You are on page 1of 150

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม.

3 1

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ภูมิศาสตร ม. 3
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

 ออกแบบการเรียนรูโดยใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชีว้ ัดชัน้ ปเปนเปาหมาย


 ออกแบบการจัดการเรียนรูโ ดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
 ใชแนวคิด Backward Design ผสมผสานกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ
อยางหลากหลาย
 ออกแบบการเรียนรูเพื่อพัฒนาสมรรถนะสําคัญของนักเรียนในการสือ่ สาร การคิด
การแกปญ หา การใชทกั ษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี
 แบงแผนการจัดการเรียนรูเปนรายชั่วโมง สะดวกในการใช
 มีองคประกอบครบถวนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของสถานศึกษา
 นําไปพัฒนาเปนผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3 2
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ภูมิศาสตร ม. 3
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย
หามละเมิด ทําซ้ํา ดัดแปลง และเผยแพร
สวนใดสวนหนึ่ง เวนแตจะไดรับอนุญาต

ผูเรียบเรียง
สุเทพ จิตรชื่น กศ.บ., กศ.ม.
ชะออน ศรีทอง ศษ.บ.
จุลพงษ อุดมพรพิบูล วท.บ.

บรรณาธิการ
สุระ ดามาพงษ กศ.บ., กศ.ม.

ISBN 978-974-18-0000-00
พิมพที่ บริษทั โรงพิมพวัฒนาพานิช จํากัด นายเริงชัย จงพิพัฒนสุข กรรมการผูจัดการ

สื่อการเรียนรูระดับ ม.ตน–ม.ปลาย กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
• หนังสือเรียน (ศธ. อนุญาต) • แบบฝกทักษะ • ฉบับสมบูรณแบบ • แผนฯ (CD)

ดึงจาก แผนฯ ภูมิ ม. 1 หนา 2 (สวนหนา)


คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3 3

คํานํา
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 1–3 ชุดนี้เปนสื่อการเรียนรูที่จัดทําขึ้นเพือ่ ใชเปน
แนวทางในการจัดการเรียนรูโดยยึดหลักการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design
ที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (Child-centered) ตามหลักการเนนผูเรียนเปนสําคัญ ใหนักเรียนมีสวน
รวมในกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู สามารถสรางองคความรูไดดว ยตนเอง ทั้งเปนรายบุคคลและ
รายกลุม บทบาทของครูมีหนาที่เอื้ออํานวยความสะดวกใหนักเรียนประสบผลสําเร็จ โดยสราง
สถานการณการเรียนรูทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน ทําใหนักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรูในกลุม
สาระการเรียนรูอื่น ๆ ไดในเชิงบูรณาการดวยวิธีการที่หลากหลาย เนนกระบวนการคิดวิเคราะห
สังเคราะห และสรุปความรูดว ยตนเอง ทําใหนักเรียนไดรบั การพัฒนาทั้งดานความรู ดานทักษะ/
กระบวนการ และดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่ดี นําไปสูการอยูรวมกันในสังคมอยางสันติสุข
การจัดทําคูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตรชุดนี้ไดจัดทําตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งครอบคลุมทุกสาระภูมิศาสตร ภายในเลมไดนําเสนอ
แผนการจัดการเรียนรูเปนรายชั่วโมงตามหนวยการเรียนรู เพือ่ ใหครูนําไปใชในการจัดการเรียนรูได
สะดวกยิ่งขึ้น นอกจากนี้แตละหนวยการเรียนรูยังมีการวัดและประเมินผลการเรียนรูทั้ง 3 ดาน ไดแก
ดานความรู ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม และดานทักษะ/กระบวนการ ทําใหทราบผลการ
เรียนรูแตละหนวยการเรียนรูข องนักเรียนไดทันที
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรูนําเสนอเนื้อหาแบงเปน 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู ประกอบดวยแนวทางการใชแผนการจัดการ
เรียนรู สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรู การออกแบบการเรียนรูตามแนวคิด Backward
Design เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู– การวัดและประเมินผล ภูมศิ าสตร ตารางวิเคราะหมาตรฐาน
การเรียนรู และตัวชี้วัดชั้นปกบั สาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรู และโครงสรางการแบงเวลารายชั่วโมง
ในการจัดการเรียนรู และผังมโนทัศนแสดงแนวทางการบูรณาการ
ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรูรายชั่วโมง ไดเสนอแนะแนวทางการจัดการเรียนรูแตละหนวย
การเรียนรูในสื่อการเรียนรู สมบูรณแบบ และหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน แบงเปนแผนยอยรายชั่วโมง
ซึ่งแผนการจัดการเรียนรูแตละแผนมีองคประกอบครบถวนตามแนวทางการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู
ของสถานศึกษา
ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรูเสริมสําหรับครู ประกอบดวยแบบทดสอบตาง ๆ และความรูเสริม
สําหรับครู ซึ่งบันทึกลงในแผนซีดี (CD) เพือ่ อํานวยความสะดวกใหครูใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตรชุดนี้ไดออกแบบการเรียนรูดวยเทคนิคและวิธกี ารสอน
อยางหลากหลาย หวังวาจะเปนประโยชนตอการนําไปประยุกตใชในการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับ
สภาพแวดลอมของนักเรียนตอไป

คณะผูจัดทํา
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3 4

สารบัญ
ตอนที่ 1 คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู .......................................................... 1
แนวทางการใชแผนการจัดการเรียนรู ......................................................................... 2
 สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรู ..........................................................................
การออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design ..............................
เทคนิคและวิธกี ารจัดการเรียนรู–การวัดและประเมินผลการเรียนรู ภูมิศาสตร ...................
ตารางวิเคราะหสาระ มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดชั้นปกับหนวยการเรียนรู ..................
โครงสรางการแบงเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู ......................................................
ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรูรายหนวยการเรียนรู .......................................................
หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร ................................................
ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน/ชิ้นงาน ..........................................
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทาง
ภูมิศาสตร.............................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 แผนที่ ................................................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร .......................................................
หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ ........................................................................
ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน/ชิ้นงาน ..........................................
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 2 .................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ ............................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 ประชากรของทวีปอเมริกาเหนือ .............................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ …...............................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ …..............................
หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต ............................................................................
ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน/ชิ้นงาน ….........................................
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 3 ....................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต ..................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 ประชากรของทวีปอเมริกาใต ...................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 ลักษณะเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต …....................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใต …................................
หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
และอเมริกาใต .............................................................................
ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน/ชิ้นงาน .............................................
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 4 ......................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต ..............
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3 5
แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
และอเมริกาใต ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูที่ 13 แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต ............................................................................
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 1  6
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  1

ตอนที่ 1
คําชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  2
1. แนวทางการใชแผนการจัดการเรียนรู
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตรเลมนี้จัดทําขึ้นเพือ่ เปนแนวทางใหครูใชประกอบการ
จัดการเรียนรูภมู ิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช
2551 ซึ่งการแบงหนวยการเรียนรูสําหรับจัดทําแผนการจัดการเรียนรูรายชั่วโมงในคูมอื ครู แผนการ
จัดการเรียนรูเลมนี้แบงเนื้อหาเปน 4 หนวย สามารถใชควบคูกับสื่อการเรียนรู ภูมิศาสตร สมบูรณแบบ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ประกอบดวย
หนวยการเรียนรูดังนี้
หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ
หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต
หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
และอเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรูนี้ไดนําเสนอรายละเอียดไวครบถวนตามแนวทางการจัดทํา
แผนการจัดการเรียนรู นอกจากนี้ยังไดออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนไดพัฒนาองคความรู
สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคไวอยางครบถวนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครูควรศึกษาคูมือครู แผนการจัดการเรียนรูนี้ใหละเอียดเพือ่ ปรับใชให
สอดคลองกับสภาพแวดลอม สถานการณ และสภาพของนักเรียน
ในแตละหนวยการเรียนรูจะแบงแผนการจัดการเรียนรูออกเปนรายชั่วโมง ซึ่งมีจํานวนมากนอย
ไมเทากัน ขึ้นอยูกับความยาวของเนื้อหาสาระ และในแตละหนวยการเรียนรูมีองคประกอบดังนี้
1. ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน/ชิ้นงาน แสดงขอบขายเนื้อหาการ
จัดการเรียนรูที่ครอบคลุมความรู คุณธรรม จริยธรรม คานิยม ทักษะ/กระบวนการ และภาระงาน/
ชิ้นงาน
2. กรอบแนวคิดการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design (Backward
Design Template) เปนกรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู แบงเปน 3 ขั้น
ไดแก
ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึน้ กับนักเรียน
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการ
เรียนรูตามที่กําหนดไวอยางแทจริง
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู จะระบุวาในหนวยการเรียนรูนี้แบงเปนแผนการจัดการเรียนรู
กี่แผน และแตละแผนใชเวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชั่วโมง
3. แผนการจัดการเรียนรูรายชั่วโมง เปนแผนการจัดการเรียนรูตามกรอบแนวคิดการออกแบบ
การจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design ประกอบดวย
3.1 ชื่อแผนการจัดการเรียนรู ประกอบดวยลําดับที่ของแผน ชื่อแผน และเวลาเรียน เชน
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง แผนที่ เวลา 1 ชั่วโมง
3.2 สาระสําคัญ เปนความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นํามาจัดการเรียนรูในแตละแผนการ
จัดการเรียนรู
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  3
3.3 ตัวชี้วัดชั้นป เปนตัวชี้วดั ที่ใชตรวจสอบนักเรียนหลังจากเรียนจบเนือ้ หาที่นําเสนอในแต
ละแผนการจัดการเรียนรูนั้น ๆ ซึ่งสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร
3.4 จุดประสงคการเรียนรู เปนสวนที่บอกจุดมุงหมายที่ตอ งการใหเกิดขึน้ กับนักเรียนภาย
หลังจากการเรียนจบในแตละแผน ทั้งในดานความรู (K) ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (A)
และดานทักษะ/กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคลองสัมพันธกับตัวชี้วัดชั้นปและเนื้อหาในแผนการจัดการ
เรียนรูนั้น ๆ
3.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปนการตรวจสอบผลการจัดการเรียนรูวาหลังจาก
จัดการเรียนรูในแตละแผนการจัดการเรียนรูแลว นักเรียนมีพัฒนาการ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตาม
เปาหมายที่คาดหวังไวหรือไม และมีสิ่งที่จะตองไดรับการพัฒนาปรับปรุงสงเสริมในดานใดบาง ดังนั้น
ในแตละแผนการจัดการเรียนรูจึงไดออกแบบวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดานตาง ๆ ของนักเรียนไวอยางหลากหลาย เชน การทําแบบทดสอบ การตอบคําถามสั้น ๆ การตรวจ
ผลงาน การสังเกตพฤติกรรมทั้งที่เปนรายบุคคลและเปนกลุม โดยเนนการปฏิบัติใหสอดคลองและ
เหมาะสมกับตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู
วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรูเหลานี้ครูสามารถนําไปใชประเมิน
นักเรียนได ทั้งในระหวางการจัดการเรียนรูและการทํากิจกรรมตาง ๆ ตลอดจนการนําความรูไปใชใน
ชีวิตประจําวัน
3.6 สาระการเรียนรู เปนหัวขอยอยที่นํามาจัดการเรียนรูในแตละแผนการจัดการเรียนรู ซึ่ง
สอดคลองกับสาระการเรียนรูแกนกลาง
3.7 แนวทางบูรณาการ เปนการเสนอแนะแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูในเรื่องที่เรียนรู
ของแตละแผนใหเชื่อมโยงสัมพันธกับสาระการเรียนรูอื่น ๆ ไดแก ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร
สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาตางประเทศ เพื่อใหการเรียนรู
สอดคลองและครอบคลุมสถานการณจริง
3.8 กระบวนการจัดการเรียนรู เปนการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเนื้อหาในแต
ละเรื่อง โดยใชแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูตาง ๆ ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เพือ่ ใหครูนําไปใชประโยชน
ในการวางแผนการจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการจัดการเรียนรูประกอบดวย 5
ขั้น ไดแก
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
ขั้นที่ 4 นําไปใช
ขั้นที่ 5 สรุป
3.9 กิจกรรมเสนอแนะ เปนกิจกรรมเสนอแนะสําหรับใหนักเรียนไดพัฒนาเพิ่มเติมในดาน
ตาง ๆ นอกเหนือจากที่ไดจัดการเรียนรูมาแลวในชั่วโมงเรียน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ
กิจกรรมสําหรับผูที่มีความสามารถพิเศษและตองการศึกษาคนควาในเนือ้ หานั้น ๆ ใหลึกซึ้งกวางขวาง
ยิ่งขึ้น และกิจกรรมสําหรับการเรียนรูใหครบตามเปาหมาย ซึ่งมีลักษณะเปนการซอมเสริม
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  4
3.10 สื่อ/แหลงการเรียนรู เปนรายชื่อสื่อการเรียนรูทุกประเภทที่ใชในการจัดการเรียนรู ซึ่งมี
ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ สื่อเทคโนโลยี และสื่อบุคคล เชน หนังสือ เอกสารความรู รูปภาพ
เครือขายอินเทอรเน็ต วีดิทัศน ปราชญชาวบาน
3.11 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู เปนสวนที่ใหครูบันทึกผลการจัดการเรียนรูวาประสบ
ความสําเร็จหรือไม มีปญหาหรืออุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบาง ไดแกไขปญหาและอุปสรรคนั้นอยางไร สิ่งที่
ไมไดปฏิบัติตามแผนมีอะไรบาง และขอเสนอแนะสําหรับการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูครั้งตอไป
นอกจากนี้ยงั อํานวยความสะดวกใหครู โดยจัดทําแบบทดสอบตาง ๆ และความรูเสริมสําหรับ
ครูบันทึกลงในแผนซีดี (CD) ประกอบดวย
1. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เปนแบบทดสอบเพื่อใชวัดและประเมินผลนักเรียน
กอนการจัดการเรียนรูและหลังการจัดการเรียนรู
2. แบบทดสอบปลายภาค เปนแบบทดสอบเพือ่ ใชวดั และประเมินผลการเรียนรูปลายป 3
ดาน ไดแก
2.1 ดานความรู มีแบบทดสอบทั้งที่เปนแบบปรนัยและแบบอัตนัย
2.2 ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม เปนตารางการประเมิน
2.3 ดานทักษะ/กระบวนการ เปนตารางการประเมิน
3. ใบงาน แบบบันทึก และแบบประเมินตาง ๆ
4. เอกสาร/ความรูเสริมสําหรับครู เปนการนําเสนอความรูในเรื่องตาง ๆ แกครู เชน
4.1 มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชัน้ ป และสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 5
ภูมิศาสตร
4.2 โครงงาน (Project Work)
4.3 แฟมสะสมผลงาน (Portfolio)
4.4 ผังการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design
4.5 รูปแบบแผนการจัดการเรียนรูรายชั่วโมง ที่ออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด
Backward Design
ครูควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรูเพือ่ เตรียมการสอนอยางมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมให
นักเรียนไดพัฒนาครบทุกสมรรถนะสําคัญที่กําหนดไวในหลักสูตร กลาวคือ สมรรถนะในการสื่อสาร
การคิด การแกปญหา การใชทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงคตาม
หลักสูตร และกิจกรรมเสนอแนะเพื่อการเรียนรูเพิ่มเติมใหเต็มตามศักยภาพของนักเรียนแตละคน ซึ่งได
กําหนดไวในแผนการจัดการเรียนรูนี้แลว
นอกจากนีค้ รูสามารถปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูใหสอดคลองกับสภาพความพรอมของ
นักเรียน และสถานการณเฉพาะหนาได ซึ่งจะใชเปนผลงานเพือ่ เลื่อนวิทยฐานะได แผนการจัดการ
เรียนรูนี้ไดอํานวยความสะดวกใหครู โดยไดพิมพโครงสรางแผนการจัดการเรียนรูที่ออกแบบการจัดการ
เรียนรูตามแนวคิด Backward Design ใหครูเพิ่มเติมเฉพาะสวนที่ครูปรับปรุงเองไวดวยแลว
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  5
2. สัญลักษณลักษณะกิจกรรมการเรียนรู
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ชุดนี้สามารถใชคูกับแบบฝกทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน
ภูมิศาสตร ซึ่งทุกเลมไดกําหนดสัญลักษณกํากับกิจกรรม การเรียนรูไวทุกกิจกรรมเพือ่ ชวยใหครูและ
นักเรียนทราบลักษณะของกิจกรรมนั้น ๆ เพื่อการจัดกิจกรรมใหบรรลุเปาหมาย สัญลักษณลักษณะ
กิจกรรมการเรียนรูมีดังนี้

โครงงาน เปนกิจกรรมทีม่ ุงพัฒนาการคิด การวางแผน และการแกปญหา

การพัฒนากระบวนการคิด เปนกิจกรรมใหนกั เรียนทําเพือ่ พัฒนากระบวนการคิดดานตาง ๆ

การประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เปนกิจกรรมใหนักเรียนนําความรูและทักษะไปประยุกตใช
ในชีวิตประจําวันใหเกิดประโยชนสูงสุด

การทําประโยชนใหสังคม เปนกิจกรรมใหนกั เรียนปฏิบัติในการทําประโยชนเพือ่ สังคม เพื่อ


การอยูรว มกันในสังคมอยางมีความสุข

การปฏิบัติจริง/ฝกทักษะ เปนกิจกรรมใหนกั เรียนไดปฏิบตั ิจริงหรือฝกปฏิบัติเพื่อเกิดทักษะ


อันจะชวยใหการเรียนรูเปนไปตามเปาหมายอยางสมบูรณและเกิดความเขาใจที่คงทน

การศึกษาคนควา/สืบคน เปนกิจกรรมใหนักเรียนศึกษาคนควาหรือสืบคนขอมูลจากแหลง
การเรียนรูตาง ๆ เพือ่ สรางองคความรูดว ยตนเองจนเกิดเปนนิสัย

การสํารวจ เปนกิจกรรมใหนกั เรียนสํารวจ รวบรวมขอมูลเพื่อนํามาศึกษาวิเคราะห หาเหตุ หา


ผล ฝกความเปนผูรอบคอบ

ทักษะการพูด เปนกิจกรรมใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะการพูดประเภทตาง ๆ

ทักษะการเขียน เปนกิจกรรมใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะการเขียนประเภทตาง ๆ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  6
3. การออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด
Backward Design
การจัดการเรียนรูหรือการสอนเปนงานที่ครูทุกคนตองใชกลวิธีตาง ๆ มากมายเพือ่ ใหนกั เรียน
สนใจที่จะเรียนรูและเกิดผลตามที่ครูคาดหวัง การจัดการเรียนรูจัดเปนศาสตรที่ตองใชความรู
ความสามารถตลอดจนประสบการณอยางมาก ครูบางคนอาจจะละเลยเรื่องของการออกแบบการจัด
การเรียนรูหรือการออกแบบการสอน ซึ่งเปนงานที่ครูจะตองทํากอนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู
การออกแบบการจัดการเรียนรูทําอยางไร ทําไมจึงตองออกแบบการจัดการเรียนรู ครูทุกคนผาน
การศึกษาและไดเรียนรูเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรียนรูมาแลว ในอดีตการออกแบบการจัดการ
เรียนรูจะเริ่มตนจากการกําหนดจุดประสงคการเรียนรู การวางแผนการจัดการเรียนรู การดําเนินการ
จัดการเรียนรู และการวัดและประเมินผลการเรียนรู ปจจุบันการเรียนรูไดมีการเปลี่ยนแปลงไปตาม
สภาพแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เขามา
มีบทบาทตอการเรียนรูของนักเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรูไดจากสื่อและแหลงการเรียนรูตาง ๆ
ที่มีอยูรอบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรียนรูจึงเปนกระบวนการสําคัญที่ครูจําเปนตองดําเนิน
การใหเหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียนแตละบุคคล
แกรนต วิกกินส (Grant Wiggins) และเจย แมกไท (Jay McTighe) นักการศึกษาชาวอเมริกัน
ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรียนรู ซึ่งเรียกวา Backward Design อัน
เปนการออกแบบการจัดการเรียนรูที่ครูจะตองกําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
กอน โดยทั้งสองใหชื่อวา ความเขาใจที่คงทน (Enduring Understanding) เมื่อกําหนดความเขาใจที่
คงทนไดแลว ครูจะตองบอกใหไดวา ความเขาใจที่คงทนของนักเรียนนี้เกิดจากอะไร นักเรียนจะตองมี
หรือแสดงพฤติกรรมอะไรบาง ครูมีหรือใชวิธกี ารวัดอะไรบางที่จะบอกวานักเรียนมีหรือแสดงพฤติกรรม
เหลานั้นแลว จากนั้นครูจึงนึกถึงวิธีการจัดการเรียนรูที่จะทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจที่คงทนตอไป
แนวคิด Backward Design
Backward Design เปนการออกแบบการจัดการเรียนรูที่ใชผลลัพธปลายทางเปนหลัก
ซึ่งผลลัพธปลายทางนี้จะเกิดขึน้ กับนักเรียนก็ตอเมือ่ จบหนวยการเรียนรู ทั้งนี้ครูจะตองออกแบบการ
จัดการเรียนรู โดยใชกรอบความคิดที่เปนเหตุเปนผล มีความสัมพันธกนั จากนั้นจึงจะลงมือเขียน
แผนการจัดการเรียนรู ขยายรายละเอียดเพิม่ เติมใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพตอไป
กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design มี
ขั้นตอนหลักที่สําคัญ 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 กําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ขั้นที่ 2 กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียน
มีผลการเรียนรูตามที่กําหนดไวอยางแทจริง
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 กําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
กอนที่จะกําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียนนั้น ครูควรตอบคําถามสําคัญ
ตอไปนี้
1. นักเรียนควรจะมีความรู ความเขาใจ และสามารถทําสิ่งใดไดบาง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  7
2. เนื้อหาสาระใดบางที่มีความสําคัญตอการสรางความเขาใจของนักเรียน และความเขาใจที่คงทน
(Enduring Understanding) ที่ครูตองการจัดการเรียนรูใหแกนักเรียนมีอะไรบาง
เมื่อจะตอบคําถามสําคัญดังกลาวขางตน ใหครูนึกถึงเปาหมายของการศึกษา มาตรฐานการเรียนรู
ดานเนือ้ หาระดับชาติที่ปรากฏอยูในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้ง
มาตรฐานการเรียนรูระดับเขตพื้นที่การศึกษาหรือทองถิ่น การทบทวนความคาดหวังของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เนือ่ งจากมาตรฐานแตละระดับจะมีความสัมพันธกับเนือ้ หาสาระตาง ๆ
ซึ่งมีความแตกตางลดหลั่นกันไป ดวยเหตุนี้ขนั้ ที่ 1 ของ Backward Design ครูจึงตองจัดลําดับ
ความสําคัญและเลือกผลลัพธปลายทางของนักเรียน ซึ่งเปนผลการเรียนรูที่เกิดจากความเขาใจที่คงทน
ตอไป
ความเขาใจที่คงทนของนักเรียน
ความเขาใจที่คงทนคืออะไร ความเขาใจที่คงทนเปนความรูท ี่ลึกซึ้ง ไดแก ความคิดรวบยอด
ความสัมพันธ และหลักการของเนื้อหาและวิชาที่นักเรียนเรียนรู หรือกลาวอีกนัยหนึง่ เปนความรูที่
อิงเนื้อหา ความรูนี้เกิดจากการสะสมขอมูลตาง ๆ ของนักเรียนและเปนองคความรูที่นักเรียนสรางขึ้น
ดวยตนเอง
การเขียนความเขาใจที่คงทนในการออกแบบการจัดการเรียนรู
ถาความเขาใจที่คงทน หมายถึง สาระสําคัญของสิ่งที่จะเรียนรูแลว ครูควรจะรูวาสาระสําคัญ
หมายถึงอะไร คําวา สาระสําคัญ มาจากคําวา Concept ซึ่งนักการศึกษาของไทยแปลเปนภาษาไทยวา
สาระสําคัญ ความคิดรวบยอด มโนทัศน มโนมติ และสังกัป ซึ่งการเขียนแผนการจัดการเรียนรูนิยมใช
คําวา สาระสําคัญ
สาระสําคัญเปนขอความที่แสดงแกนหรือเปาหมายเกี่ยวกับเรื่องใดเรือ่ งหนึง่ เพือ่ ใหไดขอสรุปรวม
และขอแตกตางเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึง่ โดยอาจครอบคลุมขอเท็จจริง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการ
สรุปสาระสําคัญและขอความที่มีลักษณะรวบยอดอยางอื่น
ประเภทของสาระสําคัญ
1. ระดับกวาง (Broad Concept)
2. ระดับการนําไปใช (Operative Concept หรือ Functional Concept)
ตัวอยางสาระสําคัญระดับกวาง
- การเลือกใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรไดอยางถูกตอง
ตัวอยางสาระสําคัญระดับการนําไปใช
- การรูจักใชแผนที่และเครื่องมือในการคนหาขอมูลขาวสารทางภูมิศาสตร จะทําใหงายและเขาใจ
วิชาภูมิศาสตรมากขึ้น
แนวทางการเขียนสาระสําคัญ
1. ใหเขียนสาระสําคัญของทุกเรื่อง โดยแยกเปนขอ ๆ (จํานวนขอของสาระสําคัญจะเทากับ
จํานวนเรื่อง)
2. การเขียนสาระสําคัญที่ดีควรเปนสาระสําคัญระดับการนําไปใช
3. สาระสําคัญตองครอบคลุมประเด็นสําคัญครบถวน เพราะหากขาดสวนใดไปแลวจะทําให
นักเรียนรับสาระสําคัญที่ผิดไปทันที
4. การเขียนสาระสําคัญที่จะใหครอบคลุมประเด็นสําคัญวิธกี ารหนึ่ง คือ การเขียนแผนผัง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  8
สาระสําคัญ

ตัวอยางการเขียนแผนผังสาระสําคัญ

ใชศึกษาพื้นที่เพาะปลูก
ดานปาไม ประเมินความเสียหายของพื้นที่
เพาะปลูกจากภัยธรรมชาติ

ประโยชน
ของภาพจาก ดานธรณีวิทยา ศึกษาโครงสรางดานธรณีวิทยา
ดาวเทียม และธรณีสัณฐาน

วางแผนการจัดการทรัพยากรน้ํา
ดานทรัพยากร และประเมินความเสียหาย
จากภัยธรรมชาติ

สาระสําคัญของภาพจากดาวเทียม: ภาพจากดาวเทียมมีประโยชนในดานตาง ๆ ไดแก ดานปาไม


ดานธรณีวิทยา และดานทรัพยากร
5. การเขียนสาระสําคัญเกี่ยวกับเรื่องใดควรเขียนลักษณะเดนที่มองเห็นไดหรือนึกไดออกมาเปน
ขอ ๆ แลวจําแนกลักษณะเหลานั้นเปนลักษณะจําเพาะและลักษณะประกอบ
6. การเขียนขอความทีเ่ ปนสาระสําคัญ ควรใชภาษาที่มีการขัดเกลาอยางดี เลี่ยงคําที่มีความหมาย
กํากวมหรือฟุมเฟอย
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  9

ตัวอยางการเขียนสาระสําคัญ เรื่อง แมลง

แมลง ลักษณะจําเพาะ ลักษณะประกอบ


มีสี - 
มี 6 ขา  -
มีพิษ - 
รองได - 
มีปก  -
ลําตัวเปนปลอง  -
มีหนวดคลําทาง 2 เสน  -
ใชเปนอาหารได - 
ไมมีกระดูกสันหลัง  -
สาระสําคัญของแมลง: แมลงเปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง ลําตัวเปน 3 ปลอง มี 6 ขา มีหนวด
คลําทาง 2 เสน มีปก 2 ปก ตัวมีสีตางกัน บางชนิดรองได บางชนิดมีพษิ และบางชนิดเปน
อาหารได
ขั้นที่ 2 กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานทีแ่ สดงวานักเรียน
มีผลการเรียนรูตามที่กําหนดไวอยางแทจริง
เมื่อครูกําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียนแลว กอนทีจ่ ะดําเนินการขัน้ ตอไป
ขอใหครูตอบคําถามสําคัญตอไปนี้
- นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกในลักษณะใด จึงทําใหครูทราบวานักเรียนบรรลุผลลัพธ
ปลายทางตามที่กําหนดไวแลว
- ครูมีหลักฐานหรือใชวิธีการใดที่สามารถระบุไดวา นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกตาม
ผลลัพธปลายทางที่กําหนดไว
การออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design เนนใหครูรวบรวมหลักฐานการ
วัดและประเมินผลการเรียนรูที่จําเปนและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกลาวไดวา การจัดการเรียนรูทําให
นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์แลวไมใชเรียนแคใหจบตามหลักสูตรหรือเรียนตามชุดของกิจกรรมการเรียนรูที่
ครูกําหนดไวเทานั้น วิธีการของ Backward Design ตองการกระตุนใหครูคิดลวงหนาวา ครูควรจะ
กําหนดและรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษอะไรบางกอนที่จะออกแบบหนวยการเรียนรู โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งหลักฐานดังกลาวควรจะเปนหลักฐานที่สามารถใชเปนขอมูลยอนกลับที่มีประโยชนสําหรับผูเรียนและ
ครูไดเปนอยางดี นอกจากนี้ครูควรใชวิธีการวัดและประเมินแบบตอเนื่องอยางไมเปนทางการและเปน
ทางการ ตลอดระยะเวลาที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูใหแกนักเรียน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดที่ตองการให
ครูทําการวัดและประเมินผลการเรียนรูระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เรียกวา สอนไปวัดผลไป
จึงกลาวไดวา ขั้นนี้ครูควรนึกถึงพฤติกรรมหรือการแสดงออกของนักเรียน โดยพิจารณาจาก
ผลงานหรือชิ้นงานที่เปนหลักฐานเชิงประจักษ ซึ่งแสดงใหเห็นวานักเรียนเกิดผลลัพธปลายทางตาม
เกณฑที่กําหนดไวแลว และเกณฑที่ใชประเมินควรเปนเกณฑคุณภาพในรูปของมิติคุณภาพ (Rubrics)
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  10
อยางไรก็ตาม ครูอาจจะมีหลักฐานหรือใชวิธกี ารอื่น ๆ เชน การทดสอบกอนและหลังเรียน การ
สัมภาษณ การศึกษาคนควา การฝกปฏิบัติขณะเรียนรูประกอบดวยก็ได
หลังจากที่ครูไดกําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียนแลว ครูควรกําหนดภาระ
งานและวิธีการประเมินผลการเรียนรู ซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามผลลัพธ
ปลายทางที่กําหนดไวแลว
ภาระงาน หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่กําหนดใหนักเรียนปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุตามจุดประสงคการ
เรียนรู/ตัวชี้วัดชั้นป/มาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว ลักษณะสําคัญของงานจะตองเปนงานที่สอดคลอง
กับชีวิตจริงในชีวิตประจําวัน เปนเหตุการณจริงมากกวากิจกรรมที่จําลองขึ้นเพือ่ ใชในการทดสอบ ซึ่ง
เรียกวา งานทีป่ ฏิบัติเปนงานที่มีความหมายตอผูเรียน (Meaningful Task) นอกจากนี้งานหรือกิจกรรม
จะตองมีขอบเขตที่ชัดเจน สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู/ตัวชี้วัดชั้นป/มาตรฐานการเรียนรูที่
ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ทั้งนี้เมือ่ ไดภาระงานครบถวนตามที่ตองการแลว ครูจะตองนึกถึงวิธีการและเครื่องมือที่จะใชวัด
และประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนซึ่งมีอยูมากมายหลายประเภท ครูจะตองเลือกใหเหมาะสมกับ
ภาระงานที่นักเรียนปฏิบัติ
ตัวอยางภาระงานเรื่อง แผนที่ รวมทั้งการกําหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียน
ดังตาราง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3 11
ตัวอยาง ภาระงาน/ชิ้นงาน แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง แผนที่
สาระที่ 5: ภูมิศาสตร
มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพและความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมศิ าสตร
ในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ

จุดประสงคการ การวัดและประเมินผล
สาระการเรียนรู ภาระงาน/ชิ้นงาน กิจกรรมการเรียนรู สื่อการเรียนรู
เรียนรู วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ
อธิบาย  แผนที่ 1. การบันทึก 1. ซักถาม 1. แบบซักถาม 1. เกณฑคุณภาพ ศึกษาคนควา วิเคราะห 1. แผนที่ประเภทตาง ๆ
ความหมาย 1. ความหมายของ ความรู ความรู 2. แบบ 4 ระดับ บันทึกผล และนําเสนอ ของทวีปอเมริกาเหนือ
ประเภท และ แผนที่ 2. การนําเสนอ 2. ตรวจ ตรวจสอบ 2. เกณฑคุณภาพ ผลงานหนาชั้นเรียน และอเมริกาใต
องคประกอบ 2. ประเภทของ ผลงาน ผลงาน ผลงาน 4 ระดับ 2. ใบงานเรื่อง แผนที่
ของแผนที่ได แผนที่ 3. สังเกตการ 3. แบบ 3. เกณฑคุณภาพ 3. สื่ออิเล็กทรอนิกส
3. องคประกอบ ทํางานกลุม สังเกตการ 4 ระดับ และหนังสือตาง ๆ
ของแผนที่ ทํางานกลุม จากหองสมุด
4. วิวัฒนาการของ
แผนที่
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3 
12

