You are on page 1of 4

่ ๆ มาสร้างเป็ นสิ่ งของเครื่ องใช้หรื อปรับปรุ ง

เทคโนโลยีเป็ นการนําความรู ้จากสาขาวิชาการตาง


วิธีการทํางานของมนุษย์ให้ง่ายขึ้ น สะดวกสบายทําให้มนุษย์มีคุณภาพชีวิตทีดีข้ ึนเทคโนโลยี จึงมี
ั ก สาขาวิชาเชน่
ความสัมพันธ์กบทุ
ความสั มพันธ์ ระหว่ างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ คือ วิชาที่ศึกษาถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติ ทั้ งในสภาพนิ่งหรื อสภาพที่มีการ
เปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี คือ กระบวนการหรื อวิธีการ

และเครื่ องมือที่เกดจากการประยุ กต์ และผสมผสาน
ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อให้เกดิ
ประโยชน์ต่อมนุษย์เหมาะสมกบเวลาและสถานที
ั ่
วิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมายในการแสวงหาความรู ้อยาง ่
เป็ นระบบ โดยตั้ งข้อสมมติฐาน พิสูจน์สมมติ
ฐานด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู ้ หรื อ
ข้อเท็จจริ งจากปรากฎการณ์น้ นั ๆ ถ้ามีการพิสูจน อีกกยั็ งคงใช้ขอ้ เท็จจริ งเหมือนเดิม เทคโนโลยีเป็ น

วิทยาการที่เกดจากการใช้ ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่นๆในการแกปั้ ญหา โดยมุ่งแสวงหา
กระบวนการหรื อวิธีการ (Know How) โดยอาศัยเครื่ องมือและความรู ้ต่างๆผลของกระบวนการเทคโนโลยี
มี 2 ลักษณะ คือ
1.เครื่ องมือ หรื อ ฮาร์ดแวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรู ปของอุปกรณ์ เครื่ องมือตางๆเชน ่ ่ เครื่ องบําบัด
นํ้าเสี ย เครื่ องปรับอากาศ เครื่ องบิน เป็ นต้น
2. วิธีการหรื อ เรี ยนกวา่ ซอฟต์แวร์ หมายถึง เทคโนโลยี
ในรู ปของวิธีการ กระบวนการ ความรู ้ต่าง ๆ เชน่ วิธีจดั การ
ระบบบริ หารองค์กร วิธีประเมินผลตาง ่ ๆ โปรแกรม
คอมพิวเตอร์เป็ นต้น
ี่ ั
ผูศ้ ึกษาค้นคว้าหาความรู ้เกยวกบปรากฎการณ์ ธรรมชาติ
คือ นักวิทยาศาสตร์ ความใฝ่ รู ้ หรื ออยากรู ้อยากเห็น ทําให้คนเป็ นนักวิทยาศาสตร์ ความใฝ่ ประดิษฐ์ทาํ
ให้คนเป็ นชางฝี ่ มือ คนที่เรี ยนเทคโนโลยีจะต้องมีจิตวิญญาณสองสวน ่ คือ ใฝ่ รู ้ หรื อ ใฝ่ ศึกษา
ธรรมชาติ และใฝ่ ทําหรื อใฝ่ ประดิษฐ์ บุคคลที่มีคุณลักษณะทั้ ง 2 ประการ ได้แก่ โธมัส อัลวา เอดิ
สัน เป็ นนักประดิษฐ์ที่รวมความเป็ นนักวิทยาศาสตร์และช่างฝี มือในตัวเอง
เมื่อประมาณ 4,500 ปี มาแล้ว ชาวอียปิ ต์โบราณสร้างพีระมิดด้วยเทคโนโลยีบางอยางสํ ่ าหรับขน
หิ นแกรนิตขนาดใหญขึ่ ้ นไปเรี ยงกนถึ ั งยอดสูงประมาณ 164 ฟุต เทคโนโลยีเกดจากการนํ ิ าความรู ้ทาง
วิทยาศาสตร์และการพัฒนาเครื่ องมือของชางฝี ่ มือ ทําให้ได้เครื่ องจักรกลที่ซบั ซ้อน
ประเทศไทยผลิตชางฝี ่ มือในแตละปี ่ จํานวนมาก แตขาดความรู ่ ้พ้ืนฐานด้านวิทยาศาสตร์บริ สุทธิ์
สําหรับการพัฒนาเทคโนโลยี ประเทศที่เจริ ญทางเทคโนโลยีจะทุ่มเททุนมหาศาลเพือ่ พัฒนาและประยุกต์

วิทยา ศาสตร์เข้ากบเทคโนโลยี ขณะนี้ ประเทศไทยต้องพึ่งพาหรื อซื้ อเทคโนโลยีช้ นั กลางหรื อชั้ นสูงจาก

