You are on page 1of 256

หลักสูตรสถานศึกษา

โรงเรียนบ้านเมืองแก
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑-๖
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สุรินทร์ เขต๒
จังหวัดสุรินทร์


คำนำ

จุดประสงค์ของการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเมืองแก
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ – ๖ ตามหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อใช้ในการบริหารการจัดการ
ศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพตาม
เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ฉบับ
ปรับปรุง (พุทธศักราช ๒๕๔๕)
ในการจัดทำครั้งนี้ได้ทำการประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ศึกษาสภาพปั ญหา บริบท ของการจัดการ
ศึกษา แต่งตั้งคณะทำงาน วางแผนการปรับปรุงหลักสูตรรายกลุ่มสาระการเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษา ประเมินผลการใช้หลักสูตร ก่อนใช้ ระหว่างใช้ และหลังใช้
เชิงระบบ จนได้หลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ ๑ – ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ฉบับสมบูรณ์
ขอขอบคุณ ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวแทนผู้
ปกครอง คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกท่าน คณะผู้เชี่ยวชาญ คณะ
ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุรินทร์ เขต ๒ ที่ให้การ
สนับสนุน ร่วมมือ พัฒนาจนแล้วเสร็จ

คณะผู้จัดทำ

คำสั่ง โรงเรียนบ้านเมืองแก
ที่ 28 /2555
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2556 โรงเรียนบ้านเมืองแก ตามหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการได้
ประกาศให้ทุกโรงเรียนทั่วประเทศได้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ในปี การศึกษา 2556 เพื่อให้การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเป็ น
ไปตามวัตถุประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551 และสัมฤทธิ์ผลตาม
เป้ าหมายที่วางไว้ จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการดำเนินการจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2556 ตามสาระต่าง ๆ ดัง
ต่อไปนี้
1.คณะกรรมการจัดทำหลักสูตร ประกอบด้วย
1. นายพิเชียร เอื้อเฟื้ อ รอง ประธานคณะกรรมการ
สุข ผอ.โรงเรียน
2. นายวิจิตร คงทรัพย์ ครู รองประธานกรรมการ
3. นางชิดกมล ชมพันธ์ ครู กรรมการ
4. นางสาคร คงทรัพย์ ครู กรรมการ
5. นายศุภฤกษ์ ครู กรรมการ
ทองหล่อ
6. นายประสพ แสนสุข ครู กรรมการ
7. นายนิคม บุญล้อม ครู กรรมการ
8. นางสาวเกื้อกูล พิศ ครูธุรการ กรรมการและ
เพ็ง เลขานุการ
9. นายประสิทธิ์ ครูพี่เลี้ยงฯ กรรมการและผู้ช่วย
อุดหนุน เลขานุการ
มีหน้าที่จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตามสาระต่าง ๆ และพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาในกลุ่มสาระที่รับผิดชอบ ให้สำเร็จตามเป้ าหมาย ทันต่อการประกาศใช้
ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556
2.คณะอนุกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ประจำกลุ่มสาระการเรียนรู้

ลำดับ ชื่อ – สกุล กลุ่มสาระที่รับผิดชอบ


ที่
1. นายประสพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แสนสุข
2. นายนิคม บุญล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
3. นางสาคร คง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯและ
ทรัพย์ พลศึกษา
4. นายพิเชียร กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯฯ
เอื้อเฟื้ อสุข
5. นายศุภฤกษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพฯ
ทองหล่อ
6. นายวิจิตร คง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและ
ทรัพย์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
7. นางชิดกมล ชม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
พันธ์
8. นายพุทธิพงศ์ พา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
เจริญ
3.คณะอนุกรรมการ จัดทำระเบียบการวัดผลประเมินผลและการเทียบโอน
ประกอบด้วย
1. นายพิเชียร รองผู้อำนวยการ ประธานคณะกรรมการ
เอื้อเฟื้ อสุข โรงเรียน
2. นายวิจิตร คง ครู รองประธานคณะ
ทรัพย์ กรรมการ
3. นางชิดกมล ชม ครู กรรมการ
พันธ์
4. นางสาคร คง ครู กรรมการ
ทรัพย์
5. นางสาวเกื้อกูล ครูธุรการ กรรมการและ
พิศเพ็ง เลขานุการ
6. นายประสิทธิ์ ครูพี่เลี้ยงฯ กรรมการและผู้ช่วย
อุดหนุน เลขานุการ
มีหน้าที่
1.กำหนดสัดส่วนเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา การจัด
แผนการเรียน/กลุ่มการเรียนของสาระการเรียนรู้และการจัดทำและพัฒนาหลักสูตร
ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน วิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน การวัดผลประเมิน
ผลและการเทียบโอน
2.ดำเนินการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญและ
การวัดประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แสดงถึงศักยภาพและความสามารถ
ที่แท้จริงของผู้เรียน
3.พัฒนาแผนการเรียนรู้ให้เหมาะสม เพื่อให้การเรียนการสอนนำไปสู่การ
เรียนรู้มากที่สุด
4.พัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้
เรียนเป็ นสำคัญ
5.กำหนดแนวทางการพัฒนา เครื่องมือ และกำกับติดตามการดำเนินการ
วัดประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เป็ นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ของกลุ่มสาระฯและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
6. วิเคราะห์พัฒนาการของนักเรียนเป็ นรายบุคคลและรายกลุ่มหรือชั้นเรียน
7. ดำเนินการวิจัยการศึกษาในชั้นเรียนเพื่อแก้ปั ญหาและพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล ให้เกิดและพัฒนาสาห้องเรียน
คุณภาพ
8. ดำเนินงานนิเทศภายในสถานศึกษาในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และ
ประสบการณ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนและประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
งานส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
9. รวบรวมข้อมูลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียน
รู้และการจัดกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนตรวจสอบและประเมินการบริหาร
หลักสูตรสาระการเรียนรู้ วางแผนพัฒนาการบริหารหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การวัดประเมินผลและการเทียบโอนอย่างเป็ นระบบ
10. รายงานผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครูและผล
การบริหารหลักสูตรสถานศึกษา ของกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้
เรียน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การวัด
ประเมินผลและการเทียบโอน โดยเน้นผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนต่อคณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรและงานวิชาการของสถานศึกษา
ขอให้คณะกรรมการและอนุกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งมีหน้าที่ในการจัดทำและ
พัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ของโรงเรียนบ้านเมืองแก ให้สามารถใช้ได้
ทันตามกำหนดเวลาและเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามมาตรฐาน
และตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยมี
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้บรรลุเป้ าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
ทังนี้ ตั้งแต่ วันที่ 28 เดือนธันวาคม พ.ศ.2555
สั่ง ณ วันที่ 28 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2555

(นายพุทธิพงศ์ พาเจริญ)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเมืองแก

สารบัญ
หน้า
คำนำ ก
คำสั่งโรงเรียนบ้านเมืองแก ที่ ๑๓/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ข
๒๕๕๓
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา
ความนำ 1
วิสัยทัศน์ 2
หลักการ 3
จุดหมาย 4
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5
มาตรฐานการเรียนรู้ 6
โครงสร้างเวลาเรียน 7
ทำไมต้องเรียนสังคมศึกษาฯ 8
คุณภาพผู้เรียน 9
ตัวชี้วัดชั้นปี 13
อภิธานศัพท์ 129
คณะผู้จัดทำ 150
1

ความนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๔๔ ให้เป็ นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็ นเป้ าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็ นคนดี มีปั ญญา มี
คุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวง
ศึกษาธิการ, ๒๕๔๔) พร้อมกันนี้ได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับ
เจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ
ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุ่งเน้นการกระจายอำนาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้
มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และความ
ต้องการของท้องถิ่น (สำนักนายกรัฐมนตรี, ๒๕๔๒)

จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ ๖ ปี ที่ผ่านมา


(สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, ๒๕๔๖ ก., ๒๕๔๖ ข., ๒๕๔๘ ก., ๒๕๔๙ ข.;
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๔๗; สำนักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล,
๒๕๔๘; สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, ๒๕๔๗; Nutravong, ๒๐๐๒;
Kittisunthorn, ๒๐๐๓) พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๕ มีจุดดี
หลายประการ เช่น ช่วยส่งเสริมการกระจายอำนาจทางการศึกษาทำให้ท้องถิ่นและสถาน
ศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของท้องถิ่น และมีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่าง
ชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็ นปั ญหาและ
ความไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนำ
หลักสูตรสู่การปฏิบัติ และผลผลิตที่เกิดจากการใช้หลักสูตร ได้แก่ ปั ญหาความสับสนของผู้
ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาส่วนใหญ่กำหนด
สาระและผลการเรียนรู้ ที่คาดหวังไว้มาก ทำให้เกิดปั ญหาหลักสูตรแน่น การวัดและ
ประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปั ญหาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษา
และการเทียบโอนผลการเรียน รวมทั้งปั ญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ
ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์อันยังไม่เป็ นที่น่าพอใจ
2

นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ ( พ.ศ. ๒๕๕๐ –


๒๕๕๔) ได้ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็ นในการปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนใน
สังคมไทยให้ มีคุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย
สติปั ญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่สังคมฐาน
ความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐาน
จิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พื้นฐานที่จำเป็ นใน
การดำรงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ, ๒๕๔๙) ซึ่งแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวง
ศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียน
มีคุณธรรม รักความเป็ นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้าน
เทคโนโลยี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่าง
สันติ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๑)

วิสัยทัศน์
โรงเรียนบ้านเมืองแก มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม โดยยึดหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง

เอกลักษณ์
เกษตรอินทรีย์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3

อัตลักษณ์
คุณธรรมนำวิชาการ

หลักการ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้


๑. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและ
มาตรฐานการพื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กับความเป็ นสากล
๒. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง
เสมอภาค และมีคุณภาพ
๓. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการ
จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
๔. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและ
การจัด การเรียนรู้
๕. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
๖. เป็ นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
4

จุดหมาย

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็ นคนดี มี


ปั ญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็ นจุด
หมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย
และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปั ญหา การใช้เทคโนโลยี
และมีทักษะชีวิต
๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปั ญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ง
แวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันใน
สังคมอย่างมีความสุข
5

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้
เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕
ประการ ดังนี้
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่งสาร มี
วัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของ
ตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา
ตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การ
เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธี
การสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด
สังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ
เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม
ได้อย่างเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปั ญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปั ญหาและอุปสรรค
ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม
และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ใน
สังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการ
ตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่ง
แวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็ นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง
ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การ
ทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การ
จัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้
เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและ
สังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปั ญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง
เหมาะสม และมีคุณธรรม
6
7

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมือง
ไทยและพลโลก ดังนี้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่ เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน
๗. รักความเป็ นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
8

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูก
ต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยม
ที่ดีงาม และ
ธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม
ไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น
ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค
การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจ
และความจำเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์
เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
9

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน ในด้าน


ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มี
ความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็ นไทย
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของ
สรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิ
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้
เกิด
การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
10
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนบ้านเมืองแก

กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้/ เวลาเรียน
กิจกรรม ระดับประถมศึกษา
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
รายวิชาพื้นฐาน
ภาษาไทย ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาต่างประเทศ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
รวมเวลาเรียน (พื้น
ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐
รายวิชาเพิ่มเติม
- คอมพิวเตอร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- เกษตรอินทรีย์ - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
- อาเซียนศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรียน (เพิ่ม
๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
เติม)
- กิจกรรมแนะแนว ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
- กิจกรรมนักเรียน
11

1.ลูกเสือ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
2.ชุมนุม ชมรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- กิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
— กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๐๔๐ ๑,๑๒๐ ๑,๑๒๐ ๑,๑๒๐
12

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ทำไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้
ความเข้าใจ
การดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตาม
สภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลง
ตามยุคสมัย กาลเวลา
ตามเหตุปั จจัยต่างๆ เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับใน
ความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็ นพลเมือง
ดีของประเทศชาติ และสังคมโลก

เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันใน
สังคม ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้
สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็ นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้
ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กำหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้
 ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอน
ไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็ นผู้กระทำความดี มีค่า
นิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม
 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองใน
สังคมปั จจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ลักษณะและความสำคัญ การเป็ นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทาง
วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝั งค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็ นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดำเนินชีวิตอย่าง สันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
 เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การ
บริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมี
ดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
13

 ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์


พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปั จจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์
ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการ
เปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปั ญญาไทย แหล่ง
อารยธรรมที่สำคัญของโลก
 ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร
และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทาง
ภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนำเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

คุณภาพผู้เรียน

จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓

 มีความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น
ที่อยู่อาศัย และเชื่องโยงประสบการณ์ไปสู่โลกกว้าง
 มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลที่จำเป็ นต่อการพัฒนาให้เป็ นผู้มีคุณธรรม
จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็ นพลเมืองดี
มีความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทำงานกับผู้อื่น มีส่วนร่วมในกิจกรรมของ
ห้องเรียน และได้ฝึ กหัดในการตัดสินใจ
14

 มีความรู้เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบู


รณาการ ผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปั จจุบันและอดีตมีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้
ข้อคิดเกี่ยวกับรายรับ-รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็ นผู้ผลิต ผู้บริโภค รู้จักการ
ออมขั้นต้นและวิธีการเศรษฐกิจพอเพียง
 รู้และเข้าใจในแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ เพื่อเป็ นพื้นฐานในการทำความเข้าใจในขั้นที่
สูงต่อไป

จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
 มีความรู้เรื่องของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะ
ทางกายภาพ สังคมประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมือง การปกครอง และสภาพ
เศรษฐกิจโดยเน้นความเป็ น
ประเทศไทย
 มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักธรรม
คำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีส่วนร่วมศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิ่ง
ขึ้น
 ปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น จังหวัด
ภาค และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี และ
วัฒนธรรมของท้องถิ่นตนเอง มากยิ่งขึ้น
 สามารถเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศ
เพื่อนบ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่
การทำความเข้าใจในภูมิภาค ซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การดำเนินชีวิต การจัด
ระเบียบทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีต สู่ปั จจุบัน
15

การจัดหน่วยการเรียนรู้
กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ เวลาเรียน ๑๒๐ ชั่งโมง

หน่วยที่ ชื่อหน่วย เวลา (ชั่วโมง)


๑ คนดีที่เรารู้จัก ๑๕
๒ การทำงานและการใช้จ่าย ๑๐
๓ สิ่งแวดล้อมตัวเรา ๑๕
ศาสนาสอนใจให้เราเป็ นคนดี(พุทธ
๔ ๔๐
ศาสนา)
รวม ๘๐
ประวัติศาสตร์
๑ ตนเองและครอบครัว ๖
๒ วัน เวลา ๗
๓ ความเปลี่ยนแปลง ๗
๔ สัญลักษณ์ที่แสดงความเป็ นชาติไทย ๙
๕ วัฒนธรรมและภูมิปั ญญาในท้องถิ่น ๑๑
รวมประวัติศาสตร์ ๔๐

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ เวลาเรียน ๑๒๐ ชั่งโมง

หน่วยที่ ชื่อหน่วย เวลา (ชั่วโมง)


๑ ประวัติศาสดา(พุทธศาสนา) ๒๐
16

๒ หลักธรรมนำชีวิต(พุทธศาสนา) ๒๐
๓ ครอบครัวของฉัน(สังคมฯ) ๘
๔ หน้าที่ของคนดี(สังคมฯ) ๘
๕ อยู่อย่างพอเพียง(สังคมฯ) ๘
๖ วัน เวลาน่ารู้(สังคมฯ) ๘
๗ ย้อนรอยอดีต (ประวัติศสาตร์) ๔๐
๘ รักษ์สิ่งแวดล้อม(สังคมฯ) ๘
รวม ๑๒๐

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เวลาเรียน ๑๒๐ ชั่งโมง


หน่วยที่ ชื่อหน่วย เวลา (ชั่วโมง)
๑ ประวัติศาสดา(พุทธศาสนา) ๒๐
๒ หลักธรรมนำชีวิต(พุทธศาสนา) ๒๐
๓ ครอบครัวของฉัน(สังคมฯ) ๘
๔ หน้าที่ของคนดี(สังคมฯ) ๘
๕ อยู่อย่างพอเพียง(สังคมฯ) ๘
๖ วัน เวลาน่ารู้(สังคมฯ) ๘
๗ ย้อนรอยอดีต(ประวัติ ฯ) ๔๐
๘ รักษ์สิ่งแวดล้อม(สังคมฯ) ๘
รวม ๑๒๐

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ เวลาเรียน ๑๒๐ ชั่งโมง


17

หน่วยที่ ชื่อหน่วย เวลา (ชั่วโมง)


๑ ภูมิหลังศาสดาและสาวก(พุทธศาสนา) ๑๕
๒ หลักธรรมนำชีวิต(พุทธศาสนา) ๑๕
๓ พัฒนาจิต(พุทธศาสนา) ๑๐
๔ พลเมืองดีของสังคม(สังคมฯ) ๖
๕ ประชาธิปไตย(สังคมฯ) ๘
๖ กฎหมายใกล้ตัว(สังคมฯ) ๖
๗ อยู่อย่างพอเพียง(สังคมฯ) ๖
๘ อดีตสู่ปั จจุบัน(ประวัติ ฯ) ๑๕
๙ ถิ่นฐานไทย (ประวัติ ฯ) ๑๕
๑๐ ภูมิปั ญญาไทย(ประวัติ ฯ) ๑๐
๑๑ โลกน่ารู้(สังคมฯ) ๗
๑๒ รักษ์สิ่งแวดล้อม(สังคมฯ) ๗
รวม ๑๒๐

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕
หน่วยที่ ชื่อหน่วย เวลา (ชั่วโมง)
๑ ภูมิหลังศาสดาและสาวก(พุทธศาสนา) ๑๕
๒ หลักธรรมนำชีวิต(พุทธศาสนา) ๑๕
18

๓ พัฒนาจิต(พุทธศาสนา) ๑๐
๔ พลเมืองดีของสังคม(สังคมฯ) ๘
๕ ประชาธิปไตย(สังคมฯ) ๖
๖ กฎหมายใกล้ตัว(สังคมฯ) ๘
๗ อยู่อย่างพอเพียง(สังคมฯ) ๖
๘ อดีตสู่ปั จจุบัน(ประวัติ ฯ) ๑๐
๙ ถิ่นฐานไทย(ประวัติ ฯ) ๑๕
๑๐ ภูมิปั ญญาไทย(ประวัติ ฯ) ๑๕
๑๑ โลกน่ารู้(สังคมฯ) ๖
๑๒ รักษ์สิ่งแวดล้อม(สังคมฯ) ๖
รวม ๑๒๐

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
หน่วยที่ ชื่อหน่วย เวลา (ชั่วโมง)
๑ ศาสนากับการดำรงชีวิต(พุทธศาสนา) ๔๐
๒ หน้าที่พลเมืองดี(สังคมฯ) ๑๕
๓ เรียนรู้เรื่องเศรษฐศาสตร์(สังคมฯ) ๑๐
๔ ภูมิศาสตร์น่ารู้(สังคมฯ) ๑๕
รวม ๘๐
ประวัติศาสตร์
๑ วิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ ๑๐
๒ เพื่อนบ้านของเรา ๑๕
๓ ความเป็ นมาของชาติไทย ๑๕
รวมประวัติศาสตร์ ๔๐
19

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดกับสาระการเรียนรู้
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่ น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. บอกพุทธประวัติหรือประวัติ
 พุทธประวัติ
ของศาสดาที่ตนนับถือโดย - ประสูติ
สังเขป - ตรัสรู้
- ปรินิพพาน
2. ชื่ นชมและบอกแบบอย่าง
 พุทธสาวก พุทธสาวิกา
การดำ เนินชีวิตและข้อคิด - สามเณรบัณฑิต
จากประวัติสาวก เรื่ องเล่า
 ชาดก
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่ - วัณณุปถชาดก
กำหนด - สุวัณณสามชาดก
ศาสนิกชนตัวอย่าง
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
- เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนูพร้อม)
3. บ อ ก ค ว า ม ห ม า ย ความ
 พระรัตนตรัย
สำ คั ญ แ ล ะ เ ค า ร พ พ ร ะ - ศรัทธาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โอวาท ๓
รัตนตรัย ปฏิบัติตามหลัก - ไม่ทำชั่ว
ธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธ : เบญจศีล
ศาสนา หรือหลักธรรมของ - ทำความดี
20

ศ า ส น า ที่ ต น นั บ ถื อ ต า ม ที่ : เบญจธรรม


กำหนด : สังคหวัตถุ ๔
- กตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่และครอบครัว
- มงคล ๓๘
: ทำตัวดี
: ว่าง่าย
: รับใช้พ่อแม่
- ทำจิตใจให้บริสุทธิ์(บริหารจิตและเจริญปั ญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
- อตตา หิ อตตโน นาโถ ตนแลเป็ นที่พึ่งแห่ง
ตน
- มาตา มิตต สเก ฆเร มารดาเป็ นมิตรใน
เรือน
4. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่  ฝึ กสวดมนต์และแผ่เมตตา
เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐาน - รู้ความหมายและประโยชน์ของสติ
ของสมาธิในพระพุทธศาสนา - ฟั งเพลงและร้องเพลงอย่างมีสติ
ห รื อ ก า ร พั ฒ น า จิ ต ต า ม - เล่นและทำงานอย่างมีสติ
แ น ว ท า ง ข อ ง ศ า ส น า ที่ ต น - ฝึ กให้มีสติในการฟั ง การอ่าน การคิด การ
นับถือตามที่กำหนด ถาม และการเขียน

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. บำเพ็ญประโยชน์ต่อวัดหรือ  การบำเพ็ญประโยชน์ต่อวัดหรือศาสนสถาน
ศาสนสถานของศาสนาที่ตน - การพัฒนาทำความสะอาด
นับถือ - การบริจาค
- การร่วมกิจกรรมทางศาสนา
2. แสดงตนเ ป็ น พุ ท ธ ม า ม ก ะ  การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ
21

หรือแสดงตนเป็ น - ขั้นเตรียมการ
ศาสนิกชนของศาสนาที่ - ขั้นพิธีการ
ตนนับถือ
3. ป ฏิ บั ต ติ ต น ใ น ศ า ส น พิ ธี  ประวัติโดยสังเขปของวันสำคัญทางพระพุทธ
พิธีกรรมและวันสำ คัญทาง ศาสนา
ศาสนาตามที่กำ หนดได้ถูก - วันมาฆบูชา
ต้อง - วันวิสาขบูชา
- วันอาสาฬหบูชา
- วันอัฏฐมีบูชา
 การบูชาพระรัตนตรัย

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจ และปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง
รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ
สังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. บ อ ก ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ  การเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน เช่น
ปฏิบัติตนเป็ นสมาชิกที่ดี - กตัญญูกตเวทีและเคารพเชื่อฟั งคำสั่งสอนของ พ่อ
ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ แม่ ญาติผู้ใหญ่ ครูและผู้มีพระคุณ
โรงเรียน - รู้จักกล่าวคำขอบคุณ ขอโทษ การไหว้ผู้ใหญ่
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ของ
ครอบครัวและโรงเรียน
- มีส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครัวและโรงเรียน
- มีเหตุผลและยอมรับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีระเบียบวินัย มีน้ำใจ
 ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น เ ป็ น ส ม า ชิ ก ที่ ดี ข อ ง
ครอบครัวและโรงเรียน
22

2. ยกตัวอย่างความสามารถ  ลักษณะความสามารถและลักษณะความดีของตนเอง
และความดีของตนเอง และผู้อื่น เช่น
ผู้อื่ น และบอกผลของ - ความกตัญญูกตเวที
การกระทำนั้น - ความมีระเบียบวินัย
- ความขยัน ความอดทน อดกลั้น
- การเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่และช่วยเหลือผู้อื่น
- ความซื่อสัตย์สุจริต
- ความเมตตากรุณา
 ผลของการกระทำความดี เช่น ภาคภูมิใจ มีความสุข
ได้รับการยกย่องชมเชย

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา
และธำ รงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. บอกโครงสร้าง บทบาท และ  โครงสร้างของครอบครัวและความสัมพันธ์ของ
หน้าที่ ของสมาชิกใน บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว
ครอบครัวและโรงเรียน  โครงสร้างของโรงเรียน ความสัมพันธ์ของ
บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในโรงเรียน
2. ระบุบทบาท สิทธิ หน้าที่ของ  ความหมายและความแตกต่างของอำนาจตาม
ตนเองในครอบครัวและ บทบาท สิทธิ หน้าที่ในครอบครัวและโรงเรียน
โรงเรียน  การใช้อำนาจในครอบครัวตามบทบาท สิทธิ
หน้าที่
3. มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและ  กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยใน
ทำ กิจกรรมในครอบครัวและ ครอบครัว เช่น การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
โ ร ง เ รี ย น ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร ในครอบครัว การรับฟั งและแสดงความคิดเห็น
ประชาธิปไตย  กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยใน
โรงเรียน เช่น เลือกหัวหน้าห้อง ประธาน
23

ชุมนุม ประธานนักเรียน

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ระบุสินค้าและบริการที่ใช้  สินค้าและบริการที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น ดินสอ
ประโยชน์ในชีวิตประจำ ปากกา กระดาษ ยาสีฟั น
วัน  สินค้าและบริการที่ได้มาโดยไม่ใช้เงิน เช่น มีผู้ให้หรือ
การใช้ของแลกของ
 สินค้าและบริการที่ได้มาจากการใช้เงินซื้อ เช่น ซื้อ
อาหาร จ่ายค่าบริการโทรศัพท์
 วิธีการใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการให้คุ้มค่า
2. ยกตัวอย่างการใช้จ่ายเงิน  การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำ วันเพื่ อซื้อสินค้าและ
ในชีวิตประจำวันที่ไม่เกิน บริการ
ตัวและเห็นประโยชน์ของ  ประโยชน์ของการใช้จ่ายเงินที่ไม่เกินตัว
การออม  ประโยชน์ของการออม
 โทษของการใช้จ่ายเงินเกินตัว
 วางแผนการใช้จ่าย
3. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ก า ร ใ ช้  ท รั พ ย า ก ร ที่ ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จำ วั น เ ช่ น ดิ น ส อ
ทรัพยากรในชีวิตประจำ กระดาษ เสื้อผ้า อาหาร ไฟฟ้ า น้ำ
วันอย่างประหยัด  ท รั พ ย า ก ร ส่ ว น ร ว ม เ ช่ น โ ต๊ ะ เ ก้ า อี้นั ก เ รี ย น
สาธารณูปโภคต่างๆ
 วิธีการใช้ทรัพยากรทั้งของส่วนตัวและส่วนรวมอย่าง
ถูกต้องและประหยัดและคุ้มค่า
24

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อ ธิ บ า ย เ ห ตุ ผ ล ความ  ความหมาย ประเภท และความสำคัญของการ
จำ เป็ นที่คนต้องทำ งาน ทำงาน
อย่างสุจริต  เหตุผลของการทำงาน
 ผ ล ข อ ง ก า ร ทำ ง า น ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ ที่ มี ต่ อ
ครอบครัวและสังคม
 การทำงานอย่างสุจริตทำให้สังคมสงบสุข

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำ คัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. บอกวัน เดือน ปี และการ  ชื่อ วัน เดือน ปี ตามระบบสุริยคติที่ปรากฏใน
นับช่วงเวลาตามปฏิทินที่ ปฏิทิน
ใช้ในชีวิตประจำวัน  ชื่อ วัน เดือน ปี ตามระบบจันทรคติที่ปรากฏใน
ปฏิทิน
 ช่วงเวลาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น วันนี้ ตอน
เช้า ตอนเย็น
2. เรียงลำ ดับเหตุการณ์ใน  เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของนักเรียน
ชีวิตประจำวันตามวันเวลา เช่น ตื่นนอน เข้านอน เรียนหนังสือ เล่นกีฬา
ที่เกิดขึ้น รับประทานอาหาร ฯลฯ
 ใช้คำบอกช่วงเวลา แสดงลำดับเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นได้
25

3. บอกประวัติความเป็ นมา  วิธีการสืบค้นประวัติความเป็ นมาของตนเองและ


ของตนเองและครอบครัว ครอบครัวอย่างง่ายๆ
โดยสอบถามผู้เกี่ยวข้อง  บอกเล่าประวัติความเป็ นมาของตนเองและ
ครอบครัว

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์จากอดีตจนถึงปั จจุบันในด้านความ
สัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์อย่างต่อเนื่ อง ตระหนักถึง
ความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. บอกความเปลี่ยนแปลงของสภาพ  ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
แวดล้อม สิ่งของเครื่องใช้ หรือการ สิ่งของเครื่องใช้ หรือการดำเนินชีวิต
ดำเนินชีวิตของตนเองกับสมัยของพ่อ ของอดีตกับปั จจุบันที่เป็ นรูปธรรม
แม่ ปู่ย่า ตายาย และใกล้ตัวเด็ก เช่น การใช้ควาย
ไถนา รถอีแต๋น
 สาเหตุและผลของการเปลี่ยนแปลง
ของสิ่งต่างๆ ตามกาลเวลา
2. บอกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ที่มี  เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในครอบรัว เช่น
ผลกระทบต่อตนเองในปั จจุบัน การย้ายบ้าน การย้ายโรงเรียน การ
สูญเสียบุคคลในครอบครัว

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มี
ความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็ นไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
26

1. อธิบายความหมายและ  ความหมายและความสำคัญของสัญญลักษณ์ของ
ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง สั ญ ญ ชาติไทย ที่เป็ นความภาคภูมิใจและการมีส่วน
ลั ก ษ ณ์ สำ คั ญ ข อ ง ช า ติ ร่วมที่จะอนุรักษ์ไว้ ได้แก่ ชาติ ศาสนา
ไทยและปฏิบัติตนได้ถูก พระมหากษัตริย์ (ธงชาติ เพลงชาติ พระพุทธ
ต้อง รูป พระบรมฉายาลักษณ์ ภาษาไทย อักษร
ไทย)
 การเคารพธงชาติ การร้องเพลงชาติและเพลง
ส ร ร เ ส ริ ญ พ ร ะ บ า ร มี ก า ร เ ค า ร พ พ ร ะ บ ร ม
ฉายาลักษณ์ การเคารพศาสนวัตถุ ศาสนสถาน
 เอกลักษณ์อื่ นๆ เช่น ศาสนา การแต่งกาย
วัฒนธรรม ประเพณีไทย เงินตรา แผนที่
ประเทศไทย อาหารไทย (อาหาไทยที่ต่างชาติ
ยกย่อง เช่น ต้มยำกุ้ง ผัดไทย)
2. บ อ ก ส ถ า น ที่ สำ คั ญ ซึ่ ง  ตัวอย่างของแหล่งวัฒนธรรมในชุมชนที่ใกล้ตัว
เป็ นแหล่งวัฒนธรรมใน นักเรียน เช่น วัด ตลาด พิพิธภัณฑ์ มัสยิด
ชุมชน โบสถ์คริสต์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ
 คุณค่าและความสำคัญของแหล่งวัฒนธรรมใน
ชุมชนในด้านต่างๆ เช่น เป็ นแหล่งท่องเที่ยว
เป็ นแหล่งเรียนรู้
3. ระบุสิ่งที่ตนรักและภาค  ตัวอย่างสิ่งที่เป็ นความภาคภูมิใจในท้องถิ่น เช่น
ภูมิใจในท้องถิ่น สิ่งของ สถานที่ ภาษาถิ่น วัฒนธรรมประเพณี
ที่เป็ นสิ่งที่ใกล้ตัวนักเรียนและเป็ นรู ปธรรม
ชัดเจน
 คุณค่าและประโยชน์ของสิ่งต่างๆ เหล่านั้น

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพ
สิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบ ของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือ
27

ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ


อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. แยกแยะสิ่งต่างๆ รอบตัวที่เกิด  สิ่ ง ต่ า ง ๆ ร อ บ ตั ว ที่ เ กิ ด ขึ้ น เ อ ง ต า ม
ขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์ ธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
สร้างขึ้น
2. ระบุความสัมพันธ์ของตำแหน่ง  ความสัมพันธ์ของตำ แหน่ง ระยะ ทิศ
ระยะทิศของสิ่งต่างๆ รอบตัว ของสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น ที่อยู่อาศัย
บ้าน เพื่อนบ้าน ต้นไม้ ถนน ทุ่งนา ไร่
สวน ที่ราบ ภูเขา แหล่งน้ำ
3. ร ะ บุ ทิ ศ ห ลั ก แ ล ะ ที่ ตั้ง ข อ ง สิ่ ง  ทิศหลัก (เหนือ ตะวันออก ใต้ ตะวัน
ต่างๆ ตก) และที่ตั้งของสิ่งต่างๆ รอบตัว
4. ใช้แผนผั งง่ายๆ ในการแสดง  แ ผ น ผั ง แ ส ด ง ตำ แ ห น่ ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ ใ น
ตำ แ ห น่ ง ข อ ง สิ่ ง ต่ า ง ๆ ใ น ห้องเรียน
ห้องเรียน
5. สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลง  การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบ
ของสภาพอากาศในรอบวัน วัน เช่น กลางวัน กลางคืน ความร้อน
ของอากาศ ฝน-เมฆ-ลม

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้
เกิดการสร้างสรรค์ทาง
วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ง
แวดล้อม เพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืน
1. บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติ  ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ มีผลต่อ
ที่ส่งผลต่อความเป็ นอยู่ของ ความเป็ นอยู่ของมนุษย์ เช่น ที่อยู่อาศัย
มนุษย์ เครื่องแต่งกายและอาหาร
2. สั ง เ ก ต แ ล ะ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร  การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบ
28

เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ตัว
ที่อยู่รอบตัว
3. มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่ง  การรู้เท่าทันสิ่งแวดล้อมและปรับตัวเข้ากับสิ่ง
แวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน แวดล้อม

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดกับสาระการเรียนรู้
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. บ อ ก ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง  พระพุทธศาสนาเป็ นเอกลักษณ์ของชาติไทย
พระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือ
2. ส รุ ป พุ ท ธ ป ร ะ วั ติ ตั้ ง แ ต่  สรุปพุทธประวัติ
ประสูติจนถึงการออกผนวช  ประสูติ
ห รื อ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ด า ที่ ต น - เหตุการณ์หลังประสูติ
นับถือตามที่กำหนด - แรกนาขวัญ
- การศึกษา
- การอภิเษกสมรส
29

- เทวทูต ๔
- การออกผนวช
 ชาดก
- วัณณุปถชาดก
- สุวัณณสามชาดก
 ศาสนิกชนตัวอย่าง
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย
เดช
- เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนูพร้อม)
3. ชื่นชมและบอกแบบอย่าการ  พุทธสาวก พุทธสาวิกา
ดำ เนินชีวิตและข้อคิดจาก - สามเณราหุล
ประวัติสาวก ชาดก เรื่ อง  ชาดก
เล่าและ - วรุณชาดก
ศ า ส นิ ก ช น ตั ว อ ย่ า ง ต า ม ที่ - วานรินทชาดก
กำหนด  ศาสนิกชนตัวอย่าง
- สมเด็จพระญาณสังวร (ศุข ไก่เถื่อน)
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
(เจริญ สุวฑฒโน)
4. บ อ ก ค ว า ม ห ม า ย ความ  พระรัตนตรัย
สำ คั ญ แ ล ะ เ ค า ร พ พ ร ะ - ศรัทธา
รัตนตรัย ปฏิบัติตามหลัก  โอวาท ๓
ธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธ - ไม่ทำชั่ว
ศาสนา หรือหลักธรรมของ : เบญจศีล
ศ า ส น า ที่ ต น นั บ ถื อ ต า ม ที่ - ทำความดี
กำหนด : เบญจธรรม
: หิริ – โอตตัปปะ
: สังคหวัตถุ ๔
: ฆราวาสธรรม ๔
: ก ตั ญ ญู ก ต เ ว ที ต่ อ ค รู อ า จ า ร ย์ แ ล ะ
30

โรงเรียน
: มงคล ๓๘
กตัญญู
สงเคราะห์ญาติพี่น้อง
- ทำ จิตใจให้บริสุทธิ์(บริหารจิตและเจริญ
ปั ญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
- นิมิตต สาธุรูปาน กตญญู กตเวทิตา
ความกตัญญูกตเวทีเป็ นเครื่องหมายของคนดี
- พรหมาติ มาตาปิ ตโร มารดาบิดา เป็ น
พรหมของบุตร
5. ชื่ น ช ม ก า ร ทำ ค ว า ม ดี ข อ ง  ตัวอย่างการกระทำความดีของตนองและบุคคล
ตนเอง บุคคลในครอบครัว ในครอบครัวและในโรงเรียน
และในโรงเรียน ตามหลัก
ศาสนา
6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่  ฝึ กสวดมนต์ไหว้พระและแผ่เมตตา
เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐาน - รู้ความหมายและประโยชน์ของสติและสมาธิ
ของสมาธิในพระพุทธศาสนา - ฝึ กสมาธิเบื้องต้น
ห รื อ ก า ร พั ฒ น า จิ ต ต า ม - ฝึ กสติเบื้องต้นด้วยกิจกรรมการเคลื่ อนไหว
แ น ว ท า ง ข อ ง ศ า ส น า ที่ ต น อย่างมีสติ
นับถือตามที่กำหนด - ฝึ กให้มีสมาธิในการฟั ง การอ่าน การคิด
การถาม และการเขียน
7. บ อ ก ชื่ อ ศ า ส น า ศาสดา  ชื่อศาสนา ศาสดา และคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ
และความสำ คัญของคัมภีร์ - พระพุทธศาสนา
ของศาสนาที่ตนนับถือและ : ศาสดา : พระพุทธเจ้า
ศาสนาอื่นๆ
: คัมภีร์ : พระไตรปิ ฎก
- ศาสนาอิสลาม
: ศาสดา : มุฮัมมัด
31

: คัมภีร์ : อัลกุรอาน
- คริสต์ศาสนา
: ศาสดา : พระเยซู
: คัมภีร์ : ไบเบิล
- ศาสนาฮินดู
: ศาสดา : ไม่มีศาสดา
: คัมภีร์ : พระเวท พราหมณะ อุปนิษัท
อารัณยกะ

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อ  การฝึ กปฏิบัติมรรยาทชาวพุทธ
สาวกของศาสนาที่ตนนับถือ - การพนมมือ
ตามที่กำหนดได้ถูกต้อง - การไหว้
- การกราบ
- การนั่ง
- การยืน การเดิน
2. ป ฏิ บั ต ติ ต น ใ น ศ า ส น พิ ธี  การเข้าร่วมกิจกรรมและพิธีกรรมที่เกี่ยว
พิ ธี ก ร ร ม แ ล ะ วั น สำ คั ญ เนื่องกับวันสำคัญทางพุทธศาสนา
ท า ง ศ า ส น า ต า ม ที่ - ระเบียบพิธีการบูชาพระรัตนตรัย
กำหนดได้ถูกต้อง - การทำบุญตักบาตร

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


32

มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจ และปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง


รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ
สังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ป ฏิ บั ติ ต น ต า ม ข้ อ  ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ หน้าที่ ที่ต้องปฏิบัติ
ตกลง กติกา กฎ ในครอบครัว โรงเรียน สถานที่สาธารณะ เช่น โรง
ระเบียบ และหน้าที่ ภาพยนตร์ โบราณสถาน ฯลฯ
ที่ต้องปฏิบัติในชีวิต
ประจำวัน
2. ปฏิบัติตนตามารยาท  กิริยามารยาทไทยเกี่ยวกับการทำความเคารพ การ
ไทย ยืน การเดิน การนั่ง การพูด การทักทาย การแต่ง
กาย
3. แสดงพฤติกรรมใน  การยอมรับความแตกต่างของคนในสังคมเรื่องความ
การยอมรับความคิด คิด ความเชื่อ ความสามารถ และการปฏิบัติตนของ
ความเชื่ อ และการ บุคคลอื่นที่แตกต่างกัน เช่น
ปฏิบัติของบุคคลอื่ น - บุคคลย่อมมีความคิดที่มีเหตุผล
ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น โ ด ย - การปฏิบัติตนตามพิธีกรรม ตามความเชื่ อของ
ปราศจากอคติ บุคคล
- บุคคลย่อมมีความสามารถแตกต่างกัน
- ไม่พูดหรือแสดงอาการดูถูกรังเกียจผู้อื่น ใน
เรื่ องของรูปร่างหน้าตา สีผม สีผิว ที่แตกต่าง
กัน
4. เ ค า ร พ ใ น สิ ท ธิ  สิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น เช่น
เสรีภาพของตนเอง - เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
และผู้อื่น - สิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย
- สิทธิในทรัพย์สิน

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


33

มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา


และธำ รงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์ของตนเองและ  ความสัมพันธ์ของตนเองและสมาชิก
สมาชิกในครอบครัวในฐานะเป็ นส่วน ในครอบครัวกับชุมชน เช่น การช่วย
หนึ่งของชุมชน เหลือกิจกรรมของชุมชน

2. ระบุผู้มีบทบาท อำนาจใจการตัดสิน  ผู้มีบทบาท อำนาจใจการตัดสินใจใน


ใจในโรงเรียนและชุมชน โรงเรียนและชุมชน เช่น ผู้บริหาร
สถานศึกษา ผู้นำ ท้องถิ่น กำ นัน
ผู้ใหญ่บ้าน

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ระบุทรัพยากรที่นำมาผลิต  ทรัพยากรที่นำ มาใช้ในการผลิตสินค้าและ
สินค้าและบริการที่ใช้ใน บริการที่ใช้ในครอบครัวและโรงเรียน เช่น
ชีวิตประจำวัน ดินสอและกระดาษที่ผลิตจากไม้ รวมทั้ง
เครื่องจักรและแรงงานการผลิต
 ผลของการใช้ทรัพยากรในการผลิตที่หลาก
หลายที่มีต่อราคา คุณค่า และประโยชน์ของ
สินค้าและบริการ รวมทั้งสิ่งแวดล้อม
2. บอกที่มาของรายได้และ  การประกอบอาชีพของครอบครัว
ร า ย จ่ า ย ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ  การแสวงหารายได้ที่สุจริตและเหมาะสม
ครอบครัว  รายได้และรายจ่ายในภาพรวมของครอบครัว
 รายได้และรายจ่ายของตนเอง
34

3. บันทึกรายรับ-รายจ่ายของ  วิธีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายของตนเองอย่า
ตนเอง ง่ายๆ
4. สรุปผลดีของการใช้จ่ายที่  รายการของรายรับที่เป็ นรายได้ที่เหมาะสมและ
เหมาะสมกับรายได้และการ ไม่เหมาะสม
ออม  รายการของรายจ่ายที่เหมาะสมและไม่เหมาะ
สม
 ที่มาของรายได้ที่สุจริต
 การใช้จ่ายที่เหมาะสม
 ผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้
 การออมและผลดีของการออม
 การนำเงินที่ออมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น
การช่วยเหลือสาธารณกุศล

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายการแลกเปลี่ยนสินค้า  ความหมายและความสำ คัญของสินค้าและ
และบริการโดยวิธีการต่างๆ บริการและการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
 ลักษณะของการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
โดยไม่ใช้เงิน รวมทั้งการแบ่งปั น การช่วย
เหลือ
 ลักษณะของการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
โดยการใช้เงิน
2. บอกความสัมพันธ์ระหว่างผู้  ความหมายและบทบทของผู้ซื้อและผู้ขาย ผู้
ซื้อและผู้ขาย ผลิต และผู้บริโภคพอสังเขป
 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ในการ
35

กำหนดราคาสินค้าและบริการ
 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ทำให้
สังคมสงบสุขและประเทศมั่นคง

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำ คัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ใช้คำระบุเวลาที่แสดงเหตุการณ์ในอดีต  คำ ที่ แ ส ด ง ช่ ว ง เ ว ล า ใ น อ ดี ต
ปั จจุบัน และอนาคต ปั จจุบัน และอนาคต เช่น วันนี้
เมื่อวานนี้ พรุ่งนี้ เดือนนี้ เดือน
หน้า เดือนก่อน
 วันสำ คัญที่ปรากฏในปฏิทินที่
แสดงเหตุการณ์สำ คัญในอดีต
และปั จจุบัน
 ใ ช้ คำ บ อ ก ช่ ว ง เ ว ล า อ ดี ต
ปั จ จุ บั น อนาคต แสดง
เหตุการณ์ได้
2. ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในครอบครัวหรอ  วิธีการสืบค้นเหตุการณ์ที่ผ่านมา
ใ น ชี วิ ต ข อ ง ต น เ อ ง โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ฐ า น ที่ แ ล้ ว ที่ เ กิ ด ขึ้น กั บ ต น เ อ ง แ ล ะ
เกี่ยวข้อง ค ร อ บ ค รั ว โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ฐ า น ที่
เกี่ยวข้องเช่น ภาพถ่าย สูติบัตร
ทะเบียนบ้าน
 ใ ช้ คำ บ อ ก ช่ ว ง เ ว ล า ที่ แ ส ด ง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในครอบครัว
หรือในชีวิตตนเอง เช่น เดือนที่
แล้ว เกิดอะไรขึ้นกับตัวเราหรือ
ครอบครัว
36

 ใช้เส้นเวลา (Time Line)


ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์จากอดีตจนถึงปั จจุบันในด้านความ
สัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์อย่างต่อเนื่ อง ตระหนักถึง
ความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. สืบค้นถึงการเปลี่ยนแปลง  วิ ธี ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อ ย่ า ง ง่ า ย ๆ เ ช่ น ก า ร
ในวิ ถีชีวิตประ จำ วั นของ สอบถามพ่อแม่ ผู้รู้ในชุมชน
ค น ใ น ชุ ม ช น ข อ ง ต น จ า ก  วิถีชีวิตของคนในชุมชน เช่น การประกอบ
อดีตถึงปั จจุบัน อาชีพ การแต่งกาย การสื่อสาร ประเพณีใน
ชุมชน จากอดีตถึงปั จจุบัน
 สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคนใน
ชุมชน
2. อธิบายผลกระทบของการ  การเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของคนในชุมชน
เปลี่ยนแปลงที่มีต่อวิถีชีวิต ทางด้านต่างๆ
ของคนในชุมชน  ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อวิถีชีวิต
ของคนในชุมชน

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มี
ความรัก ความภูมิใจ และ
ธำรงความเป็ นไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ระบุบุคคลที่ทำประโยชน์  บุคคลในท้องถิ่นที่ทำประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์
ต่อท้องถิ่นหรือประเทศ วัฒนธรรม และความมั่นคงของท้องถิ่น และ
ชาติ ประเทศชาติ ในอดีตที่ควรนำเป็ นแบบอย่าง
 ผลงานของบุคคลในท้องถิ่นที่น่าภาคภูมิใจ
37

2. ยกตั วอ ย่ าง วั ฒนธรร ม  ตัวอย่างของวัฒนธรรมประเพไทย เช่น การ


ประเพณี และภูมิปั ญญา ทำ ค ว า ม เ ค า ร พ อาหารไทย ภาษาไทย
ไทยที่ภาคภูมิใจและควร ประเพณีสงกรานต์ ฯลฯ
อนุรักษ์ไว้  คุณค่าของวัฒนธรรม และประเพณีไทยที่มีต่อ
สังคมไทย
 ภูมิปั ญญาของคนไทยในท้องถิ่นของนักเรียน

