You are on page 1of 29

คูม

 อ
ื ผูร บ
ั ทุน
โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีสาํ หรับเด็กและเยาวชน

มิถน
ุ ายน 2553
คูมือผูรับทุน 
โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน 

สถานที่ติดตอ 
โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน 
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 
111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย  ถนนพหลโยธิน  ตําบลคลองหนึ่ง 
อําเภอคลองหลวง  จังหวัดปทุมธานี  12120 

ติดตอโครงการ 
โทร 0-2564-7000 ตอ 1431, 1433, 1437  โทรสาร 0-2564-7004 
อติพร  สุวรรณ  ตอ 1431  e-mail : atiporn@nstda.or.th 
ปานกมล ศรสุวรรณ  ตอ 1433  e-mail : pankamon@nstda.or.th 
ชญากัญจน แกวบรรจง  ตอ 1437  e-mail : chayakan@nstda.or.th 

เว็บไซต  http://www.nstda.or.th/jstp
สารบัญ 
หนา 
บทนํา  1 
บทที่ 1 ปฏิทินกิจกรรม และขอปฎิบัติของผูไดรับทุนระยะยาว  5 

บทที่ 2 การดําเนินการโครงการ 
1) การคัดเลือกผูมีความสามารถพิเศษและผูมีอัจฉริยภาพ  9 
ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
2) การสงเสริมและสนับสนุนผูมีอจั ฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  10 
3) การประเมินผูม ีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีประจําป  11 
4) การพิจารณาผูมีอัจฉริยภาพพนสถานภาพการรับทุนสนับสนุนจากโครงการฯ  12 

บทที่ 3 องคประกอบของการสนับสนุน 
1) ทุนการศึกษา  13 
2) ทุนสนับสนุนการวิจัยของโครงการ  15 
3) การสนับสนุนดานการฝกอบรมระยะสัน้ /ประชุมวิชาการในตางประเทศ  16 

บทที่ 4 การเขารวมโครงการ 
1) ขั้นตอนการเขารวมโครงการของผูไดรับทุนระยะยาว  21 
2) การจัดทําสัญญารับทุนการศึกษา  21 
3) การจัดทําสัญญารับทุนสนับสนุนการวิจัย  23 
4) การสิ้นสุดระยะเวลาในสัญญารับทุน  23 
5) แนวทางการจัดทํารายงานพัฒนาการทางวิชาการของผูไดรับทุน  24 

ภาคผนวก 
ก. แบบรายงานความกาวหนาของการศึกษาและการสงเสริมพัฒนา 
ข. แบบขอเสนอโครงการวิจัย 
ค. แบบรายงานความกาวหนาโครงการวิจยั  
ง. แนวทางการจัดทํารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ 
จ. แบบฟอรมขอรับทุนสนับสนุนการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ
บทนํา 
1. เหตุผลและความเปนมาของโครงการ 
เด็กและเยาวชนผูมีความสามารถพิเศษ เปนทรัพยากรบุคคลที่ประมาณคามิไดของประเทศชาติ 
หากไดรับการสงเสริมอยางเต็มที่และถูกวิธี  เมื่อเติบโตเปนผูใหญจะสามารถสรางคุณประโยชนใหแก 
ประเทศชาติไดอยางอเนกอนันต 
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ในฐานะทีเ่ ปนหนวยงานที่มหี นาที่ 
โดยตรงในการนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนาประเทศ รวมถึงการการสงเสริมการ 
พัฒนากําลังคนทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทั้งในภาครัฐและเอกชน รวมกับสํานักงานกองทุน 
สนับสนุนงานวิจยั (สกว.) ไดดําเนินโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาตั้งแตป 
2540 โดยมีเปาหมายที่จะคนหาเด็กและเยาวชนทีม่ ีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
มาใหการสงเสริมและสนับสนุน ดวยวิธกี ารและรูปแบบทีห่ ลากหลายตามความถนัดและความสนใจของ 
แตละคน  เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนเหลานีใ้ หเพิ่มพูนศักยภาพทางวิทยาศาสตรอยางถูกตองและ 
ตอเนื่อง จนสามารถกาวเขาสูอาชีพนักวิทยาศาสตร/นักวิจัยที่มคี ุณภาพของประเทศ 

2. หนวยงานรับผิดชอบโครงการ 
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) 
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 

3. วัตถุประสงคและเปาหมายโครงการ 
วัตถุประสงค 
1)  เพื่อปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนสนใจทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  และเขาใจถึงบทบาทของ 
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตอความเจริญกาวหนาของประเทศชาติและมนุษยชาติ  ตลอดจนมี 
ความเขาใจและใฝรักวิชาชีพนักวิทยาศาสตร นักเทคโนโลยี และนักวิจัย 
2)  เพื่อเพิ่มจํานวนนักวิทยาศาสตร นักเทคโนโลยี และนักวิจัยที่มีคณ
ุ ภาพเปนทีย่ อมรับใน 
ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ 
3)  เพื่อสรางกลไกและระบบในการเสาะหา คัดเลือก และบมเพาะ ผูมีความสามารถพิเศษและผูมี 
อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหมีศกั ยภาพสูงสุด


เปาหมาย แบงเปน 2 ระดับ 
1) ระดับผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Gifted and Talented Children) 
ไดแก เด็กและเยาวชนไทยในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา  จํานวนปละประมาณ 100 คน ซึ่งเด็ก 
และเยาวชนกลุมนี้จะอยูในกระบวนการสงเสริมประสบการณและพัฒนาศักยภาพเปนเวลา 
ประมาณ 1 ป โดยจะมีการสนับสนุนและติดตามความกาวหนาเพื่อใหเขาสูอาชีพทางดาน 
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหมากที่สุด   ลักษณะของกิจกรรมสําหรับกลุมนีซ้ ึ่งอยูใ นสถานศึกษา 
ตางๆ จะประกอบไปดวย คายวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร การใหคําแนะนําโดย 
นักวิทยาศาสตรพเี่ ลี้ยงและนักเทคโนโลยีพี่เลี้ยง (Mentor) 
2) ระดับผูมีแววอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี(Genius) คัดเลือกจากกลุมแรกปละ 
ประมาณ 10 คน  ไดรับการสนับสนุนจากโครงการในระยะยาว ไดรับทุนการศึกษาและการวิจัย 
จนกวาจะสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก และเขาสูอาชีพนักวิชาการและนักวิจัยดาน 
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  โดยมีนกั วิทยาศาสตรพี่เลีย้ งและนักเทคโนโลยีพี่เลีย้ ง  คอย 
ดูแลและใหคําปรึกษา 

4. ความคาดหวังของโครงการ 
1) เปนกลไกทีจ่ ะพัฒนาผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเปนนักวิชาการ 
นักวิจัยและนักวิทยาศาสตรที่มีคณ
ุ ภาพ และทําประโยชนตอประเทศชาติไดเต็มศักยภาพ 
2) ปลูกฝงเด็กและเยาวชนใหมใี จรักวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้น 
3) มีจํานวนนักวิจยั และนักวิทยาศาสตรที่มีความสามารถของประเทศเพิ่มขึ้น 
4) มีผลงานวิจัยทางดานวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นทุกป 

5. โครงสรางการดําเนินการ 
ระดับนโยบาย 
ประกอบดวยคณะกรรมการโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับ 
เด็กและเยาวชน ซึ่งประกอบดวยผูท รงคุณวุฒิจาก  สกว.  สวทช.  มหาวิทยาลัยและสถาบันตาง ๆ ที่ทํา 
หนาที่กําหนดนโยบาย แนวทางการดําเนินงาน ติดตามและประเมินความกาวหนาของโครงการ ฯ 
ระดับดําเนินการ  ประกอบดวย 
1. สวทช. เปนศูนยประสานงาน  ซึ่งทําหนาที่ ดังตอไปนี้ 
1.1 เปนศูนยขอมูล ทะเบียนประวัติ  สถิติ  ผลงานและพัฒนาการของเด็กและเยาวชน 
รวมทั้งขอมูล/ผลงานของนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพี่เลีย้ งในโครงการ 
1.2 เปนศูนยประสานงาน  ติดตอระหวางเด็กและเยาวชนในโครงการ กับหนวยงาน/ 
บุคคลที่ใหความรวมมือในการพัฒนาเด็กและเยาวชนเหลานี้