ตางประเทศ เพราะเราประดิษฐ์เทคโนโลยีเหลานั ่ ้ นได้นอ้ ยมาก
วิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กบเทคโนโลยี ั ่
ในฐานะที่เป็ นแหลงความรู ้ที่สาํ คัญสําหรับเทคโนโลยี
แตไม ่ ่ใชเฉพาะวิ
่ ทยาศาสตร์วิชาอื่นๆกมี็ ความสําคัญเชนเดี ่ ยวกนั

วิทยาศาสตร์แตกตางจากเทคโนโลยี ในเรื่ องของเป้ าหมาย (goal) และวิธีการ (methodlogies) แตทั่ ้ ง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกยวข้ ี่ องกนอยางใกล้
ั ่ ชิด
เทคโนโลยีสมั พันธ์กบความรู ั ้พ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อ
แกปั้ ญหา แตขณะเดี ่ ั ทยาศาสตร์ตอ้ งอาศัยความรู ้ทางเทคโนโลยีแสวงหาความรู ้หรื อ ทฤษฎีใหม่ ๆ
ยวกนวิ
เทคโนโลยีจึงไมใชวิ ่ ่ ทยาศาสตร์ประยุกต์ แตเป็ ่ นศาสตร์อีกแขนงหนึ่ง อาจสรุ ปความสัมพันธ์ของศาสตร์
ทั้ งสองได้ดงั นี้

1.เทคโนโลยีเกดจากการใช้ ความรู ้พ้นื ฐานทางวิทยาศาสตร์เป็ นสวนใหญ ่ ่
2.การประยุกต์ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในเทคโนโลยีน้ นั มีจุดประสงค์เพื่อแกปั้ ญหาทาง
เทคโนโลยี
วิชาวิทยาศาสตร์เป็ นวิชาที่เราให้ความสําคัญในการแกปั้ ญหาตาง ่ ๆ อยางมาก ่ และต้องใช้วิชา
เทคโนโลยีเพือ่ เสริ มการแกปั้ ญหาและความคิดสร้างสรรค์ ทั้ ง 2 วิชามีความสัมพันธ์กนและเป็ ั นการนํา
ความรู ้วิทยาศาสตร์ไปสู่ การปฏิบตั ินนั่ เอง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กนอยางใกล้ ั ่ ชิด จึงมักถูกเรี ยกควบคู่กนั แตวิ่ ธีการใช้
ทั้ งสองวิชาเพือ่ ให้ได้คาํ ตอบนั้ นไมเหมื ่ อนกนที ั เดียว และจุดประสงค์หรื อเป้ าหมายตางกน ่ ั
วิทยาศาสตร์เริ่ มจากคําถามเกยวกบสิ ี่ ั ่ งที่สงั เกตจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ จาก นั้ น จึงใช้วิธีการ
สื บเสาะหาความรู ้ ได้แก่ การสังเกต รวบรวมข้อมูล ทดลอง วิเคราะห์ และสรุ ปผล ซึ่งเป็ น
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการหาคําตอบเพื่ออธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาติ นั้ น คําตอบจากการ
ค้นหานั้ นจะเป็ นกฎเกณฑ์ทางทฤษฎี
เทคโนโลยีเริ่ มจากปัญหาหรื อความต้องการของมนุษย์ แล้วใช้กระบวน การตาง ่ ๆ เพื่อหาวิธีการ
แกไขปั ้ ญหาหรื อสนองความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ทรัพยากร ทักษะ และความรู ้ดา้ นตาง ่ ๆ สําหรับ
ปรับปรุ งพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ นั ตามกระบวนการเทคโนโลยี

ข้อแตกตางของวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลาวโดยสรุ ่ ป คือ ทั้ ง 2 วิชา มีธรรมชาติและ

กจกรรมแตกตางกน ่ ั กลาวคื ่ อ วิทยาศาสตร์มุ่งเน้นความเข้าใจเกยวกบความจริ ี่ ั งในธรรมชาติ (Facts and
Phenomena of Nature ) สวนเทคโนโลยี ่ ี่ องกบความต้
ศึกษาสิ่ งที่เกยวข้ ั องการ การแกปั้ ญหา และ
คุณสมบัติของสิ่ งของ (Artifacts) ที่มนุษย์ประดิษฐ์หรื อสร้างขึ้ น วิทยาศาสตร์เกยวข้ ี่ องกบการพยายาม

ตอบคําถาม “What” ในขณะที่ เทคโนโลยีมุ่งแกปั้ ญหาที่มาจากความต้องการจะตอบคําถาม “How” เราจะ
มีวิธีแกปั้ ญหาอยางไร
่ หรื อสร้างสิ่ งที่เกดจากการความต้
ิ ่
องการอยางไร