ความเขาใจที่คงทนจะเกิดขึน้ ได นักเรียนจะตองมีความสามารถ 6 ประการ ไดแก


1. การอธิบาย ชี้แจง เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการอธิบายหรือชี้แจงในสิ่งที่
เรียนรูไดอยางถูกตอง สอดคลอง มีเหตุมีผล และเปนระบบ
2. การแปลความและตีความ เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการแปลความและ
ตีความไดอยางมีความหมาย ตรงประเด็น กระจางชัด และทะลุปรุโปรง
3. การประยุกต ดัดแปลง และนําไปใช เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการนําสิ่งที่
ไดเรียนรูไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคลองแคลว
4. การมีมุมมองที่หลากหลาย เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีมุมมองที่
นาเชื่อถือ เปนไปได มีความลึกซึ้ง แจมชัด และแปลกใหม
5. การใหความสําคัญและใสใจในความรูสึกของผูอื่น เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออก
โดยการมีความละเอียดรอบคอบ เปดเผย รับฟงความคิดเห็นของผูอนื่ ระมัดระวังที่จะไมใหเกิดความ
กระทบกระเทือนตอผูอื่น
6. การรูจักตนเอง เปนความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู สามารถ
ประมวลผลขอมูลจากแหลงที่หลากหลาย ปรับตัวได รูจักใครครวญ และมีความเฉลียวฉลาด
นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดสมรรถนะ
สําคัญของนักเรียนหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรไว 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช
ภาษาถายทอดความคิด ความรู ความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเอง เพือ่ แลกเปลี่ยนขอมูล
ขาวสารและประสบการณ อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรอง
เพือ่ ขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและ
ความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสือ่ สารที่มีประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเอง
และสังคม
2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง
สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดอยางเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่
เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใช
ในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ
ตนเอง สังคม และสิ่งแวดลอม
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไปใชใน
การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอ ยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกัน
ในสังคม ดวยการสรางเสริมความสัมพันธอนั ดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ
อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจัก
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคซึ่งจะสงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3 
13

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีดา นตาง ๆ


มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การ
ทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม
นอกจากสมรรถนะสําคัญของนักเรียนหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่กลาวแลวขางตน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค
เพือ่ ใหสามารถอยูรวมกับผูอนื่ ในสังคมไดอยางมีความสุขในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสัตยสุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยูอยางพอเพียง
6. มุงมั่นในการทํางาน
7. รักความเปนไทย
8. มีจิตสาธารณะ
ดังนั้นการกําหนดภาระงานใหนักเรียนปฏิบัติ รวมทั้งการเลือกวิธีการและเครื่องมือประเมินผลการ
เรียนรูนั้น ครูควรคํานึงถึงความสามารถของนักเรียน 6 ประการตามแนวคิด Backward Design
สมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียนหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ได
กลาวไวขางตน เพือ่ ใหภาระงาน วิธีการ และเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรูครอบคลุมสิ่งที่
สะทอนผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึน้ กับนักเรียนอยางแทจริง
นอกจากนี้การออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward design ในขั้นที่ 2 นี้ ครู
จะตองคํานึงถึงภาระงาน วิธีการ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรูที่มีความเที่ยงตรง เชื่อถือได มี
ประสิทธิภาพ ตรงกับสภาพจริง มีความยืดหยุน และใหความสบายใจแกนักเรียนเปนสําคัญ
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู
เมื่อครูมีความรูค วามเขาใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับการกําหนดผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับ
นักเรียน รวมทัง้ กําหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนเกิด
การเรียนรูตามที่กําหนดไวอยางแทจริงแลว ขั้นตอไปครูควรนึกถึงกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ที่จะจัด
ใหแกนักเรียน การที่ครูจะนึกถึงกิจกรรมตาง ๆ ที่จะจัดใหนักเรียนไดนนั้ ครูควรตอบคําถามสําคัญ
ตอไปนี้
- ถาครูตองการจะจัดการเรียนรูใหนักเรียนเกิดความรูเกี่ยวกับขอเท็จจริง ความคิดรวบยอด
หลักการ และทักษะกระบวนการตาง ๆ ที่จาํ เปนสําหรับนักเรียน ซึ่งจะทําใหนักเรียนเกิดผลลัพธ
ปลายทางตามที่กําหนดไว รวมทั้งเกิดเปนความเขาใจที่คงทนตอไปนั้น ครูสามารถจะใชวิธีการงาย ๆ
อะไรบาง
- กิจกรรมการเรียนรูที่จะชวยเปนสื่อนําใหนักเรียนเกิดความรูและทักษะที่จําเปนมีอะไรบาง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3 
14
 สื่อและแหลงการเรียนรูที่เหมาะสมและดีที่สุด ซึ่งจะทําใหนักเรียนบรรลุตามมาตรฐานของ
หลักสูตรมีอะไรบาง
 กิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ที่กําหนดไวควรจัดกิจกรรมใดกอนและควรจัดกิจกรรม
ใดหลัง
 กิจกรรมตาง ๆ ออกแบบไวเพื่อตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลของนักเรียนหรือไม
เพราะเหตุใด
การจัดกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ เพื่อใหนักเรียนเกิดผลลัพธปลายทางตามแนวคิด Backward
Design นั้น วิกกินสและแมกไทไดเสนอแนะใหครูเขียนแผนการจัดการเรียนรูโดยใชแนวคิดของ
WHERETO (ไปที่ไหน) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
W แทน กิจกรรมการเรียนรูที่จัดใหนั้นจะตองชวยใหนักเรียนรูวาหนวยการเรียนรูนี้จะดําเนินไป
ในทิศทางใด (Where) และสิ่งที่คาดหวังคืออะไร (What) มีอะไรบางชวยใหครูทราบวานักเรียนมีความรู
พื้นฐานและความสนใจอะไรบาง
H แทน กิจกรรมการเรียนรูควรดึงดูดความสนใจนักเรียนทุกคน (Hook) ทําใหนักเรียนเกิด
ความสนใจในสิ่งที่จะเรียนรู (Hold) และใชสิ่งที่นักเรียนสนใจเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู
E แทน กิจกรรมการเรียนรูควรสงเสริมและจัดให (Equip) นักเรียนไดมปี ระสบการณ
(Experience) ในแนวคิดหลัก/ความคิดรวบยอด และสํารวจ รวมทั้งวินจิ ฉัย (Explore) ในประเด็นตาง ๆ
ที่นาสนใจ
R แทน กิจกรรมการเรียนรูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดคดิ ทบทวน (Rethink) ปรับ (Revise)
ความเขาใจในความรูและงานที่ปฏิบัติ
E แทน กิจกรรมการเรียนรูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดประเมิน (Evaluate) ผลงานและสิ่งที่
เกี่ยวของกับการเรียนรู
T แทน กิจกรรมการเรียนรูควรออกแบบ (Tailored) สําหรับนักเรียนเปนรายบุคคลเพื่อให
สอดคลองกับความตองการ ความสนใจ และความสามารถที่แตกตางกันของนักเรียน
O แทน การจัดกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ใหเปนระบบ (Organized) ตามลําดับการเรียนรูของ
นักเรียน และกระตุนใหนักเรียนมีสวนรวมในการสรางองคความรูตั้งแตเริ่มแรกและตลอดไป ทั้งนี้เพือ่
การเรียนรูที่มีประสิทธิผล
อยางไรก็ตาม มีขอสังเกตวาการวางแผนการจัดการเรียนรูที่มีการกําหนดวิธีการจัดการเรียนรู
การลําดับบทเรียน รวมทั้งสื่อและแหลงการเรียนรูที่เฉพาะเจาะจงนั้นจะประสบผลสําเร็จไดก็ตอเมือ่ ครู
ไดมีการกําหนดผลลัพธปลายทาง หลักฐานและวิธีการวัดและประเมินผลที่แสดงวานักเรียนมีผลการ
เรียนรูตามที่กําหนดไวอยางแทจริงแลว การจัดกิจกรรมการเรียนรูเปนเพียงสื่อที่จะนําไปสูเปาหมาย
ความสําเร็จที่ตอ งการเทานั้น ดวยเหตุนี้ถาครูมีเปาหมายที่ชัดเจนก็จะชวยทําใหการวางแผนการจัดการ
เรียนรูและการจัดกิจกรรมการเรียนรูสามารถทําใหนักเรียนเกิดผลสัมฤทธิต์ ามที่กําหนดไวได
โดยสรุปจึงกลาวไดวา ขั้นนี้เปนการคนหาสื่อการเรียนรู แหลงการเรียนรู และกิจกรรมการเรียนรู
ที่สอดคลองเหมาะสมกับนักเรียน กิจกรรมที่กําหนดขึ้นควรเปนกิจกรรมที่จะสงเสริมใหนักเรียนสามารถ
สรางและสรุปเปนความคิดรวบยอดและหลักการที่สําคัญของสาระที่เรียนรู กอใหเกิดความเขาใจที่คงทน
รวมทั้งความรูส ึกและคานิยมที่ดีไปพรอม ๆ กับทักษะความชํานาญ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3 
15
การออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design
หนวยการเรียนรูที่

ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ตัวชี้วัดชั้นป

ความเขาใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสําคัญที่ทําใหเกิดความเขาใจที่คงทน
นักเรียนจะเขาใจวา…
1. 1.
2. 2.

ความรูของนักเรียนที่นําไปสูความเขาใจที่ ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสูความ
คงทน นักเรียนจะรูวา… เขาใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. 1.
2. 2.
3. 3.

ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรู
ตามที่กําหนดไวอยางแทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนตองปฏิบัติ
1.1
1.2
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
2.1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู 2.2 เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
1) 1)
2) 2)

3. สิ่งที่มุงประเมิน
3.1
3.2
3.3
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3 
16

รูปแบบแผนการจัดการเรียนรูรายชั่วโมง
รูปแบบแผนการจัดการเรียนรูรายชั่วโมงจากการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด
Backward Design เขียนโดยใชรูปแบบของแผนการจัดการเรียนรูแบบเรียงหัวขอ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
ชื่อแผน... (ระบุชื่อและลําดับที่ของแผนการจัดการเรียนรู)
ชื่อเรื่อง... (ระบุชื่อเรื่องทีจ่ ะทําการจัดการเรียนรู)
สาระที่... (ระบุสาระที่ใชจัดการเรียนรู)
เวลา... (ระบุระยะเวลาที่ใชในการจัดการเรียนรูตอ 1 แผน)
ชั้น... (ระบุชั้นที่จัดการเรียนรู)
หนวยการเรียนรูที่... (ระบุชื่อและลําดับที่ของหนวยการเรียนรู)
สาระสําคัญ... (เขียนความคิดรวบยอดหรือมโนทัศนของหัวเรื่องที่จะจัดการเรียนรู)
ตัวชี้วัดชั้นป... (ระบุตัวชี้วัดชัน้ ปที่ใชเปนเปาหมายของแผนการจัดการเรียนรู)
จุดประสงคการเรียนรู... (กําหนดใหสอดคลองกับสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงคของนักเรียนหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช
2551 ซึ่งประกอบดวยดานความรูความคิด (Knowledge: K) ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม
(Affective: A) และดานทักษะ/กระบวนการ (Performance: P))
การวัดและประเมินผลการเรียนรู... (ระบุวิธกี ารและเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลอง
กับจุดประสงคการเรียนรูทั้ง 3 ดาน)
สาระการเรียนรู... (ระบุสาระและเนื้อหาที่ใชจัดการเรียนรู อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่องก็ได)
แนวทางบูรณาการ... (เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุมสาระอื่นที่บูรณาการรวมกัน)
กระบวนการจัดการเรียนรู... (กําหนดใหสอดคลองกับธรรมชาติของกลุมสาระและการ
บูรณาการขามสาระ)
กิจกรรมเสนอแนะ... (ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นักเรียนควรปฏิบัติเพิ่มเติม)
สื่อ/แหลงการเรียนรู... (ระบุสื่อ อุปกรณ และแหลงเรียนรูที่ใชในการจัดการเรียนรู)
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู... (ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรียนรูตามแผนที่
กําหนดไว อาจนําเสนอขอเดนและขอดอยใหเปนขอมูลที่สามารถใชเปนสวนหนึ่งของการทําวิจัยในชัน้
เรียนได)
ในสวนของการเขียนการจัดกิจกรรมการเรียนรูนั้น ใหครูที่เขียนแผนการจัดการเรียนรูนําขั้นตอน
หลักของเทคนิคและวิธีการของการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เชน การเรียนแบบแกปญหา
การศึกษาเปนรายบุคคล การอภิปรายกลุมยอย/กลุมใหญ การฝกปฏิบัติการ การสืบคนขอมูล ฯลฯ มา
เขียนในขั้นสอน โดยใหคํานึงถึงธรรมชาติของกลุมสาระการเรียนรู
การใชแนวคิดของการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design จะชวยใหครูมี
ความมั่นใจในการจัดการเรียนรูและใชแผนการจัดการเรียนรูของ ในการจัดการเรียนรูไดอยางมี
ประสิทธิภาพตอไป
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3 
17
4. เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู–การวัดและประเมินผลกลุมสาระการเรียนรู
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
มาตรา 24 (2) และ (3) ไดระบุแนวทางการจัดการเรียนรู โดยเนนการฝกทักษะกระบวนการคิด การ
ฝกทักษะการแสวงหาความรูดว ยตนเองจากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย การฝกปฏิบัติจริง และการ
ประยุกตใชความรูเพือ่ การปองกันและแกปญหา ดังนั้น เพื่อใหการจัดการเรียนรูสอดคลองกับนโยบาย
ดังกลาวนี้ การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูในคูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตรชุดนี้ จึงยึด
แนวทางการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (Child-centered) เนนการเรียนรูจากการปฏิบัติ
จริง และเนนการเรียนรูแบบบูรณาการที่ผสมผสานเชื่อมโยงสาระการเรียนรูตาง ๆ กับหัวขอเรื่องหรือ
ประเด็นที่สอดคลองกับชีวิตจริง เพือ่ ใหนักเรียนเกิดการพัฒนาในองครวม เปนธรรมชาติ สอดคลองกับ
สภาพและปญหาที่เกิดในวิถีชวี ิตของนักเรียน
แนวทางการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ไดเปลี่ยนแปลงบทบาทของครูจากการเปนผู
ชี้นําหรือถายทอดความรู ไปเปนผูชวยเหลือ อํานวยความสะดวก และสงเสริมสนับสนุนนักเรียนโดยใช
วิธีการตาง ๆ อยางหลากหลายรูปแบบ เพื่อใหนักเรียนเกิดการสรางสรรคความรูและนําความรูไปใช
อยางมีประสิทธิภาพ คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตรชุดนี้จึงไดนําเสนอ ทฤษฎี เทคนิค และ
วิธีการสอนตาง ๆ มาเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู เชน
การจัดการเรียนรูโดยใชสมองเปนฐาน (Brain-Based Learning–BBL) เปนวิธีการจัดการ
เรียนรูที่อิงผลการวิจัยทางประสาทวิทยา ซึ่งไดเสนอแนะไววา ตามธรรมชาตินั้นสมองเรียนรูไดอยางไร
โดยไดกลาวถึงโครงสรางที่แทจริงของสมองและการทํางานของสมองมนุษยที่มีการแปรเปลี่ยนไปตามขั้น
ของการพัฒนา ซึ่งสามารถนํามาใชเปนกรอบแนวคิดของการสรางสรรคการจัดการเรียนรูไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
การจัดการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน (Problem–Based Learning–PBL) เปนวิธกี าร
จัดการเรียนรูที่ใชปญหาที่เกิดขึ้นเปนจุดเริ่มตนและเปนตัวกระตุนใหเกิดกระบวนการเรียนรู โดยให
นักเรียนรวมกันแกปญหาภายใตการแนะนําของครู ใหนักเรียนชวยกันตั้งคําถามและชวยกันคนหา
คําตอบ โดยอาจใชความรูเ ดิมมาแกปญหา หรือศึกษาคนควาเพิ่มเติมสําหรับการแกปญหา นําขอมูลที่ได
จากการคนความาสรุปเปนขอมูลในการแกปญหา แลวชวยกันประเมินการแกปญหาเพื่อใชในการ
แกปญ  หาครั้งตอไป สําหรับขั้นตอนการจัดการเรียนรู
การจัดการเรียนรูแบบพหุปญญา (Multiple Intelligences) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่มุง
พัฒนาองครวมของนักเรียนทั้งสมองดานซายและสมองดานขวา บนพื้นฐานความสามารถและสติปญญา
ที่แตกตางกันของแตละบุคคล มุงหมายจะใหนักเรียนสามารถแกปญหาหรือสรางสรรคสิ่งตาง ๆ ภายใต
ความหลากหลายของวัฒนธรรมหรือสภาพแวดลอม
การจัดการเรียนรูแบบรวมมือ (Cooperative Learning) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่จัด
สถานการณและบรรยากาศใหนักเรียนเกิดการเรียนรูรวมกัน ฝกใหนักเรียนที่มีลักษณะแตกตางกันทั้ง
สติปญญาและความถนัดรวมกันทํางานเปนกลุม รวมกันศึกษาคนควา
การจัดการเรียนรูแบบใชหมวกความคิด 6 ใบ (Six Thinking Hats) เปนวิธีการจัดการเรียนรู
ที่ใหนักเรียนฝกตั้งคําถามและตอบคําถามที่ใชความคิดในลักษณะตาง ๆ โดยสามารถอธิบายเหตุผล
ประกอบหรือวิเคราะหวิจารณได
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3 
18
การจัดการเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน (Inquiry Process) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่ฝกให
นักเรียนคนหาความรูดวยตนเองเพือ่ อธิบายสิ่งตาง ๆ อยางเปนระบบ มีหลักเกณฑ โดยนักเรียนจะตอง
ใชความสามารถของตนเองคิดคน สืบเสาะ แกปญหา หรือคิดประดิษฐสิ่งใหมดวยตนเอง
การจัดการเรียนรูแบบกระบวนการแกปญหา (Problem Solving) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่มุง
ฝกใหนักเรียนเรียนรูจากการแกปญหาที่เกิดขึ้น โดยการทําความเขาใจปญหา วางแผนแกปญหา
ดําเนินการแกปญหา และตรวจสอบหรือมองยอนกลับ
การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน (Project Work) เปนวิธกี ารจัดการเรียนรูรูปแบบหนึ่งที่สงเสริม
ใหนักเรียนเรียนรูดวยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ โดยใชกระบวนการแสวงหาความรูหรือคนควาหา
คําตอบในสิ่งที่นักเรียนอยากรูห รือสงสัย ดวยวิธีการตาง ๆ อยางหลากหลาย
การจัดการเรียนรูที่เนนการปฏิบัติ (Active Learning) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่ใหนักเรียนได
ทดลองทําดวยตนเอง เพือ่ จะไดเรียนรูขั้นตอนของงาน รูจ ักวิธีแกปญหาในการทํางาน
การจัดการเรียนรูแบบสรางผังความคิด (Concept Mapping) เปนวิธกี ารจัดการเรียนรูดวยการ
จัดกลุมความคิดรวบยอด เพือ่ ใหเห็นความสัมพันธกันระหวางความคิดหลักและความคิดรองลงไป โดย
นําเสนอเปนภาพหรือเปนผัง
การจัดการเรียนรูจากประสบการณ (Experience Learning) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่จัด
กิจกรรมหรือจัดประสบการณใหนักเรียนเกิดการเรียนรูจากการปฏิบัติ แลวกระตุนใหนักเรียนพัฒนา
ทักษะใหม ๆ เจตคติใหม ๆ หรือวิธีการคิดใหม ๆ
การเรียนรูโดยการแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่ใหนักเรียน
ไดแสดงบทบาทในสถานการณที่สมมุติขึ้น โดยอาจกําหนดใหแสดงบทบาทสมมุติที่เปนพฤติกรรมของ
บุคคลอื่น หรือแสดงพฤติกรรมในบทบาทของตนเองในสถานการณตาง ๆ
การเรียนรูจากเกมจําลองสถานการณ (Simulation Gaming) เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่ครูนํา
สถานการณจริงมาจําลองไวในหองเรียน โดยการกําหนดกฎ กติกา เงื่อนไขสําหรับเกมนั้น ๆ แลวให
ผูเรียนไปเลนเกมหรือกิจกรรมในสถานการณจําลองนัน้
การจัดการเรียนรูตองจัดควบคูกับการวัดและการประเมินผลตามภาระงาน/ชิ้นงานที่สอดคลองกับ
ตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรูนี้ไดเสนอการวัดและประเมินผลครบทั้ง 3 ดาน คือ ดานความรู ดาน
คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม และดานทักษะ/กระบวนการ เนนวิธกี ารวัดที่หลากหลายตาม
สถานการณจริง การดูรองรอยตาง ๆ ควบคูไปกับการดูกระบวนการทํางาน และผลผลิตของงาน โดย
ออกแบบการประเมินกอนเรียน ระหวางเรียน หลังเรียน และแบบทดสอบประจําหนวย พรอม
แบบฟอรมและเกณฑการประเมิน เพื่ออํานวยความสะดวกใหครูไวพรอม ทั้งนี้ครูอาจเพิม่ เติมโดยการ
ออกแบบการวัดและประเมินดวยมิติคุณภาพ (Rubrics)
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3 19
5. ตารางวิเคราะหสาระ มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดชั้นปกับหนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ส มฐ. ส 5.2


5.1
หนวยการเรียนรู 1 2 1 2 3 4
หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
1. แผนที่ 
2. เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร 
หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ
1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ 
2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของ 
ทวีปอเมริกาเหนือ
หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต
1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต 
2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของ 
ทวีปอเมริกาใต
หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
และอเมริกาใต
1. ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต  
2. สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต  
3. แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ 
อเมริกาใต 

4. ผลกระทบที่ประเทศไทยไดรับจากการเปลี่ยนแปลงของ 
สิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3 20
6. โครงสรางการแบงเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู
หนวยการเรียนรู/ เวลา/
เรื่อง จํานวนชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู
หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร 3
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 แผนที่ 1
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร 2
หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ 8
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ 4
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 ประชากรของทวีปอเมริกาเหนือ 2
แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ 1
แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ 1
หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต 8
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต 4
แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 ประชากรของทวีปอเมริกาใต 2
แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต 1
แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใต 1
หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติและ 4
สิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ 1
อเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีป 2
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 13 แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกา 1
เหนือและอเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  1

หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 8 ชั่วโมง

ผังมโนทัศนเปาหมายการจัดการเรียนรูและขอบขายภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู
1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และ
วัฒนธรรมของทวีปอเมริกาเหนือ

ภาระชิ้นงาน ทักษะ/กระบวนการ
1. การนําเสนอผลงาน 1. การสืบคน
2. การบันทึกความรู 2. การคิด วิเคราะห
ทวีปอเมริกาเหนือ
3. การทําแบบทดสอบ 3. การใชเทคโนโลยี
4. สรางแผนที่ความคิด 4. กระบวนการกลุม
5. วาดภาพระบายสี

คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม


1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
3. รับผิดชอบ
4. มุงมั่นในการทํางาน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  2

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู
หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ

ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ตัวชี้วัดชั้นป
• วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
ความเขาใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสําคัญที่ทําใหเกิดความเขาใจที่คงทน
นักเรียนจะเขาใจวา... • ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีป
• ลักษณะทางกายภาพมีอิทธิพลตอวิถีการดํารงชีวิต อเมริกาเหนือไดรับอิทธิพลมาจากลักษณะทางกายภาพ
สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของประชากรใน ของทวีปอเมริกาเหนือใชหรือไม เพราะเหตุใด
ทวีปอเมริกาเหนือ
ความรูของนักเรียนที่นําไปสูความเขาใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสูความ
นักเรียนจะรูวา… เขาใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ…
1. คําสําคัญ ไดแก ซีกโลกเหนือ เขตหนาว คอคอด 1. อธิบายลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
ประชากร ธรณีวิทยา ภูเขาไฟ ธารน้ําแข็ง ทุงหญา รวมไปถึงลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
ปาสน เสนทรอปกออฟแคนเซอร ภูเขาน้ําแข็ง ของทวีปอเมริกาเหนือได
2. ทวีปอเมริกาเหนือมีขนาดใหญเปนอันดับ 3 ของโลก 2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะการดํารงชีวิต
ตั้งอยูในซีกโลกเหนือ มีทศิ เหนือจดมหาสมุทรอารกติก ของประชากรกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกา
ทิศตะวันออกจดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใตติดตอ เหนือได
กับทวีปอเมริกาใต และทิศตะวันตกจดมหาสมุทร
แปซิฟก และแบงตามสภาพสังคมวัฒนธรรมเปน 2
สวน ไดแก แองโกลอเมริกาและลาตินอเมริกา โดยถือ
แมน้ํารีโอแกรนด ซึ่งเปนพรมแดนระหวางประเทศ
เม็กซิโกกับสหรัฐอเมริกา เปนแนวแบงภูมภิ าคอเมริกา
เหนือและอเมริกากลาง
3. ลักษณะภูมปิ ระเทศของทวีปอเมริกาเหนือ แบงเปน 4
เขต ไดแก เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก เขตที่ราบภาค
กลาง เขตหินเกาแคนาดา และเขตภูเขาภาคตะวันออก
มีแมน้ําสําคัญหลายสาย เชน แมน้ํามิสซิสซิปป มิสซูรี
รีโอแกรนด โคโลราโด เขตภูมิอากาศแบงได 12 เขต
ไดแก เขตปาฝนเขตรอน รอนชื้นแบบทุงหญาเมืองรอน
ทะเลทราย ทุงหญากึ่งทะเลทราย อบอุนชื้น ภาคพื้น
สมุทรชายฝงตะวันตก เมดิเตอรเรเนียน ชืน้ ภาคพื้น
ทวีป กึ่งขั้วโลกหรือไทกา ทุนดรา ทุงน้ําแข็ง และที่สูง
4. ทวีปอเมริกาเหนือมีประชากรรอยละ 13 ของโลก แบง
เชื้อชาติได 4 พวก คือ พวกผิวเหลือง พวกผิวขาว
พวกผิวดํา และพวกเลือดผสม มีภาษาอยู 3 กลุม
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  3

ไดแก ภาษาอังกฤษ สเปน และฝรั่งเศส ประชากรสวน


ใหญนับถือคริสตศาสนา มีนิกายที่สําคัญ คือ นิกาย
โปรเตสแตนตและโรมันคาทอลิก
5. ทวีปอเมริกาเหนือไมสามารถใชพื้นที่ในการเพาะปลูกได
ทั่วทั้งทวีป เนื่องจากมีลักษณะภูมิประเทศและ
ภูมิอากาศไมเอือ้ อํานวย พืชสําคัญ ไดแก ขาวโพด
ขาวสาลี ฝาย ถั่วเหลือง ออย และผักผลไมตาง ๆ
การเลี้ยงสัตวนิยมเลี้ยง โคเนื้อ โคนม เพือ่ เปนอาหาร
และแกะ เพื่อผลิตสินคาขนสัตว นอกจากนี้ยังมีการทํา
ประมงในเขตน้ําตื้นใกลชายฝงมหาสมุทรแอตแลนติก
การคาไม การทําเหมืองแรถานหิน ปโตรเลียม เหล็ก
ทองคํา มีอตุ สาหกรรมเครื่องจักรกล ยานยนต
เคมีภณ ั ฑ สิ่งทอ ไม ผลิตภัณฑอาหารเหลานี้เปนสินคา
สงออกที่ทําใหทวีปอเมริกาเหนือมีการคาทีเ่ จริญ-
กาวหนา
7. ทวีปอเมริกาเหนือมีระบบการคมนาคมขนสงที่เจริญ-
กาวหนามากที่สุดในทุกดาน โดยเฉพาะประเทศ
สหรัฐอเมริกาและแคนาดา แตประเทศอื่น ๆ ในแถบ
ทะเลแคริบเบียนและอเมริกากลางบางประเทศยังลาหลัง
อยู
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามที่กําหนดไว
อยางแทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนตองปฏิบัติ
1.1 ศึกษาและคนควาขอมูลเกี่ยวกับความเปนมาลักษณะทางกายภาพ ตลอดจนลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และ
วัฒนธรรมของทวีปอเมริกาเหนือ
1.2 วิเคราะหและนําเสนอผลงานเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางลักษณะการดํารงชีวิตของประชากรในทวีป
อเมริกาเหนือกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
2.1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู 2.2 เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรมเปนรายบุคคล 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเปนรายบุคคล
หรือเปนกลุม และเปนกลุม
3) การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และ 3) แบบประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม และ
คานิยม คานิยม
4) การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ 4) แบบประเมินดานทักษะ/กระบวนการ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  4

3. สิ่งที่มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ดาน ไดแก การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต ดัดแปลง และ
นําไปใช การมีมุมมองที่หลากหลาย การใหความสําคัญและใสใจในความรูสึกของผูอื่น และการรูจักตนเอง
3.2 ทักษะ/กระบวนการ เชน การสืบคน การคิด วิเคราะห การแกปญหา การใชเทคโนโลยี กระบวนการกลุม
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม เชน รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยาง
พอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจติ สาธารณะ
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 4 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 ประชากรของทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 1 ชั่วโมง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  5

แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 4 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ทวีปอเมริกาเหนือเปนทวีปที่มีขนาดใหญ พื้นที่ภายในทวีปมีแนวเทือกเขาสูง ที่ราบขนาดใหญ ที่ราบลุมแมน้ํา และ
ทางดานตะวันตกมีแนวเทือกเขาสูง มีภูมอิ ากาศแทบทุกชนิด ทั้งภูมิอากาศรอน อบอุน และหนาว โดยเฉพาะทางตอน
เหนือมีอากาศหนาวเย็น แบบกึ่งขั้วโลก และทุนดรา มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ จึงทําใหเปนทวีปที่มีความ
เจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจมากที่สุดทวีปหนึ่ง
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
(ส 5.1 ม. 3/2)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือได (K)
2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะที่ตั้ง ขนาด ลักษณะภูมปิ ระเทศ และภูมิอากาศในทวีปอเมริกาเหนือได
(K, P)
3. มีความมุงมั่นในการเรียนรูและแสดงใหเห็นถึงความสนใจในการศึกษาขอมูลเรื่องทวีปอเมริกาเหนือได (A)
4. สามารถคนควาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือจากแหลงตาง ๆ ไดอยางถูกตอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานคุณธรรม จริยธรรม
ดานความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบกอนเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน
2. ซักถามความรูเรื่องลักษณะทาง เปนรายบุคคลในดานความมีวินัย เปนรายบุคคลและเปนกลุมในดาน
กายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ ความใฝเรียนรู ฯลฯ การสือ่ สาร การคิด การแกปญหา
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปนราย ฯลฯ
บุคคลหรือเปนกลุม
5. สาระการเรียนรู
• ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
1. ที่ตั้ง อาณาเขต และขนาด
2. การแบงภูมิภาคของทวีปอเมริกาเหนือ
3. ลักษณะภูมิประเทศ
4. แหลงน้ําในทวีปอเมริกาเหนือ
5. ภูมิอากาศ
5.1 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอสภาพภูมิอากาศ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  6

5.2 เขตภูมิอากาศ
6. ทรัพยากรธรรมชาติ
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย ฟง พูด อาน เขียนเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
ภาษาอังกฤษ อานและแปลขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือจากแผนที่และหนังสือ
ที่พิมพเปนภาษาอังกฤษ
ศิลปะ วาดภาพและระบายสีแผนที่ภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
การงานอาชีพฯ คนควาขอมูลลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือจากแหลงเรียนรูตาง ๆ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
3. ครูประเมินความรูของนักเรียนวามีความรูในเรือ่ งราวของทวีปอเมริกาเหนือมากนอยเพียงใดดวยคําถามตาง ๆ
เรียกใหนักเรียนตอบทีละคน หลังจากนั้นครูนําแผนที่โลกมาแสดงในชั้นเรียน ใหนักเรียนชวยกันตอบถึงตําแหนงที่ตั้ง
ขนาด และอาณาเขตของทวีปอเมริกาเหนือ ครูเฉลยคําตอบที่ถูกตองและนําเขาสูบทเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
4. ครูแจกใบงานเรื่องแผนที่ของทวีปอเมริกาเหนือ 3 แผน/คน โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) ใบงานที่ 1 แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ ใหใสชื่อประเทศ ชื่อเมืองหลวง และระบายสีประเทศตาม
ขอบเขตของประเทศนั้น ๆ
2) ใบงานที่ 2 แผนที่ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ ใหใสแนวเทือกเขา เสนแมน้ํา เขตภูมิประเทศ
และใสชื่อ คําอธิบายสัญลักษณพรอมระบายสีใหถูกตอง
3) ใบงานที่ 3 แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ ใหใสเขตภูมอิ ากาศพรอมชือ่ เขต คําอธิบาย
สัญลักษณ และระบายสีใหถูกตอง
นักเรียนสามารถคนควาหาขอมูลจากแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน หนังสือเรียน แผนที่เลม อินเทอรเน็ต
5. นักเรียนนําแผนที่ที่ทําเสร็จเรียบรอยแลวมาแลกเปลี่ยนกัน เพือ่ สังเกต เพิม่ เติม และแกไขใหมีความสมบูรณ
มากขึ้น นักเรียนจะตองมีความเคารพและใหเกียรติกับชิ้นงานของเพือ่ นดวย หลังจากนั้นครูรวมเฉลยโดยอาศัยขอมูล
จากแผนที่และหนังสือเรียนที่ไดรับการยอมรับ ครูควรจะมีใบงานเกินกวาจํานวนนักเรียนในชั้นเรียน เพือ่ ใหนักเรียนไดมี
โอกาสแกไขงานของตนเองใหมีความถูกตองสมบูรณ
6. ครูใหนักเรียนชวยกันอธิบายถึงลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริกาเหนือ โดยนําแผนที่ภูมิประเทศ
และภูมิอากาศ มาชวยในการคิด วิเคราะหตามหลักเหตุผล ซึ่งสามารถนําความรูเรื่องทวีปยุโรปที่นักเรียนไดเรียนในชัน้
มัธยมศึกษาปที่ 2 มาเทียบเคียงได และเขียนลงบนกระดาน
7. ใหนักเรียนแบงกลุมเปน 4 กลุม แลวชวยกันสืบคนขอมูลทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริกาเหนือจากแหลง
ตาง ๆ
1) กลุมที่ 1 คนควาขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรดิน
2) กลุมที่ 2 คนควาขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรปาไม
3) กลุมที่ 3 คนควาขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรสัตวในธรรมชาติ
4) กลุมที่ 4 คนควาขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรทางพลังงาน
8. นักเรียนบันทึกผลการคนควาขอมูลลงในแบบบันทึกผลการสืบคน นําผลงานมาเสนอหนาชัน้ เรียน โดยเขียน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  7

