล ะ -บัญชีรายรับรายจ่าย
การปลูกผักปลอดสารพิษและ จำหน่า ยได้ร้อ ยละ 100 ภายใน
จำหน่ายในชุมชนได้ ชุมชนได้

10. ผลทีค่ าดว่าจะได้ รับ


10.1 นักเรี ยนทุกคนได้รับอาหารกลางวันที่มีสารอาหารครบ 5 หมู่
10.2 นักเรี ยนร้อยละ 80 พัฒนาทักษะกระบวนการคิด กระบวนการทำงาน
10.3 นักเรี ยนร้อยละ 80 มีความอดทน ขยัน รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
10.4 สภาพแวดล้อมในโรงเรี ยง ร่ มรื่ น สวยงาม
10.5 นักเรี ยนร้อยละ 80 มีทกั ษะวิชาชีพ สามารถนำไปประกอบวิชาชีพได้
10.6 เป็ นแหล่งเรี ยนรู้ศึกษาดูงาน จากชุมชน โรงเรี ยนต่าง ๆ

ลงชื่อ.......................................................ผูร้ ับผิดชอบโครงการ
(นาย ประเจิด สุ ขสิ งห์)
ครู ค.ศ.2

ลงชื่อ.................... .................. ผูอ้ นุมตั ิโครงการ


(นายอินสอน อินตาวงษ์)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรี ยนบ้านห้วยสิ งห์

กลุ่มสมาชิกโครงการเกษตรในโรงเรี ยน
( ผักปลอดสารพิษ )
ครู ที่ปรึ กษา นายประเจิด สุ ขสิ งห์
ที่ ชื่อ - นามสกุล
1

2
3

ลงชื่อ ................................................ครู ที่ปรึ กษาโครงการ


( นายประเจิด สุ ขสิ งห์ )
ครู คศ. 2

You might also like