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพ
สิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ
ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิ
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ระบุสิ่งต่างๆ ที่เป็ นธรรมชาติ  สิ่งต่างๆ ที่เป็ นธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้าง
กับที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏ ขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน
ระหว่างโรงเรียนกับบ้าน
2. ระบุตำ แหน่งอย่างง่าย และ  ตำแหน่งอย่างง่ายและลักษณะทางกายภาพ
ลักษณะทางกายภาพของสิ่ง ของสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏในลูกโลก แผนที่
ต่ า ง ๆ ที่ ป ร า ก ฏ ใ น ลู ก โ ล ก แผนผัง และภาพถ่าย เช่น ภูเขา ที่ราบ
แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย แม่น้ำ ต้นไม้ อากาศ ทะเล
3. อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง  ความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ระหว่างโลก
ปรากฏการณ์ระหว่างโลก ดวง ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เช่น ข้างขึ้น
อาทิตย์และดวงจันทร์ ข้างแรม ฤดูกาลต่างๆ

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้
เกิดการสร้างสรรค์ทาง
วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่ อ
การ พัฒนาที่ยั่งยืน
38

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายความสำคัญและคุณค่า  ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ มีผลต่อ
ของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาต ความเป็ นอยู่ของมนุษย์ เช่น ที่อยู่อาศัย
และทางสังคม เครื่องแต่งกายและอาหาร
2. แ ย ก แ ย ะ แ ล ะ ใ ช้  ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่  ประเภททรัพยากรธรรมชาติ
หมดไปและที่ใช้แล้วหมดไป - ใช้แล้วหมดไป เช่น แร่
อย่างคุ้มค่า - ใช้แล้วไม่หมด เช่น บรรยากาศ น้ำ
- ใช้แล้วมีการเกิดขึ้นมาทดแทนหรือรักษา
ไว้ได้
เช่น ดิน ป่ าไม้ สัตว์ป่ า
3. มี อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง  ความสัมพันธ์ของฤดูกาลกับการดำเนินชีวิต
ฤดูกาลกับการดำเนินชีวิตของ ของมนุษย์
มนุษย์
4. มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ฟื้ น ฟู  การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  การรักษาและฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อม
และชุมชน
39

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดกับสาระการเรียนรู้
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่ น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายความสำ คัญของ  ความสำคัญของพระพุทธศาสนากับการดำเนิน
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ห รื อ ชีวิตประจำวัน เช่น การสวดมนต์ การทำบุญ
ศ าสนา ที่ ต น นั บ ถื อ ใ น ใส่บาตร การแสดงความเคารพ การใช้ภาษา
ฐานะที่เป็ นรากฐานสำคัญ
ของวัฒนธรรมไทย
2. สรุ ปพุทธประวั ติ ตั้งแต่  สรุปพุทธประวัติ
ก า ร บำ เ พ็ ญ เ พี ย ร จ น ถึ ง - การบำเพ็ญเพียร
ปรินพพาน หรือประวัติ - ผจญมาร
ข อ ง ศ า ส ด า ที่ ต น นั บ ถื อ - ตรัสรู้
ตามที่กำหนด - ปฐมเทศนา
- ปรินิพพาน
3. ชื่นชมและบอกแบบอย่าง  พุทธสาวก พุทธสาวิกา
การดำเนินชีวิตและข้อคิด - สามเณรสังกิจจะ
จากประวัติสาวก ชาดก  ชาดก
เรื่ องเล่าและ ศาสนิ - อารามทูสกชาดก
กชนตัวอย่างตามที่กำหนด - มหาวาณิชชาดก
 ศาสนิกชนตัวอย่าง
- สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรงสี)
- สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช)
4. บอกความหมาย ความ  ความสำคัญของพระไตรปิ ฎก เช่น เป็ นแหล่ง
สำ คัญของพระไตรปิ ฎก อ้างอิงของหลักธรรมคำสอน
หรือคัมภีร์ของศาสนาที่
40

ตนนับถือ
5. แ ส ด ง ค ว า ม เ ค า ร พ พ ร ะ  พระรัตนตรัย
รัตนตรัย และปฏิบัติตาม - ศรัทธา
หลักธรรมโอวาท ๓ ใน  โอวาท ๓
พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ห รื อ - ไม่ทำชั่ว
หลักธรรมของศาสนาที่ตน : เบญจศีล
นับถือตามที่กำหนด - ทำความดี
: เบญจธรรม
: สติ-สัมปชัญญะ
: สังคหวัตถุ ๔
: ฆราวาสธรรม ๔
: อัตถะ ๓ (อัตตัตถะ ปรัตถะ อุภยัตถะ)
: ความกตัญญูกตเวทีต่อชุมชนและ
สิ่งแวดล้อม
: มงคล ๓๘
รู้จักให้
พูดไพเราะ
อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี
- ทำจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปั ญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
- ททมาโน ปิ โย โหติ
ผู้ให้ย่อมเป็ นที่รัก
- โมกโข กลยาณิยา สาธุ
เปล่งวาจาไพเราะให้สำเร็จประโยชน์
6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์  ฝึ กสวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้น และแผ่เมตตา
ฐานของสมาธิในพระพุทธ - รู้ความหมายและประโยชน์ของสติและสมาธิ
ศาสนา หรือการพัฒนา - รู้ประโยชน์ของการฝึ กสติ
จิ ต ต า ม แ น ว ท า ง ข อ ง - ฝึ กสมาธิเบื้องต้นด้วยการนับลมหายใจ
41

ศาสนาที่ตนนับถือตามที่ - ฝึ กการยืน การเดิน การนั่ง และการนอน


กำหนด อย่าง
มีสติ
- ฝึ กให้มีสมาธิในการฟั ง การอ่าน การคิด
การ
ถามและการเขียน
7. บอกชื่อ ความสำคัญและ  ชื่อและความสำคัญของศาสนวัตถุ ศาสนสถาน
ปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะ และศาสนบุคคล ในพระพุทธศาสนา ศาสนา
สมต่อศาสนวัตถุ ศาสน อิสลาม คริสต์ศาสนา ศาสนาฮินดู
สถาน และศาสนบุคคล  การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสน
ของศาสนาอื่นๆ สถานและศาสนบุคคลในศาสนาอื่นๆ

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม  ฝึ กปฏิบัติมรรยาทชาวพุทธ
42

ต่ อ ส า ว ก ศ า ส น ส ถ า น - การลุกขึ้นยืนรับ
ศาสนวัถุของศาสนาที่ตน - การต้อนรับ
นับถือตามที่กำหนดได้ถูก - การรับ-ส่งของแก่พระภิกษุ
ต้อง - มรรยาทในการสนทนา
- การสำรวมกิริยามารยาท
-การแ ต่งกา ย ที่ เ ห ม า ะ ส ม เ มื่ อ อ ยู่ ใ น วั ด แ ล ะ
พุทธสถาน
- การดูแลรักษาศาสนวัตถุ และศาสนสถาน
2. เห็นคุณค่าและปฏิบัตติตน  ปฏิบัติตนในศาสนพิธี
ในศาสนพิธี พิธีกรรมและ - การอาราธนาศีล
วันสำคัญทางศาสนาตามที่ - การสมาทานศีล
กำหนดได้ถูกต้อง - เครื่องประกอบโต๊ะหมู่บูชา การจัดโต๊ะหมู่บูชา
3. แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ  ความเป็ นมาของการแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ
หรือแสดงตนเป็ น  การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ
ศาสนิกชนของศาสนาที่ - ขั้นเตรียมการ
ตนนับถือ - ขั้นพิธีการ

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจ และปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลก
อย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. สรุปประโยชน์และปฏิบัติ  ประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัว เช่น การ
ต น ต า ม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ แสดงความเคารพ และการเชื่อฟั งผู้ใหญ่ การก
วัฒนธรรมในครอบครัว ระทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว
และท้องถิ่น  ปรเพณีและวัฒนธรรมในท้องถิ่น เช่น การเข้า
ร่วมประเพณีทางศาสนา ประเพณีเกี่ยวกับการ
ดำเนินชีวิต ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตาม
ประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น
43

2. บอกพฤติกรรมการดำเนิน  พฤติกรรมของตนเอและเพื่อนๆในชีวิตระจำวัน
ชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่ เช่น การทักทาย การทำ ความเคารพ การ
อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่ ปฏิบัติตามศาสนพิธี การรับประทานอาหาร
หลากหลาย การใช้ภาษา (ภาษาถิ่นกับภาษาราชการและ
ภาษอื่นๆ)
3. อธิบายความสำคัญของวัน  วันหยุดราชการที่สำคัญ เช่น
หยุดราชการที่สำคัญ - วันหยุดเกี่ยวกับชาติและพระมหากษัตริย์
เช่น วันจักรี วันรัฐธรรมนูญ วันฉัตรมงคล วัน
เฉลิมพระชนมพรรษา
- วันหยุดราการเกี่ยวกับศาสนา เช่น วัน
มาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา
วันเข้าพรรษา
- วันหยุดราชการที่เกี่ยวกับประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย เช่น วันสงกรานต์ วันพืช
มงคล
4. ยกตัวอย่างบุคคลซึ่งมีผล  บุคคลที่มีผลงานเป็ นประโยชน์แก่ชุมชนและท้อง
งาน ที่เ ป็ นประโย ช น์ แ ก่ ถิ่นของตน
ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถิ่ น ข อ ง  ลักษณะผลงานที่เป็ นประโยชน์แก่ชุมชนและ
ตนเอง ท้องถิ่น

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา
และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ร ะ บุ บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ข อ ง  บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน
สมาชิกของชุมชนในการมี  การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆตามกระ
ส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ บวนการประชาธิปไตย
ต า ม ก ร ะ บ ว น ก า ร
44

ประชาธิปไตย
2. วิเคราะห์ความแตกต่างของ  การออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทน
กระบวนการการตัดสินใจใน ออกเสียง
ชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชน  วิธีการเลือกตัวแทนที่ถูกต้องและเหมาะสม
โดยวิธีการออกเสียงโดยตรง
และการเลือกตัวแทนออก
เสียง
3. ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง  การตัดสินใจของบุคคลและกลุ่มที่มีผลต่อการ
ในชั้นเรียน โรงเรียนและ เปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชน
ชุ ม ช น ที่ เ ป็ น ผ ล จ า ก ก า ร - การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน เช่น การเลือก
ตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม หัวหน้าห้อง คณะกรรมการห้องเรียน
- การเปลี่ยนแปลงในโรงเรียน เช่น การ
เลือกประธานนักเรียน คณะกรรมการนักเรียน
- การเปลี่ยนแปลงในชุมชน เช่น การเลือก
ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน สมาชิก อบต. อบจ.

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลัก
การของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. จำ แ น ก ค ว า ม  สินค้าที่จำเป็ นในการดำรงชีวิต ที่เรียกว่า ปั จจัย ๔
ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ  สินค้าที่เป็ นความต้องการของมนุษย์ อาจเป็ นสินค้าที่จำเป็ น
ความจำ เป็ นใน หรือไม่จำเป็ นต่อการดำรงชีวิต
การใช้สินค้าและ  ประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการที่สนองความ
บ ริ ก า ร ใ น ก า ร ต้องการของมนุษย์
ดำรงชีวิต  หลักการเลือกสินค้าที่จำเป็ น

2. วิเคราะห์การใช้  ใช้บัญชีรับจ่าย วิเคราะห์การใช้จ่ายที่จำเป็ นและเหมาะสม


45

จ่ายของตนเอง  วางแผนการใช้จ่ายเงินของตนเอง
 วางแผนการแสวงหารายได้ที่สุจริตและเหมาะสม
 วางแผนการนำเงินที่เหลือจ่ายมาใช้อย่างเหมาะสม
3. อ ธิ บ า ย ไ ด้ ว่ า  ความหมายของผู้ผลิตและผู้บริโภค
ทรัพยากรที่มีอยู่  ความหมายของสินค้าและบริการ
จำกัดมีผลต่อการ  ปั ญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่เกิดจากความหายากของ
ผลิตและบริโภค ทรัพยากรกับความต้องการของมนุษย์ที่มีไม่จำกัด
สินค้าและบริการ

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. บอกสินค้าและบริการที่  สินค้าและบริการที่ภาครัฐทุกระดับจัดหาและให้
รัฐจัดหาและให้บริการ บริการแก่ประชาชน เช่น ถนน โรงเรียน สวน
แก่ประชาชน สาธารณะ การสาธารณสุข การบรรเทาสาธารณภัย
2. บ อ ก ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง  ความหมายและความสำคัญของภาษีที่รัฐนำมาสร้าง
ภ า ษี แ ล ะ บ ท บ า ท ข อ ง ความเจริญและให้บริการแก่ประชาชน
ประชาชนในการเสียภาษี  ตัวอย่างของภาษี
- ภาษีทางตรง
: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
: ภาษีนิติบุคคล
- ภาษีทางอ้อม
: ภาษีการขายทั่วโลก
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีการค้า ฯลฯ
 บทบาทหน้าที่ของประชาชนในการเสียภาษี
3. อ ธิ บ า ย เ ห ตุ ผ ล ก า ร  ความสำคัญและผลกระทบของการแข่งขันทางการค้า
แข่งขันทางการค้าที่มีผล ที่มีผลทำให้ราคาสินค้าลดลง
46

ทำให้ราคาสินค้าลดลง

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำ คัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. เทียบศักราชที่สำคัญตาม  ที่มาของศักราชที่ปรากฏในปฏิทิน เช่น
ปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำ พุทธศักราช คริสต์ศักราช อย่างสังเขป
วัน  วิธีการเทียบ พ.ศ. เป็ น ค.ศ. หรือ ค.ศ. เป็ น
พ.ศ.
 ตัวอย่างการเทียบศักราชในเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง
กับนักเรียน เช่น ปี เกิดของนักเรียน
2. แ ส ด ง ลำ ดั บ เ ห ตุ ก า ร ณ์  วิธีการสืบค้นเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและ
สำ คัญของโรงเรียนและ ชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ชุมชนโดยระบุหลักฐาน  ใช้เส้นเวลา (Time Line) ลำดับเหตุการณ์ที่เกิด
แ ล ะ แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ที่ ขึ้นในโรงเรียนและชุมชน
เกี่ยวข้อง
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
47

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์จากอดีตจนถึงปั จจุบันในด้านความ


สัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่ อง ตระหนักถึง
ความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ร ะ บุ ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ก า ร ตั้ง  ปั จจัยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนซึ่งขึ้น
ถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน อยู่กับปั จจัยทางภูมิศาสตร์และปั จจัย
ทางสังคม เช่น ความเจริญทาง
เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ค ม น า ค ม ความ
ปลอดภัย
 ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของ
ชุมชนทั้งปั จจัยทางภูมิศาสตร์และ
ปั จจัยทางสังคม
2. ส รุ ป ลั ก ษ ณ ะ ที่ สำ คั ญ ข อ ง  ข น บ ธ ร ร ม เ นี ย ม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ
ข น บ ธ ร ร ม เ นี ย ม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วัฒนธรรมชุมชนของตนที่เกิดจาก
วัฒนธรรมของชุมชน ปั จจัยทางภูมิศาสตร์และปั จจัยทาง
สังคม
3. เปรียบเทียบความเหมือนและความ  ข น บ ธ ร ร ม เ นี ย ม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ
ต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเอง วัฒนธรรมของชุมชนใกล้เคียง ที่มี
และชุมชนอื่นๆ ความเหมือนและความต่างกับชุมชน
ของตนเอง
48

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มี
ความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็ นไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ร ะ บุ พ ร ะ น า ม แ ล ะ พ ร ะ ร า ช  พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ โดย
กรณียกิจโดยสังเขปของพระมหา สังเขปของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ สมเด็จ
ก ษั ต ริ ย์ ไ ท ย ที่ ป็ น ผู้ ส ถ า ป น า พ ร ะ ร า ม า ธิ บ ดี ที่ ๑ (พ ร ะ เ จ้ า อู่ ท อ ง )
อาณาจักรไทย ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า ต า ก สิ น ม ห า ร า ช แ ล ะ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก
มหาราช ผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย
อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตาม
ลำดับ
2. อธิบายพระราชประวัติและพระ  พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของ
ร า ช ก ร ณี ย กิ จ ข อ ง พ ร ะ ม ห า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย
กษัตริย์ในรัชกาลปั จจุบัน โดย เ ด ช แ ล ะ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ้ า สิ ริ กิ ติ์
สังเขป พระบรมราชินีนาถ โดยสังเขป
3. เล่าวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่  วี ร ก ร ร ม ข อ ง บ ร ร พ บุ รุ ษ ไ ท ย ที่ มี ส่ ว น
มีส่วนปกป้ องประเทศชาติ ปกป้ องประเทศชาติ เช่น ท้าวเทพสตรี
ท้าวศรีสุนทร ชาวบ้านบางระจัน พระยา
พิชัยดาบหัก สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพ
สิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบ ของ
ธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้
ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ใช้แผนที่ แผนผังและภาพถ่ายในการ  แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย
49

หาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชนได้  ความสัมพันธ์ของตำ แหน่ง ระยะ


อย่างมีประสิทธิภาพ ทิศทาง
2. เขียนแผนผังอย่างง่ายๆ เพื่ อแสดง  ตำ แหน่งที่ตั้งสั มพันธ์ ของสถาน ที่
ตำ แหน่งที่ตั้งของสถานที่สำ คัญใน สำคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน
บริเวณโรงเรียนและชุมชน เช่น สถานที่ราชการ อำเภอ ตลาด
โรงพยาบาล ไปรษณีย์ ฯลฯ
3. บ อ ก ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ลั ก ษ ณ ะ  ภูมิประเทศและภูมิอากาศที่มีผลต่อ
กายภาพกับลักษณะทางสังคมของ สภาพสังคมในชุมชน
ชุมชน

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้
เกิดการสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม มี
จิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการ พัฒนาที่
ยั่งยืน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร  สภาพแวดล้อมชุมชนในอดีตและปั จจุบัน
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม
ในชุมชนจากอดีตถึงปั จจุบัน
2. อธิบายการพึ่งพาสิ่งแวดล้อม  การพึ่งพาสิ่งแวดล้อมในการดำ รงชีวิตของ
และทรัพยากรทางธรรมชาติ มนุษย์ เช่น การคมนาคม บ้านเรือนและ
ในการสนองความต้องการ การประกอบอาชีพในชุมชน
50

พื้นฐานของมนุษย์และการ  ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ที่ มี ผ ล ม า จ า ก ส ภ า พ
ประกอบอาชีพ แวดล้อมทางธรรมชาติในชุมชน
3. อธิบายเกี่ยวกับมลพิษและ  มลพิษที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์
ก า ร ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ม ล พิ ษ โ ด ย
มนุษย์
4. อธิบายความแตกต่างของ  ลักษณะของเมืองและชนบท
เมืองและชนบท
5. ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง  การเพิ่มและสูญเสียสิ่งแวดล้อมทำให้ชุมชน
ของสิ่งแวดล้อมในชุมชน เปลี่ยนแปลง
51

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดกับสาระการเรียนรู้
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่ น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อ ธิ บ า ย ค ว า ม  ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
สำ คั ญ ข อ ง - พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็ นเครื่องยึด เหนี่ยวจิตใจ
พระพุทธศาสนา - เป็ นศูนย์รวมการทำความดีและพัฒนาจิตใจ
หรือศาสนาที่ตน เช่น ฝึ กสมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลักธรรม
นับถือ ในฐานะที่ - เป็ นที่ประกอบศาสนพิธี (การทอดกฐิน การทอดผ้าป่ า
เป็ นศูนย์รวมจิตใจ การเวียนเทียน การทำบุญ)
ของศาสนิกชน - เป็ นแหล่งทำกิจกรรมทางสังคม เช่น การจัดประเพณี
ท้องถิ่น การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ของชุมชนและการส่ง
เสริมพัฒนาชุมชน
2. สรุ ปพุทธประวัติ  สรุปพุทธประวัติ
ตั้งแต่บรรลุธรรม - ตรัสรู้
จ น ถึ ง ป ร ะ ก า ศ - ประกาศธรรม ได้แก่
ธรรม หรือประวัติ : โปรดชฎิล
ของ ศาสดา ที่ ต น : โปรดพระเจ้าพิมพิสาร
นั บ ถื อ ต า ม ที่ : พระอัครสาวก
กำหนด : แสดงโอวาทปาฏิโมกข์
3. เ ห็ น ค ณ ค่ า แ ล ะ  พุทธสาวก พุทธสาวิกา
ป ฏิ บั ติ ต น ต า ม - พระอุรุเวลกัสสปะ
แ บ บ อ ย่ า ง ก า ร  ชาดก
ดำ เ นิ น ชี วิ ต แ ล ะ - กุฏิทูสกชาดก
ข้อคิดจากประวัติ - มหาอุกกุสชาดก
สาวก ชาดก  ศาสนิกชนตัวอย่าง
52

เ รื่ อ ง เ ล่ า และ - สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระ บรม


ศ า ส นิ ก ช น ราชชนก
ตัวอย่าง ตามที่ - สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
กำหนด
4. แสดงความเคารพ  พระรัตนตรัย
พ ร ะ รั ต น ต รั ย : ศรัทธา ๔
แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม - พระพุทธ
ไตรสิกขาและหลัก : พุทธคุณ ๓
ธรรมโอวาท ๓ - พระธรรม
ใ น พ ร ะ พุ ท ธ : หลักกรรม
ศาสนา หรือหลัก - พระสงฆ์
ธรรมของศาสนาที่  ไตรสิกขา
ต น นั บ ถื อ ต า ม ที่ - ศีล สมาธิ ปั ญญา
กำหนด  โอวาท ๓
- ไม่ทำชั่ว
: เบญจศีล
: ทุจริต ๓
- ทำความดี
: เบญจธรรม
: สุจริต ๓
: พรหมวิหาร ๔
: ฆราวาสธรรม ๔
: ความกตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
: มงคล ๓๘
เคารพ
ถ่อมตน
ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน
- ทำจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปั ญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
53

- สุขา สังฆสส สามคคี


ความพร้อมเพรียงของหมู่ทำให้เกิดสุข
- โลโกปตถมภิกา เมตตา
เมตตาธรรม ค้ำจุนโลก
5. ชื่ น ช ม ก า ร  ตัวอย่างการกระทำ ความดีของตนเองและบุคคลใน
ทำ ค ว า ม ดี ข อ ง ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
ตนเอง บุคคลใน
ค ร อ บ ค รั ว
โ ร ง เ รี ย น แ ล ะ
ชุมชน ต า ม ห ลั ก
ศาสนา พร้อมทั้ง
บอกแนวปฏิบัติใน
การดำเนินชีวิต
6. เ ห็ น คุ ณ ค่ า แ ล ะ  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย และแผ่
ส ว ด ม น ต์ แ ผ่ เมตตา
เมตตา มีสติที่เป็ น - รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิ และปั ญญา
พื้นฐานของสมาธิ - รู้วิธีปฏิบัติของการบริหารจิตและเจริญปั ญญา
ใ น พ ร ะ พุ ท ธ - ฝึ กการยืน การเดิน การนั่ง และการนอนอย่างมีสติ
ศาสนา หรือการ - ฝึ กการกำหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตาเห็นรูป หูฟั งเสียง
พั ฒ น า จิ ต ต า ม จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิ่งที่มา กระทบ ใจ
แนวทางของ รับรู้ธรรมารมย์
ศาสนาที่ตนนับถือ - ฝึ กให้มีสมาธิในการฟั ง การอ่าน การคิด การถาม
ตามที่กำหนด และการเขียน
7. ป ฏิ บั ติ ต น ต า ม  หลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์
ห ลั ก ธ ร ร ม ข อ ง - เบญจศีล - เบญจธรรม
ศาสนาที่ตนนับถือ - ทุจริต ๓ – สุจริต ๓
เพื่อการอยู่ร่วมกัน - พรหมวิหาร ๔
เป็ นชาติได้อย่าง - มงคล ๓๘
สมานฉันท์ : เคารพ
54

: ถ่อมตน
: ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน
- พุทธศาสนสุภาษิต
: ความพร้อมเพรียงของหมู่ทำให้เกิดสุข
: เมตตาธรรมค้ำจุนโลก
: กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
8. อ ธิ บ า ย ป ร ะ วั ติ  ประวัติศาสดา
ศาสดาของศาสนา - พระพุทธเจ้า
อื่นๆ โดยสังเขป - มุฮัมมัด
- พระเยซู
55

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อภิปรายความสำคัญและ  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนสถาน
มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร บำ รุ ง  การแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน
รั ก ษ า ศ า ส น ส ถ า น ข อ ง  การบำรุงรักษาศาสนสถาน
ศาสนาที่ตนนับถือ
2. มีมรรยาทของความเป็ น  มรรยาทของศาสนิกชน
ศ า ส นิ ก ช น ที่ ดี ต า ม ที่ - การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ
กำหนด - การยืน การเดิน และการนั่ง ที่เหมาะสมใน
โอกาสต่างๆ
3. ป ฏิ บั ติ ต น ใ น ศ า ส น พิ ธี  ปฏิบัติตนในศาสนพิธี
พิธีกรรมและวันสำคัญทาง - การอาราธนาศีล
ศาสนา ตามที่กำหนด - การอาราธนาธรรม
- การอาราธนาพระปริตร
- ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะ
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจ และปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง
รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ
สังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถี  การเข้าร่วมกิจกรรมประชาธิปไตยของ
ประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดี ชุมชน เช่น การรณรงค์การเลือกตั้ง
ของชุมชน  แนวทางการปฏิบัติตนเป็ นสมาชิกที่ดีของ
ชุมชน เช่น อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สาธารณ
สมบัติ โบราณวัตถุและโบราณสถาน การ
พัฒนาชุมชน
56

2. ปฏิบัติตนในการเป็ นผู้นำ และผู้  การเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี


ตามที่ดี - บทบาทและความรับผิดชอบของผู้นำ
- บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ตาม
หรือ
สมาชิก
- การทำงานกลุ่มให้มีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล และประโยชน์ของการ
ทำงานเป็ นกลุ่ม
3. วิเคราะห์สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุก  สิทธิพื้นฐานของเด็ก เช่น สิทธิที่จะมี
คนพึงได้รับตามกฎหมาย ชีวิต สิทธิที่จะได้รับการปกป้ อง สิทธิที่จะ
ได้รับการพัฒนา สิทธิที่จะมีส่วนร่วม
4. อ ธิ บ า ย ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ท า ง  วัฒนธรรมในภาคต่างๆ ของไทยที่แตกต่าง
วัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น กัน เช่น การแต่งกาย ภาษา อาหาร
5. เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่าง  ปั ญหาและสาเหตุของการเกิดความขัด
สันติสุขในชีวิตประจำวัน แย้งในชีวิตประจำวัน
 แนวทางแก้ปั ญหาความขัดแย้งด้วยสันติ
วิธี
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา
และธำ รงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายอำ นาจอธิปไตยและความ  อำนาจอธิปไตย
สำคัญของระบอบประชาธิปไตย  ความสำ คัญของการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย
2. อธิบายบทบาทหน้าที่ของพลเมือง  บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ข อ ง พ ล เ มื อ ง ใ น
ในกระบวนการเลือกตั้ง กระบวนการเลือกตั้ง ทั้งก่อนการเลือก
ตั้ง ระหว่างการเลือกตั้งและหลังการ
เลือกตั้ง
57

3. อธิบายความสำคัญของสถาบันพระ  สถาบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทย
ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ต า ม ะ บ อ บ  ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง ส ถ า บั น พ ร ะ ม ห า
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ กษัตริย์ในสังคมไทย
ทรงเป็ นประมุข

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ระบุปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อ  สินค้าและบริการที่มีอยู่หลากหลายใน
สินค้าและบริการ ตลาดที่มีความแตกต่างด้านราคาและ
คุณภาพ
 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและ
บริการที่มีมากมาย ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้ซื้อ ผู้
ขาย และตัวสินค้า เช่น ความพึงพอใจของ
ผู้ซื้อ ราคาสินค้า การโฆษณา คุณภาพ
ของสินค้า
2. บอกสิทธิพื้นฐานและรักษาผล  สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภค
ประโยชน์ของตนเองในฐานะผู้  สินค้าและบริการที่มีเครื่ องหมายรับรอง
บริโภค คุณภาพ
 หลักการและวิธีการเลือกบริโภค
3. อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอ  หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
เพียงและนำไปใช้ในชีวิประจำวัน  การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
ของตนเอง เพียง ในการดำรงชีวิต เช่น การแต่งกาย
การกินอาหาร การใช้จ่าย
58

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายความสัมพันธ์  อาชีพ สินค้าและบริการต่างๆ ที่ผลิตในชุมชน
ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง
คนในชุมชน
2. อธิบายหน้าที่เบื้ อง  การพึ่งพาอาศัยกันภายในชุมชนทางด้านเศรษฐกิจ
ต้นของเงิน เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย การกู้หนี้ยืมสิน
 การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนด้วยการใช้สิ่งของที่
ผลิตในชุมชน
 ความหมายและประเภทของเงิน
 หน้าที่เบื้องต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ
 สกุลเงินสำคัญที่ใช้ในการซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่าง
ประเทศ

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำ คัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. นั บ ช่ ว ง เ ว ล า เ ป็ น  ความหมายและช่วงเวลา ทศวรรษ ศตวรรษ และ
59

ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ


และสหัสวรรษ  การใช้ทศวรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษเพื่อทำความ
เ ข้ า ใ จ ช่ ว ง เ ว ล า ที่ ป ร า ก ฏ ใ น เ อ ส า ร ต่ า ง ๆ เ ช่ น
หนังสือพิมพ์
2. อ ธิ บ า ย ยุ ค ส มั ย ใ น  เกณฑ์การแบ่งยุคสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ที่
ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ วั ติ แบ่งเป็ นยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์
ของมนุษย์ชาติโดย  ยุคสมัยที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย เช่น สมัย
สังเขป ก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัย
รัตนโกสินทร์
3. แ ย ก แ ย ะ ป ร ะ เ ภ ท  ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แบ่งเป็ น
หลักฐานที่ใช้ในการ หลักฐานชั้นต้น และหลักฐานชั้นรอง
ศึกษาความเป็ นมา  ตัวอย่างหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็ นมาของ
ของท้องถิ่น ท้องถิ่นของตน
 เกณฑ์การจำแนกหลักฐานที่พบในท้องถิ่นเป็ นหลัก
ฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง อย่างง่ายๆ

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์จากอดีตจนถึงปั จจุบันในด้านความ
สัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่ อง ตระหนักถึง
ความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อ ธิ บ า ย ก า ร ตั้ ง ห ลั ก แ ห ล่ ง แ ล ะ  พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ม นุ ษ ย์ ยุ ค ก่ อ น
พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ม นุ ษ ย์ ยุ ค ก่ อ น ประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์ ในดินแดนไทยโดยสังเขป
60

โดยสังเขป
2. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ห ลั ก ฐ า น ท า ง  หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดง
ประวัติศาสตร์ที่พบในท้องถิ่นที่แสดง การตั้งหลักแหล่งของมนุษย์ยุคก่อน
พัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดน ประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์
ไทย ในดินแดนไทยโดยเฉพาะที่สามารถ
ก่อตั้งเป็ นอาณาจักรโบราณได้ โดย
สังเขป
 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบใน
ท้ อ ง ถิ่ น ที่ แ ส ด ง พั ฒ น า ก า ร ข อ ง
มนุษยชาติในดินแดนไทย โดยสังเขป
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มี
ความรัก ความภูมิใจ และธำรงความ เป็ นไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายพัฒนาการของอา ณาจักร  การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย โดย
สุโขทัย โดยสังเขป สังเขป
 พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยทาง
ด้ า น ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง แ ล ะ
เศรษฐกิจ โดยสังเขป
2. บอกประวัติและผลงานของบุคคล  ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญ
สำคัญสมัยสุโขทัย สมัยสุโขทัย เช่น พ่อขุนศรีอินทราทิต
ย์ พ่อขุนรามคำ แหงมหาราช พระ
มหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไทย)
โดยสังเขป
3. ภูมิปั ญญาไทยที่สำคัญสมัยสุโขทัยที่  ภูมิปั ญญาไทยสมัยสุโขทัย เช่น ภาษา
น่ า ภ า ค ภู มิ ใ จ แ ล ะ ค ว ร ค่ า แ ก่ ก า ร ไ ท ย ศิ ล ป ก ร ร ม สุ โ ข ทั ย ที่ ทำ ใ ห้
อนุรักษ์ สุโขทัยได้รับการยกย่องเป็ นมรดกโลก
 คุณค่าของภูมิปั ญญาไทยที่สืบต่อถึง
ปั จจุบันที่น่าภาคภูมิใจและควรค่าแก่
61

การอนุรักษ์

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพ
สิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทาง
ภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่าง
มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ใ ช้ แ ผ น ที่ ภ า พ ถ่ า ย ร ะ บุ ลั ก ษ ณ ะ  แ ผ น ที่ ภ า พ ถ่ า ย ลั ก ษ ณ ะ ท า ง
สำคัญทางกายภาพของจังหวัดตนเอง กายภาพของจังหวัดตนเอง
2. ระบุแหล่งทรัพยากรและสิ่งต่างๆใน  ตำ แ ห น่ ง ร ะ ย ะ ท า ง แ ล ะ ทิ ศ ข อ ง
จังหวัดของตนเองด้วยแผนที่ ทรัพยากรและสิ่งต่างๆ ในจังหวัดของ
ตนเอง
3. ใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่ง  แผนที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
ต่างๆ ที่มีอยู่ในจังหวัด ที่มีอยู่ในจังหวัด
 ลักษณะทางกายภาพ (ภูมิลักษณ์หรือ
ภูมิประเทศและภูมิอากาศ) ที่มีผลต่อ
สภาพสังคมของจังหวัด

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
62

มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด


การสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม
มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายสภาพแวดล้อมทางกายภาพ  สภา พ แ ว ด ล้ อ ม ท า ง ก า ย ภ า พ ข อ ง
ของชุมชนที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ชุมชนที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของ
ของคนในจังหวัด ค น ใ น จั ง ห วั ด เ ช่ น ลั ก ษ ณ ะ บ้ า น
อาหาร
2. อ ธิ บ า ย ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ภ า พ  การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมใน
แวดล้อมในจังหวัดและผลที่เกิดจาก จั ง ห วั ด แ ล ะ ผ ล ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร
การเปลี่ยนแปลงนั้น เปลี่ยนแปลง เช่น การตั้งถิ่นฐาน การ
ย้ายถิ่น
3. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  ก า ร อ นุ รั ก ษ์ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ
ในจังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติในจังหวัด

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดกับสาระการเรียนรู้
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕
63

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. วิเคราะห์ความสำ คัญ  มรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับจากพระพุทธศาสนา
ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า - มรดกทางด้านรูปธรรม เช่น ศาสนสถาน
หรือศาสนาที่ตนนับถือ โบราณวัตถุ สถาปั ตยกรรม
ในฐานะที่เป็ นมรดกทาง - มรดกทางด้านจิตใจ เช่น หลักธรรมคำสั่งสอน
วัฒนธรรมและหลักใน ความเชื่อและคุณธรรมต่างๆ
การพัฒนาชาติไทย  การนำพระพุทธศาสนาไปใช้เป็ นแนวทางในการ
พัฒนาชาติไทย
- พัฒนาด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม เช่น
ภาวนา ๔ (กาย ศีล จิต ปั ญญา) ไตรสิกขา
(ศีล สมาธิ ปั ญญา) และอริยสัจ ๔
- พัฒนาจิตใจ เช่น หลักโอวาท ๓ (ละความชั่ว
ทำดี ทำจิตใจให้บริสุทธิ์) และกาบริหารจิต
และเจริญปั ญญา
2. สรุปพุทธประวัติ ตั้งแต่  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)
เ ส ด็ จ ก รุ ง ก บิ ล พั ส ดุ์  โปรดพระพุทธบิดา (เสด็จกรุงกบิลพัสดุ์)
จ น ถึ ง พุ ท ธ กิ จ สำ คั ญ  พุทธกิจสำคัญ ได้แก่ โลกัตถจริยา
หรือประวัติศาสดาที่ตน
นับถือตามที่กำหนด
3. เห็นคุณค่าและปฏิบัติ  พุทธสาวก พุทธสาวิกา
ตนตามแบบอย่างการ - พระโสณโกฬิวิสะ
ดำ เนินชีวิตและข้อคิด  ชาดก
จ า ก ป ร ะ วั ติ ส า ว ก - จูฬเสฏฐชาดก
ชาดก เรื่ องเล่า และ - วัณณาโรหชาดก
64

ศ า ส นิ ก ช น ตั ว อ ย่ า ง  ศาสนิกชนตัวอย่าง
ตามที่กำหนด - สมเด็จพระสังฆราช (สา)
- อาจารย์เสถียร โพธินันทะ

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
4. อธิบายองค์ประกอบและความสำคัญ  องค์ประกอบของพระไตรปิ ฎก
ข อ ง พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก ห รื อ คั ม ภี ร์ ข อ ง - พระสุตตันตปิ ฎก
ศาสนาที่ตนนับถือ - พะวินัยปิ ฎก
- พระอภิธรรมปิ ฎก
 ความสำคัญของพระไตรปิ ฎก
5. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และ  พระรัตนตรัย
ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรม : ศรัทธา ๔
โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือ - พระพุทธ
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตาม : พุทธจริยา ๓
ที่กำหนด - พระธรรม
: อริยสัจ ๔
: หลักกรรม
- พระสงฆ์
 ไตรสิกขา
- ศีล สมาธิ ปั ญญา
 โอวาท ๓
- ไม่ทำชั่ว
65

: เบญจศีล
: อบายมุข ๔
- ทำความดี
: เบญจธรรม
: บุญกิริยาวัตถุ ๓
: อคติ ๔
: อิทธิบาท ๔
: ความกตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธ
ศาสนา
: มงคล ๓๘
ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
การงานไม่อากูล
อดทน
- ทำ จิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและ
เจริญปั ญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
- วิริเยน ทุกขมจเจติ

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
คนจะล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
- ปญญา โลกสมิ ปชโชโต
ปั ญญา คือ แสงสว่างในโลก
6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐานของ และแผ่เมตตา
สมาธิในพระพุทธ - รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิ
ศาสนา หรือการพัฒนาจิตตาม และปั ญญา
66

แนวทาง - รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิต
ของศาสนาที่ตนนับถือตาม และเจริญปั ญญา
ที่กำหนด - ฝึ กการยืน การเดิน การนั่ง และการนอน
อย่างมีสติ
- ฝึ กการกำหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตาเห็นรูป หู
ฟั งเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิ่ง
ที่มากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมย์
- ฝึ กให้มีสมาธิในการฟั ง การอ่าน การคิด
การถาม และการเขียน
7. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ  โอวาท ๓ (ตามสาระการเรียนรู้ข้อ ๕)
ศาสนาที่ตนนับถือ เพื่ อการ
พัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. จัดพิธีกรรมตามศาสนาทีตนนับถือ  การจัดพิธีกรรมที่เรียบง่าย ประหยัด มี
อย่างเรียบง่าย มีประโยชน์และ ประโย ชน์ แ ล ะถูกต้ องตา ม ห ลั ก ท า ง
ปฏิบัติตนถูกต้อง ศาสนาที่ตนนับถือ
2. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม  การมีส่วนร่วมในการจัดเตรียมสถานที่
และวันสำ คัญทางศาสนา ตามที่ ประกอบศาสนพิธี พิธีกรรมทางศาสนา
กำหนด และอภิปรายประโยชน์ที่ได้  พิธีถวายสังฆทาน เครื่องสังฆทาน
รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม  ระเบียบพิธีในการทำบุญงานมงคล
 ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร เ ข้ า ร่ ว ม ศ า ส น พิ ธี
พิธีกรรมทางศาสนา หรือกิจกรรมในวัน
สำคัญทางศาสนา
3. มีมรรยาทของความเป็ นศาสนิกช  มรรยาทของศาสนิกชน
นที่ดีตามที่กำหนด - การกราบพระรัตนตรัย
67

- การไหว้บิดามารดา ครู อาจารย์ ผู้ที่


เคารพนับถือ
- การกราบศพ

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจ และปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง
รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ
สังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. ย ก ตั ว อ ย่ า ง แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต น ต า ม สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพหน้าที่ขอชุมชน
สถานภาพ บทบาทสิทธิเสรีภาพและ เช่น การรณรงค์การเลือกเมืองดี เช่น เคารพ
หน้าที่ในฐานะพลเมืองดี เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษ์ศิลป
วัฒนธรรม ปฏิบัติตนตามกฎหมายคุณลักษณะ
ของพลเมืองดี เช่น มุมานะทำประโยชน์เพื่อส่วน
รวม มีค่านิยมประชาธิปไตย มีคุณธรรม

2. เสนอวิธีการปกป้ องคุ้มครองตนเอง  เหตุการณ์ที่ละเมิดสิทธิเด็กในสังคมไทย


หรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็ก  แนวทางการปกป้ องคุ้มครองตนเองหรือผู้
อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็ก
 การปกป้ องคุ้มครองสิทธิเด็กในสังคมไทย
3. เห็นคุณค่าวัฒนธรรมที่มีผลต่อการ  วัฒนธรรมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของ
68

ดำเนินชีวิตในสังคมไทย คนในสังคมไทย
 คุณค่าของวัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิต
4. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่  ความสำคัญของภูมิปั ญญาท้องถิ่น
ภูมิปั ญญาท้องถิ่นของชุมชน  ตัวอย่างภูมิปั ญญาท้องถิ่นในชุมชนของ
ตน
 การอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปั ญญาท้อง
ถิ่นของชุมชน

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา
และธำ รงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายโครงสร้าง อำ นาจหน้าที่  โครงสร้างการปกครองในท้องถิ่น เช่น
และความสำคัญของการปกครอง อบจ. อบต. เทศบาล และการปกครอง
ส่วนท้องถิ่น พิเศษ ช่น พัทยา กรุงเทพมหานคร
 อำนาจหน้าที่และความสำคัญของการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น
2. ระบุบทบาท หน้าที่ และวิธีการเข้า  บทบาทหน้าที่และวิธี การเข้าดำ รง
ดำรงตำแหน่งของผู้บริหารส่วนท้อง ตำ แหน่ งของ ผู้ บริ การ ท้อง ถิ่น เ ช่ น
ถิ่น นายก อบต. นายกเทศมนตรี นายก
อบจ. ผู้ว่าราชการ กทม.
3. วิเคราะห์ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับ  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับบริการ
จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สาธารณประโยชน์ในชุมชน
และรัฐบาล
69

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลัก
การของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อ ธิ บ า ย ปั จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า แ ล ะ  ความหมายและประเภทของปั จจัย
บริการ การผลิตประกอบด้วย ที่ดิน แรงงาน
ทุน และผู้ประกอบการ
 เทคโนโลยีการผลิตสินค้าและบริการ
 ปั จจัยอื่น ๆ เช่น ราคาน้ำมัน วัตถุดิบ
 พฤติกรรมของผู้บริโภค
 ตัวอย่างการผลิตสินค้าและบริการที่มี
อยู่ในท้องถิ่นหรือแหล่งผลิตสินค้า
และบริการ
2. ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของ  หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรม  การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ
ต่างๆ ในครอบครัว โรงเรียนและ พ อ เ พี ย ง ใ น กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ใ น
ชุมชน ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน เช่น
การประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย
ในบ้าน โรงเรียน การวางแผน การ
ผลิตสินค้าและบริการเพื่ อลดความ
สูญเสียทุกประเภท การใช้ภูมิปั ญญา
ท้องถิ่น
 ตัวอย่างการผลิตสินค้าและบริการใน
ชุมชน เช่น หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
หรือโอท็อป
3. อธิบายหลักการสำคัญและประโยชน์  หลักการและประโยชน์ของสหกรณ์
ของสหกรณ์  ประเภทของสหกรณ์ โดยสังเขป
 สหกรณ์ในโรงเรียน
70

 การประยุกต์หลักการสหกรณ์ มา
ใช้ในชีวิตประจำวัน
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจและความจำเป็ นของการ
ร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายบทบาทหน้าที่เบื้องต้นของ  บทบาทหน้าที่ของธนาคารโดยสังเขป
ธนาคาร  ดอกเบี้ยเงินฝาก และดอกเบี้ยกู้ยืม
 การฝากเงิน/การถอนเงิน
2. จำแนกผลดี ผลเสีย ของการกู้ยืม  ผลดีและผลเสียของการกู้ยืมเงินทั้ง
นอกระบบและในระบบที่มี่ต่อระบบ
เศรษฐกิจ เช่น การเสียดอกเบี้ย การ
ลงทุน การซื้อของอุปโภคเพิ่มขึ้นที่นำ
ไปสู่ความฟุ้งเฟ้ อ ฟุ่มเฟื อย

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำ คัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. สืบค้นความเป็ นมาของท้องถิ่น  วิธีการสืบค้นความเป็ นมาของท้องถิ่นอย่าง
โดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย ง่ายๆ
 แหล่งข้อมูลและหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ที่มีอยู่ในท้องถิ่นที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลาต่างๆ
เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ อาวุธ โบราณสถาน
โบราณวัตถุ ตำนานท้องถิ่น คำบอกเล่า
2. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ  การตั้งคำถามทางประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับ
71

เ พื่ อ ต อ บ คำ ถ า ม ท า ง ความเป็ นมาของท้องถิ่น เช่น มีเหตุการณ์ใด


ประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเพราะสาเหตุใดและมี
ผลกระทบอย่างไร
3. บอกประวัติความเป็ นมาของ ตัวอย่างเรื่องราวที่สามารถแสดงนัยของความคิด
ต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว โ ด ย เห็นที่มีอยู่ในข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ เช่น จาก
สอบถามผู้เกี่ยวข้อง หนังสือพิมพ์ จากบทความ จากเอกสารอื่นๆ
ตัวอย่างข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ใน
ท้องถิ่น ที่แสดงความจริงกับข้อเท็จจริงการตอบ
คำถามทางประ
วัติศาสตร์ โดยใช้ข้อมูลที่พบได้อย่างมีเหตุผลการนำ
เสนอความเป็ นมาของท้องถิ่นด้วยวิธีการต่างๆ เช่น
การเล่าเรื่อง การเขียนอย่างง่ายๆ การจัด
นิทรรศการ