ลงบนกระดาน เปรียบเทียบกับคําตอบแรกที่ไดมีการอธิบายไว ครูรวมเฉลยและสรุป ชมเชยกลุมที่ตอบไดใกลเคียงและ


ใหกําลังใจกลุมที่ตอบคลาดเคลื่อน นักเรียนบันทึกความรูลงในแบบบันทึกผลการเรียนรู
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
9. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
เฉลยกิจกรรม
ขั้นที่ 4 นําไปใช
10. ครูแนะนําใหนักเรียนนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
11. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ แลวบันทึกลงสมุด
และเก็บใบงานแผนที่ในแฟมสะสมผลงาน
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนวิเคราะหลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือจากภาพจากดาวเทียม ซึ่งสามารถศึกษาไดจาก
แหลงขอมูลตาง ๆ หรือ Google Earth แลวสรุป จัดทําเปนรายงานสงครู
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2. แผนที่โลก แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ภูมิอากาศ และแผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
3. แผนที่เลม
4. ใบงานที่ 1 แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
5. ใบงานที่ 2 แผนที่ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ
6. ใบงานที่ 3 แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
7. แบบบันทึกผลการสืบคน และแบบบันทึกผลการเรียนรู
8. หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ
ั นาพานิช จํากัด
9. แบบฝกทักษะ รายวิชาพืน้ ฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไข
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู

ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  8

แผนการจัดการเรียนรูที่ 4
ประชากรของทวีปอเมริกาเหนือ

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ทวีปอมริกาเหนือมีประชากรรอยละ 8 ของโลก สถิติใน ค.ศ. 2010 หรือประมาณ 537 ลานคน มากเปนอันดับ
3 ของโลก มีความหนาแนนประมาณ 22 คนตอตารางกิโลเมตร ประกอบดวยกลุมชนหลายเชื้อชาติ ทั้งพวกผิวเหลือง
ผิวขาว ผิวดํา และพวกเลือดผสม มีภาษาที่ใชอยูในตระกูลอินโด-ยูโรเปยน และเปนทวีปที่มีประชากรสวนใหญนับถือ
คริสตศาสนา
2. ตัวชี้วดั ชั้นป
• วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
(ส 5.1 ม. 3/2)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะของประชากร ภาษา และศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือได (K)
2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางกระจายตัวและการดํารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาเหนือได (K, P)
3. มีความมุงมั่นในการเรียนรูและแสดงใหเห็นถึงความสนใจในการศึกษาขอมูลเรื่องประชากรในทวีปอเมริกาเหนือ
ได (A)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานคุณธรรม จริยธรรม
ดานความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ซักถามความรูเรื่องประชากรของ • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน
ทวีปอเมริกเหนือ เปนรายบุคคลในดานความมีวินัย เปนรายบุคคลและเปนกลุมในดาน
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปนราย ความใฝเรียนรู ฯลฯ การสื่อสาร การคิด การแกปญหา
บุคคลหรือเปนกลุม ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู
• ประชากร
1. จํานวนประชากร
2. เชื้อชาติ
3. ภาษา
4. ศาสนา
5. การกระจายของประชากร
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย ฟง พูด อาน และเขียนเกีย่ วกับขอมูลประชากรของทวีปอเมริกาเหนือ
ภาษาอังกฤษ อานและแปลขอมูลเกี่ยวกับสถิติประชากรของทวีปเมริกาเหนือที่เปนภาษาอังกฤษ
การงานอาชีพฯ คนควาขอมูลเกี่ยวกับสถิติประชากรของทวีปอเมริกาเหนือจากแหลงเรียนรูตาง ๆ เชน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  9

อินเทอรเน็ต หนังสือพิมพ วารสารตาง ๆ


7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนดูภาพประชากรในทวีปอเมริกาเหนือหลาย ๆ ภาพ ใหนักเรียนสังเกตวาประชากรในภาพมีความ
แตกตางกันหรือไม และถาจะแบงกลุมประชากรในทวีปอเมริกาเหนือ จะแบงไดกี่กลุม อะไรบาง ใหนักเรียนชวยกันแสดง
ความคิดเห็น ครูสังเกตความกระตือรือรนในการเรียนรูของนักเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
3. ครูตั้งคําถามกระตุนความสนใจนักเรียนวา ตามที่นักเรียนไดแบงกลุมประชากรไวนั้น นักเรียนคิดวากลุมของ
ประชากรในแตละกลุมใชภาษาเดียวกันหรือไม ถาไมใชแลวจะมีการใชภาษาอะไรบาง และกลุมประชากรแตละกลุมนับถือ
ศาสนาเดียวกันหรือไม ถาไมนบั ถือแลวจะนับถือศาสนาอะไรบาง
4. ใหนักเรียนแบงออกเปน 2 กลุมใหญ รวมกันอภิปรายในคําถามที่ครูไดตั้งไว รวมไปถึงกลุมประชากรที่
นักเรียนไดแบงไววาถูกตองหรือไม โดยที่นักเรียนตองชวยกันสืบคนขอมูลดังตอไปนี้
1) จํานวนประชากรและการกระจายตัวของประชากร
2) เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา
5. ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนบันทึกผลการอภิปรายลงในแบบบันทึกผลการอภิปราย
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับประชากรของทวีปอเมริกาเหนือ แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
ขั้นที่ 4 นําไปใช
7. ครูใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับประชากรของทวีปอเมริกาเหนือไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่องประชากรของทวีปอเมริกาเหนือเปนแผนที่ความคิด บันทึกลงสมุด
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนวิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพกับการกระจายของประชากรในทวีปอเมริกาเหนือ
แลวรวมกันทําเปนแผนที่แสดงการกระจายของประชากรในทวีปอเมริกาเหนือ เปนความรูร วมของทั้งชัน้ เรียน
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. ภาพประชากรของทวีปอเมริกาเหนือ
2. แผนที่แสดงความหนาแนนของประชากรในทวีปอเมริกาเหนือ
3. แบบบันทึกผลการอภิปราย
4. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  10

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไข
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู

ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  11

แผนการจัดการเรียนรูที่ 5
ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ทวีปอเมริกาเหนือมีระบบเศรษฐกิจของประเทศที่ไดรับอิทธิพลจากลักษณะทางกายภาพที่เอือ้ อํานวย โดยเฉพาะ
การทําเหมืองแรเหล็ก ถานหิน การทําประมง ปาไม อุตสาหกรรมเหล็กกลา อุตสาหกรรมการทองเที่ยว การเพาะปลูกขาว
สาลี องุน การเลี้ยงโคนมและแกะ ซึ่งทําใหการคาของทวีปมีความเจริญกาวหนา
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.1
ม. 3/2)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือได (K)
2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือได (K, P)
3. เห็นความสําคัญในการเรียนรูเรื่องลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือได (A)
4. นําเสนอผลงานไดอยางละเอียด ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาที่เรียนรูได (K, P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานคุณธรรม จริยธรรม
ดานความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ซักถามความรูเรื่องลักษณะทาง • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน
เศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ เปนรายบุคคลในดานความมีวินัย เปนรายบุคคลและเปนกลุมในดาน
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปนราย ความใฝเรียนรู ฯลฯ การสื่อสาร การคิด การแกปญหา
บุคคลหรือเปนกลุม ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู
• เศรษฐกิจ
1. การเกษตร
2. การทําประมง
3. การทําปาไม
4. การทําเหมืองแร
5. อุตสาหกรรม
6. การคา
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย ฟง พูด อาน และเขียนเกีย่ วกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
การงานอาชีพฯ คนควาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ และจัดทําปายนิเทศ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  12

ศิลปะ ตกแตงปายนิเทศใหมีความสวยงามตามตองการ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูซักถามวานักเรียนรูจักสินคาจากทวีปอเมริกาเหนืออะไรบางที่มีชื่อเสียง และสถานที่ทองเที่ยวใดบางใน
อเมริกาเหนือทีม่ ีชื่อเสียง นักเรียนตอบคําถามคนละ 1–2 อยาง ครูสรุปและเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาการเรียนรู
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
3. ครูแบงนักเรียนออกเปน 6 กลุม ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
และบันทึกผลการสืบคนลงในแบบบันทึกผลการสืบคน โดยแบงงานดังนี้
กลุมที่ 1 การเกษตร
กลุมที่ 2 การทําประมง
กลุมที่ 3 การทําปาไม
กลุมที่ 4 การทําเหมืองแร
กลุมที่ 5 อุตสาหกรรม
กลุมที่ 6 การคา
4. นักเรียนนําขอมูลที่ไดมาจัดเปนปายนิเทศ และออกมานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียนทั้งกลุม โดยที่ใหนักเรียน
ทุกคนตองมีสวนรวมในการนําเสนอ ครูชว ยสรุปขอมูลอีกครัง้ หนึ่ง นักเรียนที่รับฟงการนําเสนอบันทึกความรูลงสมุด
5. ครูซักถามความรูเกีย่ วกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือกับนักเรียนอีกครั้ง เพือ่ ทดสอบความ
เขาใจ ใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางเศรษฐกิจและลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกา
เหนือโดยอางอิงขอมูลจากปายนิเทศ และจัดทําเปนแผนที่แสดงลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ ครูสรุปและ
เพิ่มเติมใหถูกตอง นําแผนที่ไปติดไวในชั้นเรียน
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
ขั้นที่ 4 นําไปใช
7. ครูใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรปไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่องลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือแลวบันทึกลงสมุด
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูตั้งคําถามชวนคิดวาถานักเรียนอาศัยอยูในทวีปอเมริกาเหนือ นักเรียนจะเลือกทําอาชีพอะไร ใหนักเรียนเลือก
พื้นที่ในทวีปอเมริกาเหนือมา 1 แหง โดยที่ตองไมซ้ํากันกับเพื่อนในชั้นเรียน แลวอธิบายอาชีพที่ตองการทําพรอมเหตุผล
ประกอบ ออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ
2. แบบบันทึกผลการสืบคน
3. อินเทอรเน็ต และหนังสือตาง ๆ จากหองสมุด
4. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  13

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไข
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู

ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  14

แผนการจัดการเรียนรูที่ 6
การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ทวีปอเมริกาเหนือเปนดินแดนที่มีระบบคมนาคมขนสงเจริญกาวหนา มีเสนทางคมนาคมหนาแนนที่สุดในโลก
ทางบก โดยเฉพาะทางรถไฟที่มีความยาวกวา 400,000 กิโลเมตร ทางน้ํา มีการพัฒนาพืน้ ที่เปนเมืองทาเรือเดินสมุทร
ขนาดใหญหลายแหง เชน เมืองบอสตัน นิวยอรก ฟลาเดลเฟย ทางอากาศ มีทาอากาศยานที่มีผูโดยสารจํานวนมากเปน
อันดับ 1–3 ของโลก และมีระบบการขนสงทางทอที่พัฒนาทันสมัย
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.1
ม. 3/2)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายระบบคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือได (K)
2. วิเคราะหอิทธิพลของลักษณะทางกายภาพที่สงผลตอการสรางระบบคมนาคมของทวีปอเมริกาเหนือได (K, P)
3. มีความใฝเรียนรูเรื่องการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ (A)

4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู

ดานคุณธรรม จริยธรรม
ดานความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบหลังเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน
2. ซักถามความรูเ รื่องการคมนาคม เปนรายบุคคลในดานความมีวินัย เปนรายบุคคลและเปนกลุมในดาน
ขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ ความใฝเรียนรู ฯลฯ การสือ่ สาร การคิด การแกปญหา
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปนราย ฯลฯ
บุคคลหรือเปนกลุม
5. สาระการเรียนรู
• การคมนาคมขนสง
1. ทางบก
2. ทางน้ํา
3. ทางอากาศ

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย ฟง พูด อาน และเขียนเกีย่ วกับการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ
ภาษาอังกฤษ อานและแปลความหมายชื่อหรือคําตาง ๆ ที่ปรากฏในแผนที่ที่เปนภาษาอังกฤษ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  15

วิทยาศาสตร เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับระบบการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ
การงานอาชีพฯ คนควาขอมูลและทําแผนที่การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ
ศิลปะ วาดภาพและออกแบบสัญลักษณในแผนที่แสดงระบบการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกา
เหนือ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนชมวีดิทัศนหรือบางฉากบางตอนของภาพยนตรที่มีภาพรถไฟ เรือ และเครื่องบินของทวีปอเมริกา
เหนือ แลวชวนใหนักเรียนตอบคําถามวาอะไร ทําใหระบบคมนาคมในทวีปอเมริกาเหนือมีความเจริญกาวหนาอยางมาก
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
3. ครูแจกใบงานที่ 4 แผนที่การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ ใหนักเรียนใสขอมูลระบบคมนาคมขนสง
ไดแก ทางรถไฟ ทาเรือ และสายการบินที่สําคัญ ลงในแผนที่รวมไปถึงออกแบบสัญลักษณและอธิบายสัญลักษณ โดยให
สังเกตจากลักษณะภูมิประเทศที่ปรากฏในแผนที่
4. ใหนักเรียนจับคู นําแผนที่ที่ทําเสร็จแลวแลกเปลี่ยนกับของเพื่อน ครูเฉลยขอมูลที่ถูกตอง ใหนักเรียนแกไขของ
เพือ่ นใหถูกตองพรอมทั้งตกแตงแผนที่ใหมีความสะอาดและสวยงาม
5. ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนสามารถบันทึกขอมูลที่ครูเพิม่ เติมใหลงสมุดหรือลงในแผนที่ก็ได ระหวางนี้
ครูสามารถเปดวิดีทัศนที่นักเรียนไดชมไปแลวในขั้นแรกมาประกอบในการสรุปและอธิบายได
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
ขั้นที่ 4 นําไปใช
7. ครูใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่องการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือแลวบันทึกลงสมุด
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนเลือกเทคโนโลยีที่สําคัญที่เกี่ยวกับระบบคมนาคมของทวีปอเมริกาเหนือ เชน รถไฟ เครือ่ งบิน
คองคอรด มาคนละ 1 ชนิด แลวเขียนเปนรูปแบบของบทความ นํามารวมกันจัดทําเปนวารสาร
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2. วีดิทศั นที่มีภาพรถไฟ เรือ และเครือ่ งบินในทวีปอเมริกาเหนือ
3. ใบงานที่ 4 แผนที่การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ
4. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
5. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  16

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไข
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู

ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  1

หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต เวลา 8 ชั่วโมง

ผังมโนทัศนเปาหมายการจัดการเรียนรูและขอบขายภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู
1. ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต
2. ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และ
วัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต

ภาระชิ้นงาน ทักษะ/กระบวนการ
1. การนําเสนอผลงาน 1. การสืบคน
2. การบันทึกความรู 2. การคิด วิเคราะห
ทวีปอเมริกาใต
3. การทําแบบทดสอบ 3. การใชเทคโนโลยี
4. สรางแผนที่ความคิด 4. กระบวนการกลุม
5. วาดภาพระบายสี

คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม


1. มีวินัย
2. ใฝเรียนรู
3. รับผิดชอบ
4. มุงมั่นในการทํางาน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  2

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู
หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต

ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ตัวชี้วัดชั้นป
 วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
(ส 5.1 ม. 3/2)
ความเขาใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสําคัญที่ทําใหเกิดความเขาใจที่คงทน
นักเรียนจะเขาใจวา… ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีป
ลักษณะทางกายภาพมีอิทธิพลตอวิถีการดําเนินชีวิต อเมริกาใตไดรบั อิทธิพลมาจากลักษณะทางกายภาพของทวีป
สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของประชากรในทวีป อเมริกาใต ใชหรือไม เพราะเหตุใด
อเมริกาใต

ความรูของนักเรียนที่นําไปสูความเขาใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสู
นักเรียนจะรูวา... ความเขาใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คําสําคัญ ไดแก เกาะ ชองแคบ เทือกเขา 1. อธิบายลักษณะทางกายภาพ รวมไปถึงลักษณะทางสังคม
แองระหวางภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบสูงเชิงเขา ทะเลสาบ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใตได
ลมคา 2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะการดํารงชีวิตของ
2. ทวีปอเมริกาใตมีขนาดใหญเปนอันดับ 4 ของโลก ประชากรกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต
รองจากทวีปเอเชีย แอฟริกา และอเมริกาเหนือ มีทิศ
เหนือติดตอกับทวีปอเมริกาเหนือ ทิศตะวันออกจด
มหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใตติดตอกับชองแคบ
เดรก ซึ่งเปนนานน้ําที่คั่นทวีปอเมริกาใตกับทวีป
แอนตารกติกา ทิศตะวันตกจดคลองปานามาและ
มหาสมุทรแปซิฟก
3. ลักษณะภูมปิ ระเทศของทวีปอเมริกาใตแบงเปน 3
เขต ไดแก เขตเทือกเขาสูงทางดานตะวันตก เขตที่
ราบลุมแมน้ํา และเขตที่ราบสูงทางดานตะวันออก มี
แมน้ําที่สําคัญ เชน แมน้ําแอมะซอน ปารานา
ปารากวัย โอรีโนโก เขตภูมิอากาศแบงได 8 เขต
ไดแก เขตปาฝนเขตรอน รอนชื้นแบบทุงหญาเขต
รอน ทะเลทราย ทุงหญากึ่งทะเลทราย อบอุนชื้น
ภาคพื้นสมุทรชายฝงตะวันตก เมดิเตอรเรเนียน และ
ที่สูง
4. ทวีปอเมริกาใตมีประชากรรอยละ 6 ของโลก แบง
เชื้อชาติได 3 กลุม คือ กลุมอินเดียน เปนเผา
ดั้งเดิมของทวีปอเมริกาใต กลุมผิวขาว ไดแก ชาว
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  3

สเปน โปรตุเกส อิตาลี เยอรมัน และโปแลนด และ


กลุมผิวดํา ประชากร สวนใหญนับถือคริสตศาสนา
นิกายโปเตสแตนต และโรมันคาทอลิกมีผูนับถือนอย
5. การเกษตรในทวีปอเมริกาใต ประชากรสวนใหญยังมี
อาชีพดานการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตวเปนสําคัญ แต
ปจจุบันหลายประเทศไดหันมาพัฒนาดาน
อุตสาหกรรมมากขึ้น ดานการเพาะปลูก พืชสําคัญ
ไดแก กาแฟ โกโก กลวยและออย ขาวสาลี ขาวโพด
และฝาย สวนการเลี้ยงสัตวจะเลี้ยงบริเวณที่มีทุง
หญาอุดมสมบูรณ สัตวเลี้ยงที่สําคัญ ไดแก โคเนือ้
แกะ และสุกร
6. นอกจากนี้ยงั มีการทําประมง โดยเฉพาะในเขต
นานน้ํามหาสมุทรแปซิฟกทางชายฝงตะวันตกของ
ทวีปอเมริกาใต เปนแหลงปลาชุกชุมเขตหนึ่งของโลก
7. ทวีปอเมริกาใตมีระบบการคมนาคมขนสงที่พัฒนา
นอยกวาทวีปอเมริกาเหนือและกระจายไมทั่วถึงใน
ทุกภูมิภาคของทวีป
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรูตามกําหนดไว
อยางแทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนตองปฏิบัติ
1.1 ศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ และลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของทวีป
อเมริกาใต
1.2 วิเคราะหและนําเสนอผลงานเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางลักษณะการดําเนินของประชากรในทวีปอเมริกาใต
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
2.1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู 2.2 เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรมเปนราย 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเปนรายบุคคลหรือ
บุคคลหรือเปนกลุม เปนกลุม
3) การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม 3) แบบประเมินดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยม
และคานิยม 4) แบบประเมินดานทักษะ/กระบวนการ
4) การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ
3. สิ่งที่มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ดาน ไดแก การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต ดัดแปลง และ
นําไปใช การมีมุมมองที่หลากหลาย การใหความสําคัญและใสใจในความรูสึกของผูอื่น และการรูจักตนเอง
3.2 ทักษะ/กระบวนการ เชน การสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี การบวนการกลุม
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม เชน รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอ
เพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  4

ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต เวลา 4 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 ประชากรของทวีปอเมริกาใต เวลา 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใต เวลา 1 ชั่วโมง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  5

แผนการจัดการเรียนรูที่ 7
ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต เวลา 4 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ทวีปอเมริกาใตมีพื้นที่สวนใหญอยูทางซีกโลกใต เปนดินแดนที่อุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิด
พื้นที่สวนใหญเปนภูเขาและที่ราบสูง มีที่ราบเฉพาะเขตชายฝงและลุมแมน้ํา ภูมิอากาศมีทงั้ เขตรอนและเขตอบอุน ซึ่ง
เหมาะแกการดํารงชีวิต จึงเปนทวีปที่มีประชากรอาศัยมากแหงหนึ่งของโลก แตเนื่องจากความแตกตางทางดานสังคม
และปญหาเกี่ยวกับคุณภาพประชากร ทําใหการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ ยังไมเจริญกาวหนาเทาที่ควร ทั้ง ๆ
ที่อยูใกลชิดกับทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งเปนทวีปที่พัฒนาและเจริญกาวหนาในทุก ๆ ดาน
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2
ม. 3/2)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาใตได (K)
2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะที่ต้งั ขนาด ลักษณะภูมปิ ระเทศ และภูมิอากาศในทวีปอเมริกาใตได
(K, P)
3. ใฝเรียนรูและสนใจในการเรียนรูเรื่อง ทวีปอเมริกาใต (A)
4. คนควาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใตจากแหลงเรียนรูตาง ๆ ไดอยางถูกตอง (P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดานคุณธรรม จริยธรรม
ดานความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบกอนเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน
2. ซักถามความรูเรื่องลักษณะทาง เปนรายบุคคลในดานความมีวินัย เปนรายบุคคลและเปนกลุมใน
กายภาพของทวีปอเมริกาใต ความใฝเรียนใฝรู ฯลฯ ดานการสื่อสาร การคิด การแก
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปนราย ปญหา ฯลฯ
บุคคลหรือเปนกลุม
5. สาระการเรียนรู
• ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต
1. ที่ตั้ง อาณาเขต และขนาด
2. ลักษณะภูมิประเทศ
3. แหลงน้ําในทวีปอเมริกาใต
4. ภูมิอากาศ
4.1 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอสภาพภูมิอากาศ
4.2 เขตภูมอิ ากาศ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  6

5. ทรัพยากรธรรมชาติ
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย ฟง พูด อาน และเขียนเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต
ศิลปะ วาดภาพและระบายสีแผนที่ภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต
การงานอาชีพฯ คนควาขอมูลลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใตจากแหลงเรียนรูตาง ๆ

7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
3. ครูประเมินความรูของนักเรียนวามีความรูเ รื่องราวเกี่ยวกับทวีปอเมริกาใตมากนอยเพียงใด โดยการตั้งคําถาม
ตาง ๆ เลือกสุมนักเรียนตอบทีละคน และสามารถใหเพื่อนชวยเหลือได หลังจากนั้นครูนาํ แผนที่โลกมาแสดงในชั้นเรียน
ใหนักเรียนชวยกันตอบถึงตําแหนงที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขตของทวีปอเมริกาใต ครูเฉลยคําตอบที่ถูกตอง แลวเชื่อมโยง
เขาสูเนื้อหาที่จะเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
4. ครูแจกใบงานเรื่องแผนที่ของทวีปอเมริกาใต 3 แผน/คน โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) ใบงานที่ 1 แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาใต ใหใสชื่อประเทศ ชื่อเมืองหลวง และระบายสีประเทศ
ตามขอบเขตของประเทศนั้น ๆ
2) ใบงานที่ 2 แผนที่ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาใต ใหใสแนวเทือกเขา เสนแมน้ํา เขตภูมิประเทศ
และใสชื่อ คําอธิบายสัญลักษณพรอมระบายสีใหถูกตอง
3) ใบงานที่ 3 แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต ใหใสเขตภูมิอากาศพรอมชือ่ เขต คําอธิบายสัญลักษณ
และระบายสีใหถูกตอง
นักเรียนสามารถคนควาหาขอมูลจากแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน หนังสือเรียน แผนที่เลม อินเทอรเน็ต
5. นักเรียนนําแผนที่ที่ทําเสร็จเรียบรอยแลว มาแลกเปลี่ยนกันกับเพือ่ น รับฟงขอสังเกตเพิ่มเติม และแกไขแผนที่
ใหมีความสมบูรณมากขึ้น นักเรียนจะตองมีความเคารพและใหเกียรติตอชิ้นงานของเพือ่ นดวย หลังจากนั้นครูรวมเฉลย
โดยอาศัยขอมูลจากแผนที่และหนังสือเรียนที่ไดการยอมรับ ครูควรที่จะมีใบงานเกินกวาจํานวนนักเรียนในชั้นเรียน
เพือ่ ใหนักเรียนไดมีโอกาสแกไขงานของตนเองใหมีความถูกตองสมบูรณ
6. ครูใหนักเรียนชวยกันอธิบายถึงลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริกาใต โดยนําแผนที่ภูมิประเทศ
และภูมิอากาศ มาชวยในการคิด แลวรวมกันเขียนเปนแผนที่ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใต
7. ครูใหนักเรียนแบงกลุมเปน 4 กลุม แลวชวยกันสืบคนขอมูลทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริกาใตจากแหลง
ตาง ๆ และบันทึกผลการสืบคนลงในแบบบันทึกผลการสืบคน
1) กลุมที่ 1 คนควาขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรดิน
2) กลุมที่ 2 คนควาขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรปาไม
3) กลุมที่ 3 คนควาขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรสัตวในธรรมชาติ
4) กลุมที่ 4 คนควาขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากรทางพลังงานและแร
8. นักเรียนนําขอมูลที่ไดมาชวยกันแกไขแผนที่ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาใตใหมีความถูกตอง ครูรวม
เฉลยและสรุปพรอมกับอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนทําแผนที่เสร็จแลวใหบันทึกผลการเรียนรูลงในแบบบันทึกผลการเรียนรู
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  7

ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
9. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
เฉลยคําตอบ
ขั้นที่ 4 นําไปใช
10. ครูแนะนําใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใตไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
11. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใตแลวบันทึกลงสมุด และเก็บ
ใบงานแผนที่ลงในแฟมสะสมงาน
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนวิเคราะหลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใตจากภาพจากดาวเทียม ซึ่งสามารถศึกษาไดจาก
แหลงขอมูลตาง ๆ
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2. แผนที่โลก แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ภูมิอากาศ และแผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาใต
3. แผนที่เลม
4. ใบงานที่ 1 แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาใต
5. ใบงานที่ 2 แผนที่ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาใต
6. ใบงานที่ 3 แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต
7. แบบบันทึกผลการสืบคนและแบบบันทึกผลการเรียนรู
8. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมศิ าสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
9. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไข
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  8

แผนการจัดการเรียนรูที่ 8
ประชากรของทวีปอเมริกาใต

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
ประชากรของทวีปอเมริกาใตมีจํานวนมากเปนอันดับ 5 ของโลก ความหนาแนนประมาณ 22 คนตอตาราง
กิโลเมตร ประกอบดวยประชากร 3 กลุม คือ กลุมอินเดียน กลุมผิวขาว และกลุมผิวดํา ประเทศในทวีปอเมริกาใต
เกือบทุกประเทศใชภาษาสเปนเปนภาษาราชการ ประเทศที่ใชภาษาอื่นเปนภาษาราชการ ไดแก ประเทศบราซิลใชภาษา
โปรตุเกส ประเทศกายอานาใชภาษาอังกฤษ ดินแดนแฟรนชเกียนาของฝรัง่ เศสใชภาษาฝรั่งเศส ชาวอเมริกาใตสวนใหญ
ยังมีความเชื่อแบบดั้งเดิม
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2
ม. 3/2)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะของประชากร ภาษา และศาสนาในทวีปอเมริกาใตได (K)
2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางการกระจายตัวและการดํารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใตได (K, P)
3. มีความมุงมั่นในการเรียนรูและแสดงใหเห็นถึงความสนใจในการศึกษาขอมูลเรื่องประชากรในทวีปอเมริกาใต
(A)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดานคุณธรรม จริยธรรม
ดานความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ซักถามความรูเรื่องประชากรของ • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน
ทวีปอเมริกาใต เปนรายบุคคลในดานความมีวินัย เปนรายบุคคลและเปนกลุมใน
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปนราย ความใฝเรียนใฝรู ฯลฯ ดานการสื่อสาร การคิด การแก
บุคคลหรือเปนกลุม ปญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู
• ประชากร
1. จํานวนประชากร
2. เชื้อชาติ
3. ภาษา
4. ศาสนา
5. การกระจายของประชากร
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย ฟง พูด อาน และเขียนเกี่ยวกับขอมูลประชากรของทวีปอเมริกาใต
ภาษาอังกฤษ อานและแปลขอมูลเกี่ยวกับสถิติประชากรของทวีปอเมริกาใตที่เปนภาษาอังกฤษ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  9

การงานอาชีพฯ คนควาขอมูลเกี่ยวกับสถิติประชากรของทวีปอเมริกาใตจากแหลงเรียนรูตาง ๆ
เชน อินเทอรเน็ต
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนดูภาพประชากรในทวีปอเมริกาใตหลาย ๆ ภาพ แลวสังเกตวาประชากรมีความแตกตางกัน
หรือไม และถาแบงกลุมประชากรในทวีปอเมริกาใต จะแบงไดกี่กลุม อะไรบาง ใหนักเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็น ครู
สังเกตความกระตือรือรนในการเรียนรูของนักเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
3. ครูตั้งคําถามเพือ่ กระตุนความสนใจของนักเรียนวา ประชากรในทวีปอเมริกาใตจะมีการใชภาษาอยางไร และนับ
ถือศาสนาอะไรบาง
4. ใหนักเรียนแบงออกเปน 2 กลุม และรวมกันอภิปรายในคําถามที่ครูตั้งไว รวมไปถึงกลุมประชากรที่นักเรียนได
แบงไววาถูกตองหรือไม โดยทีน่ ักเรียนตองชวยกันสืบคนขอมูลดังตอไปนี้
4.1 จํานวนประชากรและการกระจายตัวของประชากร
4.2 เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา
5. ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนบันทึกผลการอภิปรายลงในแบบบันทึกผลการอภิปราย
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมเกี่ยวกับประชากรของทวีปอเมริกาใต แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
ขั้นที่ 4 นําไปใช
7. ครูแนะนําใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับประชากรของทวีปอเมริกาใตไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่องประชากรของทวีปอเมริกาใตเปนแผนที่ความคิด บันทึกลงสมุด
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนวิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพกับการกระจายของประชากรในทวีปอเมริกาใต
แลวรวมกันทําเปนแผนที่แสดงการกระจายของประชากรในทวีปอเมริกาใต
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. ภาพประชากรของทวีปอเมริกาใต
2. แผนที่แสดงความหนาแนนของประชากรในทวีปอเมริกาใต
3. แบบบันทึกผลการอภิปราย
4. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมศิ าสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
5. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  10

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไข
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  11

แผนการจัดการเรียนรูที่ 9
ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
เศรษฐกิจในทวีปอเมริกาใตสวนใหญจะเปนการทําการเกษตรโดยเฉพาะในบริเวณที่ราบลุมแมน้ําโอรีโนโก ที่ราบสูง
บราซิล พืชผลที่สําคัญคือ กาแฟ โกโก กลวยและออย ขาวสาลี ขาวโพด ฝาย มีการเลี้ยงสัตวจําพวกโค แพะ แกะ ซึ่ง
ประเทศในทวีปอเมริกาใตมีการเลี้ยงโคเนื้อกันมาก ไดแก อารเจนตินา อุรกุ วัย ปารากวัย บราซิล นอกจากนี้ยังมีการทํา
เหมืองแรทองแดง เหล็ก ดีบุก และทองคํา อุตสาหกรรมและการคาของชาวอเมริกาใตยังคงลาหลังกวาทวีปอเมริกาเหนือ
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2
ม. 3/2)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใตได (K)
2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใตได (K, P)
3. แสดงใหเห็นถึงความพรอมในการเรียนรูเรื่องลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต (A)
4. นําเสนอผลงานไดอยางละเอียด ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาที่เรียนรู (K, P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดานคุณธรรม จริยธรรม
ดานความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ซักถามความรูเรื่อง ลักษณะทาง •ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน
เศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต เปนรายบุคคลในดานความมีวินัย เปนรายบุคคลและเปนกลุมใน
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปนราย ความใฝเรียนใฝรู ฯลฯ ดานการสื่อสาร การคิด การแก
บุคคลหรือเปนกลุม ปญหา ฯลฯ

5. สาระการเรียนรู
• เศรษฐกิจ
1. การเกษตร
2. การทําประมง
3. การทําปาไม
4. การทําเหมืองแร
5. อุตสาหกรรม
6. การคา
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  12

6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย ฟง พูด อาน และเขียนเกี่ยวกับทวีปอเมริกาใต
การงานอาชีพฯ คนควาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใตจากแหลงเรียนรูตาง ๆ
ศิลปะ ตกแตงปายนิเทศเรื่องเกี่ยวกับเศรษฐกิจในทวีปอเมริกาใตใหมีความสวยงาม

7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูซักถามวานักเรียนอาชีพที่ประชากรในทวีปอเมริกาใตนิยมมีอะไรบางที่นักเรียนรูจัก โดยใหนักเรียนลอง
สังเกตจากขาวตาง ๆ ที่เกี่ยวกับทวีปอเมริกาใต นักเรียนชวยกันตอบคําถาม ครูสรุปและเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
3. ครูแบงนักเรียนออกเปน 6 กลุม ใหนักเรียนในแตละกลุมเลือกอาชีพที่คาดวาจะทําไดในทวีปอเมริกาใต กลุม
ละ 1 อาชีพ ไมซ้ํากัน โดยอาศัยขอมูลจากลักษณะทางกายภาพและประชากรที่ไดศึกษาไปแลว
4. ใหนักเรียนแตละกลุมออกมานําเสนอ โดยนําแผนที่ รูปภาพ เครื่องแตงกาย หรือแสดงทาทาง เพือ่
ประกอบการนําเสนอได แตตองมีความชัดเจนและถูกตองของขอมูล ใชเวลาในการนําเสนอไมเกินกลุมละ 10 นาที
5. ครูชวยสรุปหลังจากการนําเสนอและอธิบายเพิ่มเติม หลังจากนั้นนักเรียนสรุปความรูที่ไดรับลงในแบบบันทึก
ความรู แลวนําความรูที่สรุปไดเขียนออกมาเปนแผนที่แสดงลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต ใหทุกคนมีสวน
รวมในการทํางาน เมื่อเสร็จแลวใหติดไวที่ปายนิเทศในชั้นเรียน
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่เกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
ขั้นที่ 4 นําไปใช
7. ครูใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใตไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่องลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใตแลวบันทึกลงสมุด
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนหาขาวหรือบทความที่เกี่ยวกับสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ ในทวีปอเมริกาใต ซึ่งไดรับ
ผลกระทบจากลักษณะทางกายภาพของทวีป นําเสนอหนาชัน้ เรียน พรอมวิเคราะหโดยใชความรูความเขาใจของตนเอง
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แผนที่ทวีปอเมริกาใต
2. แบบบันทึกความรู
3. อินเทอรเน็ต และหนังสือตาง ๆ จากหองสมุด
4. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมศิ าสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
5. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  13