1.3 เปนหนวยงานประสานงานจัดกิจกรรมตาง ๆ ของโครงการ ตลอดจนประสานงาน 
กับหนวยงาน/บุคลากรทีเ่ กี่ยวของกับโครงการ 
1.4 ทําหนาที่ธุรการ  และบริหารการเงินของโครงการ 
2. สกว. และโครงการสงเสริมผูมคี วามสามารถพิเศษและสงเสริมอาชีพนักวิจัย  ทําหนาที่ 
สนับสนุนเงินทุนสนับสนุนโครงงานวิทยาศาสตร  โครงงานวิจัย  และติดตามผลการวิจัย 
3. สถาบันการศึกษาและหนวยงานอื่น  รวมกิจกรรมพัฒนาและบมเพาะเด็กและเยาวชนของ 
โครงการ เชน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 
6. มาตรการ/แนวทางดําเนินการ 
1) ประชาสัมพันธโครงการฯ เพื่อกระตุนเด็ก/เยาวชนทั่วไป เขาใจถึงความสําคัญทางวิทยาศาสตร/ 
เทคโนโลยีและมีความมุงมัน่ ในการศึกษาทางดานนี้อยางจริงจัง 
2) สรางเครือขาย (ระหวางหนวยงาน สถาบันการศึกษา และมหาวิทยาลัยตาง ๆ ทั้งในและ 
ตางประเทศ องคกรของรัฐ และเอกชนที่มหี นวยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ที่สามารถนําความรูทาง 
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปประยุกตใชงาน) ใหเกิดความรวมมือในการพัฒนาโครงการฯ เพื่อให 
บรรลุเปาหมาย 
3) สรางเครือขายนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพเี่ ลี้ยงสาขาตางๆ ซึ่งประกอบดวยนักวิทยาศาสตร 
และเทคโนโลยี  แพทยนักวิจัย และวิศวกรวิจัย จากสถาบันตาง ๆ และ สวทช. เพื่อรวมกันทําหนาที่ 
ใหคําปรึกษา ดูแล และแนะนําการวิจยั อยางตอเนื่องแกเด็ก/เยาวชนที่ผานการคัดเลือกเขาสู 
โครงการ 
4) สรางเครือขายการติดตอสื่อสารระหวางโครงการ บุคลากรจากหนวยงานที่เกี่ยวของและเด็ก/ 
เยาวชนที่รวมโครงการทั้งในระยะ 1 ป และระยะยาว  โดยมีศูนยขอมูลกลางของโครงการ 
5) ประสานกับครู-อาจารยในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาที่เด็ก/เยาวชนสังกัดอยู เพื่อใหเกิดความ 
รวมมือในการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน ทัง้ นี้ โดย 
การเสริมความรูและ ใหคําแนะนําการวิจยั แกครู-อาจารย  ตลอดจนใหมีสวนรวมและแสดงความ 
คิดเห็นตอกิจกรรมของโครงการตามความเหมาะสม 
6) เผยแพรผลงานของเด็กและเยาวชน และการดําเนินการของโครงการฯในระดับตางๆ  เปนระดับกลุม 
เด็ก/เยาวชน  ระดับประเทศ  และระดับนานาชาติ 
7) ประสานงานกับหนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ใหจดั ตั้งอัตรากําลังในการบรรจุเด็ก/เยาวชนที่ผาน 
โครงการระยะยาว ที่มีความตองการบุคลากรในหนวยปฏิบัติงานวิจยั ทางวิทยาศาสตรและ 
เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ 
8) สงเสริมโครงการวิจยั ของเด็ก/เยาวชนตลอดเวลาที่อยูในโครงการฯ และหลังจากประกอบอาชีพเปน 
นักวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  เชน  การสนับสนุนทุนวิจัยหลังจบปริญญาเอก 
การเผยแพรงานวิจยั

9) การดําเนินงานและการจัดการในสวนของเด็ก/เยาวชน 
9.1 กระตุนการเรียนรู การแสดงออกซึ่งความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ตลอดจนการฝกทักษะทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเด็กและเยาวชนทีเ่ ขารวม 
โครงการ โดยมีนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพี่เลี้ยงประจําตัว อยางตอเนื่องและเปน 
ระบบ 
9.2 จัดกิจกรรมเสริมสรางสงเสริมความรูและการอบรมทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
9.3 สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเด็ก/เยาวชน    เชน 
คัดเลือกไปฝกอบรมวิชาการ/เสนอผลงานในตางประเทศ 
9.4 ติดตามและประเมินผล ความกาวหนาทางพัฒนาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและ 
การทําวิจัยของเด็ก/เยาวชนในโครงการ


บทที่ 1 
ปฏิทินกิจกรรม (รายป) 

การคัดเลือกผูมีอจั ฉริยภาพทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี คณิตศาสตร และคอมพิวเตอร 

เดือน  กิจกรรม 
สิงหาคม  ประกาศรับสมัครผูเ ขารวมโครงการ 
กันยายน  - 
ตุลาคม  - 
พฤศจิกายน  - 
ธันวาคม  หมดเขตรับใบสมัครเขารวมโครงการ 
กุมภาพันธ  สัมภาษณเพื่อคัดเลือกเยาวชนเขารวมโครงการประจําป 
มีนาคม  ประกาศผลผูไดรับการคัดเลือกเขารวมโครงการประจําป 
เมษายน  คายวิทยาศาสตร ครั้งที่ 1 
พฤษภาคม  เริ่มทําโครงงานวิทยาศาสตร 
มิถุนายน  - 
กรกฎาคม  - 
สิงหาคม  - 
กันยายน  - 
ตุลาคม  คายวิทยาศาสตร ครั้งที่ 2 
พฤศจิกายน  - 
ธันวาคม  - 
มกราคม (ปถัดไป)  - 
กุมภาพันธ (ปถัดไป)  - 
มีนาคม  (ปถัดไป)  คายวิทยาศาสตร ครั้งที่ 3 นําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร 
เมษายน  (ปถัดไป)  - 
พฤษภาคม (ปถัดไป)  คัดเลือกและประกาศรายชื่อผูไดรับทุนสนับสนุนระยะยาว


ขอปฎิบัติของผูไดรบั ทุนระยะยาว 

กิจกรรม  ชวงเวลา  เอกสารที่เกี่ยวของ  หมายเหตุ 


1. เยาวชนตอบรับการเขา  เมย. – พค.  1. แบบยืนยันเขารวม  *เยาวชนจะตองจัดสงไฟล 
รวมโครงการระยะยาว  โครงการระยะยาว  ทําเนียบและผลงาน 
2. แบบฟอรมทําเนียบ 
และผลงาน* 

2. ทําสัญญารับ 
ทุนการศึกษา  1. สัญญารับทุน  * ดูกิจกรรมขอ 6 
2.1 เยาวชนรุนใหม  พค. –  มิย.  การศึกษา  ประกอบการพิจารณา 
2.2 เยาวชนรุนเกา  เมย. – พค.  จัดทําสัญญา 