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์จากอดีตจนถึงปั จจุบันในด้านความ
สัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่ อง ตระหนักถึง
ความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑. อธิบายอิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย  การเข้ามาของอารยธรรมอินเดีย และ
และจีน ที่มีผลต่อไทย และเอเชีย จีน ในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ โดยสังเขป ตะวันออกเฉียงใต้ โดยสังเขป
 อิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีน
ที่ มี ผ ล ต่ อ ไ ท ย แ ล ะ ค น ใ น ภู มิ ภ า ค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ศาสนา
และความเชื่ อ ภาษา การแต่งกาย
อาหาร
๒. อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่าง  การเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติใน
ชาติที่มีผลต่อสังคมไทยปั จจุบัน โดย สังคมไทย เช่น อาหาร ภาษา การ
72

สังเขป แต่งกาย ดนตรี โดนระบุลักษณะ


สาเหตุ และผลโดยสังเขป
 อิทธิพลที่หลากหลายของกระแส
วัฒนธรรมต่างชาติที่มีผลต่อสังคมไทย
ในปั จจุบัน โดยสังเขป

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มี
ความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็ นไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
1. อธิบายพัฒนาการของอาณาจักร  การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา โดย
อยุธยาและธนบุรี โดยสังเขป สังเขป
2. อธิบายปั จจัยที่ส่งเสริมความเจริญ  ปั จจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทาง
รุ่ ง เ รื อ ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร ป ก ค ร อ ง ข อ ง
ปกครองของอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยา
3. บอกประวัติและผลงานของบุคคล  พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาทาง
สำคัญสมัยอยุธยาและธนบุรี ที่น่า ด้ า น ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง แ ล ะ
ภาคภูมิใจ เศรษฐกิจโดยสังเขป
4. อธิบายภูมิปั ญญาไทยที่สำคัญสมัย  ผลงานของบุคคลสำคัญในสมัยอยุธยา
อยุธยาและ เช่น สมเด็จพระรามาธิบดีที ๑ สมเด็จ
ธนบุรี ที่น่าภาคภูมิใจและควรค่าแก่ พระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพรนเรศวร
การอนุรักษ์ มหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ไว้ ชาวบ้านบางระจัน
 ภูมิปั ญญาไทยสมัยอยุธยาโดยสังเขป
เช่นศิลปกรรม การค้า วรรณกรรม
 การกอบกู้เอกราชและการสถาปนา
73

อาณาจักร โดยสังเขป
 พ ร ะ ร า ช ป ร ะ วั ติ แ ล ะ ผ ล ง า น ข อ ง
พระเจ้าตากสินมหาราช โดยสังเขป
 ภูมิปั ญญาไทยสมัยธนบุรี โดยสังเขป
เช่น ศิลปกรรม การค้า วรรณกรรม

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพ
สิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทาง
ภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่าง
มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑ . รู้ ตำ แ ห น่ ง (พิ กั ด ภู มิ ศ า ส ต ร์  ตำแหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองติจูด)
ละติจูด ลองติจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง
ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของ
ตนเอง
๒. ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สำคัญใน  ภูมิลักษณ์ที่สำ คัญในภูมิภาคของตนเอง เช่น
ภูมิภาคของตนเองในแผนที่ แม่น้ำ ภูเขา ป่ าไม้
3. อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะ  ความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภา พ(ภูมิ
ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคม ลักษณ์และภูมิอากาศ) และลักษณะทางสังคม (ภู
ในภูมิภาคของตนเอง มิสังคม) ในภูมิภาคของตนเอง

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้
เกิดการสร้างสรรค์ทาง
74

วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ง
แวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑ . วิ เ ค ร า ะ ห์ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ท า ง  ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ท า ง ก า ย ภ า พ ที่ มี
กายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้ง อิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและ
ถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของประชากรใน การย้ายถิ่นของประชากรในภูมิภาค
ภูมิภาค
๒. อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทาง  อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
ธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการ ที่
สร้างสรรค์วัฒนธรรม ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์
ในภูมิภาค วัฒนธรรมในภูมิภาค
4. นำเสนอตังอย่างที่สะท้อนให้เห็นผล  ผลจาการรักษาและการทำลายสภาพ
จากการรักษาและการทำลายสภาพ แวดล้อม
แวดล้อม และเสนอแนวคิดในการ  แนวทางอนุรักษ์และการรักษาสภาพ
รักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค แวดล้อมในภูมิภาค
75

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดกับสาระการเรียนรู้
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑ . วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง  พระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็ นศาสนาประจำ
พระพุทธศาสนาในฐานะ ชาติ เช่น เป็ นเอกลักษณ์ของชาติไทย เป็ น
เป็ นศาสนาประจำชาติหรือ รากฐานและมรดกทางวัฒนธรรม เป็ นศูนย์
ค วาม สำ คั ญของ ศาสนา ที่ ตน รวมจิตใจและเป็ นหลักในการพัฒนาชาติไทย
นับถือ
๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ปลง  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)
สังขารจนถึงสังเวชนียสถาน หรือ - ปลงอายุสังขาร
ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่ - ปั จฉิมสาวก
กำหนด - ปรินิพพาน
- การถวายพระเพลิง
76

- แจกพระบรมสารีริกธาติ
- สังเวชนียสถาน ๔
๓. เห็นคุณค่าและประพฤติตน  พุทธสาวก พุทธสาวิกา
ตามแบบอย่างการ - พระราธะ
ดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก  ชาดก
ประวัติสาวก ชาดกเรื่องเล่า และ - ทีฆีติโกสลชาดก
ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กำหนด - สัพพทาฐิชาดก
 ศาสนิกชนตัวอย่าง
- พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
- สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุ
ชิตชิโนรส
๔. วิเคราะห์ความสำ คัญและ  พระรัตนตรัย
เคารพพระรัตนตรัย : ศรัทธา ๔
ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรม - พระพุทธ
โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือ : พุทธกิจ ๔
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ - พระธรรม
ตามที่กำหนด
: อริยสัจ ๔
: หลักกรรม
- พระสงฆ์
 ไตรสิกขา
- ศีล สมาธิ ปั ญญา
 โอวาท ๓
- ไม่ทำชั่ว
: เบญจศีล
: อบายมุข ๖
: อกุศลมูล ๓
- ทำความดี
: เบญจธรรม
77

: กุศลมูล ๓
: พละ ๔
: คารวะ ๖
: กตัญญูกตเวทีต่อพระมหากษัตริย์
: มงคล ๓๘
มีวินัย
การงานไม่มีโทษ
ไม่ประมาทในธรรม
- ทำจิตใจให้บริสุทธิ์(บริหารจิตและเจริญ
ปั ญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
- สจเจน กิตตึ ปปโปติ
คนจะได้เกียรติด้วยสัจจะ
- ยถาวาที ตถาการี
พูดเช่นไร ทำเช่นนั้น
5. ชื่ น ช ม ก า ร ทำ ค ว า ม ดี ข อ ง  ตัวอย่างการกระทำ ความดีของบุคคลใน
บุคคลในประเทศ ตามหลัก ประเทศ
ศาสนา พร้อมทั้งบอกแนว
ปฏิบัติในการดำเนินชีวิต
6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
เมตตาและบริหารจิต เจริญ และแผ่เมตตา
ปั ญญา มีสติที่เป็ นพื้นฐานของ
สมาธิในพระ

พุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตาม - รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิ


แนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตาม และ
78

ที่กำหนด ปั ญญา
- รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหาร
จิต
และเจริญปั ญญา
- ฝึ กการยืน การเดิน การนั่ง และการนอน
อย่างมีสติ
- ฝึ กการกำหนดรู้ ความรู้สึกเมื่อตาเห็นรูป
หูฟั งเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัส
สิ่งที่มากระทบใจรับรู้ธรรมารมณ์
- ฝึ กให้มีสมาธิในการฟั ง การอ่าน การ
ถาม การคิดและการเขียน
7. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ  หลักธรรม : อริยสัจ ๔ หลักกรรม
ศาสนาที่ตนนับถือ เ พื่ อแ ก้  โอวาท ๓ : เบญจศีล-เบญจธรรม อบายมุข
ปั ญหาอบายมุขและสิ่งเสพติด ๖ อกุศลมูล ๓ กุศลมูล ๓
8. อธิบายหลักธรรมสำ คัญของ  หลักธรรมสำคัญของศาสนาต่างๆ
ศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป - พระพุทธศาสนา : อริยสัจ ๔ โอวาท ๓
ฯลฯ
- ศาสนาอิสลาม : หลักศรัทธา หลัก
ปฏิบัติ
หลักจริยธรรม
- คริสต์ศาสนา : บัญญัติ ๑๐ ประการ
9. อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ สำ คั ญ ข อ ง  ศาสนพิธีของศาสนาต่างๆ
ศ า ส น พิ ธี พิ ธี ก ร ร ม ข อ ง - พระพุทธศาสนา
ศาสนาอื่ นๆและปฏิบัติตนได้ : ศ า ส น พิ ธี ที่ เ ป็ น พุ ท ธ บั ญ ญั ติ เ ช่ น
อย่างเหมาะสมเมื่ อต้องเข้า บรรพชา
ร่วมพิธี อุปสมบท
: ศาสนพิธีที่เกี่ยวเนื่ องกับพระ พุ ท ธ
ศาสนา
เช่น ทำบุญเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา
79

- ศาสนาอิสลาม เช่น การละหมาด การ


ถือ
ศีลอด การบำเพ็ญฮัจญ์ ฯลฯ
- คริสต์ศาสนา เช่น ศีลล้างบาป ศีลอภัย
บาปศีลกำลัง ศีลมหาสนิท ฯลฯ
- ศาสนาฮินดู เช่น พิธีศราทธ์ พิธีบูชา
เทวดา

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑. อธิบายความรู้เกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ
ในศาสน สถาน และปฏิบัติตนได้อย่าง ภ า ย ใ น วั ด เ ช่ น เ ข ต พุ ท ธ า ว า ส
เหมาะสม สังฆาวาส
 การปฏิบัติตนที่เหมาะสมภายในวัด
๒. มีมรรยาทของความเป็ นศาสนิกชนที่ มรรยาทของศาสนิกชน
ดีตามที่ - การถวายของแก่พระภิกษุ
กำหนด - การปฏิบัติตนในขณะฟั งธรรม
- การปฏิบัติตนตามแนวทางของ
พุทธศาสนิกชน
เพื่อประโยชน์ต่อศาสนา
๓. อธิบายประโยชน์ของการเข้าร่วมใน  ทบทวนการอาราธนาศีล อาราธนา
ศาสนพิธี ธรรม และอาราธนาพระปริตร
พิธีกรรม และกิจกรรมในวันสำคัญ  พิธีทอดผ้าป่ า
ทางศาสนา  พิธีทอดกฐิน
ตามที่กำหนดและปฏิบัติตนได้ถูก  ระเบียบพิธีในการทำบุญงานอวมงคล
ต้อง  การปฏิบัติตนที่ถูกต้องในศาสนพิธี
พิธีกรรม และวันสำ คัญทางศาสนา
80

เช่น วันมาฆบูชา
วั น วิ ส า ข บู ช า วั น อั ฐ มี บู ช า วั น
อาสาฬหบูชา
วันธรรมสวนะ
 ประโยชน์ของการเข้าร่วมในศาสนพิธี
พิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนา
4. แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ หรือแสดง  การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ
ตนเป็ น - ขั้นเตรียมการ
ศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ - ขั้นพิธีการ

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจ และปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรง
รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ
สังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑ . ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ห ม า ย ที่  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ วันของ
เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ครอบครัวและชุมชน
ของครอบครัวและชุมชน - กฎหมายจราจร
- กฎหมายยาเสพติดให้โทษ
- กฎหมายทะเบียนราษฎร
- เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ อบต. อบจ.
 ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ต น ห รื อ เ ค า ร พ
กฎหมายดังกล่าว
๒. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง  ความหมายและประเภทของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมตาม  การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาที่มี
กาลเวลาและธำรงรักษาวัฒนธรรม ผลต่อตนเองและสังคมไทย
อันดีงาม  แนวทางการธำรงรักษาวัฒนธรรมไทย
๓. แสดงออกถึงมารยาทไทยได้  ความหมายและความสำคัญของกิริยามารยาท
เหมาะสมถูกกาลเทศะ ไทย เช่น การแสดงความเคารพ กรยืน การ
81

เดิน การนั่ง การนอน การรับของส่งของ การ


รับประทานอาหาร การแสดงกิริยาอาการ
การทักทาย การสนทนา การใช้คำพูด
 มารยาทไทยและมารยาทสังคม เช่น การ
แสดงความเคารพ กรยืน การเดิน การนั่ง การ
นอน การรับของส่งของ การรับประทาน
อาหาร การแสดงกิริยาอาการ การทักทาย
การสนทนา การใช้คำพูด
๔. อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรม  ประโยชน์และคุณค่าทางวัฒนธรรม
ที่แตกต่างกันระหว่าง ก ลุ่ ม  ความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างกลุ่มคน
คนในสังคมไทย ภาคต่างๆ ในสังคมไทย
 แนวทางการรักษาวัฒนธรรม
๕. ติ ด ต า ม ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร  แหล่งข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ เช่น
เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำ จากวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ แหล่งข่าว
วั น เ ลื อ ก รั บ แ ล ะ ใ ช้ ข้ อ มู ล ต่างๆ
ข่าวสารใน

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
การเรียนรู้ได้เหมาะสม (อยู่ จากหอจดหมายเหตุ สถานการณ์จริง หรือ
ในข้อ ๕) จดหมายเหตุ
 ประโยชน์จากการติดตามข้อมูล ข่าวสาร
เหตุการณ์ต่างๆ
 หลักการเลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อ
ต่างๆ รวมทั้งสื่อที่ไร้พรมแดน

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


82

มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา


และธำ รงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑. เปรียบเทียบบทบาทหน้าที่  บทบาท หน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้อง
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถิ่นและรัฐบาล
และรัฐบาล
๒. มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ  กิจกรรมต่างๆเพื่ อส่งเสริมประชาธิปไตยใน
ที่ส่งเสริม ประชาธิปไตยในท้อง ท้องถิ่นและประเทศ
ถิ่นและประเทศ
๓ . อ ภิ ป ร า ย บ ท บ า ท ค ว า ม  การมีส่วนร่วมในการออกกฎหมายระเบียบ
สำ คัญในการใช้สิทธิ์ออกเสียง กติกา การเลือกตั้ง
เลือกตั้งตามรบอบปะชาธิปไตย  สอดส่องดูแลผู้มีพฤติกรรมการกระทำผิดการ
เลือกตั้งและแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
 ตรวจสอบคุณสมบัติ
 การใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งตามระบอบ
ประชาธิปไตย

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการในการผลิตและการบริโภค การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลัก
การของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑. อธิบายบทบาทของผู้ผลิตที่  บทบาทของผู้ผลิตที่มีคุณภาพ เช่น คำนึงถึงสิ่ง
มีความรับผิดชอบ แวดล้อม มีจรรยาบรรณความรับผิดชอบต่อ
สังคม วางแผนก่อนเริ่มลงมือทำกิจกรรมต่างๆ
เพื่อลดความผิดพลาดและการสูญเสีย ฯลฯ
 ทั ศ น ค ติ ใ น ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร อ ย่ า ง มี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
83

 ประโยชน์ของการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ
๒ . อ ธิ บ า ย บ ท บ า ท ข อ ง ผู้  คุณสมบัติของผู้บริโภคที่ดี
บริโภคที่รู้เท่าทัน  พฤติกรรมของผู้บริโภคที่บกพร่อง
 คุณค่าและประโยชน์ของผู้บริโภคที่รู้เท่าทันที่มี
ต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม
3. บอกวิธีและประโยชน์ของ  ความหมายและความจำเป็ นของทรัพยากร
การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน  หลักการและวิธีใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์
สูงสุด (ลดการสูญเสียทุกประเภท)
 วิธีการสร้างจิตสำนึกให้คนในชาติรู้คุณค่าของ
ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด
 วางแผนการใช้ทรัพยากร โดยประยุกต์เทคนิค
และวิธีการใหม่ๆให้เกิดประโยชน์แก่ส่วนรวม
และประเทศชาติและทันกับสภาพเศรษฐกิจ
และสังคม

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑ . อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ์  ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคาร
ร ะ ห ว่ า ง ผู้ ผ ลิ ต ผู้ บ ริ โ ภ ค และรัฐบาล ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจอย่างสังเขป
ธนาคารและรัฐบาล เช่น การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ รายได้
และรายจ่าย การออมกับธนาคาร การลงทุน
 แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจ
 ภาษีและหน่วยงานที่จัดเก็บภาษี
 สิทธิของผู้บริโภคและสิทธิของผู้ใช้แรงงานใน
ประเทศไทย
 การหารายได้ รายจ่าย การออมการลงทุน ซึ่ง
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และ
84

รัฐบาล
๒. ยกตัวอย่างการรวมกลุ่ม  ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม เ ชิ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ พื่ อ ป ร ะ ส า น
ทางเศรษฐกิจภายในท้องถิ่น ประโยชน์ในท้องถิ่น เช่น กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่ม
แม่บ้าน กองทุนหมู่บ้าน

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำ คัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑.อธิบายความสำ คัญของวิธี  ความหมายและความสำ คัญของวิธีการทาง
การทางประวัติ ประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ ที่เหมาะสมกับ
ศาสตร์ในการศึกษาเรื่ องราว นักเรียน
ทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ  การนำวิธีกรทางประวัติศาสตร์ ไปใช้ศึกษาเรื่อง
ราวในท้องถิ่น เช่น ความเป็ นมาของภูมินาม
ของสถานที่ในท้องถิ่น
๒. นำเสนอข้อมูลจากหลักฐาน  ตัวอย่างหลักฐานที่เหมาะสมกับนักเรียนที่จะนำ
ที่หลากหลาย ในการทำความ ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า เ ห ตุ ก า ร ณ์ สำ คั ญ ใ น
เข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต ประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัตนโกสินทร์ เช่น พระ
ราชหัตถเลขาของรัชกาลที่ ๔ หรือรัชกาลที่ ๕
กฎหมายสำคัญ
 สรุปข้อมูลที่ได้จากหลักฐานทั้งความจริงและข้อ
เท็จจริง
 ก า ร นำ เ ส น อ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ห ลั ก ฐ า น ท า ง
ประวัติศาสตร์ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การเล่า
เรื่อง การจัดนิทรรศการ การเขียนรายงาน

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
85

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์จากอดีตจนถึงปั จจุบันในด้านความ


สัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่ อง ตระหนักถึง
ความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑ . อ ธิ บ า ย ส ภ า พ  ใช้แผนที่แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของประเทศเพื่อนบ้าน
สังคม เศรษฐกิจและ  พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของประเทศเพื่ อนบ้านโดย
ก า ร เ มื อ ง ข อ ง สังเขป เพื่อให้เข้าใจสภาพปั จจุบันของประเทศเหล่านั้น
ประเทศเพื่อนบ้านใน  สภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศเพื่อนบ้าน
ปั จจุบัน ของไทยในปั จจุบัน โดยสังเขป
 ตัวอย่างความเหมือนและความแตกต่าง ระหว่างไทยกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ภาษา ศาสนา การปกครอง
๒. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น  ความเป็ นมาของกลุ่มอาเซียน โดยสังเขป
ในอดีต ที่มีผลกระ  สมาชิกของอาเซียนในปั จจุบัน
ท บ ต่ อ ต น เ อ ง ใ น  ความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียน ทางเศรษฐกิจและสังคมใน
ปั จจุบัน ปั จจุบัน โดยสังเขป

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มี
ความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็ นไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑. อธิบายพัฒนาการของไทยสมัย  การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดย
รัตนโกสินทร์ สังเขป
โดยสังเขป
๒. อธิบายปั จจัยที่ส่งเสริมความเจริญ  ปั จจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทาง
รุ่งเรืองทาง เศรษฐกิจและการปกครองของไทยใน
เศรษฐกิจและการปกครองของไทย สมัยรัตนโกสินทร์
สมัย รัตนโกสินทร์  พัฒนาการด้านต่างๆของไทยสมัย
รัตนโกสินทร์ โดยสังเขป ตามช่วง
86

เวลาต่างๆ เช่น สมัยรัตนโกสินทร์ตอน


ต้น สมัยปฏิรู ปประเทศ และสมัย
ประชาธิปไตย
๓. ยกตัวอย่างผลงานของบุคคล  ผลงานของบุคคลสำคัญทางด้านต่างๆ
สำคัญด้านต่างๆ ในสมัยรัตนโกสินทร์ เช่น
สมัยรัตนโกสินทร์ - พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า
จุฬาโลก
มหาราช
- สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุร
สิงหนาท
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว
๔. อธิบายภูมิปั ญญาไทยที่สำคัญ สมัย  ภูมิปั ญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ เช่น
รัตนโกสินทร์ที่น่าภาคภูมิใจและควรค่า ศิลปกรรม วรรณกรรม
แก่การอนุรักษ์ไว้

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพ
สิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันใน
ระบบ ของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์
สรุป และใช้ข้อมูลภูมิ
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑. ใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ (แผนที่  เ ค รื่ อ ง มื อ ท า ง ภู มิ ศ า ส ต ร์ (แ ผ น ที่
ภาพถ่ายชนิดต่างๆ) ระบุลักษณะสำคัญ ภาพถ่ายชนิดต่างๆ)ที่แสดงลักษณะ
ทางกายภาพและสังคมของประเทศ ทางกายภาพของประเทศ
๒ . อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง  ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง
ลักษณะทาง ก า ย ภ า พ กั บ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ท า ง
87

ก า ย ภ า พ กั บ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ท า ง ธรรมชาติของประเทศ เช่น อุทกภัย


ธรรมชาติของ ประเทศ แผ่นดินไหว วาตภัย
 ภู มิ ลั ก ษ ณ์ ที่ มี ต่ อ ภู มิ สั ง ค ม ข อ ง
ประเทศไทย

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้
เกิดการสร้างสรรค์ทาง
วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ง
แวดล้อม เพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
๑. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง  สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ กั บ สิ่ ง
แวดล้อมทาง แวดล้อมทางสังคมในประเทศ
ธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคม  ความสัมพันธ์และผลกระทบ
ในประเทศ
๒. อธิบายการเปลี่ยนแปลงสภาพทาง  ผลที่เกิดจากการปรับเปลี่ยนหรือ
ธรรมชาติใน ดัดแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศ
ประเทศไทย จากอดีตถึงปั จจุบัน จากอดีตถึงปั จจุบัน และผลที่เกิดขึ้น (
และผลที่เกิดขึ้น จากการเปลี่ยนแปลง ประชากร เศรษฐกิจ สังคม อาชีพ
นั้น และวัฒนธรรม)
๓. จัดทำแผนการใช้ทรัพยากรในชุมชน  แนวทางการใช้ทรัพยากรของคนใน
ชุมชนให้ใช้ได้นานขึ้น โดยมีจิตสำนึก
รู้คุณค่าของทรัพยากร
 แผนอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชนหรือ
แผนอนุรักษ์
88
89

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไร อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
ได้) งาน)
๑. บอกพุทธประวัติหรือ -พุทธประวัติหรือประวัติ -บอกประวัติ -ศรัทธา -ดูชิ้นงานวาดภาพ -อธิบาย
ประวัติของศาสดาที่ตน ของศาสดาที่ตน นับถือ -ใบงาน -กระบวนการ
นับถือ โดยสังเขป โดยสังเขป กลุ่ม
๒.ชื่นชมและบอกแบบอย่าง -การดำเนินชีวิตและข้อคิด -แบบอย่าง -ชื่นชมแบบ -โครงงาน -ดูวีซีดีพุทธ
การดำเนินชีวิตและข้อคิด จากประวัติสาวก การดำเนิน อย่าง -ชิ้นงาน ศาสนาและ
จากประวัติสาวก ชาดก/เรื่อง ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิ ชีวิต ศาสนิกชน
เล่าและศาสนิกชน ตัวอย่าง กชน ตัวอย่างตามที่ ตัวอย่าง เช่น
ตามที่กำหนด กำหนด พระบาท
สมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว
90

ฯลฯ
๓. บอกความหมายความ -ความหมายความสำคัญ -ปฏิบัติตาม -เคารพพระ -สมุดเล่มเล็ก -สืบค้นข้อมูล
สำคัญ และเคารพ พระ และเคารพพระรัตนตรัย หลักธรรม รัตนตรัย
รัตนตรัย ปฏิบัติตามหลัก ปฏิบัติตามหลักธรรม
ธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธ โอวาท ๓ในพระพุทธ
ศาสนาหรือหลักธรรมของ ศาสนา หรือหลักธรรม
ศาสนาที่ ตนนับถือ ตามที่ ของศาสนาที่ตนนับถือ
กำหนด ตามที่กำหนด
๔. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ -การสวดมนต์แผ่เมตตา มี -สวดมนต์ -เห็นคุณค่า - -ฟั งเพลงและ
แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐาน สติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ แผ่เมตตา ร้องเพลงอย่างมี
ของสมาธิ ในพระพุทธศาสนา หรือ สติ
ในพระพุทธศาสนา หรือ การพัฒนาจิตตาแนวทาง -ฝึ กสติในการฟั ง
การพัฒนาจิตตาแนวทางของ ของศาสนาที่ตนนับถือตาม อ่าน คิดตาม
ศาสนาที่ตนนับถือตามที่ ที่กำหนด เขียน
กำหนด

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
91

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑.บำเพ็ญประโยชน์ต่อวัด -การบำเพ็ญประโยชน์ -บำเพ็ญ - -แบบบันทึก -เล่า
หรือ ต่อวัดหรือศาสสถาน ประโยชน์ต่อวัด ประสบการณ์
ศาสนสถาน ของศาสนาที่ ของศาสนาที่ตนนับถือ -กระบวนการ
ตนนับถือ กลุ่ม

๒. แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ -การแสดงตนเป็ น -แสดงตนเป็ น - -แบบสังเกต -ตัวอย่างฝึ ก


หรือแสดงตนเป็ นศาสนิกช พุทธมามกะ หรือแสดง พุทธมามกะ, ปฏิบัติ
นของศาสนาที่ตนนับถือ ตนเป็ นศาสนิกชนของ ศาสนิกชน
ศาสนาที่ตนนับถือ
๓ .ปฏิบัติตนในศาสนพิธี -ศาสนพิธี พิธีกรรม -ปฏิบัติตน -ปฏิบัติตนได้ถูก -แบบบันทึก -ยกตัวอย่าง
พิธีกรรม และวันสำคัญทาง และวันสำคัญทาง ต้อง -เล่า
ศาสนาตามที่กำหนดได้อย่าง ศาสนาตามที่กำหนดได้ ประสบการณ์
ถูกต้อง อย่างถูกต้อง
92

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกัน
ในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
93

งาน)
๑. บอกประโยชน์และปฏิบัติ -ประโยชน์ของการ -บอก -เป็ นสมาชิกที่ดี -แบบบันทึก -บทบาทสมมุติ
ตนเป็นสมาชิกที่ดีของ ปฏิบัติตนเป็ นสมาชิกที่ดี -ปฏิบัติ -เล่า
ครอบครัวและโรงเรียน ของครอบครัวและ ประสบการณ์
โรงเรียน -เล่านิทาน
๒. ยกตัวอย่างความ -ลักษณะความสามารถ -ยกตัวอย่าง -นักเรียน -แบบบันทึก -เล่าเรื่อง
สามารถและความดีของ และลักษณะความดีของ -บอก ทำความดี -ยกตัวอย่าง
ตนเอง ผู้อื่นและบอกผลจาก ตนเองและผู้อื่น และ
การกระทำนั้น ผลของการกระทำนั้น
94

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. บอกโครงสร้างบทบาทและ -โครงสร้างบทบาทและ -บอก -แผนผังความคิด -ซักถาม
หน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว หน้าที่ของสมาชิกใน -แบบบันทึก -ร่วม
และโรงเรียน ครอบครัวและโรงเรียน อภิปราย
๒. ระบุบทบาท สิทธิ หน้าที่ -บทบาท สิทธิ หน้าที่ -บอก -แบบบันทึกการกระ -ตั้งคำถาม
ของตนเองในครอบครัวและ ตนเองในครอบครัวและ -ระบุ ทำ -นักเรียน
โรงเรียน โรงเรียน บอก
๓. มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ -กิจกรรมตาม -กิจกรรมกลุ่ม -แบบบันทึกการ -บทบาท
และทำกิจกรรมในครอบครัว กระบวนการ -แสดงความคิด ปฏิบัติ กิจกรรม สมมุติ
และโรงเรียนตาม ประชาธิปไตยใน เห็น -เหตุการณ์
95

กระบวนการประชาธิปไตย ครอบครัว จำลอง

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต
อย่างมีดุลยภาพ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
96

K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคนอย่างไร) ทำได้ (วิธีสอน)


P (ทำอะไรได้) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑.ระบุสินค้าและบริการที่ -สินค้าและบริการที่ -ระบุ -เลือกใช้สินค้าและ -แบบบันทึก -สถานการณ์
ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ ใช้ประโยชน์ในชีวิต บริการที่เป็ น จำลอง
วัน ประจำวัน ประโยชน์ -บทบาทสมมุติ
๒. ยกตัวอย่างการใช้จ่าย -การใช้จ่ายเงินในชีวิต -ยกตัวอย่าง -เห็นประโยชน์ของ -แบบบันทึก -บทบาทสมมุติ
เงิน ประจำวัน ที่ไม่เกิน การใช้จ่ายเงิน การออม
ในชีวิตประจำวัน ที่ไม่เกิน ตัวและเห็นประโยชน์
ตัวและเห็นประโยชน์ของ ของการออม
การออม
๓. ยกตัวอย่างการใช้ -การใช้ทรัพยากรใน -ยกตัวอย่าง -แผนผังความคิด -แผนผังความคิด -ตัวอย่าง
ทรัพยากรในชีวิต ประจำวัน ชีวิต ประจำวันอย่าง -สถานการณ์
อย่างประหยัด ประหยัด จำลอง
97

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็ นของการ
ร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. อธิบายเหตุผล -ความจำเป็ นที่ -อธิบาย -สุจริต -แผนที่ความคิด -ยกตัวอย่าง
ความจำเป็ นที่คน คนต้องทำงาน
ต้องทำงานอย่าง อย่างสุจริต
สุจริต
98

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. บอก วัน เดือน ปี -วัน เดือน ปี -บอก -นับช่วงเวลา -แบบบันทึก -อธิบาย
และการนับช่วงเวลา ตาม และการนับช่วง
-ฝึ กปฏิบัติ
ปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำ เวลา ตามปฏิทินที่
วัน ใช้ในชีวิตประจำวัน
๒. เรียงลำดับเหตุการณ์ -เหตุการณ์ในชีวิต -เรียงลำดับ - -แบบฝึ ก -ตัวอย่าง
ในชีวิตประจำวันตามวัน ประจำวันตามวัน
เหตุการณ์ -ฝึ กปฏิบัติ
เวลาที่เกิดขึ้น เวลาที่เกิดขึ้น
๓. บอกประวัติความ -ประวัติความ -บอก - -บันทึกข้อมูล -เล่าเรื่องตนเอง
เป็ นมาของตนเองและ เป็ นมาของตนเอง -สอบถาม -สืบค้นข้อมูล
ครอบครัว โดยสอบถาม และครอบครัว
ผู้เกี่ยวข้อง โดยสอบถามผู้
99

เกี่ยวข้อง
ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. บอกความ -ความ -บอก - -ตารางเปรียบ -อธิบาย
เปลี่ยนแปลงของ เปลี่ยนแปลงของ เทียบ -สำรวจ
สภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อม
สิ่งของเครื่องใช้ สิ่งของเครื่องใช้
หรือการดำเนินชีวิต หรือการดำเนิน
ของตนเองกับสมัย ชีวิตของตนเอง
ของพ่อแม่ ปู่ย่า กับสมัยของพ่อ
ตายาย แม่ ปู่ย่า ตายาย
๒. บอกเหตุการณ์ที่ -เหตุการณ์ที่เกิด -บอก - -ตารางเปรียบ -อธิบาย
100

เกิดขึ้นในอดีตที่มี ขึ้นในอดีตที่มี เทียบ -สำรวจ


ผลกระทบต่อ ผลกระทบต่อ
ตนเองในปั จจุบัน ตนเองในปั จจุบัน

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความ
เป็ นไทย
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
101

K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)


P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. อธิบายความ -ความหมายและ -อธิบาย - -บันทึกข้อมูล -กระบวนการคิด
หมายและความ ความสำคัญของ -ปฏิบัติตน
สำคัญของสัญลักษณ์ สัญลักษณ์สำคัญ
สำคัญของชาติไทย ของชาติไทยและ
และปฏิบัติตนได้ถูก ปฏิบัติตนได้ถูก
ต้อง ต้อง
๒. บอก สถานที่สำคัญ -สถานที่สำคัญซึ่ง -บอก - -บันทึกข้อมูล -สืบค้นข้อมูล
ซึ่งเป็ นแหล่ง เป็ นแหล่ง แหล่งสำรวจ
วัฒนธรรม ใน วัฒนธรรม ในชุมชน
ชุมชน
๓. ระบุสิ่งที่ตนรักและ สิ่งที่ตนรักและภาค -ระบุ - -บันทึกข้อมูล -สืบค้นข้อมูล
ภาคภูมิใจในท้องถิ่น ภูมิใจ
ในท้องถิ่น
102

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบ
ของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทาภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวน ะ (A) ทำได้ (วิธีสอน)
การ (เด็กเป็ น (ชิ้นงาน/ภาระ
P (ทำ คน งาน)
อะไรได้) อย่างไร)
103

๑. แยกแยะสิ่งต่าง ๆ รอบตัว สิ่งต่างๆรอบตัว ที่เกิด -แยกแยะ - -ตารางเปรียบ -การอธิบาย


ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและ ขึ้นเองตามธรรมชาติ เทียบ
ที่มนุษย์สร้างขึ้น และที่มนุษย์สร้างขึ้น -รายงาน
เอง
๒. ระบุความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของ -ระบุ - -วาดภาพ -การสืบค้น
ตำแหน่ง ระยะ ทิศของสิ่ง ตำแหน่ง ระยะ ทิศ
ต่างๆ รอบตัว ของสิ่งต่างๆรอบตัว
๓. ระบุทิศหลักและที่ตั้งของ ทิศหลัก (เหนือ -ระบุ - -หนังสือเล่มเล็ก -การสำรวจ
สิ่งต่าง ๆ ตะวันออก ใต้ ตะวัน
ตก) และที่ตั้งของสิ่ง
ต่างรอบตัว
๔.ใช้แผนผังง่าย ๆ ในการ แผนผังแสดงตำแหน่ง -ใช้ - -แผนผังห้องเรียน -กระบวนการคิด
แสดงตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ สิ่งต่างๆในห้องเรียน แผนผัง
ในห้องเรียน
๕. สังเกตและบอกการ
เปลี่ยนแปลงของสภาอากาศใน การเลี่ยนแปลงของ -สังเกต - -บันทึกข้อมูล -กระบวนการ
รอบวัน สภาพอากาศในรอบ -บอก -โครงงาน กลุ่ม
วัน
104

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๑ รหัสวิชา ส ๑๑๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มี
จิตสำนึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. บอกสิ่งต่างๆที่ -สิ่งต่างๆที่เกิดตาม -บอก - -รายงาน -การอธิบาย
เกิดตามธรรมชาติที่ ธรรมชาติที่ส่งผล -โครงงาน -กระบวนการกลุ่ม
ส่งผลต่อความเป็น ต่อความเป็นอยู่
อยู่ของมนุษย์ ของมนุษย์
๒. สังเกตและ การเปลี่ยนของ -สังเกต - -ตารางเปรียบ -กระบวนการคิด
105

เปรียบเทียบการ สภาพ แวดล้อมที่ -เปรียบเทียบ เทียบ


เปลี่ยนแปลงของ อยู่รอบตัว
สภาพแวดล้อมที่อยู่
รอบตัว
๓. มีส่วนร่วมใน สิ่งต่างๆที่เกิดตาม -มีส่วนร่วม -จัดระเบียบสิ่ง -ทำความสะอาด -การปฏิบัติจริง
สิ่งต่างๆที่เกิดตาม ธรรมชาติที่ส่งผล แวดล้อม
ธรรมชาติที่ส่งผล ต่อความเป็นอยู่
ต่อความเป็นอยู่ ของมนุษย์
ของมนุษย์

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
106

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติ ตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ รู้ได้อย่างไรว่า สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (A) เด็กทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไร (เด็กเป็ นคน (ชิ้นงาน/ภาระ
ได้) อย่างไร) งาน)
๑.บอกความสำคัญของ -ความสำคัญของ -บ อ ก ค ว า ม -รักและ -ดูจากใบงาน -สนทนา/ซัก
พระพุทธศาสนาหรือ พระพุทธศาสนาหรือ สำคัญ ศรัทธา -รายงาน ถาม
ศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนาที่ตนนับถือ -อธิบาย
๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ -พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ -ส รุ ป พุ ท ธ -ปฏิบัติตน -สังเกตการศึกษา -ใช้บทเรียน
ประสูติจนถึงการออก จนถึงการออกผนวช หรือ ประวัติ หาความรู้ สำเร็จรูป
ผนวช หรือประวัติศาสดา ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ -ศึกษาหาความรู้
ที่ตนนับถือตามที่กำหนด ตามที่กำหนด จาก แหล่ง
เรียนรู้พุทธ
มณฑล
๓. ชื่นชมและบอกแบบ -แบบอย่างการดำเนินชีวิต -บ อ ก แ บ บ -ชื่นชมแบบ -ดูชิ้นงาน -ซักถาม
อย่างการดำเนินชีวิตและ และข้อคิดจากประวัติสาวก อย่างข้อคิด อย่าง -แผนผังความคิด -แบ่งกลุ่ม
ข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิ
107

ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิ กชนตัวอย่างตามที่กำหนด


กชนตัวอย่างตามที่กำหนด
๔. บอกความหมาย ความ -ความหมาย ความสำคัญ -เ ห็ น ค ว า ม -เคารพและ -สมุดเล่มเล็ก -แบ่งกลุ่ม
สำคัญและเคารพพระ และเคารพพระรัตนตรัย สำคัญ ปฏิบัติตาม -สมุดบันทึก -รายงาน
รัตนตรัย ปฏิบัติตามหลัก ปฏิบัติตามหลักธรรม ความดี
ธรรม โอวาท ๓ใน โอวาท ๓ ในพระพุทธ
พระพุทธศาสนาหรือหลัก ศาสนาหรือหลักธรรมของ
ธรรมของศาสนาที่ตน ศาสนาที่ตนนับถือตามที่
นับถือ ตามที่กำหนด กำหนด
๕. ชื่นชมการทำความดี -การทำความดีของตนเอง -ตั ว อ ย่ า ง -ชื่นชมการ -ติดตามผลการ -ศึกษาของ
ของตนเอง บุคคล ใน บุคคล ในครอบครัวและ ก า ร ก ร ะ ทำความดี ทำความดีจากผู้ บุคคลจริง
ครอบครัวและในโรงเรียน ในโรงเรียนตามหลักศาสนา ทำความดี -ตระหนักใน ปกครองและ -รายงานการ
ตามหลักศาสนา การทำความดี สมุดบันทึก ทำความดี
๖. เห็นคุณค่าและสวด -การสวดมนต์ แผ่เมตตามี -สวดมนต์ -เห็นคุณค่า -ดูการปฏิบัติ -สาธิต
มนต์ แผ่เมตตามีสติที่เป็ น สติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ -แผ่เมตตา การน้อมนำจิต -สังเกต -ฝึ กปฏิบัติ
พื้นฐานของสมาธิใน ในพระพุทธศาสนาหรือการ พฤติกรรมว่าดี -ศึกษาตัวอย่าง
พระพุทธศาสนาหรือการ พัฒนาจิตตามแนวทางของ ขึ้นหรือไม่ คนมีสมาธิ
พัฒนาจิตตามแนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือตามที่
ศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กำหนด
108

กำหนด
๗. บอกชื่อศาสนา -ชื่อศาสนา ศาสดา ที่ตน -บอก -ชื่นชม,ศรัทธา -แผนผังความคิด -อภิปราย
ศาสดาและความสำคัญ นับถือ -อธิบาย -ใบงานวาดภาพ -รายงาน
ของคัมภีร์ของศาสนาที่ตน
นับถือและศาสนาอื่นๆ

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. ปฏิบัติตน -สาวกของศาสนา -ปฏิบัติตน -ปฏิบัติอย่าง -สังเกตพฤติกรรม -สนทนา/ซักถาม
อย่างเหมาะสมต่อ ที่ตน นับถือตาม เหมาะสม
สาวกของศาสนา ที่กำหนดได้ถูก
109

ที่ตน นับถือตาม ต้อง


ที่กำหนดได้ถูก
ต้อง

๒. ปฏิบัติตนใน -ในศาสนพิธี -ปฏิบัติตน -เข้าร่วมในศาสน -แผนผังความคิด -สนทนา/ซักถาม


ศาสนพิธีพิธีกรรม พิธีกรรมและวัน พิธีและพิธีกรรม
และ วันสำคัญ สำคัญทางศาสนา ทางศาสนาได้
ทางศาสนาตามที่ ตามที่กำหนดได้
กำหนดได้ถูกต้อง ถูกต้อง

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (A) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไร (เด็กเป็ นคน (ชิ้นงาน/ภาระ
ได้) อย่างไร) งาน)
110

๑. ปฏิบัติตนตามข้อ -ข้อตกลง กติกา กฎ -ปฏิบัติ - -แบบบันทึกการ -อธิบาย


ตกลง กติกากฎระเบียบ ระเบียบ หน้าที่ที่ต้อง สังเกต
และ หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ปฏิบัติในครอบครัว -รายงาน
ในชีวิต ประจำวัน โรงเรียน สถานที่
สาธารณะ
๒.ปฏิบัติตนตาม -กิริยามารยาทไทย -ปฏิบัติ - -แบบบันทึกการ -สาธิต
มารยาทไทย เกี่ยวกับความเคารพ สังเกต -อธิบาย
การยืน การเดิน การ -รายงาน -บทบาทสมมุติ
นั่ง การพูด การ -แผ่นพับ
ทักทาย การแต่งกาย
๓. แสดงพฤติกรรมในการ -การยอมรับความแตก -แสดง - -รายงาน -อธิบาย
ยอมรับความคิด ความ ต่างของคนในสังคม พฤติกรรม -แบบบันทึกการ -อภิปราย
เชื่อและการปฏิบัติของ เรื่องความคิด ความ สังเกต -สถานการณ์
บุคคลอื่น ที่แตกต่าง เชื่อ ความสามารถ จำลอง
กัน โดยปราศจากอคติ และการปฏิบัติตนของ
บุคคลอื่นที่แตกต่างกัน
๔. เคารพในสิทธิ ของ -สิทธิและเสรีภาพของ -เคารพ - -แบบบันทึกการ -อธิบาย
ตนเองและผู้อื่น ตนเองและผู้อื่น สังเกต -อภิปราย
-รายงาน -สถานการณ์
111

-แผ่นพับ จำลอง
-แผนผังความคิด

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. อธิบายความ -ความสัมพันธ์ของ -อธิบาย - -รายงาน -อธิบาย
สัมพันธ์ของ ตนเองและสมาชิก -แผนผังความคิด -อภิปราย
ตนเอง และ ในครอบครัวกับ
สมาชิกใน ชุมชน
ครอบครัว ใน
112

ฐานะเป็ นส่วนหนึ่ง
ของชุมชน

๒. ระบุผู้มี -ผู้มีบทบาท -ระบุ - -รายงาน -อธิบาย


บทบาท อำนาจ อำนาจในการ -แผ่นพับ -อภิปราย
ในการตัดสินใจใน ตัดสินใจใน -แผนผังความคิด
โรงเรียนและ โรงเรียนและ
ชุมชน ชุมชน

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
113

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑


สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต
อย่างมีดุลยภาพ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. ระบุทรัพยากร -ทรัพยากรที่นำมา -ระบุ - -รายงาน -สนทนา/ซักถาม
ที่นำมาผลิตสินค้า ผลิตสินค้าและ
และบริการที่ใช้ใน บริการที่ใช้ในชีวิต
ชีวิตประจำวัน ประจำวัน
๒.บอกที่มาของ -รายได้และราย -บอก - -รายงาน -แบ่งกลุ่ม
รายได้และราย จ่ายของตนเอง
จ่ายของตนเอง และครอบครัว
และครอบครัว
๓. บันทึกรายรับราย -รายรับรายจ่ายของ -บันทึก - -บันทึกรายรับ- -อธิบาย
จ่ายของตนเอง ตนเอง รายจ่าย
114

๔. สรุปผลดีของการ -ผลดีของการใช้จ่าย -สรุป - -แบบสรุป -สนทนา/ซักถาม


ใช้จ่าย ที่เหมาะสมกับรายได้
ที่เหมาะสมกับรายได้ และ การออม
และ การออม

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็ นของการ
ร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
115

งาน)
๑.อธิบายการแลก -การแลกเปลี่ยน -อธิบาย - -ดุชิ้นงาน -อภิปราย
เปลี่ยนสินค้าและ สินค้าและ
บริการโดยวิธีต่าง ๆ บริการโดยวิธี
ต่าง ๆ
๒. บอกความสัมพันธ์ -ความสัมพันธ์ -บอก - -สอบถาม สนทนา/ซักถาม
ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย ระหว่างผู้ซื้อกับ
ผู้ขาย

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. ใช้คำระบุเวลาที่ -เวลาที่แสดง -ระบุ - -แบบบันทึก -อธิบาย
116

แสดงเหตุการณ์ ใน เหตุการณ์
อดีต ปั จจุบัน และ ในอดีต ปั จจุบัน
อนาคต และอนาคต
๒. ลำดับเหตุการณ์ที่ -เหตุการณ์ที่เกิด -ลำดับ - -รายงาน -สนทนา/ซักถาม
เกิดขึ้นในครอบครัว ขึ้นในครอบครัว
เหตุการณ์
หรือ หรือในชีวิต ของ
ในชีวิตของตนเอง โดย ตนเอง โดยใช้หลัก
ใช้หลักฐาน ฐาน
ที่เกี่ยวข้อง ที่เกี่ยวข้อง
ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไร อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
ได้) งาน)
๑.สืบค้นถึงการ -การเปลี่ยนแปลงใน -สืบค้น - -บันทึกข้อมูล -ศึกษาค้นคว้า
เปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต วิถีชีวิต ประจำวัน
ประจำวันของคนใน ของคนในชุมชนของ
117

ชุมชนของตนจากอดีต ตนจากอดีตถึง
ถึงปั จจุบัน ปั จจุบัน
๒. อธิบายผลกระทบ -ผลกระทบของการ -อธิบาย - -ซักถาม -อธิบาย
ของการเปลี่ยนแปลงที่ เปลี่ยนแปลงที่มีต่อ
มีต่อวิถีชีวิตของคนใน วิถีชีวิตของคนใน
ชุมชน ชุมชน

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความ
เป็ นไทย
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณ รู้ได้อย่างไรว่า สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนกา ะ (A) เด็กทำได้ (วิธีสอน)
ร (เด็กเป็ น (ชิ้นงาน/
P (ทำอะไร คน ภาระงาน)
ได้) อย่างไร)
๑. ระบุบุคคลที่ทำประโยชน์ -บุคคลที่ทำประโยชน์ต่อท้อง -ระบุ - -แผนผังความ -สนทนา/ซักถาม
ต่อท้องถิ่น หรือประเทศชาติ ถิ่น หรือประเทศชาติ คิด
118