กจกรรมการเรี ยนรู ้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์แตกตางกน ่ ั ดังนี้
กิจกรรม ทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรม ทางเทคโนโลยี
- ติดตั้ งสมมติฐาน - คิดด้วยการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี
- คําอธิบาย ทํานาย ปรากฎการณ์ธรรมชาติ - ได้ผลิตภัณฑ์
- ค้นพบกฎ หลักทฤษฎี - ลงมือปฏิบตั ิตามความคิดริ เริ่ ม
- วิเคราะห์ขอ้ มูล - สังเคราะห์แนวคิด
- ค้นคว้าหาสาเหตุของปั ญหา - แสวงหาแนวทางสู่ คาํ ตอบ
- ค้นคว้าเพื่อพิสูจน์สมมติฐาน - ค้นคว้าเพื่อตอบสนองจุดประสงค์
ั ่ งที่เป็ นอยู่
- เรี ยนรู ้เพื่อทําความเข้าใจกบสิ ่ ๆ ได้อยางไร
- เรี ยนรู ้การประดิษฐ์สิ่ งตาง ่

ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกบศาสตร์ อื่นๆ
เทคโนโลยีเป็ นความรู ้สาขาหนึ่งของมนุษย์วาด้่ วยการประยุกต์ใช้ทรัพยากรตางๆ ่ ทั้ งความรู ้ วัสดุ
อุปกรณ์ เครื่ องมือ พลังงาน ทักษะตาง ่ ๆ ในการคิดแกปั้ ญหา ออกแบบและสร้างสิ่ งใหม่ ๆ เพื่อสนอง
ความต้องการของมนุษย์ ดังนั้ น กระบวนการเทคโนโลยีจึงต้องอาศัยความรู ้จากสาขาวิชาอื่น ๆ มา
สนับสนุน เชน่ ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ ชวยอธิ ่ บายหลักทางวิทยาศาสตร์ของสิ่ งตาง ่ ๆ ความรู ้ทางศิลปะ

ชวยวาดภาพหรื ่
อเขียนโครงรางของสิ ่ งที่คิดประดิษฐ์ให้เห็น เป็ นรู ปธรรม หรื อความรู ้สาขามนุษย์ช่วยให้
เข้าใจความต้องการวัฒนธรรมของสังคมมนุษย์ สิ่ งเหลานี ่ ้ ช่วยสนับสนุนการทํางานทางเทคโนโลยี

ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกบมนุ ั ษย์ศาสตร์
การทํางานตามกระบวนการทางเทคโนโลยีเริ่ มจากวิเคราะห์ความต้อง การของตน สื่ อสารความ
ต้องการให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ และเสนอแนวทางแกปั้ ญหา ซึ่งต้องอาศัยทักษะการพูด อานและเขี
่ ยน ลักษณะ
พฤติกรรมการเรี ยนรู ้เทคโนโลยีตอ้ งอาศัยทักษะทางภาษาซึ่งเป็ นศาสตร์ของ มนุษย์ศาสตร์ ดังนี้
1. ทักษะการฟัง พูดได้อยางมี่ ประสิ ทธิภาพ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางเทคโนโลยีกบคนอื
ั ่น ๆ

ในการทํากจกรรม
2.ทักษะการเขียน นําเสนอข้อมูลเชิงสัญลักษณ์หรื ออธิบายแนวคิดของตน

3.ทักษะการสรุ ป กจกรรมเทคโนโลยี ี่ องกบการรางโครงการและการอธิ
เกยวข้ ั ่ บายกระบวนการ
ทํางานจนได้ชิ้นงาน การเขียนข้อสรุ ปจึงเป็ นสิ่ งสําคัญของเทคโนโลยี

ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกบสั ั งคมศาสตร์
่ างสรรค์
ผูเ้ รี ยนต้องเข้าใจประวัติความเป็ นมาทั้ งอดีตจนถึงปัจจุบนั และ เทคโนโลยีในอนาคตชวยสร้
มนุษยชาติ จึงต้องให้ผเู ้ รี ยนตระหนักถึงหน้าที่ และความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม โดย

กจกรรมดั งนี้
 สํารวจบทบาทเทคโนโลยีต่อสังคม
 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้สนองความต้องการได้อยางฉลาด ่
 เข้าใจข้อจํากดของปั
ั ่ ๆ ทางสังคม คานิ
จจัยตาง ่ ยม โครงสร้างสังคม โดยนําสิ่ งเหลานี
่ ้ มา

ประกอบการตัดสิ นใจในกจกรรมทางเทคโนโลยี
 วิจยั ศึกษา วิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีในสังคม สงผลกระทบตอสั
่ ่ งคมอยางไรบ้
่ าง
 การตระหนักถึงการใช้ทรัพยากร สิ่ งแวดล้อมในธรรมชาติ และวัฒนธรรมที่แตกตางกน ่ ั
 วิจยั ศึกษา วิเคราะห์ผลกระทบการใช้เทคโนโลยีต่อสังคม

You might also like