3. การเบิกจายเงิน  1. ใบเสร็จรับเงิน  เยาวชนตองสง 


ทุนการศึกษา  คาลงทะเบียน  ใบเสร็จรับเงินภายใน 
ภาคตน  พค. – มิย.  ระยะเวลาที่กําหนด 
มิย.(สําหรับ  (ภายใน 60 วัน) 
เยาวชนรุนใหม)  หากไมจัดสงภายใน 
ระยะเวลาที่กําหนด 
ภาคปลาย  ตค. – พย.  โครงการฯ ขอสงวนสิทธิ์ 
การจายเงินนัน้ ๆ 
ภาคฤดูรอน  เมย – พค. 
4. การขอรับการสนับสนุน  ตลอดทั้งป  1. แบบฟอรมขอรับทุน  เยาวชนตองสงแบบฟอรม 
การเขารวมกิจกรรมใน  2. แนวทางการขอรับทุน  ขอรับทุนลวงหนาอยาง 
ตางประเทศ  3. แนวทางการเขียน  นอย 1 เดือน และโครงการฯ 
บทความ  จะไมพิจารณาในกรณีที่สง 
มาชากวากําหนด 
5. การจัดสงรายงาน  1. แบบรายงาน  หากเยาวชนไมสงรายงาน 
ความกาวหนา  ความกาวหนา  ความกาวหนาภายใน 
ภาคตน  ตค. – พย.  ทางการศึกษา  ระยะเวลาที่กําหนด 
ภาคปลาย  เมย. – พค.  โครงการฯ จะไมจาย 
เงินทุนงวดถัดไป

6. การแจงจบการศึกษา/  พค. – มิย.  1. แบบฟอรมยืนยัน  เยาวชนตองแจงสถานที่ 
แจงสถานที่ศึกษาตอ  สถานที่ศึกษาตอ  ศึกษาตอมายังโครงการ 
หากไมมีการแจงภายใน 
ระยะเวลาที่กําหนด 
โครงการจะไมทําสัญญา 
รับทุนการศึกษาในระดับ 
ตอไป 
7. การขอเขาศึกษาตอระดับ  มิย. - กค.  1. แบบแจงความ  1. เยาวชนไมสามารถสละ 
ปริญญาตรี กรณีพิเศษ  ประสงครับการ  สิทธิ์ในการเขาศึกษาตอใน 
พิจารณาคัดเลือกเขา  กรณีที่ผานการคัดเลือก 
ศึกษาตอระดับ  จากโครงการ 
ปริญญาตรี กรณี  2. หากไดรับการยืนยัน 
พิเศษ  สิทธิ์ในการเขาศึกษาตอ 
2. หลักเกณฑการสมัคร  แลว รายชื่อจะถูกตัดออก 
และพิจารณาคัดเลือก  จากชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา 
3. องคประกอบของแฟม  ตอในระดับอุดมศึกษาของ 
สะสมผลงาน  สกอ. 

8. การขอรับการสนับสนุน 
ในการทําวิจัย 
8.1 การสงขอเสนอโครงการ  ตลอดทั้งป  1. แบบขอเสนอ 
โครงการวิจัย 

8.2 การจัดสงรายงาน  ทุก 6 เดือน  2. แบบรายงาน  1. เยาวชนตองจัดสง 


ความกาวหนาโครงการวิจยั   ความกาวหนา  รายงานความกาวหนาตาม 
โครงการวิจัย  ระยะเวลาที่กําหนด 
2. ผูรับทุนตองใชจายทุน 
8.3 การจัดสงรายงานฉบับ  โครงการวิจัย  3. แบบการจัดทํา  ตามระเบียบการเงินของ 
สมบูรณ  เสร็จสมบูรณ  รายงานฉบับสมบูรณ  โครงการฯ พรอมทั้งเก็บ 
หลักฐานการเงิน บัญชีเพื่อ 
สามารถตรวจสอบไดเปน 
เวลา 10 ป

3. หากมีเงินเหลือจาย 
จะตองคืนเงินที่เหลือยัง 
โครงการ 

9. การเปดบัญชีทนุ วิจัย  1.การเปดบัญชี จะตอง  * เงื่อนไขในการสั่งจาย คือ 


ใชชื่อบัญชี “ทุนJSTP–  ลงนามไมนอยกวาสองใน 
(ชื่อผูที่ไดรับทุน)”  สาม โดยหนึ่งในสองตอง 
เปนนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ ง 

10. กิจกรรมนําเสนอผลงาน  เยาวชนเขารวมกิจกรรมทุก 


และ  “ชุมนุมสมาชิก JSTP”  คน หากไมสามารถเขารวม 
ได ขอใหทําจดหมายแจง 
โครงการฯ อยางเปน 
ทางการ


บทที่ 2 
การดําเนินการโครงการ 

1. การคัดเลือกผูมีความสามารถพิเศษและผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและ 
เทคโนโลยี 

1.1 รับสมัครผูสนใจทําโครงงานวิทยาศาสตรหรืองานวิจยั เพื่อเขาโครงการ  โดยผูสมัครเปนผูที่มีผลการ 


เรียนวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรในระดับดีมาก และ/หรือมีผลงานทางวิทยาศาสตรและ 
เทคโนโลยีที่โดดเดน เชน เคยชนะการแขงขันหรือการประกวดผลงานทางวิทยาศาสตรและ 
เทคโนโลยีในโครงการสงเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษตาง ๆ 

1.2 คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒทิ ําการคัดเลือกผูสมัครไวจํานวนประมาณ  100 คนตอป  ซึ่งเรียกวา 


กลุมผูมีความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  เด็ก/เยาวชนกลุมนีจ้ ะเขารวมกิจกรรม 
หลากหลายที่โครงการจัดขึ้น ไดแก 
ก. คายวิทยาศาสตร/กิจกรรมพิเศษ (Science Camps) เปนกิจกรรมคายวิทยาศาสตรทเี่ นน 
การคนควา คิดวิเคราะห สังเคราะห และการแกปญหาทางวิทยาศาสตร รวมทั้งการทํา 
กิจกรรมรวมกัน 
ข. โครงงานวิทยาศาสตร (Science Projects) ไดแก การเปดโอกาสใหเด็ก/เยาวชนคิด 
โครงงานทางวิทยาศาสตรเพื่อนําไปปฏิบัตใิ นโรงเรียนหรือสถาบันที่สังกัด โดยจัดเงินทุน 
สนับสนุน  ทั้งนี้อยูภายใตการดูแลของนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพเี่ ลี้ยง และครู- 
อาจารยสถาบัน และสงเสริมใหนําเสนอผลงานที่ผานการปฏิบัติในที่ประชุมวิชาการ 
ค. ทดสอบมาตรฐาน (Standard Testing) ไดแก การทดสอบความถนัดทางวิทยาศาสตร 
คณิตศาสตรและเชาวปญญา  รวมทั้งลักษณะทางจิตวิทยาดวยขอสอบมาตรฐาน 

1.3  คณะกรรมการของนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพี่เลี้ยง ทําการคัดเลือกเด็ก/เยาวชนผูมี 


อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากกลุมผูมีความสามารถทางวิทยาศาสตรและ 
เทคโนโลยี   ที่ผานการเขารวมกิจกรรมโครงการ  จํานวน ประมาณ 10 คนตอป


2. การสงเสริมและสนับสนุนผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ที่คัดจากในขอ 1. โดยวิธีการดังตอไปนี้ 
2.1 การใหทุนการศึกษาและวิจยั ระยะยาว  ตั้งแตระดับมัธยมศึกษาจนถึงปริญญาเอกและการใหทุน 
วิจัยหลังปริญญาเอก 
2.2 กิจกรรมสงเสริมทีห่ ลากหลาย (Enrichment Programs) ดังตอไปนี้ 
ก. การสรางระบบนักวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีพี่เลีย้ ง (Mentoring System) โดยจัดหา 
นักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพเี่ ลี้ยง (Mentors) ที่เปนนักวิทยาศาสตรและนัก 
เทคโนโลยีชนั้ แนวหนาทั้งในประเทศ และตางประเทศเพื่อพัฒนาอัจฉริยภาพของเด็กและ 
เยาวชนอยางเต็มที่ สงเสริมการสื่อสารทางอินเตอรเน็ต การเยี่ยมเด็ก/เยาวชนโดย 
นักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพเี่ ลี้ยง ระหวางศึกษาอยูในสถาบันของตนเอง และการให 
เด็กและเยาวชนไดใชชีวิต การทํางานวิจัยรวมกับนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพี่เลีย้ ง 
ณ สถาบันของนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพเี่ ลี้ยง การเขารวมประชุมวิชาการที่ตนเอง 
สนใจและเขารวมกับนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพี่เลี้ยง  ฯลฯ 
ข. กิจกรรมฝกอบรมระยะสั้น (Short-Course Trainings) โดยการเปดโอกาสใหเด็กและ 
เยาวชนเขารับการฝกอบรมระยะสั้น เพื่อใหมที ักษะพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ที่สูงขึ้น มีทักษะในการสื่อสารดีขึ้น ไดแก การฝกภาษาตางประเทศ และการใชคอมพิวเตอร 
เปนตน 
ค. การสนับสนุนการวิจัยในระดับโรงเรียน (School Student Research) สงเสริมใหเด็กและ 
เยาวชนในระดับโรงเรียน ทําโครงงานหรือการวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ตนเอง 
เสนอขึ้นภายใตการดูแลของครูวทิ ยาศาสตรในโรงเรียน หรืออาจารยในมหาวิทยาลัย โดยมี 
นักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพเี่ ลี้ยง เปนผูใ หคําปรึกษา สนับสนุนการใชเครื่องมือวิจัย 
และติดตามความกาวหนาพัฒนาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
ง. การสนับสนุนการวิจัยระดับอุดมศึกษา (Mentor-Supervised College Student 
Research) สงเสริมใหเด็ก/เยาวชนรุนเยาวในระดับอุดมศึกษาทําการวิจัยทางวิทยาศาสตร 
และเทคโนโลยีอยางเต็มที่รวมกับนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพเี่ ลี้ยงของตนเอง 
2.3 การเผยแพรผลงาน จัดกิจกรรมเผยแพรผลงานการทําโครงงานวิจัยของเด็ก/เยาวชน ในระดับตางๆ 
รวมทั้งรวมมือกับหนวยงาน/สถาบันตางๆ เพื่อใหเด็ก/เยาวชนของโครงการไดแสดงออกซึ่ง 
ศักยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อันจะเปนตัวอยางที่ดีใหแกเด็ก/เยาวชนทั่วไปไดหันมา 
สนใจการศึกษาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตอไป 
2.4 สนับสนุนนักวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรุนเยาวที่ผานโครงการฯ  ไดแก 
ก.เด็ก/เยาวชนของโครงการที่สําเร็จการศึกษาไดรับการสนับสนุนใหรับการบรรจุเขาทํางานใน 
หนวยงานของรัฐ และภาคเอกชนที่มีหนวยวิจยั ที่สามารถนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
10 
ไปประยุกตใชในการพัฒนาประเทศ 
ข.ผลงานในระดับดีเยี่ยม ทีน่ ักวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรุนเยาวกลุมนี้สรางขึ้น จะไดรับการ 
สนับสนุนใหเผยแพร  ทั้งระดับในประเทศและระดับตางประเทศ เพื่อขยายขอบเขตการ 
เรียนรู และเปนการประกาศเกียรติคณุ ตอผูที่มีความสามารถพิเศษและผูม ีอัจฉริยภาพทาง 
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของโครงการฯ 

3. การประเมินผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีประจําป 
ผูมีอัจฉริยภาพจะไดรับการประเมินผล ใหอยูใ นโครงการตอเปนรายป โดยมีเกณฑพิจารณาดังนี้ 
3.1 เปนผูมีพัฒนาการทางวิทยาศาสตรในสาขานัน้  ๆ ดีขึ้นอยางตอเนื่อง 
3.2 มีผลการเรียนอยูในเกณฑดี และมีพัฒนาการดานการศึกษา โดยเฉพาะในสาขาที่มีความ 
สนใจ 
3.3 มีความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงานวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
3.4 ปฏิบัติงานวิจัยโดยมีผลงานที่มีคณ ุ ภาพระดับสูง 
3.5 ปฏิบัติงานวิจัยกับนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ งอยางตอเนื่อง ยกเวนกรณีศกึ ษาตางประเทศ 

แนวทางการประเมินศักยภาพของเยาวชนในโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพ 
ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน 
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีหลักเกณฑการ 
ประเมินในดานตางๆ ตอไปนี้ 
1.ไดแสดงใหเห็นวา มีความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนพิเศษ ซึ่งอาจวัดดวยคะแนนหรือ 
ผลการทํางาน/กิจกรรมทางวิทยาศาสตรที่แสดงใหเห็นเปนที่ประจักษ เชน 
1.1 ผลการเรียนเฉลี่ยในแตละระดับชวงชั้นไดแก  มัธยมตน มัธยมปลาย และปริญญาตรี  ตองไม 
ต่ํากวา 3.00 และระดับปริญญาโทและเอกตอง ไมต่ํากวา  3.50 
1.2 ผลการทํางาน/กิจกรรมทางวิทยาศาสตรที่แสดงใหเห็นเปนที่ประจักษ เชน ไดรางวัลจากการ 
ประกวด แขงขัน หรือผลงานสามารถนําไปประยุกตใชงานได 
1.3 พัฒนาการในการปฏิบัติงานกับนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ ง อยูในขั้นดี-ดีมาก โดยพิจารณาจาก 
ผลงานตีพิมพ หรือความกาวหนาของการทํางานวิจัย และความเห็นจากนักวิทยาศาสตรพี่ 
เลี้ยง ประเมินโดยกรรมการโครงการฯ 
2. การมีสวนรวมในกิจกรรมของโครงการฯ ไดแก 
2.1  เขารวมในกิจกรรมที่โครงการจัดใหอยางสม่ําเสมอ และใหความสนใจในกิจกรรม ที่เขารวม

11 
2.2  ใหความชวยเหลือในกิจกรรมตางๆ ของโครงการฯ 
2.3  เปนตนแบบที่ดีของสมาชิกในโครงการ เชน การใหขอคิดเห็น เสนอแนะ รวมดําเนินการและ 
การปฏิบัติตนเปนผูเ หมาะสมตอการไดรับทุน  ประเมินโดยผูเชี่ยวชาญในกิจกรรมและ/หรือ 
คณะผูจัดกิจกรรม 
2.4  ทําชื่อเสียงใหกับสถาบัน โครงการฯ และตนเอง ในฐานะที่เปนผูมีความสามารถทาง 
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประเมินโดยกรรมการโครงการฯ 

การพิจารณาใหทุนสนับสนุนอยางตอเนื่อง 
ผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จะไดรบั ทุนสนับสนุนตอในระดับชวงชัน้  
การศึกษาที่สูงขึน้ ไดโดยพิจารณา  ดังนี้ 
1.  ผานเกณฑอยางนอยขอยอยขอใดขอหนึ่ง ในขอที่ 1 
2. ในกรณีที่ไมผานเกณฑขอที่ 1 ใหพิจารณาตามเกณฑขอ ที่ 2 และใหคณะกรรมการโครงการฯ 
เปนผูพิจารณา  ใหความเห็น โดยขอสรุปจากประธานโครงการฯ ถือเปนการสิ้นสุด 

4. การพิจารณาผูมีอัจฉริยภาพพนสถานภาพการรับการสนับสนุนจากโครงการฯ 
4.1 ขาดคุณสมบัติตามแนวทางการประเมินศักยภาพของเยาวชนฯ 
4.2 กระทําความผิดรายแรง 
4.3 ลาออก

12 
บทที่ 3 
องคประกอบของการสนับสนุน 

หลังจากที่เด็กและเยาวชนไดรับการคัดเลือกเปนผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร  โครงการมีการ 
สงเสริมและสนับสนุนในดานตางๆ ดังนี้ 
1. ทุนการศึกษา คาใชจายสวนตัว 
2. ทุนสนับสนุนการวิจยั  
3. การสนับสนุนดานการฝกอบรมระยะสั้น/ประชุมวิชาการ นําเสนอผลงานในตางประเทศ 

1.ทุนการศึกษา 
1.1 ทุนการศึกษาในประเทศ 
ผูไดรับคัดเลือก จะไดทุนการศึกษาจนถึงระดับปริญญาเอก  ทั้งนี้ขึ้นกับการพัฒนาศักยภาพของ 
ผูรับทุน ซึง่ จะไดรับการประเมินเปนรายป โดยทุนที่จดั สรรใหเปนทุนภายในประเทศ ดังนี้ 