๒. ยกตัวอย่างวัฒนธรรม -วัฒนธรรมประเพณีและ -ยกตัวอย่าง - -แผนผังความ -รายงาน


ประเพณีและ ภูมิปั ญญาไทยที่ ภูมิปั ญญาไทย คิด
ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ ที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้
ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบ
ของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทาภูมิศาสต์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ความรู้ K (รู้อะไร) ทักษะ คุณลักษณะ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
กระบวนการ (A) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน (ชิ้นงาน/ภาระ
อย่างไร) งาน)
๑. ระบุสิ่งต่าง ๆ ที่เป็ น สิ่งต่างๆที่เป็ นธรรมชาติ -ระบุ - -บันทึกข้อมูล -อธิบาย
ธรรมชาติกับที่มนุษย์ กับที่มนุษย์สร้างขึ้นซึ่ง -กระบวนการ
สร้างขึ้นซึ่งปรากฏระหว่าง ปรากฏระหว่างโรงเรียน กลุ่ม
โรงเรียนกับบ้าน กับบ้าน
๒. ระบุตำแหน่งอย่างง่าย ตำแหน่งอย่างง่ายและ -ระบุ - -ลูกโลกจำลอง -ศึกษาค้นคว้า
และลักษณะทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพของ -เขียนแผนผัง -การสืบค้น
119

ของ สิ่งต่าง ๆ ที่ สิ่งต่างๆที่ปรากฏใน -เขียนแผนที่ -กระบวนการคิด


ปรากฏในลูกโลก แผนที่ ลูกโลก แผนที่ แผนผัง -สมุดรวบรวม
แผนผังและ ภาพถ่าย และภาพถ่าย ภาพถ่าย

๓. อธิบายความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ของ -อธิบาย - -วาดภาพ -วิเคราะห์


ของ ปรากฏการณ์ระหว่าง ปรากฏการณ์ระหว่างโลก -สรุป
โลก ดวงอาทิตย์ และดวง
ดวงอาทิตย์และ ดวง จันทร์
จันทร์

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๒ รหัสวิชา ส ๑๒๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
120

มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มี


จิตสำนึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (A) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไร (เด็กเป็ นคน (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
ได้) อย่างไร)
๑. อธิบายความ สำคัญและ -คุณค่าของสิ่งแวดล้อม -อธิบาย -เห็นคุณค่า -แผนผังความคิด -อธิบาย
คุณค่าของสิ่งแวดล้อมทาง ทางธรรมชาติคุณค่าและ -ศึกษาค้นคว้า
ธรรมชาติและทางสังคม ทางสังคม -อ่าน
๒. แยกแยะและใช้ทรัพยากร -ใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ -แยกแยะ -ใช้ทรัพยากร -ตารางเปรียบเทียบ -อธิบาย
ธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดไป ที่ใช้แล้วไม่หมดไปและที่ อย่างเห็น -ศึกษาค้นคว้า
และที่ใช้แล้วหมดไปได้อย่าง ใช้แล้วหมดไปได้อย่างคุ้ม คุณค่า -ปฏิบัติจริง
คุ้มค่า ค่า
๓. อธิบายความสัมพันธ์ของ -ความสัมพันธ์ของฤดูกาล -อธิบาย - -หนังสือเล่มเล็ก -อธิบาย
ฤดูกาลกับการดำเนินชีวิต กับการดำเนินชีวิตของ -ศึกษาค้นคว้า
ของมนุษย์ มนุษย์
๔. มีส่วนร่วมในการฟื้ นฟู -การฟื้ นฟูปรับปรุงสิ่ง -มีส่วนร่วม -หนังสือเล่ม -สังเกตพฤติกรรม -ปฏิบัติจริง
ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมใน แวดล้อมในโรงเรียนและ เล็ก
โรงเรียนและชุมชน ชุมชน
121

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนกา (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
ร อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
P (ทำอะไร
ได้)
๑. อธิบายความสำคัญของ -ความสำคัญของ -อธิบาย - -แผนผังความคิด -อภิปราย
122

พระพุทธศาสนา หรือศาสนา พระพุทธศาสนา -ใบงาน -สรุป


ที่ตน นับถือในฐานะที่เป็ น หรือศาสนาที่ตน -ใบงานวาดภาพ -รายงาน
รากฐานสำคัญของวัฒนธรรม นับถือในฐานะที่
ไทย เป็ นรากฐานสำคัญ
ของวัฒนธรรมไทย
๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่การ -พุทธประวัติตั้งแต่ -สรุปพุทธ - -ใบงาน -ค้นคว้า
บำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน การบำเพ็ญเพียร ประวัติ -สาธิต
หรือประวัติของศาสดาที่ตน จนถึงปรินิพพาน
นับถือตามที่กำหนด หรือประวัติของ
ศาสดาที่ตนนับถือ
ตามที่กำหนด
๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่าง -แบบอย่างการ -บอก -ชื่นชม -แผนผังความคิด -กระบวนการกลุ่ม
การดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก ดำเนินชีวิตและ -อภิปราย
ประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า ข้อคิดจากประวัติ -รายงาน
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่ สาวก ชาดก
กำหนด เรื่องเล่าและศาสนิ
กชนตัวอย่างตามที่
กำหนด
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
123

K (รู้อะไร) กระบวนกา (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)


ร อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
P (ทำอะไร
ได้)
๔.บอกความหมาย ความ -ความหมาย -บอก - -แผนผังความคิด -อภิปราย
สำคัญของพระไตรปิ ฎกหรือ ความสำคัญของ -ใบงาน -สรุป
คัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ พระไตรปิ ฎก -รายงาน
หรือคัมภีร์ของ
ศาสนาที่ตนนับถือ
๕. แสดงความเคารพ -หลักธรรมโอวาท -แสดงความ - -รายงาน -การบวนการกลุ่ม
พระรัตนตรัย และปฏิบัติตาม ๓ ในพระพุทธ เคารพ -แผนผังความคิด -สาธิต
หลักธรรมโอวาท ๓ ใน ศาสนาหรือหลัก -ปฏิบัติตาม -ปฏิบัติจริง
พระพุทธศาสนาหรือหลัก ธรรมของศาสนาที่ หลักธรรม
ธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ตนนับถือตาม
ตามที่กำหนด ที่กำหนด
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ -สวดมนต์ แผ่ -สวดมนต์ -เห็นคุณค่า -รายงาน -ปฏิบัติจริง
แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐาน เมตตา มีสติที่เป็ น -แผ่เมตตา -ใบงาน -การบวนการกลุ่ม
ของสมาธิในพระพุทธ- พื้นฐานของสมาธิ
ศาสนาหรือการพัฒนาจิตตาม ในพระพุทธศาสนา
124

แนวทางของศาสนาที่ตน หรือการพัฒนาจิต
นับถือตามที่กำหนด ตามแนวทางของ
ศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กำหนด
๗. บอกชื่อ ความสำคัญ และ -ชื่อ ความสำคัญ -ปฏิบัติตน - -รายงาน -ปฏิบัติจริง
ปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม และปฏิบัติตนได้ -ใบงาน -การบวนการกลุ่ม
ต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถาน อย่างเหมาะสม
และศาสนบุคคลของศาสนา ต่อศาสนวัตถุ
อื่นๆ ศาสนสถาน และ
ศาสนบุคคลของ
ศาสนาอื่นๆ

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือ
125

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. ปฏิบัติตน อย่างเหมาะสม -การปฏิบัติตนอย่าง -ปฏิบัติตน - -แผนผังความคิด -อธิบาย
ต่อสาวก ศาสนสถาน ศาสน เหมาะสมต่อสาวก ศาสน -รายงาน
วัตถุของศาสนาที่ตนนับถือตาม สถาน
ที่กำหนดได้ถูกต้อง ศาสนวัตถุ ของศาสนาที่
ตนนับถือตามที่กำหนดได้
ถูกต้อง
๒. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนใน -การปฏิบัติตนในศาสนพิธี -ปฏิบัติตนใน -เห็นคุณค่าใน -รายงาน -สถานการณ์
ศาสนพิธี พิธีกรรม และวัน พิธีกรรม และวันสำคัญ ศาสนพิธี ศาสนพิธี -การปฏิบัติจริง จำลอง
สำคัญทางศาสนาตามที่กำหนด ทางศาสนาตามที่กำหนด -บทบาทสมมุติ
ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
๓. แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ -เป็ นพุทธมามกะ หรือ -แสดงตนเป็ น - -ใบงาน -ฝึ กปฏิบัติ
หรือแสดงตนเป็ นศาสนิกชนข แสดงตนเป็ นศาสนิกชนข พุทธมามกะ -แผนผังความคิด -บทบาทสมมุติ
องศาสนาที่ตนนับถือ องศาสนาที่ตนนับถือ
126

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันใน
สังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอน
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ อย่างไร
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ (วิธีสอน)
งาน)
๑. สรุปประโยชน์และ -ประโยชน์และปฏิบัติตนตาม -สรุปประโยชน์ - -รายงาน -อธิบาย
127

ปฏิบัติตนตามประเพณีและ ประเพณีและวัฒนธรรมใน -ปฏิบัติตน -บทบาท


วัฒนธรรมในครอบครัวและ ครอบครัวและท้องถิ่น สมมุติ
ท้องถิ่น
๒. บอกพฤติกรรมการ -พฤติกรรมการดำเนินชีวิต -บอก - -แบบบันทึก -อธิบาย
ดำเนินชีวิตของตนเองและผู้ ของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ใน -แผนผังความคิด -บทบาท
อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรม กระแสวัฒนธรรม ที่หลาก สมมุติ
ที่หลากหลาย หลาย

๓. อธิบายความ สำคัญของวัน -ความ สำคัญของวันหยุด -อธิบาย - -แบบบันทึก -อธิบาย


หยุด ราชการที่สำคัญ ราชการที่สำคัญ -เล่าเรื่อง
-ยก
ตัวอย่าง
-ตั้งคำถาม
๔. ยกตัวอย่างบุคคลซึ่งมี -บุคคลซึ่งมี ผลงานที่เป็ น -ยกตัวอย่าง - -รายงาน -อภิปราย
ผลงานที่เป็ นประโยชน์แก่ ประโยชน์แก่ชุมชนและ ท้อง -อธิบาย
ชุมชนและ ท้องถิ่นของตน ถิ่นของตน -สาธิต
128

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑.ระบุบทบาทและหน้าที่ -บทบาทและหน้าที่ -ระบุ - -แบบบันทึก -บทบาท
ของสมาชิก ชุมชนในการมีส่วน ของสมาชิก ชุมชนในการมี
-แผนผังความคิด สมมุติ
ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ตาม ส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
กระบวนการประชาธิปไตย ตามกระบวนการ -เล่าเรื่อง
ประชาธิปไตย -ตั้งคำถาม

๒.วิเคราะห์ความแตกต่าง -ความแตกต่างของ -วิเคราะห์ - -แบบบันทึกการ -บทบาท


ของกระบวนการ การตัดสิน กระบวนการ การตัดสิน
สังเกต สมมุติ
ใจในชั้นเรียน/โรงเรียน ใจในชั้นเรียน/โรงเรียน
และชุมชน โดยวิธี การ และชุมชน โดยวิธี การ -อธิบาย
129

ออกเสียงโดยตรงและการ ออกเสียงโดยตรงและ -ตั้งคำถาม


เลือกตัวแทนออกเสียง การเลือกตัวแทนออก
เสียง

๓. ยกตัวอย่างการ -การเปลี่ยนแปลงในชั้น -ยกตัวอย่าง - -รายงาน -อธิบาย


เปลี่ยนแปลง เรียน โรงเรียนและ -แผ่นผังความคิด -อภิปราย
ในชั้นเรียน โรงเรียนและ ชุมชน ที่เป็ นผลจาก -รายงาน
ชุมชน ที่เป็ นผลจากการ การตัดสินใจของบุคคล
ตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม และกลุ่ม

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
130

มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่


จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต
อย่างมีดุลยภาพ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. จำแนกความ -ความต้องการและ -จำแนก - -แผนผังความคิด -กระบวนการ
ต้องการและความ ความจำเป็ นในการใช้ กลุ่ม
จำเป็ นในการใช้สินค้า สินค้าและบริการใน -ศึกษาค้นคว้า
และบริการในการ การดำรงชีวิต
ดำรงชีวิต
๒. วิเคราะห์การใช้ -การใช้จ่ายของ -วิเคราะห์ - -บัญชีรับ-จ่าย -วิเคราะห์
จ่ายของตนเอง ตนเอง -อภิปราย

๓. อธิบายได้ว่า -ทรัพยากรที่มีอยู่ -วิเคราะห์ - -รายงาน กระบวนการกลุ่ม


ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด จำกัดมีผลต่อการ -ศึกษาค้นคว้า
มีผลต่อการผลิตและ ผลิตและบริโภค
บริโภคสินค้าและ สินค้าและบริการ
131

บริการ

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็ นของการ
ร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนกา (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
ร อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
132

P (ทำอะไร
ได้)
๑. บอกสินค้าและบริการ -สินค้าและบริการที่รัฐ -บอก - -แบบสำรวจ -สำรวจ
ที่รัฐจัดหาและให้บริการ จัดหาและให้บริการแก่ -ระดมความคิด
แก่ประชาชน ประชาชน
๒. บอกความ สำคัญของ -ความ สำคัญของภาษี -อธิบาย - -รายงาน -กระบวนการ
ภาษีและบทบาทของ และบทบาทของ กลุ่ม
ประชาชนในการเสียภาษี ประชาชนในการเสีย -บทบาทสมมุติ
ภาษี
๓. อธิบายเหตุผลการ -เหตุผลการแข่งขัน -อธิบาย - -แผนผังความคิด -ศึกษาค้นคว้า
แข่งขันทางการค้าที่มีผล ทางการค้าที่มีผลทำให้
ทำให้ราคาสินค้าลดลง ราคาสินค้าลดลง

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
133

K (รู้อะไร) กระบวนกา (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)


ร อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
P (ทำอะไร
ได้)
๑. เทียบศักราชที่สำคัญ -ศักราชที่สำคัญตาม -เปรียบ - -รายงาน -ศึกษาค้นคว้า
ตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิต ปฏิทินที่ใช้ในชีวิต
เทียบ -วิเคราะห์
ประจำวัน ประจำวัน
๒. แสดงลำดับเหตุการณ์ -เหตุการณ์สำคัญของ -แสดง - -รายงาน -สำรวจ
สำคัญของโรงเรียนและ โรงเรียนและชุมชน
-แผนผังความคิด -กระบวนการกลุ่ม
ชุมชนโดยระบุหลักฐาน โดยระบุหลักฐานแล
แลแหล่งข้อมูลที่ แหล่งข้อมูลที่
เกี่ยวข้อง เกี่ยวข้อง
ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. ระบุปั จจัยที่มี -ปั จจัยที่มีอิทธิพล -ระบุ - -แผนความคิด -ระดมความคิด
134

อิทธิพลต่อการตั้ง ต่อการตั้งถิ่นฐาน -รายงานผล


ถิ่นฐานและพัฒนาการ และพัฒนาการ
ของชุมชน ของชุมชน
๒. สรุปลักษณะที่ -ลักษณะที่สำคัญ -สรุป - -รายงานผล -กระบวนกลุ่ม
สำคัญของ ขนม ของ ขนม
ธรรมเนียม ประเพณี ธรรมเนียม
และวัฒนธรรมของ ประเพณี และ
ชุมชน วัฒนธรรมของ
ชุมชน
๓. เปรียบเทียบความ -ความเหมือนและ -เปรียบเทียบ - -ตารางวิเคราะห์ -วิเคราะห์
เหมือนและความต่าง ความต่างทาง -อภิปราย
ทางวัฒนธรรมของ วัฒนธรรมของ
ชุมชนตนเองกับ ชุม ชุมชนตนเองกับชุม
ชนอื่นๆ ชนอื่นๆ
135

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความ
เป็ นไทย

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. ระบุพระนามและ -พระนามและ -ระบุ - -รายงาน -กระบวนการกลุ่ม
พระราชกรณียกิจโดย พระราชกรณียกิจโดย -อภิปราย
สังเขปของพระมหา สังเขปของพระมหา -รายงาน
กษัตริย์ไทยที่เป็ นผู้ กษัตริย์ไทยที่เป็ นผู้
สถาปนา อาณาจักรไทย สถาปนา อาณาจักร
136

ไทย

๒. อธิบายพระราช -พระราชประวัติและ -อธิบาย - -ใบงาน -กระบวนการกลุ่ม


ประวัติและพระราช พระราช -กรณียกิจ
-กรณียกิจของพระมหา ของพระมหากษัตริย์
กษัตริย์ ในรัชกาล ในรัชกาลปั จจุบันโดย
ปั จจุบันโดยสังเขป สังเขป

๓. เล่าวีรกรรมของ -วีรกรรมของ -เล่า - -รายงาน -รายงาน


บรรพบุรุษไทยที่มีส่วน บรรพบุรุษไทยที่มี -กระบวนการกลุ่ม
ปกป้ องประเทศชาติ ส่วนปกป้ องประเทศ
ชาติ
137

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบ
ของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. ใช้แผนที่ แผนผัง -แผนที่ แผนผังและ -ใช้แผนที่ แผนผัง - -เขียนแผนที่ -การสำรวจ
และภาพถ่ายในการหา ภาพถ่ายในการหา -เขียนแผนผัง -การศึกษา
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ -สมุดสะสม ค้นคว้า
ในชุมชนได้อย่าง มี ในชุมชนได้อย่าง มี ภาพถ่าย
ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ

๒. เขียนแผนผังง่าย ๆ -ตำแหน่งที่ตั้งของ -เขียนแผนผัง - -เขียนแผนผัง -การสำรวจ


เพื่อแสดง สถานที่สำคัญใน -วาดภาพ -การศึกษานอก
138

ตำแหน่งที่ตั้งของ บริเวณโรงเรียนและ สถานที่


สถานที่สำคัญใน ชุมชน
บริเวณโรงเรียนและ
ชุมชน
๓. บอกความสัมพันธ์ -ความสัมพันธ์ของ -บอก - -ตารางความ -การะบวนการคิด
ของลักษณะทาง ลักษณะทางกายภาพ สัมพันธ์ -การะบวนการก
กายภาพกับลักษณะ กับลักษณะทางสังคม ลุ่ม
ทางสังคมของชุมชน ของชุมชน

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๓ รหัสวิชา ส ๑๓๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
139

มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มี


จิตสำนึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. เปรียบเทียบการ -การเปลี่ยนแปลง -เปรียบเทียบ - -เขียนตาราง -การอธิบาย
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมใน สภาพแวดล้อมใน เปรียบเทียบ -การศึกษา
ชุมชนจากอดีตถึงปั จจุบัน ชุมชนจากอดีตถึง ค้นคว้า
ปั จจุบัน
๒. อธิบายการพึ่งพาสิ่ง -การพึ่งพาสิ่ง -อธิบาย - -รายงาน -กระอธิบาย
แวดล้อม แวดล้อม -การศึกษา
และทรัพยากรธรรมชาติ ในการ และ ค้นคว้า
สนองความ ต้องการพื้นฐานของ ทรัพยากรธรรมชาติ
มนุษย์ ในการ สนองความ
และการประกอบอาชีพ ต้องการพื้นฐานของ
มนุษย์
และการประกอบอาชีพ
๓. อธิบายเกี่ยวกับมลพิษและ -มลพิษและการก่อ -อธิบาย - -โครงงาน -กระบวนการคิด
140

การก่อ ให้เกิดมลพิษโดยมนุษย์ ให้เกิดมลพิษโดย -กระบวนการ


มนุษย์ กลุ่ม
๔. อธิบายความแตกต่างของ -ความแตกต่างของ -อธิบาย - -แผนผังความคิด -การสำรวจ
เมืองและชนบท เมืองและชนบท
๕. ตระหนักถึงการเปลี่ยน -การเปลี่ยน แปลง ตระหนัก ตระหนัก -ปฏิบัติจริง การปฏิบัติจริง
แปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน ของสิ่งแวดล้อมใน
ชุมชน

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


141

K (รู้อะไร) กระบวนการ (A) ทำได้ (วิธีสอน)


P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน (ชิ้นงาน/ภาระ
อย่างไร) งาน)
๑. อธิบายความสำคัญ -ความสำคัญของ -อธิบาย - -รายงาน -อธิบาย
ของพระพุทธ- ศาสนา หรือ พระพุทธ ศาสนาหรือ -แผนผังความคิด -ซักถาม
ศาสนาที่ตนนับถือในฐานะเป็ น ศาสนา ที่ตนนับถือใน -ศึกษาแหล่ง
ศูนย์รวมจิตใจ ฐานะเป็ นศูนย์รวมจิตใจ เรียนรู้(วัด)
ของศาสนิกชน ของ พุทธศาสนิกชน

๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุ -พุทธประวัติ -สรุปความ - -รายงาน -อธิบาย


ธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือ -ตรัสรู้ -แผนผังความคิด -ศึกษาค้นคว้า
ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่ -ประกาศธรรม -แผ่นพับ ด้วยตนเอง
กำหนด -ประวัติศาสดาที่ตน -ป้ ายนิเทศ
นับถือ
๓. เห็นคุณค่าและประพฤติตน -พุทธสาวก -ปฏิบัติตน -เห็นคุณค่า -รายงาน -สังเกต
ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต -พุทธสาวิกา -แผนผังความคิด -อธิบาย
และข้อคิดจากประวัติสาวก -ศาสนิกชนตัวอย่าง - -อภิปราย
ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชน -กรณีตัวอย่าง
ตัวอย่างตามที่กำหนด
142

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (A) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน (ชิ้นงาน/ภาระ
อย่างไร) งาน)
๔. แสดงความเคารพ -ความเคารพ -แสดงความ - -แบบบันทึก -อธิบาย
พระรัตนตรัย ปฏิบัติตาม พระรัตนตรัย ปฏิบัติ เคารพปฏิบัติ -การปฏิบัติ -อภิปราย
ไตรสิกขาและหลักธรรม โอวาท ตามไตรสิกขาและหลัก ตามตน -สาธิต
๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลัก ธรรม โอวาท ๓ ใน -ปฏิบัติ
ธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตาม พระพุทธศาสนาหรือ
ที่กำหนด หลักธรรมของศาสนาที่
ตนนับถือตามที่กำหนด
๕. ชื่นชมการทำความดีของ -การทำความดีของ -ปฏิบัติตนใน -ชื่นชมการ -รายงาน -อธิบาย
ตนเอง บุคคลในครอบครัว ตนเอง บุคคลใน การดำเนินชีวิต ทำความดีของ -แผนผังความคิด -อภิปราย
โรงเรียนและชุมชนตามหลัก ครอบครัว ตน
ศาสนา พร้อมทั้งบอกแนว โรงเรียนและชุมชนตาม
ปฏิบัติในการดำเนินชีวิต หลักศาสนา พร้อมทั้ง
บอกแนวปฏิบัติในการ
ดำเนินชีวิต
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ -สวดมนต์ -สวดมนต์ไหว้ -เห็นคุณค่า -รายงาน -บทบาทการ
143

แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐาน แผ่เมตตา มีสติที่เป็ น พระ -แบบบันทึกการ สมมุติ


ของสมาธิในพระพุทธศาสนา พื้นฐานของสมาธิใน -ฝึ กกากรยืน สังเกต (สถานการ
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง พระพุทธศาสนาหรือ นั่ง เดินและ จำลอง)
ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ การพัฒนาจิตตาม นอนอย่างมีสติ -ปฏิบัติจริง
กำหนด แนวทาง -ฝึ กกำหนดรู้
ของศาสนาที่ตนนับถือ ความรู้สึก
ตามที่กำหนด -ฝึ กการฟั ง

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (A) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน (ชิ้นงาน/ภาระ
อย่างไร) งาน)
๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ -ตามหลักธรรมของ -ปฏิบัติตน -อยู่รวมกัน -รายงาน -อธิบาย
ศาสนาที่ตน นับถือ เพื่อการ ศาสนาที่ตน นับถือ เป็ นชาติ -สถานการณ์
อยู่ร่วมกัน เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็ น จำลอง
เป็ นชาติได้อย่างสมานฉันท์ ชาติได้อย่างสมานฉันท์ -ปฏิบัติจริง
๘. อธิบายประวัติศาสดาของ -ประวัติศาสดาของ -อธิบาย -รายงาน -อภิปราย
ศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป ศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป -แผนผังความคิด -เล่าเรื่อง
144

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อภิปรายความ -ความสำคัญและ -อภิปราย - -อภิปราย -อภิปราย
สำคัญและ มีส่วนร่วมในการ -การมีส่วนร่วม -โครงงาน -ศึกษาค้นคว้า
มีส่วนร่วมในการบำรุง บำรุงรักษา -รายงาน -ปฏิบัติจริง
รักษา ศาสนสถาน ศาสนสถานของ
ของศาสนาที่ตน ศาสนาที่ตน
นับถือ นับถือ
145

๒. มีมารยาทของ -มารยาทของ -มีมารยาท - -สังเกตพฤติกรรม -ฝึ กมารยาท


ความเป็ น ความเป็ นศาสนิ -ใบงาน -แผนที่ความคิด
ศาสนิกชนที่ดีตามที่ กชนที่ดีตามที่ -ปฏิบัติ
กำหนด กำหนด

๓. ปฏิบัติตนในศาสน -ศาสนพิธี -ปฏิบัติตน - -สังเกตพฤติกรรม -ฝึ กปฏิบัติจริง


พิธี พิธีกรรม และวัน พิธีกรรม และวัน -รายงาน -อภิปราย
สำคัญ ทางศาสนาตาม สำคัญ ทาง
ที่กำหนดได้ถูกต้อง ศาสนาตามที่
กำหนดได้ถูก
ต้อง

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
146

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑


สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคนอย่างไร) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. ปฏิบัติตนเป็ น -พลเมืองดีตามวิถี -ปฏิบัติตน -เป็ นสมาชิกที่ดีของ -รายงาน -อธิบาย
พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย ใน
ชุมชน
ประชาธิปไตย ในฐานะ ฐานะสมาชิกที่ดีของ
สมาชิกที่ดีของชุมชน ชุมชน
๒.ปฏิบัติตนในการ -การเป็ นผู้นำและผู้ -ปฏิบัติตน -เป็ นผู้นำที่ดีของ -รายงาน -สาธิต
เป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี
ตามที่ดี ชุมชน -ปฏิบัติจริง
๓. วิเคราะห์สิทธิพื้น -สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุก -วิเคราะห์ - - -
ฐาน ที่เด็กทุกคนพึงได้
คนพึงได้รับตาม -อภิปราย
รับตามกฎหมาย
กฎหมาย
๔. อธิบายความแตก -ความแตกต่างทาง -อธิบาย - -แผนที่ความคิด -กระบวนการ
ต่างทางวัฒนธรรมของ
วัฒนธรรมของกลุ่ม กลุ่ม
กลุ่มคน
147

ในท้องถิ่น คนในท้องถิ่น
๕. เสนอวิธีการที่จะ -วิธีการที่จะอยู่ร่วม -เสนอ - -แผนที่ความคิด -กระบวนการ
อยู่ร่วมกันอย่าง
กันอย่างสันติสุขใน -รายงาน กลุ่ม
สันติสุขในชีวิตประจำ
วัน ชีวิตประจำวัน

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคนอย่างไร) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อธิบายอำนาจ -อำนาจอธิปไตย -อธิบาย - -แผนที่ความคิด -อธิบาย
อธิปไตยและความ และความสำคัญของ
148

สำคัญของระบอบ การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย

๒. อธิบายบทบาท -บทบาท หน้าที่ -อธิบาย - -แผนที่ความคิด -อธิบาย


หน้าที่ของพลเมืองใน พลเมืองใน -แสดงละคร
กระ บวนการเลือกตั้ง กระบวนการเลือกตั้ง
๓. อธิบายความสำคัญ -ความสำคัญของ -อธิบาย -เห็นความสำคัญ -รายงาน -อธิบาย
ของสถาบัน พระ สถาบันพระมหา ของสถาบันหลัก
มหา กษัตริย์ตามระบอบ กษัติย์ตามระบอบ และสถาบันกษัตริย์
ประชาธิปไตยอันมีพระ ประชาธิปไตยอันมี
มหากษัตริย์ทรงเป็ น พระมหากษัตริย์ทรง
ประมุข เป็ นประมุข
149

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต
อย่างมีดุลยภาพ

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. ระบุปั จจัยที่มีผล -ปั จจัยที่มีผลต่อ -อภิปราย - -ใบงาน -อธิบาย
ต่อการเลือกซื้อสินค้า การเลือกซื้อ
และบริการ สินค้าและ
บริการ
๒. บอกสิทธิพื้นฐาน -สิทธิพื้นฐาน -สรุปความ - -แผนผังความคิด -อภิปราย
และรักษาผล
และรักษาผล -อภิปราย -อธิบาย
ประโยชน์ของตนเอง
ในฐานะผู้บริโภค ประโยชน์ของ
ตนเองในฐานะผู้
บริโภค
150

๓. อธิบายหลักการ -หลักการของ -อธิบาย - -โครงงาน -อธิบาย


ของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอ
และนำไปใช้ในชีวิต เพียงและนำไป
ประจำวันของตนเอง ใช้ในชีวิตประจำ
วันของตนเอง

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์๒. อธิบายหน้าที่เบื้องต้นของเงิน
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็ นของการ
ร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
151

อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อธิบายความ -ความสัมพันธ์ -อธิบาย - -ใบงาน -อธิบาย
สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ทางเศรษฐกิจ -กระบวนการกลุ่ม
ของคนในชุมชน ของคนในชุมชน
-อาชีพ สินค้า
และบริการต่างๆ
ที่ผลิตในชุมชน
๒. อธิบายหน้าที่เบื้อง -หน้าที่เบื้องต้น -อธิบาย - -แผนผังความคิด -อธิบาย
ต้นของเงิน ของเงิน
-การสร้างความ
เข้มแข็งให้ชุมชน
-ความหมายและ
ประเภทของเงิน
152

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. นับช่วงเวลาเป็ น -ช่วงเวลาเป็ น -อธิบาย - -ใบงาน -อธิบาย
ทศวรรษ ศตวรรษ ทศวรรษ
และสหัสวรรษ ศตวรรษ และ
สหัสวรรษ
-การใช้ทศวรรษ
และสหัสวรรษ
เพื่อทำความ
เข้าใจช่วงเวลา
153

๒. อธิบายยุคสมัยใน -ยุคสมัยในการ -อธิบาย - - -วิเคราะห์


การศึกษาประวัติของ
ศึกษาประวัติ
มนุษยชาติโดยสังเขป
ของมนุษยชาติ
โดยสังเขป
๓.แยกแยะประเภท -ประเภทหลัก -อธิบาย - -แผนผังความคิด -สนทนา /ซักถาม
หลักฐานที่ใช้ในการ ฐานที่ใช้ในการ -สังเคราะห์
ศึกษาความเป็ นมาของ ศึกษาความเป็ น
ท้องถิ่น มาของท้องถิ่น

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
154

มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง


ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อธิบายการตั้งหลัก -การตั้งหลักแหล่ง -อธิบาย - - -อธิบาย
แหล่งและพัฒนาการของ และพัฒนาการ
มนุษย์ยุคก่อน ของมนุษย์ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์และยุค ประวัติศาสตร์และ
ประวัติศาสตร์โดยสังเขป ยุคประวัติศาสตร์
โดยสังเขป

๒. ยกตัวอย่างหลัก -หลักฐานทาง -อธิบาย - -ใบงาน -อธิบาย


ฐานทางประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ที่ -อภิปราย
ที่พบในท้องถิ่นที่แสดง พบในท้องถิ่นที่
พัฒนาการของ แสดงพัฒนาการ
มนุษยชาติ ของมนุษยชาติ
155

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความ
เป็ นไทย

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อธิบายพัฒนาการ -พัฒนาการของ -อธิบาย - -ใบงาน -อธิบาย
ของอาณาจักรสุโขทัย อาณาจักร
โดยสังเขป สุโขทัยโดย
156

สังเขป
-การสถาปนา
อาณาจักร
สุโขทัย
๒. บอกประวัติและ -ประวัติและผล -สนทนา -ภูมิใจในความเป็ น - -กระบวนการกลุ่ม
ผลงานของบุคคล งานของบุคคล -อธิบาย ชาติ
สำคัญสมัยสุโขทัย สำคัญสมัย
สุโขทัย
๓. อธิบายภูมิปั ญญา -ภูมิปั ญญาไทย -อธิบาย -เห็นคุณค่า -รายงาน -กระบวนการกลุ่ม
ไทย ที่สำคัญสมัย -ผังความคิด -สังเคราะห์
ที่สำคัญสมัยสุโขทัย ที่ สุโขทัย ที่น่าภาค
น่าภาคภูมิใจและควร ภูมิใจและควรค่า
ค่าแก่การอนุรักษ์ แก่การอนุรักษ์
157

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบ
ของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. ใช้แผนที่ ภาพถ่าย -แผนที่ ภาพถ่าย -ใช้แผนที่ -เห็นคุณค่าของ -ภาพวาดแผนที่ -กระบวนการกลุ่ม
ระบุลักษณะสำคัญ ลักษณะทางกายภาพ แผนที่ -การระดมสมอง
ทางกายภาพของจังหวัด ของจังหวัดตนเอง -สรุป/อภิปราย
ตนเอง
๒. ระบุแหล่งทรัพยากร -ตำแหน่ง ระยะทาง -ระบุ -เห็นคุณค่าของ -แผนที่แสดงแหล่ง
และ สิ่งต่างๆ ใน และทิศของทรัพยากร ทรัพยากรใน ทรัพยากรในจังหวัด
จังหวัดของตนเองด้วย และสิ่งต่างๆในจังหวัด ท้องถิ่นของตน
แผนที่ ของตน

๓.ใช้แผนที่ อธิบาความ -แผนที่แสดงความ -ใช้แผนที่ -เห็นคุณค่าของ -แผนที่แสดงความ -กระบวนการกลุ่ม


158

สัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่มี สัมพันธ์ของสิ่งต่างๆที่ แผนที่ สัมพันธ์ของสิ่ง -กระบวนการความ


อยู่ในจังหวัด มีอยู่ในจังหวัด ต่างๆที่อยู่ในจังหวัด คิด
-สภาพทางกายภาพ
(ภูมิลักษณ์และภูมิ
อากาศที่มีผลต่อสภาพ
สังคมของ
จังหวัด

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๔ รหัสวิชา ส ๑๔๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มี
จิตสำนึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่า สอนอย่างไร


159

K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน เด็กทำได้ (วิธีสอน)


P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑ อธิบายสภาพ แวดล้อม -สภาพแวดล้อมทาง -อธิบาย -เห็นคุณค่าของ -แผนผังความ -ศึกษาคันคว้า
ทางกายภาพของชุมชนที่ กายภาพของชุมชนที่ส่ง สิ่งแวดล้อมใน คิด -สรุป/อภิปราย
ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ผลต่อการดำเนินขชีวิต ชุมชน
ของคนในจังหวัด ของคนในจังหวัด เช่น
ลักษณะบ้าน อาหาร
๒ อธิบายการ -การเปลี่ยนแปลงของ -อธิบาย -เห็นคุณค่าของ -แผนผังความ -ศึกษาค้นคว้า
เปลี่ยนแปลงสภาพ สภาพแวดล้อมในจังหวัด สิ่งแวดล้อมใน คิด -สรุปอภิปราย
แวดล้อมในจังหวัดและผล และผลที่เกิดจากการ ท้องถิ่นของตน
ที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลง เช่น การ
เปลี่ยนแปลงนั้น ตั้งถิ่นฐาน การย้ายถิ่น

๓. มีส่วนร่วมในการ -มีส่วนร่วม -เห็นคุณค่าของ -โครงงาน -แบ่งกลุ่ม


อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใน สิ่งแวดล้อมและ -ผลงานนักเรียน -ปฏิบัติกิจกรรม
จังหวัด ทรัพยากรธรรมช อนุรักษ์ได้แก่จัดเป็ น
าติในท้องถิ่นของ นิทรรศการ จัด
ตน กิจกรรมรณรงค์
160

อนุรักษ์

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. วิเคราะห์ความสำคัญ -ความสำคัญของพระพุทธ -วิเคราะห์ - -รายงาน -ศึกษาค้นคว้า
ของพระพุทธศาสนา หรือ
ศาสนาหรือศาสนาที่ตน -แผนผังความคิด -อภิปราย
ศาสนาที่ตนนับถือใน
ฐานะที่เป็ นมรดกทาง นับถือในฐานะที่เป็ นมรดก -ใบงาน -โครงงาน
161

วัฒนธรรมและหลักในการ ทางวัฒนธรรมและหลักใน -งานกลุ่ม


พัฒนาชาติไทย
การพัฒนาชาติไทย
๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ -พุทธประวัติตั้งแต่เสด็จ -สรุป -ภูมิใจ -ใบงาน -ศึกษาค้นคว้า
เสด็จกรุงกบิลพัสดุ์ จนถึง
กรุงกบิลพัสดุ์จนถึงพุทธ -สมุดเล่มเล็ก -ปฏิบัติจริง
พุทธกิจสำคัญหรือประวัติ
ศาสดา กิจสำคัญหรือประวัติ
ที่ตนนับถือตามที่กำหนด ศาสดาที่ตนนับถือตามที่
กำหนด
๓. เห็นคุณค่าและ -แบบอย่างการดำเนินชีวิต -เห็นคุณค่า -ภูมิใจ -รายงาน -โครงงาน
ประพฤติตนตามแบบ และข้อคิดจากประวัติ -ประพฤติตน -ใบงาน -งานกลุ่ม
อย่างการดำเนินชีวิตและ สาวก ชาดก เรื่องเล่าและ -บทบาทกลุ่ม
ข้อคิดจากประวัติสาวก ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่ สมมุติ
ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิ กำหนด
กชนตัวอย่างตามที่
กำหนด
๔. อธิบายองค์ประกอบ -องค์ประกอบของพระไตร -อธิบาย - -รายงาน -งานกลุ่ม
และความสำคัญของพระ ปิ ฏกหรือความสำคัญของ -แผนผังความคิด -ศึกษาค้นคว้า
ไตรปิ ฏก หรือคัมภีร์ของ พระไครปิ ฏก -ใบงาน ด้วยตนเอง
ศาสนาที่ตนนับถือ ฯลฯ
๕. แสดงความเคารพพระ -พระรัตนตรัยและปฏิบัติ -แสดงความ -อ่อนน้อม -รายงาน -ปฏิบัติจริง
162

รัตนตรัยและปฏิบัติตาม ตาม เคารพพระ -มีสัมมาคาราวะ -ใบงาน


ไตรสิกขาและหลักธรรม ไตรสิกขาและหลักธรรม
โอวาท ๓ ในพระพุทธ โอวาท ๓ ในพระพุทธ รัตนตรัยและ
ศาสนา ศาสนา ปฏิบัติตาม
หรือหลักธรรมของศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนา
ไตรสิกขาและ
ที่ ที่
ตนนับถือตามที่กำหนด ตนนับถือตามที่กำหนด หลักธรรม
โอวาท ๓

๖. เห็นคุณค่าและสวด -สวดมนต์ -เห็นคุณค่าและ -มีสมาธิ -รายงาน -ปฏิบัติจริง


มนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้น สวดมนต์แผ่ -ใบงาน -โครงงาน
แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้น ฐานของสมาธิในพระพุทธ เมตตามีสติที่ -แผนผังความคิด -งานกลุ่ม
ฐานของสมาธิในพระพุทธ ศาสนาหรือการพัฒนาจิต เป็ นพื้นฐานของ
ศาสนาหรือการพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ สมาธิ
ตามแนวทางของศาสนาที่ ตน นับถือตามที่กำหนด
ตน นับถือตามที่กำหนด
๗. ปฏิบัติตนตามหลัก -การปฏิบัติตนตามหลัก -ปฏิบัติตนตาม - -โครงการ -ปฏิบัติจริง
ธรรมของศาสนาที่ตน ธรรมของศาสนาที่ตน หลักธรรมของ -ใบงาน -รายงาน
นับถือเพื่อการพัฒนา นับถือเพื่อการพัฒนา ศาสนาที่ตน -จัดนิทรรศการ
ตนเองและสิ่งแวดล้อม ตนเองและสิ่งแวดล้อม นับถือ
163

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือ

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
164

อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. จัดพิธีกรรมตาม -การจัดพิธีกรรม -อธิบาย -ปฏิบัติตน -สาธิต -อธิบาย
ศาสนาที่ตนนับถือ ตามศาสนาที่ตน -ประเมินการปฏิบัติ -งานกลุ่ม
อย่างเรียบง่าย มี นับถืออย่างเรียบ ตน
ประโยชน์ และปฏิบัติ ง่าย มีประโยชน์
ตนถูกต้อง และปฏิบัติตนถูก
ต้อง
๒. ปฏิบัติตนในศาสน -ในศาสนพิธี -สรุป -ปฏิบัติตน -ปฏิบัติจริง -โครงงาน
พิธี พิธีกรรมและวัน พิธีกรรมและวัน -อภิปราย -บทบาทสมมุติ
สำคัญทางศาสนาตาม สำคัญทางศาสนา อภิปราย
ที่กำหนดและอภิปราย ตามที่กำหนด
ประโยชน์ที่ได้รับจาก และอภิปราย
การ เข้าร่วมกิจกรรม ประโยชน์ที่ได้รับ
จากการ เข้า
ร่วมกิจกรรม
๓. มีมรรยาทของ -มรรยาทของ -อธิบาย -ปฏิบัติตน -สาธิต -ปฏิบัติจริง
ความเป็ น ศาสนิ ความเป็ นศาสนิ -สาธิต
กชนที่ดี ตามที่กำหนด กชนที่ดี ตามที่
กำหนด
165

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. ยกตัวอย่างและ -การปฏิบัติตนตาม -ยกตัวอย่าง -ปฏิบัติตน ตาม -แสดงละคร -อภิปราย
ปฏิบัติตนตาม สถานภาพ บทบาท -ปฏิบัติจริง สถานภาพๆ -แผนที่ความคิด -โครงงาน
สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ และ -ปฏิบัติจริง
สิทธิ เสรีภาพและ หน้าที่ในฐานะ
หน้าที่ในฐานะพลเมือง พลเมืองดี
166

ดี

๒. เสนอวิธีการ -วิธีการปกป้ อง -เสนอ - -แผนที่ความคิด -กระบวนการกลุ่ม


ปกป้ องคุ้มครอง คุ้มครองตนเองหรือ -รายงาน -รายงาน
ตนเองหรือผู้อื่น จาก ผู้อื่นจากากรละเมิด
การละเมิดสิทธิเด็ก สิทธิเด็ก
๓. เห็นคุณค่า -คุณค่าวัฒนธรรม - -เห็นคุณค่า -รายงาน -รายงาน
วัฒนธรรมไทยที่มีผล ไทยที่มีผลต้อการ -แผนที่ความคิด -อภิปราย
ต่อการดำเนินชีวิต ดำเนินชีวิตของ
ในสังคมไทย คนในสังคมไทย
๔. มีส่วนร่วมในการ -การอนุรักษ์และ -มีส่วนร่วม - -รายงาน -ศึกษาค้นคว้า
อนุรักษ์และเผยแพร่ เผยแพร่ภูมิปั ญญา -แผนที่ความคิด -ปฏิบัติจริง
ภูมิปั ญญาท้องถิ่นของ ท้องถิ่นของชุมชน
ชุมชน

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
167

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑


สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคนอย่างไร) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อธิบายโครงสร้าง -โครงสร้าง อำนาจ -อธิบาย -ปฏิบัติตนได้ -รายงาน -อภิปราย
อำนาจ หน้าที่และ หน้าที่และความ -แผนผังความคิด -ศึกษาค้นคว้า
ความสำคัญของการ สำคัญของการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น ปกครองส่วนท้อง
ถิ่น
๒. ระบุบทบาทหน้าที่ -บทบาท หน้าที่ -ระบุ -ปฏิบัติตนได้ -แผนผังความคิด -กระบวนการ
และวิธีการเข้าดำรง และวิธีการเข้าดำรง กลุ่ม
ตำแหน่งของผู้บริหาร ตำแหน่งของผู้
ท้องถิ่น บริหารท้องถิ่น

๓. วิเคราะห์ประโยชน์ -ประโยชน์ที่ชุมชน -วิเคราะห์ -ปฏิบัติตนได้ -รายงาน -กระบวนการ


168

ที่ชุมชนจะได้รับจาก จะได้รับจากองค์กร -แผนที่ความคิด กลุ่ม


องค์กรปกครองส่วน ส่วนท้องถิ่น -วิเคราะห์
ท้องถิ่น

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต
อย่างมีดุลยภาพ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (A) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไร (เด็กเป็ นคน (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
ได้) อย่างไร)
169

๑. อธิบายปั จจัยการผลิต -ปั จจัยการผลิตสินค้า -อธิบาย -ปฏิบัติตน -แผนผังความคิด -ศึกษค้นคว้า


สินค้าและบริการ และบริการ
๒. ประยุกต์ใช้แนวคิดของ -แนวคิดของปรัชญาของ -วิเคราะห์ -ปฏิบัติตน -รายงาน -โครงงาน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เศรษฐกิจพอเพียงใน
-โครงการ -รายงาน
เพียงในการทำกิจกรรม การทำกิจกรรมต่าง ๆ
ต่าง ๆ ในครอบครัว ในครอบครัวโรงเรียน
โรงเรียนและชุมชน และชุมชน
๓. อธิบายหลักการสำคัญ -หลักการสำคัญและ -อธิบาย -ปฏิบัติตนตาม -รายงาน -บทบาทกลุ่มสมมุติ
และประโยชน์ของ ประโยชน์ของสหกรณ์ หลักการสำคัญ
สหกรณ์

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์๒. อธิบายหน้าที่เบื้องต้นของเงิน
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็ นของการ
ร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อธิบายบทบาท -บทบาทหน้าที่ -อธิบาย - -แผนผังความคิด -อธิบาย
หน้าที่เบื้องต้นของ เบื้องต้นของ -สำรวจ
170

ธนาคาร ธนาคาร
๒. จำแนกผลดี ผลเสีย -ผลดี ผลเสียของ -จำแนก - -ตารางวิเคราะห์ -วิเคราะห์
ของการกู้ยืม การกู้ยืม -อภิปราย
ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนก ะ (A) ทำได้ (วิธีสอน)
าร (เด็กเป็ น (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
P (ทำอะไร คน
ได้) อย่างไร)
๑. สืบค้นความเป็ นมาของท้อง -ความเป็ นมาของท้องถิ่น -สืบค้น - -รายงาน -สืบค้นข้อมูล
ถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลาก โดยใช้หลักฐานที่หลาก
หลาย หลาย
๒. รวบรวมข้อมูลจากแหล่ง -ข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อ -รวบรวม - -ใบงานการสำรวจ -สำรวจ
ต่างๆเพื่อตอบคำถามทาง ตอบคำถามทาง ข้อมูล -รายงาน
ประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล ประวัติศาสตร์อย่างมี
เหตุผล
171