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไข
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  14

แผนการจัดการเรียนรูที่ 10
การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใต

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใตยังกระจายไมทั่วถึงทุกสวนของทวีป เพราะประเทศสวนใหญเปนประเทศ
กําลังพัฒนา ประกอบกับการมีสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่เปนอุปสรรคตอการคมนาคมขนสงอยูทุกภูมิภาค กลาวคือ
มีภูเขาสูงที่ทุรกันดาร มีภูมิอากาศแหงแลงเปนทะเลทราย บริเวณที่มีการคมนาคมขนสงสะดวก
จึงกระจายอยูเ ปนหยอม ๆ ในเขตที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2
ม. 3/2)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใตได (K)
2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใตได (K, P)
3. เห็นคุณคาและความสําคัญของอาชีพตาง ๆ ที่มีสวนในการพัฒนาเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต (A)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
ดานคุณธรรม จริยธรรม
ดานความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P)
และคานิยม (A)
1. ทดสอบหลังเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน • ประเมินพฤติกรรมในการทํางาน
2. ซักถามความรูเรื่องการคมนาคม เปนรายบุคคลในดานความมีวินัย เปนรายบุคคลและเปนกลุมใน
ขนสงของทวีปอเมริกาใต ความใฝเรียนใฝรู ฯลฯ ดานการสื่อสาร การคิด การแก
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปนราย ปญหา ฯลฯ
บุคคลหรือเปนกลุม
5. สาระการเรียนรู
• การคมนาคมขนสง
1. ทางบก
2. ทางน้ํา
3. ทางอากาศ
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย ฟง พูด อาน และเขียนเกี่ยวกับทวีปอเมริกาใต
การงานอาชีพฯ คนควาขอมูลเกี่ยวกับทวีปอเมริกาใตจากแหลงเรียนรูตาง ๆ
ศิลปะ วาดภาพและออกแบบสัญลักษณในแผนที่แสดงระบบการคมนาคมขนสงของทวีป
อเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  15

7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูนําแผนที่แสดงเสนทางคมนาคมในทวีปอเมริกาใตมาใหนักเรียนดู ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับเสนทางคมนาคมที่
ไดพบเห็นในแผนที่วาทําไมเสนทางคมนาคมในทวีปอเมริกาใตจึงมีสภาพดังที่ปรากฏในแผนที่ นักเรียนชวยกันแสดง
ความคิดเห็น ครูชวยสรุปประเด็นตาง ๆ ที่เปนขอสงสัยเพือ่ เริ่มตนปฏิบัตกิ ิจกรรม
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
3. ครูใหนักเรียนจับคูห รือแบงกลุม กลุมละ 3 คน แจกใบงานที่ 4 แผนที่การคมนาคมขนสงในทวีปอเมริกาใต
ใหคูละ/กลุมละ 1 แผน ครูเก็บแผนที่ที่แสดงในตอนแรกออกไป ใหนักเรียนชวยกันเขียนระบบคมนาคมลงในแผนที่
โครงสราง ไดแก ทางรถไฟที่สําคัญ ทาเรือที่สําคัญ และสายการบินที่สําคัญ ลงในแผนที่รวมไปถึงออกแบบสัญลักษณ
และอธิบายสัญลักษณ โดยใหสังเกตจากลักษณะภูมิประเทศที่ปรากฏในแผนที่
4. นําแผนที่เสร็จแลวมาวางไวตรงกลาง ใหนักเรียนนั่งเปนวงลอมรอบและสังเกตแผนที่แตละแผนวามีลักษณะ
เปนอยางไร และใหรวมกันออกเสียงวาคูไหนหรือกลุมใดที่นาจะมีความถูกตองมากที่สุด ใหนักเรียนคูน ั้นหรือกลุมนัน้
ออกมาอธิบาย หลังจากนั้นครูชวยเฉลยและสรุปใหถูกตองพรอมอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนแกไขแผนที่ และตกแตงให
สวยงาม
5. ครูใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหถึงสภาพระบบการคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใตวาเหตุใดถึงมีความ
เจริญกาวหนานอยกวาทวีปอืน่ ๆ ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนบันทึกความรูที่ไดลงสมุด
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมเกี่ยวกับการคมนาคมขนสงทวีปอเมริกาใต แลวรวมกันเฉลยคําตอบ
ขั้นที่ 4 นําไปใช
7. ครูแนะนําใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับการคมนาคมขนสงทวีปอเมริกาใตไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับการคมนาคมของทวีปอเมริกาใตเปนแผนที่ความคิดบันทึกลงสมุด
9. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน และชวยกันเฉลยคําตอบ
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนแบงกลุม 4–6 กลุม และชวยกันวางนโยบายในการสรางระบบคมนาคมขนสงใหทวีปอเมริกาใต
เขียนในรูปแผนผังหรือแผนที่ความคิด พรอมแผนที่ นําเสนอหนาชั้นเรียน
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2. แผนที่ทวีปทวีปอเมริกาใต
3. ใบงานที่ 4 แผนที่การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใต
4. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมศิ าสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
5. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมศิ าสตร ม. 3  16

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู
1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู
แนวทางการพัฒนา
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู
แนวทางแกไข
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน
เหตุผล
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู
ลงชื่อ ผูสอน
/ /
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  1

ตอนที่ 3
เอกสาร/ความรูเสริมสําหรับครู
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

1. มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป และสาระการเรียนรูแกนกลาง


กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม. 3
2. โครงงาน (Project Work)
3. แฟมสะสมผลงาน (Portfolio)
4. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design
5. รูปแบบแผนการจัดการเรียนรูรายชั่วโมง
6. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
7. แบบทดสอบปลายภาค
8. ใบงาน แบบบันทึก และแบบประเมินตาง ๆ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  2

1. มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป และสาระการเรียนรูแกนกลาง


กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม. 3

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร
มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพและความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอกันและ
กันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา
วิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดชั้นป สาระการเรียนรูแกนกลาง
1. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม • เครื่องมือทางภูมิศาสตรที่แสดงลักษณะทาง
วิเคราะห และนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ กายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
ทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกาใต
และอเมริกาใต
2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทาง • ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
กายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ อเมริกาเหนือและอเมริกาใต
อเมริกาใต

มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการ


สรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการอนุรกั ษทรัพยากรและ
สิ่งแวดลอมเพือ่ การพัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นป สาระการเรียนรูแกนกลาง
1. วิเคราะหการกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทาง • การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม
สังคม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง และวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาเหนือและ
ธรรมชาติ และทางสังคมของทวีปอเมริกา อเมริกาใต
เหนือและอเมริกาใต
2. ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ • การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
และสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ สิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต อเมริกาใต
3. สํารวจ อภิปรายประเด็นปญหาเกี่ยวกับ • ปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในทวีป
สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือและ อเมริกาเหนือและอเมริกาใต
อเมริกาใต
4. วิเคราะหเหตุผลและผลกระทบที่ประเทศไทย • ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของ
ไดรับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมใน สิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
ทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต ตอประเทศไทย
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  3

2. โครงงาน (Project Work)


โครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติและศึกษาคนควาดวยตนเอง
ตามแผนการดําเนินงานที่นักเรียนไดจัดขึ้น โดยครูชวยใหคาํ แนะนําปรึกษา กระตุนใหคิด และติดตาม
การปฏิบัติงานจนบรรลุเปาหมาย โครงงานแบงออกเปน 4 ประเภท คือ
1. โครงงานประเภทสํารวจ รวบรวมขอมูล
2. โครงงานประเภททดลอง คนควา
3. โครงงานที่เปนการศึกษาความรู ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม
4. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ
การเรียนรูดวยโครงงานมีขั้นตอนดังนี้
1. กําหนดหัวขอที่จะศึกษา นักเรียนคิดหัวขอโครงงาน ซึง่ อาจไดมาจากความอยากรูอยากเห็น
ของนักเรียนเองหรือไดจากการอานหนังสือ บทความ การไปทัศนศึกษาดูงาน เปนตน โดยนักเรียนตอง
ตั้งคําถามวา “จะศึกษาอะไร” “ทําไมตองศึกษาเรื่องดังกลาว”
2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ นักเรียนศึกษาทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ และปรึกษาครูหรือผูที่มี
ความรูความเชีย่ วชาญในสาขานั้น ๆ
3. เขียนเคาโครงของโครงงานหรือสรางแผนผังความคิด โดยทั่วไปเคาโครงของโครงงานจะ
ประกอบดวยหัวขอตาง ๆ ดังนี้
1) ชื่อโครงงาน
2) ชื่อผูทําโครงงาน
3) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
4) ระยะเวลาดําเนินการ
5) หลักการและเหตุผล
6) วัตถุประสงค
7) สมมุติฐานของการศึกษา (ในกรณีที่เปนโครงงานทดลอง)
8) ขั้นตอนการดําเนินงาน
9) ปฏิบัติโครงงาน
10) ผลที่คาดวาจะไดรับ
11) เอกสารอางอิง/บรรณานุกรม
4. การปฏิบัติโครงงาน ลงมือปฏิบัติงานตามแผนงานที่กําหนดไว ในระหวางปฏิบัติงาน
ควรมีการจดบันทึกขอมูลตาง ๆ ไวอยางละเอียดวาทําอยางไร ไดผลอยางไร มีปญหาหรืออุปสรรค
อะไร และมีแนวทางแกไขอยางไร
5. การเขียนรายงาน เปนการรายงานสรุปผลการดําเนินงาน เพือ่ ใหผูอื่นไดทราบแนวคิด
วิธีดําเนินงาน ผลที่ไดรับ และขอเสนอแนะตาง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ซึ่งการเขียนรายงานนี้ควรใชภาษา
ที่กระชับ เขาใจงาย ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นที่ศึกษา
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  4

6. การแสดงผลงาน เปนการนําผลของการดําเนินงานมาเสนอ อาจจัดไดหลายรูปแบบ เชน การ


จัดนิทรรศการ การทําเปนสื่อสิ่งพิมพ สือ่ มัลติมีเดีย หรืออาจนําเสนอในรูปของการแสดงผลงาน การ
นําเสนอดวยวาจา บรรยาย อภิปรายกลุม สาธิต

3. แฟมสะสมผลงาน (Portfolio)
แฟมสะสมผลงาน หมายถึง แหลงรวบรวมเอกสาร ผลงาน หรือหลักฐาน เพือ่ ใชสะทอนถึง
ผลสัมฤทธิ์ ความสามารถ ทักษะ และพัฒนาการของนักเรียน มีการจัดเรียบเรียงผลงานไวอยางมีระบบ
โดยนําความรู ความคิด และการนําเสนอมาผสมผสานกัน ซึ่งนักเรียนเปนผูคัดเลือกผลงานและมีสวน
รวมในการประเมิน แฟมสะสมผลงานจึงเปนหลักฐานสําคัญที่จะทําใหนักเรียนสามารถมองเห็น
พัฒนาการของตนเองไดตามสภาพจริง รวมทั้งเห็นขอบกพรองและแนวทางในการปรับปรุงแกไขใหดีขึ้น
ตอไป
ลักษณะสําคัญของการประเมินผลโดยใชแฟมสะสมผลงาน
1. ครูสามารถใชเปนเครือ่ งมือในการติดตามความกาวหนาของนักเรียนเปนรายบุคคลไดเปนอยาง
ดี เนือ่ งจากมีผลงานสะสมไว ครูจะทราบจุดเดน จุดดอยของนักเรียนแตละคนจากแฟมสะสมผลงาน
และสามารถติดตามพัฒนาการไดอยางตอเนือ่ ง
2. มุงวัดศักยภาพของนักเรียนในการผลิตหรือสรางผลงาน มากกวาการวัดความจําจากการทํา
แบบทดสอบ
3. วัดและประเมินโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง คือ นักเรียนเปนผูวางแผน ลงมือปฏิบตั ิงาน
รวมทั้งประเมินและปรับปรุงตนเอง ซึ่งมีครูเปนผูชี้แนะ เนนการประเมินผลยอยมากกวาการประเมินผล
รวม
4. ฝกใหนักเรียนรูจักการประเมินตนเอง และหาแนวทางปรับปรุงพัฒนาตนเอง
5. นักเรียนเกิดความมัน่ ใจและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง รูวาตนเองมีจุดเดนในเรือ่ งใด
6. ชวยในการสื่อความหมายเกี่ยวกับความรู ความสามารถ ตลอดจนพัฒนาการของนักเรียนใหผู
ที่เกี่ยวของทราบ เชน ผูปกครอง ฝายแนะแนว ตลอดจนผูบ ริหารของโรงเรียน
ขั้นตอนการประเมินผลโดยใชแฟมสะสมผลงาน
การจัดทําแฟมสะสมผลงานมี 10 ขั้นตอน ซึ่งแตละขั้นตอนมีรายละเอียดดังนี้
1. การวางแผนจัดทําแฟมสะสมผลงาน การจัดทําแฟมสะสมผลงานตองมีสวนรวมระหวางครู
นักเรียน และผูปกครอง
ครู การเตรียมตัวของครูตองเริ่มจากการศึกษาและวิเคราะหหลักสูตร คูมือครู คําอธิบายรายวิชา
วิธีการวัดและประเมินผลในหลักสูตร รวมทั้งครูตองมีความรูและเขาใจเกีย่ วกับการประเมินโดยใชแฟม
สะสมผลงาน จึงสามารถวางแผนกําหนดชิ้นงานได
นักเรียน ตองมีความเขาใจเกีย่ วกับจุดประสงคการเรียนรู เนื้อหาสาระ การประเมินผลโดยใช
แฟมสะสมผลงาน การมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู การกําหนดชิ้นงาน และบทบาทในการทํางาน
กลุม โดยครูตองแจงใหนักเรียนทราบลวงหนา
ผูปกครอง ตองเขามามีสวนรวมในการคัดเลือกผลงาน การแสดงความคิดเห็น และรับรู
พัฒนาการของนักเรียนอยางตอเนือ่ ง ดังนั้นกอนทําแฟมสะสมผลงาน ครูตองแจงใหผูปกครองทราบ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  5

หรือขอความรวมมือ รวมทั้งใหความรูในเรื่องการประเมินผลโดยใชแฟมสะสมผลงานแกผูปกครองเมือ่ มี
โอกาส
2. การรวบรวมผลงานและจัดระบบแฟม ในการรวบรวมผลงานตองออกแบบการจัดเก็บหรือ
แยกหมวดหมูข องผลงานใหดี เพือ่ สะดวกและงายตอการนําขอมูลออกมาใช แนวทางการจัดหมวดหมู
ของผลงาน เชน
1) จัดแยกตามลําดับวันและเวลาที่สรางผลงานขึ้นมา
2) จัดแยกตามความซับซอนของผลงาน เปนการแสดงถึงทักษะหรือพัฒนาการของนักเรียนที่
มากขึ้น
3) จัดแยกตามวัตถุประสงค เนื้อหา หรือประเภทของผลงาน
ผลงานที่อยูในแฟมสะสมผลงานอาจมีหลายเรื่อง หลายวิชา ดังนั้น นักเรียนจะตองทําเครือ่ งมือ
ในการชวยคนหา เชน สารบัญ ดัชนีเรือ่ ง จุดสี แถบสี ติดไวที่ผลงานโดยมีรหัสที่แตกตางกัน
3. การคัดเลือกผลงาน ในการคัดเลือกผลงานนั้นควรใหสอดคลองกับเกณฑหรือมาตรฐานที่
โรงเรียน ครู หรือนักเรียนรวมกันกําหนดขึ้นมา และผูคัดเลือกผลงานควรเปนนักเรียนเจาของแฟม
สะสมผลงาน หรือมีสว นรวมกับครู เพื่อน และผูปกครอง
ผลงานที่เลือกเขาแฟมสะสมผลงาน ควรมีลกั ษณะดังนี้
1) สอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงคของการเรียนรู
2) เปนผลงานชิ้นที่ดีที่สุด มีความหมายตอนักเรียนมากทีส่ ุด
3) สะทอนใหเห็นถึงพัฒนาการของนักเรียนในทุกดาน
4) เปนสื่อที่จะชวยใหนักเรียนมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับครู ผูปกครอง และ
เพือ่ น ๆ
สวนจํานวนชิ้นงานนั้นใหกําหนดตามความเหมาะสม ไมควรมีมากเกินไป เพราะอาจจะทําให
ผลงานบางชิ้นไมมีความหมาย แตถามีนอยเกินไปจะทําใหการประเมินไมมีประสิทธิภาพ
4. การสรางสรรคแฟมสะสมผลงานใหมีเอกลักษณของตนเอง โครงสรางหลักของแฟมสะสม
ผลงานอาจเหมือนกัน แตนักเรียนสามารถตกแตงรายละเอียดยอยใหแตกตางกันตามความคิด
สรางสรรคของแตละบุคคล โดยอาจใชภาพ สี สติกเกอร ตกแตงใหสวยงาม เนนเอกลักษณของเจาของ
แฟมสะสมผลงาน
5. การแสดงความคิดเห็นหรือความรูสึกตอผลงาน ในขัน้ ตอนนี้นักเรียนจะไดรูจักการ
วิพากษวิจารณ หรือสะทอนความคิดเกี่ยวกับผลงานของตนเอง ตัวอยางขอความที่ใชแสดงความรูสึกตอ
ผลงาน เชน
1) ไดแนวคิดจากการทําผลงานชิ้นนี้มาจากไหน
2) เหตุผลที่เลือกผลงานชิ้นนีค้ ืออะไร
3) จุดเดน จุดดอยของผลงานชิ้นนี้คอื อะไร
4) รูสึกพอใจกับผลงานชิ้นนี้มากนอยเพียงใด
5) ไดขอคิดอะไรจากการทําผลงานชิ้นนี้
6. การตรวจสอบความสามารถของตนเอง เปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดประเมินความสามารถ
ของตนเอง โดยพิจารณาตามเกณฑยอย ๆ ที่ครูและนักเรียนชวยกันกําหนดขึ้น เชน นิสัยการทํางาน
ทักษะทางสังคม การทํางานเสร็จตามระยะเวลาที่กําหนด การขอความชวยเหลือเมือ่ มีความจําเปน เปน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  6

ตน นอกจากนีก้ ารตรวจสอบความสามารถตนเองอีกวิธีหนึ่ง คือ การใหนักเรียนเขียนวิเคราะหจุดเดน


จุดดอยของตนเอง และสิ่งที่ตองปรับปรุงแกไข
7. การประเมินผลงาน เปนขั้นตอนที่สําคัญเนือ่ งจากเปนการสรุปคุณภาพของงานและ
ความสามารถหรือพัฒนาการของนักเรียน การประเมินแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ การประเมินโดย
ไมใหระดับคะแนน และการประเมินโดยใหระดับคะแนน
1) การประเมินโดยไมใหระดับคะแนน ครูกลุมนี้มีความเชือ่ วา แฟมสะสมผลงานมีไวเพือ่
ศึกษากระบวนการทํางาน ศึกษาความคิดเห็น ความรูสึกของนักเรียนที่มตี อผลงานของตนเอง ตลอดจน
ดูพัฒนาการหรือความกาวหนาของนักเรียนอยางไมเปนทางการ ครู ผูปกครอง และเพือ่ นสามารถใหคํา
ชี้แนะแกนักเรียนได ซึ่งวิธีการนี้จะทําใหนักเรียนไดเรียนรูและปฏิบัติงานอยางเต็มที่ โดยไมตองกังวลวา
จะไดคะแนนมากนอยเทาไร
2) การประเมินโดยใหระดับคะแนน มีทั้งการประเมินตามจุดประสงคการเรียนรู การประเมิน
ระหวางภาคเรียน และการประเมินปลายภาค ซึ่งจะชวยในวัตถุประสงคดานการปฏิบัติเปนหลัก การ
ประเมินแฟมสะสมผลงานตองกําหนดมิติการใหคะแนน (scoring rubrics) ตามเกณฑที่ครูและนักเรียน
รวมกันกําหนดขึ้น การใหระดับคะแนนมีทั้งการใหคะแนนเปนรายชิ้นกอนเก็บเขาแฟมสะสมผลงาน และ
การใหคะแนนแฟมสะสมผลงานทั้งแฟม ซึ่งมาตรฐานคะแนนนั้นตองสอดคลองกับวัตถุประสงคการ
จัดทําแฟมสะสมผลงาน และมุงเนนพัฒนาการของนักเรียนแตละคนมากกวาการนําไปเปรียบเทียบกับ
บุคคลอื่น
8. การแลกเปลี่ยนประสบการณกับผูอื่น มีวัตถุประสงคเพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนไดรบั ฟงความ
คิดเห็นจากผูที่มีสวนเกี่ยวของ ไดแก เพือ่ น ครู และผูปกครอง อาจทําไดหลายรูปแบบ เชน การจัด
ประชุมในโรงเรียนโดยเชิญผูที่มีสวนเกี่ยวของมารวมกันพิจารณาผลงาน การสนทนาแลกเปลี่ยนระหวาง
นักเรียนกับเพือ่ น การสงแฟมสะสมผลงานไปใหผูที่มีสวนเกี่ยวของชวยใหขอเสนอแนะหรือคําแนะนํา
ในการแลกเปลี่ยนประสบการณนั้นนักเรียนจะตองเตรียมคําถามเพือ่ ถามผูท ี่มีสวนเกี่ยวของ ซึ่งจะ
เปนประโยชนในการปรับปรุงงานของตนเอง ตัวอยางคําถาม เชน
1) ทานคิดอยางไรกับผลงานชิ้นนี้
2) ทานคิดวาควรปรับปรุงแกไขสวนใดอีกบาง
3) ผลงานชิ้นใดที่ทานชอบมากที่สุด เพราะอะไร
9. การปรับเปลี่ยนผลงาน หลังจากที่นักเรียนไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และไดรับคําแนะนํา
จากผูที่มีสวนเกี่ยวของแลว จะนํามาปรับปรุงผลงานใหดีขึ้น นักเรียนสามารถนําผลงานที่ดีกวาเก็บเขา
แฟมสะสมผลงานแทนผลงานเดิม ทําใหแฟมสะสมผลงานมีผลงานที่ดี ทันสมัย และตรงตาม
จุดประสงคในการประเมิน
10. การประชาสัมพันธผลงานของนักเรียน เปนการแสดงนิทรรศการผลงานของนักเรียน โดย
นําแฟมสะสมผลงานของนักเรียนทุกคนมาจัดแสดงรวมกัน และเปดโอกาสใหผูปกครอง ครู และ
นักเรียนทั่วไปไดเขาชมผลงาน ทําใหนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
ผูที่เริ่มตนทําแฟมสะสมผลงานอาจไมตอ งดําเนินการทั้ง 10 ขั้นตอนนี้ อาจใชขั้นตอนหลัก ๆ คือ
การรวบรวมผลงานและจัดระบบแฟม การคัดเลือกผลงาน และการแสดงความคิดเห็นหรือความรูสึกตอ
ผลงาน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  7

องคประกอบสําคัญของแฟมสะสมผลงาน มีดังนี้

1. สวนนํา ประกอบดวย
– ปก
– คํานํา
– สารบัญ
– ประวัติสวนตัว
– จุดมุงหมายของการทําแฟมสะสม
ผลงาน
2. สวนเนื้อหาแฟม ประกอบดวย
– ผลงาน
– ความคิดเห็นที่มีตอผลงาน
– Rubrics ประเมินผลงาน
3. สวนขอมูลเพิ่มเติม ประกอบดวย
– ผลการประเมินการเรียนรู
– การรายงานความกาวหนาโดยครู
– ความคิดเห็นของผูที่มีสวนเกี่ยวของ
เชน เพื่อน ผูปกครอง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  8

4. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design


ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู
หนวยการเรียนรูที่ _________________________
ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ตัวชี้วัดชั้นป
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ความเขาใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสําคัญที่ทําใหเกิดความเขาใจที่คงทน
นักเรียนจะเขาใจวา…
1. ____________________________ 1. ______________________________
2. ____________________________ 2. ______________________________
ความรูของนักเรียนที่นําไปสูความเขาใจที่ ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสูความ
คงทน นักเรียนจะรูวา… เขาใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. ____________________________ 1. ______________________________
2. ____________________________ 2. ______________________________
3. ____________________________ 3. ______________________________
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรู
ตามที่กําหนดไวอยางแทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนตองปฏิบัติ
1.1 _____________________________________________________________
1.2 _____________________________________________________________
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
2.1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู 2.2 เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
1) ______________________ 1) _________________________
2) ______________________ 2) _________________________
3. สิ่งที่มุงประเมิน
3.1 _____________________________________________________________
3.2 _____________________________________________________________
3.3 _____________________________________________________________
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  9

5. รูปแบบแผนการจัดการเรียนรูรายชัว่ โมง
เมื่อครูออกแบบการจัดการเรียนรูตามแนวคิด Backward Design แลว ครูสามารถเขียนแผนการ
จัดการเรียนรูรายชั่วโมงโดยใชรูปแบบของแผนการจัดการเรียนรูแบบเรียงหัวขอ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
ชื่อแผน... (ระบุชื่อและลําดับที่ของแผนการจัดการเรียนรู)
ชื่อเรื่อง... (ระบุชื่อเรื่องที่จะทําการจัดการเรียนรู)
สาระที่... (ระบุสาระที่ใชจัดการเรียนรู)
ชั้น... (ระบุชั้นที่จัดการเรียนรู)
หนวยการเรียนรูที่... (ระบุชื่อและลําดับที่ของหนวยการเรียนรู)
เวลา... (ระบุระยะเวลาที่ใชในการจัดการเรียนรูตอ 1 แผน)
สาระสําคัญ... (เขียนความคิดรวบยอดหรือมโนทัศนของหัวเรื่องที่จะจัดการเรียนรู)
ตัวชี้วัดชั้นป... (ระบุตัวชี้วัดชั้นปที่ใชเปนเปาหมายของแผนการจัดการเรียนรู)
จุดประสงคการเรียนรู... (กําหนดใหสอดคลองกับสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงคของนักเรียนหลังจากสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช
2551 ซึ่งประกอบดวยดานความรู (Knowledge–K) ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (Affective–
A) และดานทักษะ/กระบวนการ (Performance–P))
การวัดและประเมินผลการเรียนรู... (ระบุวิธกี ารและเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับ
จุดประสงคการเรียนรูทั้ง 3 ดาน)
สาระการเรียนรู... (ระบุสาระและเนื้อหาที่ใชจัดการเรียนรู อาจเขียนเฉพาะหัวเรื่องก็ได)
กระบวนการจัดการเรียนรู... (กําหนดใหสอดคลองกับธรรมชาติของกลุมสาระและการบูรณาการ
ขามสาระ)
กิจกรรมเสนอแนะ... (ระบุรายละเอียดของกิจกรรมที่นักเรียนควรปฏิบัติเพิ่มเติม)
แนวทางบูรณาการ... (เสนอแนะและระบุกิจกรรมของกลุม สาระอื่นที่บูรณาการรวมกัน)
สื่อ/แหลงการเรียนรู... (ระบุสื่อ อุปกรณ และแหลงการเรียนรูที่ใชในการจัดการเรียนรู)
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู... (ระบุรายละเอียดของผลการจัดการเรียนรูตามแผนที่กําหนดไว
อาจนําเสนอขอเดนและขอดอยใหเปนขอมูลที่สามารถใชเปนสวนหนึ่งของการทําวิจัยในชั้นเรียนได
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  10

6. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมศิ าสตร

คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ขอใดกลาวถึงความหมายของแผนที่ได ง มีจุดเริ่มตนเปนเสนสมมุติสองเสน
ถูกตอง
ก สื่อที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ข สื่อที่มนุษยสรางขึ้นเปนภาพลายเสน 5. สัญลักษณนี้ใชแทนสิ่งใดลงใน
ค สื่อที่แสดงสิ่งที่เกิดขึ้นเองตาม แผนที่จึงจะเหมาะสมที่สุด
ธรรมชาติ ก ทุงนา
ง สื่อที่แสดงพื้นผิวโลกใหเห็นเปนภาพ ข ทะเลสาบ
สามมิติ ค พื้นที่ปาไม
2. แผนที่ชนิดใดเปนแผนที่เฉพาะเรื่องที่ ง ทะเลทราย
แสดงคุณลักษณะ 6. ชนชาติใดเปนผูวางรากฐานการทํา
ก แผนที่เลม แผนที่ของโลก
ข แผนที่รัฐกิจ ก กรีก
ค แผนที่ภูมิประเทศ ข โรมัน
ง แผนที่มาตราสวนขนาดเล็ก ค ฮอลันดา
3. วัดระยะทางในแผนที่ได 5 เซนติเมตร ง บาบิลอน
เมื่อเปรียบเทียบกับมาตราสวนของแผนที่ 7. แผนที่ในยุคกลางมีบทบาทอยางไร
แลวไดระยะทางจริงบนพื้นผิวโลกเทากับ ก มีการใชแผนที่ในการทําสงคราม
1.25 กิโลเมตร แผนที่นี้เปนแผนที่ ข มีการนําแผนที่มาใชสาํ รวจดินแดน
มาตราสวนขนาดใด ใหม
ก แผนที่มาตราสวนขนาดเล็ก ค แผนที่เปนเพียงเครื่องประดับอยาง
ข แผนที่มาตราสวนขนาดใหญ หนึ่ง
ค แผนที่มาตราสวนขนาดกลาง ง เปนแผนที่ที่ใชเปนตนแบบของแผนที่
ง ขอ ก และ ค ถูก โลกในยุคอื่น
4. ขอใดเปนลักษณะของพิกัดภูมิศาสตร 8. บุคคลใดเปนผูวางรากฐานการทําแผนที่
ก มีหนวยเปนเมตร ใหแกประเทศไทย
ข มีเสนขนานสองชุดตัดกัน ก เจมส แมคคารที
ค มีหนวยเปนองศา ลิปดา พิลิปดา ข ดี. เจ. คอลลินส
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  11

ค เฮนรี อะลาบาสเตอร 14. ดาวเทียม THEOS เปนดาวเทียมสํารวจ


ง พระองคเจาดิศวรกุมาร ทรัพยากรของประเทศใด
ก จีน
ข ไทย
ค รัสเซีย
ง สหรัฐอเมริกา
9. เครื่องมือใดที่ไมไดอยูในกระบวนการ 15. ชุดคําสั่ง หมายถึงองคประกอบใดของ
รับสัญญาณขอมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
ก ดาวเทียม ก ขอมูล
ข เครื่องบิน ข ฮารดแวร
ค กลองสามมิติ ค ซอฟตแวร
ง เครื่องกราดภาพ ง กระบวนการวิเคราะห
10. รูปถายทางอากาศควรมีพื้นที่ในภาพ 16. ภาพจากดาวเทียมเปนขอมูลลักษณะ
ทับซอนกันในแนวนอนประมาณเทาไร ใดในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
ก รอยละ 20 ก ขอมูลเวกเตอร
ข รอยละ 40 ข ขอมูลแรสเตอร
ค รอยละ 60 ค ขอมูลเชิงตัวเลข
ง รอยละ 80 ง ขอมูลเชิงอธิบาย
11. รูปถายทางอากาศแบบเฉียงสูงมีลักษณะ 17. ขอมูลเวกเตอรมีลักษณะเปนอยางไร
อยางไร ก เปนจุดภาพ
ก ครอบคลุมพื้นที่แคบ ข ขอมูลมีขนาดเล็ก
ข มองไมเห็นแนวขอบฟา ค อยูในรูปของตัวเลขและอักษร
ค นํามาใชทําแผนที่การบินได ง มีความละเอียดนอยกวาราสเตอร
ง มีแกนของกลองทํามุมเอียง 30 องศา 18. การออกแบบและวางแผนอยูใ นขั้นตอน
12. ภาพจากดาวเทียมอาศัยคุณสมบัติใน ใดของกระบวนการวิเคราะหขอมูล
การสะทอนคลืน่ ชนิดใดของวัตถุ ก การนําเขาขอมูล
ก คลื่นวิทยุ ข การจัดการขอมูล
ข คลื่นความรอน ค การเชื่อมโยงขอมูล
ค คลื่นแมเหล็กไฟฟา ง การแสดงผลขอมูล
ง ขอ ก และ ข ถูก 19. ในการรับสัญญาณขอมูลของเครื่อง
13. ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรดวงแรกของ GPS เครื่องจะตองมีการรับสัญญาณ
โลกมีชื่อวาอะไร จากดาวเทียมอยางนอยกี่ดวง
ก NOAA ก 4 ดวง
ข THEOS ข 8 ดวง
ค IKONOS ค 12 ดวง
ง LANDSAT ง 24 ดวง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  12

20. ขอใดไมใชประโยชนของระบบกําหนด ข ใชสํารวจรังวัดเพื่อทําแผนที่


ตําแหนงบนพืน้ โลก ค ใชตรวจสอบดานสิ่งแวดลอม
ก ใชนําเขาขอมูลแรสเตอร ง ใชติดตามการเคลื่อนที่ของคน

แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ

คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. การแบงทวีปอเมริกาเหนือออกเปน
แองโกลอเมริกาและลาตินอเมริกายึด
อะไรเปนแนวแบง
ก แมน้ํายูคอน
ข แมน้ําโคโลราโด
ค แมน้ํามิสซิสซิปป 5. แกรนดแคนยอนเปนลักษณะภูมิประเทศ
ง แมน้ํารีโอแกรนด ที่เกิดจากการกระทําของแมน้ําอะไร
2. ลาตินอเมริกาไดรับอิทธิพลทางดาน ก แมน้ํามิสซูรี
วัฒนธรรมมาจากประเทศใด ข แมน้ําโอไฮโอ
ค แมน้ําโคโลราโด
ก อังกฤษ–ชิลี
ง แมน้ํารีโอแกรนด
ข อิตาลี–ฝรั่งเศส
6. เขตเทือกเขาสูงที่ปรากฏเปนแนวตอเนื่อง
ค สเปน–โปรตุเกส
พบในภาคใดของทวีปอเมริกาเหนือ
ง แคนาดา–โปรตุเกส ก ภาคใต ค ภาคตะวันตก
3. ลักษณะภูมิประเทศในเขตใดของทวีป ข ภาคเหนือ ง ภาคตะวันออก
อเมริกาเหนือทีเ่ ปนเขตหินเกา 7. ภูมิอากาศแบบที่สูงสวนใหญพบบริเวณ
เชนเดียวกับบอลติกชีลดในทวีปยุโรป ใดของทวีปอเมริกาเหนือ
ก เขตหินเกาแคนาดา ก พื้นที่ทางภาคใตรัฐอะแลสกา
ข เขตที่ราบภาคกลาง ข เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก
ค เขตภูเขาภาคตะวันออก ค เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันออก
ง เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก ง บริเวณตอนกลางของเกาะกรีนแลนด
4. บริเวณตั้งแตประเทศแคนาดาถึงอาว 8. ขอใดเปนอักษรยอของภูมิอากาศแบบชื้น
เม็กซิโกเปนเขตภูมิประเทศแบบใด ภาคพื้นทวีป
ก เขตที่ราบภาคกลาง ก Af ค Da
ข เขตที่ราบสูงภาคตะวันตก ข Bw ง Dc
ค เขตเทือกเขาทางภาคตะวันตก 9. รัฐใดของประเทศสหรัฐอเมริกาที่มี
ง เขตที่ราบชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก ภูมิอากาศสวนใหญเปนแบบทะเลทราย
ก รัฐแคนซัส ค รัฐมินนิโซตา
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  13

ข รัฐแอริโซนา ง รัฐอินดีแอนา ข เทือกเขาแคสเคด


10. พื้นที่ใดที่มีภูมิอากาศแบบกึ่งขั้วโลก ค เทือกเขาอะแลสกา
ก บริเวณภาคเหนือของประเทศเม็กซิโก ง เทือกเขาแอปพาเลเชียน
ข บริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟกของ
ประเทศแคนาดา 15. ปจจุบันประชากรสวนใหญของกลุม
ค บริเวณภาคตะวันตกเฉียงใตของ ประเทศลาตินอเมริกาคือพวกใด
ประเทศสหรัฐอเมริกา ก เอสกิโม ค มูแลตโต
ง บริเวณภาคใตของรัฐอะแลสกาของ ข เมสติโซ ง อินเดียน
ประเทศสหรัฐอเมริกา 16. ชาวเอสกิโมสวนใหญอาศัยอยูในประเทศ
11. พืชพรรณธรรมชาติแบบปาแคระปรากฏ อะไร
ในเขตภูมิอากาศแบบใด ก เม็กซิโก ค นิการากัว
ก ภูมิอากาศแบบไทกา ข แคนาดา ง กัวเตมาลา
ข ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้น 17. ประเทศใดในทวีปอเมริกาเหนือที่ใช
ค ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสเปนภาษา
ง ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้นภาคพื้นทวีป ราชการ
12. เขตภูมิอากาศอบอุนชื้นดานชายฝงตะวัน- ก เม็กซิโก ค นิการากัว
ออกในแคนาดาและสหรัฐอเมริกามีฝน ข แคนาดา ง กัวเตมาลา
ตกชุกตลอดปเพราะไดรับอิทธิพลจากลม 18. ภาคใดของทวีปอเมริกาเหนือที่มีประชากร
อะไร หนาแนนที่สุด
ก ลมตะวันตกเฉียงใต ก ภาคใต
ข ลมตะวันตกเฉียงเหนือ ข ภาคเหนือ
ค ลมคาตะวันออกเฉียงใต ค ภาคตะวันตก
ง ลมคาตะวันออกเฉียงเหนือ ง ภาคตะวันออก
13. กระแสน้ําอะไรที่ทําใหบริเวณชายฝง 19. ขาวสาลีปลูกมากในประเทศอะไร
ตะวันออกดานมหาสมุทรแอตแลนติกของ ก จาเมกา ค ปานามา
ทวีปอเมริกาเหนือมีภูมิอากาศไมหนาวเย็น ข เม็กซิโก ง แคนาดา
มากนัก 20. บริเวณใดในแองโกลอเมริกาที่มีการ
ก กระแสน้ําอุนกุโรชิโอ คมนาคมหนาแนนที่สุด
ข กระแสน้ําอุนโมซัมบิก ก อาวฮัดสัน
ค กระแสน้ําอุนอะแลสกา ข แมน้ํามิสซูรี
ง กระแสน้ําอุนกัลฟสตรีม ค แมน้ําโคโลราโด
14. แหลงผลิตถานหินที่สําคัญของทวีป ง กลุมทะเลสาบเกรตเลกส
อเมริกาเหนืออยูในเทือกเขาใด
ก เทือกเขาโคสต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  14

แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 3 ทวีปอเมริกาใต

คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. ชาวตะวันตกกลุมแรกที่คนพบทวีป ค เขตเทือกเขาสูงทางตะวันตก
อเมริกาใตเปนชนชาติใด ง ขอ ข และ ค รวมกัน
ก สเปน
ข อิตาลี
ค อังกฤษ 6. แมน้ําใดเกิดจากเทือกเขาในเขตที่ราบสูง
ง โปรตุเกส บราซิล
2. หมูเกาะสําคัญทางตะวันตกของทวีป ก ปารานา
อเมริกาใตคือหมูเกาะอะไร ข โอรีโนโก
ก โตเบโก ค มักดาเลนา
ข ตรินิแดด ง เซาฟรังซิสกู
ค บารเบโดส 7. เพราะเหตุใดประชากรของทวีปอเมริกาใต
ง กาลาปาโกส ที่อยูในเขตละติจูดต่ําและอยูตอนในของ
3. ประเทศอารเจนตินาตั้งอยูในที่ราบสูง ภาคพื้นทวีปตองอาศัยอยูบนที่สูง
อะไร ก เพราะที่สูงมีอากาศไมรอน
ก บราซิล ข เพราะจะไดหลีกหนีจากเขตเงาฝน
ข กีอานา ค เพราะในที่ตํา่ มีฝนตกชุกมากเกินไป
ค มาตูโกรสซู ง เพราะมีแนวเทือกเขาสูงอยูตลอดทั้ง
ง ปาตาโกเนีย พื้นที่
4. น้ําตกเอนเจลอยูในที่ราบสูงใดในทวีป 8. ทะเลสาบอะไรมีขนาดใหญที่สุดในทวีป
อเมริกาใต อเมริกาใต
ก ที่ราบสูงกีอานา ก ซุพีเรีย
ข ที่ราบสูงบราซิล ข วินนิเพก
ค ที่ราบสูงมาตูโกรสซู ค ตีตีกากา
ง ที่ราบสูงแอลติพลาโน ง มาราไกโบ
5. แมน้ํามักดาเลนาในประเทศโคลอมเบียมี 9. บริเวณใดของทวีปอเมริกาใตที่มี
ตนกําเนิดมาจากเขตภูมิประเทศเขตใด ภูมิอากาศเหมือนภาคตะวันออกเฉียง-
ก เขตที่ราบลุมแมน้ํา เหนือของประเทศไทย
ข เขตที่ราบสูงทางตะวันออก ก เมืองอีกเี ก ประเทศชิลี
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  15

ข ปาเซลวาส ประเทศบราซิล ข เขตลุมน้ําแอมะซอน


ค เขตทุงหญากัมโป ประเทศบราซิล ค เขตเทือกเขาแอนดีส
ง เขตทุงหญาปมปา ประเทศอารเจนตินา ง เขตที่ราบชายฝงมหาสมุทร
10. ทุงหญาสะวันนาแถบลุมน้ําโอรีโนโกมีชื่อ แอตแลนติก
วาอะไร 16. บริเวณใดเปนแหลงประมงสําคัญของ
ก ยาโน ค ปมปา ทวีปอเมริกาใต
ข กัมโป ง กรันชาโก ก ลุมน้ําปารากวัย
ข ลุมน้ําแอมะซอน
11. บริเวณชายฝงมหาสมุทรแปซิฟกของทวีป ค ชายฝงดานมหาสมุทรแปซิฟก
อเมริกาใตมีพืชพรรณธรรมชาติเปน ง ชายฝงดานมหาสมุทรแอตแลนติก
แบบใด 17. ประเทศใดในทวีปอเมริกาใตที่ผลิต
ก ทุงหญายาว ทองแดงไดมากที่สุดในโลก
ข ไมพุมมีหนาม ก ชิลี
ค ทุงหญาและปาโปรง ข เปรู
ง ไมสนและไมผลัดใบ ค โบลิเวีย
12. ประเทศใดในทวีปอเมริกาใตที่มีกลุม ง ซูรินาเม
มูแลตโตอาศัยอยูมากที่สุด 18. พืชชนิดใดที่ทวีปอเมริกาใตผลิตไดมาก
ก เปรู ที่สุดในโลก และผลิตในประเทศใด
ข บราซิล ก โกโก ประเทศเปรู
ค เอกวาดอร ข กาแฟ ประเทศบราซิล
ง อารเจนตินา ค ออย ประเทศอารเจนตินา
13. ชาวอินเดียนกลุมใดเปนประชากรดั้งเดิม ง กลวย ประเทศเอกวาดอร
ของทวีปอเมริกาใต 19. เพราะเหตุใดนานน้ําตามแนวชายฝง
ก มายา มหาสมุทรแปซิฟกของประเทศเปรูจึงมี
ข อินคา ความสําคัญตอการทําประมงของทวีป
ค แอซเต็ก ก เพราะมีระดับน้ําทะเลที่ลึกมาก
ง แอบอริจินี ข เพราะมีแนวชายฝงที่เวาแหวงมาก
14. คริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิกที่นับถือ ค เพราะมีกระแสน้ําเย็นและน้ําอุน ไหลมา
กันมากที่สุดในทวีปอเมริกาใตเผยแผมา พบกัน
จากไหน ง เพราะมีลมประจําชวยใหเดินเรือ
ก ญี่ปุน ประมงไดสะดวก
ข อินเดีย 20. ทางหลวงสายแพนอเมริกันทีผ่ านทวีป
ค อังกฤษ อเมริกาใตไปสิ้นสุดที่ประเทศอะไร
ง โปรตุเกส ก ชิลี
15. บริเวณใดในทวีปอเมริกาใตที่มีประชากร ข บราซิล
หนาแนนมากที่สุด ค โบลิเวีย
ก เขตที่ราบสูงบราซิล ง ปารากวัย
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  16

แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว
1. รัฐใดในประเทศแคนาดาที่มีปญหาการ ก ภาวะโลกรอน
ตัดไมทําลายปามากที่สุด ข การทําไรเลื่อนลอย
ก ควิเบก ค ปรากฏการณเอลนีโญ
ข โนวาสโกเชีย ง การขยายตัวของเขตเมือง
ค ซัสแคตเชวัน 6. เมืองใดมีปญหามลพิษทางน้ํามากที่สุด
ง บริติชโคลัมเบีย ในทวีปอเมริกาใต
2. ฝนกรดในทวีปอเมริกาเหนือเกิดจาก ก โบโกตา
สาเหตุใดมากที่สุด ข รีอูดีจาเนรู
ก การทําไรเลื่อนลอย ค ซานเตียโก
ข การเพิ่มขึ้นของรถยนต ง บัวโนสไอเรส
ค การเผาไหมเชื้อเพลิงของโรงงาน 7. เหตุการณใดถือเปนจุดเริ่มตนของ
ง การขยายตัวของอุตสาหกรรม ผลกระทบจากภาวะโลกรอนที่สงผลตอ
ประมงทะเล ทวีปอเมริกาใต
3. ขอใดไมใชสาเหตุท่ที ําใหเกิดมลพิษใน ก แมน้ําแอมะซอนเหือดแหง
กลุมทะเลสาบเกรตเลกส ข โรคไขเลือดออกเด็งกี่ระบาด
ก การทิ้งขยะของนักทองเที่ยว ค ธารน้ําแข็งบนเทือกเขาแอนดีสละลาย
ข การใชสารเคมีในพื้นที่เพาะปลูก ง เกิดภาวะน้ําทวมอยางหนักในรัฐ
ค การเติบโตของโรงงานอุตสาหกรรม เซาเปาลู
ง การเพิ่มขึ้นของจํานวนรถยนตบนถนน 8. LEED หมายถึงอะไร
4. พายุใดที่สรางความเสียหายใหแกประเทศ ก อาคารสีเขียว
สหรัฐอเมริกามากที่สุดใน ค.ศ. 2005 ข ชื่ออาคารสีเขียวแหงหนึ่ง
ก จีนน ค ชื่อสวนสัตวของเซ็นทรัลพารค
ข ไอแวน ง เกณฑมาตรฐานของอาคารสีเขียว
ค แคทรีนา 9. อาคารสีเขียวควรมีลักษณะอยางไร
ง ฟรานเซส ก อาคารที่สูงมาก
5. สาเหตุใดที่ทําใหพื้นที่ปาแอมะซอนถูก ข อาคารที่สวยงาม
ทําลายมากที่สุด ค อาคารที่ใชพลังงานนอย
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  17

ง อาคารที่ออกแบบโดยนายเร็นโซ ข รอยละ 5
เปยโน ค รอยละ 6
10. ประเทศใดมีพื้นที่เกษตรอินทรียมากที่สุด ง รอยละ 7
ในทวีปอเมริกาเหนือ
ก เม็กซิโก
ข แคนาดา
ค คอสตาริกา
ง สหรัฐอเมริกา
11. ฟาเบลาคือชื่อเรียกของอะไรในทวีป 16. รัฐบาลเอกวาดอรแกไขปญหาการบุกรุก
อเมริกาใต พื้นที่ปาของชนพื้นเมืองดวยวิธีการใด
ก ชุมชนแออัด ก การจัดตั้งอุทยานนิเวศวิทยา
ข อาคารสีเขียว ข การสนับสนุนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ
ค พื้นที่เพาะปลูกพืช ค การกําหนดเขตอุทยานแหงชาติเพิ่มขึ้น
ง พืชดัดแปลงพันธุกรรม ง การบังคับใชกฎหมายตอชนพื้นเมือง
12. สภาพถนนสาย Trans-Amazonian ขั้นรุนแรง
Highway เสียหายสวนใหญเกิดจาก 17. พลังงานเอทานอลที่ประเทศบราซิลผลิต
สาเหตุใด ได ผลิตมาจากพืชชนิดใด
ก ฝนตกหนัก ก ออย
ข น้ําทวมขังเปนเวลานาน ข กาแฟ
ค รถยนตขนาดใหญวิ่งผาน ค ขาวโพด
ง พื้นที่ไรถั่วเหลืองขยายตัว ง ถั่วเหลือง
13. โครงการเสนทางเสือดําเปนโครงการที่ 18. ประเทศใดที่มีโครงการที่ไดรับทุน
เชื่อมอะไรเขาดวยกัน สนับสนุนจากกองทุน GEF มากที่สุดใน
ก พื้นที่ปาไมดั้งเดิม ทวีปอเมริกาใต
ข เขตหามลาสัตวปา ก ชิลี
ค เขตอุทยานแหงชาติ ข บราซิล
ง พื้นที่ลาสัตวถูกกฎหมาย ค โบลิเวีย
14. สหรัฐอเมริกาผลิตกระแสไฟฟาจาก ง อารเจนตินา
พลังงานทดแทนชนิดใดมากที่สุด 19. ภัยแลงที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.
ก น้ํา 2553 มีสาเหตุมาจากปรากฏการณใดที่
ข ลม เกิดขึ้นในทวีปอเมริกาใต
ค เอทานอล ก สึนามิ
ง แสงอาทิตย ข ลานีญา
15. สหรัฐอเมริกาจะลดกาซเรือนกระจกลง ค เอลนีโญ
รอยละ 17 ภายใน ค.ศ. 2020 มากกวา ง พายุเฮอรริเคน
ค.ศ. 2005 รอยละเทาใด 20. รางกฎหมายดานสิ่งแวดลอมฉบับลาสุด
ก รอยละ 4 ของสหรัฐอเมริกาที่ออกมาเมื่อ ค.ศ.
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  18

2009 สงผลกระทบตอประเทศไทยใน ข เศรษฐกิจ


ดานใด ค เทคโนโลยี
ก สังคม ง การปกครอง

7. แบบทดสอบปลายภาค
แบบทดสอบปลายภาค

ดานความรู
ตอนที่ 1
1. ขอใดคือความหมายของแผนที่ตาม ข 1.15 เซนติเมตร
พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร ฉบับ ค 1.25 เซนติเมตร
ราชบัณฑิตยสถาน ง 1.35 เซนติเมตร
ก สิ่งที่มนุษยสรางขึ้นเปนภาพลายเสน 4. องคประกอบใดที่ใชบอกความสัมพันธ
ข สื่อที่ถายทอดขอมูลโลกในรูปกราฟก ระหวางสิ่งตาง ๆ ที่ปรากฏในแผนที่ได
ค สิ่งที่แสดงลักษณะของผิวโลกลงบน ก ทิศทาง
พื้นราบ ข ชื่อแผนที่
ง สื่อที่แสดงสิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเองตาม ค สัญลักษณ
ธรรมชาติ ง พิกัดแผนที่
2. ขอใดคือประเภทของแผนที่ที่จําแนกตาม 5. สัญลักษณนี้หมายถึง
ลักษณะที่แสดงในแผนที่ทั้งหมด อะไรในแผนที่
ก แผนที่เลม แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่ ก เสนทางหลวง
เฉพาะเรือ่ ง ข เสนทางรถไฟ
ข แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่รัฐกิจ แผนที่ ค เสนทางการบิน
เฉพาะเรือ่ ง ง เสนทางเดินเรือ
ค แผนที่เลม แผนที่เฉพาะเรือ่ ง แผนที่ 6. บุคคลใดเปนผูคํานวณหาเสนผาน
แสดงคุณลักษณะ ศูนยกลางของโลกไดสําเร็จ
ง แผนที่ภูมิประเทศ แผนที่เฉพาะเรื่อง ก โตเลมี
แผนที่แสดงปริมาณ ข เอราทอสเทนีส
3. วัดระยะทางจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งได ค เจมส แมคคารที
4 เซนติเมตร ในแผนที่มาตราสวน ง เกอรฮารด เมอรเคเตอร
1:50,000 ระยะทางที่จะวัดไดจาก 7. ชาวบาบิลอนสรางแผนที่โลกจากวัสดุใด
เสนทางเดียวกันในแผนที่ 1:250,000 ก หิน
ควรจะเปนเทาไร ข หนังสัตว
ก 1.05 เซนติเมตร ค ดินเหนียว
ง กระดาษปาปรัส
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  19

8. แผนที่ประเทศสยามในสมัยสมเด็จ 14. ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรดวงแรกของ


พระนารายณมหาราชสรางขึ้นเพื่ออะไร ประเทศไทยมีชื่อวาอะไร
ก ใชในการสงคราม ก SPOT ค THEOS
ข ใชในการติดตอการคา ข NOAA ง ERTS 1
ค ใชในการสรางเมืองใหม
ง ใชสํารวจทรัพยากรปาไม
9. “ระบบการสํารวจขอมูลดวยเครื่องรับรู” 15. องคประกอบใดของระบบสารสนเทศ
หมายถึง ระบบใด ภูมิศาสตรที่มีหนาที่เชื่อมตอขอมูลใหเขา
ก การรับรูระยะไกล กับระบบ
ข การสํารวจและรังวัด ก บุคลากร
ค ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ข ฮารดแวร
ง ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก ค ซอฟตแวร
10. ขอใดกลาวถึงพื้นที่ซอนทับของรูปถาย ง กระบวนการ
ทางอากาศไดถูกตอง 16. ขอมูลราสเตอรมีขอดีกวาขอมูลเวกเตอร
ก แนวนอนรอยละ 20 ดานขางรอยละ อยางไร
30 ก มีความแมนยําสูง
ข แนวนอนรอยละ 20 ดานขางรอยละ ข มีโครงสรางที่ไมซับซอน
60 ค แกไขขอมูลไดตลอดเวลา
ค แนวนอนรอยละ 60 ดานขางรอยละ ง มีขนาดของขอมูลที่เล็กกวา
60 17. บุคลากรในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
ง แนวนอนรอยละ 60 ดานขางรอยละ ควรมีคุณสมบัติอยางไร
20 ก เปนนักโปรแกรมเมอรชื่อดัง
11. รูปถายทางอากาศในแนวตั้งมีขอดีอยางไร ข เปนนักวิทยาศาสตรดานกายภาพ
ก สามารถใชแทนแผนที่ได ค เปนผูที่มีความรูทางดานภูมิศาสตร
ข นํามาใชทําแผนที่การบินได ง เปนผูเชี่ยวชาญในการใชเครื่อง
ค มองเห็นแนวขอบฟาไดชัดเจน คอมพิวเตอร
ง มองเห็นความตางระดับของพื้นที่ได 18. ขอใดไมใชขั้นตอนในกระบวนการ
12. ขอใดไมใชขอดีของภาพจากดาวเทียมที่ วิเคราะหของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
ดีกวารูปถายทางอากาศ ก นําเขาขอมูล
ก มีราคาถูก ข สํารวจขอมูล
ข เปนขอมูลเชิงเลข ค จัดการขอมูล
ค มีขอมูลที่เปนปจจุบัน ง แสดงผลขอมูล
ง เปนขอมูลที่เปนจุดภาพ 19. เครื่องรับจีพีเอสอยูในองคประกอบใดของ
13. ดาวเทียมใดเปนดาวเทียมที่ใชสํารวจ ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก
ทางดานสมุทรศาสตร ก สวนผูใช
ก NOAA ค IKONOS ข สวนผูผลิต
ข LANDSAT ง QUICKBIRD ค สวนอวกาศ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  20

ง สวนสถานีควบคุม ก ชวงที่แคบที่สุดกวาง 85 กิโลเมตร


ข เชื่อมมหาสมุทรอารกติกกับทะเลเบริง
ค กั้นระหวางทวีปเอเชียกับอเมริกาเหนือ
ง กั้นระหวางทวีปอเมริกาเหนือกับ
อเมริกาใต

20. ระบบจีพีเอสสามารถใชติดตามการ 25. บริเวณใดของทวีปอเมริกาเหนือที่เกิด


เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมได ภูเขาไฟปะทุและแผนดินไหวอยูเสมอ
หรือไม เพราะอะไร ก เขตหินเกาแคนาดา
ก ได เพราะมีการพัฒนาแลว ข เขตที่ราบภาคกลาง
ข ไมได เพราะระบบไมมีการพัฒนา ค เขตภูเขาภาคตะวันออก
ทางดานนี้ ง เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก
ค ได เพราะนําตําแหนงเดิมของพื้นที่มา 26. นานน้ําใดอยูในมหาสมุทรแปซิฟก
เปรียบเทียบได ก ทะเลเหนือ
ง ไมได เพราะขอมูลของระบบจะถูก ข อาวเม็กซิโก
ลบทิ้งอยูตลอดเวลา ค อาวอะแลสกา
21. สหรัฐอเมริกาเคยเปนอาณานิคมของ ง ทะเลแคริบเบียน
ชาติใด 27. ภูเขาเมานตแมกคินลียอยูในแนวทิวเขา
ก อิตาลี ค แคนาดา หรือเทือกเขาอะไร
ข อังกฤษ ง โปรตุเกส ก ร็อกกี ค อะแลสกา
22. ทิศตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือจด ข แคสเคด ง แมกเคนซี
มหาสมุทรอะไร 28. เทือกเขาใดไมไดอยูในเขตแองโกล-
ก อินเดีย อเมริกา
ข แปซิฟก ก เทือกเขาโคสต
ค อารกติก ข เทือกเขาแอนดีส
ง แอตแลนติก ค เทือกเขาเซียรราเนวาดา
23. ขอใดกลาวถึงลักษณะภูมิประเทศของ ง เทือกเขาแอปพาเลเชียน
ทวีปอเมริกาเหนือไมถูกตอง 29. แมน้ําโคโลราโดไหลผานบริเวณที่มี
ก พื้นที่บริเวณภายในทวีปมีลักษณะ ลักษณะภูมิประเทศแบบใด
ราบเรียบ ก ที่ราบ
ข พื้นที่ชายฝงมหาสมุทรอารกติกมี ข ที่ราบสูง
ลักษณะเวาแหวง ค ที่ราบลุม
ค พื้นที่ชายฝงมหาสมุทรแปซิฟกมี ง ที่ราบลูกคลื่น
ลักษณะราบเรียบ 30. บริเวณประเทศเม็กซิโก ชายฝงตะวันตก
ง พื้นที่ชายฝงมหาสมุทรแอตแลนติกมี ของอเมริกากลาง และทางตอนใตของ
ลักษณะเปนเทือกเขาสูงสลับซับซอน คาบสมุทรฟลอริดามีภูมิอากาศแบบใด
24. ขอใดกลาวถึงชองแคบเบริงไมถูกตอง ก ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้น
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  21

ข ภูมิอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ก ขาวเจา
ค ภูมิอากาศแบบปาฝนเขตรอนชื้น ข ขาวฟาง
ง ภูมอิ ากาศรอนชื้นแบบทุงหญา ค ขาวสาลี
เมืองรอน ง ขาวโพด

31. พืชพรรณธรรมชาติแบบสะวันนาปรากฏ 37. นานน้ําใดที่แองโกลอเมริกาใชเปน


ในภูมิอากาศแบบใด เสนทางคมนาคมขนสงทางน้ําที่สําคัญ
ก ภูมิอากาศแบบอบอุนชื้น ที่สุด
ข ภูมิอากาศแบบปาฝนเขตรอนชื้น ก อาวฮัดสัน
ค ภูมิอากาศแบบทุงหญากึ่งทะเลทราย ข ทะเลแคริบเบียน
ง ภูมิอากาศรอนชื้นแบบทุงหญา ค มหาสมุทรแปซิฟก
เมืองรอน ง มหาสมุทรแอตแลนติก
32. ขอใดเปนอักษรยอของภูมิอากาศแบบ 38. เผาพันธุใดเปนชนพื้นเมืองดั้งเดิมในทวีป
ทุงหญากึ่งทะเลทราย อเมริกาเหนือ
ก Aw ค Cs ก นิโกร–อินเดียน
ข Bs ง Dc ข อินเดียน–เอสกิโม
33. บริเวณใดของทวีปอเมริกาเหนือที่มี ค อินเดียน–แอฟริกัน
ภูมิอากาศแบบปาฝนเขตรอน ง เมสติโซ–มูแลตโต
ก รัฐอะแลสกา 39. คริสตศาสนานิกายใดที่นับถือกันมากใน
ข ที่ราบใหญตอนกลาง ประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
ค ชายฝงตะวันตกของอเมริกากลาง ก แองกลิคัน
ง ทางตอนใตสุดของคาบสมุทรฟลอริดา ข ออรทอดอกซ
34. พวกผิวเหลืองในทวีปอเมริกาเหนืออพยพ ค โปรเตสแตนต
มาจากทวีปอะไร ง โรมันคาทอลิก
ก ยุโรป 40. เพราะเหตุใดเขตอุตสาหกรรมที่สําคัญ
ข เอเชีย ของทวีปอเมริกาเหนือจึงอยูทางภาค
ค แอฟริกา ตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกาไป
ง อเมริกาใต จนถึงทางตะวันออกเฉียงใตของแคนาดา
35. ประเทศเม็กซิโกใชภาษาอะไรเปนภาษา ก การคมนาคมเจริญกวาที่อื่น
ราชการ ข อุดมสมบูรณดว ยแรที่เปนพื้นฐานของ
ก สเปน อุตสาหกรรม
ข อังกฤษ ค ชาวอินเดียนเคยตั้งถิ่นฐานและสราง
ค ฝรั่งเศส ความเจริญมากอน
ง โปรตุเกส ง ประชากรเบาบางจึงทําใหมีพื้นที่สําหรับ
36. พืชเศรษฐกิจอันดับ 1 ของประเทศ การตั้งโรงงานอุตสาหกรรม
สหรัฐอเมริกาคืออะไร 41. ดินแดนใดในทวีปอเมริกาใตที่ยังไมไดรับ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  22

เอกราชในปจจุบัน ตั้งอยูบนเขตละติจูดกลาง
ก ซูรินาเม ก ชิลี
ข กายอานา ข บราซิล
ค เกาะฟอลกแลนด ค อุรุกวัย
ง เกาะเตียรราเดลฟวยโก ง อารเจนตินา

42. เกาะใดอยูทิศใตสุดของทวีปอเมริกาใต 48. มหาสมุทรใดที่อยูระหวางทวีปอเมริกาใต


ก เกาะบารเบโดส กับทวีปแอฟริกา
ข เกาะกาลาปาโกส ก อินเดีย ค อารกติก
ค เกาะฟอลกแลนด ข แปซิฟก ง แอตแลนติก
ง เกาะเตียรราเดลฟวยโก 49. เซลวาสคือชื่อเรียกของอะไรและอยูใน
43. ยอดเขาอากอนกากวาที่สูงที่สุดในทวีป เขตภูมิอากาศใดในทวีปอเมริกาใต
อเมริกาใตอยูในประเทศใด ก ทะเลทราย อยูในเขตทะเลทราย
ก เปรู ข ทุงหญาแพรรี อยูในเขตอบอุน ชื้น
ข เอกวาดอร ค ปาดิบชื้น อยูในเขตปาฝนเขตรอน
ค โคลอมเบีย ง ทุงหญาสั้น อยูในเขตเมดิเตอรเรเนียน
ง อารเจนตินา 50. ขอใดกลาวถึงลักษณะภูมิอากาศใน
44. สถานที่ใดที่ไมไดมีความเกี่ยวของกับเขต บริเวณที่ราบสูงปาตาโกเนียไดถูกตอง
เทือกเขาสูงทางตะวันตกของทวีปอเมริกา ก บางครั้งมีฝนทิ้งชวงนานกวา 10 ป
ใต ข มีฝนตกในฤดูรอ น ฤดูหนาวอบอุน
ก แมน้ําแอมะซอน สบาย
ข ทะเลสาบตีตีกากา ค มีปริมาณฝนนอยกวาในแถบลุมน้ํา
ค อาวรีโอเดลาพลาตา แอมะซอน
ง ยอดเขาอากอนกากวา ง มีปริมาณฝนเฉลี่ยนอยกวา 500
45. แมน้ําสายใดบางที่ไหลมาบรรจบกันแลว มิลลิเมตรตอป
ไหลลงสูอาวรีโอเดลาพลาตา 51. ทวีปอเมริกาใตมีพื้นที่ปาชนิดใดมากที่สุด
ก ปารานา ปารากวัย อุรุกวัย ในโลก
ข ปารากวัย อุรุกวัย แอมะซอน ก ปาสน ค ปาชายเลน
ค ปารานา ปารากวัย แอมะซอน ข ปาดิบชื้น ง ปาไมผลัดใบ
ง ปารากวัย แอมะซอน มักดาเลนา 52. เหตุใดดินในประเทศโคลอมเบียจึง
46. พื้นที่ประมาณ 1 ใน 4 ของประเทศ เพาะปลูกกาแฟไดดี
อารเจนตินามีลักษณะอยางไร ก เพราะเปนดินภูเขาไฟ
ก เปนที่ราบสูง ข เพราะเปนดินตะกอนน้ําพา
ข เปนเขตเทือกเขาสูง ค เพราะเปนดินทีม่ ีน้ําขังอยูตลอดเวลา
ค เปนเขตที่ราบลุมแมน้ํา ง เพราะเปนดินทีม่ ีแรเหล็กผสมอยูมาก
ง เปนแนวภูเขาไฟที่มีพลัง 53. ประเทศใดในทวีปอเมริกาใตท่ไี มใชภาษา
47. ประเทศใดในทวีปอเมริกาใตที่ไมมีพื้นที่ สเปนเปนภาษาราชการ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  23

ก เปรู ค โบลิเวีย ข ทางรถไฟ


ข บราซิล ง โคลอมเบีย ค ทางแมน้ํา
54. ประชากรในทวีปอเมริกาใตปจจุบันสวน ง ทางอากาศ
ใหญเปนพวกใด
ก ดยัก ค เมสติโซ
ข นิโกร ง มูแลตโต
55. เทศกาลคารนิวัลในทวีปอเมริกาใตแสดง 60. เพราะเหตุใดเสนทางรถยนตในทวีป
ใหเห็นถึงอะไร อเมริกาใตจึงไมไดรับการพัฒนา
ก ความยึดมัน่ ในศาสนา ก เพราะประชาชนนิยมเดินทางดวย
ข ความสุขของประชากรในทวีป เครื่องบิน
ค ความเจริญทางดานเทคโนโลยี ข เพราะมีทางรถไฟที่ไดมาตรฐานเปน
ง ความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจ อยางดีแลว
56. แรชนิดใดที่ทวีปอเมริกาใตผลิตไดเปน ค เพราะมีสภาพพื้นที่ที่เปนอุปสรรคตอ
อันดับ 1 ของโลก การสรางถนน
ก ทองคํา ง เพราะไมไดรับการชวยเหลือจาก
ข สังกะสี ประเทศสหรัฐอเมริกา
ค ทองแดง 61. พื้นที่ใดในประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีอัตรา
ง บ็อกไซต การตัดไมทําลายปามากที่สุด
57. ขอใดกลาวถึงการเลี้ยงสัตวในทวีป ก ที่ราบสูงโคโลราโด
อเมริกาใตไดถูกตอง ข กลุมทะเลสาบเกรตเลกส
ก สัตวที่เลี้ยงกันมากที่สุดคือโคนม ค ที่ราบลุมแมน้ํามิสซิสซิปป
ข มีการเลี้ยงสุกรกันมากเฉพาะใน ง แนวชายฝงมหาสมุทรแปซิฟก
ประเทศบราซิล 62. กาซชนิดใดที่กอใหเกิดฝนกรดในทวีป
ค แพะเปนสัตวที่เลี้ยงกันมากในเขต อเมริกาเหนือมากที่สุด
ทุงหญากัมโป ก ฮาโลคารบอน
ง ประเทศอุรุกวัยเลี้ยงแกะมากเปน ข ไนโตรเจนออกไซด
อันดับ 2 ของโลก ค ซัลเฟอรไดออกไซด
58. สินคาเขาที่สําคัญของทวีปอเมริกาใตคือ ง คารบอนไดออกไซด
อะไร 63. ระดับธาตุอาหารในน้ําที่มากขึ้นสงผล
ก ฝาย อยางไรตอน้ําในทะเลสาบเกรตเลกส
ข ขาวโพด ก มีออกซิเจนในน้ํามากขึ้น
ค ทองแดง ข มลพิษในทะเลสาบลดลง
ง ยานยนต ค สัตวน้ําเพิ่มจํานวนมากขึ้น
59. การคมนาคมในเสนทางใดทีม่ ีความ ง สาหรายบางชนิดเจริญเติบโตไดดี
สําคัญตอการคมนาคมขนสงในทวีป 64. ขอใดไมใชผลกระทบที่เกิดจากภาวะโลก
อเมริกาใตมากที่สุด รอนในทวีปอเมริกาเหนือ
ก ทางทะเล ก ไฟปาในเดลาแวร
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  24