ระดับชั้น  มัธยมศึกษา  ปริญญาตรี**  ปริญญาโท  ปริญญาเอก 


คาเลาเรียนและคาบํารุง  ตามที่จายจริง  ตามที่จายจริง  ตามที่จายจริง  ตามที่จายจริง 
การศึกษา*  แตไมเกิน  แตไมเกิน  แตไมเกิน  แตไมเกิน 
10,000 บาท/ป  40,000 บาท/ป  60,000 บาท/ป  60,000 บาท/ป 

คาใชจายสวนตัว  54,000 บาท/ป  60,000 บาท/ป  96,000 บาท/ป  120,000 บาท/ป 


4500/เดือน  5000/เดือน  8,000/เดือน  10,000/เดือน 

หมายเหตุ :  * ตามที่จายจริง 


** สําหรับนิสิต/นักศึกษาในหลักสูตรที่ศกึ ษามากกวา 4 ป เชน แพทยศาสตร  ในปที่ 5,6… 
จะไดรับทุนระดับปริญญาโท 

คาใชจายที่ครอบคลุม ดังนี้ 
1.  คาลงทะเบี ยนรายวิช า :  คาหนวยกิตภาคบรรยาย  คาหนวยกิตภาคปฏิบัติก าร  คาหน วยกิ ต 
วิทยานิพนธ คาลงทะเบียน/คาธรรมเนียมการสอบวิทยานิพนธ 
2.  คาบํารุงการศึกษา : คาบํารุงหองสมุด คาบํารุงมหาวิทยาลัย คาบํารุงสุขภาพ คาบํารุงกีฬา คา 
บํารุงบัณฑิตวิทยาลัย คารักษาสภาพการเปนนักศึกษา

13 
3.  คาธรรมเนียมการศึกษา : คาบํารุงพิเศษหรือคาธรรมเนียมการศึกษาพิเศษเฉพาะสาขา 
4.  คาขึ้นทะเบียนเปนนั กศึกษา/ค าลงทะเบี ยนแรกเขา  คาธรรมเนียมขึ้นทะเบียนเปน บัณฑิต/รับ 
ปริญญา  คาธรรมเนีย มฝกภาคสนาม  คาธรรมเนี ยมการศึกษาดู งาน  คาธรรมเนียมการสอบ 
ภาษาตางประเทศ (ในกรณีที่กําหนดไวในหลักสูตร) 
5.  อื่น ๆ : ค ากิ จ กรรมนั กศึ ก ษา  ค าใชบ ริก ารคอมพิวเตอร  ค าสนั บ สนุ น การศึ ก ษา ค าเอกสาร 
ทางการศึกษา ฯลฯ 

คาใชจายที่ไมครอบคลุม มีดังนี้ 
1.  คาลงทะเบียนรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนซ้ําในวิชาเดิม 
2.  คาปรับตางๆ 
3.  คาลงทะเบียนลาชา 
4.  คาหอพัก 
5.  คาปรับในการรักษาสภาพการเปนนักศึกษา 
6.  คาประกันตางๆ 
7.  คาขอคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา 
8.  คาธรรมเนียมสมทบกองทุนตางๆ 
9.  คาสอบวัดความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศ นอกเหนือจากที่กําหนดไวในหลักสูตร 
10.  คาใชจายอื่นๆ ที่มีลักษณะเปนคาใชจายสวนตัวของนักศึกษา เชน คาใบสมัครและระเบียบการ 
คาสมัครสอบคัดเลือก คาบัตรประจําตัวนักศึกษา คาใบรับรองตางๆ คาใบแสดงผลการศึกษา 
คาธรรมเนียมการแปลปริญญาบัตร ฯลฯ 

1.2 ทุนการศึกษาตางประเทศ 
กรณีที่ผูรับทุนมีความประสงคจะศึกษาตางประเทศ ผูรับทุนสามารถรับทุนการศึกษาตางประเทศ 
จากหนวยงานหรือสถาบันอื่นๆ ได  โดยเงื่อนไขการรับทุนตางๆ จะเปนตามที่ทุนการศึกษานั้นๆ ระบุไว 
และผูรับทุนตองแจงการรับทุนดังกลาวใหโครงการฯ ทราบเปนลายลักษณอักษร และโครงการฯ จะใหการ 
สนับสนุนในสวนที่ทุนนั้นๆ ไมไดจัดสรรให

14 
2.ทุนสนับสนุนการวิจัยของโครงการ 
2.1 Mentoring and Research Supervision : คาตอบแทนสําหรับนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ งทีใ่ ห 
การดูแล และคําแนะนําผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรในการทําวิจยั จายในกรณีที่ขอเสนอโครงการวิจยั  
ผานการอนุมัติแลว 
2.2  School  Student  Research  :  เงินสนับสนุนการทําวิจัยทางวิทยาศาสตร  สําหรับนักเรียน 
ระดับมัธยมศึกษา จํานวนไมเกิน 20,000 บาท/โครงการ 
2.3  Mentor-Supervised  College  Student  Research  :  เงินสนับสนุนการทําวิจัยทาง 
วิทยาศาสตรสําหรับนิสิต/นักศึกษา ระดับอุดมศึกษา ดังนี้ 
ระดับปริญญาตรี  จํานวนไมเกิน  75,000  บาท/โครงการ 
ระดับปริญญาโท  จํานวนไมเกิน  100,000  บาท/โครงการ 
ระดับปริญญาเอก  จํานวนไมเกิน  300,000  บาท/โครงการ 

คาใชจายหมวดการวิจัย 
คาใชจายที่ครอบคลุม มีดังนี้ 
• คาทําวิจัย เชน คาวัสดุ ครุภัณฑ เคมีภัณฑ และคาใชจายอื่นๆ อันเกี่ยวเนื่องและจําเปนสําหรับ 
การทําวิจัย อาทิเชน สารเคมี เครื่องแกว วัสดุการเกษตร ฯลฯ 
•  คาใชจายเดิน ทางสํารวจและเก็บตัวอยางในประเทศ  โดยอัตราคาใชจายในการเดินทางให 
เทียบเทาขาราชการระดับ 3 
•  ค า รวมประชุ ม/สั มมนาวิช าการภายในประเทศและต างประเทศทั้ ง Poster  และ  Oral 
Presentation ในผลงานวิจัย/วิทยานิพนธที่ไดรับทุน เชน คาลงทะเบียน คาที่พัก คาเดินทาง 
• คาลงทะเบียนฝกอบรมนอกหลักสูตรหรือสัมมนาโดยมีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ในสาขา 
และงานวิจัยที่ไดรับทุน 
• คาตําราวิชาการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
• คาถายเอกสาร 
• คาสืบคนขอมูล 
• คาทําวิจัยเพื่อวิทยานิพนธที่มหาวิทยาลัยเรียกเก็บ 
หมายเหตุ หากอาจารยที่ปรึกษาเห็นวานักศึกษามีความเหมาะสมและจําเปนที่จะตองใชจายคาทําวิจัย 
ตางไปจากแนวทางนี้ ใหขอความเห็นชอบจาก โครงการฯ กอนดําเนินการเปนแตละกรณีไป

15 
3. การสนับสนุนดานการฝกอบรมระยะสั้น/ประชุมวิชาการ นําเสนอผลงานใน 
ตางประเทศ 
การฝกอบรม/ประชุมวิชาการในตางประเทศสามารถกระทําได โดยจะตองขออนุมัติจาก 
โครงการฯ ทั้งนี้อัตราการสนับสนุน จะพิจารณาเปนกรณีๆ ตามความเหมาะสม โดยการฝกอบรม/ประชุม 
วิชาการในตางประเทศ ที่อยูใ นขอบขายของการสนับสนุน เชนการนําเสนอผลงานวิชาการในรูปแบบปาก 
เปลา (Oral Presentation) เปนตัวแทนของสถาบัน หรือประเทศไทย ในการเขารวมการประกวด แขงขัน 
ตางๆ 

แนวทางการขอรับทุนสนับสนุนการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ 