๓. อธิบายความแตกต่าง -ความแตกต่างระหว่าง -อธิบาย - -ตารางวิเคราะห์ -อธิบาย


ระหว่างความจริงกับข้อเท็จ
ความจริงกับข้อเท็จจริง -วิเคราะห์
จริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น
เกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่า สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน เด็กทำได้(ชิ้น (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) งาน/ภาระงาน)
๑. อธิบายอิทธิพลของอารยธรรม -อิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย -อธิบาย - -แผนผังความคิด -อธิบาย
อินเดียและจีนที่มีต่อไทย และเอเชีย และจีนที่มีต่อไทย และเอเชีย -กระบวนการกลุ่ม
ตะวันออกเฉียงใต้ โดยสังเขป ตะวันออกเฉียงใต้ โดยสังเขป
๒. อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรม -อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ -อภิปราย - -แผนผังความคิด -อภิปราย
ต่างชาติต่อสังคม ต่อสังคม -วิเคราะห์
ไทยปัจจุบัน โดยสังเขป ไทยปัจจุบัน โดยสังเขป

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
172

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑


สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความ
เป็ นไทย
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. อธิบาย พัฒนา การของ -พัฒนา การของ -อธิบาย - -รายงาน -อธิบาย
อาณาจักรอยุธยาและธนบุรี อาณาจักรอยุธยาและ -กระบวนการ
โดยสังเขป ธนบุรีโดยสังเขป กลุ่ม
๒. อธิบายปั จจัยที่ส่งเสริม -ปั จจัยที่ส่งเสริม -อธิบาย - - -อธิบาย
ความเจริญรุ่งเรืองทาง ความเจริญรุ่งเรือง -กระบวนการ
เศรษฐกิจและการปกครอง ทางเศรษฐกิจและ กลุ่ม
ของอาณาจักรอยุธยา การปกครองของ
อาณาจักรอยุธยา
๓. บอกประวัติและผลงาน -ประวัติและผลงาน -บอก -ภาคภูมิใจ - -ศึกาค้นคว้า
ของบุคคลสำคัญสมัยอยุธยา ของบุคคลสำคัญสมัย -สำรวจ
และธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจ อยุธยาและธนบุรีที่
173

น่าภาคภูมิใจ
๔. อธิบายภูมิปั ญญาไทยที่ -ภูมิปั ญญาไทยที่ --อธิบาย -ภาคภุมิใจ - -กระบวนการ
สำคัญสมัยอยุธยาและธนบุรีที่ สำคัญสมัยอยุธยา กลุ่ม
น่าภาคภูมิใจและ และธนบุรีที่น่าภาค -อภิปราย
ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ ภูมิใจและควรค่าแก่
การอนุรักษ์ไว้

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบ
ของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
174

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. รู้ตำแหน่ง (พิกัด -ตำแหน่ง (พิกัด -รู้ตำแหน่ง - -ใบงาน -แบ่งกลุ่ม
ภูมิศาสตร์ ละติจูด ภูมิศาสตร์ ละติจูด -ศึกษาแผนที่
ลองจิจูด) ระยะ ลองติจูด) ระยะ -สรุป/อภิปราย
ทิศทางของภูมิภาค ทิศทางของภูมิภาค
ของตนเอง ของตนเอง
๒. ระบุลักษณ์ภูมิ -ภูมิลักษณะที่สำคัญใน -ระบุ - -แผนที่ความคิด -สำรวจ/ดูภูมิ
ลักษณะ ที่ ภูมิภาคภาคกลางของ -สังเกต ทัศน์
สำคัญในภูมิภาคของ ตนเอง เช่น แม่น้ำ -ศึกษาค้นคว้า
ตนเองในแผนที่ ภูเขา ป่ าไม้ -สรุปอภิปราย
๓. อธิบายความ -ความสัมพันธ์ของ -อธิบาย - -แผนที่ความคิด -สำรวจ
สัมพันธ์ของลักษณะ ลักษณะทางกายภาพ -ศึกษาค้นคว้า
ทางกายภาพกับ (ภูมิลักษณ์และภูมิ -สรุป
ลักษณะทางสังคมใน อากาศ) และลักษณะ -อภิปราย
ภูมิภาคของตนเอง ทางสังคม (ภูมิสังคม
ในภูมิภาคของตน)
175

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๕ รหัสวิชา ส ๑๕๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มี
จิตสำนึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. วิเคราะห์สภาพ -สภาพแวดล้อมทาง -วิเคราะห์ -รักและหวงแหน -แผนที่ความคิด -สัมภาษณ์บุคคลใน
แวดล้อม ทางกายภาพ กายภาพที่มีอิทธิพล ท้องถิ่นของตน ท้องถิ่น
ที่มีอิทธิพลต่อลักษณะ ต่อลักษณะการตั้ง -ศึกษา/ค้นคว้า
การตั้งถิ่นฐานและการ ถิ่นฐานและการย้าย -สรุป/อภิปราย
ย้ายถิ่นของประชากร ถิ่นของประชาชนใน
ในภูมิภาค ภูมิภาค
176

๒. อธิบายอิทธิพลของ -อิทธิพลของสิ่ง -อธิบาย -รักและหวงแหน -แผนที่ความคิด -ศึกษาค้นคว้า


สิ่งแวดล้อม ทาง แวดล้อมทาง ท้องถิ่นของตน -อภิปราย
ธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิด ธรรมชาติที่ก่อให้ -วิเคราะห์
วิถีชีวิตและการ เกิดวิถีชีวิตในการ
สร้างสรรค์วัฒนธรรมใน สร้างสรรค์
ภูมิภาค วัฒนธรรมใน
ภูมิภาค
๓. นำเสนอตัวอย่างที่ -ผลจากการรักษา -นำเสนอ -รักและหวงแหน -ใบงาน -ดูวิสัยทัศน์สิ่งแวดล้อม
สะท้อนให้เห็นผลจาก และการทำลาย ตัวอย่าง ทรัพยากรธรรมชาติ ผลจากาการระดม ที่ดีและที่ถูกทำลาย
การรักษาและการ สภาพแวดล้อม ในท้องถิ่นของตน สมองหาแนวทาง -สำรวจสภาพแวดล้อม
ทำลายสภาพแวดล้อม -แนวทางการ ป้ องกันและอนุรักษ์ ในชุมชนที่ถูกทำลาย
และเสนอแนวคิดในการ อนุรักษ์และรักษา ท้องถิ่นของตน -ระดมสมองหาแนวทาง
รักษาสภาพ แวดล้อมใน สภาพแวดล้อมใน -รายงาน ป้ องกัน
ภูมิภาค ภูมิภาค -รายงาน

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
177

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. วิเคราะห์ความ -ความสำคัญของ -วิเคราะห์ -. -Mind mapping -อภิปราย
สำคัญของพระพุทธ พระพุทธศาสนาใน -รายงาน -ศึกษาค้นคว้า
ศาสนาในฐานะเป็ น ฐานะเป็ นศาสนา
ศาสนาประจำชาติ ประจำชาติหรือ
หรือความ สำคัญของ ความสำคัญของ
ศาสนาที่ตน นับถือ ศาสนาที่ตนนับถือ
๒. สรุปพุทธประวัติ -พุทธประวัติตั้งแต่ -สรุป - -Mind mapping -ศึกษาค้นคว้า
ตั้งแต่ปลงอายุสังขาร
ปลงอายุสังขาร -ทดสอบ
จนถึงสังเวชนียสถาน
หรือประวัติศาสดาที่ จนถึงสังเวชนีย
ตน นับถือตามที่ สถานหรือประวัติ
กำหนด
ศาสดาที่ตนนับถือ
๓. เห็นคุณค่าและ -แบบอย่างการ -ปฏิบัติตนตามแบบ -เห็นคุณค่า -รายงานสรุป -กรณีศึกษา
178

ประพฤติ ดำเนินชิวิตและ อย่าง -จัดป้ ายนิเทศ -ศึกษาค้นคว้า


ตนตาม แบบอย่าง ข้อคิดจากประวัติ -โครงงาน
การดำเนินชีวิต และ สาวก ชาดก เรื่อง
ข้อคิดจากประวัติสาวก เล่า
ชาดก เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่าง
ศาสนิกชน ตัวอย่าง ที่กำหนด
ตามที่กำหนด
๔. วิเคราะห์ความ -ความสำคัญและ -วิเคราะห์ - -แผนผังความคิด -ศึกษาค้นคว้า
สำคัญ และเคารพ เคารพพระรัตนตรัย -ปฏิบัติตน -รายงานการ -อภิปราย
พระรัตนตรัย ปฏิบัติ ปฏิบัติตามไตรสิกขา ค้นคว้า -กระบวนการ
ตาม ไตรสิกขาและ และหลักธรรม กลุ่ม
หลักธรรมโอวาท ๓ โอวาท ๓ใน -สาธิต
ในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา
หรือหลักธรรมของ หรือหลักธรรมของ
ศาสนาที่ตนนับถือตาม ศาสนาที่ตนนับถือ
ที่กำหนด ตามที่กำหนด
๕. ชื่นชมการทำความ -การทำความดีตาม -ปฏิบัติตน -ชื่นชม -กรณีตัวอย่าง
ดีของบุคคลใน หลักศาสนาพร้อม สืบค้น
ประเทศตามหลัก ทั้งบอกแนวปฏิบัติ -ปฏิบัติจริง
179

ศาสนาพร้อมทั้งบอก ในการดำเนินชีวิต
แนวปฏิบัติในการ
ดำเนินชีวิต
๖. เห็นคุณค่า และ -การสวดมนต์ไหว้ -บริหารจิต -เห็นคุณค่า -สังเกตพฤติกรรม -ฝึ กปฏิบัติสวด
สวดมนต์ แผ่เมตตา พระ การแผ่เมตตา -ปฏิบัติจริง -แบบบันทึก มนต์
และบริหารจิต เจริญ การบริหารจิตเจริญ -สวดมนต์แผ่เมตตา พฤติกรรม แผ่เมตตา
ปั ญญา มีสติที่เป็ นพื้น ปั ญญา
ฐานของสมาธิใน
พระพุทธศาสนาหรือ
การพัฒนาจิตตาม
แนวทางของศาสนาที่
ตนนับถือตามที่
กำหนด

๗. ปฏิบัติตน ตาม -ตามหลักธรรมของ -ปฏิบัติ - -สังเกตพฤติกรรม -สถานการณ์


หลักธรรมของศาสนา ศาสนาที่ตนนับถือ -ใบงานกรณีศึกษา จำลองกรณี
ที่ตนนับถือเพื่อแก้ เพื่อแก้ปั ญหา ตัวอย่าง
ปั ญหาอบายมุขและสิ่ง อบายมุขและสิ่งเสพ
เสพติด ติด
180

๘. อธิบายหลักธรรม -หลักธรรมสำคัญ -อภิปราย - -เขียนรายงาน -อธิบาย


สำคัญของศาสนาอื่นๆ ของศาสนาอื่นๆโดย -แผนผังความคิด -อภิปราย
โดยสังเขป สังเขป -โครงงาน

๙.อธิบายลักษณะ -ลักษณะสำคัญของ -อธิบาย -ปฏิบัติตนเหมาะ -สังเกตพฤติกรรม -สถานการณ์


สำคัญของศาสนพิธี ศาสนพิธี พิธีกรรม สม -ใบงานฝึ ก จำลอง
พิธีกรรม ของ ของศาสนาอื่นๆ กระบวน -กระบวนการคิด
ศาสนาอื่นๆ และ และปฏิบัติตนได้ การคิด
ปฏิบัติตนได้อย่าง อย่างเหมาะสมเมื่อ
เหมาะสมเมื่อต้องเข้า ต้องเข้าร่วมพิธี
ร่วมพิธี

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือ
181

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (A) ทำได้ (วิธีสอน)
(เด็กเป็ นคน (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
อย่างไร)
๑. อธิบายความรู้เกี่ยวกับ -ความรู้เกี่ยวกับสถาน -อธิบาย - -รายงานการศึกษา -ศึกษาค้นคว้า
สถานที่ต่าง ๆในศาสน ที่ต่าง ๆในศาสนสถาน ค้นคว้า -ปฏิบัติจริง
สถานและปฏิบัติตนได้ และปฏิบัติตนได้อย่าง -แผนที่ความคิด
อย่างเหมาะสม เหมาะสม
๒. มีมรรยาทของความ -มรรยาทของความ - - -รายงาน -ฝึ กปฏิบัติ
เป็ นศาสนิกชนที่ดีตามที่ เป็ นศาสนิกชนที่ดีตาม -สังเกตพฤติกรรม -อภิปราย
กำหนด ที่กำหนด
๓. อธิบาย ประโยชน์ของ -ประโยชน์ของการเข้า -อธิบาย -เข้าร่วมศาสน -รายงาน -บทบาทสมมุติ
การเข้าร่วมในศาสนพิธี ร่วมในศาสนพิธี -ปฏิบัติตน พิธี -แผนผังความคิด -อภิปราย
พิธีกรรมและกิจกรรมใน พิธีกรรมและกิจกรรม
วันสำคัญทางศาสนาตาม ในวันสำคัญทาง
ที่กำหนดและปฏิบัติตนได้ ศาสนาตามที่กำหนด
ถูกต้อง และปฏิบัติตนได้ถูก
ต้อง
182

๔. แสดงตนเป็ น -การแสดงตนเป็ น -แสดงตนเป็ น - -สังเกตพฤติกรรม -อธิบาย


พุทธมามกะ หรือแสดงตน พุทธมามกะ หรือแสดง พุทธมามกะ -ใบงาน -ฝึ กปฏิบัติ
เป็ นศาสนิกชนของศาสนา ตนเป็ นศาสนิกชน
ที่ตนนับถือ

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระ
งาน)
๑. ปฏิบัติตามกฎหมาย ที่ -กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ -ปฏิบัติ -ปฏิบัติตาม -แสดงละคร -ศึกษาค้นคว้า
183

เกี่ยวข้อง กับชีวิตประจำวัน ชีวิตประจำวันของ กฎหมาย -แผนที่ความคิด


ของครอบครัว และชุมชน ครอบครัวและชุมชน
๒. วิเคราะห์การ -การเปลี่ยนแปลง -วิเคราะห์ -แผนที่ความคิด -อภิปราย
เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตาม วัฒนธรรมตามกาลเวลา
กาลเวลาและธำรงรักษา และธำรงรักษา
วัฒนธรรมอันดีงาม วัฒนธรรมอันดีงาม
๓. แสดงออกถึงมารยาท -มารยาทไทยตาม -แสดงออก -มีมารยาทเหมาะ -แสดงละคร -บทบาทสมมุติ
ไทยได้เหมาะสมกับ กาลเทศะ สมตามกาลเทศะ
กาลเทศะ
๔. อธิบายคุณค่าทาง -คุณค่าทางวัฒนธรรมที่ -อธิบาย -รายงาน -รายงาน
วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน แตกต่างกันระหว่างกลุ่ม -ศึกษาค้นคว้า
ระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย คนในสังคมไทย
๕. ติดตามข้อมูลข่าวสาร -ข้อมูล ข่าวสาร -ติดตาม -เป็ นคนติดตาม -แผนที่ความคิด -ศึกษาค้นคว้า
เหตุการณ์ต่าง ๆ ในชีวิต เหตุการณ์ต่างๆในชีวิต -เลือกรับ ข้อมูลข่าวสาร -ป้ ายนิเทศข่าว -วิเคราะห์
ประจำวัน เลือกรับและใช้ ประจำวัน การเลือกรับ -ใช้ และเลือกรับใช้
ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ และใช้ข้อมูลข่าวสารใน ข้อมูล ข่าวสาร
ได้เหมาะสม การเรียนรู้อย่างเหมาะ อย่างเหมาะสม
สม
184

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคนอย่างไร) ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. เปรียบเทียบ -บทบาทหน้าที่ของ -เปรียบเทียบ - -แผนความคิด -กระบวนการ
บทบาท หน้าที่ ของ
องค์กรปรกครอง กลุ่ม
องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นและรัฐบาล ส่วนท้องถิ่นและ -ศึกษาค้นคว้า
รัฐบาล
๒. มีส่วนร่วมใน -กิจกรรมต่างๆที่ส่ง -มีส่วนร่วม - -แสดงบทบาท -แสดงบทบาท
กิจกรรมต่างๆ
เสริมประชาธิปไตย สมมุติ สมมุติ
ที่ส่งเสริม
ประชาธิปไตย ในท้อง ในท้องถิ่นและ
185

ถิ่นและประเทศ ประเทศ

๓. อภิปรายบทบาท -บทบาทความ -อภิปราย - -แผนที่ความคิด -อภิปราย


ความสำคัญ ในการ
สำคัญในการใช้สิทธิ์ -รายงาน
ใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง
ตามระบอบ ออกเสียงเลือกตั้ง
ประชาธิปไตย ตามระบอบ
ประชาธิปไตย

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต
อย่างมีดุลยภาพ
186

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) P (ทำอะไรได้) (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อธิบายบทบาทของ -บทบาทของผู้ -อธิบาย - -ใบงาน -ราบงาน
ผู้ผลิตที่มีความรับผิด ผลิตที่มีความรับ
ชอบ ผิดชอบ
๒. อธิบายบทบาทของ -บทบาทของผู้ -อธิบาย - -รายงาน -กระบวนการกลุ่ม
ผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน บริโภคที่รู้เท่าทัน
๓. บอกวิธีและ -วิธีและ -อธิบาย - -แผนผังความคิด -กระบวนการกลุ่ม
ประโยชน์ของการใช้ ประโยชน์ของ -อภิปราย
ทรัพยากรอย่างยั่งยืน การใช้ทรัพยากร
อย่างยั่งยืน
ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็ นของการ
ร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
187

P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)


๑. อธิบายความ -ความสัมพันธ์ -อธิบาย - -รายงาน -กระบวนการกลุ่ม
สัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ระหว่างผู้ผลิต ผู้ -ศึกษาค้นคว้า
ผู้บริโภค ธนาคารและ บริโภค ธนาคาร
รัฐบาล และรัฐบาล

๒. ยกตัวอย่างการรวม -การรวมกลุ่มทาง -อธิบาย - -ใบงาน -อภิปราย


กลุ่มทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจภายใน -รายงาน
ภายในท้องถิ่น ท้องถิ่น
ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อธิบายความสำคัญ -ความสำคัญของวิธี -อธิบาย - -แผนผังความคิด -ศึกษาค้นคว้า
ของวิธีการทาง การทาง
-กระบวนการกลุ่ม
ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์
188

ในการศึกษาเรื่องราว ในการศึกษาเรื่อง
ทางประวัติศาสตร์ ราวทาง
อย่างง่าย ๆ ประวัติศาสตร์อย่าง
ง่าย ๆ

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไร อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
ได้)
๑. อธิบายสภาพ -สภาพสังคม -อธิบาย - -ตารางวิเคราะห์ -อภิปราย
สังคม เศรษฐกิจและ เศรษฐกิจและการเมือง -ศึกษาค้นคว้า
การเมืองของประเทศ ของประเทศเพื่อนบ้าน
เพื่อนบ้านในปั จจุบัน ในปั จจุบัน
189

๒. บอกความสัมพันธ์ -ความสัมพันธ์ของกลุ่ม -อธิบาย - -แผนผังความคิด -กระบวนการกลุ่ม


ของกลุ่มอาเซียนโดย อาเซียนโดยสังเขป -รายงาน
สังเขป
ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปั ญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความ
เป็ นไทย
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. อธิบาย พัฒนา -อธิบาย พัฒนา -อธิบาย - -รายงาน -อภิปราย
การของไทยสมัย การของไทยสมัย -รายงาน
รัตนโกสินทร์ โดย รัตนโกสินทร์ โดย
สังเขป สังเขป
๒. อธิบายปั จจัยที่ส่ง -ปั จจัยที่ส่งเสริม -อธิบาย - -แผนผังความคิด -ระดมความคิด
เสริมความเจริญ ความเจริญรุ่งเรือง -กระบวนการกลุ่ม
รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ ทางเศรษฐกิจ
และการปกครองของ และการปกครอง
190

ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ของไทยสมัย
รัตนโกสินทร์

๓. ยกตัวอย่างผลงาน -ผลงานของบุคคล -ยกตัวอย่าง - -ใบงาน -ศึกาค้นคว้า


ของบุคคลสำคัญด้าน สำคัญด้านต่าง ๆ -ระดมความคิด
ต่าง ๆ สมัย สมัยรัตนโกสินทร์
รัตนโกสินทร์
๔. อธิบายภูมิปั ญญา -ภูมิปั ญญาไทยที่ -อธิบาย -ภูมิใจ -แผนผังความคิด -อภิปราย
ไทยที่สำคัญสมัย สำคัญสมัย -วิเคราะห์
รัตนโกสินทร์ที่น่าภาค รัตนโกสินทร์ที่น่า
ภูมิใจและควรค่าแก่ ภาคภูมิใจและควร
การอนุรักษ์ไว้ ค่าแก่การอนุรักษ์ไว้

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
191

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑


สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบ
ของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร


K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)
P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. ใช้เครื่องมือทาง -เครื่องมือทาง -ใช้เครื่องมือ - -แบบฝึ กหัดการ -แบ่งกลุ่ม
ภูมิศาสตร์ (แผนที่ ภูมิศาสตร์ (แผนที่ -ระบุ ปฏิบัติงาน -ศึกษา/ค้นคว้า
ภาพถ่ายชนิดต่าง) ภาพถ่ายชนิดต่างๆ -สังเกต -อภิปราย
ระบุลักษณะสำคัญ ที่แสดงลักษณะทาง
ทางกายภาพและ กายภาพของประเทศ
สังคมของประเทศ
๒. อธิบายความ -ความสัมพันธ์ -อธิบาย - -บันทึกการสรุป -ดูวิสัยทัศน์
สัมพันธ์ระหว่าง ระหว่างลักษณะทาง -ศึกษาค้นคว้า
ลักษณะทางกายภาพ กายภาพกับ -อภิปราย
กับ ปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์ทาง -วิเคราะห์
192

ทางธรรมชาติของ ธรรมชาติของ
ประเทศ ประเทศ เช่น
อุทกภัย แผ่นดินไหว
วาตภัย ภูมิลักษณ์ที่
มีต่อภูมิสังคมของ
ประเทศไทย

ตารางวิเคราะห์เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น ป.๖ รหัสวิชา ส ๑๖๑๐๑
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มี
จิตสำนึกและมีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ (A) รู้ได้อย่างไรว่าเด็ก สอนอย่างไร
193

K (รู้อะไร) กระบวนการ (เด็กเป็ นคน ทำได้ (วิธีสอน)


P (ทำอะไรได้) อย่างไร) (ชิ้นงาน/ภาระงาน)
๑. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ -สิ่งแวดล้อมทาง -วิเคราะห์ -เห็นคุณค่าของสิ่ง -แผนที่ความคิด -กระบวนการ
ระหว่างสิ่ง แวดล้อมทาง ธรรมชาติกับสิ่ง แวดล้อมธรรมชาติ กลุ่ม
ธรรมชาติ กับสิ่งแวดล้อม แวดล้อมทางสังคมใน -ระดมความคิด
ทางสังคมในประเทศ ประเทศ
-ความสัมพันธ์และ
ผลกระทบ
๒. อธิบายการแปลงสภาพ -ผลที่เกิดจากการปรับ -อธิบาย -เห็นคุณค่าของสิ่ง -แบบบันทึกการ -แบ่งกลุ่ม
ธรรมชาติในประเทศไทย เปลี่ยนหรือดัดแปลง แวดล้อมธรรมชาติ สรุปผล -ศึกษาค้นคว้า
จากอดีตถึงปั จจุบันและผล สภาพทางธรรมชาติใน -ดูวิสัยทัศน์
ที่เกิดขึ้นจากการ ประเทศจากอดีตถึง -สำรวจชุมชน
เปลี่ยนแปลงนั้น ปั จจุบันและผลที่เกิด -ระดมสมอง
ขึ้น (ประชากร
เศรษฐกิจ สังคม
อาชีพและวัฒนธรรม
๓. จัดทำแผนการใช้ -แนวทางการใช้ -จัดทำ -เห็นคุณค่าของ -โครงงาน -แบ่งกลุ่ม
ทรัพยากรในชุมชน ทรัพยากรของคนให้ ทรัพยากรธรรมชา -ระดมสมอง
ใช้ได้นานขึ้นโดยมี ติและสิ่งแวดล้อม -รายงาน
194

จิตสำนึกรู้คุณค่าของ
ทรัพยากร
-แผนอนุรักษ์
ทรัพยากรในชุมชน
หรือแผนอนุรักษ์
195

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


รหัสวิชา ส๑๑๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑
จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง จำนวน
๓ หน่วยกิต
..............................................................................................

รู้และเข้าใจพุทธประวัติหรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ แบบอย่างการดำเนินชีวิต
และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด ความ
หมาย ความสำคัญ และการแสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรม
โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การ
สวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิในพุทธศาสนาหรือ การพัฒนาจิตตาม
แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ การบำเพ็ญประโยชน์ต่อวัด หรือศาสนสถานของ
ศาสนาที่ตนนับถือ การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็ นศาสนิกชน ของ
ศาสนาที่ตนนับถือ การปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนาตามที่
กำหนด
รู้และเข้าใจประโยชน์และการปฏิบัติตน เป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียน
ตัวอย่างความสามารถและความดีของตนเอง ผู้อื่น และการบอกผลจากการกระทำนั้น
โครงสร้าง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน บทบาท สิทธิ หน้าที่ของ
ตนเองในครอบครัวและโรงเรียน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมใน
ครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย
รู้และเข้าใจสินค้าและบริการที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน การใช้จ่ายเงินในชีวิต
ประจำวันที่ไม่เกินตัวและเห็นประโยชน์ของการออม การใช้ทรัพยากรในชีวิตประจำวัน
อย่างประหยัด เหตุผลความจำเป็ นที่คนต้องทำงานอย่างสุจริต
รู้และเข้าใจวัน เดือน ปี และการนับช่วงเวลาตามปฏิทิน ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ลำดับเหตุการณ์
ในชีวิตประจำวันตามวันเวลาที่เกิดเหตุการณ์ขึ้น ประวัติความเป็ นมาของตนเอง และ
ครอบครัว ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม สิ่งของ เครื่องใช้ หรือการ
ดำเนินชีวิตของตนเองกับสมัยของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ที่มี
ผลกระทบต่อตนเองในปั จจุบัน ความหมายและความสำคัญของสัญลักษณ์สำคัญของชาติ
ไทยและการปฏิบัติตน สถานที่สำคัญซึ่งเป็ นแหล่งวัฒนธรรมในชุมชน สิ่งที่ตนรักและภาค
ภูมิใจในท้องถิ่น
196

รู้และเข้าใจสิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น


ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ทิศหลักและที่ตั้งของสิ่งต่าง ๆ
แผนผังง่าย ๆ ในการแสดงตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ในห้องเรียน การเปลี่ยนแปลงของ
สภาพอากาศในรอบวัน สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็ นอยู่ของ
มนุษย์ การเปลี่ยน แปลง ของสภาพ แวดล้อมที่อยู่รอบตัว การมีส่วนร่วมในจัดระเบียบสิ่ง
แวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
* ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญทางศาสนาในท้องถิ่น
* การใช้ทรัพยากรของท้องถิ่นในชีวิตประจำวันได้อย่างประหยัด
* โบราณสถาน โบราณวัตถุของท้องถิ่น
โดยใช้กระบวนการอธิบาย การบรรยาย การอภิปราย การสอบถาม การ
สัมภาษณ์ การสาธิต การสืบค้น การแสดงบทบาทสมมุติ การใช้สถานการณ์จำลอง
กระบวนการกลุ่ม การใช้แหล่งเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี การบูรณาการ การเรียนรู้โดย
โครงงาน การปฏิบัติจริง การนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยว
กับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติ ศาสตร์ และภูมิศาสตร์
เบื้องต้น ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน เห็นคุณค่าของหลักเศรษฐกิจพอ
เพียง เห็นความสำคัญของเหตุการณ์ในปัจจุบันและอดีต ร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และ
เชื่อมโยงสู่โลกกว้าง

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


รหัสวิชา ส๑๒๑๐๑ ชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ ๒
จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง
จำนวน ๓ หน่วยกิต
..............................................................................................
รู้และเข้าใจความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติ
ตั้งแต่ประสูติ จนถึงการออกผนวช หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด แบบ
197

อย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง


ตามที่กำหนด ความหมาย ความสำคัญ และการเคารพพระรัตนตรัย การปฏิบัติตาม
หลักธรรม โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
กำหนด การทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว และในโรงเรียนตามหลักศาสนา
การสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการ
พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ชื่อศาสนา ศาสดา และ
ความสำคัญของคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนาอื่น ๆ การปฏิบัติตนต่อสาวก
ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญ
ทางศาสนาตามที่กำหนด
รู้และเข้าใจการปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ และหน้าที่ที่
ต้องปฏิบัติในชีวิต ประจำวัน การปฏิบัติตนตามมารยาทไทย การแสดงพฤติกรรมในการ
ยอมรับความคิด ความเชื่อ และการปฏิบัติของบุคคลอื่นที่แตกต่างกันโดยปราศจากอคติ
การเคารพในสิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น ความสัมพันธ์ของตนเอง และสมาชิกใน
ครอบครัวในฐานะเป็ นส่วนหนึ่งของชุมชน ผู้มีบทบาท อำนาจในการตัดสินใจในโรงเรียน
และชุมชน
รู้และเข้าใจทรัพยากรที่นำมาผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ที่มา
ของรายได้ และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว รายรับ – รายจ่ายของตนเอง ผลดีของ
การใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้และการออม การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการโดยวิธีต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย
รู้และข้าใจเวลาที่แสดงเหตุการณ์ในอดีต ปั จจุบันและอนาคต เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ในครอบครัว หรือในชีวิตของตนเองโดยใช้หลักฐานที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต
ประจำวันของคนในชุมชนของตนจากอดีตถึงปั จจุบัน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มี
ต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน บุคคลที่ทำประโยชน์ต่อท้องถิ่นหรือประเทศชาติ ตัวอย่าง
วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปั ญญาไทยที่ภาคภูมิใจ และควรอนุรักษ์ไว้
รู้และเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ที่เป็ นธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่าง
โรงเรียนกับบ้าน ตำแหน่งอย่างง่าย และลักษณะทางกายภาพของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในลูกโลก
แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย ความ สัมพันธ์ของปรากฏการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์
และดวงจันทร์ ความสำคัญ และคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทางสังคม การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดไป และที่ใช้แล้วหมดไป ความ
198

สัมพันธ์ของฤดูกาลกับการดำเนินชีวิตของมนุษย์ การมีส่วนร่วมในการฟื้ นฟู ปรับปรุงสิ่ง


แวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน
* บุคคลสำคัญทางศาสนาของจังหวัด
* ผู้มีบทบาท อำนาจในการตัดสินใจในโรงเรียน
* ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตสินค้าพื้นเมือง อาชีพใน
ชุมชน อาชีพในท้องถิ่น * คุณค่าของวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น งาน
เทศกาลท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการอธิบาย การบรรยาย การอภิปราย การสอบถาม
การสัมภาษณ์ การสาธิต การสืบค้น การแสดงบทบาทสมมุติ การใช้สถานการณ์จำลอง
กระบวนการกลุ่ม การใช้แหล่งเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี การบูรณาการ การเรียนรู้
โดยโครงงาน การปฏิบัติจริง การนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวัติ ศาสตร์ และภูมิศาสตร์เบื้องต้น ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนาที่ตนนับถือ มี
คุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน
เห็นคุณค่าของหลักเศรษฐกิจพอเพียง เห็นความสำคัญของเหตุการณ์ในปัจจุบันและอดีต ร่วม
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และเชื่อมโยงสู่โลกกว้าง

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


รหัสวิชา ส๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓
จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๓
หน่วยกิต
รู้และเข้าใจความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็ น
รากฐานสำคัญของวัฒนธรรมไทย พุทธประวัติตั้งแต่การบำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน
หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด แบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด ความหมาย ความ
สำคัญของพระไตรปิ ฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ การแสดงความเคารพพระ
รัตนตรัย และการปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรม
ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ
199

ในพระพุทธ ศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด


ชื่อ ความสำคัญและการปฏิบัติตนต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถาน ศาสนบุคคล และสาวกของ
ศาสนาอื่น ๆ และศาสนาที่ตนนับถือ การปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวัน
สำคัญทางศาสนาตามที่กำหนด การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็ นศาสนิกช
นของศาสนาที่ตนนับถือ
รู้และเข้าใจประโยชน์และการปฏิบัติตนตามประเพณี และวัฒนธรรมในครอบครัว
และท้องถิ่น พฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่น ที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่
หลากหลาย ความสำคัญของวันหยุดราชการที่สำคัญ ตัวอย่างบุคคลซึ่งมีผลงานที่เป็ น
ประโยชน์แก่ชุมชนและท้องถิ่นของตน บทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชน ในการมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย ความแตกต่างของ
กระบวนการการตัดสินใจในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน โดยวิธีการออกเสียงโดย ตรง
และการเลือกตัวแทนออกเสียง ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียนและ
ชุมชนที่เป็ นผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม
รู้และเข้าใจความต้องการและความจำเป็ นในการใช้สินค้า และบริการในการดำรง
ชีวิต การใช้จ่ายของตนเอง ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดมีผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและ
บริการ สินค้าและบริการที่รัฐจัดหา และให้บริการแก่ประชาชน ความสำคัญของ
ภาษีและบทบาทของประชาชนในการเสียภาษี เหตุผลการแข่งขันทางการค้าที่มีผลทำให้
ราคาสินค้าลดลง
รู้และเข้าใจศักราชที่สำคัญตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เหตุการณ์สำคัญของ
โรงเรียน และชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อ
การตั้งถิ่นฐาน และพัฒนาการของชุมชน ลักษณะที่สำคัญของขนบธรรมเนียมประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชน ความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ
ชุมชนอื่น ๆ พระนาม พระราชกรณียกิจโดยสังเขป ของพระมหา กษัตริย์ไทยที่ทรง
เป็ นผู้สถาปนาอาณาจักรไทย พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจของพระมหา กษัตริย์
ในรัชกาลปั จจุบันโดยสังเขป วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีส่วนปกป้ องประเทศชาติ
รู้และเข้าใจการใช้แผนที่ แผนผัง และภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชน
การเขียนแผนผังง่าย ๆ เพื่อแสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญในบริเวณโรงเรียนและ
ชุมชน ความสัมพันธ์ของลักษณะกายภาพกับลักษณะทางสังคมของชุมชน การ
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึงปั จจุบัน การพึ่งพาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์และการประกอบอาชีพ
มลพิษและการก่อให้เกิดมลพิษโดยมนุษย์ ความแตกต่างของเมืองและชนบท การ
เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน
200

* บุคคลสำคัญทางศาสนา ประเพณี งานเทศกาล ทรัพยากร อาชีพของท้องถิ่น


* บุคคลสำคัญในท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการอธิบาย การบรรยาย การอภิปราย
การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสาธิต การสืบค้น การแสดงบทบาทสมมุติ การใช้
สถานการณ์จำลอง กระบวนการกลุ่ม การใช้แหล่งเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี การบู
รณาการ การเรียนรู้โดยโครงงาน การปฏิบัติจริง การนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อ
ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติ
ศาสตร์ และภูมิศาสตร์เบื้องต้น ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความ
รับผิดชอบ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน และ กิจกรรมต่าง ๆ ตาม
กระบวนการประชาธิปไตย เห็นคุณค่าของหลักเศรษฐกิจพอเพียง เห็นความสำคัญของเหตุการณ์
ในปัจจุบันและอดีต ร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และเชื่อมโยงสู่โลกกว้าง

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


รหัสวิชา ส๑๔๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปี
ที่ ๔
จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง จำนวน -
หน่วยกิต
........................................................................
รู้และเข้าใจความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็ น
ศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน พุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือ
ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต
และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และ ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด
การแสดงความเคารพพระรัตนตรัย การปฏิบัติตามไตรสิกขา และหลักธรรมโอวาท ๓
ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การทำความดี
ของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชนตามหลักศาสนา แนวปฏิบัติในการ
ดำเนินชีวิต การสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็ นชาติได้อย่างสมานฉันท์ ประวัติ
ศาสดาของศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป ความสำคัญและการมีส่วนร่วมในการบำรุงรักษา
ศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ มรรยาทของความเป็ นศาสนิกชนที่ดีตามที่กำหนด
การปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนาตามที่กำหนด
201

รู้และเข้าใจการปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของ
ชุมชน การ ปฏิบัติตนในการเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับตาม
กฎหมาย ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น วิธีการที่จะอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุขในชีวิตประจำวัน อำนาจอธิปไตยและความสำคัญของระบอบ
ประชาธิปไตย บทบาท หน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง ความสำคัญของ
สถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
รู้และเข้าใจปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการสิทธิพื้นฐาน การรักษา
ผลประโยชน์ ของตนเองในฐานะผู้บริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง และการนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน
หน้าที่เบื้องต้นของเงิน
รู้และเข้าใจการนับช่วงเวลาเป็ นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ยุคสมัยในการ
ศึกษาประวัติของมนุษยชาติ ประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็ นมาของท้อง
ถิ่น การตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และยุค
ประวัติศาสตร์โดยสังเขป ตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบในท้องถิ่นที่แสดง
พัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนไทย พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย รวมทั้ง
ประวัติ ผลงานของบุคคลสำคัญ ภูมิปั ญญาไทยที่สำคัญที่น่าภาคภูมิใจและควรค่าแก่การ
อนุรักษ์ไว้

รู้และเข้าใจในการใช้แผนที่ ภาพถ่าย ลักษณะสำคัญทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร


ความสัมพันธ์ ของสิ่งต่าง ๆ ในจังหวัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนที่ส่งผลต่อการ
ดำเนินชีวิต การเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อม และผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
และการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในจังหวัด
* ความสำคัญของงานนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ งานนมัสการหลวงพ่อวัดไร่ขิง
บุคคลสำคัญทางศาสนา
* ความสำคัญของวัฒนธรรมในท้องถิ่น ประเพณีพื้นบ้าน
* การผลิตสินค้าในท้องถิ่น คือ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม สินค้าหนึ่งตำบล
หนึ่งผลิตภัณฑ์
* สภาพภูมิศาสตร์ของท้องถิ่น ที่ตั้ง อาณาเขต ทรัพยากรธรรมชาติ ประชากร
แม่น้ำ ตลาดน้ำ ชมรมเครือข่ายศิลปวัฒนธรรมภูมิปั ญญาท้องถิ่น
202

โดยใช้กระบวนการอธิบาย การบรรยาย การอภิปราย การสอบถาม การ


สัมภาษณ์ การสาธิต การสืบค้น การแสดงบทบาทสมมุติ การใช้สถานการณ์จำลอง
กระบวนการกลุ่ม การใช้แหล่งเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี การบูรณาการ การเรียนรู้
โดยโครงงาน การปฏิบัติจริง การนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในศาสนา การปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถี
ประชาธิปไตย เศรษฐกิจ ของคนในชุมชน พัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนไทย
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในจังหวัด ศรัทธา ยึดมั่นและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมทางศาสนา มี
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม เชื่อมั่น รัก ภูมิใจ และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ประเพณีในท้องถิ่น ตระหนักในสถานภาพ บทบาท สิทธิ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองดี
ของท้องถิ่น จังหวัด และประเทศ เห็นคุณค่าของหลักการเศรษฐกิจพอเพียงและนำไป
ประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำวัน
203

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


รหัสวิชา ส๑๕๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปี
ที่ ๕
จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๓
หน่วยกิต
........................................................................

รู้และเข้าใจความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่


เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม และหลักในการพัฒนาชาติไทย พุทธประวัติตั้งแต่เสด็จกรุง
กบิลพัสดุ์จนถึงพุทธกิจสำคัญหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การประพฤติ
ตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิ
กชนตัวอย่างตามที่กำหนด องค์ประกอบและความสำคัญของพระไตรปิ ฎก หรือคัมภีร์
ของศาสนาที่ตนนับถือ การแสดงความเคารพพระรัตนตรัย การปฏิบัติตามไตรสิกขา
และหลักธรรม โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กำหนด การสวดมนต์ แผ่เมตตา การมีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม การจัดพิธีกรรม
ศาสนพิธี และวันสำคัญทางศาสนาที่ตนนับถืออย่างเรียบง่าย มีประโยชน์ มรรยาทของ
ความเป็ นศาสนิกชนที่ดีตามที่กำหนด
รู้และเข้าใจการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ และหน้าที่
ในฐานะพลเมืองดี วิธีการปกป้ องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็ก คุณค่า
วัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตในสังคมไทย การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และ
เผยแพร่ภูมิปั ญญาท้องถิ่นของชุมชน โครงสร้าง อำนาจ หน้าที่ และความสำคัญของการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น บทบาท หน้าที่และวิธีการเข้าดำรงตำแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น
ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รู้และเข้าใจปั จจัยการผลิตสินค้าและบริการ แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน หลักการสำคัญและ
ประโยชน์ของสหกรณ์ บทบาทหน้าที่เบื้องต้นของธนาคาร ผลดีและผลเสียของการกู้ยืม
204

รู้และเข้าใจการสืบค้นความเป็ นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย การ


รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล
ความแตกต่างระหว่างความจริงกับ
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น อิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย และจีนที่มี
ต่อไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทย
ปั จจุบันโดยสังเขป พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีโดยสังเขป ปั จจัยที่ส่ง
เสริมความเจริญรุ่งเรืองทาง เศรษฐกิจ การปกครองของอาณาจักรอยุธยา ประวัติและ
ผลงานของบุคคลสำคัญ ภูมิปั ญญาไทยน่าภาคภูมิใจและควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ ของ
อาณาจักรอยุธยาและธนบุรี
รู้และเข้าใจภูมิภาคของตนเกี่ยวกับตำแหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองจิจูด)
ระยะ ทิศทาง
ลักษณะภูมิลักษณ์ที่สำคัญ ความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคม
สภาพแวดล้อม
ทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐาน การย้ายถิ่นฐานของประชากร อิทธิพล
ของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรม ตัวอย่างที่
สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำลายสภาพแวดล้อม และเสนอแนวคิดในการ
รักษา
* ความสำคัญของบุคคลสำคัญทางศาสนา
* สำคัญของบุคคลสำคัญ บุคคลดีเด่นขององค์กรปกครองในจังหวัด

* การลงทุนสหกรณ์ กองทุนหมู่บ้าน ระบบสินเชื่อในการกู้ยืมแบบเศรษฐกิจพอ


เพียง วัฒนธรรมในท้องถิ่นและประเพณีพื้นบ้าน สภาพภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง อาณาเขต
ทรัพยากรธรรมชาติ ประชากรของ ท้องถิ่น

* แหล่งข้อมูลประวัติความเป็ นมาของจังหวัด ประวัติของท้องถิ่น วัฒนธรรม


ในท้องถิ่นและประเพณีพื้นบ้าน
* สภาพภูมิศาสตร์ของท้องถิ่นเกี่ยวกับที่ตั้ง อาณาเขต ทรัพยากรธรรมชาติ
ประชากร
205

โดยใช้กระบวนการอธิบาย การบรรยาย การอภิปราย การสอบถาม การ


สัมภาษณ์ การสาธิต การสืบค้น การแสดงบทบาทสมมุติ การใช้สถานการณ์จำลอง
กระบวนการกลุ่ม การใช้แหล่งเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี การบูรณาการ การเรียนรู้
โดยโครงงาน การปฏิบัติจริง การนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในศาสนา การปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถี
ประชาธิปไตย เศรษฐกิจ ของคนในชุมชน พัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนไทย
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในภูมิภาค ศรัทธา ยึดมั่นและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมทางศาสนา มี
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม เชื่อมั่น รัก ภูมิใจ และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ประเพณีในท้องถิ่น ตระหนักในสถานภาพ บทบาท สิทธิ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองดี
ของท้องถิ่น จังหวัดและประเทศ เห็นคุณค่าของหลักการเศรษฐกิจพอเพียงและนำไป
ประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำวัน
206

คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


รหัสวิชา ส๑๖๑๐๑ ชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ ๖
จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๓
หน่วยกิต
........................................................................
รู้และวิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็ นศาสนาประจำชาติ หรือ
ศาสนาที่ตนนับถือพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขารจนถึงสังเวชนียสถานหรือประวัติศาสดา
ที่ตนนับถือ การประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตาม
ที่กำหนด ความสำคัญและการเคารพพระรัตนตรัย การปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรม
โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด การ
ทำความดีของบุคคลในประเทศตามหลักศาสนา แนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิต การสวด
มนต์แผ่เมตตา และบริหารจิตเจริญปั ญญา การมีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ
ศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ การปฏิบัติตนตามหลัก
ธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อแก้ปั ญหาอบายมุขและสิ่งเสพติด หลักธรรมสำคัญ
ของศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป ลักษณะสำคัญของศาสนพิธี พิธีกรรมของศาสนาอื่นๆ
การปฏิบัติตนเมื่อต้องเข้าร่วมพิธี ความรู้เกี่ยวกับสถานที่ต่าง ๆ ในศาสนสถานและการ
ปฏิบัติตน มรรยาทของความเป็ นศาสนิกชนที่ดีตามที่กำหนด ประโยชน์และการปฏิบัติ
207

ตนในการเข้าร่วมในศาสนพิธี พิธีกรรม กิจกรรมในวันสำคัญทางศาสนาตามที่กำหนด


การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะหรือแสดงตนเป็ นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ
รู้และวิเคราะห์การปฏิบัติตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของครอบครัว
และชุมชน การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาและการธำรงรักษาวัฒนธรรมอันดี
งาม การแสดงออกถึงมารยาทไทย คุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ระหว่างกลุ่ม
คนภาคต่าง ๆ ในสังคมไทย ข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การ
เลือกรับและใช้ข้อมูล ข่าวสารในการเรียนรู้ บทบาท หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นและรัฐบาล การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ส่งเสริมประชาธิปไตยในท้องถิ่น
และประเทศ บทบาท ความสำคัญในการใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งตามระบอบ
ประชาธิปไตย
รู้และวิเคราะห์บทบาทของผู้ผลิตที่มีความรับผิดชอบ บทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่า
ทัน วิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้
บริโภค ธนาคาร และ รัฐบาล การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจภายในท้องถิ่น
รู้และวิเคราะห์ความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ ข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลาย ในการทำความเข้าใจเรื่อง
ราวสำคัญในอดีต สภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศเพื่อนบ้านใน
ปั จจุบัน ความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนโดยสังเขป

พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ปั จจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ
การปกครอง ผลงานของบุคคลสำคัญ ภูมิปั ญญาไทยที่น่าภาคภูมิใจและควรค่าแก่การ
อนุรักษ์ไว้ของสมัยรัตนโกสินทร์
รู้และวิเคราะห์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ( แผนที่ ภาพถ่ายชนิดต่าง ๆ ) เรื่อง
ราวของประเทศเกี่ยวกับลักษณะสำคัญทางกายภาพ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ
ทางกายภาพ กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทาง
ธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติจากอดีตถึงปั จจุบัน และผลที่
เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น แผนการใช้ทรัพยากรในชุมชน
* ความสำคัญของบุคคลสำคัญ บุคคลดีเด่นทางศาสนา
* วัฒนธรรมในท้องถิ่น ประเพณีพื้นบ้าน
* ทรัพยากรในท้องถิ่น
* เกษตรกรรม สินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
208

โดยใช้กระบวนการอธิบาย การบรรยาย การอภิปราย การสอบถาม การ


สัมภาษณ์ การสาธิต การสืบค้น การแสดงบทบาทสมมุติ การใช้สถานการณ์จำลอง
กระบวนการกลุ่ม การใช้แหล่งเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยี การบูรณาการ การเรียนรู้
โดยโครงงาน การปฏิบัติจริง การนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในศาสนา การปฏิบัติตามกฎหมายในชีวิตประจำวัน
มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ส่งเสริมประชาธิปไตย ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในประเทศ ใช้
ทรัพยากรอย่างยั่งยืน เข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต ศรัทธา ยึดมั่นและมีส่วนร่วมใน
พิธีกรรมทางศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม เชื่อมั่น รัก ภูมิใจ และมีส่วน
ร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีในท้องถิ่น ตระหนักในสถานภาพ บทบาท สิทธิ
หน้าที่ ในฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น จังหวัด และประเทศ เห็นคุณค่าของหลักการ
เศรษฐกิจพอเพียงและนำไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำวัน
209

อภิธานศัพท์

กตัญญูกตเวที ผู้รู้อุปการะที่ท่านทำแล้วและตอบแทน แยกออกเป็ น ๒ ข้อ ๑. กตัญญู


รู้คุณท่าน ๒. กตเวทีตอบแทนหรือสนองคุณท่าน ความกตัญญูกตเวทีว่าโดยขอบเขต
แยกได้ เป็ น ๒ ระดับ คือ
๒.๑ กตัญญูกตเวทีต่อบุคคลผู้มีคุณความดีหรืออุปการะต่อตนเป็ นส่วนตัว ๒.๒
กตัญญูกตเวทีต่อบุคคลผู้ได้บำเพ็ญคุณประโยชน์หรือมีคุณความดี เกื้อกูลแก่ส่วนร่วม
(พ.ศ. หน้า ๒-๓)
กตัญญูกตเวทีต่ออาจารย์ / โรงเรียน ในฐานะที่เป็ นศิษย์ พึงแสดงความเคารพนับถือ
อาจารย์
ผู้ เปรียบเสมือนทิศเบื้องขวา ดังนี้ ๑. ลูกต้อนรับ แสดงความเคารพ ๒. เข้าไปหา
เพื่อบำรุง รับใช้ ปรึกษา ซักถาม รับคำแนะนำ เป็ นต้น ๓. ฟั งด้วยดี ฟั งเป็ น รู้จัก
ฟั ง ให้เกิดปั ญญา
๔. ปรนนิบัติ ช่วยบริการ ๕. เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ เอาจริงเอาจังถือเป็ นกิจ
สำคัญด้วยดี
กรรม การกระทำ หมายถึง การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา คือ ทำด้วยความจงใจ
ประกอบด้วยความ
จงใจหรือจงใจทำดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เช่น ขุดหลุมพรางดักคนหรือสัตว์ในตกลงไปตาย
เป็ นกรรม
แต่ขุดบ่อน้ำไว้กินไว้ใช้ สัตว์ตกลงไปตายเองไม่เป็ นกรรม (แต่ถ้ารู้อยู่ว่าบ่อน้ำที่ตนขุด
ไว้อยู่ในที่ซึ่งคนจะพลัดตกได้ง่ายแล้วปล่อยปละละเลย มีคนตกลงไปก็ไม่พ้นกรรม)
การกระทำที่ดีเรียกว่า “กรรมดี” ที่ชั่วเรียกว่า “กรรมชั่ว” (พ.ศ. หน้า ๔)
กรรม ๒ กรรมจำแนกตามคุณภาพ หรือตามธรรมที่เป็ นมูลเหตุมี ๒ คือ ๑. อกุศลกรรม
กรรมที่เป็ นอกุศล กรรมชั่ว คือเกิดจากอกุศลมูล ๒. กุศลกรรม กรรมที่เป็ นกุศล กรรม
ดี คือกรรมที่เกิดจากกุศลมูล
กรรม ๓ กรรมจำแนกตามทวารคือทางที่กรรมมี ๓ คือ ๓. กายกรรม การกระทำทาง
กาย ๒. วจีกรรม การกระทำทางวาจา ๓. มโนกรรม การกระทำทางใจ
กรรม ๑๒ กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล มี ๑๒ อย่าง คือ
210

หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือจำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑. ทิฏฐิธรรมเวทนี


ยกรรม กรรมที่ให้ผลในปั จจุบัน คือในภพนี้ ๒. อุปั ชชเวทนียกรรม กรรมที่ให้ผลใน
ภาพที่จะไปเกิด คือ ในภพหน้า ๓. อปราบปริเวทนียกรรม กรรมที่ให้ผลในภพต่อ ๆ
ไป ๔. อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล
หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕. ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด
หรือกรรมที่เป็ นตัวนำไปเกิด ๖. อุปั ตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือ เข้าสนับสนุน
หรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗. อุปปี ฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่ง
ชนกกรรม และอุปั ตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาลงหรือสั้นเข้า ๘. อุปฆาต
กกรรม กรรมตัดรอน คือ กรรมแรงฝ่ ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนให้ผลของกรรมสองอย่าง
นั้นขาดหรือหยุดไปทีเดียว

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ การจัดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการ


เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรสภาลาดพร้าว ,ครั้งที่ ๒
๒๕๔๖ .
*หมายเหตุ พ.ศ. หมายถึง พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ; พ.ธ. หมายถึง
พ จ น า นุ ก ร ม พุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ฉ บั บ ป ร ะ ม า ว ล ธ ร ร ม พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ ๙
พระธรรมปิ ฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๓.
หมวดที่ ๓ ว่าโดยปานทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่
๙. ครุกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐. พหุลกรรม หรือ อาจิณกรรม กรรที่ทำมาก
หรือกรรมชินให้ผลรองลงมา ๑๑. อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย
ถ้าไม่มีสองข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒. กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปน
กรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรม
อื่นจะให้ผล (พ.ศ. หน้า ๕)

กรรมฐาน ที่ตั้งแห่งการงาน อารมณ์เป็ นที่ตั้งแห่งการงานของใจ อุบายทางใจ วิธีฝึ กอบรมจิต


มี ๒ ประเภท คือ สมถกรรมฐาน คือ อุบายสงบใจ วิปั สสนากรรมฐาน อุบายเรือง
ปั ญญา (พ.ศ. หน้า ๑๐)
กุลจิรัฏตธรรม ๔ ธรรมสำหรับดำรงความมั่นคงของตระกูลให้ยั่งยืน เหตุที่ทำให้ตระกูล
มั่งคั่งตั้งอยู่ได้นาน (พ.ธ. หน้า ๑๓๔) ๑. นัฏฐคเวสนา คือ ของหายของหมด รู้จักหามา
ไว้ ๒. ชิณณปฏิสังขรณา คือ ของเก่าของชำรุด รู้จักบูรณะซ่อมแซม ๓. ปริมิตปาน
211

โภชนา คือ รู้จักประมาณในการกินการใช้ ๔. อธิปั จจสีลวันตสถาปนา คือ ตั้งผู้มีศีล


ธรรมเป็ นพ่อบ้านแม่เรือน (พ.ธ. หน้า ๑๓๔)
กุศล บุญ ความดี ฉลาด สิ่งที่ดี กรรมดี (พ.ศ. หน้า ๒๑)
กุศลกรรม กรรมดี กรรมที่เป็ นกุศล การกระทำที่ดีคือเกิดจากกุศลมูล (พ.ศ. หน้า ๒๑)
กุศลกรรมบถ ๑๐ ทางแห่งกรรมดี ทางทำดี กรรมดีอันเป็ นทางนำไปสู่สุคติมี ๑๐ อย่าง
ได้แก่
ก. กายกรรม ๓ (ทางกาย) ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากการทำลายชีวิต ๒.
อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอาของที่เขามิได้ให้ ๓. กาเมสุมิจฉาจารา
เวรมณี เว้นจากประพฤติผิดในกาม
ข. วจีกรรม ๔ (ทางวาจา) ได้แก่ ๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากพูดเท็จ ๕. ปิ สุณายวา
จาย เวรมณี เว้นจากพูดส่อเสียด ๖. ผรุสาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพูดคำหยาบ
๗. สัมผัปปลาปา เวรมณี เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ
ค. มโนกรรม ๓ (ทางใจ) ๘. อนภิชฌา ไม่โลกคอยจ้องอยากได้ของเขา ๙. อพยาบาท
ไม่คิดร้ายเบียดเบียนเขา ๑๐. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม (พ.ศ. หน้า
๒๑)
กุศลมูล รากเหง้าของกุศล ต้นเหตุของกุศล ต้นเหตุของความดี ๓ อย่าง ๑. อโลภะ ไม่
โลภ (จาคะ) ๒. อโทสะ ไม่คิดประทุษร้าย (เมตตา) ๓. อโมหะ ไม่หลง (ปั ญญา) (พ.ศ.
หน้า ๒๒)
กุศลวิตก ความตรึกที่เป็ นกุศล ความนึกคิดที่ดีงาม ๓ คือ ๑. เนกขัมมวิตก ความตรึกปลอด
จากกาม ๒. อพยาบาทวิตก ความตรึกปลอดจากพยาบาท ๓. อวิหิสาวิตก
ความตรึกปลอดจากการเบียดเบียน (พ.ศ. หน้า ๒๒)
โกศล ๓ ความฉลาด ความเชี่ยวชาญ มี ๓ อย่าง ๑. อายโกศล คือ ความฉลาดในความเจริญ
รอบรู้ทางเจริญและเหตุของความเจริญ ๒. อปายโกศล คือ ความฉลาดในความเสื่อม
รอบรู้ทางเสื่อมและเหตุของความเสื่อม ๓. อุปายโกศล คือ ความฉลาดในอุบาย รอบรู้
วิธีแก้ไขเหตุการณ์และวิธีที่จะทำให้สำเร็จ ทั้งในการป้ องกันความเสื่อมและในการ
สร้างความเจริญ (พ.ศ. หน้า ๒๔)
ขันธ์ กอง พวก หมวด หมู่ ลำตัว หมวดหนึ่ง ๆ ของรูปธรรมและนามธรรมทั้งหมดที่แบ่งออก
เป็ นห้ากอง ได้แก่ รูปขันธ์ คือ กองรูป เวทนาขันธ์ คือ กองเวทนา สัญญาขันธ์ คือ
กองสัญญา สังขารขันธ์ คือ กองสังขาร วิญญาณขันธ์ คือ กองวิญญาณ เรียกรวมว่า
เบญจขันธ์ (พ.ศ. หน้า ๒๖ - ๒๗)
คารวธรรม ๖ ธรรม คือ ความเคารพ การถือเป็ นสิ่งสำคัญที่จะพึงใส่ใจและปฏิบัติด้วย
ความเอื้อเฟื้ อ หรือโดยความหนักแน่นจริงจังมี ๖ ประการ คือ ๑. สัตถุคารวตา
ความเคารพในพระศาสดา หรือพุทธคารวตา ความเคารพในพระพุทธเจ้า ๒. ธัมม
212

คารวตา ความเคารพในพระธรรม ๓. สังฆคารวตา ความเคารพในพระสงฆ์ ๔.


สิกขาคารวตา ความเคารพในการศึกษา ๕. อัปปมาทคารวตา
ความเคารพในความไม่ประมาท ๖. ปฏิสันถารคารวตา ความเคารพในการปฏิสันถาร
(พ.ธ. หน้า ๒๒๑)
คิหิสุข (กามโภคีสุข ๔) สุขของคฤหัสถ์ สุขของชาวบ้าน สุขที่ชาวบ้านควรพยายามเข้าถึงให้ได้
สม่ำเสมอ สุขอันชอบธรรมที่ผู้ครองเรือนควรมี ๔ ประการ ๑. อัตถิสุข สุขเกิด
จากความมีทรัพย์ ๒. โภคสุข สุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์ ๓. อนณสุข สุขเกิดจาก
ความไม่เป็ นหนี้ ๔. อนวัชชสุข สุขเกิดจากความประพฤติไม่มีโทษ (ไม่บกพร่องเสีย
หายทั้งทางกาย วาจา และใจ) (พ.ธ. หน้า ๑๗๓)

ฆราวาสธรรม ๔ ธรรมสำหรับฆราวาส ธรรมสำหรับการครองเรือน หลักการครองชีวิต


ของคฤหัสถ์
๔ ประการ ได้แก่ ๑. สัจจะ คือ ความจริง ซื่อตรง ซื่อสัตย์ จริงใจ พูดจริง ทำจริง
๒. ทมะ คือ
การฝึ กฝน การข่มใจ ฝึ กนิสัย ปรับตัว รู้จักควบคุมจิตใจ ฝึ กหัด ดัดนิสัย แก้ไขข้อ
บกพร่อง ปรับปรุงตนให้เจริญก้าวหน้าด้วยสติปั ญญา ๓. ขันติ คือ ความอดทน ตั้ง
หน้าทำหน้าที่การงานด้วยความขยันหมั่นเพียร เข้มแข็ง ทนทาน ไม่หวั่นไหว มั่น
ในจุดหมาย ไม่ท้อถอย ๔. จาคะ
คือ เสียสละ สละกิเลส สละความสุขสบาย และผลประโยชน์ส่วนตนได้ ใจกว้าง
พร้อมที่จะรับฟั งความทุกข์ ความคิดเห็นและความต้องการของผู้อื่น พร้อมที่จะร่วม
มือช่วยเหลือ เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่
ไม่คับแคบเห็นแก่ตัวหรือ เอาแต่ใจตัว (พ.ธ. หน้า ๔๓)
จิต ธรรมชาติที่รู้อารมณ์ สภาพที่นึกคิด ความคิด ใจ ตามหลักฝ่ ายอภิธรรม จำแนกจิต
เป็ น ๘๙ แบ่งโดยชาติเป็ นอกุศลจิต ๑๒ กุศลจิต ๒๑ วิปากจิต ๓๖ และกิริยาจิต
๘ (พ.ศ. หน้า ๔๓)
เจตสิก ธรรมที่ประกอบกับจิต อาการหรือคุณสมบัติต่าง ๆ ของจิต เช่น ความโลภ ความโกรธ
ความหลง ศรัทธา เมตตา สติ ปั ญญาเป็ นต้น มี ๕๒ อย่าง จัดเป็ นอัญญสมานาเจตสิก
๑๓ อกุศลเจตสิก ๑๔ โสภณเจตสิก ๒๕ (พ.ศ. หน้า ๔๙)
213

ฉันทะ ๑. ความพอใจ ความชอบใจ ความยินดี ความต้องการ ความรักใคร่ในสิ่งนั้น ๆ ๒.


ความยินยอม ความยอมให้ที่ประชุมทำกิจนั้น ๆ ในเมื่อตนมิได้ร่วมอยู่ด้วย เป็ น
ธรรมเนียมของภิกษุที่อยู่ในวัดซึ่งมีสีมารวมกัน มีสิทธิที่จะเข้าประชุมทำกิจของสงฆ์
เว้นแต่ภิกษุนั้นอาพาธ จะเข้าร่วมประชุมด้วยไม่ได้ ก็มอบฉันทะคือ แสดงความ
ยินยอมให้สงฆ์ทำกิจนั้น ๆ ได้ (พ.ศ. หน้า ๕๒)
ฌาน การเพ่ง การเพ่งพินิจด้วยจิตที่เป็ นสมาธิแน่วแน่ มี ๒ ประเภท คือ ๑. รูปฌาน ๒. อรูป
ฌาน (พ.ศ. หน้า ๖๐)
ฌานสมบัติ การบรรลุฌาน การเข้าฌาน (พุทธธรรม หน้า ๙๖๔)
ดรุณธรรม ธรรมที่เป็ นหนทางแห่งความสำเร็จ คือ ข้อปฏิบัติที่เป็ นดุจประตูชัยอันเปิ ดออก
ไปสู่ความสุข ความเจริญก้าวหน้าแห่งชีวิต ๖ ประการ คือ ๑. อาโรคยะ คือ รักษา
สุขภาพดี มิให้มีโรคทั้งจิต และกาย ๒. ศีล คือ มีระเบียบวินัย ไม่ก่อเวรภัยแก่
สังคม ๓. พุทธานุมัติ คือ ได้คนดีเป็ นแบบอย่าง ศึกษาเยี่ยงนิยมแบบอย่างของมหา
บุรุษพุทธชน ๔. สุตะ คือ ตั้งเรียนรู้ให้จริง เล่าเรียนค้นคว้าให้รู้เชี่ยวชาญใฝ่ สดับ
เหตุการณ์ให้รู้เท่าทัน ๕. ธรรมานุวัติ คือ ทำแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม ดำรงมั่นในสุจริต
ทั้งชีวิตและงานดำเนินตามธรรม ๖. อลีนตา คือ มีความขยันหมั่นเพียร มีกำลัง
ใจแข็งกล้า ไม่ท้อแท้เฉื่อยชา เพียรก้าวหน้าเรื่อยไป (ธรรมนูญชีวิต บทที่ ๑๕ คน
สืบตระกูล ข้อ ก. หน้า๕๕)
หมายเหตุ หลักธรรมข้อนี้เรียกชื่ออีกย่างหนึ่งว่า “วัฒนมุข” ตรงคำบาลีว่า “อัตถ
ทวาร” ประตูแห่งประโยชน์
ตัณหา (๑) ความทะยานอยาก ความดินรน ความปรารถนา ความแส่หา มี ๓ คือ ๑.
กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม อยากได้อารมณ์อันน่ารักน่าใคร่ ๒. ภวตัณหา
ความทะยานอยากในภพ อยากเป็ นนั่นเป็ นนี่ ๓. วิภวตัณหา ความทะยานอยากในวิ
ภพ อยากไม่เป็ นนั่นไม่เป็ นนี่ อยากพรากพ้นดับสูญ ไปเสีย
ตันหา (๒) ธิดามารนางหนึ่งใน ๓ นาง ที่อาสาพระยามารผู้เป็ นบิดา เข้าไปประโลม
พระพุทธเจ้าด้วยอาการ
ต่าง ๆ ในสมัยที่พระองค์ประทับอยู่ที่ต้นอชปาลนิโครธ ภายหลังตรัสรู้ใหม่ ๆ (อีก ๒
นางคือ อรดี กับราคา) (พ.ศ. หน้า ๗๒)
214

ไตรลักษณ์ ลักษณะสาม คือ ความไม่เที่ยง ความเป็ นทุกข์ ความไม่ใช่ตัวตน ๑. อนิจจ


ตา (ความเป็ นของไม่เที่ยง) ๒. ทุกขตา (ความเป็ นทุกข์) ๓. อนัตตา (ความเป็ นของ
ไม่ใช่ตน) (พ.ศ. หน้า ๑๐๔)
ไตรสิกขา สิกขาสาม ข้อปฏิบัติที่ต้องศึกษา ๓ อย่าง คือ ๑. อธิศีลสิกขา หมายถึง
สิกขา คือ ศีลอันยิ่ง
๒. อธิจิตตสิกขา หมายถึง สิกขา คือ จิตอันยิ่ง ๓. อธิปั ญญาสิกขา หมายถึง
สิกขา คือ ปั ญญา
อันยิ่ง เรียกกันง่าย ๆ ว่า ศีล สมาธิ ปั ญญา (พ.ศ. หน้า ๘๗)

ทศพิธราชธรรม ๑๐ ธรรม สำหรับพระเจ้าแผ่นดิน คุณสมบัติของนักปกครองที่ดี สามารถ


ปกครองแผ่นดินโดยธรรม และยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชน จนเกิดความ
ชื่นชมยินดี มี ๑๐ ประการ คือ
๑. ทาน การให้ทรัพย์สินสิ่งของ ๒. ศีล ประพฤติดีงาม ๓. ปริจจาคะ ความเสียสละ
๔. อาชชวะ ความซื่อตรง ๕. มัททวะ ความอ่อนโยน ๖. ตบะ ความทรงเดช เผา
กิเลสตัณหา ไม่หมกมุ่นในความสุขสำราญ ๗. อักโกธะความไม่กริ้วโกรธ ๘. อ
วิหิงสา ความไม่ข่มเหงเบียดเบียน ๙. ขันติ ความอดทนเข้มแข็ง ไม่ท้อถอย ๑๐. อ
วิโรธนะ ความไม่คลาดธรรม (พ.ศ. หน้า ๒๕๐)
ทิฏธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม ๔ ธรรมที่เป็ นไปเพื่อประโยชน์ในปั จจุบัน คือ ประโยชน์สุข
สามัญที่มองเห็นกันในชาตินี้ ที่คนทั่วไปปรารถนา เช่น ทรัพย์ ยศ เกียรติ ไมตรี
เป็ นต้น มี ๔ ประการ คือ
๑.อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็ นคนดี ๔. สมชีวิตา การเลี้ยงชีพตามสมควรแก่
กำลังทรัพย์ที่หาได้ (พ.ศ. หน้า ๙๕)
ทุกข์ ๑. สภาพที่ทนอยู่ได้ยาก สภาพที่คงทนอยู่ไม่ได้ เพราะถูกบีบคั้นด้วยความเกิดขึ้นและ
ดับสลาย เนื่องจากต้องไปตามเหตุปั จจัยที่ไม่ขึ้นต่อตัวมันเอง ๒. สภาพที่ทนได้ยาก
ความรู้สึกไม่สบาย ได้แก่ ทุกขเวทนา (พ.ศ. หน้า ๙๙)
215

ทุกรกิริยา กิริยาที่ทำได้ยาก การทำความเพียรอันยากที่ใคร ๆ จะทำได้ เช่น การบำเพ็ญเพียร


เพื่อบรรลุธรรมวิเศษ ด้วยวิธีทรมานตนต่าง ๆ เช่น กลั้นลมอัสสาสะ (ลมหายใจเข้า)
ปั สสาสะ (ลมหายใจออก) และอดอาหาร เป็ นต้น (พ.ศ. หน้า ๑๐๐)
ทุจริต ๓ ความประพฤติไม่ดี ประพฤติชั่ว ๓ ทาง ได้แก่ ๑. กายทุจริต ประพฤติชั่วทางกาย
๒. วจีทุจริต ประพฤติชั่วทางวาจา ๓. มโนทุจริต ประพฤติชั่วทางใจ (พ.ศ. หน้า
๑๐๐)
เทวทูต ๔ ทูตของยมเทพ สื่อแจ้งข่าวของมฤตยู สัญญาณที่เตือนให้ระลึกถึงคติธรรมดาของ
ชีวิต มีให้มีความประมาท ได้แก่ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ๓ อย่างแรกเรียก
เทวทูต ส่วนสมณะเรียกรวมเป็ นเทวทูตไปด้วยโดยปริยายเพราะมาในหมวดเดียวกัน
แต่ในบาลีท่านเรียกว่านิมิต ๔ ไม่ได้เรียกเทวทูต (พ.ศ. หน้า ๑๐๒)
ธาตู ๔ สิ่งที่ทรงภาวะของมั้นอยู่เองตามธรรมดาของเหตุปจจัย ได้แก่ ๑. ปฐวีธาตุ หมายถึง
สภาวะที่แผ่ไปหรือกินเนื้อที่ เรียกชื่อสามัญว่า ธาตุเข้มแข็งหรือธาตุดิน ๒. อาโปธาตุ
หมายถึง สภาวะที่เอิบอาบดูดซึม เรียกสามัญว่า ธาตุเหลว หรือธาตุน้ำ ๓. เตโชธาตุ
หมายถึง สภาวะที่ทำให้ร้อน เรียกสามัญว่า ธาตุไฟ ๔. วาโยธาตุ หมายถึง สภาวะที่
ทำให้เคลื่อนไหว เรียกสามัญว่า ธาตุลม (พ.ศ. หน้า ๑๑๓)
นาม ธรรมที่รู้จักกันด้วยชื่อ กำหนดรู้ด้วยใจเป็ นเรื่องของจิตใจ สิ่งที่ไม่มีรูปร่าง ไม่มีรูปแต่
น้อมมาเป็ นอารมณ์ของจิตได้ (พ.ศ. หน้า ๑๒๐)
นิยาม ๕ กำหนดอันแน่นอน ความเป็ นไปอันมีระเบียบแน่นอนของธรรมชาติ กฎธรรมชาติ
๑. อุตุนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิ หรือปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ
โดยเฉพาะ ดิน น้ำ อากาศ และฤดูกาล อันเป็ นสิ่งแวดล้อมสำหรับมนุษย์) ๒.
พีชนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุ์ มีพันธุกรรมเป็ นต้น) ๓. จิตตนิยาม
(กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทำงานของจิต) ๔. กรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยว
กับพฤติกรรมของมนุษย์ คือ กระบวนการให้ผลของการกระทำ) ๕. ธรรมนิยาม (กฎ
ธรรมชาติเกี่ยวกับความสัมพันธ์และอาการที่เป็ นเหตุ เป็ นผลแก่กันแห่งสิ่งทั้งหลาย
(พ.ธ. หน้า ๑๙๔)
นิวรณ์ ๕ สิ่งที่กั้นจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม ธรรมที่กั้นจิตไม่ให้บรรลุคุณความดี อกุศล
ธรรมที่ทำจิตให้เศร้าหมองและทำปั ญญาให้อ่อนกำลัง ๑. กามฉันทะ (ความพอใจใน
กาม ความต้องการกามคุณ) ๒. พยาบาท (ความคิดร้าย ความขัดเคืองแค้นใจ)
216

๓. ถีนมิทธะ (ความหดหู่และเซื่องซึม) ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ (คามฟุ้งซ่านและร้อนใจ


ความกระวนกระวายกลุ้มกังวล) ๕. วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) (พ.ธ. หน้า ๑๙๕)
นิโรธ ความดับทุกข์ คือดับตัณหาได้สิ้นเชิง ภาวะปลอดทุกข์ เพราะไม่มีทุกข์ที่จะเกิดขึ้นได้
หมายถึง พระนิพพาน (พ.ศ. หน้า ๑๒๗)
บารมี คุณความดีที่บำเพ็ญอย่างยิ่งยวด เพื่อบรรลุจุดหมายอันสูงยิ่งมี ๑๐ คือ ทาน ศีล
เนกขัมมะ ปั ญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา (พ.ศ. หน้า ๑๓๖)
บุญกิริยาวัตถุ ๓ ที่ตั้งแห่งการทำบุญ เรื่องที่จัดเป็ นการทำความดี หลักการทำความดี ทาง
ความดีมี ๓ ประการ คือ ๑. ทานมัย คือทำบุญด้วยการให้ปั นสิ่งของ ๒. ศีลมัย คือ
ทำบุญด้วยการรักษาศีล หรือประพฤติดีมีระเบียบวินัย ๓. ภาวนมัย คือ ทำบุญด้วย
การเจริญภาวนา คือฝึ กอบรมจิตใจ (พ.ธ. หน้า ๑๐๙)
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ที่ตั้งแห่งการทำบุญ ทางความดี ๑. ทานมัย คือทำบุญด้วยการให้ปั น
สิ่งของ ๒. สีลมัย คือ ทำบุญด้วยการรักษาศีล หรือประพฤติดี ๓. ภาวนมัย คือ
ทำบุญด้วยการเจริญภาวนา คือฝึ กอบรมจิตใจ ๔. อปจายนมัย คือ ทบุญด้วยการ
ประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตน ๕. เวยยาวัจจมัย คือ ทำบุญด้วยการช่วยขวนขวาย รับใช้
๖. ปั ตติทานมัย คือ ทำบุญด้วยการเฉลี่ยส่วนแห่งความดีให้แก่ผู้อื่น ๗. ปั ตตานุ
โมทนามัย คือ ทำบุญด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่น ๘. ธัมมัสสวนมัย คือ ทำบุญ
ด้วยการฟั งธรรม ศึกษาหาความรู้ ๙. ธัมมเทสนามัย คือทำบุญด้วยการสั่งสอนธรรม
ให้ความรู้ ๑๐. ทิฏฐุชุกรรม คือ ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ตรง (พ.ธ.
หน้า ๑๑๐)
บุพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา บุพนิมิต แปลว่า สิ่งที่เป็ นเครื่องหมายหรือสิ่งบ่งบอกล่วงหน้า
พระพุทธองค์ตรัสเปรียบเทียบว่า ก่อนที่ดวงอาทิตย์จะขึ้น ย่อมมีแสงเงินแสงทอง
ปรากฏให้เห็นก่อนฉันใด ก่อนที่อริยมรรคซึ่งเป็ นข้อปฏิบัติสำคัญในพระพุทธศาสนา
จะเกิดขึ้น ก็มีธรรมบางประการปรากฏขึ้นก่อน เหมือนแสงเงินแสงทองฉันนั้น องค์
ประกอบของธรรมดังกล่าว หรือบุพนิมิตแห่งมัชฌิมาปฏิปทา ได้แก่ ๑. กัลป์ ยาณมิตต
ตา ความมีกัลยาณมิตร ๒. สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล มีวินัย มีความเป็ นระเบียบใน
ชีวิตของตนและในการอยู่ร่วมในสังคม ๓. ฉันทสัมปทา ถึงพร้อมด้วยฉันทะ พอใจใฝ่
รักในปั ญญา สัจธรรม ในจริยธรรม ใฝ่ รู้ในความจริงและใฝ่ ทำความดี ๔. อัตตสัมปทา
ความถึงพร้อมด้วยการที่จะฝึ กฝน พัฒนาตนเอง เห็นความสำคัญของการที่จะต้องฝึ ก
ตน ๕. ทิฏฐิสัปทา ความถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ ยึดถือ เชื่อถือในหลักการ และมีความเห็น
217

ความเข้าใจพื้นฐานที่มองสิ่งทั้งหลายตามเหตุปั จจัย ๖. อัปปมาทสัมปทา ถึงพร้อม


ด้วยความไม่ประมาท มีความกระตือรือร้นอยู่เสมอ เห็นคุณค่าของกาลเวลา
เห็นความเปลี่ยนแปลงเป็ นสิ่งกระตุ้นเตือนให้เร่งรัดการค้นหาให้เขาถึงความจริงหรือ
ในการทำชีวิตที่ดีงามให้สำเร็จ ๗. โยนิโสมนสิการ รู้จัดคิดพิจารณา มองสิ่งทั้งหลายให้
ได้ความรู้และได้ประโยชน์ที่จะเอามาใช้พัฒนาตนเองยิ่ง ๆ ขึ้นไป (แสงเงินแสงทอง
ของชีวิตที่ ดีงาม: พระธรรมปิ ฎก) (ป.อ. ปยุตฺโต)
เบญจธรรม ธรรม ๕ ประการ ความดี ๕ อย่าง ที่ควรประพฤติคู่กันไปกับการรักษาเบญจศีล
ตามลำดับข้อ ดังนี้ ๑. เมตตากรุณา ๒. สัมมาอาชีวะ ๓. กามสังวร (สำรวมในกาม) ๔.
สัจจะ ๕. สติสัมปชัญญะ
(พ.ศ. หน้า ๑๔๐ – ๑๔๑)
เบญจศีล ศีล ๕ เว้นฆ่าสัตว์ เว้นลักทรัพย์ เว้นประพฤติผิดในกาม เว้นพูดปด เว้นของเมา
(พ.ศ. หน้า ๑๔๑)
ปฐมเทศนา เทศนาครั้งแรก หมายถึง ธัมมจักรกัปปวัตตนสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระ
ปั ญจวัคคีย์ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ หลังจากวันตรัสรู้สองเดือน ที่ป่ าอิสิปตน
มฤคทายวัน เมืองพาราณสี (พ.ศ. หน้า ๑๔๗)
ปฏิจจสมุปบาท สภาพอาศัยปั จจัยเกิดขึ้น การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงมีขึ้น การที่ทุกข์เกิดขึ้น
เพราะอาศัยปั จจัยต่อเนื่องกันมา (พ.ศ. หน้า ๑๔๓)
ปริยัติ พุทธพจน์อันจะพึงเล่าเรียน สิ่งที่ควรเล่าเรียน การเล่าเรียนพระธรรมวินัย (พ.ศ. หน้า
๑๔๕)
ปธาน ๔ ความเพียร ๔ อย่าง ได้แก่ ๑. สังวรปธาน คือ การเพียรระวังหรือเพียรปิ ดกั้น (ยับยั้ง
บาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ไม่ให้เกิดขึ้น) ๒. ปหานปธาน คือ เพียรละบาปอกุศลที่เกิด
ขึ้นแล้ว ๓. ภาวนาปธาน คือ เพียรเจริญ หรือทำกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น
๔. อนุรักขนาปธาน คือ เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อมไปและทำให้เพิ่ม
ไพบูลย์ (พ.ศ. หน้า ๑๔๙)
ปปั ญจธรรม ๓ กิเลสเครื่องเนิ่นช้า กิเลสที่เป็ นตัวการทำให้คิดปรุงแต่งยึดเยื้อพิสดาร ทำให้เขา
ห่างออกไปจากความเป็ นจริงง่าย ๆ เปิ ดเผย ก่อให้เกิดปั ญหาต่าง ๆ และขัดขวางไม่ให้
เข้าถึงความจริง หรือทำให้ ไม่อาจแก้ปั ญหาอย่างถูกทางตรงไปตรงมา มี ๓
อย่าง คือ ๑. ตัณหา (ความทะยานอยาก ความปรารถนาที่จะบำรุงบำเรอ ปรนเปรอตน
ความยากได้อยากเอา) ๒. ทิฏฐิ (ความคิดเห็น ความเชื่อถือ ลักธิ ทฤษฎี อุดมการณ์ต่าง
218

ๆ ที่ยึดถือไว้โดยงมงายหรือโดยอาการเชิดชูว่าอย่างนี้เท่านั้นจริงอย่างอื่นเท็จทั้งนั้น
เป็ นต้น ทำให้ปิ ดตัวแคบ ไม่ยอมรับฟั งใคร ตัดโอกาสที่จะเจริญปั ญญา หรือคิดเตลิดไป
ข้างเดียว ตลอดจนเป็ นเหตุแห่งการเบียดเบียนบีบคั้นผู้อื่นที่ไม่ถืออย่างตน ความยึดติด
ในทฤษฎี ฯลฯ คือความคิดเห็นเป็ นความจริง) ๓. มานะ (ความถือตัว ความสำคัญตนว่า
เป็ นนั่นเป็ นนี่ ถือสูง ถือต่ำ ยิ่งใหญ่ เท่าเทียมหรือด้อยกว่าผู้อื่น ความอยากเด่น
อยากยกชูตนให้ยิ่งใหญ่) (พ.ธ. หน้า ๑๑๑)
ปฏิเวธ เข้าใจตลอด แทงตลอด ตรัสรู้ รู้ทะลุปรุโปร่ง ลุล่วงด้วยการปฏิบัติ (พ.ศ. หน้า ๑๔๕)
ปฏิเวธสัทธรรม สัทธรรม คือ ผลอันจะพึงเข้าถึงหรือบรรลุด้วยการปฏิบัติได้แก่ มรรค ผล และ
นิพพาน
(พ.ธ. หน้า ๑๒๕)
ปั ญญา ๓ ความรอบรู้ เข้าใจ รู้ซึ้ง มี ๓ อย่าง คือ ๑. สุตมยปั ญญา (ปั ญญาเกิดแต่การ
สดับการเล่าเรื่อง)
๒. จินตามนปัญญา (ปัญญาเกิดแต่การคิด การพิจารณาหาเหตุผล) ๓. ภาวนามยปัญญา
(ปัญญาเกิด
แต่การฝึกอบรมลงมือปฏิบัติ) (พ.ธ. หน้า ๑๑๓)
ปั ญญาวุฒิธรรม ธรรมเป็ นเครื่องเจริญปั ญญา คุณธรรมที่ก่อให้เกิดความเจริญงอกงามแห่ง
ปั ญญา ๑. สัปปุริสสังเสวะ คบหาสัตบุรุษ เสวนาท่านผู้ทรง ๒.
สัทธัมมัสสวนะ ฟั งสัทธรรม เอาใจใส่ เล่าเรียนหาความรู้จริง ๓. โยนิโสมนสิการ ทำในใจ
โดยแยบคาย คิดหาเหตุผลโดยถูกวิธี ๔. ธัมมานุธัมมปฏิบัติ ปฏิบัติธรรมถูกต้องตาม
หลัก คือ ให้สอดคล้องพอดี ขอบเขตความหมาย และวัตถุประสงค์ที่สัมพันธ์กับธรรมข้อ
อื่น ๆ นำสิ่งที่ได้เล่าเรียนและตริตรองเห็นแล้วไปใช้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามความมุ่งหมาย
ของสิ่งนั้น ๆ (พ.ธ. หน้า ๑๖๒ – ๑๖๓)
ปาปณิกธรรม ๓ หลักพ่อค้า องค์คุณของพ่อค้ามี ๓ อย่าง คือ ๑ จักขุมา ตาดี (รู้จักสินค้า) ดู
ของเป็ น สามารถคำนวณราคา กะทุน เก็งกำไร แม่นยำ ๒. วิธูโร จัดเจนธุรกิจ (รู้แหล่ง
ซื้อขาย รู้ความเคลื่อนไหวความต้องการของตลาด สามารถในการจัดซื้อจัดจำหน่าย รู้ใจ
และรู้จักเอาใจลูกค้า) ๓. นิสสยสัมปั นโน พร้อมด้วยแหล่งทุนอาศัย (เป็ นที่เชื่อถือไว้วาง
ในในหมู่แหล่งทุนใหญ่ ๆ หาเงินมาลงทุนหรือดำเนินกิจการโดยง่าย ๆ) (พ.ธ. หน้า
๑๑๔)
219

ผัสสะ หรือ สัมผัส การถูกต้อง การกระทบ ความประจวบกันแห่งอายตนะภายใน อายตนะ


ภายนอก และวิญญาณ มี ๖ คือ ๑. จักขุสัมผัส (ความกระทบทางตา คือ ตา + รูป +
จักขุ - วิญญาณ) ๒. โสตสัมผัส (ความกระทบทางหู คือ หู + เสียง + โสตวิญญาณ) ๓.
ฆานสัมผัส (ความกระทบทางจมูก คือ จมูก + กลิ่น + ฆานวิญญาณ) ๔. ชิวหาสัมผัส (ค
วามกระทบทางลิ้น คือ ลิ้น + รส + ชิวหาวิญญาณ) ๕. กายสัมผัส (ความ
กระทบทางกาย คือ กาย + โผฏฐัพพะ + กายวิญญาณ) ๖. มโนสัมผัส
(ความกระทบทางใจ คือ ใจ + ธรรมารมณ์ + มโนวิญญาณ) (พ.ธ. หน้า ๒๓๓)
ผู้วิเศษ หมายถึง ผู้สำเร็จ ผู้มีวิทยากร (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕)
พระธรรม คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลักความจริงและหลักความประพฤติ (พ.ศ. หน้า
๑๘๓)
พระอนุพุทธะ ผู้ตรัสรู้ตาม คือ ตรัสรู้ด้วยได้สดับเล่าเรียนและปฏิบัติตามที่พระสัมมาสัมพุทธ
เจ้าทรงสอน (พ.ศ. หน้า ๓๗๔)
พระปั จเจกพุทธะ พระพุทธเจ้าประเภทหนึ่ง ซึ่งตรัสรู้เฉพาะตัว มิได้สั่งสอนผู้อื่น (พ.ศ. หน้า
๑๖๒)
พระพุทธคุณ ๙ คุณของพระพุทธเจ้า ๙ ประการ ได้แก่ อรหํ เป็ นผู้ไกลจากกิเลส ๒. สมฺมาสั
มฺพุทฺโธ เป็ นผู้ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ๓. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน เป็ นผู้
ถึงพร้อมด้วยวิชชาและ จรณะ ๔. สุคโต เป็ นผู้เสด็จไปแล้วด้วยดี ๕. โลกวิทู
เป็ นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง ๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เป็ นผู้สามารถฝึ กบุรุษที่สมควร
ฝึ กได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า ๗. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ เป็ นครูผู้สอนเทวดาและมนุษย์ทั้ง
หลาย ๘. พุทฺโธ เป็ นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ๙. ภควา เป็ นผู้มีโชค มีความเจริญ จำแนก
ธรรมสั่งสอนสัตว์ (พ.ศ. หน้า ๑๙๑)
พระพุทธเจ้า ผู้ตรัสรู้โดยชอบแล้วสอนผู้อื่นให้รู้ตาม ท่านผู้รู้ดี รู้ชอบด้วยตนเองก่อนแล้ว สอน
ประชุมชนให้ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ (พ.ศ. หน้า ๑๘๓)
พระภิกษุ ชายผู้ได้อุปสมบทแล้ว ชายที่บวชเป็ นพระ พระผู้ชาย แปลตามรูปศัพท์ว่า ผู้ขอ
หรือผู้มองเห็นภัยในสังขารหรือผู้ทำลายกิเลส ดูบริษัท ๔ สหธรรมิก บรรพชิต อุปสัม
บัน ภิกษุสาวกรูปแรก ได้แก่ พระอัญญาโกณฑัญญะ (พ.ศ. หน้า ๒๐๔)
พระรัตนตรัย รัตนะ ๓ แก้วอันประเสริฐ หรือสิ่งล้ำค่า ๓ ประการ หลักที่เคารพ
บูชาสูงสุดของพุทธศาสนิกชน ๓ อย่าง คือ ๑ พระพุทธเจ้า (พระผู้ตรัสรู้เอง และสอน
ให้ผู้อื่นรู้ตาม) ๒.พระธรรม (คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ทั้งหลักความจริงและหลัก
220

ความประพฤติ) ๓. พระสงฆ์ (หมู่สาวกผู้ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า) (พ.