ข ภัยแลงในบริติชโคลัมเบีย ง เปนสถานที่ใชรณรงคตอ สิ่งแวดลอม


ค หมอกพิษในลอสแอนเจลิส ของนักอนุรักษ
ง พายุเฮอรริเคนในนิวออรลีนส

65. การขยายพื้นที่เพาะปลูกพืชชนิดใดใน 70. ประเทศใดในทวีปอเมริกาเหนือที่มีพื้นที่


ทวีปอเมริกาใตที่สงผลใหพื้นที่ปา ทําการเกษตรแบบชีวภาพมากที่สุด และมี
แอมะซอนลดลง พื้นที่เทาไร
ก ออย ก แคนาดา 1.6 ลานเฮกตาร
ข กาแฟ ข แคนาดา 2.5 ลานเฮกตาร
ค ขาวโพด ค สหรัฐอเมริกา 1.6 ลานเฮกตาร
ง ถั่วเหลือง ง สหรัฐอเมริกา 2.5 ลานเฮกตาร
66. ขอใดไมใชผลกระทบที่เกิดจากการ 71. ขอใดไมใชปญหาที่จะตามมาหลังเกิด
ขยายตัวของเขตเมืองในทวีปอเมริกาใต ฟาเบลาขึ้น
ก เกิดชุมชนแออัด ก โรคระบาด
ข เสนทางถนนเพิม่ ขึ้น ข ภาวะน้ําทวม
ค หนาดินเกิดการพังทลาย ค อาชญากรรม
ง ระบบสาธารณูปโภคขาดแคลน ง แผนดินถลม
67. โรคใดที่เกิดการระบาดในทวีปอเมริกาใต 72. เพราะเหตุใดประเทศตาง ๆ ในทวีป
เนื่องจากอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น อเมริกาใตจึงหันมาทําการเกษตรแบบ
ก โรคเด็งกี่ ชีวภาพ
ข โรคไขเหลือง ก เพราะไดรับความนิยมจากตลาดมาก
ค โรคไขหวัดใหญ ขึ้น
ง โรคเยื่อหุมสมองอักเสบ ข เพราะเกิดมลพิษในดินและหนาดิน
68. อาคารสีเขียวไมจําเปนตองมีลักษณะเปน พังทลาย
อยางไร ค เพราะไดรับการรับรองจากรัฐบาล
ก มีจํานวนชั้นมาก สหรัฐอเมริกา
ข มีการใชพลังงานนอย ง เพราะเปนที่ตองการของประเทศตาง ๆ
ค ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ในทวีปยุโรป
ง ทําใหผูอาศัยเหมือนไดอยูกับธรรมชาติ 73. แหลงน้ําใดที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาและ
69. เซ็นทรัลพารคมีขอดีตอชาวนิวยอรก แคนาดารวมมือกันแกไขปญหามลพิษจน
อยางไร กลายเปนบรรทัดฐานในการจัดการแหลง
ก เปนที่ที่ใหอากาศบริสุทธิ์ชาวเมือง น้ําอื่น ๆ
ข เปนแหลงเพาะพันธุสัตวเศรษฐกิจ ก อาวเม็กซิโก
ค เปนตลาดที่คาขายผลผลิตจากไรนา ข แมน้ําโคโลราโด
ชีวภาพ ค แมน้ํามิสซิสซิปป
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  25

ง ทะเลสาบเกรตเลกส ง เพราะไมมีแหลงน้ํามันดิบที่เพียงพอ
74. พลังงานเอทานอลที่ผลิตในประเทศสหรัฐ ตอความตองการ
อเมริกาสวนใหญผลิตจากพืชชนิดใด
ก ออย ค ขาวโพด 78. ประเทศบราซิลยืนยันในที่ประชุมเรื่อง
ข ขาวสาลี ง ถั่วเหลือง โลกรอนเมื่อ ค.ศ. 2009 วาจะลดอัตรา
การปลอยกาซเรือนกระจกใหไดเทาไร
75. ขอใดกลาวถึงสาระสําคัญของรางกฎหมาย ก รอยละ 17
America Clean Energy and ข รอยละ 37
Security Act ไดถูกตอง ค รอยละ 19
ก กําหนดใหใชน้ํามันในการวิ่งของ ง รอยละ 39
รถยนตที่ 30 ไมลตอแกลลอน 79. การผลิตเอทานอลของประเทศบราซิล
ข กําหนดเปาหมายใหลดการปลอยกาซ สงผลดีหรือไมตอประเทศไทย อยางไร
เรือนกระจกเปนรอยละ 4 ก ดี เพราะทําใหคนไทยมีเอทานอลใช
ค กําหนดมาตรการ border adjustment ข ดี เพราะทําใหคนไทยสนใจการใช
ตั้งแต ค.ศ. 2010 เปนตนไป พลังงานทดแทน
ง กําหนดใหนําเงินจากการขายคารบอน ค ไมดี เพราะทําใหน้ํามันดิบจากไทย
เครดิตมาใชพฒ ั นาพลังงานทดแทน สงออกไดลดนอยลง
76. รัฐบาลเม็กซิโกแกไขปญหามลพิษทาง ง ไมดี เพราะทําใหไทยเสียเปรียบ
อากาศในเมืองเม็กซิโกซิตีดวยวิธีการใด ดุลการคาตอบราซิลมากขึ้น
ก เพิ่มรถสาธารณะใหมากขึ้น 80. การออกรางกฎหมายสิ่งแวดลอมของ
ข ลดเสนทางการจราจรใหนอยลง สหรัฐอเมริกาสงผลตอประเทศไทยหรือไม
ค ผลิตรถยนตที่ใชเชื้อเพลิงเอทานอล อยางไร
ง สนับสนุนการใชจักรยานแทนรถยนต ก สงผล เพราะทําใหไทยเสียรายไดจาก
77. เพราะเหตุใดประเทศบราซิลจึงเริ่มมีการ การสงออกสินคา
ผลิตเชื้อเพลิงเอทานอลใชในรถยนต ข สงผล เพราะทําใหไทยมีปญหามลพิษ
ก เพราะไดรับการสนับสนุนจาก สิ่งแวดลอมมากขึ้น
สหประชาชาติ ค ไมสงผล เพราะรางกฎหมายดังกลาว
ข เพราะไดรับการเรียกรองจากประชาชน ใชภายในสหรัฐอเมริกาเทานั้น
ของตนเอง ง ไมสงผล เพราะกฎหมายของไทยมี
ค เพราะตองการแกไขปญหาวิกฤตการณ ความเขมแข็งมากกวาสหรัฐอเมริกา
ดานพลังงาน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  26

ตอนที่ 2 ตอบคําถาม
1. การรับรูระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก และแผนที่มี
ความสัมพันธกนั อยางไร
ระบบการรับรูระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก จะ
..................................................................................................................
สามารถนํามาใชในการทําแผนที่ไดอยางถูกตองและเปนปจจุบันมากขึ้น กลาวคือ ผลิตภัณฑสารสนเทศ
........................................................................................................................
ของการรับรูระยะไกล ทั้งภาพจากดาวเทียมและรูปถายทางอากาศเปนขอมูลที่ทันสมัย และเปนขอมูล
........................................................................................................................
แรสเตอรที่สามารถนําเขาสูระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อจัดการขอมูลไดงาย ภาพจากดาวเทียมยังเปน
........................................................................................................................
ขอมูลเชิงเลข ซึ่งสามารถนํามาแปลงคาเปนขอมูลเวกเตอรไดทันที ขณะที่ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก
........................................................................................................................
ก็จะใหตาํ แหนงของสถานที่ตาง ๆ หรือขอมูลขอบเขตตาง ๆ ของพื้นที่ไดถูกตองมากขึ้น ขอมูลที่ไดมา
........................................................................................................................
จากทั้งสองระบบขางตนนี้ เมื่อนําเขาสูระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ระบบก็จะมีการจัดเก็บ วิเคราะห และ
........................................................................................................................
จัดทําออกมาเปนแผนที่
........................................................................................................................
........................................................................................................................
2. เพราะเหตุใดทวีปอเมริกาเหนือจึงมีภูมอิ ากาศแทบทุกชนิด
แนวคําตอบ
..................................................................................................................
เพราะตําแหนงที่ตั้งของทวีปอเมริกาเหนืออยูระหวางละติจูด 7 องศาเหนือถึง 83 องศาเหนือ ซึ่ง
........................................................................................................................
หากพิจารณาเฉพาะที่ตั้งตามละติจูดแลวทวีปนี้จะมีภูมิอากาศทั้งเขตรอน อบอุน และหนาว นอกจากนี้
........................................................................................................................
ความกวางใหญของทวีป และการวางตัวของเทือกเขาในแนวเหนือ–ใต ซึ่งขวางกั้นทิศทางลม สงผลให
........................................................................................................................
พื้นที่ภายในของทวีปเปนดานปลายลมที่มีปริมาณฝนตกนอย จึงกลายเปนทะเลทรายและทุงหญากึ่ง
........................................................................................................................
ทะเลทราย
........................................................................................................................
........................................................................................................................
3. เพราะเหตุใดประเทศอารเจนตินาและบราซิลจึงมีความเจริญทางอุตสาหกรรมมากกวาประเทศอื่น ๆ
ในทวีปเดียวกัน
แนวคําตอบ
..................................................................................................................
ประเทศอารเจนตินาและบราซิลมีความเจริญทางอุตสาหกรรม เพราะมีปจจัยสงเสริมหลายประการ
........................................................................................................................
ดังนี้
........................................................................................................................
1) ทั้ง 2 ประเทศสามรถผลิตสินคาทางการเกษตรที่สําคัญของโลก เชน กาแฟ โกโก ปาไม ขาว
........................................................................................................................
สาลี ขาวโพด โคเนื้อ เพียงพอสําหรับบริโภคภายในประเทศและแปรรูปเปนอุตสาหกรรมการเกษตรไดดี
........................................................................................................................
2) ประเทศบราซิลสามารถผลิตแรเหล็กไดมากเปนอันดับ 2 ของโลก ดังนั้น การพัฒนา
........................................................................................................................
อุตสาหกรรมจึงทําไดงาย เพราะมีวัตถุดิบพรอมอยูแลว
........................................................................................................................
3) ประชากรของทั้ง 2 ประเทศ ลวนเปนประชากรที่มีคณ ุ ภาพ และสวนใหญเปนพวกผิวขาวหรือ
........................................................................................................................
พวกเลือดผสมที่มีบรรพบุรุษอพยพมาจากทวีปยุโรป
........................................................................................................................
........................................................................................................................
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  27

4. นักเรียนคิดวาปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตปญหาใดที่เปนปญหาที่
สําคัญมากที่สุด เพราะอะไร
ปญหาสิ่งแวดลอมที่สําคัญที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต คือ การตัดไมทําลายปา ในทวีป
..................................................................................................................
อเมริกาเหนือนั้นมีการทําปาไมกันมาก จนทําใหพื้นที่ปาไมลดลง ซึ่งเปนผลใหสัตวปาและพืชหลายชนิดอยู
........................................................................................................................
ในภาวะเสี่ยงที่จะสูญพันธุ การตัดทําลายปายังเปนสาเหตุที่ทําใหอากาศเปนพิษและเกิดภาวะโลกรอน ซึ่ง
........................................................................................................................
ทําใหเกิดผลกระทบหลายอยางตอทวีปอเมริกาเหนือ เชน คลื่นความรอน ภัยแลง โรคระบาด สวนในทวีป
........................................................................................................................
อเมริกาใตนั้นมีการตัดไมทําลายปา โดยเฉพาะในพื้นที่เขตปาฝนแอมะซอน การทําลายพื้นที่ปาฝนทําให
........................................................................................................................
สัตวและพันธุพืชหลายชนิดเสี่ยงตอการสูญพันธุและยังทําใหเกิดภาวะโลกรอนอีกดวย เนื่องจากการตัดไม
........................................................................................................................
ทําลายปาในทวีปอเมริกาใตสวนใหญจะใชวิธีการแผวถางและเผา ซึ่งจะกอใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซด
........................................................................................................................
ปริมาณมหาศาลลอยขึ้นสูชั้นบรรยากาศ
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................

คะแนน
สรุปผลการประเมิน
เต็ม ได
ตอนที่ 1
ตอนที่ 2
รวม
ลงชื่อ __________________ ผูประเมิน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  28

ดานคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม สําหรับครูประเมิน

คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแลวใสคะแนนลงในชองใหตรงกับความเปนจริง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมที่แสดงออก หมายเหตุ
3 2 1
1. มีวินัย 1. มีการวางแผนการทํางานและจัดระบบการทํางาน 3 หมายถึง
2. ทํางานตามขั้นตอนตาง ๆ ที่ไดวางแผนไว นักเรียนแสดง
พฤติกรรมนั้น
3. ตรวจสอบความถูกตอง ความเรียบรอย หรือคุณภาพของงาน
อยางสม่ําเสมอ
2. ใฝเรียนรู 4. มีความกระตือรือรนและสนใจที่จะแสวงหาความรู 2 หมายถึง
5. ชอบสนทนา ซักถาม ฟง หรืออานเพื่อใหไดความรูเพิ่มขึ้น นักเรียนแสดง
6. มีความสุขที่ไดเรียนรูในสิ่งที่ตนเองตองการเรียนรู พฤติกรรมนั้น
3. อยูอยางพอเพียง 7. ใชจายทรัพยสินของตนเอง เชน เงิน เสื้อผา สิ่งของ อยางประหยัด เปนครั้งคราว
8. ใชน้ํา ไฟฟา และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ อยางประหยัดและคุมคา 1 หมายถึง
นักเรียนแสดง
9. มีสวนรวมในการดูแลและรักษาทรัพยสินของสวนรวม
พฤติกรรมนั้น
4. รักความเปนไทย 10. ใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง นอยครั้ง
11. รูจักออนนอมถอมตนและมีสัมมาคารวะ
12. รวมกิจกรรมที่สําคัญเกี่ยวกับชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
13. มีสวนรวมในการเผยแพรและอนุรักษวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม
ประเพณีไทย
5. มีจิตสาธารณะ 14. เสียสละ มีน้ําใจ รูจักเอื้อเฟอเผื่อแผตอผูอ ื่น
15. เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน
6. มีความรับผิดชอบ 16. ยอมรับผลการกระทําของตนเองทั้งที่เปนผลดีและผลเสีย
17. ทํางานที่ไดรับมอบหมายใหสมบูรณตามกําหนดและตรงตอเวลา
7. ซื่อสัตยสุจริต 18. บันทึกขอมูลตามความเปนจริงและไมใชความคิดเห็นของตนเองไป
เกี่ยวของ
19. ไมแอบอางผลงานของผูอื่นวาเปนของตน
20. เคารพหรือปฏิบัติตามขอตกลง กฎ กติกา หรือระเบียบของกลุมที่
กําหนดไว
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ
ชวงคะแนนเฉลีย่ 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาไดจากการนําเอาคะแนนรวมใน
ระดับคุณภาพ 3 = ดีมาก, ดี 2 = พอใช 1 = ควรปรับปรุง แตละชองมาบวกกัน แลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําคะแนนเฉลี่ย
ที่ไดมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน )


ระดับคุณภาพที่ได
3 2 1
  
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  29

ดานทักษะ/กระบวนการ สําหรับครูประเมิน

คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแลวใสคะแนนลงในชองใหตรงกับความเปนจริง
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมที่แสดงออก หมายเหตุ
3 2 1
1. การสื่อสาร 1. ใชวิธีการสื่อสารในการนําเสนอขอมูลความรูไดอยางเหมาะสม 3 หมายถึง
2. เลือกรับขอมูลความรูดว ยหลักเหตุผลและความถูกตอง นักเรียนแสดง
พฤติกรรมนั้น
2. การใชเทคโนโลยี 3. ศึกษาคนควาขอมูลความรูจากสื่อและแหลงการเรียนรูตาง ๆ ไดดวย
อยางสม่ําเสมอ
ตนเอง
2 หมายถึง
4. เลือกใชเทคโนโลยีในการศึกษาคนควาขอมูลความรูไดอยางถูกตอง
นักเรียนแสดง
เหมาะสมและมีคุณธรรม
พฤติกรรมนั้น
3. การคิด 5. สรุปความคิดรวบยอดหรือสาระสําคัญของเรือ่ งที่ศึกษา
เปนครั้งคราว
6. แปลความ ตีความ หรือขยายความของคํา ขอความ ภาพ และ 1 หมายถึง
สัญลักษณในเรื่องที่ศึกษา นักเรียนแสดง
7. วิเคราะหหลักการและนําหลักการไปใชไดอยางสมเหตุสมผล พฤติกรรมนั้น
4. การแกปญหา 8. ตั้งคําถามหรือตั้งสมมุติฐานตอเรื่องที่ศึกษาอยางมีระบบ นอยครั้ง
9. รวบรวมขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษาจากสื่อและแหลงการ
เรียนรูตาง ๆ
10. ตรวจสอบและประเมินความถูกตองครบถวนของขอมูลความรูที่ได
จากการเก็บรวบรวม
11. นําขอมูลความรูที่ไดจากการตรวจสอบและประเมินมาวิเคราะหหรือ
แยกแยะเพื่อความสะดวกในการทดสอบสมมุติฐาน
12. ทดสอบสมมุติฐานและสรุปเปนหลักการดวยภาษาของตนเองที่เขาใจ
งาย
13. นําขอมูลความรูที่ไดไปใชแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน
5. กระบวนการกลุม 14. มีสวนรวมในการกําหนดเปาหมายการทํางานของกลุม
15. รวมกันวางแผนและแบงหนาที่การทํางานกับสมาชิกในกลุม
16. เปนทั้งผูนําและผูตามในการทํางานกลุม
17. ปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายดวยความรับผิดชอบ
18. ชวยลดขอขัดแยงและแกปญหาของกลุมไดอยางมีประสิทธิภาพ
19. สรางสรรคผลงานเสร็จทันเวลาและมีคุณภาพ
20. ภูมิใจและพึงพอใจในผลงานและการทํางานกลุม
คะแนนรวม
คะแนนเฉลี่ย

เกณฑการตัดสินคุณภาพ
ชวงคะแนนเฉลีย่ 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาไดจากการนําเอาคะแนนรวมใน
ระดับคุณภาพ 3 = ดีมาก, ดี 2 = พอใช 1 = ควรปรับปรุง แตละชองมาบวกกัน แลวหารดวยจํานวนขอ จากนั้นนําคะแนนเฉลี่ย
ที่ไดมาเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน

สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน )


ระดับคุณภาพที่ได
3 2 1
  
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  30

8. ใบงาน แบบบันทึก และแบบประเมินตาง ๆ

ใบงานที่ 1
เรื่อง แผนที่
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 แผนที่
ตัวชี้วัดชั้นป ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลเกีย่ วกับลักษณะ
ทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/1)
คําชี้แจง สรุปขอมูลที่ไดจากการอานแผนที่

พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
1. แผนที่ คือ .....................................................................................................................
....................................................................................................................................
2. แผนที่นี้เปนแผนที่ประเภท ................................................................................................
3. องคประกอบของแผนที่ฉบับนี้ ไดแก ..................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
4. แผนที่ฉบับนี้บอกใหทราบถึง .............................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

กลุมที่ ________
สมาชิก 1. _____________________ 2. ______________________
3. _____________________ 4. ______________________
5. _____________________ 6. ______________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  31

ใบงานที่ 1
เรื่อง แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง ลงชื่อประเทศตาง ๆ ในทวีปอเมริกาเหนือ พรอมทั้งระบายสี

แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
จาก บร. ภูมิ ม. 3
หนวยที่ 2 หนา 24
(เอาชือ่ ประเทศ ชื่อเมืองหลวง และสีออกทั้งหมด)

กวาง 12.5 ซม
สูง 15.16 ซม.

ชื่อ–นามสกุล _____________________________ เลขที่ _____ ชั้น ______________


คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  32

ใบงานที่ 2
เรื่อง แผนที่ภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง ลงเขตภูมิประเทศและแนวเทือกเขาของทวีปอเมริกาเหนือในแผนที่ โดยกําหนดสีเขตละ 1 สี
และแนวเทือกเขา 1 สี แลวเขียนคําอธิบายสัญลักษณใหตรงตามที่ไดกําหนดไว

แผนที่ภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ
จาก บร. ภูมิ ม. 3
หนวยที่ 2 หนา 27
(เอาสี ชื่อเขตออก เหลือเพียงกรอบแนวเทือกเขา)

กวาง 11.5 ซม
สูง 15.36 ซม.
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  33

ชื่อ–นามสกุล _____________________________ เลขที่ _____ ชั้น ______________

ใบงานที่ 3
เรื่อง แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง ลงเขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือในแผนที่ กําหนดสีเขตละ 1 สี และเขียนคําอธิบาย
สัญลักษณใหตรงตามที่ไดกําหนดไว

แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
จาก บร. ภูมิ ม. 3
หนวยที่ 2 หนา 36
(เอาสีและชื่อเขตออก)

กวาง 12.5 ซม
สูง 14.82 ซม.
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  34

ชื่อ–นามสกุล _____________________________ เลขที่ _____ ชั้น ______________

ใบงานที่ 4
เรื่อง แผนที่การคมนาคมของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง จากแผนที่การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ นักเรียนลองใสเสนทางการคมนาคมขนสง
ของทวีปอเมริกาเหนือ ไดแก ทางรถไฟ ทาเรือ สนามบิน ลงในแผนที่ โดยออกแบบ
สัญลักษณ พรอมเขียนคําอธิบายสัญลักษณและตกแตงใหสวยงาม

รอแผนที่การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ

กวาง 11.5 ซม
สูง 15.36 ซม.
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  35

ชื่อ–นามสกุล _____________________________ เลขที่ _____ ชั้น ______________

ใบงานที่ 1
เรื่อง แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง ลงชื่อประเทศตาง ๆ ในทวีปอเมริกาใต พรอมทั้งระบายสี

แผนที่รัฐกิจของทวีปอเมริกาใต
จาก บร. ภูมิ ม. 3
หนวยที่ 3
(เอาชือ่ ประเทศ ชื่อเมืองหลวง และสีออกทั้งหมด)

กวาง 12.5 ซม
สูง 15.16 ซม.
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  36

ชื่อ–นามสกุล _____________________________ เลขที่ _____ ชั้น ______________

ใบงานที่ 2
เรื่อง แผนที่ภูมิประเทศของทวีปอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง ลงเขตภูมิประเทศและแนวเทือกเขาของทวีปอเมริกาใตในแผนที่ โดยกําหนดสีเขตละ 1 สี
และแนวเทือกเขา 1 สี แลวเขียนคําอธิบายสัญลักษณใหตรงตามที่ไดกําหนดไว

แผนที่ภูมิประเทศของทวีปอเมริกาใต
จาก บร. ภูมิ ม. 3
หนวยที่ 3
(เอาสี ชื่อเขตออก เหลือเพียงกรอบแนวเทือกเขา)

กวาง 11.5 ซม
สูง 15.36 ซม.
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  37

ชื่อ–นามสกุล _____________________________ เลขที่ _____ ชั้น ______________

ใบงานที่ 3
เรื่อง แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง ลงเขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใตในแผนที่ กําหนดสีเขตละ 1 สี และเขียนคําอธิบาย
สัญลักษณใหตรงตามที่ไดกําหนดไว

แผนที่เขตภูมิอากาศของทวีปอเมริกาใต
จาก บร. ภูมิ ม. 3
หนวยที่ 3
(เอาสีและชื่อเขตออก)

กวาง 12.5 ซม
สูง 14.82 ซม.
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  38

ชื่อ–นามสกุล _____________________________ เลขที่ _____ ชั้น ______________

ใบงานที่ 4
เรื่อง แผนที่การคมนาคมของทวีปอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง จากแผนที่การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาเหนือ นักเรียนลองใสเสนทางการคมนาคมขนสง
ของทวีปอเมริกาเหนือ ไดแก ทางรถไฟ ทาเรือ สนามบิน ลงในแผนที่ โดยออกแบบ
สัญลักษณ พรอมเขียนคําอธิบายสัญลักษณและตกแตงใหสวยงาม

รอแผนที่การคมนาคมขนสงของทวีปอเมริกาใต

กวาง 11.5 ซม
สูง 15.36 ซม.
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  39

ชื่อ–นามสกุล _____________________________ เลขที่ _____ ชั้น ______________

ใบงานที่ 1
เรื่อง สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหการกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรรมชาติและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/1)
คําชี้แจง ตอบคําถามตอไปนี้
1. สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือมีอะไรบาง และมีลักษณะเปนอยางไร
สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือ ไดแก อาคารสีเขียว เซ็นทรัลพารค และการเกษตร
....................................................................................................................................
แบบอินทรีย สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปนี้สวนใหญจะเปนลักษณะของการปรับสภาพของสังคมเมือง
..........................................................................................................................................
ใหเขากับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติใหมากขึ้น และเปนแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมแนวทางหนึ่งของ
..........................................................................................................................................
ประเทศตาง ๆ ในทวีปอเมริกาเหนือ
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
2. สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมของทวีปอเมริกาใตมีอะไรบาง และมีลักษณะเปนอยางไร
สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาใต สวนใหญจะมีลักษณะเปนสิ่งแวดลอมทางสังคมที่
....................................................................................................................................
เปลี่ยนแปลงไปเพราะปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของทวีปนี้ ซึ่งทําใหเกิดปญหาเพิ่มมากขึ้น
..........................................................................................................................................
ไดแก การเกิดชุมชนแออัด ซึ่งเกิดมาจากการขยายตัวของเขตเมือง ทําใหเกิดปญหาทางสังคมตาง ๆ
..........................................................................................................................................
เพิ่มขึ้น การขยายเสนทางคมนาคมทางบกในพื้นที่ปาแอมะซอน เกิดจากการขยายตัวของไรถั่วเหลือง ทํา
..........................................................................................................................................
ใหพื้นที่ปาไมถูกทําลายมากขึ้น และการทําเกษตรอินทรีย เกิดจากความเสื่อมโทรมของดินในพื้นที่
..........................................................................................................................................
เพาะปลูก
..........................................................................................................................................
3. สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตเหมือนหรือแตกตางกันหรือไม
อยางไร
....................................................................................................................................
มีความแตกตางกัน เพราะสิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือสวนใหญเกิดจากความ
พยายามในการอนุรักษและแกไขปญหามลพิษสิ่งแวดลอม สวนในทวีปอเมริกาใตนั้นสวนใหญเกิดจาก
..........................................................................................................................................
ปญหาสิ่งแวดลอม และเปนการรองรับการขยายตัวที่ทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมและปญหาอื่น ๆ ตามมา
..........................................................................................................................................
มากขึ้น
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  40

ชื่อ ______________ สกุล _________________ เลขที่ _____ ชั้น ______

ใบงานที่ 2
เรื่อง แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 13 แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/2)
คําชี้แจง เขียนแผนที่ความคิดลงในชองวาง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  41

พิจารณาจากผลงานของนักเรียน

ชื่อ ______________ สกุล _________________ เลขที่ _____ ชั้น ______


แบบบันทึกความรู
เรื่อง เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
ตัวชี้วัดชั้นป ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลเกีย่ วกับลักษณะ
ทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/1)
คําชี้แจง บันทึกความรูที่ไดลงในชองวาง
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  42

1. การรับรูระยะไกล ..........................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
2. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ............................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
3. ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก ......................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................

ชื่อ _________________ สกุล _______________________ เลขที่ _____ ชั้น ________

แบบบันทึกผลการสืบคน
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกขอมูลที่ไดจากการสืบคนโดยสังเขป และบอกแหลงที่มาของขอมูลอยางชัดเจน

กลุมที่ ______ สืบคนขอมูลทรัพยากร _________________ ของทวีปอเมริกาเหนือ


_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  43

กลุมที่ ________
สมาชิก 1. _____________________ 2. ______________________
3. _____________________ 4. ______________________
5. _____________________ 6. ________________________

แบบบันทึกผลการสืบคน
แผนการจัดการเรียนรูที่ 5 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกขอมูลที่ไดจากการสืบคนโดยสังเขป และบอกแหลงที่มาของขอมูลอยางชัดเจน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  44

กลุมที่ ______ สืบคนขอมูลเรื่อง ________________________________


_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
แหลงที่มา: ______________________________________________

กลุมที่ ________
สมาชิก 1. _____________________ 2. ______________________
3. _____________________ 4. ______________________
5. _____________________ 6. ________________________

แบบบันทึกผลการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกผลการเรียนรูเรื่องทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริกาเหนืออยางถูกตองและชัดเจน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  45

1. ทรัพยากรดิน
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
2. ทรัพยากรปาไม
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
3. ทรัพยากรสัตวในธรรมชาติ
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
4. ทรัพยากรทางพลังงาน
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
สรุป
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________

ชื่อ _________________ สกุล _______________________ เลขที่ _____ ชั้น ________

แบบบันทึกผลการอภิปราย
แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 ประชากรของทวีปอเมริกาเหนือ
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกผลจากการสังเกตกอนการอภิปรายและความรูที่ไดหลังจากการอภิปราย พรอมสรุปผล
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  46

กอนการอภิปราย หลังการอภิปราย
1. จํานวนประชากรและการกระจายประชากร 1. จํานวนประชากรและการกระจายประชากร
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
2. เชื้อชาติ 2. เชื้อชาติ
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
3. ภาษา 3. ภาษา
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
4. ศาสนา 4. ศาสนา
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
สรุปผลการอภิปราย
______________________________________________________________________
______________________________________________________________________
______________________________________________________________________
______________________________________________________________________
______________________________________________________________________

ชื่อ _________________ สกุล _______________________ เลขที่ _____ ชั้น ________

แบบบันทึกผลการสืบคน
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คําชี้แจง บันทึกขอมูลที่ไดจากการสืบคนโดยสังเขป และบอกแหลงที่มาของขอมูลอยางชัดเจน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  47

กลุมที่ ______ สืบคนขอมูลทรัพยากร ___________________ ของทวีปอเมริกาใต


_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
แหลงที่มา: ______________________________________________

กลุมที่ ________
สมาชิก 1. _____________________ 2. ______________________
3. _____________________ 4. ______________________
5. _____________________ 6. ________________________

แบบบันทึกผลการสืบคน
แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  48

คําชี้แจง บันทึกขอมูลที่ไดจากการสืบคนโดยสังเขป และบอกแหลงที่มาของขอมูลอยางชัดเจน

กลุมที่ ______ สืบคนขอมูลเรื่อง ________________________________


_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
_____________________________________________________
แหลงที่มา: ______________________________________________

กลุมที่ ________
สมาชิก 1. _____________________ 2. ______________________
3. _____________________ 4. ______________________
5. _____________________ 6. ________________________

แบบบันทึกผลการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  49

อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)


คําชี้แจง บันทึกผลการเรียนรูเรื่องทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริกาใตอยางถูกตองและชัดเจน
1. ทรัพยากรดิน
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
2. ทรัพยากรปาไม
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
3. ทรัพยากรสัตวในธรรมชาติ
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
4. ทรัพยากรทางพลังงาน
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
สรุป
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________
_______________________________________________________

ชื่อ _________________ สกุล _______________________ เลขที่ _____ ชั้น ________

แบบบันทึกผลการอภิปราย
แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 ประชากรของทวีปอเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  50

อเมริกาใต (ส 5.1 ม. 3/2)


คําชี้แจง บันทึกผลจากการสังเกตกอนการอภิปรายและความรูที่ไดหลังจากการอภิปราย พรอมสรุปผล

กอนการอภิปราย หลังการอภิปราย
1. จํานวนประชากรและการกระจายประชากร 1. จํานวนประชากรและการกระจายประชากร
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
2. เชื้อชาติ 2. เชื้อชาติ
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
3. ภาษา 3. ภาษา
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
4. ศาสนา 4. ศาสนา
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
__________________________________ __________________________________
สรุปผลการอภิปราย
______________________________________________________________________
______________________________________________________________________
______________________________________________________________________
______________________________________________________________________
______________________________________________________________________

ชื่อ _________________ สกุล _______________________ เลขที่ _____ ชั้น ________

แบบบันทึกความรู
เรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  51

ตัวชี้วัดชั้นป สํารวจ อภิปรายประเด็นปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมที่เกิดขึน้ ในทวีปอเมริกาเหนือและ


อเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/3)
คําชี้แจง บันทึกความรูที่ไดหลังการอภิปรายลงในชองวาง
ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาใต

................................................................... ...................................................................
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
................................................................... พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
สาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม

..........................................................................................................................................
พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................