1.  วัตถุประสงค 
เพื่อกําหนดเกณฑ/แนวทางในการพิจารณาตัดสินการสนับสนุนเยาวชนในการเขารวมกิจกรรม 
ในตางประเทศ 
2.  ประเภทของกิจกรรมที่อยูใ นขอบขายการสนับสนุน 
1)  การนําเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการนานาชาติ 
2)  การประกวดแขงขันทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
3)  การเขารวมกิจกรรมคาย/ศึกษาดูงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
4)  การทําวิจัยระยะสั้น 
3.  เกณฑการพิจารณา 
1)  การนําเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการนานาชาติ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ 
·  นําเสนอผลงานแบบปากเปลา 
·  เปนการประชุมวิชาการในระดับแนวหนาในสาขานั้นๆ ที่มี peer review 
·  เปนงานวิจัยที่ขอรับการสนับสนุนจากโครงการฯ และเปนผลงานวิจัยที่มีความกาวหนา 
และมีคุณภาพ 
·  สําหรับเยาวชนในระดับมัธยมศึกษา  อาจเปนการประชุมที่ไมมี peer review ก็ได แต 
จะตองมีโครงงานวิทยาศาสตรที่ดีเยี่ยม เมื่อเทียบกับเยาวชนในระดับเดียวกัน 
·  ไดรับพิจารณาตอบรับใหนําเสนอผลงานแบบปากเปลา 
·  ผานการเห็นชอบจากนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ ง และกรรมการพิจารณา 
·  ไดเขียนขอบคุณ โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็ก 
และเยาวชน (JSTP)  ที่ใหการสนับสนุนทุนในบทคัดยอ หรือผลงานที่นําเสนอทุกครั้ง

16 
2)  การทําวิจัยระยะสั้น 
·  เปนองคความรูงานวิจัย อุปกรณเครื่องมือ และมีผูเชีย่ วชาญเฉพาะสาขา ซึ่งไมมีและไม 
สามารถดําเนินการไดเองในประเทศไทย (แนบเอกสารแสดงหลักการเหตุผลและความ 
จําเปน) เยาวชนตองเปนผูทที่ ําวิจัยอยางตอเนื่อง 
·  ไดรับการตอบรับจากอาจารยที่ปรึกษาตางประเทศ สถาบัน หนวยงาน หรือมหาวิทยาลัย 
ที่จะไปทําวิจัยระยะสั้น (แนบประวัติยอและผลงานของอาจารยที่ปรึกษาตางประเทศ 
จดหมายตอบรับ) 
·  เปนงานวิจัยที่ขอรับการสนับสนุนจากโครงการฯ และเปนผลงานวิจัยที่มีความกาวหนา 
และมีคุณภาพ 
3)  การประกวดแขงขันทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
·  เปนผลงานที่ผานการคัดเลือกในระดับประเทศ (ไมรวมถึงการคัดเลือกในระดับโรงเรียน 
หรือจากหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง) 
·  เปนผลงานทีเ่ กิดจากงานวิจัยทีม่ ีความกาวหนาและมีคุณภาพ 
·  ผานการเห็นชอบจากนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ ง หรือ อาจารยที่ปรึกษา 
4)  การเขารวมกิจกรรมคาย/ศึกษาดูงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 
·  เปนการเขารวมกิจกรรมโดยเยาวชนไดรับคัดเลือกเปนตัวแทนประเทศไทย หรือเปน 
ตัวแทนในระดับภูมิภาค 
·  ผานการเห็นชอบจากนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ ง หรืออาจารยที่ปรึกษา 
4.  ขั้นตอน 
1)  เยาวชนสงจดหมายแจงความประสงคในการขอรับทุนสนับสนุนเขารวมกิจกรรมใน 
ตางประเทศ โดยแจงโครงการฯ ลวงหนากอนการเดินทางอยางนอย 1 เดือน 
2)  พิจารณาเอกสารวาอยูใ นขอบขายของการสนับสนุนหรือไม 
·  กรณีที่ “เขาขาย” การสนับสนุน และเอกสารครบถวน ดําเนินการตอ ตามขอ 3 
·  กรณีที่ “เขาขาย” การสนับสนุน แตเอกสารไมครบ แจงเยาวชนใหสงเอกสาร 
ประกอบการพิจารณาเพิม่ เติม แลวดําเนินการตอ ตามขอ 3 
·  กรณีที่ “ไมเขาขาย” การสนับสนุน ใหสงจดหมายตอบกลับภายใน 7 วัน 
3)  จัดเตรียมเอกสารเพื่อสงใหกรรมการพิจารณาอนุมัตงิ บประมาณตามที่ขอ 
·  กรณีที่ “อนุมัต”ิ ดําเนินการตอตามขอ 4 
·  กรณีที่ “ไมอนุมัติ” สงจดหมายแจงภายใน 7 วัน 
4)  ดําเนินการจัดสงเงินทุน โดยดําเนินการภายใน 10 วันหลังการอนุมัติ 
5)  การติดตามผล 
·  เยาวชนจะตองจัดทํารายงานสงใหโครงการจํานวน 1 ชุด (พรอมแนบไฟล) ภายใน 30
17 
วันหลังจากกลับจากการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ (รายละเอียดเพิ่มเติมตาม 
แนวทางการเขียนบทความ) 
·  กรณีที่ไมไดรับรายงานภายในระยะเวลาทีก่ ําหนด ใหสง จดหมายติดตาม 1 ครั้ง 
·  กรณีที่ไมไดรับรายงานเลย ใหแยกเอกสารไวกับกลุมผูที่ไมทําตามเงื่อนไข และหากมี 
การขอรับการสนับสนุนอีก จะไมไดรับการพิจารณา 
·  เยาวชนตองสงหลักฐานการใชจายเงินมาที่โครงการฯ ภายใน 10 วันหลังจากกลับจาก 
การเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ 
6)  เยาวชนขอรับการสนับสนุนการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศได ปละ 1 ครั้ง 
7)  เยาวชนที่ขอรับการสนับสนุน ตองไมเคยขาดสงรายงานความกาวหนาทางการศึกษา หรือ 
รายงานความกาวหนาในการทําวิจัย 
5.  เอกสารประกอบการพิจารณา 
·  แบบฟอรมขอรับการสนับสนุน 
·  เอกสารตอบรับการเขารวมกิจกรรมจากหนวยงานทีจ่ ัดการประชุมวิชาการ /กิจกรรมคาย 
วิทยาศาสตร เปนตน 
·  กําหนดการ หรือรายละเอียดของกิจกรรม 
·  เอกสารที่แสดงความเห็นของนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ ง หรือ อาจารยที่ปรึกษา 
·  เอกสารชี้แจงวาไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานอื่นๆ หรือไดรับการยกเวนคา bench fee 
จากสถาบันที่ไปทําวิจัยระยะสัน้  
·  กรณีที่ไปนําเสนอผลงานวิจัย จะตองสง short article ของงานวิจัย หากทําวิจยั ระยะสั้น 
จะตองสงขอเสนอโครงการ เพื่อประกอบการพิจารณาดวย 
·  เอกสารอื่นๆ 

6.  งบประมาณพิจารณาสนับสนุน 
1)  คาตั๋วเครื่องบินชั้นประหยัด  สายการบินไทย หรือสายการบินอืน่ ที่ถกู กวาการบินไทย 30 % 
2)  คาลงทะเบียน  จายตามจริง 
3)  คาวีซา  จายตามจริง 
4)  คาที่พัก  เหมาจายไมเกินวันละ 4,200 บาท 
(ไมเกิน 1 เดือน) 
5)  คาเบี้ยเลี้ยง  เหมาจายวันละ 2,100 บาท (จายในกรณีที่ไมมีอาหารเลี้ยง) 
(ไมเกิน 1 เดือน)  เหมาจายวันละ 1,050 บาท (จายในกรณีที่มีอาหารเลี้ยง)