ธ.หน้า ๑๑๖)
พระสงฆ์ หมู่ชนที่ฟั งคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัย หมู่สาวก
ของพระพุทธเจ้า (พ.ศ. หน้า ๑๘๕)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายถึง ท่านผู้ตรัสรู้เอง และสอนผู้อื่นให้รู้ตาม (พ.ศ. หน้า ๑๘๙)
พระอนุพุทธะ หมายถึง ผู้ตรัสรู้ตาม คือ ตรัสรูด้วยได้สดับเล่าเรียนและปฏิบัติตามที่พระ
สัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงสอน ได้แก่ พระอรหันต์สาวกทั้งหลาย (พ.ศ. หน้า ๓๗๔)
พระอริยบุคคล หมายถึง บุคคลผู้เป็ นอริยะ ท่านผู้บรรลุธรรมวิเศษ มีโสดาปั ตติผล เป็ นต้น
มี ๔ คือ
1. พระโสดาบัน
2. พระสกทาคามี (หรือสกิทาคามี)
3. พระอนาคามี
4. พระอรหันต์
แบ่งพิสดารเป็ น ๘ คือ
พระผู้ตั้งอยู่ในโสดาปั ตติมรรค และพระผู้ตั้งอยู่ในโสดาปั ตติผลคู่ ๑
พระผู้ตั้งอยู่ในสกทาคามิมรรค และพระผู้ตั้งอยู่ในสกทาคามีผลคู่ ๑
พระผู้ตั้งอยู่ในอนาคามิมรรค และพระผู้ตั้งอยู่ในอนาคามิผลคู่ ๑
พระผู้ตั้งอยู่ในอรหัตตมรรค และพระผู้ตั้งอยู่ในอรหัตตผลคู่ ๑ (พ.ศ. หน้า ๓๘๖)
พราหมณ์ หมายถึง คนวรรณะหนึ่งใน ๔ วรรณะ คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ;
พราหมณ์เป็ นวรรณะนักบวชและเป็ นเจ้าพิธี ถือตนว่าเป็ นวรรณะสูงสุด เกิดจากปาก
พระพรหม (พ.ศ. หน้า ๑๘๕)
พละ ๔ กำลัง พละ ๔ คือ ธรรมอันเป็ นพลังทำให้ดำเนินชีวิตด้วยความมั่นใจ ไม่ต้อง
หวาดหวั่นภัยต่าง ๆ ได้แก่ ๑. ปั ญญาพละ กำลังคือปั ญญา ๒. วิริยพละ กำลังคือ
ความเพียร ๓. อนวัชชพละ กำลังคือการกระทำที่ไม่มีโทษ ๔. สังคหพละ กำลังการ
สังเคราะห์ คือ เกื้อกูลอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ดี (พ.ศ. หน้า ๑๘๕ – ๑๘๖)
พละ ๕ พละ กำลัง พละ ๕ คือ ธรรมอันเป็ นกำลัง ซึ่งเป็ นเครื่องเกื้อหนุนแก่อริยมรรค จัดอยู่
ในจำพวก โพธิปั กขิยธรรม มี ๕ คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปั ญญา (พ.ศ. หน้า
๑๘๕ – ๑๘๖)
221

พุทธกิจ ๕ พระพุทธองค์ทรงบำเพ็ญพุทธกิจ ๕ ประการ คือ ๑. ปุพฺพณฺเห ปิ ณฺฑปาตญฺจ


ตอนเช้าเสด็จออกบิณฑบาต เพื่อโปรดสัตว์ โดยการสนทนาธรรมหรือการแสดงหลัก
ธรรมให้เข้าใจ ๒. สายณฺเห ธมฺมเทสนํ ตอนเย็น แสดงธรรมแก่ประชาชนที่มาเฝ้ า
บริเวณที่ประทับ ๓. ปโทเส ภิกฺขุโอวาทํ ตอนค่ำ แสดงโอวาทแก่พระสงฆ์
๔. อฑฺฒรตฺเต เทวปญฺหนํ ตอนเที่ยงคืนทรงตอบปั ญหาแก่พวกเทวดา ๕. ปจฺจูเสว
คเต กาเล ภพฺพาภพฺเพ วิโลกนํ ตอนเช้ามืด จวนสว่าง ทรงตรวจพิจารณาสัตว์โลกว่าผู้
ใดมีอุปนิสัยที่จะบรรลุธรรมได้ (พ.ศ. หน้า ๑๘๙ - ๑๙๐)
พุทธคุณ คุณของพระพุทธเจ้า คือ ๑. ปํ ญญาคุณ (พระคุณ คือ ปั ญญา) ๒. วิสุทธิคุณ
(พระคุณ คือ ความบริสุทธิ์) ๓. กรุณาคุณ (พระคุณ คือ พระมหากรุณา) (พ.ศ. หน้า
๑๙๑)
ภพ โลกเป็ นที่อยู่ของสัตว์ ภาวะชีวิตของสัตว์ มี ๓ คือ ๑. กามภพ ภพของผู้ยังเสวยกามคุณ
๒. รูปภพ ภพของผู้เข้าถึงรูปฌาน ๓. อรูปภพ ภพของผู้เข้าถึงอรูปฌาน (พ
.ศ. หน้า ๑๙๘)

ภาวนา ๔ การเจริญ การทำให้มีขึ้น การฝึ กอบรม การพัฒนา แบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท ได้แก่


๑. กายภาวนา ๒. สีลภาวนา ๓. จิตตภาวนา ๔. ปั ญญาภาวนา (พ.ธ. หน้า ๘๑ –
๘๒)
ภูมิ ๓๑ ๑.พื้นเพ พื้น ชั้น ที่ดิน แผ่นดิน ๒. ชั้นแห่งจิต ระดับจิตใจ ระดับชีวิต มี ๓๑ ภูมิ
ได้แก่
อบายภูมิ ๔ (ภูมิที่ปราศจากความเจริญ) - นิรยะ (นรก) – ติรัจฉานโยนิ (กำเนิด
ดิรัจฉาน) – ปิ ตติวิสัย (แดนเปรต) - อสุรกาย (พวกอสูร) กามสุคติภูมิ ๗ (กามาว
จรภูมิที่เป็ นสุคติ ภูมิที่เป็ นสุคติซึ่งยังเกี่ยวข้องกับกาม) - มนุษย์ (ชาวมนุษย์) – จาตุ
มหาราชิกา (สวรรค์ชั้นที่ท้าวมหาราช ๔ ปกครอง) - ดาวดึงส์ (แดนแห่งเทพ ๓๓ มี
ท้าวสักกะเป็ นใหญ่) -ยามา (แดนแห่งเทพผู้ปราศจากความทุกข์)
- ดุสิต (แดนแห่งผู้เอิบอิ่มด้วยสิริสมบัติของตน) - นิมมานรดี (แดนแห่งเทพผู้ยินดี
ในการเนรมิต) - ปรนิมมิตวสวัตตี (แดนแห่งเทพผูยั
้ งอำนาจให้เป็นไปในสมบัติที่ผู้อื่น
นิรมิตให้) (พ.ธ. หน้า ๓๑๖-๓๑๗)
โภคอาทิยะ ๕ ประโยชน์ที่ควรถือเอาจากโภคทรัพย์ ในการที่จะมีหรือเหตุผลในการที่จะมีหรือ
ครอบครองโภคทรัพย์ ๑. เลี้ยงตัว มารดา บิดา บุตร ภรรยา และคนในปกครองทั้ง
222

หลายให้เป็ นสุข ๒. บำรุงมิตรสหายและร่วมกิจกรรมการงานให้เป็ นสุข ๓. ใช้ป้ องกัน


ภยันตราย ๔. ทำพลี คือ ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ อติถิพลี ต้อนรับแขก ปุพพเปตพลี
ทำบุญอุทิศให้ผู้ล่วงลับ ราชพลี บำรุงราชการ เสียภาษี เทวตาพลี สักการะบำรุงสิ่งที่เชื่อ
ถือ ๕. อุปถัมภ์บำรุงสมณพราหมณ์ ผู้ประพฤติชอบ (พ.ธ. หน้า ๒๐๒ -๒๐๓)
มงคล สิ่งที่ทำให้มีโชคดีตามหลักพระพุทธศาสนา หมายถึง ธรรมที่นำมาซึ่งความสุข
ความเจริญ มงคล ๓๘ ประการ หรือ เรียกเต็มว่า อุดมมงคล (มงคลอันสูงสุด) ๓๘
ประการ (ดูรายละเอียดมงคลสูตร) (พ.ศ. หน้า ๒๑๑)
มิจฉาวณิชชา ๕ การค้าขายที่ผิดศีลธรรมไม่ชอบธรรม มี ๕ ประการ คือ ๑. สัตถวณิชชา
ค้าอาวุธ ๒. สัตตวณิชชา ค้ามนุษย์ ๓. มังสวณิชชา เลี้ยงสัตว์ไว้ขายเนื้อ
๔. มัชชวณิชชา ค้าขายน้ำเมา ๕. วิสวณิชชา ค้าขายยาพิษ (พ.ศ. หน้า ๒๓๓)
มรรคมีองค์ ๘ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ เรียกเต็มว่า “อริยอัฏฐังคิกมรรค” ได้แก่
๑. สัมมาทิฎฐิ เห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ ๔.
สัมมากัมมันตะ ทำการชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ๖. สัมมาวายามะ เพียร
ชอบ ๗.สัมมาสติ ระลึกชอบ
๘. สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ (พ.ศ. หน้า ๒๑๕)
มิจฉัตตะ ๑๐ ภาวะที่ผิด ความเป็ นสิ่งที่ผิด ได้แก่ ๑. มิจฉทิฏฐิ (เห็นผิด ได้แก่ ความเห็นผิด
จากคลองธรรมตามหลักกุศลกรรมบถ และความเห็นที่ไม่นำไปสู่ความพ้นทุกข์) ๒.
มิจฉาสังกัปปะ (ดำริผิด ได้แก่ ความดำริที่เป็ นอกุศลทั้งหลาย ตรงข้ามจากสัมมา
สังกัปปะ) ๓. มิจฉาวาจา (วาจาผิด ได้แก่ วจีทุจริต ๔) ๔. มิจฉากัมมันตะ (กระทำผิด
ได้แก่ กายทุจริต ๓) ๕. มิจฉาอาชีวะ (เลี้ยงชีพผิด ได้แก่ เลี้ยงชีพในทางทุจริต) ๖.
มิจฉาวายามะ (พยายามผิด ได้แก่ ความเพียรตรงข้ามกับสัมมาวายามะ) ๗. มิจฉาสติ
(ระลึกผิด ได้แก่ ความระลึกถึงเรื่องราวที่ล่วงแล้ว เช่น ระลึกถึงการได้ทรัพย์ การได้
ยศ เป็ นต้น ในทางอกุศล อันจัดเป็ นสติเทียม) เป็ นเหตุชักนำใจให้เกิดกิเลส มีโลภะ
มานะ อสสา มัจฉริยะ เป็ นต้น ๘. มิจฉาสมาธิ (ตั้งใจผิด ได้แก่ ตั้งจิตเพ่งเล็ง จดจ่อ
ปั กใจแน่วแน่ในกามราคะพยาบาท เป็ นต้น หรือเจริญสมาธิแล้ว หลงเพลิน ติด
หมกมุ่น ตลอดจนนำไปใช้ผิดทาง ไม่เป็ นไปเพื่อญาณทัสสนะ และความหลุดพ้น) ๙.
มิจฉาญาณ (รู้ผิด ได้แก่ ความหลงผิดที่แสดงออกในการคิดอุบายทำความชั่วและใน
การพิจารณาทบทวน ว่าความชั่วนั้น ๆ ตนกระทำได้อย่างดีแล้ว เป็ นต้น) ๑๐. มิจฉา
วิมุตติ (พ้นผิด ได้แก่ ยังไม่ถึงวิมุตติ สำคัญว่าถึงวิมุตติ หรือสำคัญผิดในสิ่งที่มิใช่วิมุตติ)
223

(พ.ธ. หน้า ๓๒๒)


มิตรปฏิรูป คนเทียมมิตร มิตรเทียม มิใช่มิตรแท้ มี ๔ พวก ได้แก่
1. คนปอกลอก มีลักษณะ ๔ คือ ๑.๑ คิดเอาได้ฝ่ ายเดียว ๑.๒ ยอมเสียแต่น้อย
โดยหวังจะเอาให้มาก ๑.๓ ตัวเองมีภัย จึงมาทำกิจของเพื่อน ๑.๔ คบเพื่อน
เพราะ เห็นแก่ประโยชน์ของตัว
๒. คนดีแต่พูด มีลักษณะ ๔ คือ ๒.๑ ดีแต่ยกเรื่องที่ผ่านมาแล้วมาปราศรัย ๒.๒ ดี
แต่ อ้างสิ่งที่ยังมีดี แต่อ้างสิ่งที่ยังไม่มีมาปราศรัย ๒.๓ สงเคราะห์ด้วยสิ่งที่ไร้
ประโยชน์
๒.๔ เมื่อเพื่อนมีกิจอ้างแต่เหตุขัดข้อง
๓. คนหัวประจบมีลักษณะ ๔ คือ ๓.๑ จะทำชั่วก็คล้อยตาม ๓.๒ จะทำดีก็คล้อย
ตาม
๓.๓ ต่อหน้าสรรเสริญ ๓.๔ ลับหลังนินทา
๔. คนชวนฉิบหายมีลักษณะ ๔ ๔.๑ คอยเป็ นเพื่อนดื่มน้ำเมา ๔.๒ คอยเป็ นเพื่อน
เที่ยวกลางคืน
๔.๓ คอยเป็ นเพื่อนเที่ยวดูการเล่น ๔.๔ คอยเป็ นเพื่อนไปเล่นการพนัน (พ.ธ. หน้า
๑๕๔ – ๑๕๕)
มิตรน้ำใจ ๑. เพื่อนมีทุกข์พลอยทุกข์ด้วย ๒. เพื่อนมีสุขพลอยดีใจ ๓. เขาติเตียน
เพื่อน ช่วยยับยั้ง แก้ไขให้ ๔. เขาสรรเสริญเพื่อน ช่วยพูดเสริมสนับสนุน (พ.ศ. หน้า
๒๓๔)
รูป ๑. สิ่งที่ต้องสลายไปเพราะปั จจัยต่าง ๆ อันขัดแย้ง สิ่งที่เป็ นรูปร่างพร้อมทั้งลักษณะ
อาการของมัน ส่วนร่างกาย จำแนกเป็ น ๒๘ คือ มหาภูตรูป หรือธาตุ ๔ และอุปาทาย
รูป ๒. อารมณ์ที่รู้ได้ด้วยจักษุ สิ่งที่ปรากฏแก่ตา ข้อ ๑ ในอารมณ์ ๖ หรืออายตนะ
ภายนอก ๓. ลักษณนามใช้เรียกพระภิกษุสามเณร เช่น ภิกษุรูปหนึ่ง (พ.ศ. หน้า
๒๕๓)
วัฏฏะ ๓ หรือไตรวัฎฎ์ การวนเวียน การเวียนเกิด เวียนตาย การเวียนว่ายตายเกิด ความ
เวียนเกิด หรือวนเวียนด้วยอำนาจกิเลส กรรม และวิบาก เช่น กิเลสเกิดขึ้นแล้วให้
ทำกรรม เมื่อทำกรรมแล้วย่อมได้ผลของกรรม เมื่อได้รับผลของกรรมแล้ว กิเลสก็เกิด
อีกแล้ว ทำกรรมแล้วเสวยผลกรรมหมุนเวียนต่อไป (พ.ธ. หน้า ๒๖๖)
224

วาสนา อาการกายวาจา ที่เป็ นลักษณะพิเศษของบุคคล ซึ่งเกิดจากกิเลสบางอย่าง และได้


สั่งสมอบรมมาเป็ นเวลานานจนเคยชินติดเป็ นพื้นประจำตัว แม้จะละกิเลสนั้นได้แล้ว
แต่ก็อาจจะละอาการกายวาจาที่เคยชินไม่ได้ เช่น คำพูดติดปาก อาการเดินที่เร็วหรือ
เดินต้วมเตี้ยม เป็ นต้น ท่านขยายความว่า วาสนา ที่เป็ นกุศลก็มี เป็ นอกุศลก็มี เป็ น
อัพยากฤต คือ เป็ นกลาง ๆ ไม่ดีไม่ชั่วก็มี ที่เป็ นกุศลกับอัพยากฤตนั้นไม่ต้องละ แต่ที่
เป็ นอกุศลซึ่งควรจะละนั้น แบ่งเป็ น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่จะเป็ นเหตุให้เข้าถึงอบายกับ
ส่วนที่เป็ นเหตุให้เกิดอาการแสดงออกทางกายวาจาแปลก ๆ ต่าง ๆ ส่วนแรก พระ
อรหันต์ทุกองค์ละได้ แต่ส่วนหลังพระพุทธเจ้าเท่านั้นละได้ พระอรหันต์อื่นละไม่ได้ จึงมี
คำกล่าวว่าพระพุทธเจ้าเท่านั้นละกิเลสทั้งหมดได้ พร้อมทั้งวาสนา; ในภาษาไทย คำว่า
วาสนามีความหมายเพี้ยนไป กลายเป็ นอำนาจบุญเก่า หรือกุศลที่ทำให้ได้รับลาภยศ (
ไม่มีใน พ.ศ. ฉบับที่พิมพ์เป็ นเล่ม แต่ค้นได้จากแผ่นซีดีรอม พ.ศ. ของสมาคมศิษย์เก่า
มหาจุฬาฯ)
วิตก ความตรึก ตริ กายยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ การคิด ความดำริ “ไทยใช้ว่าเป็ นห่วงกังวล” แบ่ง
ออกเป็ นกุศลวิตก ๓ และอกุศลวิตก ๓ (พ.ศ. หน้า ๒๗๓)
วิบัติ ๔ ความบกพร่องแห่งองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งไม่อำนวยแก่การที่กรรมดีจะปรากฏผล
แต่กลับเปิ ดช่องให้กรรมชั่วแสดงผล พูดสั้น ๆ ว่าส่วนประกอบบกพร่อง เปิ ดช่องให้
กรรมชั่ววิบัติมี ๔ คือ ๑. คติวิบัติ วิบัติแห่งคติ หรือคติ
เสีย คือเกิดอยู่ในภพ ภูมิ ถิ่น ประเทศ สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะ ไม่เกื้อกูล ทางดำเนินชีวิต
ถิ่นที่ไปไม่อำนวย ๒. อุปธิวิบัติ วิบัติแห่งร่างกาย หรือ รูปกายเสีย เช่น ร่างกายพิกล
พิการ อ่อนแอ ไม่สวยงาม กิริยาท่าทางน่าเกลียด ไม่ชวนชมตลอดจนสุขภาพที่ไม่ดี เจ็บ
ป่ วย มีโรคมาก ๓. กาลวิบัติ วิบัติแห่งกาลหรือหรือกาลเสีย คือเกิดอยู่ในยุคสมัยที่บ้าน
เมืองมีภัยพิบัติไม่สงบเรียบร้อย ผู้ปกครองไม่ดี สังคมเสื่อมจากศีลธรรม มากด้วยการ
เบียดเบียน ยกย่องคนชั่ว บีบคั้นคนดี ตลอดจนทำอะไรไม่ถูกาลเวลา ไม่ถูกจังหวะ ๔.
ปโยควิบัติ วิบัติแห่งการประกอบ หรือกิจการเสีย เช่น ฝั กใฝ่ ในกิจการหรือเรื่องราวที่
ผิด ทำการไม่ตรงตามความถนัด ความสามารถ ใช้ความเพียร
ไม่ถูกต้อง ทำการครึ่ง ๆ กลาง ๆ เป็ นต้น (พ.ธ. หน้า ๑๖๐- ๑๖๑)
วิปั สสนาญาณ ๙ ญาณในวิปั สสนา ญาณที่นับเข้าในวิปั สสนา เป็ นความรู้ที่ทำให้เกิดความ
เห็นแจ้ง เข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามเป็ นจริง ได้แก่ ๑. อุทยัพพยานุปั ส
สนาณาณ คือ ญาณอันตามเห็นความเกิดและดับของเบญจขันธ์ ๒. ภังคานุปั สสนา
225

ญาณ คือ ญาณอันตามเห็นความสลาย เมื่อเกิดดับก็คำนึงเด่นชัด ในส่วนดับของ


สังขารทั้งหลาย ต้องแตกสลายทั้งหมด ๓. ภยตูปั ฏฐานญาณ คือ ณาณอันมองเห็น
สังขาร ปรากฏเป็ นของน่ากลัว ๔. อาทีนวานุปั สสนาญาณ คือ ญาณอันคำนึงเห็นโทษ
ของสังขารทั้งหลาย ว่าเป็ นโทษบกพร่องเป็ นทุกข์ ๕. นิพพิทานุปั สสนาญาณ คือ
ญาณอันคำนึงเห็นความหน่ายของสังขาร ไม่เพลินเพลิน ติดใจ ๖. มุญจิตุกัมยตา
ญาณ คือ ญาณอันคำนึงด้วย ใคร่พ้นไปเสีย คือ หน่ายสังขารทั้งหลาย
ปรารถนาที่จะพ้นไปเสีย ๗. ปฏิสังขานุปั สสนาญาณ คือ ญาณอันคำนึงพิจารณาหา
ทาง เมื่อต้องการจะพ้นไปเสีย เพื่อมองหาอุบายจะปลดเปลื้องออกไป ๘.
สังขารุเปกขาณาณ คือ ญาณอันเป็ นไปโดยความเป็ นกลางต่อสังขาร คือ พิจารณา
สังขารไม่ยินดียินร้ายในสังขารทั้งหลาย ๙. สัจจานุโลมิกญาณ หรือ อนุโลมญาณ คือ
ณาณอันเป็ นไปโดยอนุโลกแก่การหยั่งรู้อริยสัจ แล้วแล้วมรรคญาณให้สำเร็จความเป็น
อริยบุคคลต่อไป (พ.ศ. หน้า ๒๗๖ – ๒๗๗)
วิมุตติ ๕ ความหลุดพ้น ภาวะไร้กิเลส และไม่มีทุกข์ มี ๕ ประการ คือ ๑. วิกขัมภนวิมุตติ
ดับโดยข่มไว้ คือ ดับกิเลส ๒. ตทังควิมุตติ ดับกิเลสด้วยธรรมที่เป็ นคู่ปรับธรรมที่ตรง
กันข้าม ๓. สมุจเฉทวิมุตติ ดับด้วยตัดขาด ดับกิเลสเสร็จสิ้นเด็ดขาด ๔. ปฏิ
ปั สสัทธิวิมุตติ ดับด้วยสงบระงับ โดยอาศัย โลกุตตรมรรคดับกิเลส ๕. นิสรณ
วิมุตติ ดับด้วยสงบระงับ คือ อาศัยโลกุตตรธรรมดับกิเลสเด็ดขาดเสร็จสิ้น (พ.ธ. หน้า
๑๙๔)
โลกบาลธรรม ธรรมคุ้มครองโลก ได้แก่ ปกครองควบคุมใจมนุษย์ไว้ให้อยู่ในความดี มิให้
ละเมิดศีลธรรม และให้อยู่กันด้วยความเรียบร้อยสงบสุข ไม่เดือดร้อนสับสนวุ่นวาย มี
๒ อย่างได้แก่ ๑. หิริ ความอายบาป ละอายใจต่อการทำความชั่ว ๒.
โอตตัปปะ ความกลัวบาปเกรงกลัวต่อความชั่ว และผลของกรรมชั่ว (พ.ศ. หน้า ๒๖๐)
ฤาษี หมายถึง ผู้แสวงธรรม ได้แก่ นักบวชนอกพระศาสนาซึ่งอยู่ในป่ า ชีไพร ผู้แต่งคัมภีร์
พระเวท
(พ.ศ. หน้า ๒๕๖)
สติปั ฏฐาน ๔ ที่ตั้งของสติ การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นตามความเป็ นจริง
คือ ตามสิ่งนั้น ๆ มันเป็ นของมันเอง มี ๔ ประการ คือ
๑. กายานุปั สสนาสติปั ฏฐาน (การตั้งสติกำหนดพิจารณากายให้รู้เห็นตามเป็ นจริงว่า
เป็ นแต่เพียงกาย ไม่ใช่สัตว์บุคคล ตัวตนเราเขา) ท่านจำแนกวิธีปฏิบัติได้หลายอย่าง
226

คือ อานาปานสติ กำหนดลมหายใจ ๑ อิริยาบถ กำหนดรู้ทันอิริยาบถ ๑)


สัมปชัญญะ สร้างสัมปชัญญะในการกระทำความเคลื่อนไหวทุกอย่าง ๑) ปฏิกูล
มนสิการ พิจารณาส่วนประกอบอันไม่สะอาดทั้งหลายที่ประชุมเข้าเป็ นร่างกายนี้ ๑)
ธาตุมนสิการ พิจารณาเห็น

ร่างกายของตน โดยสักว่าเป็ นธาตุแต่ละอย่างๆ


๒. เวทนานุปั สสาสติปั ฏฐาน (การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนาให้รู้เห็นตามเป็ นจริง
ว่า เป็ นแต่เพียงเวทนา ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติรู้ชัดเวทนาอันเป็ นสุข
ก็ดี ทุกข์ก็ดี เฉย ๆ ก็ดี ทั้งที่เป็ นสามิสและเป็ นนิรามิสตามที่เป็ นไปอยู่ขณะนั้น ๆ
๓. จิตตานุปั สสนาสติปั ฏฐาน (การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต ให้รู้เห็นตามเป็ นจริงว่า
เป็ นแต่เพียงจิต ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติรู้ชัดจิตของตนที่มีราคะ ไม่มี
ราคะ มีโทสะ ไม่มีโทสะ
มีโมหะ ไม่มีโมหะ เศร้าหมองหรือผ่องแผ้ว ฟุ้งซ่านหรือเป็ นสมาธิ ฯลฯ อย่างไร ๆ
ตามที่เป็ นไปอยู่ในขณะนั้น ๆ
๔. ธัมมานุปั สสนาสติปั ฏฐาน (การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม ให้รู้เห็นตามเป็ นจริง
ว่า เป็ นแต่เพียงธรรม ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนของเรา) คือ มีสติรู้ชัดธรรมทั้งหลาย
ได้แก่ นิวรณ์ ๕ ขันธ์ ๕
อายตนะ ๑๒ โพชฌงค์ ๗ อริยสัจ ๔ ว่าคืออะไร เป็ นอย่างไร มีในตนหรือไม่ เกิด
ขึ้น
เจริญบริบูรณ์และดับได้อย่างไร เป็ นต้น ตามที่เป็ นจริงของมันอย่างนั้น ๆ (พ.ธ.
หน้า ๑๖๕)
สมณะ หมายถึง ผู้สงบ หมายถึงนักบวชทั่วไป แต่ในพระพุทธศาสนา ท่านให้ความหมาย
จำเพาะ หมายถึง ผู้ระดับบาป ได้แก่ พระอริยบุคคล และผู้ปฏิบัติเพื่อระงับ
บาป ได้แก่ ผู้ปฏิบัติธรรมเพื่อเป็ น พระอริยบุคคล (พ.ศ. หน้า ๒๙๙)
สมบัติ ๔ คือ ความเพียบพร้อมสมบูรณ์แห่งองค์ประกอบต่าง ๆ ซึ่งช่วยเสริมส่งอำนวย
โอกาสให้กรรมดีปรากฏผล และไม่เปิ ดช่องให้กรรมชั่วแสดงผล มี ๔ อย่าง คือ ๑.
คติสมบัติ สมบัติแห่งคติ ถึงพร้อมด้วยคติ หรือคติให้ คือ เกิดอยู่ในภพ ภูมิ ถิ่น
ประเทศที่เจริญ เหมาะหรือเกื้อกูล ตลอดจนในระยะสั้นคือ ดำเนินชีวิตหรือไปในถิ่นที่
อำนวย ๒. อุปธิสมบัติ สมบัติแห่งร่างกาย ถึงพร้อมด้วยร่างกาย คือมีรูปร่างสวย
227

ร่างกายสง่างาม หน้าตาท่าทางดี น่ารัก น่านิยมเลื่อมใส สุขภาพดี แข็งแรง ๓. กาล


สมบัติ สมบัติแห่งกาล ถึงพร้อมด้วยกาลหรือกาลให้ คือ เกิดอยู่ในสมัยที่บ้านเมืองมี
ความสงบสุข ผู้ปกครองดี ผู้คนมีคุณธรรมยกย่องคนดี ไม่ส่งเสริมคนชั่ว ตลอดจนใน
ระยะเวลาสั้น คือ ทำอะไรถูกกาลเวลา ถูกจังหวะ ๔. ปโยคสมบัติ สมบัติแห่งการ
ประกอบ ถึงพร้อมด้วยการประกอบกิจ หรือกิจการให้ เช่น ทำเรื่องตรงกับที่เขา
ต้องการ ทำกิจตรงกับความถนัดความสามารถของตน ทำการถึงขนาดถูกหลักครบ
ถ้วน ตามเกณฑ์หรือเต็มอัตรา ไม่ใช่ทำครึ่ง ๆ กลาง ๆ หรือเหยาะแหยะ หรือไม่ถูก
เรื่องกัน รู้จักจัดทำ รู้จักดำเนินการ (พ.ธ. หน้า ๑๖๑ – ๑๖๒)
สมาบัติ ภาวะสงบประณีตซึ่งพึ่งเข้าถึง; สมาบัติมีหลายอย่าง เช่น ณานสมบัติ ผลสมาบัติ
อนุปุพพวิหารสมาบัติ (พ.ศ. หน้า ๓๐๓)
สติ ความระลึกได้ นึกได้ ความไม่เผลอ การคุมใจได้กับกิจ หรือคุมจิตใจไว้กับสิ่งที่
เกี่ยวข้อง จำการทีทำและคำพูดแม้นานได้ (พ.ศ. หน้า ๓๒๗)
สังฆคุณ ๙ คุณของพระสงฆ์ ๑. พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเป็ นผู้ปฏิบัติดี ๒. เป็ นผู้
ปฏิบัติตรง ๓. เป็ นผู้ปฏิบัติถูกทาง ๔. เป็ นผู้ปฏิบัติสมควร ๕. เป็ นผู้ควร
แก่การคำนับ คือ ควรกับของที่เขานำมาถวาย ๖. เป็ นผู้ควรแก่การตอนรับ ๗. เป็ น
ผู้ควรแก่ทักษิณา ควรแก่ของทำบุญ ๘. เป็ นผู้ควรแก่การกระทำอัญชลี ควรแก่การก
ราบไหว้ ๙. เป็ นนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก เป็ นแหล่งปลูกฝั งและเผยแพร่ความดีที่
ยอดเยี่ยมของโลก(พ.ธ. หน้า ๒๖๕-๒๖๖)
สังเวชนียสถาน สถานที่ตั้งแห่งความสังเวช ที่ที่ให้เกิดความสังเวช มี ๔ คือ ๑. ที่
พระพุทธเจ้าประสูติ คือ อุทยานลุมพินี ปั จจุบันเรียกลุมพินีหรือรุมมินเด (Lumbini
หรือ Rummindei) ๒. ที่พระพุทธเจ้า
ตรัสรู้ คือ ควงโพธิ์ ที่ตำบลพุทธคยา (Buddha Gaya หรือ Bodh – Gaya) ๓. ที่
พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนา คือป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี
ปั จจุบันเรียกสารนาถ ๔. ที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน คือที่สาลวโนทยาน เมืองกุสิ
นารา หรือกุสินคร บัดนี้เรียกกาเซีย (Kasia หรือ Kusinagara) (พ.ศ. หน้า ๓๑๗)
สันโดษ ความยินดี ความพอใจ ยินดีด้วยปั จจัย ๔ คือ ผ้านุ่งห่ม อาหารที่นอนที่นั่ง และยา
ตามมีตามได้ ยินดีของของตน การมีความสุข ความพอใจด้วยเครื่องเลี้ยงชีพที่หามา
ได้ด้วยเพียรพยายามอันชอบธรรมของตน ไม่โลภ ไม่ริษยาใคร (พ.ศ. หน้า ๓๒๔)
228

สันโดษ ๓ ๑. ยถาลาภสันโดษ ยินดีตามที่ได้ คือ ได้สิ่งใดมาด้วยความเพียรของตน ก็พอใจ


ด้วยสิ่งนั้น ไม่ได้เดือดร้อนเพราะของที่ไม่ได้ ไม่เพ่งเล็งอยากได้ของคนอื่นไม่ริษยาเขา
๒. ยถาพลสันโดษ คือ ยินดีตามกำลัง คือ พอใจเพียงแค่พอแก่กำลังร่างกาย สุขภาพ
และขอบเขตการใช้สอยของตน ของที่เกินกำลังก็ไม่หวงแหนเสียดายไม่เก็บไว้ให้เสีย
เปล่า หรือฝื นใช้ให้เป็ นโทษแก่ตน ๓. ยถาสารุปปสันโดษ ยินดีตามสมควร คือ พอใจ
ตามที่สมควร คือ พอใจตามที่สมควรแก่ภาวะฐานะแนวทางชีวิต และจุดหมายแห่ง
การบำเพ็ญกิจของตน เช่น ภิกษุพอใจแต่องอันเหมาะกับสมณภาวะ หรือได้ของใช้ที่
ไม่เหมาะสมกับตนแต่จะมีประโยชน์แก่ผู้อื่นก็นำไปมอบให้แก่เขา เป็ นต้น (พ.ศ. หน้า
๓๒๔)
สัทธรรม ๓ ธรรมอันดี ธรรมที่แท้ ธรรมของสัตบุรุษ หลักหรือแก่นศาสนา มี ๓ ประการ
ได้แก่
1. ปริยัติสัทธรรม (สัทธรรมคือคำสั่งสอนอันจะต้องเล่าเรียน ได้แก่ พุทธพจน์)
2. ปฏิบัติสัทธรรม (สัทธรรมคือสิ่งพึงปฏิบัติ ได้แก่ ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปั ญญา)
3. ปฏิเวธสัทธรรม (สัทธรรมคือผลอันจะพึงเข้าถึง หรือบรรลุด้วยการปฏิบัติ ได้แก่
มรรค ผล และนิพพาน (พ.ธ. หน้า ๑๒๕)
สัปปุริสธรรม ๗ ธรรมของสัตบุรุษ ธรรมที่ทำให้เป็ นสัตบุรุษ คุณสมบัติของคนดี ธรรม
ของผู้ดี ๑. ธัมมัญญุตา คือ ความรู้จักเหตุ คือ รู้หลักความจริง ๒.
อัตถัญญุตา คือ ความรู้จักผล คือรู้ความ
มุ่งหมาย ๓. อัตตัญญุตา คือ ความรู้จักตน คือ รู้ว่าเรานั้นว่าโดยฐานะ ภาวะ เพศ
กำลังความรู้ ความสามารถ ความถนัด และคุณธรรม เป็ นต้น ๔. มัตตัญญุตา คือ
ความรู้จักประมาณ คือ ความพอดี ๕. กาลัญญุตา คือ ความรู้จักกาล คือ รู้จักกาล
เวลาอันเหมาะสม ๖. ปริสัญญุตา คือ ความรู้จักบริษัทคือรู้จักชุมชนและรู้จักที่
ประชุม ๗. ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา คือ ความรู้จักบุคคล คือความ
แตกต่างแห่งบุคคล (พ.ธ. หน้า ๒๔๔)
สัมปชัญญะ ความรู้ตัวทั่วพร้อม ความรู้ตระหนัก ความรู้ชัดเข้าใจชัด ซึ่งสิ่งนึกได้ มักมาคู่กับสติ
(พ.ศ. หน้า ๒๔๔)
สาราณียธรรม ๖ ธรรมเป็ นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง ธรรมเป็ นเหตุให้ระลึกถึงกัน
หลักการอยู่ร่วมกัน เรียกอีกอย่างว่า “สาราณียธรรม” ๑. เมตตากายกรรม มีเมตตา
กายกรรมทั้งต่อหน้าและลับหลัง
229

๒. เมตตาวจีกรรม มีเมตตาวจีกรรมทั้งต่อหน้าและลับหลัง ๓. เมตตา มโนกรรม มี


เมตตามโนกรรมทั้งต่อหน้าและลับหลัง ๔. สาธารณโภคี แบ่งปั นสิ่งของที่ได้มาไม่หวง
แหน ใช้ผู้เดียว ๕. สีลสามัญญตา มีความประพฤติร่วมกันในข้อที่เป็ นหลักการสำคัญ
ที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้นสิ้นทุกข์หรือขจัดปั ญหา ๖.ทิฏฐิสามัญญตา มีความเห็นชอบ
ดีงาม เช่นเดียวกับหมู่คณะ (พ.ธ. หน้า ๒๓๓-๒๓๕)
สุข ๒ ความสบาย ความสำราญ มี ๒ อย่าง ได้แก่ ๑. กายิกสุข สุขทางกาย ๒. เจตสิก
สุข สุขทางใจ อีกหมวดหนึ่งมี ๒ คือ ๑. สามิสสุข สุขอิงอามิส คือ อาศัยกามคุณ
๒. นิรามิสสุข สุขไม่อิงอามิส คือ อิงเนกขัมมะ (พ.ศ. หน้า ๓๔๓)
ศรัทธา ความเชื่อ ความเชื่อถือ ความเชื่อมั่นในสิ่งที่ดีงาม (พ.ศ. หน้า ๒๙๐)
ศรัทธา ๔ ความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล ๔ ประการคือ ๑. กัมมสัทธา (เชื่อกรรม เชื่อว่า
กรรมมีอยู่จริง คือ เชื่อว่าเมื่อทำอะไรโดยมีเจตนา คือ จงใจทำทั้งที่รู้ ย่อมเป็ นกรรม
คือ เป็ นความชั่ว ความดี มีขึ้น ในตน เป็ นเหตุปั จจัยก่อให้เกิดผลดีผลร้ายสืบ
เนื่องต่อไป การกระทำไม่ว่างเปล่า และเชื่อว่าผลที่ต้องการจะสำเร็จได้ด้วยการกระ
ทำ มิใช่ด้วยอ้อนวอนหรือนอนคอยโชค เป็ นต้น ๒. วิปากสัทธา (เชื่อวิบาก เชื่อผล
ของกรรม เชื่อว่าผลของกรรมมีจริง คือ เชื่อว่ากรรมที่สำเร็จต้องมีผล และผลต้อง มี
เหตุ ผลดีเกิดจากกรรมดี และผลชั่วเกิดจากกรรมชั่ว ๓. กัมมัสสกตาสัทธา (ความ
เชื่อที่สัตว์มีกรรมเป็ นของตน เชื่อว่าแต่ละคนเป็ นเจ้าของจะต้องรับผิดชอบเสวยวิบาก
เป็ นไปตามกรรมของตน ๔. ตถาคตโพธิสัทธา (เชื่อความตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
มั่นใจในองค์พระตถาคตว่าทรงเป็ นพระสัมมาสัมพุทธะ ทรงพระคุณทั้ง ๙ ประการ
ตรัสธรรม บัญญัติวินัยไว้ด้วยดี ทรงเป็ นผู้นำทางที่แสดงให้เห็นว่ามนุษย์ คือเราทุกคน
นี้ หากฝึ กตนด้วยดีก็สามารถเข้าถึงภูมิธรรมสูงสุด บริสุทธิ์หลุดพ้นได้ดังที่พระองค์ได้
ทรงบำเพ็ญไว้ (พ.ธ. หน้า ๑๖๔)
สงเคราะห์ การช่วยเหลือ การเอื้อเฟื้ อเกื้อกูล (พ.ศ. หน้า ๒๒๘)
สังคหวัตถุ ๔ เรื่องสงเคราะห์กัน คุณธรรมเป็ นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผู้อื่นไว้ได้ หลัก
การสงเคราะห์ คือ ช่วยเหลือกันยึดเหนี่ยวใจกันไว้ และเป็ นเครื่องเกาะกุมประสาน
โลก ได้แก่ สังคมแห่งหมู่สัตว์ไว้ ดุจสลักเกาะยึดรถที่กำลังแล่นไปให้คงเป็ นรถ และวิ่ง
แล่นไปได้มี ๔ อย่างคือ ๑. ทาน การแบ่งปั นเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่กัน ๒. ปิ ยวาจา พูดจา
น่ารัก น่านิยมนับถือ ๓. อัตถจริยา บำเพ็ญประโยชน์
230

๔.สมานัตตนา ความมีตนเสมอ คือ ทำตัวให้เข้ากันได้ เช่น ไม่ถือตัว ร่วมสุข ร่วม


ทุกข์กัน เป็ นต้น (พ.ศ. หน้า ๓๑๐)
สัมมัตตะ ความเป็ นถูก ภาวะที่ถูก มี ๑๐ อย่าง ๘ ข้อต้น ตรงกับองค์มรรคทั้ง ๘ ข้อ เพิ่ม
๒ ข้อท้าย คือ ๙. สัมมาญาณ รู้ชอบได้แก่ผลญาณ และปั จจเวกขณญาณ
๑๐. สัมมาวิมุตติ พ้นชอบได้แก่ อรหัตตผลวิมุตติ; เรียกอีกอย่าง อเสขธรรม
๑๐ (พ.ศ. หน้า ๓๒๙)
สุจริต ๓ ความประพฤติดี ประพฤติชอบตามคลองธรรม มี ๓ คือ ๑. กายสุจริต ประพฤติ
ชอบทางกาย ๒. วจีสุจริต ประพฤติชอบทางวาจา ๓. มโนสุจริต ประพฤติ
ชอบทางใจ (พ.ศ. หน้า ๓๔๕)
หิริ ความละอายต่อการทำชั่ว (พ.ศ. หน้า ๓๕๕)
อกุศลกรรมบถ ๑๐ ทางแห่งอกุศลกรรม ทางความชั่ว กรรมชั่วอันเป็ นทางนำไปสู่ความ
เสื่อม ความทุกข์ หรือทุคติ ๑. ปาณาติบาต การทำชีวิตให้ตกล่วง ๒. อทินนาทาน
การถือเอาของที่เขามิได้ให้ โดยอาการขโมย ลักทรัพย์ ๓. กาเมสุมิจฉาจาร ความ
ประพฤติผิดทางกาม ๔. มุสาวาท การพูดเท็จ ๕. ปิ สุณวาจา วาจาส่อเสียด
๖. ผรุสวาจา วาจาหยาบ ๗. สัมผัปปลาปะ พูดเพ้อเจ้อ ๘. อภิชฌา เพ่งเล็งอยากได้
ของเขา ๙. พยาบาท คิดร้ายผู้อื่น ๑๐. มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิดจากคลองธรรม (พ.ธ. หน้า
๒๗๙, ๓๐๙)
อกุศลมูล ๓ รากเหง้าของอกุศล ต้นตอของความชั่ว มี ๓ คือ ๑. โลภะ (ความอยากได้)
๒. โทสะ (ความคิดประทุษร้าย) ๓. โมหะ (ความหลง) ๘ (พ.ธ. หน้า ๘๙)
อคติ ๔ ฐานะอันไม่พึงถึง ทางความประพฤติที่ผิด ความไม่เที่ยงธรรม ความลำเอียง มี ๔
อย่างคือ ๑. ฉันทาคติ (ลำเอียงเพราะชอบ) ๒. โทสาคติ (ลำเอียงเพราะ
ชัง) ๓. โมหาคติ (ลำเอียงเพราะหลง พลาดผิดเพราะเขลา) ๔. ภยาคติ (ลำเอียง
เพราะกลัว) (พ.ธ. หน้า ๑๗๔)
อนัตตา ไม่ใช่อัตตา ไม่ใช่ตัวตน (พ.ศ. หน้า ๓๖๖)
อบายมุข ช่องทางของความเสื่อม เหตุเครื่องฉิบหาย เหตุย่อยยับแห่งโภคทรัพย์ ทางแห่ง
ความพินาศ (พ.ศ. หน้า ๓๗๗)
อบายมุข ๔ ๑. อิตถีธุตตะ (เป็ นนักเลงหญิง นักเที่ยวผู้หญิง) ๒. สุราธุตตะ (เป็ นนักเลง
สุรา นักดื่ม) ๓. อักขธุตตะ (เป็ นนักการพนัน) ๔. ปาปมิตตะ (คบคนชั่ว)
(พ.ศ. หน้า ๓๗๗)
231

อบายมุข ๖ ๑. ติดสุราและของมึนเมา ๑.๑ ทรัพย์หมดไป ๆ เห็นชัด ๆ ๑.๒ ก่อการ


ทะเลาะวิวาท ๑.๓ เป็ นบ่อเกิดแห่งโรค ๑.๔ เสียเกียรติ เสียชื่อเสียง
๑.๕ ทำให้ไม่รู้อาย ๑.๖ ทอนกำลังปั ญญา ๒. ชอบเที่ยวกลางคืน มีโทษ ๖ อย่างคือ
๒.๑ ชื่อว่าไม่รักษาตน ๒.๒ ชื่อว่าไม่รักษาลูกเมีย ๒.๓ ชื่อว่าไม่รักษาทรัพย์
สมบัติ ๒.๔ เป็ นที่ระแวงสงสัย ๒.๕ เป็ นเป้ าให้เขาใส่ความหรือข่าวลือ ๒.๖ เป็ น
ที่มาของเรื่องเดือดร้อนเป็ นอันมาก ๓. ชอบเที่ยวดูการละเล่น มีโทษ โดยการงาน
เสื่อมเสียเพราะมีใจกังวลคอยคิดจ้อง กับเสียเวลาเมื่อไปดูสิ่งนั้น ๆ ทั้ง ๖ กรณี คือ
๓.๑ รำที่ไหนไปที่นั่น ๓.๒ – ๓.๓ ขับร้อง ดนตรี เสภา เพลงเถิดเทิงที่ไหนไปที่นั่น
๔. ติดการพนัน มีโทษ ๖ คือ ๔.๑ เมื่อชนะย่อมก่อเวร ๔.๒ เมื่อแพ้ก็เสียดายทรัพย์ที่
เสียไป ๔.๓ ทรัพย์หมดไป ๆ เห็นชัด ๆ ๔.๔ เข้าที่ประชุมเขาไม่เชื่อถือถ้อยคำ ๔.๕
เป็ นที่หมิ่นประมาทของเพื่อนฝูง ๔.๖ ไม่เป็ นที่พึงประสงค์ของผู้ที่จะหาคู่ครองให้ลูก
ของเขา เพราะเห็นว่าจะเลี้ยงลูกเมียไม่ได้ ๕. คบคนชั่วมีโทษโดยนำให้กลายเป็ นคน
ชั่วอย่างที่ตนคบทั้ง ๖ ประเภท คือ ได้เพื่อนที่จะนำให้กลายเป็ น ๕.๑ นักการพนัน
๕.๒ นักเลงหญิง ๕.๓ นักเลงเหล้า ๕.๔ นักลวงของปลอม ๕.๕ นักหลอกลวง
๕.๖ นักเลงหัวไม้ ๖. เกียจคร้านการงาน มีโทษโดยทำให้ยกเหตุต่าง ๆ เป็ นข้ออ้าง
ผิดเพี้ยน ไม่ทำการงานโภคะใหม่ก็ไม่เกิด โภคะที่มีอยู่ก็หมดสิ้นไป คือ ให้อ้างไปทั้ง ๖
กรณีว่า ๖.๑ – ๖.๖ หนาวนัก ร้อนนัก เย็นไปแล้ว ยังเช้านัก หิวนัก อิ่มนัก แล้วไม่
ทำการงาน (พ.ธ. หน้า ๑๗๖ – ๑๗๘)
อปริหานิยธรรม ๗ ธรรมอันไม่เป็ นที่ตั้งแห่งความเสื่อม เป็ นไปเพื่อความเจริญฝ่ ายเดียวมี ๗
ประการ ได้แก่ ๑. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ ๒. พร้อมเพรียงกันประชุม พร้อม
เพรียงกันเลิกประชุม พร้อมเพรียงกันทำกิจกรรมที่พึงทำ ๓. ไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้
บัญญัติไว้ (อันขัดต่อหลักการเดิม) ๔. ท่านเหล่าใดเป็ นผู้ใหญ่ ควรเคารพนับถือท่าน
เหล่านั้น ๕. บรรดากุลสตรี กุลกุมารีทั้งหลาย ให้อยู่ดีโดยมิถูก ข่มเหง หรือฉุด
คร่า ขืนใจ ๖. เคารพสักการบูชา เจดีย์หรืออนุสาวรีย์ประจำชาติ ๗. จัดให้ความ
อารักขา คุ้มครอง ป้ องกันอันชอบธรรมแก่พระอรหันต์ทั้งหลาย (รวมถึงพระภิกษุ ผู้
ปฏิบัติดี
ปฏิบัติชอบด้วย) (พ.ธ. หน้า ๒๔๖ – ๒๔๗)
อธิปไตย ๓ ความเป็ นใหญ่ มี ๓ อย่าง คือ ๑. อัตตาธิปไตย ความมีตนเป็ นใหญ่ ถือตน
เป็ นใหญ่ กระทำการด้วยปรารภตนเป็ นประมาณ ๒. โลกาธิปไตย ความมีโลกเป็ น
232

ใหญ่ ถือโลกเป็ นใหญ่ กระทำการด้วยปรารภนิยมของโลกเป็ นประมาณ ๓. ธัมมาธิป


ไตย ความมีธรรมเป็ นใหญ่ ถือธรรมเป็ นใหญ่, กระทำการด้วยปรารภความถูกต้อง
เป็ นจริง สมควรตามธรรมเป็ นประมาณ (พ.ธ. หน้า ๑๒๗-๑๒๘)
อริยสัจ ๔ ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยะ ความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็ น
อริยะมี ๔ คือ
๑. ทุกข์ (ความทุกข์ สภาพที่ทนได้ยาก สภาวะที่บีบคั้น ขัดแย้ง บกพร่อง ขาดแก่น
สารและความเที่ยงแท้ ไม่ให้ความพึงพอใจแท้จริง ได้แก่ ชาติ ชรา มรณะ การ
ประจวบกับสิ่งอันไม่เป็ นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ความปรารถนาไม่สมหวัง
โดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ ๕ เป็ นทุกข์
๒. ทุกขสมุทัย (เหตุเกิดแห่งทุกข์ สาเหตุให้ทุกข์เกิด ได้แก่ ตัณหา ๓ คือ
กามตัณหา ภวตัณหา และ วิภวตัณหา) กำจัดอวิชชา สำรอกตัณหา สิ้นแล้ว ไม่ถูก
ย้อม ไม่ติดขัด หลุดพ้น สงบ ปลอดโปร่ง เป็ นอิสระ คือ นิพพาน)
๓. ทุกขนิโรธ (ความดับทุกข์ ได้แก่ ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป ภาวะที่เข้าถึงเมื่อกำจัด
อวิชชา สำรอกตัณหาสิ้นแล้ว ไม่ถูกย้อม ไม่ติดข้อง หลุดพ้น สงบ เป็ นอิสระ คือ
นิพพาน)
๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (ปฏิปทาที่นำไปสู่ความดับแห่งทุกข์ ข้อปฏิบัติให้ถึงความ
ดับทุกข์ ได้แก่ อริยอัฏฐังคิกมรรค หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมปฏิปทา แปล
ว่า ทางสายกลาง มรรคมีองค์ ๘ นี้ สรุปลงในไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปั ญญา)
(พ.ธ. หน้า ๑๘๑)
อริยอัฏฐคิกมรรค ทางสายกลาง มรรคมีองค์ ๘ (ศีล สมาธิ ปั ญญา) (พ.ธ. หน้า ๑๖๕)
อัญญาณุเบกขา เป็ นอุเบกขาฝ่ ายวิบัติ หมายถึง ความไม่รู้เรื่อง เฉยไม่รู้เรื่อง เฉยโง่
เฉยเมย (พ.ธ. หน้า ๑๒๖)
อัตตา ตัวตน อาตมัน ปุถุชนย่อมยึดมั่นมองเห็นขันธ์ ๕ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งหมดเป็ น
อัตตา หรือยึดถือว่ามีอัตตา เนื่องด้วยขันธ์ (พ.ศ. หน้า ๓๙๘)
อัตถะ เรื่องราว ความหมาย ความมุ่งหมาย ประโยชน์ มี ๒ ระดับ คือ ๑. ทิฏฐิธัมมิกัตถะ
ประโยชน์ในชีวิตนี้หรือประโยชน์ในปั จจุบัน เป็ นที่มุ่งหมายกันในโลกนี้ ได้แก่ ลาภ ยศ
สุข สรรเสริญ รวมถึงการแสวงหาสิ่งเหล่านี้มาโดยทางที่ชอบธรรม ๒. สัมปรายิกัตถะ
ประโยชน์เบื้องหน้า หรือประโยชน์ที่ล้ำลึกกว่าที่จะมองเห็นกันเฉพาะหน้า เป็ นจุด
หมายขั้นสูงขึ้นไป เป็ นหลักประกันชีวิตเมื่อละจากโลกนี้ไป ๓. ปรมัตถะ ประโยชน์
233