ชื่อ ______________ สกุล _________________ เลขที่ _____ ชั้น ______

แบบบันทึกการปฏิบัติงาน

เรื่อง สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  52

อเมริกาใต
ตัวชี้วัดชั้นป วิเคราะหการกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรรมชาติและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/1)
คําชี้แจง บันทึกการปฏิบัติงานการจัดปายนิเทศของตนเองลงในชองวาง

พิจารณาจากผลงานของนักเรียน
1. หนาที่ที่ไดรับมอบหมาย คือ .............................................................................................
2. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน .....................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
3. ผลที่คาดหวังวาจะไดรับ ..................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
4. สิ่งที่สําเร็จตามเปาหมาย คือ .............................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
5. สิ่งที่ไมสําเร็จตามเปาหมาย คือ .........................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
6. วิธีการแกไขและปรับปรุงการปฏิบัติงานของตนเองในครั้งตอไป คือ ..........................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
7. เพือ่ นที่ตองการชื่นชม คือ ................................................................................................
เพราะ ..........................................................................................................................
....................................................................................................................................

ชื่อ ______________ สกุล _________________ เลขที่ _____ ชั้น ______

ตัวอยางแบบประเมินทักษะการเขียนเรียงความ
เรื่อง ____________________________________________________
แผนการจัดการเรียนรู _____________ หนวยการเรียนรูที่ __________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  53

ชั้น ___________ วันที่ _________ เดือน _______________ พ.ศ. ______

รายการประเมิน สรุปผล

สรุปอยางมีเหตุผล (6 คะแนน)
คําสะกดผิดพลาดไมเกิน 5 คํา
สําคัญตอยอหนา (5 คะแนน)
ประโยคหลักใหแนวคิดหลักที่
การเนนประโยค (5 คะแนน)

ลายมืออานงาย (4 คะแนน)

รวมคะแนน (30 คะแนน)


เขียนประโยคที่สมบูรณ
เลขที่ ชื่อ–สกุล ไม
ผาน
ผาน

(5 คะแนน)

(5 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑการประเมิน
ไดคะแนนรอยละ 50 ขึ้นไปถือวาผาน
ตัวอยางแบบประเมินทักษะการพูด
เรื่อง ____________________________________________________
แผนการจัดการเรียนรู _____________ หนวยการเรียนรูที่ __________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  54

ชั้น ___________ วันที่ _________ เดือน _______________ พ.ศ. ______

รายการประเมิน สรุปผล

คุณคาของเรือ่ งทีพ่ ุด (3 คะแนน)


ความสนใจของผูฟ ง (2 คะแนน)

การสรุปที่เหมาะสม (3 คะแนน)
การลําดับเนื้อหา (5 คะแนน)
การออกแบบเสียงและจังหวะ

รวมคะแนน (30 คะแนน)


การปรากฏตัว (3 คะแนน)

บุคลิกทาทาง (2 คะแนน)
การเริ่มเรื่อง (3 คะแนน)

ความเราใจ (2 คะแนน)
การใชถอยคําเหมาะสม
เลขที่ ชื่อ–สกุล ไม
ผาน
ผาน

(4 คะแนน)

(3 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑการประเมิน
ไดคะแนนรอยละ 50 ขึ้นไปถือวาผาน
ตัวอยางแบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเปนรายบุคคล
ผลงาน/กิจกรรมที่ __________ เรื่อง _______________________________
แผนการจัดการเรียนรู _____________ หนวยการเรียนรูที่ __________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  55

ชั้น ___________ วันที่ _________ เดือน _______________ พ.ศ. ______

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

การนําไปใชประโยชน (3 คะแนน)
ความถูกตองของผลงาน/กิจกรรม

จุดเดนของผลงาน/กิจกรรม

รวมคะแนน (20 คะแนน)


รูปแบบการนําเสนอผลงาน
ความคิดริเริ่มสรางสรรค
เลขที่ ชื่อ–สกุล
4 3 2 1
(6 คะแนน)

(4 คะแนน)

(4 คะแนน)

(3 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑการประเมิน
ไดคะแนนรอยละ 50 ขึ้นไปถือวาผาน หรืออาจใชเกณฑเปนระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 ดังนี้
18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)
14–17 คะแนน = 3 (ดี)
10–13 คะแนน = 2 (พอใช)
0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุง)

ตัวอยางแบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเปนกลุม
ผลงาน/กิจกรรมที่ __________ เรื่อง _______________________________
แผนการจัดการเรียนรู _____________ หนวยการเรียนรูที่ __________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  56

ชั้น ___________ วันที่ _________ เดือน _______________ พ.ศ. ______

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

การนําไปใชประโยชน (3 คะแนน)
ความถูกตองของผลงาน/กิจกรรม

จุดเดนของผลงาน/กิจกรรม

รวมคะแนน (20 คะแนน)


รูปแบบการนําเสนอผลงาน
ความคิดริเริ่มสรางสรรค
เลขที่ ชื่อ–สกุล
4 3 2 1
(6 คะแนน)

(4 คะแนน)

(4 คะแนน)

(3 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑการประเมิน
ไดคะแนนรอยละ 50 ขึ้นไปถือวาผาน หรืออาจใชเกณฑเปนระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 ดังนี้
18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)
14–17 คะแนน = 3 (ดี)
10–13 คะแนน = 2 (พอใช)
0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุง)

ตัวอยางแบบประเมินพฤติกรรมในการทํางานเปนรายบุคคล
ผลงาน/กิจกรรมที่ __________ เรื่อง _______________________________
แผนการจัดการเรียนรู _____________ หนวยการเรียนรูที่ __________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  57

ชั้น ___________ วันที่ _________ เดือน _______________ พ.ศ. ______


คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมในการทํางานของนักเรียน แลวเขียนเครื่องหมาย  ลงในชองรายการ
ประเมินพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

ประเมินและปรับปรุงดวยความเต็มใจ
ไมเอาเปรียบเพือ่ นในการทํางาน

ทําตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย
พอใจกับความสําเร็จของงาน
รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
เลขที่ ชื่อ–สกุล

เคารพขอตกลงของกลุม
ใหความชวยเหลือผูอื่น
4 3 2 1

มุงมั่นทํางานใหสาํ เร็จ
สนใจในการทํางาน

เสนอความคิดเห็น

รวมคะแนน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑการประเมิน
1. การใหคะแนน  ให 1 คะแนน
2. การสรุปผลการประเมินใหเปนระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กําหนดเกณฑไดตามความเหมาะสมหรือ
อาจใชเกณฑดงั นี้
9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน = 2 (พอใช)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุง)
ตัวอยางแบบประเมินพฤติกรรมในการทํางานเปนรายกลุม
ผลงาน/กิจกรรมที่ __________ เรื่อง _______________________________
แผนการจัดการเรียนรู _____________ หนวยการเรียนรูที่ __________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  58

ชั้น ___________ วันที่ _________ เดือน _______________ พ.ศ. ______


คําชี้แจง สังเกตพฤติกรรมในการทํางานของนักเรียน แลวเขียนเครื่องหมาย  ลงในชองรายการ
ประเมินพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

รวมกันปรับปรุงผลงานดวยความเต็มใจ
รับฟงความคิดเห็นของสมาชิกกลุม
นํามติ/ขอตกลงของกลุมไปปฏิบัติ
มีกระบวนการทํางานเปนขั้นตอน
ทําตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

พอใจกับความสําเร็จของงาน
เลขที่ ชื่อ–สกุล รวมกันแสดงความคิดเห็น

บรรยากาศในการทํางาน
4 3 2 1
แบงงานกันรับผิดชอบ

มุงมั่นทํางานใหสาํ เร็จ

รวมคะแนน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑการประเมิน
1. การใหคะแนน  ให 1 คะแนน
2. การสรุปผลการประเมินใหเปนระดับคุณภาพ 4, 3, 2, 1 กําหนดเกณฑไดตามความเหมาะสมหรือ
อาจใชเกณฑดงั นี้
9–10 คะแนน = 4 (ดีมาก)
7–8 คะแนน = 3 (ดี)
5–6 คะแนน = 2 (พอใช)
0–4 คะแนน = 1 (ควรปรับปรุง)
ตัวอยางแบบประเมินรายงานการศึกษาคนควา
เรื่อง __________________________________ กลุมที่ _____________
ภาคเรียนที่ ___________ ชั้น ____________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  59

รายการประเมิน สรุปผล

รวมจํานวนรายการที่ผานเกณฑขนั้ ต่ํา
เนื้อหาสาระครบถวนตรงตามประเด็น

ประเมิน ปรับปรุง และแสดงความ


คนควาจากแหลงการเรียนรูที่
ความถูกตองของเนื้อหาสาระ

รูปแบบการนําเสนอนาสนใจ
เลขที่ ชื่อ–สกุล ไม

ภาษาถูกตองเหมาะสม
ผาน
ผาน

รูสึกตอชิ้นงาน
หลากหลาย
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

มิติคุณภาพของการศึกษาคนควา แยกตามองคประกอบยอย 6 ดาน


รายการที่ 1 เนื้อหาสาระครบถวนตรงตามประเด็น
4 หมายถึง มีเนือ้ หาสาระครบถวนตามประเด็นที่กําหนดทั้งหมด
3 หมายถึง มีเนือ้ หาสาระคอนขางครบถวนตามประเด็นที่กําหนดทั้งหมด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  60

2 หมายถึง มีเนือ้ หาสาระไมครบถวนตามประเด็นแตภาพรวมของสาระทั้งหมดอยูในเกณฑ


พอใช
1 หมายถึง มีเนือ้ หาสาระไมครบถวน ภาพรวมของสาระทั้งหมดอยูในเกณฑตองปรับปรุง

รายการที่ 2 ความถูกตองของเนื้อหาสาระ
4 หมายถึง เนื้อหาสาระทั้งหมดถูกตองตามขอเท็จจริงและหลักวิชา
3 หมายถึง เนื้อหาสาระเกือบทั้งหมดถูกตองตามขอเท็จจริงและหลักวิชา
2 หมายถึง เนื้อหาสาระบางสวนถูกตองตามขอเท็จจริง และหลักวิชาตองแกไขบางสวน
1 หมายถึง เนื้อหาสาระสวนใหญไมถูกตองตามขอเท็จจริง และหลักวิชาตองแกไขเปนสวน
ใหญ

รายการที่ 3 ภาษาถูกตองเหมาะสม
4 หมายถึง สะกดการันตถูกตอง ถอยคําสํานวนเหมาะสมดีมาก ลําดับความไดชัดเจน เขาใจ
งาย
3 หมายถึง สะกดการันตถูกตองเปนสวนใหญ ถอยคําสํานวนเหมาะสมดี ลําดับความไดดี
พอใช
2 หมายถึง สะกดการันตผิดอยูบาง ถอยคําสํานวนเหมาะสมพอใช ลําดับความพอเขาใจ
1 หมายถึง สะกดการันตผิดมาก ถอยคําสํานวนไมเหมาะสม ลําดับความไดไมชัดเจน

รายการที่ 4 คนควาจากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย
4 หมายถึง คนควาจากแหลงการเรียนรูที่หลากหลายตั้งแต 4 แหลงขึ้นไป
3 หมายถึง คนควาจากแหลงการเรียนรูที่หลากหลายตั้งแต 3 แหลงขึ้นไป
2 หมายถึง คนควาจากแหลงการเรียนรู 2 แหลง
1 หมายถึง ใชความรูเพียงแหลงการเรียนรูเดียว
รายการที่ 5 รูปแบบการนําเสนอนาสนใจ
4 หมายถึง รูปแบบการนําเสนองานแปลกใหม นาสนใจดี ลําดับเรื่องราวไดดีมาก
3 หมายถึง รูปแบบการนําเสนองานนาสนใจ ลําดับเรื่องราวไดดี
2 หมายถึง รูปแบบการนําเสนองานนาสนใจพอใช ลําดับเรื่องราวไดพอใช
1 หมายถึง รูปแบบการนําเสนอผลงานไมนาสนใจ ลําดับเรื่องราวไดไมดี

รายการที่ 6 ประเมิน ปรับปรุง และแสดงความรูสึกตอชิ้นงาน


4 หมายถึง วิเคราะหขอเดน ขอดอยของงานไดชัดเจน ปรับปรุงพัฒนางานไดเหมาะสม และ
แสดงความรูสึกตองานทั้งกระบวนการทํางานและผลงานไดอยางชัดเจน
3 หมายถึง วิเคราะหขอเดน ขอดอยของงานไดบางสวน ปรับปรุงพัฒนางานไดบาง และแสดง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  61

ความรูสึกตองานไดแตไมครบถวน
2 หมายถึง วิเคราะหขอเดน ขอดอยของงานไดเล็กนอย ปรับปรุงพัฒนางานดวยตนเองไมได
ตองไดรับคําแนะนําจากผูอื่น และแสดงความรูสึกตองานไดแตไมครบถวน
1 หมายถึง วิเคราะหขอเดน ขอดอยของงานไมได ไมปรับปรุงพัฒนางาน และแสดงความ
รูสึกตองานไดเล็กนอยหรือไมแสดงความรูสึกตองาน

เกณฑการประเมิน
นักเรียนตองมีพฤติกรรมในแตละรายการอยางนอยระดับ 3 ขึ้นไป จํานวน 4 ใน 6 รายการ
ถือวาผาน
ลงชื่อ _______________ ผูประเมิน
(_______________)
______ / ______ / ______

มิตคิ ุณภาพของการบันทึกผลงาน
กําหนดเกณฑการประเมินผลการบันทึกผลงานโดยใชมาตราสวนประเมินคา 4 ระดับ ดังนี้

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ
– บันทึกผลงานไดถูกตองตามจุดประสงค เขียนบันทึกไดชัดเจน แนวคิดหลัก
ถูกตอง มีประเด็นสําคัญครบถวน 4
– ใชภาษาไดอยางเหมาะสม คําศัพทถูกตอง
– บันทึกผลงานไดตรงตามจุดประสงค เขียนบันทึกบางสวนยังไมชัดเจนแนวคิด
หลักถูกตอง มีประเด็นสําคัญครบถวน 3
– ใชภาษา คําศัพทไมถูกตองในบางสวน
– บันทึกผลงานยึดตามจุดประสงค เขียนบันทึกไมชัดเจน แนวคิดหลักบางสวน
ไมถูกตอง สวนที่เปนประเด็นสําคัญมีไมครบถวน 2
– ใชภาษา คําศัพทไมถูกตองในบางสวน
– บันทึกผลงานไมสอดคลองกับจุดประสงค เขียนบันทึกไมชัดเจน และแนวคิด
หลักสวนใหญไมถูกตอง 1
– ใชภาษา คําศัพทไมถูกตอง

แบบประเมินโครงงาน

ชื่อโครงงาน ______________________________ กลุมที่ _____________


ภาคเรียนที่ ___________ ชั้น ____________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  62

รายการประเมิน สรุปผล

รวมจํานวนรายการที่ผานเกณฑขนั้ ต่ํา
ความสําคัญของการจัดทําโครงงาน
เลขที่ ชื่อ–สกุล
ผาน ไมผาน

การนําเสนอโครงงาน
เนื้อหาของโครงงาน

กระบวนการทํางาน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15

มิติคุณภาพ
รายการที่ 1 ความสําคัญของการจัดทําโครงงาน
4 หมายถึง มีการทํางานเปนกระบวนการกลุม มีความคิดริเริ่มสรางสรรค สอดคลองกับ
เนื้อหาและมีประโยชนในชีวิตจริง
3 หมายถึง มีการทํางานเปนกระบวนการกลุม มีความคิดริเริ่มสรางสรรค บางสวนไม
สอดคลองกับเนื้อหา แตมีประโยชนในชีวิตจริง
2 หมายถึง มีการทํางานเปนกระบวนการกลุม มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ไมสอดคลองกับ
เนื้อหา และไมมีประโยชนในชีวิตจริง
1 หมายถึง มีการทํางานเปนกระบวนการกลุม แตขาดความคิดริเริ่มสรางสรรค ไมสอดคลอง
กับเนื้อหา และไมมีประโยชนในชีวิตจริง

รายการที่ 2 เนื้อหาของโครงงาน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  63

4 หมายถึง เนื้อหาถูกตองครบถวน ใชแนวคิดและขอมูลขาวสารที่เหมาะสม และมีการสรุปไดดี


3 หมายถึง เนือ้ หาเกือบทั้งหมดถูกตอง ใชแนวคิดที่เหมาะสม มีขอมูลขาวสารบางเรื่องไมเหมาะสม
และการสรุปตองแกไข
2 หมายถึง เนื้อหาบางสวนถูกตอง แนวคิดและขอมูลขาวสารบางสวนตองแกไข และการสรุปตอง
แกไข
1 หมายถึง เนื้อหาสวนใหญไมถูกตอง แนวคิดและขอมูลขาวสารสวนใหญตองแกไข และการสรุป
ตองแกไขทั้งหมด

รายการที่ 3 กระบวนการทํางาน
4 หมายถึง มีการวางแผนอยางเปนระบบ มีการดําเนินงานตามแผน ลงมือปฏิบัติจนประสบ
ความสําเร็จ และมีการประเมินและปรับปรุงการดําเนินงาน
3 หมายถึง มีการวางแผนอยางเปนระบบ มีการดําเนินงานตามแผน ลงมือปฏิบัติจนประสบ
ความสําเร็จ แตขาดการประเมินและปรับปรุงการดําเนินงาน
2 หมายถึง มีการวางแผนอยางเปนระบบ แตไมไดดําเนินงานตามแผน แมจะปฏิบัติจน
ประสบความสําเร็จ และมีการประเมินและปรับปรุงการดําเนินงานก็ตาม
1 หมายถึง มีการวางแผนไมเปนระบบ การดําเนินงานไมประสบความสําเร็จ

รายการที่ 4 การนําเสนอโครงงาน
4 หมายถึง สื่อความหมายไดชัดเจน ขอมูลครบถวนสมบูรณ ใชรูปแบบที่เหมาะสม และ
ขอสรุปของโครงงานบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว
3 หมายถึง สื่อความหมายไดชัดเจน ขอมูลครบถวนสมบูรณ ใชรูปแบบที่ไมคอยเหมาะสม
แตขอสรุปของโครงงานบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว
2 หมายถึง สื่อความหมายไมคอยชัดเจน ขอมูลบางสวนขาดความสมบูรณ ใชรูปแบบที่ไม
เหมาะสม ขอสรุปของโครงงานไมบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว
1 หมายถึง สื่อความหมายไมชัดเจน ขอมูลสวนใหญไมสมบูรณ ใชรูปแบบที่ไมเหมาะสม
และขอสรุปของโครงงานไมบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวทั้งหมด

เกณฑการประเมิน
นักเรียนตองมีพฤติกรรมอยางนอยระดับ 3 ขึ้นไปในแตละรายการ จํานวน 3 ใน 4 รายการ

ตัวอยาง แบบประเมินโครงงาน (ทั่วไป)


ชื่อโครงงาน ______________________________ กลุมที่ _____________
ภาคเรียนที่ _________________ ชั้น ____________________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  64

รายการประเมิน สรุปผล

รวมจํานวนรายการที่ผานเกณฑขนั้ ต่ํา
วางแผนกําหนดขั้นตอนการแกปญหา

สามารถนําไปใชแกปญหาในชีวติ
กําหนดประเด็นปญหาชัดเจน
เลขที่ ชื่อ–สกุล
ผาน ไมผาน

ลงมือปฏิบัติตามแผน

เขียนรายงานนําเสนอ
ไดเหมาะสม

ประจําวัน
1
2
3
4
5

เกณฑการประเมิน แยกตามองคประกอบยอย 5 ดาน


รายการที่ 1 กําหนดประเด็นปญหาชัดเจน
4 หมายถึง กําหนดประเด็นปญหาไดดวยตนเอง ปญหาที่กําหนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจน
ดีมาก
3 หมายถึง กําหนดประเด็นปญหาไดดวยตนเอง ปญหาที่กําหนดมีความเฉพาะเจาะจงชัดเจน
ดี
2 หมายถึง กําหนดประเด็นปญหาไดดวยตนเองเปนบางสวน ปญหาที่กําหนดมีความเฉพาะ
เจาะจงชัดเจนพอใช
1 หมายถึง กําหนดประเด็นปญหาดวยตนเองไมได

รายการที่ 2 วางแผนกําหนดขั้นตอนการแกปญหาไดเหมาะสม
4 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแกปญหา ระบุควบคุมตัวแปรไดถูกตองเหมาะสม
3 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแกปญหา ระบุควบคุมตัวแปรไดคอนขางเหมาะสม
2 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแกปญหา ระบุควบคุมตัวแปรไดเหมาะสมพอใช
1 หมายถึง ออกแบบวิธีการ ขั้นตอนการแกปญหา ระบุควบคุมตัวแปรไดไมเหมาะสม
รายการที่ 3 ลงมือปฏิบัติตามแผน
4 หมายถึง ลงมือแกปญหาตามขั้นตอนที่กําหนดไวอยางครบถวนจริงจัง สามารถคนพบ
ความรู ขอคิด แนวทางการปฏิบัติตามประเด็นปญหาที่ตั้งไวดวยตนเองทั้งหมด
3 หมายถึง ลงมือแกปญหาตามขั้นตอนที่กําหนดไวอยางครบถวนจริงจัง สามารถคนพบ
ความรู ขอคิด แนวทางการปฏิบัติตามประเด็นปญหาที่ตั้งไวดวยตนเองเปน
สวนใหญ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  65

2 หมายถึง ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนดบาง แตไมครบถวน สามารถคนพบความรู


ขอคิด แนวทางการปฏิบัติตามประเด็นปญหาที่ตั้งไวดวยตนเองเปนบางสวน
1 หมายถึง ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนดไดนอ ยมาก ไมสามารถคนพบความรู ขอคิด
แนวทางการปฏิบัติตามประเด็นปญหาที่ตั้งไว

รายการที่ 4 สามารถนําไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวัน
4 หมายถึง นําขอคนพบ วิธีปฏิบัติไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันไดครบถวน ถูกตอง และ
ตอเนือ่ ง
3 หมายถึง นําขอคนพบ วิธีปฏิบัติไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันไดครบถวน ถูกตอง แต
ขาดความตอเนือ่ ง
2 หมายถึง นําขอคนพบ วิธีปฏิบัติไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันไดเปนบางสวน และตอง
กระตุนเตือนใหปฏิบัติอยางตอเนือ่ ง
1 หมายถึง นําขอคนพบ วิธีปฏิบัติไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันไดนอย หรือไมนําไปใชเลย
รายการที่ 5 เขียนรายงานนําเสนอ
4 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาคนควาและนําเสนอขอมูลไดถูกตองชัดเจน แสดงใหเห็นถึง
ขั้นตอนการวางแผน การลงมือแกปญหาและขอคนพบที่ไดครบถวน
3 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาคนควาและนําเสนอขอมูลไดถูกตองชัดเจน แสดงใหเห็นถึง
ขั้นตอนการวางแผน การลงมือแกปญหา และขอคนพบที่ไดคอนขางครบถวน
2 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาคนควาและนําเสนอขอมูลไดบาง แสดงใหเห็นถึงขั้นตอนการ
วางแผน การลงมือแกปญหา และขอคนพบที่ไดเพียงบางสวน
1 หมายถึง บันทึกผลการศึกษาคนควาและนําเสนอขอมูลไดนอยมาก เห็นขั้นตอนการ
วางแผน การลงมือแกปญหา และขอคนพบที่ไดไมชัดเจน
เกณฑการตัดสินผลการเรียน
นักเรียนตองมีพฤติกรรมในแตละรายการอยางนอยระดับ 2 ขึ้นไป จํานวน 3 ใน 5 รายการ ถือวา
ผาน

แฟมสะสมผลงาน (Portfolio) เปนแหลงรวบรวมผลงานของนักเรียนอยางเปนระบบที่นํามาใช


ประเมินสมรรถภาพของนักเรียน เพือ่ ชวยใหนักเรียน ครู ผูป กครอง หรือผูที่เกี่ยวของเกิดความเขาใจ
และมองเห็นอยางเปนรูปธรรมไดวา การปฏิบัติงานและผลงานของนักเรียนมีคุณภาพมาตรฐานอยูใน
ระดับใด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  66

แฟมสะสมผลงานเปนเครือ่ งมือประเมินผลตามสภาพจริงที่ใหโอกาสนักเรียนไดใชผลงานจากที่ได
ปฏิบัติจริงสื่อสารใหผูอื่นเขาใจถึงความสามารถที่แทจริงของตน ซึ่งผลงานที่เก็บสะสมในแฟมสะสม
ผลงานมีหลายลักษณะ เชน การเขียนรายงาน บทความ การศึกษาคนควา สิ่งประดิษฐ การทําโครงงาน
บันทึกการบรรยาย บันทึกการทดลอง บันทึกการอภิปราย บันทึกประจําวัน แบบทดสอบ

แบบบันทึกความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินชิ้นงานในแฟมสะสมผลงาน
ชื่อผลงาน _______________ วันที่ _____ เดือน ___________ พ.ศ. ______
หนวยการเรียนรูที่ _____________ เรื่อง ______________________________________

รายการประเมิน บันทึกความคิดเห็นของนักเรียน
1. เหตุผลที่เลือกงานชิ้นนี้ไวในแฟมสะสม _________________________
ผลงาน _________________________
2. จุดเดนและจุดดอยของงานชิน้ นี้มีอะไรบาง _________________________
_________________________
3. ถาจะปรับปรุงงานชิ้นนี้ใหดีขึ้นควรปรับปรุง _________________________
อยางไร _________________________
4. งานชิ้นนี้ควรไดคะแนนเทาใด เพราะเหตุใด _________________________
(ถากําหนดใหคะแนนเต็ม 10 คะแนน) _________________________

ความเห็นของครูที่ปรึกษา ความเห็นของผูปกครอง
________________________ ________________________
________________________ ________________________
________________________ ________________________

ผลการประเมินของครูหรือที่ปรึกษา
______________________________________
______________________________________
______________________________________
______________________________________

ตัวอยาง แบบประเมินแฟมสะสมผลงาน
เรื่อง ______________________________ กลุมที่ _________________
ภาคเรียนที่ __________________ ชั้น ___________________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  67

ระดับคุณภาพ
รายการประเมิน
1 2 3 4
1. โครงสรางและองคประกอบ
2. แนวความคิดหลัก
3. การประเมินผล
4. การนําเสนอ

เกณฑการประเมิน แยกตามองคประกอบยอย 4 ดาน

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
1. โครงสรางและองคประกอบ
4 ผลงานมีองคประกอบที่สําคัญครบถวนและจัดเก็บไดอยางเปนระบบ
3 ผลงานมีองคประกอบที่สําคัญเกือบครบถวนและสวนใหญจัดเก็บอยางเปนระบบ
2 ผลงานมีองคประกอบที่สําคัญเปนสวนนอย แตบางชิ้นงานมีการจัดเก็บที่เปนระบบ
1 ผลงานขาดองคประกอบที่สําคัญและการจัดเก็บไมเปนระบบ
2. แนวความคิดหลัก
4 ผลงานสะทอนแนวความคิดหลักของนักเรียนที่ไดความรูทางภูมิศาสตร มีหลักฐาน
แสดงวามีการนําความรูไปใชประโยชนไดมาก
3 ผลงานสะทอนแนวความคิดหลักของนักเรียนที่ไดความรูทางภูมิศาสตร มีหลักฐาน
แสดงวาสามารถนําความรูไปใชในสถานการณตัวอยางได
2 ผลงานสะทอนแนวความคิดหลักของนักเรียนวาไดความรูทางภูมิศาสตรบาง มี
หลักฐานแสดงถึงความพยายามที่จะนําไปใชประโยชน
1 ผลงานจัดไมเปนระบบ มีหลักฐานแสดงวามีความรูทางภูมศิ าสตรนอยมาก
3. การประเมินผล
4 มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงาน รวมทั้งมี
การเสนอแนะโครงการที่เปนไปไดที่จะจัดทําตอไปไวอยางชัดเจนหลายโครงการ
3 มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงาน รวมทั้งมี
การเสนอแนะโครงการที่ควรจัดทําตอไป
2 มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงานบาง รวมทั้ง
มีการเสนอแนะโครงการที่จะทําตอไปแตไมชัดเจน
1 มีการประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงานนอยมาก และไมมี
ขอเสนอแนะใด ๆ

ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
4. การนําเสนอ
4 เขียนบทสรุปและรายงานที่มีระบบดี มีขั้นตอน มีขอมูลครบถวน มีการประเมินผล
ครบถวน แสดงออกถึงความคิดริเริ่มสรางสรรค
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  68

3 เขียนบทสรุปและรายงานแสดงใหเห็นวามีขั้นตอนการจัดเก็บผลงาน มีการ
ประเมินผลงานเปนสวนมาก
2 เขียนบทสรุปและรายงานแสดงใหเห็นวามีขั้นตอนการจัดเก็บผลงาน มีการ
ประเมินผลเปนบางสวน
1 เขียนบทสรุปและรายงานแสดงใหเห็นวามีขั้นตอนการจัดเก็บผลงาน แตไมมีการ
ประเมินผล

เกณฑการประเมินโดยภาพรวม
ระดับคุณภาพ รายการประเมิน
4 ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอ ไมมีขอผิดพลาดหรือแสดงถึงความไมเขาใจ มี
ความเขาใจในเรื่องที่ศึกษาโดยมีการบูรณาการหรือเชื่อมโยงแนวความคิดหลัก
ตาง ๆ เขาดวยกัน
3 ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอและไมมีขอผิดพลาดหรือแสดงถึงความไมเขาใจ
แตขอมูลตาง ๆ เปนลักษณะของการนําเสนอที่ไมไดบูรณาการระหวางขอมูลกับ
แนวความคิดหลักของเรื่องที่ศกึ ษา
2 ผลงานมีรายละเอียดที่บันทึกไว แตพบวาบางสวนมีความผิดพลาดหรือไมชดั เจน
หรือแสดงถึงความไมเขาใจเรือ่ งที่ศึกษา
1 ผลงานมีขอมูลนอย ไมมีรายละเอียดบันทึกไว
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  1

ตอนที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร
รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  2

หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมศิ าสตร 3 ชั่วโมง

ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู
ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. แผนที่
1. การทําแบบทดสอบ
2. การรับรูระยะไกล
2. การนําเสนอผลงาน
3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
3. การบันทึกความรู
4. ระบบกําหนดตําแหนงบน
4. สรางแผนที่ความคิด
พื้นโลก

แผนทีแ่ ละเทคโนโลยี
ทางภูมศิ าสตร

ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม


1. การสื่อสาร 1. มีวินัย
2. การคิด 2. ใฝเรียนรู
3. การใชเทคโนโลยี 3. รับผิดชอบตอหนาที่
4. กระบวนการกลุม 4. มุงมั่นและอดทนในการทํางาน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  3

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู
หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมศิ าสตร

ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ตัวชี้วัดชั้นป
• ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลเกีย่ วกับลักษณะทาง
กายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/1)
ความเขาใจที่คงทนของนักเรียน คําถามสําคัญที่ทําใหเกิดความเขาใจที่คงทน
นักเรียนจะเขาใจวา... 1. แผนที่คืออะไร มีองคประกอบอะไรบาง และ
แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมิศาสตรเปน มีพัฒนาการและความเปนมาอยางไร
เครื่องมือที่ทําใหเขาใจถึงความสัมพันธระหวาง 2. เทคโนโลยีทางภูมิศาสตรคืออะไร ประกอบ
สภาพพื้นที่กับการดํารงชีวิตของมนุษย ดวยอะไรบาง และมีประโยชนอยางไร
ความรูของนักเรียนที่นําไปสูความเขาใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสูความ
นักเรียนจะรูวา... เขาใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คําสําคัญ ไดแก ละติจูด ลองจิจดู ดาวเทียม 1. อธิบายความหมาย วิธีการใช และประโยชน
กลองสามมิติ การพาณิชย คาพิกัด UTM ของแผนที่และเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
2. แผนที่ คือ สิ่งที่แสดงลักษณะของพื้นผิว 2. เลือกใชแผนทีแ่ ละเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
โลก ทั้งที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติและ ในการศึกษาขอมูลทางภูมิศาสตรไดอยาง
มนุษยสรางขึ้น ซึ่งในหนึ่งระวางจะมี เหมาะสม
องคประกอบ คือ ชื่อแผนที่ พิกัด ทิศทาง
มาตราสวน และสัญลักษณ แผนที่มี
วิวัฒนาการในการทําแผนที่มายาวนาน โดยมี
ชนชาติกรีกเปนผูวางรากฐานในการทําแผนที่
ในอดีต และเริ่มมีบทบาทมากขึ้นในยุคสํารวจ
ดินแดนใหมจนถึงชวงสงครามโลกครั้งที่ 2
และกลายเปนเครื่องมือในการศึกษาวิชา
ภูมิศาสตรที่สําคัญในปจจุบัน
3. การรับรูจากระยะไกล คือ ระบบการเก็บ
ขอมูลพื้นผิวโลกดวยเครื่องรับรูที่ติดไปกับ
ดาวเทียมหรือเครื่องบิน มีกระบวนการ
ทํางาน คือ การรับสัญญาณ และการ
วิเคราะหขอมูล ทําใหไดผลิตภัณฑ
สารสนเทศที่สําคัญ ไดแก รูปถายทาง
อากาศ และภาพจากดาวเทียม
4. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) คือ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  4

ระบบที่ใชรวบรวม จัดเก็บ วิเคราะห และ


แสดงผลขอมูลของพืน้ ผิวโลก ใชในการ
วางแผนและการจัดการที่เกี่ยวของในทาง
ภูมิศาสตร ประกอบดวย ฮารดแวร
ซอฟตแวร ขอมูล กระบวนการวิเคราะห
และบุคลากร
5. ระบบกําหนดตําแหนงบนพืน้ โลก (GPS)
เปนระบบนําทางที่ดีที่สุดในปจจุบัน
ประกอบดวย 3 สวน ไดแก สวนอวกาศ
สวนสถานีควบคุม และสวนผูใช
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรู
ตามที่กําหนดไวอยางแทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนตองปฏิบัติ
1.1 ศึกษาคนควาและอานขอมูลจากแผนที่
1.2 ศึกษาคนควาเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
2.1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู 2.2 เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรมเปน 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเปน
รายบุคคลหรือเปนกลุม รายบุคคลหรือเปนกลุม
3) การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม 3) แบบประเมินดานคุณธรรม
และคานิยม จริยธรรม และคานิยม
4) การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ 4) แบบประเมินดานทักษะ/
กระบวนการ
3. สิ่งที่มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ดาน ไดแก การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต
ดัดแปลง และนําไปใช การมีมุมมองที่หลากหลาย การใหความสําคัญและใสใจในความรูส ึก
ของผูอนื่ และการรูจักตนเอง
3.2 ทักษะ/กระบวนการ เชน การสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี กระบวนการ
กลุม
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม เชน รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝ
เรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมัน่ ในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 แผนที่ เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร เวลา 2 ชั่วโมง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  5

แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
แผนที่

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
แผนที่เปนสิ่งที่แสดงลักษณะของพืน้ ผิวโลก ทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสราง
ขึ้น ลงวัสดุแบนราบ มีองคประกอบ ไดแก ชื่อแผนที่ พิกดั แผนที่ ทิศทาง มาตราสวน และสัญลักษณ
เริ่มมีการผลิตแผนที่มาตั้งแตสมัยโบราณ โดยมีชาวกรีกเปนผูวางรากฐานการทําแผนที่ที่ถูกตอง
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทาง
กายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/1)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายความหมาย ประเภท และองคประกอบของแผนที่ได (K)
2. อธิบายเกี่ยวกับพัฒนาการในการทําแผนที่ได (K)
3. อานและวิเคราะหขอมูลจากแผนที่ได (K, P)
4. นําแผนที่ไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตองและเหมาะสม (A, P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. ทดสอบกอนเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามความรูเรื่องแผนที่ ทํางานเปนรายบุคคลในดาน ทํางานเปนรายบุคคลและเปน
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปน ความมีวินัย ความใฝเรียนรู กลุมในดานการสื่อสาร การ
รายบุคคลและเปนกลุม ฯลฯ คิด การแกปญหา ฯลฯ
5. สาระการเรียนรู
• แผนที่
1. ความหมายของแผนที่
2. ประเภทของแผนที่
3. องคประกอบของแผนที่
4. วิวัฒนาการของแผนที่
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟง พูด อาน และเขียนเกี่ยวกับแผนที่
ภาษาอังกฤษ  อานและศึกษาขอมูลจากแผนที่ที่พิมพเปนภาษาอังกฤษ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  6

ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความรูของนักเรียนในเรื่องแผนที่จากที่นักเรียนไดเคยเรียนรูมา
แลวโยงเขาสูเนือ้ หาในบทเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
4. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4–6 กลุม ครูนําแผนที่มาแจกใหแตละกลุม กลุมละ 1 ฉบับ
โดยเปนแผนทีต่ างประเภทกัน แตเปนแผนที่ที่เกี่ยวของกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต ใหนักเรียน
แตละกลุมชวยกันศึกษาและอานขอมูลจากแผนที่ แลวสรุปความหมาย ประเภท องคประกอบของแผน
ที่ และขอมูลที่อานไดจากแผนที่ เขียนลงในใบงานเรื่อง แผนที่ แลวใหแตละกลุมเลือกตัวแทน 1–2
คนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
5. ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนแกไขขอมูลในใบงานใหถูกตอง แลวบันทึกความรู
เพิ่มเติมที่ไดลงสมุด
6. ครูเกริ่นนําถึงประวัติความเปนมาของแผนที่ใหนักเรียนทราบ แลวใหนักเรียนแตละคนไป
สืบคนขอมูลเกีย่ วกับพัฒนาการในการทําแผนที่จากสื่อตาง ๆ มาคนละ 1 เรื่อง
7. ใหนักเรียนนําภาพและขอมูลที่ไดมารวมกันวิเคราะหและเรียงลําดับกอนหลังใหถูกตอง แลว
นําไปจัดปายนิเทศ
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
8. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมและใบงานเกี่ยวกับแผนที่ จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันเฉลย
กิจกรรมและใบงาน
ขั้นที่ 4 นําไปใช
9. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางการนําแผนที่ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
10. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับแผนที่และบันทึกลงสมุด
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนทดลองทําแผนที่จากแผนที่ฉบับเกาชนิดใดชนิดหนึ่งที่นักเรียนสนใจดวยวิธกี ารที่
นักเรียนเลือกใชเอง แตตองใหครูพิจารณากอน แลวนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แบบทดสอบกอนเรียน
2. แผนที่ประเภทตาง ๆ ของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
3. ใบงานเรื่อง แผนที่
4. สื่ออิเล็กทรอนิกส และหนังสือตาง ๆ จากหองสมุด
5. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
6. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  7

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู ____________________________________
แนวทางการพัฒนา __________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู _________________________________
แนวทางแกปญหา ___________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน _______________________________________
เหตุผล _________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
ผูสอน/แทน ______________________________________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  8

แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนที่และเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสําคัญ
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร เปนการศึกษาความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติกับสังคม
โดยการนําระบบการรับรูระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก มา
ประยุกตใชงานรวมกัน เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทาง
กายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/1)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายลักษณะและประโยชนของเทคโนโลยีทางภูมิศาสตรได (K)
2. เลือกใชเทคโนโลยีทางภูมิศาสตรในการศึกษาขอมูลทางภูมิศาสตรไดถูกตอง (K, P)
3. มีความสนใจและมุงมั่นที่จะใชเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร (A)
4. ใชเทคโนโลยีทางภูมิศาสตรไดอยางเหมาะสม (A, P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. ทดสอบหลังเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามความรูเรื่อง ทํางานเปนรายบุคคลในดาน ทํางานเปนรายบุคคลและเปน
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร ความมีวินัย ความใฝเรียนรู กลุมในดานการสื่อสาร การ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปน ฯลฯ คิด การแกปญหา ฯลฯ
รายบุคคลและเปนกลุม
5. สาระการเรียนรู
• เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
1. การรับรูระยะไกล
1.1 รูปถายทางอากาศ
1.2 ภาพจากดาวเทียม
2. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
3. ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก
6. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟง พูด อาน และเขียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  9

ภาษาอังกฤษ  ศึกษาขอมูลเกีย่ วกับเทคโนโลยีทางภูมิศาสตรจากสื่อภาษาอังกฤษ


การงานอาชีพฯ  คนควาขอมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีในปจจุบันวามีอะไรบางที่มีความเกีย่ วของกับภูมิศาสตร
เชน ระบบนําทางในโทรศัพท กูเกิลเอิรท ใหนักเรียนตอบคนละ 1 เรื่อง ครูบันทึกลงบนกระดานดํา
แลวเชื่อมโยงเขาสูบทเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
3. ครูแบงกลุมนักเรียนออกเปน 3 กลุม และแบงงานดังนี้
กลุมที่ 1 ศึกษาเรื่องการรับรูระยะไกล
กลุมที่ 2 ศึกษาเรื่องระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
กลุมที่ 3 ศึกษาเรื่องระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก
4. ใหนักเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลจากแหลงตาง ๆ นําขอมูลและภาพที่ไดมาวิเคราะหและสรุป
แลวเขียนลงบนกระดาษโปสเตอรเปนแผนที่ความคิดหรือแผนผังแบบใดก็ได และออกมานําเสนอหนา
ชั้นเรียน
5. ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนบันทึกความรูที่ไดลงในแบบบันทึกความรูเรื่องเทคโนโลยี
ทางภูมิศาสตร
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
6. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร แลวชวยกันเฉลยกิจกรรม
ขั้นที่ 4 นําไปใช
7. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางการนําเทคโนโลยีทางภูมิศาสตรไปใชในชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร และความสัมพันธของ
ระบบทั้ง 3 ไดแก การรับรูระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก
วามีความสัมพันธกันอยางไร เปนแผนที่ความคิดและบันทึกลงสมุด
9. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน และชวยกันเฉลยคําตอบ
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนศึกษาเว็บไซตที่เกี่ยวของกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรที่นักเรียนสนใจ สรุปวาได
อะไรจากเว็บไซตนั้นบาง แลวนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แบบทดสอบหลังเรียน
2. สื่ออิเล็กทรอนิกส และหนังสือตาง ๆ จากหองสมุด
3. กระดาษโปสเตอร
4. แบบบันทึกความรูเรื่อง เทคโนโลยีทางภูมศิ าสตร
5. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
6. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  10

10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู ____________________________________
แนวทางการพัฒนา __________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู _________________________________
แนวทางแกปญหา ___________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน _______________________________________
เหตุผล _________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
ผูสอน/แทน ______________________________________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  1

หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4 ชั่วโมง


ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

ผังมโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขายภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู
ภาระงาน/ชิ้นงาน
1. ปญหาสิ่งแวดลอม
1. การทําแบบทดสอบ
2. สิ่งแวดลอมใหมทางสังคม
2. ใบงาน
3. แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอม
3. สรางแผนที่ความคิด
4. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
4. การนําเสนอผลงาน
ของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกา
5. การบันทึกความรู
เหนือและอเมริกาใต

สถานการณดา นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม


1. การสื่อสาร 1. มีวินัย
2. การคิด 2. ใฝเรียนรู
3. การใชเทคโนโลยี 3. รับผิดชอบตอหนาที่
4. กระบวนการกลุม 4. มุงมั่นและอดทนในการทํางาน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  2

ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู
หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางที่ตองการใหเกิดขึ้นกับนักเรียน
ตัวชี้วัดชั้นป
1. วิเคราะหการกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและ
สังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/1)
2. ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
(ส 5.2 ม. 3/2)
3. สํารวจ อภิปรายประเด็นปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมที่เกิดขึน้ ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
(ส 5.2 ม. 3/3)
4. วิเคราะหเหตุและผลกระทบตอเนือ่ งจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใตที่สงผลตอประเทศไทย (ส 5.2 ม. 3/4)
ความเขาใจที่คงทนของนักเรียน นักเรียนจะ คําถามสําคัญที่ทําใหเกิดความเขาใจที่คงทน
เขาใจวา... 1. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน
1. ปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึน้ ในทวีปอเมริกา ปจจุบันของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
เหนือและอเมริกาใตมีสาเหตุมาจากการตัดไม มีการเปลี่ยนแปลงไปอยางไร
ทําลายปาและการเจริญเติบโตของเทคโนโลยี 2. ทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตมีแนวทาง
เศรษฐกิจ และสังคมอยางรวดเร็ว ซึ่งทําให การอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางไร
เกิดปญหามลพิษทั้งทางน้ําและอากาศ และ 3. ปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึน้ ในทวีปอเมริกา
ยังมีผลใหเกิดภาวะโลกรอน เหนือและอเมริกาใตสงผลกระทบตอ
2. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีป ประเทศไทยหรือไม อยางไร
อเมริกาเหนือและอเมริกาใตกอใหเกิด
สิ่งแวดลอมใหมขึ้น สิ่งแวดลอมใหมทาง
สังคมบางอยางถือวาเปนแนวทางการอนุรักษ
สิ่งแวดลอมดวยอยางหนึ่ง
3. ปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึน้ ในทวีปอเมริกา
เหนือและอเมริกาใตนั้นไมไดสงผลกระทบ
เฉพาะภายในทวีปเทานั้น ยังสงผลตอเนือ่ งไป
ยังทวีปตาง ๆ รวมไปถึงประเทศไทยดวย
ความรูของนักเรียนที่นําไปสูความเขาใจที่คงทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นําไปสูความ
นักเรียนจะรูวา... เขาใจที่คงทน นักเรียนจะสามารถ...
1. คําสําคัญ ไดแก เอเคอร พื้นที่ชุมน้ํา ธาตุ 1. อธิบายปญหาสิ่งแวดลอมทีเ่ กิดขึ้นในทวีป
อาหารอุดมสมบูรณ พายุทอรนาโด การแผว อเมริกาเหนือและอเมริกาใต
ถางและเผาปา ระบบสาธารณูปโภค 2. วิเคราะหการเกิดสิ่งแวดลอมใหมที่เกิดจาก
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  3

2. ทวีปอเมริกาเหนือ เปนทวีปที่มีปญหา การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีป


สิ่งแวดลอมเกิดขึ้นมากที่สุดทวีปหนึ่งของโลก อเมริกาเหนือและอเมริกาใต
ทั้งปญหาการตัดไมทําลายปา การขยายตัว 3. อธิบายแนวทางการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม
ของเขตเมืองและอุตสาหกรรม การทํา ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
การเกษตรดวยสารเคมี สัตวทะเลลดลง ฝน 4. อธิบายถึงบทบาทในการแกไขปญหาภาวะโลก
กรด มลพิษในทะเลสาบเกรตเลกส คราบ รอนในเวทีโลกของประเทศตาง ๆ ในทวีป
น้ํามันในทะเลจากการระเบิดของแทนขุดเจาะ อเมริกาเหนือและอเมริกาใต
น้ํามัน รวมไปถึงปญหาจากภาวะโลกรอนที่ทํา 5. วิเคราะหผลกระทบที่ประเทศไทยไดรับจาก
ใหประเทศตาง ๆ ในทวีปอเมริกาเหนือเกิด การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีป
คลื่นความรอน เกิดภัยแลงจนกลายเปนไฟ อเมริกาเหนือและอเมริกาใต
ปาขนาดใหญ ธารน้ําแข็งบนเทือกเขาตาง ๆ
ละลาย เกิดโรคระบาด และเกิดพายุ
เฮอรริเคนที่มีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะ
เฮอรริเคนแคทรีนา ใน ค.ศ. 2005
3. ทวีปอเมริกาใตมีการแผวถางและเผาปาเพื่อ
ขยายพื้นที่ทางการเกษตรและขยายเขตเมือง
ทําใหพื้นที่ปาแอมะซอนลดลงอยางรวดเร็ว
ขณะที่การขยายของชุมชนเมืองกอใหเกิด
ปญหาชุมชนแออัดทีเ่ รียกวา ฟาเบลา และยัง
กอใหเกิดมลพิษทั้งทางน้ําและอากาศ การตัด
ไมทําลายปายังเปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกิด
ภาวะโลกรอน ซึ่งทําใหเกิดภัยแลงในพื้นที่ปา
แอมะซอน น้ําทวมหนัก โรคระบาดในหลาย
พื้นที่ และยังสงผลใหพืชและสัตวหลายชนิด
อยูในภาวะเสี่ยงตอการสูญพันธุ
4. ในทวีปอเมริกาเหนือมีการสรางอาคารสีเขียว
เซ็นทรัลพารค การทําการเกษตรแบบอินทรีย
ซึ่งนอกจากจะเปนการปรับสิ่งแวดลอมทาง
สังคมใหเขากับสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติท่ี
เปลี่ยนไปแลว ยังเปนแนวทางการอนุรักษ
สิ่งแวดลอมอีกทางหนึ่ง สวนในทวีปอเมริกา
ใต การเกิดชุมชนแออัดตามเมืองหลวงและ
เมืองใหญของประเทศตาง ๆ เปนการ
เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมทางสังคมที่ทํา
ใหเกิดปญหาดานอื่นขึ้น ทั้งปญหาอาชญา-
กรรมที่เพิ่มมากขึ้น และระบบสาธารณูปโภค
ที่ขาดแคลน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  4

5. แนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมที่สาํ คัญในทวีปอเมริกาเหนือ
ไดแก การรวมมือกันของประเทศสหรัฐ-
อเมริกาและแคนาดาเพือ่ ลดระดับฝนกรด
และมลพิษในทะเลสาบเกรตเลกส การเชื่อม
อุทยานแหงชาติเขาดวยกัน การใชพลังงาน
ทดแทนในการผลิตกระแสไฟฟา การออกราง
กฎหมายสิ่งแวดลอมของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
เพือ่ แกไขปญหาและลดภาวะโลกรอน ขณะที่
ในทวีปอเมริกาใต โดยเฉพาะในประเทศ
บราซิล มีการผลิตพลังงานเอทานอลใชเปน
พลังงานเชือ้ เพลิงแทนน้ํามัน นอกจากนี้ยงั มี
การจัดตั้งอุทยานนิเวศวิทยาในเขตเมืองเพือ่
แกไขปญหาการลดลงของพื้นที่ปาไม และการ
สูญพันธุของความหลากหลายทางชีวภาพ
การสนับสนุนการทองเที่ยวเชิงนิเวศใน
ประเทศอุรุกวัย รวมไปถึงการจัดทําโครงการ
ตาง ๆ เพื่อแกไขปญหาภาวะโลกรอน
6. นอกจากภาวะโลกรอนที่สงผลกระทบตอ
ประเทศไทยแลว ปรากฏการณเอลนีโญที่เกิด
ตามแนวชายฝงมหาสมุทรแปซิฟกของทวีป
อเมริกาใตก็ทําใหเกิดภัยแลงในประเทศไทย
ดวยเชนกัน ขณะเดียวกันแนวทางการ
อนุรักษสิ่งแวดลอมบางอยาง เชน การออก
รางกฎหมายสิ่งแวดลอมของประเทศสหรัฐ-
อเมริกาก็สงผลกระทบตอเศรษฐกิจของ
ประเทศไทย เพราะจะมีการกีดกันการสง
สินคาออกจากประเทศที่ไมมีการกําหนดอัตรา
การปลอยกาซเรือนกระจก แตประเทศไทยก็
ไดรับผลดีจากการผลิตเอทานอลของประเทศ
บราซิล
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึ่งเปนหลักฐานที่แสดงวานักเรียนมีผลการเรียนรู
ตามที่กําหนดไวอยางแทจริง
1. ภาระงานที่นักเรียนตองปฏิบัติ
1.1 ศึกษาคนควาและนําเสนอผลงานเกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมและผลกระทบที่เกิดขึ้นในทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต
1.2 วิเคราะหและอภิปรายแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  5

1.3 วิเคราะหและนําเสนอผลงานเกี่ยวกับผลกระทบที่ประเทศไทยไดรับจากการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
2.1 วิธีการประเมินผลการเรียนรู 2.2 เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู
1) การทดสอบ 1) แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
2) การประเมินผลงาน/กิจกรรมเปน 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเปน
รายบุคคลหรือเปนกลุม รายบุคคลหรือเปนกลุม
3) การประเมินดานคุณธรรม จริยธรรม 3) แบบประเมินดานคุณธรรม
และคานิยม จริยธรรม และคานิยม
4) การประเมินดานทักษะ/กระบวนการ 4) แบบประเมินดานทักษะ/
กระบวนการ
3. สิ่งที่มุงประเมิน
3.1 ความสามารถ 6 ดาน ไดแก การอธิบาย ชี้แจง การแปลความและตีความ การประยุกต
ดัดแปลง และนําไปใช การมีมุมมองที่หลากหลาย การใหความสําคัญและใสใจในความรูส ึก
ของผูอนื่ และการรูจักตนเอง
3.2 ทักษะ/กระบวนการ เชน การสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี กระบวนการ
กลุม
3.3 คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม เชน รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย
ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุง มั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรูที่ 12 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีป เวลา 2 ชั่วโมง
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต
แผนการจัดการเรียนรูที่ 13 แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ เวลา 1 ชั่วโมง
และอเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  6

แผนการจัดการเรียนรูที่ 11
ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม เวลา 1 ชั่วโมง
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

1. สาระสําคัญ
ความเจริญทางดานเศรษฐกิจและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือ ทําใหมีการใชทรัพยากรธรรมชาติ
อยางมากมายมหาศาล จนเกิดปญหาทรัพยากรธรรมชาติลดลง เกิดมลพิษในดิน น้ํา และอากาศ ขณะที่
การเรงการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจและสังคมของทวีปอเมริกาใตทําใหเกิดการทําลายพื้นที่ปาฝน
เขตรอนอยางรุนแรง และเปนจุดเริ่มตนของปญหาสิ่งแวดลอมอืน่ ๆ
2. ตัวชี้วัดชั้นป
• สํารวจ อภิปรายประเด็นปญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมทีเ่ กิดขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกา
ใต (ส 5.2 ม. 3/3)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตได (K)
2. วิเคราะหสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (K, P)
3. รับรูและตระหนักถึงปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นและมีความพรอมที่จะแกไขปญหา (A)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. ทดสอบกอนเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามเรื่องปญหา ทํางานเปนรายบุคคลในดาน ทํางานเปนรายบุคคลและเปน
สิ่งแวดลอม ความมีวินัย ความใฝเรียนรู กลุมในดานการสื่อสาร การ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปน ฯลฯ คิด การแกปญหา ฯลฯ
รายบุคคลและเปนกลุม
5. สาระการเรียนรู
• ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
1. ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
1.1 ปญหาการใชที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติที่เกินขอบเขต
1.2 ปญหามลพิษทางอากาศ
1.3 ปญหามลพิษทางน้ํา
1.4 ปญหาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลก
1.5 ปญหาคราบน้ํามันในอาวเม็กซิโก
2. ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  7

6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟง พูด อาน และเขียนเกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
และอเมริกาใต
ภาษาอังกฤษ  อานและศึกษาขอมูลเกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใตจากสื่อภาษาอังกฤษ
การงานอาชีพฯ  คนควาขอมูลที่เกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอม
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
3. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับขาวสิ่งแวดลอมจากสื่อตาง ๆ วานักเรียนไดรับรูอะไรบาง
และมีขาวอะไรที่เกี่ยวของกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตบาง แลวโยงเขาสูบทเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
4. แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม ดังนี้
กลุมที่ 1 ศึกษาเรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
กลุมที่ 2 ศึกษาเรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาใต
5. นักเรียนชวยกันสืบคนขอมูลจากแหลงการเรียนรูตาง ๆ นํามาสรุปและวิเคราะห เขียนลงบน
กระดาษโปสเตอร 1 แผน แลวใหตัวแทนกลุม 1–2 คนออกมาอภิปรายหนาชั้นเรียน
6. ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนสรุปดวยตนเองและจดบันทึกความรูที่ไดลงในแบบบันทึก
ความรูที่ไดจากการอภิปราย เรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
7. ครูใหนักเรียนนํากระดาษโปสเตอรที่ใชในการอภิปรายมาติดหนาชั้นเรียน แลวกระตุนให
นักเรียนคิดหาสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต และใหนักเรียน
ออกมาเขียนลงบนกระดานดําทีละคน คนละ 1 สาเหตุ จนกวาครูจะเห็นวาครบถวนแลว
8. ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนบันทึกความรูลงในแบบบันทึกความรู
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
9. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมเกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต แลว
ชวยกันเฉลยกิจกรรม
ขั้นที่ 4 นําไปใช
10. ครูใหนักเรียนสังเกตปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นรอบตัววามีปญหาใดที่เหมือนหรือคลายกับที่
ไดเรียนรูไป เพื่อจะไดเล็งเห็นและตระหนักถึงปญหาสิ่งแวดลอม
ขั้นที่ 5 สรุป
11. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใตแลวบันทึกลงสมุด
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต เฉพาะ
เรื่องที่นักเรียนสนใจจากขอมูลภาษาอังกฤษ สรุปและจัดทําเปนรายงานสงครู
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  8

9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แบบทดสอบกอนเรียน
2. สื่ออิเล็กทรอนิกส และหนังสือตาง ๆ จากหองสมุด
3. กระดาษโปสเตอร
4. แบบบันทึกความรูเรื่อง ปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
5. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
6. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู ____________________________________
แนวทางการพัฒนา __________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู _________________________________
แนวทางแกปญหา ___________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน _______________________________________
เหตุผล _________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
ผูสอน/แทน ______________________________________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  9

แผนการจัดการเรียนรูที่ 12
ผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม เวลา 2 ชั่วโมง
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

1. สาระสําคัญ
การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตทําใหเกิดสิ่งแวดลอมใหมทาง
สังคมขึ้น เพื่อปรับสภาพสังคมเมืองใหเขากับธรรมชาติและรับมือกับปญหาทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อม
โทรม เชน การสรางอาคารสีเขียว แตก็มีการเปลี่ยนแปลงที่เปนผลเสียเพิ่มขึ้น เชน การเกิดชุมชนแออัด
นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมของทวีปทั้งสองก็ยังสงผลตอประเทศไทยอีกดวย
2. ตัวชี้วัดชั้นป
1. วิเคราะหการกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ
และสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต (ส 5.2 ม. 3/1)
2. วิเคราะหเหตุและผลกระทบตอเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
และอเมริกาใตที่สงผลตอประเทศไทย (ส 5.2 ม. 3/4)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายสิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตได (K)
2. วิเคราะหถึงสาเหตุที่ทําใหเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคมขึ้นได (K, P)
3. วิเคราะหผลกระทบตอประเทศไทยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใตได (K, P)
4. สนใจในการเรียนรูรูปแบบของสิ่งแวดลอมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต และ
ตระหนักถึงผลกระทบที่มีตอประเทศไทย (A)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. แสดงความคิดเห็นเรื่อง ผล • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
จากการเปลี่ยนแปลง ทํางานเปนรายบุคคลในดาน ทํางานเปนรายบุคคลและเปน
สิ่งแวดลอม ความมีวินัย ความใฝเรียนรู กลุมในดานการสื่อสาร การ
2. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปน ฯลฯ คิด การแกปญหา ฯลฯ
รายบุคคลและเปนกลุม
5. สาระการเรียนรู
1. สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
2. ผลกระทบที่ประเทศไทยไดรับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  10

6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟง พูด อาน และเขียนเกี่ยวกับผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
ภาษาอังกฤษ  อานและศึกษาขอมูลจากสื่อภาษาอังกฤษ
การงานอาชีพฯ  คนควาขอมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใตและการจัดปายนิเทศ
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตใน
ปจจุบันวามีอะไรบาง นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น บันทึกลงบนกระดานดํา และโยงเขาสูบทเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
3. ครูใหนักเรียนทั้งชั้นเรียนชวยกันจัดปายนิเทศเรือ่ ง สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกา
เหนือและอเมริกาใต โดยใหสืบคนขอมูลจากแหลงตาง ๆ แลวนําภาพและขอมูลที่ไดมาจัดปายนิเทศ
4. ครูคอยสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในระหวางการทํางานและควบคุมการทํางานใหอยูในระเบียบ
5. ครูสรุปและอธิบายเพิ่มเติม นักเรียนสรุปการทํางานของตนเองลงในแบบบันทึกการปฏิบัติงาน
สงครู และทําใบงานเรื่อง สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
6. ครูใหนักเรียนรวมกันสรุปความรูที่ไดจากการศึกษาเรื่องปญหาสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกา
เหนือและอเมริกาใต สรุปและชวยกันวิเคราะหวาสงผลกระทบตอประเทศไทยอยางไร เขียนลงบน
กระดาษปรูฟเปนแผนที่ความคิด ครูชวยนักเรียนสรุปใหตรงประเด็นการเรียนรู
7. นําแผนที่ความคิดที่ไดติดไวหนาชั้นเรียน นักเรียนบันทึกความรูที่ไดลงในสมุด
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
8. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมและใบงานเกี่ยวกับผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต แลวชวยกันเฉลยกิจกรรมและใบงาน
ขั้นที่ 4 นําไปใช
9. ครูใหนักเรียนนําขอดีจากสิ่งแวดลอมใหมทางสังคมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกา
ใตมาใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน
ขั้นที่ 5 สรุป
10. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับผลจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใตและบันทึกลงสมุด
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูใหนักเรียนเลือกศึกษาเรือ่ งใดเรื่องหนึง่ ที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกา
เหนือและอเมริกาใต สรุปและวิเคราะหดวยตนเอง แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. อุปกรณสําหรับจัดปายนิเทศ เชน กระดาษสี กรรไกร มีดหรือคัตเตอร เทปกาว กาวน้ํา
2. อุปกรณเครือ่ งเขียนตาง ๆ เชน ดินสอ ปากกาเมจิก สีไม
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  11

3. กระดาษปรูฟ
4. แบบบันทึกการปฏิบัติงาน การจัดปายนิเทศ
5. ใบงานเรื่อง สิ่งแวดลอมใหมทางสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
6. สื่ออิเล็กทรอนิกส และหนังสือตาง ๆ จากหองสมุด
7. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
8. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู ____________________________________
แนวทางการพัฒนา __________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู _________________________________
แนวทางแกปญหา ___________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน _______________________________________
เหตุผล _________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
ผูสอน/แทน ______________________________________________
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  12

แผนการจัดการเรียนรูที่ 13
แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม เวลา 1 ชั่วโมง
ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต

1. สาระสําคัญ
ในทวีปอเมริกาเหนือมีการรวมมือกันของรัฐบาลประเทศตาง ๆ เพือ่ แกไขปญหามลพิษทางน้ําและ
อากาศ มีการใชพลังงานลมในการผลิตกระแสไฟฟาแทนน้ํามัน เชนเดียวกับในประเทศบราซิลของทวีป
อเมริกาใตที่มีการผลิตเอทานอลเพื่อใชแทนน้ํามันในรถยนต นอกจากนี้ ประเทศสหรัฐอเมริกายังมีการ
ออกรางกฎหมายเพื่อลดภาวะโลกรอนซึ่งสงผลกระทบตอประเทศไทยเปนอยางมาก
2. ตัวชี้วัดชั้นป
1. ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกา
ใต (ส 5.2 ม. 3/2)
2. วิเคราะหเหตุและผลกระทบตอเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
และอเมริกาใตที่สงผลตอประเทศไทย (ส 5.2 ม. 3/4)
3. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตได (K)
2. วิเคราะหหาแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมที่ถูกตองและเหมาะสมได (P)
3. มีความสนใจในการนําแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตมา
ใชในการอนุรักษสิ่งแวดลอมที่อยูใกลตัวได (A)
4. วิเคราะหผลกระทบของแนวทางการอนุรกั ษส่งิ แวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตที่มี
ตอประเทศไทยได (K, P)
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑการวัด
1. ทดสอบหลังเรียน • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมินพฤติกรรมในการ
2. ซักถามเรื่อง แนวทางการ ทํางานเปนรายบุคคลในดาน ทํางานเปนรายบุคคลและเปน
อนุรักษสิ่งแวดลอม ความมีวินัย ความใฝเรียนรู กลุมในดานการสื่อสาร การ
3. ตรวจผลงาน/กิจกรรมเปน ฯลฯ คิด การแกปญหา ฯลฯ
รายบุคคลและเปนกลุม
5. สาระการเรียนรู
• แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
1. การอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
2. การอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาใต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  13

6. แนวทางการบูรณาการ
ภาษาไทย  ฟง พูด อาน และเขียนเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอม
ภาษาอังกฤษ  อานขอมูลเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือ
และอเมริกาใต และบทบาทของทั้งสองทวีปในการลดภาวะโลกรอนบน
เวทีโลกจากสื่อภาษาอังกฤษ
การงานอาชีพฯ  คนควาขอมูลเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกา
เหนือและอเมริกาใต
วิทยาศาสตร  ศึกษาความรูเ กีย่ วกับพลังงานทดแทน
7. กระบวนการจัดการเรียนรู
ขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียน
1. ครูแจงตัวชีว้ ัดชั้นปและจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ
2. ครูใหนักเรียนคนหาขาวเกีย่ วกับวิธีการอนุรักษสิ่งแวดลอมของประเทศตาง ๆ ที่อยูในทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใตมาคนละ 1 ขาว นําออกมาเลาหนาชั้นเรียน แลวโยงเขาสูบทเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู
3. ครูใหนักเรียนนําขาวที่ไดนํามาเลาใหเพื่อนฟงแลวมาติดไวบนกระดานดํา นักเรียนทุกคน
ชวยกันสรุปและออกมาเขียนเปนแผนที่ความคิดบนกระดานดํา
4. ครูชวยสรุปและอธิบายเพิม่ เติม นักเรียนเขียนแผนที่ความคิดที่ไดลงในใบงานเรื่อง แนวทาง
การอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
5. ครูใหนักเรียนนํากระดาษปรูฟที่แสดงแผนที่ความคิดเรือ่ ง ผลกระทบตอประเทศไทยที่เกิด
จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต มาเปรียบเทียบกับแผนที่
ความคิดบนกระดานดํา และชวยกันสังเกตวาแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมแนวทางใดทีส่ งผลกระทบ
ตอประเทศไทยบาง และสงผลอยางไร แลวเขียนเพิม่ เติมลงไปในแผนที่ความคิดที่อยูในกระดาษปรูฟ
6. ครูชวยเพิ่มเติมและแกไขใหถูกตอง นักเรียนนํากลับไปติดที่เดิม แลวบันทึกลงสมุด
ขั้นที่ 3 ฝกฝนผูเรียน
7. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมและใบงานเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกา
เหนือและอเมริกาใต แลวชวยกันเฉลยกิจกรรมและใบงาน
ขั้นที่ 4 นําไปใช
8. ครูใหนักเรียนนําแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใตที่สามารถ
ทําไดไปใชในการอนุรักษสิ่งแวดลอมทีอ่ ยูรอบตัวนักเรียน
ขั้นที่ 5 สรุป
9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูเกี่ยวกับแนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกา
เหนือและอเมริกาใตแลวบันทึกลงสมุด
10. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน และชวยกันเฉลยคําตอบ
8. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูพานักเรียนไปศึกษาหาความรูเพิ่มเติมเรือ่ งพลังงานทดแทนจากแหลงความรูตาง ๆ แลวนํา
ความรูที่ไดมานําเสนอหรือจัดเปนนิทรรศการใหแกเพื่อนนักเรียนชั้นอืน่ ๆ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู ภูมิศาสตร ม. 3  14

9. สื่อ/แหลงการเรียนรู
1. แบบทดสอบหลังเรียน
2. ขาวที่เกี่ยวกับการอนุรักษสิ่งแวดลอมจากสื่อตาง ๆ
3. ใบงานเรื่อง แนวทางการอนุรักษสิ่งแวดลอมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต
4. อุปกรณเครือ่ งเขียนตาง ๆ เชน ดินสอ ปากกาเมจิก สีไม
5. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด
6. แบบฝกทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร ม. 3 บริษัท สํานักพิมพวฒ ั นาพานิช จํากัด
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู

1. ความสําเร็จในการจัดการเรียนรู ____________________________________
แนวทางการพัฒนา __________________________________________
2. ปญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู _________________________________
แนวทางแกปญหา ___________________________________________
3. สิ่งที่ไมไดปฏิบัติตามแผน _______________________________________
เหตุผล _________________________________________________
4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู __________________________________
ผูสอน/แทน ______________________________________________

You might also like