18 
หากเปนการทําวิจัยทีต่ างประเทศมากกวา 1 เดือน จะพิจารณางบสนับสนุนเปนกรณีไป และ 
อางอิงตามเกณฑของ กพ. โดยดูรายละเอียดไดจากเว็บไซต 
http ://192.168.1.6/Educations/Scholarship/index.html ตัวอยางของการสนับสนุน เชน 

รายการ  สหรัฐอเมริกา  สหราชอาณาจักร  ออสเตรเลีย  ญี่ปุน 


USD  GBP  AUD  JPY 

คาใชจายประจําเดือน  1,200  745  1,400  172,500 


(เหมาจาย) เดือนละ 
คาประกันสุขภาพ  1,152/ ป  รัฐบาล support  330/ ป  20,500/ ป 

ทั้งนี้เยาวชนที่ไดรับการฝกอบรม/ประชุมวิชาการในตางประเทศ จะตองจัดทํารายงานสงให 
โครงการจํานวน 1 ชุด ภายใน 30 วัน หลังจากกลับจากการเขารวมกิจกรรมดังกลาว

19 
แนวทางการเขียนบทความการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ 
1. กิจกรรมดานวิชาการ เชน 
1.1 รายละเอียดของงานวิจัยที่ไดไปนําเสนอ/ผูรวมวิจัย/งานวิจัยนี้เกีย่ วของกับผูใ ดบาง 
1.2 ขอมูลสิ่งประดิษฐ ที่นําไปประกวด/แขงขัน 
1.3 แนวคิดที่ไดจากการเดินทางไปนําเสนอผลงาน/ ประกวด แขงขัน/ ทําวิจัยระยะสัน้  
1.4 ขอมูลกําหนดการ 
1.5 วิทยาการใหมๆ ที่ไดพบเห็น 
1.6 การนําความรูและประสบการณที่ไดรับในครั้งนี้มาประยุกตใชกบั งานวิจยั  และพัฒนา 
ตนเอง 
2. กิจกรรมหรือขอมูลอื่นๆ เชน 
2.1 สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ 
2.2 สภาพบานเมือง ผังเมือง สาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ 
2.3 สังคม วัฒนธรรม 
2.4 บอกเลาความเปนมา จนกระทั่งไดรับทุนสนับสนุนจากโครงการ 
2.5 รายชื่อผูรวมเดินทางในครั้งนี้ 
3. ภาพประกอบ 
4. ขอเสนอแนะ หรือขอคิดเห็นอื่นๆ ที่เปนประโยชน

20 
บทที่ 4 
การเขารวมโครงการ 

1. ขั้นตอนการเขารวมโครงการของผูไดรับทุนระยะยาว 
เมื่อคณะกรรมการโครงการไดพิจารณาคัดเลือกผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและ 
เทคโนโลยีแลว  ผูที่เกีย่ วของจะดําเนินการดังตอไปนี้ 
1.1 แจงผลการคัดเลือกผูเขารวมโครงการระยะยาว  โครงการฯ จะแจงผลการพิจารณาใหเด็กและ 
เยาวชนผูไดรับคัดเลือก/นักวิทยาศาสตรพเี่ ลี้ยง/สถาบันการศึกษาที่เด็กและเยาวชนศึกษาอยู ให 
ทราบ 
1.2 ตอบรับเขารวมโครงการ เด็กและเยาวชนแจงตอบรับการเขารวมโครงการระยะยาว (โครงการฯ จะ 
มีแบบตอบรับสงไปให) กลับมายังโครงการฯ พรอมกับการปรึกษากับนักวิทยาศาสตรพเี่ ลี้ยงเพื่อ 
จัดทําแผนสงเสริมและพัฒนา  รวมทั้งการเสนอโครงการวิจัย 
1.3 การทําสัญญารับทุนและจัดสงเงินทุน 

2. การจัดทําสัญญารับทุนการศึกษา 
เมื่อโครงการฯ ไดรับการยืนยันการเขารวมโครงการจากเด็กและเยาวชนแลว จะดําเนินการ 
จัดทําสัญญารับทุนการศึกษา  มีรายละเอียดดังตอไปนี้ 

2.1  เอกสารประกอบการทําสัญญา 
เตรียมเอกสารทุกรายการ จํานวน 3 ชุด พรอมทั้งรับรองสําเนาถูกตองทุกฉบับ 
- แบบฟอรมสัญญาซึ่งโครงการจัดสงใหผานโรงเรียน/มหาวิทยาลัยที่เด็กและเยาวชนสังกัด 
- สําเนาบัตรประชาชนของผูรับทุน 
- สําเนาทะเบียนบานของผูรับทุน 
- สําเนาบัตรประชาชนของผูค้ําประกัน 
- สําเนาทะเบียนบานของผูค้ําประกัน 
2.2 คุณสมบัติของผูค้ําประกัน (ขอใดขอหนึ่ง) 
- บิดา มารดา หรือ ผูปกครอง 
- บุคคลที่เปนขาราชการตั้งแต ระดับ 3 ขึ้นไป (หรือเทียบเทา) 
- บุคคลซึ่งเปนผูมีความมั่นคงทางอาชีพ

21 
2.3 ขั้นตอนการทําสัญญารับทุน 
2.3.1 โครงการจะติดตอกับเด็กและเยาวชน ใหมารับแบบฟอรมสัญญาจํานวน 3 ชุด  ในวัน 
ปฐมนิเทศ เพื่อใหดําเนินการกรอกรายละเอียด และหาผูค้ําประกันเพื่อกรอกสัญญาค้ําประกัน  พรอมแนบ 
เอกสารประกอบ ดังนี้ 
·  สําหรับเด็กและเยาวชน ตองแนบสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนาทะเบียนบาน และ 
รับรองสําเนาถูกตอง โดยแนบไวในสัญญาทั้ง 3 ชุด 
·  สําหรับผูค้ําประกัน ตองแนบสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนาทะเบียนบาน และ 
รับรองสําเนาถูกตอง หากผูค้ําประกันมีคูสมรสจะตองใหคูสมรสกรอกขอมูลในเอกสารคํา 
ยินยอมและแนบเอกสารเชนเดียวกับผูค้ําประกัน โดยแนบไวในสัญญาทั้ง 3 ชุด 
2.3.2 เมื่อดําเนินการกรอกและลงนามในสัญญา พรอมทั้งใหอาจารยที่ปรึกษา และลงนามทัง้ 3 
ชุด แลว  ให เ ด็ก และเยาวชนนํ าสง สัญ ญาพรอมจดหมายนํ าสง อย างเปน ทางการไปยัง อธิก ารบดีของ 
มหาวิทยาลัยที่สังกัดอยู  หรือผูอํานวยการโรงเรียน เพื่อลงนามรับทราบ และเมื่อโรงเรียน/มหาวิทยาลัยสง 
สัญญากลับมายังโครงการฯ  ผูอํานวยการ สวทช. จะลงนามในสัญญา 

โปรดสงเอกสารสัญญาทั้งหมดมายังโครงการฯ  ภายในกําหนดเวลา โดยสงมาตามที่อยูดังนี้ 
โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน 
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 
เลขที่ 111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง 
อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 

2.3.3  เมื่อสัญญาลงนามจนครบทุกฝายทั้ง 3 ชุดแลว ถือวาสัญญารับทุนนั้นสมบูรณ โครงการฯ จะ 


ดําเนินการดังนี้ 
- โครงการฯ เก็บรักษาสัญญาฉบับจริงไว 1 ชุด 
- โครงการฯ จัดสงสัญญาฉบับจริงไปยังโรงเรียน/คณะที่เยาวชนสังกัดอยู 2 ชุด เพื่อให 
เก็บไวเปนหลักฐาน 1 ชุด และเด็กและเยาวชนเก็บไว 1 ชุด 
- โครงการฯ จัดสงสําเนาสัญญาใหแกอาจารยที่ปรึกษา 1 ชุด 
2.3.4  โครงการฯ จะจัดสงเงินทุนงวดแรกภายใน 30 วัน นับจากวันที่ลงนามในสัญญาครบทุก 
ฝายแลว 
2.3.5. หากมีข อสงสัยในรายละเอียดของการทํ าสัญญารับทุ น  ติ ดต อสอบถามได ที่ คุ ณชญากั ญจน 
แกวบรรจง โทรศัพท 02-564-7000 ตอ 1437 หรือที่ chayakan@nstda.or.th