สูงสุด หรือประโยชน์ที่เป็ นสาระแท้จริงของชีวิตเป็ นจุดหมายสูงสุดหรือที่หมายขั้น


สุดท้าย คือ พระนิพพาน อีกประการหนึ่ง หมายถึง ๑. อัตตัตถะ ประโยชน์ตน ๒.
ปรัตถะ ประโยชน์ผู้อื่น ๓. อุภยัตถะ ประโยชน์ทั้งสองฝ่ าย (พ.ธ. หน้า ๑๓๑ –
๑๓๒)
อายตนะ ที่ต่อ เครื่องติดต่อ แดนต่อความรู้ เครื่องรู้ และสิ่งที่ถูกรู้ เช่น ตาเป็ นเครื่องรู้
รูปเป็ น สิ่งที่รู้
หูเป็ นเครื่องรู้ เสียงเป็ นส่งที่รู้ เป็ นต้น จัดเป็ น ๒ ประเภท ได้แก่
๑. อาตนะภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖
๒. อายตนะภายนอก หมายถึง เครื่องต่อภายนอก สิ่งที่ถูกรู้ มี ๖ คือ ๒.๑ รูป คือ
รูป ๒.๒ สัททะ คือ เสียง ๒.๓ คันธะ คือ กลิ่น ๒.๔ รส คือ รส ๒.๕ โผฏฐัพพะ
คือ สิ่งต้องกาย
๒.๖ ธัมมะ หมายถึง ธรรมารมย์ คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ หรือสิ่งที่ใจรู้ อารมณ์ ๖ ก็เรียก (
พ.ศ. หน้า ๔๑๑)
อายตนะภายใน เครื่องต่อภายใน เครื่องรับรู้ มี ๖ คือ ๑. จักขุ คือ ตา ๒. โสตะ คือ หู
๓. ฆานะ คือ จมูก
๔. ชิวหา คือ ลิ้น ๕. กาย คือ กาย ๖. มโน คือ อินทรีย์ ๖ ก็เรียก (พ.ศ.หน้า
๔๑๑)
อริยวัฑฒิ ๕ ความเจริญอย่างประเสริฐ หลักความเจริญของอารยชน มี ๕ คือ ๑. ศรัทธา
ความเชื่อ ความมั่นใจในพระรัตนตรัย ในหลักแห่งความจริง ความดีอันมีเหตุผล
๒.ศีลความประพฤติดี มีวินัย เลี้ยงชีพสุจริต ๓. สุตะ การเล่าเรียน สดับฟั ง ศึกษา
หาความรู้ ๔. จาคะ การเผื่อแผ่เสียสละ เอื้อเฟื้ อ มีน้ำใจช่วยเหลือ ใจกว้าง พร้อม
ที่จะรับฟั งและร่วมมือ ไม่คับแคบ เอาแต่ตัว ๕. ปั ญญา ความรอบรู้ รู้คิด รู้
พิจารณา เข้าใจเหตุผล รู้จักโลกและชีวิตตามความเป็ นจริง (พ.ธ. หน้า ๒๑๓)
อิทธิบาท ๔ คุณเครื่องให้ถึงความสำเร็จ คุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย
มี ๔ ประการ คือ
๑. ฉันทะ ความพอใจ คือ ความต้องการที่จะทำใฝ่ ใจรักจะทำสิ่งนั้นอยู่เสมอแล้ว
ปรารถนาจะทำ ให้ได้ผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป
๒. วิริยะ ความเพียร คือ ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นด้วยความพยายาม เข้มแข็ง อดทน
เอาธุระไม่ท้อถอย
234

๓. จิตตะ ความคิด คือ ตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทำและทำสิ่งนั้นด้วยความคิด เอาจิตฝั กใฝ่


ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านเลื่อนลอย
๔. วิมังสา ความไตร่ตรอง หรือทดลอง คือ หมั่นใช้ปั ญญาพิจารณา ใคร่ครวญ ตรวจ
ตราหาเหตุผล และตรวจสอบข้อยิ่งหย่อนในสิ่งที่ทำนั้น มีการวางแผน วัดผลคิดค้น
วิธีแก้ไขปรับปรุง ตัวอย่างเช่น ผู้ทำงานทั่ว ๆ ไปอาจจำสั้น ๆ ว่า รักงาน สู้งาน ใส่ใจ
งาน และทำงานด้วยปั ญญา เป็ นต้น
(พ.ธ. หน้า ๑๘๖-๑๘๗)
อุบาสกธรรม ๗ ธรรมที่เป็ นไปเพื่อความเจริญของอุบาสก ๑. ไม่ขาดการเยี่ยมเยือนพบปะ
พระภิกษุ ๒. ไม่ละเลยการฟั งธรรม ๓. ศึกษาในอธิศีล ๔. มีความเลื่อมใสอย่างมาก
ในพระภิกษุทุกระดับ ๕. ไม่ฟั งธรรมด้วยตั้งใจจะคอยเพ่งโทษติเตียน ๖. ไม่แสวงหา
บุญนอกหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา ๗. กระทำการสนับสนุน คือ ขวนขวายใน
การอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนา (พ.ธ. หน้า ๒๑๙ – ๒๒๐)
อุบาสกธรรม ๕ สมบัติของอุบาสก ๕ คือ ๑. มีศรัทธรา ๒. มีศีลบริสุทธิ์ ๓. ไม่ถือมงคล
ตื่นข่าว เชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคลคือมุ่งหวังผลจากการกระทำ และการงานมิใช่จากโชค
ลาภ และสิ่งที่ตื่นกันว่าขลังศักดิ์สิทธิ์ ๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกหลักพระพุทธศาสนา
๕. ขวนขวายในการอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนา (พ.ศ. หน้า ๓๐๐)
อุบาสกธรรม ๗ ผู้ใกล้ชิดพระศาสนาอย่างแท้จริง ควรตั้งตนอยู่ในธรรมที่เป็ นไปเพื่อความ
เจริญของอุบาสก มี ๗ ประการ ได้แก่ ๑. ไม่ขาดการเยี่ยมเยือนพบปะพระภิกษุ ๒.
ไม่ละเลยการฟั งธรรม ๓. ศึกษาในอธิศีล คือ ฝึ กอบรมตนให้ก้าวหน้าในการปฏิบัติ
รักษาศีลขั้นสูงขึ้นไป ๔. พรั่งพร้อมด้วยความเลื่อมใส ในพระภิกษุทั้งหลายทั้งที่เป็ น
เถระ นวกะ และปูนกลาง ๕. ฟั งธรรมโดยความตั้งใจ มิใช่ มาจับผิด ๖. ไม่แสวงหา
ทักขิไณยภายนอก หลักคำสอนนี้ คือ ไม่แสวงหาเขตบุญนอกหลักพระพุทธศาสนา
๗. กระทำความสนับสนุนในพระพุทธศาสนานี้ คือ เอาใจใส่ทำนุบำรุงและช่วย
กิจกรรม (ธรรมนูญชีวิต, หน้า ๗๐ – ๗๐)
อุเบกขา มี ๒ ความหมายคือ ๑. ความวางใจเป็ นกลาง ไม่เองเอียงด้วยชอบหรือชัง ความ
วางใจเฉยได้ ไม่ยินดียินร้าย เมื่อใช้ปั ญญาพิจารณาเห็นผลอันเกิดขึ้นโดยสมควร
แก่เหตุและรู้ว่าพึงปฏิบัติต่อไปตามธรรม หรือตามควรแก่เหตุนั้น ๒. ความรู้สึกเฉย ๆ
ไม่สุข ไม่ทุกข์ เรียกเต็มว่าอุเบกขาเวทนา (อทุกขมสุข) (พ.ศ. หน้า ๔๒๖ – ๔๒๗)
235

อุปาทาน ๔ ความยึดมั่น ความถือมั่นด้วยอำนาจกิเลส ความยึดติดอันเนื่องมาแต่ตัณหา


ผูกพันเอาตัวตนเป็ นที่ตั้ง ๑. กามุปาทาน ความยึดมั่นในกาม คือ รูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะที่น่าใคร่ น่าพอใจ ๒. ทิฏฐุปาทาน ความยึดมั่นในทิฏฐิหรือทฤษฎี คือ
ความเห็น ลัทธิ หรือหลักคำสอนต่าง ๆ ๓. สีลัพพตุปาทาน ความยึดมั่นในศีลและ
พรต คือ หลักความประพฤติ ข้อปฏิบัติ แบบแผน ระเบียบวิธี ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ลัทธิพิธีต่าง ๆ กัน ไปอย่างงมงายหรือโดยนิยมว่าขลัง ว่าศักดิ์สิทธิ์ มิได้เป็ น
ไปด้วยความรู้ ความเข้าใจตามหลักความสัมพันธ์แห่งเหตุและผล ๔. อัตตาวาทุ
ปาทาน ความยึดมั่นในวาทะว่าตัวตน คือ ความถือหรือสำคัญ หมายอยู่ในภายในว่ามี
ตัวตน ที่จะได้ จะมี จะเป็ น จะสูญสลาย ถูกบีบคั้น ทำลายหรือเป็ นเจ้าของ เป็ น
นายบังคับบัญชาสิ่งต่าง ๆ ได้ไม่มองเห็นสภาวะของสิ่งทั้งปวง อันรวมทั้งตัวตนว่าเป็ น
แต่เพียงสิ่งที่ประชุมประกอบกันเข้า เป็ นไปตามเหตุปั จจัยทั้งหลายที่มาสัมพันธ์กัน
ล้วน ๆ (พ.ธ. หน้า ๑๘๗)
อุปนิสัย ๔ ธรรมที่พึ่งพิง หรือธรรมช่วยอุดหนุน ๑. สงฺขาเยกํ ปฏิเสวติ พิจารณาแล้วจึง
ใช้สอยปั จจัย ๔ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานเภสัช เป็ นต้น ที่จำเป็ นจะต้อง
เกี่ยวข้องและมีประโยชน์ ๒. สงฺขาเยกํ อธิวาเสติ พิจารณาแล้วอดกลั้นได้แก่ อนิฏฐา
รมณ์ ต่าง ๆ มีหนาวร้อน และทุกขเวทนา เป็ นต้น ๓. สงฺขาเยกํ ปริวชฺเชติ พิจารณา
สิ่งที่เป็ นโทษ ก่ออันตรายแก่ร่างกาย และจิตใจแล้วหลีกเว้น ๔. สงฺขาเยกํ ปฏิวิโนเท
ติ พิจารณาสิ่งที่เป็ นโทษ ก่ออันตรายเกิดขึ้นแล้ว เช่น อกุศลวิตกมีกามวิตก พยาบาท
วิตก และวิหิงสาวิตก และความชั่วร้ายทั้งหลายแล้วพิจารณาแก้ไข บำบัดหรือขจัดให้
สิ้นไป (พ.ธ. หน้า ๑๗๙)
โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อความชั่ว (พ.ศ. หน้า ๔๓๙)
โอวาท คำกล่าวสอน คำแนะนำ คำตักเตือน โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ คือ ๑. เว้น
จากทุจริต คือ ประพฤติชั่วด้วยกาย วาจา ใจ (ไม่ทำชั่วทั้งปวง) ๒.ประกอบสุจริต คือ
ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ (ทำแต่ความดี) ๓. ทำใจของตนให้หมดจดจากเครื่อง
เศร้าหมอง โลภ โกรธ หลง เป็ นต้น (ทำจิตของตนให้สะอาดบริสุทธิ์) (พ.ศ. หน้า
๔๔๐)
สังคมศาสตร์ การศึกษาความสัมพันธ์ของมนุษย์ โดยใช้กระบวนการวิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา การเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนให้อยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ
236

คุณธรรม(virtue) และจริยธรรรม(moral or morality or ethics) คุณธรรม หมายถึง


สภาพคุณงามความดี
จริยธรรมมีความหมายเช่นเดียวกับศีลธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็ นข้อประพฤติกรรม
ปฏิบัติความประพฤติหรือหน้าที่ที่ชอบ ที่ควรปฏิบัติในการครองชีวิต ดังนั้นคุณธรรม
จริยธรรม จึงหมายถึง สภาพคุณงามความดีที่ประพฤติปฏิบัติหรือหน้าที่ที่ควรปฏิบัติ
ในการครองชีวิต หรือคุณธรรมตามกรอบจริยธรรม ส่วนศีลธรรมและจริยธรรม มี
ความหมายใกล้เคียงกัน คุณธรรมจะมีความหมายที่เน้นสภาพ ลักษณะ หรือ
คุณสมบัติที่แสดงออกถึงความดีงาม ส่วนจริยธรรม มีความหมายเน้นที่ ความ
ประพฤติหรือการปฏิบัติที่ดีงาม เป็ นที่ยอมรับของสังคม นักวิชาการมักใช้คำทั้งสองคำ
นี้ในความหมายนัยเดียวกันและมักใช้คำสองคำดังกล่าวควบคู่กันไป เป็ นคำว่า
คุณธรรมจริยธรรม ซึ่งรวมความหมายของคุณธรรมและจริยธรรม นั่นคือมี
ความหมายเน้นทั้งสภาพ ลักษณะหรือคุณสมบัติ และความประพฤติอันดีงาม เป็ นที่
ยอมรับของสังคม
(โครงการเร่งสร้างคุณลักษณะที่ดีของเด็กและเยาวชนไทย ศูนย์คุณธรรม หน้า ๑๑
-๑๒)

การเมือง ความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจในการจัดระเบียบสังคมเพื่อ
ประโยชน์และความสงบสุขของสังคม มีความสัมพันธ์ต่อกันโดยรวมทั้งหมดในส่วน
หนึ่งของชีวิตในพื้นที่หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับอำนาจ อำนาจชอบธรรม หรืออิทธิพล และมี
ความสามารถในการดำเนินการได้
ข้อมูล สิ่งที่ได้รับรู้และยังไม่มีการจัดประมวลให้เป็ นระบบ เมื่อจัดระบบแล้วเรียกว่า
สารสนเทศ
ค่านิยม การกำหนดคุณค่าและพัฒนาจนเป็ นบุคลิกภาพประจำตัว
คุณค่า ลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น ความดี ความงาม ความดีเป็ นคุณค่าของ
จริยธรรม ความงามเป็ นคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ สิ่งที่ตอบสนองความต้องการได้เป็ น
สิ่งที่มีคุณค่า คุณค่าเป็ นสิ่งเปลี่ยนแปลงได้ คุณค่าเปลี่ยนไปได้ตามเวลา และคุณค่ามัก
เปลี่ยนแปลงไปตามวิวัฒนาการของความเจริญ
บทบาท การกระทำที่สังคมคาดหวังตามสถานภาพที่บุคคลครองอยู่

หน้าที่ เป็ นความรับผิดชอบทางศีลธรรมของปั จเจกชนซึ่งสังคมยอมรับ


237

สถานภาพ ตำแหน่งที่แต่ละคนครองอยู่ในสถานที่หนึ่ง ในช่วงเวลาหนึ่ง


บรรทัดฐาน ข้อตกลงของสังคมที่กำหนดให้สมาชิกประพฤติ ปฏิบัติ บางทีเรียกปทัสถาน
สามารถใช้บรรทัดฐานของสังคม (social norms) เป็ นมาตรฐานความประพฤติในทาง
จริยธรรมได้ ซึ่งแยกออกเป็ น
ก. วิถีประชา (folkways) ได้แก่ แบบแผนพฤติกรรมในชีวิตประจำวันที่สังคม
ยอมรับ และ
ได้ประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา มักเกี่ยวข้องกับเรื่องการดำเนินชีวิต และในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับจริยธรรมจะไม่มีกฎเกณฑ์เคร่งครัดแน่นอนตายตัว
ข. กฎศีลธรรมหรือจารีต (mores) เป็ นมาตรฐานความประพฤติของสังคมที่มีการ
กำหนดเกี่ยวกับจริยธรรมที่เข้มขึ้น ในกรณีมีผู้ฝ่ าฝื นอาจมีการลงโทษ แม้ว่าในบางครั้ง
จะไม่มีการเขียนไว้เป็ นลายลักษณ์อักษรก็ตาม เช่น การลวนลามสตรีในชนบท ต้อง
ลงโทษด้วยการเสียผี
ค. กฎหมาย (law) เป็ นมาตรฐานความประพฤติที่รัฐกำหนดให้สมาชิกของรัฐพึง
ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ และกำหนดวิธีการปฏิบัติการลงโทษสำหรับผู้ฝ่ าฝื น
สิทธิ ข้อเรียกร้องของปั จเจกชนซึ่งสังคมยอมรับ
สิทธิทางศีลธรรม เป็ นข้อเรียกร้องทางศีลธรรมของปั จเจกชนซึ่งสังคมยอมรับ
ประเพณี เป็ นความประพฤติของคนหมู่หนึ่ง อยู่ในที่แห่งหนึ่ง ถือเป็ นแบบแผนกันมาอย่าง
เดียวกันและ
สืบกันมานาน
ประเพณี คือ กิจกรรมที่มีรูปแบบของชุมชนหรือสังคมหนึ่งที่จัดขึ้นมาด้วยจุดประสงค์
ใด จุดประสงค์หนึ่ง และกำหนดการจัดกิจกรรมในช่วงเวลาแน่นอนสม่ำเสมอ กิจ
กรรที่เป็ นประเพณีอาจมองได้อีกประการหนึ่งว่าเป็ นแบบแผนการปฏิบัติของกลุ่ม
เฉพาะหรือทางศาสนา
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights sinv
UDHR) คือการประกาศเจตนารมณ์ ในการร่วมมือระหว่างประเทศที่มีความสำคัญใน
การวางกรอบเบื้องต้นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและเป็ นเอกสารหลักด้านสิทธิมนุษยชน
ฉบับแรก ซึ่งที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ให้การรับรองตามข้อมติที่ ๒๑๗
A (III) เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๙๑ โดยประเทศไทยออกเสียงสนันสนุน
238

วัฒนธรรม และภูมิปั ญญาไทย เป็ นการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับวัฒนธรรมและภูมิปั ญญา


ในเรื่องเกี่ยวกับความเป็ นมา ปั จจัยพื้นฐานและผลกระทบจากภายนอกที่มีอิทธิพลต่อ
การสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิปั ญญาไทย รวมทั้งวัฒนธรรม
และภูมิปั ญญาของมนุษยชาติโลก ความสำคัญ และผลกระทบที่มีอิทธิพลต่อการ
ดำเนินชีวิตของคนไทยและมนุษยชาติ ตั้งแต่อดีตถึงปั จจุบัน
สัมมาชีพ การประกอบอาชีพสุจริตและเหมาะสมในสังคม
ประสิทธิภาพ ความสามารถในการทำงานจนสำเร็จ หรือผลการกระทำที่ได้ผลออกมาดีกว่า
เดิม รวมทั้ง
การใช้ทรัพยากรต่างๆ อย่างคุ้มค่า โดยไม่ให้เกิดความสูญเปล่าหรือความสูญเสีย
ทรัพยาการต่างๆ พิจารณาได้จากเวลา แรงงาน วัตถุดิบ เครื่องจักร ปริมาณและ
คุณภาพ ฯลฯ
ประสิทธิผล ระดับความสำเร็จของวัตถุประสงค์ หรือ ผลสำเร็จของงาน
สินค้า หมายความว่าสิ่งของที่สามารถซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือโอนกันได้ ไม่ว่าจะเกิด
โดยธรรมชาติหรือเป็ นผลิตผลทางการเกษตร รวมตลอดถึงผลิตภัณฑ์ทางหัตถกรรม
และอุตสาหกรรม
ภูมิปั ญญา ส่วนหนึ่งของประเพณี หรือเป็ นกิจกรรมเฉพาะตัวก็ได้ เช่น พิธีถวายสังฆทาน
พิธีบวชนาค
พิธีบวชลูกแก้ว พิธีขอฝน พิธีไหว้ครู พิธีแต่งงาน
มนุษยชาติ การเกิดเป็ นมนุษย์มาจาก มนุษย์ = ผู้มีจิตใจสูง กับชาติ = เกิด โดยปกติหมาย
ถึง มนุษย์ทั่ว ๆ ไป
มรรยาท พฤติกรรมที่สังคมกำหนดว่าควรประพฤติเป็ นวัฒนธรรม วัดจากความเหมาะสม
และไม่เหมาะสม
ระบบ การนำส่วนต่าง ๆ มาปรับเรียงต่อให้ทำงานประสานต่อเนื่องกันจนดูเป็ นสิ่ง
เดียวกัน
กระบวนการ กรรมวิธีหรือลำดับการกระทำซึ่งดำเนินการต่อเนื่องกันไปจนสำเร็จลง ณ
ระดับหนึ่ง
วิเคราะห์ การแยกแยะให้เห็นคุณลักษณะของแต่ละองค์ประกอบ
239

เศรษฐกิจ ความรู้เกี่ยวกับการกิน การอยู่ของมนุษย์ในสังคม ว่าด้วยทรัพยากรที่มีจำกัดการ


ผลิต
การกระจายผลผลิต และการบริโภค
สหกรณ์ แปลว่าการทำงานร่วมกัน การทำงานร่วมกันนี้ลึกซึ้งมาก เพราะว่าต้องร่วมมือกัน
ในทุกด้าน ทั้งในด้านงานที่ทำด้วยร่างกาย ทั้งในด้านงานที่ทำด้วยสมอง และงานการ
ที่ทำด้วยใจ ทุกอย่างนี้ขาดไม่ได้ต้องพร้อม (พระราชดำรัสพระราชทานแก่ผู้นำ
สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคมและสหกรณ์ประมงทั่วประเทศ ณ ศาลาดุสิตดาลัย
๑๑ พฤษภาคม ๒๕๒๖)
ทรัพย์สินทางปั ญญา หมายถึง ผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์คิดค้น หรือสร้างสรรค์ของ
มนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของสติปั ญญาและความชำนาญ โดยไม่คำนึงถึงชนิด ของการ
สร้างสรรค์หรือวิธีในการแสดงออก ทรัพย์สินทางปั ญญา อาจเป็ นสิ่งที่จับต้องได้ เช่น
สินค้า ต่าง ๆ หรือ เป็ นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ เช่น บริการ แนวความคิด กรรมวิธีและ
ทฤษฎีต่าง ๆ เป็ นต้น ทรัพย์สินทางปั ญญามี ๒ ประเภท ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม
(Industrial property) และลิขสิทธิ์ (Copyright)
๑. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม มีสิทธิบัตร แบบผังภูมิของวงจรรวม
เครื่องหมายการค้า ความลับทางการค้า ชื่อทางการค้า สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ หมายความว่า ชื่อ สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้เรียก
หรือใช้แทนแหล่ง
ภูมิศาสตร์ และทีสามารถบ่งบอกว่าสินค้าที่เกิดจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นเป็ น สินค้าที่มี
คุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมิศาสตร์ดังกล่าว
๒. ลิขสิทธิ์ คือ งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี
กรรม
งานภาพยนตร์ หรืองานอื่นใดในแผนกวรณคดี หรือแผนกศิลปะ แผนกวิทยาศาสตร์
ลิขสิทธิ์ยังรวมทั้งสิทธิข้างเคียง (Neighbouring Right)
เหตุ ภาวะเงื่อนไขที่จำเป็ นที่ทำให้สิ่งหนึ่งเกิดขึ้นตามมา เรียกว่า ผล
เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
อำนาจ ความสามารถในการบีบบังคับให้สิ่งหนึ่ง (คนหนึ่ง...) กระทำตามที่ปรารถนา
อิทธิพล อำนาจบังคับที่ก่อให้เกิดความสำเร็จในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
เอกลักษณ์ ลักษณะที่มีความเป็ นหนึ่งเดียว ไม่มีที่ใดเหมือน
240

ตำนาน เป็ นเรื่องเล่าต่อกันมาและถูกบันทึกขึ้นภายหลัง

พงศาวดาร คือ การบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามลำดับเวลา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นเรื่องราวที่


กับพระมหากษัตริย์ และราชสำนัก
อดีต คือ เวลาที่ล่วงมาแล้ว ความสำคัญของอดีต คือ อดีตจะครอบงำความคิดและความ
รู้ของเราอย่างกว้างขวางลึกซึ้ง อดีตที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคน/ความสำคัญที่มีต่อ
เหตุการณ์และกลุ่มคนจะถูกนำมาเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน
นักประวัติศาสตร์ เป็ นผู้บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้สร้างประวัติศาสตร์ขึ้นจากหลักฐาน
ประเภทต่าง ๆ ตามจุดมุ่งหมายและวิธีการคิด ซึ่งงานเขียนอาจนำไปสู่การเป็ นวิชา
ประวัติศาสตร์ได้ในที่สุด
ความมุ่งหมายในการเขียนประวัติศาสตร์
- นักประวัติศาสตร์รุ่นเก่า มุ่งสู่การรวมชาติ/รับใช้การเมือง
- นักประวัติศาสตร์รุ่นใหม่ มุ่งที่จะหาความจริง (truth) จากอดีตและตีความโดย
ปราศจากอคติ (bias)
หลักฐานประเภท ต่าง ๆ จะให้ข้อเท็จจริงบางประการ ซึ่งจะนำไปสู่ความจริงในที่สุด
โดยมีวิธีการแบ่งประเภทของหลักฐานหลายแบบ เช่น หลักฐานสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์และหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์แบบหนึ่ง หลักฐานประเภทลายลักษณ์
อักษรและหลักฐานที่ไม่ใช่ลายลักษณ์แบบหนึ่ง หรือหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้น
รอง (หรือหลักฐานชั้นที่หนึ่ง ชั้นที่สอง ชั้นที่สาม) อีกแบบหนึ่ง หลักฐานที่จะถูก
ประเมินว่าน่าเชื่อถือที่สุด คือ หลักฐานที่เกิดร่วมสมัยหรือเกิดโดยผู้ที่รู้เห็นเหตุการณ์
นั้น ๆ แต่กระนั้นนักประวัติศาสตร์ก็จะต้องวิเคราะห์ทั้งภายในและภายนอกก่อนด้วย
เช่นกัน เนื่องจากผู้ที่อยู่ร่วมสมัยก็ย่อมมีจุดมุ่งหมายส่วนตัวในการบันทึก ซึ่งอาจทำให้
เลือกบันทึกเฉพาะเรื่องบางเรื่องเท่านั้น
อคติ คือ ความลำเอียง ไม่ตรงตามความเป็ นจริง เป็ นธรรมชาติของมนุษย์ทุกคน ซึ่งผู้ที่
เป็ นนักประวัติศาสตร์จะต้องตระหนักและควบคุมให้ได้
ความเป็ นกลาง คือ การมองด้วยปราศจากความรู้สึกอคติจะเกิดขึ้นได้หากเข้าใจ
ธรรมชาติของหลักฐานแต่ละประเภท เข้าใจปรัชญาและวิธีการทางประวัติศาสตร์
เข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้เรียน ผู้บันทึกประวัติศาสตร์ (นั่นคือ เข้าใจว่าบันทึกเพื่ออะไร
เพราะเหตุใด)
241

ความจริงแท้ (real truth) คือ ความจริงที่คงอยู่แน่นอนนิรันดร์ เป็นจุดหมายสูงสุดที่นัก


ประวัติศาสตร์
มุ่งแสวงหาซึ่งจะต้องอาศัยความเข้าใจและความจริงที่อยู่เบื้องหลังการเกิดพฤติกรรม
และเหตุการณ์ต่าง ๆ (ที่มนุษย์เป็ นผู้สร้าง) ซึ่งการแสวงหาความจริงแท้ ต้องอาศัย
ความสมบูรณ์ของหลักฐานและกระบวนการทางประวัติศาสตร์ที่ละเอียด ถี่ถ้วน กิน
เวลายาวนาน แต่นี้คือ ภาระหน้าที่ของนักประวัติศาสตร์
ผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ คือ ผู้นำความรู้ทางประวัติศาสตร์มาพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความ
รู้ เจตคติและทักษะในการใช้กระบวนการวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความจริงและ
ความจริงแท้จะต้องศึกษาผลงานของนักประวัติศาสตร์และเลือกเนื้อหาประวัติศาสตร์
ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดยต้องเป็ นไปตามจุดประสงค์ของหลักสูตรและ
สอดคล้องธรรมชาติของประวัติศาสตร์
เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ เป็ นการศึกษาเรื่องการนับเวลา และการแบ่งช่วง
เวลาตามระบบต่าง ๆ ทั้งแบบไทย สากล ศักราชที่สำคัญ ๆ ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะพื้นฐานสำหรับการ
ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สามารถเข้าเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่สัมพันธ์
กับอดีต ปั จจุบัน และอนาคต ตระหนักถึงความสำคัญในความต่อเนื่องของเวลา
อิทธิพลและความสำคัญของเวลาที่มีต่อวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์
วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึงกระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
ซึ่งเกิดจากวิธีวิจัยเอกสารและหลักฐานประกอบอื่นๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่
ทางประวัติศาสตร์บนพื้นฐานของความเป็ นเหตุเป็ นผล และการวิเคราะห์เหตุการณ์
ต่าง ๆ อย่างเป็ นระบบ ประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้
หนึ่ง การกำหนดเป้ าหมายหรือประเด็นคำถามที่ต้องการศึกษา แสวงหาคำตอบด้วย
เหตุ และผล (ศึกษาอะไร ช่วงเวลาไหน สมัยใด และเพราะเหตุใด)
สอง การค้นหาและรวบรวมหลักฐานประเภทต่าง ๆ ทั้งที่เป็ นลายลักษณ์อักษร และ
ไม่เป็ นลายลักษณ์อักษร ซึ่งได้แก่ วัตถุโบราณ ร่องรอยถิ่นที่อยู่อาศัยหรือการดำเนิน
ชีวิต
สาม การวิเคราะห์หลักฐาน (การตรวจสอบ การประเมินความน่าเชื่อถือ การ
ประเมินคุณค่าของหลักฐาน) การตีความหลักฐานอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล มีความเป็ นก
ลาง และปราศจากอคติ
242

สี่ การสรุปข้อเท็จจริงเพื่อตอบคำถาม ด้วยการเลือกสรรข้อเท็จจริงจากหลักฐาน


อย่างเคร่งครัดโดยไม่ใช้ค่านิยมของตนเองไปตัดสินพฤติกรรมของคนในอดีต โดย
พยายามเข้าใจความคิดของคนในยุคนั้นหรือนำตัวเข้าไปอยู่ในยุคสมัยที่ตนศึกษา
ห้า การนำเสนอเรื่องที่ศึกษาและอธิบายได้อย่างสมเหตุสมผล โดยใช้ภาษาที่เข้าใจ
ง่าย มีความต่อเนื่อง น่าสนใจ ตลอดจนมีการอ้างอิงข้อเท็จจริง เพื่อให้ได้งานทาง
ประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่าและมีความหมาย
พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปั จจุบัน เป็ นการศึกษาเรื่องราวของสังคม มนุษย์
ในบริบทของเวลาและสถานที่ โดยทั่วไปจะแยกเรื่องศึกษาออกเป็ นด้านต่าง ๆ ได้แก่
การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ โดยกำหนดขอบเขตการศึกษาในกลุ่มสังคม มนุษย์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
เช่น ในท้องถิ่น/ประเทศ/ภูมิภาค/โลก โดยมุ่งศึกษาว่าสังคมนั้น ๆ ได้เปลี่ยนแปลงหรือ
พัฒนาตามลำดับเวลาได้อย่างไร เพราะเหตุใด จึงเกิดความเปลี่ยนแปลงมีปั จจัยใด
บ้าง ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์และปั จจัยแวดล้อมทางสังคม ที่มีผลต่อพัฒนาการหรือการ
สร้างสรรค์วัฒนธรรม และผลกระทบของการสร้างสรรค์ของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เป็ น
อย่างไร ทั้งนี้เพื่อให้เข้าใจอดีตของสังคมมนุษย์ในมิติของเวลาและความต่อเนื่อง
ภูมิศาสตร์ เป็ นคำที่มาจากภาษากรีก (Geography) หมายถึงการพรรณนาลักษณะของ
โลกเป็ นศาสตร์ทางพื้นที่ เป็ นความรู้ที่ว่าด้วยปฏิสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ในขอบเขต
หนึ่ง
ลักษณะทางกายภาพ ของภูมิศาสตร์ หมายถึง ลักษณะที่มองเห็นเป็ นรูปร่าง รูปทรง โดย
สามารถมองเห็นและวิเคราะห์ไปถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน
สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับลักษณะของธรณีสัณฐานวิทยาภูมิอากาศวิทยา
ภูมิศาสตร์ดิน ชีวภูมิศาสตร์พืช ภูมิศาสตร์สัตว์ ภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เป็ นต้น
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน หมายถึงวิธีการศึกษา หรือวิธีการวิเคราะห์ พิจารณาสำหรับ
ศาสตร์ทางภูมิศาสตร์ได้ใช้สำหรับการศึกษาพิจารณา คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ถึงสิ่ง
ต่าง ๆ ที่มีผลต่อกันระหว่างสิ่งแวดล้อมกับมนุษย์ (Environment) ทางกายภาพ
ด้วยวิธีการศึกษา พิจารณาถึง
ความแตกต่าง ความเหมือนระหว่างพื้นที่หนึ่งๆ กับอีกพื้นที่หนึ่ง หรือระหว่างภูมิภาค
หนึ่งกับภูมิภาคหนึ่ง โดยพยายามอธิบายถึงความแตกต่าง ความเหมือน รูปแบบของ
243

ภูมิภาค และพยายามขีดเส้นสมมุติ แบ่งภูมิภาคเพื่อพิจารณาวิเคราะห์ ดู


สัมพันธภาพของภูมิภาคเหล่านั้นว่าเป็ นอย่างไร
ภูมิศาสตร์ คือ ภาพปฏิสัมพันธ์ของธรรมชาติ มนุษย์ และวัฒนธรรม รูปแบบต่าง ๆ
ถ้าพิจารณาเฉพาะปั จจัยทางธรรมชาติ จะเป็ นภูมิศาสตร์กายภาพ (Physical
Geography)
ถ้าพิจารณาเฉพาะปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ เช่น ประชากร วิถีชีวิต ศาสนา ความ
เชื่อ การเดินทาง การอพยพจะเป็ นภูมิศาสตร์มนุษย์ (Human Geography)
ถ้าพิจารณาเฉพาะปั จจัยที่เป็ นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น การตั้งถิ่นฐาน การคมนามคม
การค้า การเมือง จะเป็ นภูมิศาสตร์วัฒนธรรม (Cultural Geography)
ภูมิอากาศ คือ ภาพปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบอุตุนิยมวิทยา รูปแบบต่าง ๆ เช่น ภูมิ
อากาศ แบบร้อนชื้น ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น ภูมิอากาศแบบร้อนแห้งแล้ง ฯลฯ
ภูมิประเทศ คือ ภาพปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบแผ่นดิน เช่น หิน ดิน ความต่างระดับ
ทำให้เกิดภาพลักษณะรูปแบบต่าง ๆ เช่น พื้นที่แบบภูเขา พื้นที่ระบบลาด เชิงเขา
พื้นที่ราบ พื้นที่ลุ่ม ฯลฯ
ภูมิพฤกษ์ คือ ภาพปฏิสัมพันธ์ของพืชพรรณ อากาศ ภูมิประเทศ ดิน สัตว์ป่ า ในรูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น ป่ าดิบ ป่ าเต็งรัง ป่ าเบญจพรรณ ป่ าทุ่งหญ้า ฯลฯ
ภูมิธรณี คือ ภาพปฏิสัมพันธ์ของแร่ หิน โครงสร้างทางธรณี ทำให้เกิดรูปแบบทางธรณี
ชนิดต่าง ๆ เช่น ภูเขาแบบทบตัว ภูเขาแบบยกตัว ที่ราบน้ำท่วมถึง ชายฝั่ งแบบยุบตัว
ฯลฯ
ภูมิปฐพี คือ ภาพปฏิสัมพันธ์ของแร่ หิน ภูมิประเทศลักษณะอากาศ พืชพรรณ ทำให้เกิด
ดินรูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น แดนดินดำ มอดินแดง ดินทรายจัด ดินกรด ดินเค็ม ดินพรุ ฯลฯ
ภูมิอุทก คือ ภาพปฏิสัมพันธ์ของแผ่นดิน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ภูมิธรณี พืชพรรณ
ทำให้เกิดรูปแบบแหล่งน้ำชนิดต่าง ๆ เช่น แม่น้ำ ลำคลอง ห้วย หนอง บึง ทะเล
ทะเลสาบ มหาสมุทร น้ำใต้ดิน
น้ำบาดาล ฯลฯ
ภูมิดารา คือ ภาพปฏิสัมพันธ์ของดวงดาว กลุ่มดาว เวลา การเคลื่อนการโคจรของ
ดาวฤกษ์
244

ดาวเคราะห์ ทำให้เกิดรูปแบบปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น การเกิดกลางวันกลางคืน ข้าง


ขึ้น-ข้างแรม สุริยุปราคา ตะวันอ้อมเหนือ ตะวันอ้อมใต้ ฯลฯ
ภัยพิบัติ เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายและสูญเสียอย่างรุนแรง เกิดขึ้นจากภัย
ธรรมชาติและกระทำของมนุษย์ จนชุมชนหรือสังคมที่เผชิญปั ญหาไม่อาจรับมือ เช่น
ดินถล่ม สึนามิ ไฟป่ า ฯลฯ
แหล่งภูมิศาสตร์ หมายความว่า พื้นที่ของประเทศ เขต ภูมิภาคและท้องถิ่น และให้
หมายความรวมถึงทะเล ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำน้ำ เกาะ ภูเขา หรือพื้นที่อื่นทำนอง
เดียวกันด้วย
เทคนิคทางภูมิศาสตร์ หมายถึง แผนที่ แผนภูมิ แผนภาพ และกราฟ ภายถ่ายทางอากาศ และ
ภาพถ่ายจากดาวเทียม เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สื่อที่สามารถค้นข้อมูลทางภูมิศาสตร์ได้
มิติทางพื้นที่ หมายถึง การวิเคราะห์ พิจารณาในเรื่องขององค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ที่
เกี่ยวข้องกับเวลา สถานที่ ปั จจัยแวดล้อม และการกระจายของพื้นที่ในรูปแบบต่าง ๆ
ทั้งความกว้าง ยาว สูง ตามขอบเขตที่กำหนด หรือสมมุติพื้นที่ขึ้นมาพิจารณา
การศึกษารูปแบบทางพื้นที่ หมายถึง การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับพื้นที่หรือมิติทางพื้นที่
ของ สังคมมนุษย์ ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ มีการใช้และกำหนดหน่วยเชิงพื้นที่ ที่ชัดเจน มี
การอาศัยเส้นที่เราสมมุติขึ้น อาศัยหน่วยต่าง ๆ ขึ้นมากำหนดขอบเขต ซึ่งมีองค์
ประกอบลักษณะทางกายภาพ ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และ
ลักษณะทางพัฒนาการของมนุษย์ที่เด่นชัด สอดคล้องกันเป็ นพื้นฐานในการศึกษา
แสวงหาข้อมูล
ภูมิศาสตร์กายภาพ หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับระบบธรรมชาติ ถึงความเป็ นมา
ความเปลี่ยนแปลง และพัฒนาการไปตามยุคสมัย โดยมีขอบเขตที่กล่าวถึง ลักษณะ
ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ
ภูมิปฐพี (ดิน) ภูมิอากาศ (ลมฟ้ าอากาศ บรรยากาศ) และภูมิพฤกษ์ (พืชพรรณ ป่ าไม้
ธรรมชาติ) รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ การ
เปลี่ยนแปลงของธรรมชาติที่มีผลต่อชีวิตและความเป็ นอยู่ของมนุษย์
สิ่งแวดล้อม สิ่งที่อยู่รอบ ๆ สิ่งใดสิ่งหนึ่งและมีอิทธิพลต่อสิ่งนั้น อาทิ อากาศ น้ำ ดิน
ต้นไม้ สัตว์ ซึ่งสามารถถูกทำลายได้โดยการขาดความระมัดระวัง
245

สิ่งแวดล้อมทางภายภาพ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่าง ยกเว้นตัวมนุษย์และผลงาน และ


มนุษย์ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ ภูมิอากาศ ดิน พืชพรรณ สัตว์ป่ า ธรณีสัณฐาน
(ภูเขาและที่ราบ) บรรยากาศ มหาสมุทร แร่ธาตุ และน้ำ
อนุรักษ์ การรักษา จัดการ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม หรือการรักษาป้ องกัน
บางสิ่งไม่ให้ เปลี่ยนแปลง สูญหายหรือถูกทำลาย
ภูมิศาสตร์มนุษย์ และสิ่งแวดล้อม หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับมนุษย์ วิถีชีวิต
และ
ความเป็ นอยู่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม สิ่งแวดล้อมด้านสังคมทั้งในเมืองและ
ท้องถิ่น
การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม สาเหตุและผลกระทบที่มีต่อมนุษย์ ปั ญหาและ
แนวทางแก้ปั ญหาทางสังคม
กรอบทางพื้นที่ (Spatial Framework) หมายถึง การวางข้อกำหนดหรือขอบเขตของพื้นที่ใน
การศึกษาเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง หรือแบบรูปแบบกระจายของสิ่งต่าง ๆ บนผิวโลกส่วนใดส่วนหนึ่ง เพื่อให้เรา
เข้าใจลักษณะ
โลกของมนุษย์ดีขึ้น เช่น การกำหนดให้มนุษย์ และวัฒนธรรมของมนุษย์ดีขึ้น เช่น การ
กำหนดให้มนุษย์และวัฒนธรรมของมนุษย์กรอบพื้นที่ของโลกที่มีลักษณะเป็ นภูมิภาค
ประเทศ จังหวัด เมือง ชุมชน
ท้องถิ่น ฯลฯ สำหรับการวิเคราะห์ หรือศึกษาองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่ง เฉพาะ
เรื่อง
รูปแบบทางพื้นที่ (Spatial Form) หมายถึง ข้อเท็จจริง เครื่องมือ หรือวิธีการ โดย
เฉพาะกลุ่มของข้อมูลที่ได้มา เป็ นต้นว่า ความสัมพันธ์ทางพื้นที่แบบรูปแบบของการก
ระจาย การกระทำระหว่างกัน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แผนที่ ภาพถ่าย ฯลฯ
พื้นที่หรือระวางที่(Space) หมายถึง ขอบเขตทางพื้นที่ในการวิเคราะห์ทางภูมิศาสตร์
เป็ นการศึกษาพื้นที่ในมิติต่าง ๆ ตามระวางที่ (Spatiak study) ที่กำหนดขึ้นมี
ขอบเขตชัดเจน อาจจะมีการกำหนดเป็ นเขตบริเวณ สถานที่ นำมิติของความกว้าง
ความลึก ความสูง ความยาว รวมทั้งมิติทางเวลา ในเขตพื้นที่ต่าง ๆ ตามที่เรากำหนด
ขอบเขตระหว่างที่ ด้วยเครื่องมือ เส้นสมมติและเทคนิคทางภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น
แผนที่ ภาพถ่าย ฯลฯ อาจจะจำแนกเป็ นเขต ภูมิภาค ประเทศ จังหวัด เมือง ชุมชน
246

ท้องถิ่น ฯลฯ ที่เฉพาะเจาะจงไป มีการพิจารณา วิเคราะห์ถึงการกระจายและ


สัมพันธภาพของมนุษย์บนผิวโลก และลักษณะทางพื้นที่ของการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
และการที่ใช้ประโยชน์จากพื้นโลก สัมพันธ์จากถิ่นฐานของมนุษย์ และการที่ใช้
ประโยชน์จากพื้นโลก สัมพันธภาพระหว่างสังคมมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ซึ่งถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งในการศึกษาความแตกต่างเชิงพื้นที่ (Area difference)
มิติสัมพันธ์เชิงทำเลที่ตั้ง หมายถึง การศึกษาความแตกต่างหรือความเหมือนกันของ
สังคมมนุษย์ในแต่ละสถานที่ ในฐานะที่ความแตกต่างและเหมือนกันนั้นอาจมีความ
เกี่ยวเนื่องกับความแตกต่างและความเหมือนกันในสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ทาง
เศรษฐกิจ ทางสังคม ทางวัฒนธรรม ทางการเมือง และการศึกษาภูมิทัศน์ที่แตกต่าง
กันในเรื่ององค์ประกอบ ปั จจัย ตลอดจนแบบรูปการกระจายของมนุษย์บนพื้นโลก
และการที่มนุษย์ใช้ประโยชน์จากพื้นโลก เหตุไรมนุษย์จึงใช้ประโยชน์จากพื้นโลก แตก
ต่างกันในสถานที่ต่างกัน และในเวลาที่ต่างกัน มีผลกระทบอย่างไร
ภาวะประชากร รายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประชากรในเรื่องสำคัญ 3 ด้าน คือขนาด
ประชากร
การกระจายตัวเชิงพื้นที่ และองค์ประกอบของประชากร
ขนาดของประชากร จำนวนประชากรทั้งหมดของเขตพื้นที่หนึ่งพื้นที่ ณ เวลาที่กล่าวถึง
การกระจายตัวเชิงพื้นที่ การที่ประชากรกระจายตัวกันอยู่ในส่วนต่างๆ ของพื้นที่หนึ่งพื้นที่
ณ เวลาที่กล่าวถึง
องค์ประกอบของประชากร ลักษณะต่าง ๆ ที่มีส่วนผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาด
หรือจำนวนประชากร องค์ประกอบของประชากรเป็ นดัชนีอย่างหนึ่งที่ชี้ให้เห็นถึง
คุณภาพของประชากร องค์ประกอบประชากรที่สำคัญ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา
อาชีพ การสมรส
การเปลี่ยนแปลงประชากร องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้เกิดกรเปลี่ยนแปลงประชากร คือ
การเกิด การตาย และการย้ายถิ่น
247
248

คณะผู้จัดทำ

คณะที่ปรึกษา

1. นายพุทธิพงศ์ พาเจริญ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเมืองแก


2. นายพิเชียร เอื้อเฟื้ อสุข รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเมืองแก

คณะทำงาน
1. นายวิจิตร คงทรัพย์ ครูชำนาญการพิเศษ ประธาน
2. นางสาคร คงทรัพย์ ครูชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
3. นางสาวเกื้อกูล พิศเพ็ง ครูธุรการ คณะทำงาน
4. นายประสิทธิ์ อุดหนุน ครูพี่เลี้ยง คณะทำงาน
5. นางชิดกมล ชมพันธ์ ครูชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
และ
เลขานุการ

คณะผู้รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


1. นายนิคม บุญล้อม ครู วิทยฐานะชำนาญการ
2. นายพิเชียร เอื้อเฟื้ อสุข รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้าน
เมืองแก

You might also like