22 
3. การจัดทําสัญญารับทุนสนับสนุนการวิจัย 
เมื่อโครงการฯ ไดรับขอเสนอโครงการวิจัยที่ผานการเห็นชอบจากนักวิทยาศาสตรพเี่ ลี้ยงจาก 
ผูรับทุนแลว  โครงการฯ  จะนําขอเสนอโครงการวิจยั นัน้ ตอผูเชีย่ วชาญเพื่อพิจารณาการอนุมัติขอเสนอ 
หลังจากขอเสนอไดรับอนุมัติแลว  โครงการจะดําเนินการทําสัญญารับทุนวิจัย  โดยผานสถาบันการศึกษา/ 
สถานที่ทํางานของนักวิทยาศาสตรพเี่ ลี้ยง  เมื่อลงนามในสัญญาครบทุกฝาย  โครงการฯ  จะจัดสง 
คาตอบแทนงวดแรกใหกับนักวิทยาศาสตรพี่เลี้ยงและจัดสงทุนวิจยั ใหแกผูรับทุน 

ขั้นตอนการขอรับทุนเพื่อปฏิบตั ิงานวิจยั  
ผูไดรับทุนระยะยาวที่ประสงคจะทําโครงการวิจัยและขอรับการสนับสนุนเงินทุนวิจยั ของโครงการ 
ใหผูรับทุนปรึกษากับนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ งเพื่อจัดทําขอเสนอโครงการมายังโครงการฯ ซึ่งโครงการฯ จะมี 
ขั้นตอนดังตอไปนี้ 
3.1 ผูวิจัยจัดสงขอเสนอโครงการมาที่โครงการฯ  จํานวน 2 ชุด หรือสงทาง email 
3.2 ขอเสนอโครงการจะถูกสงใหคณะกรรมการและผูเ ชีย่ วชาญในสาขาที่เกี่ยวของ  และ 
จะแจงผลการพิจารณาใหผูวจิ ัยทราบเพื่อปรับปรุงแกไขหรือเพิ่มเติมรายละเอียด (ถามี) 
3.3 ขอเสนอโครงการที่สมบูรณจะนําเสนอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 
3.4 โครงการจัดทําสัญญารับทุนสนับสนุนการวิจยั  และสงใหทกุ ฝายทีเ่ กี่ยวของลงนาม 
3.5 โครงการฯ จัดสงเงินทุนตามสัญญารับทุนวิจยั  ไปยังสถาบันของนักวิทยาศาสตรพเี่ ลี้ยง 
3.6 ผูวิจัยจะตองจัดสงรายงานความกาวหนาการปฏิบัตงิ านวิจัย (ในกรณีที่ไดอนุมตั ิใหทํางาน 
วิจัย)/ รายงานสรุปการเงิน (หมวดเงินทุนวิจยั ) จัดสงทุก 6 เดือน นับตั้งแตรับทุนวิจัย 
จนถึงปดโครงการวิจัย 
3.7 หลังจากโครงการฯ ไดรับรายงานความกาวหนาการปฏิบัติงานวิจัยแลว โครงการฯ จะสง 
เงินทุนงวดที่ 2 
3.8 เมื่อโครงการวิจัยที่เสนอไวไดกระทําเสร็จสิ้นตามแผนงานและตองการปดโครงการวิจัย 
ดังกลาวใหจัดทํารายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ จํานวน 2 ฉบับ และจัดสงมายังโครงการฯ 
ภายใน 90 วันหลังจากเสร็จสิ้นโครงการแลวโดยดูแนวทางการจัดทํารายงานวิจัยฉบับ 
สมบูรณตามรายละเอียดขางทายคูมือฉบับนี้

23 
4. การสิ้นสุดระยะเวลาในสัญญารับทุน 
ในกรณีสิ้นสุดระยะเวลาในสัญญารับทุนการศึกษาหรือทุนวิจัยแลว  ใหเด็กและเยาวชนรวมกับ 
นักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ งจัดทํารายงานสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กและเยาวชน  รายงาน 
วิจัยฉบับสมบูรณ  แผนการสงเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในระดับตอไป  มายังโครงการ  และแจง 
ความประสงคเพื่อเขารวมโครงการตอเนื่อง  โครงการฯ  จะประเมินผลงานและพัฒนาการตางๆ  ที่เกิดขึ้น 
ตลอดระยะเวลาทีเ่ ด็กและเยาวชนไดเขารวมโครงการไปแลว  ถาหากผานการประเมิน  จะจัดดําเนินการ 
จัดทําสัญญารับทุนการศึกษาและทุนวิจัยตอไป 
*ระยะเวลาที่กําหนดในสัญญาปกติจะกําหนดตั้งแตเริ่มรับทุนจนจบระดับการศึกษานัน้ ๆ  เชน 
มัธยมตน  มัธยมปลาย ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 

5. แนวทางการจัดทํารายงานพัฒนาการทางวิชาการของผูไดรับทุน 
เพื่อเปนการติดตามพัฒนาการ  ความกาวหนาของความสามารถในการปฏิบตั ิงานวิจยั ของเด็ก 
และเยาวชนผูไดรับทุนระยะยาว  โครงการจึงกําหนดใหเด็กและเยาวชนตองจัดทํารายงานความกาวหนา 
ของการศึกษา  และกิจกรรมตางๆ  การจัดทําแผนสงเสริมและพัฒนา  รวมทั้งรายงานความกาวหนาของ 
การทําวิจัยในกรณีไดยื่นขอเสนอโครงการวิจยั แลว 

ผูรับทุนตองจัดทํารายงาน ดังตอไปนี ้
1.  รายงานความกาวหนาของการศึกษา  /ผลการศึกษาภาคตนและภาคปลาย  /รายงานการเงิน 
(หมวดเงินทุนการศึกษา) จัดสงทุกภาคการศึกษา เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษานั้นๆ 
2. รายงานความกาวหนาการปฏิบัตงิ านวิจยั (ในกรณีที่ไดอนุมัติใหทํางานวิจยั )/ รายงานสรุป 
การเงิน (หมวดเงินทุนวิจยั ) จัดสงทุก 6 เดือน นับตั้งแตรับทุนวิจัย จนถึงปดโครงการวิจยั

24 
จัดสงรายงานตางๆ ที่ 

โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน 
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 
111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย  ถนนพหลโยธิน  ตําบลคลองหนึ่ง  อําเภอคลองหลวง 
จังหวัดปทุมธานี  12120 

โทร. 0-2564-7000 
ตอ 1431 (อติพร สุวรรณ) e-mail : atiporn@nstda.or.th 
ตอ 1433 (ปานกมล ศรสุวรรณ) e-mail : pankamon@nstda.or.th 
ตอ 1437 (ชญากัญจน แกวบรรจง) e-mail : chayakan@nstda.or.th 

เมื่อโครงการไดรับรายงานและเอกสารตางๆแลวจึงจะดําเนินการจัดสงเงินทุนงวดตอไปใหผรู ับทุน 

แบบฟอรมที่แนบในทายคูมือผูรับทุนนีเ้ ปนเพียงแนวทางของการจัดทํารายงานตางๆ  เทานัน้   เด็ก 


และเยาวชนในโครงการ  และนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ งสามารถเพิ่มหรือนําเสนอขอมูลอื่นๆ  ที่คิดวามีความ 
จําเปนแกโครงการได ทั้งนี้สามารถดาวนโหลดแบบฟอรมตางๆ ของโครงการ ไดจาก 
http://www.nstda.or.th/jstp

25 
ภาคผนวก 
ก. แบบรายงานความกาวหนาของการศึกษาและการสงเสริมพัฒนา 

ข. แบบขอเสนอโครงการวิจยั  

ค. แบบรายงานความกาวหนาโครงการวิจัย 

ง. แบบการจัดทํารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ 

จ. แนวทางการขอรับทุนสนับสนุนการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ

26 

You might also like