You are on page 1of 35

บทที่ 1

เทคโนโลยีและ
ึ ษา
นว ัตกรรมการศก
Technology and Educational Innovation

ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภวรรณ ชาติมนตรี


คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

ห ัวข้อบทที่ 1

1. ความหมายของเทคโนโลยี/นวัตกรรม
2. หลักการพิจารณานวัตกรรม
3. ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
4. การยอมรับนวัตกรรม
5. ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา/นวัตกรรมการศึกษา
6. พัฒนาการของนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
7. ่ ง่ ผลให ้เกิดนวัตกรรมการศึกษา
แนวคิดทีส
8. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
9. การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา และสิง่ ทีต ่ ้องคานึงถึง
10. ประโยชน์ของนวัตกรรมการศึกษา

1
ความหมายของ
“เทคโนโลยี”

 ก ัลเบรท (John Kenneth Galbraith, 1967)

เทคโนโลยี เป็ นการใชวิ้ ธกี ารทางวิทยาศาสตร์ หรือความรู ้ต่างๆ


้ างเป็ นระบบ เพือ
ทีร่ วบรวมไว ้มาใชอย่ ่ ลในทางปฏิบต
่ นาไปสูผ ั ิ

ทีม
่ าภาพ : http://archive.boston.com/

ความหมายของ
“เทคโนโลยี”

 คาร์เตอร์ วี. กูด



(Carter V. Good, 1973)

เทคโนโลยี เป็ นการนาเอาความรู ้


ด ้านตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
้ อ
วิทยาศาสตร์ มาใชเพื ่ ให ้เกิดความ
เจริญด ้านวัตถุ

ทีม
่ าภาพ : http://edu.pcru.ac.th/edu2012/pcru/page/itsarapron2/p1.html

2
ความหมายของ
“เทคโนโลยี”

 พจนานุกรม ฉบ ับราชบ ัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554

เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการทีน ่ าเอาความรู ้


ทางวิทยาศาสตร์ มาใชให ้ ้เกิดประโยชน์
ในทางปฏิบตั ิ อุตสาหกรรม เป็ นต ้น

ทีม
่ าภาพ : http://library.nhrc.or.th/ulib/dublin.php?ID=3005

ความหมายของ
“เทคโนโลยี”

 รศ.ยืน ภูว
่ รวรรณ (2546)

“เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอา


้ ้เกิด
ความรู ้ทางด ้านวิทยาศาสตร์มาใชให
ประโยชน์”

ึ ษาพัฒนาองค์ความรู ้ต่าง ๆ ก็เพือ


การศก ่ ให ้เข ้าใจธรรมชาติ
กฎเกณฑ์ของสงิ่ ต่างๆ และหาทางนามาประยุกต์ให ้เกิดประโยชน์

ทีม
่ าภาพ : http://www.manager.co.th/Family/ViewNews.aspx?NewsID=9520000005247

3
ความหมายของ
“เทคโนโลยี” : สรุป

• เทคโนโลยี เป็ นการนาความรู ้ ความคิด และวิธก ี ารทาง


วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ในรูปของการจัดระบบงานในสาขา
ต่าง ๆ อย่างเป็ นระบบ เพือ
่ ให ้บรรลุตามเป้ าหมายอย่างมี
ประสท ิ ธิภาพ โดยใชทรั
้ พยากรอย่างประหยัด

“เทคโนโลยี”

การนาเอาเทคโนโลยีไปใชในการแก ้ปั ญหาในด ้านใด
ื่ เทคโนโลยีไปตามสาขาวิชาทีใ่ ชได
สามารถเรียกชอ ้ ้

เชน
• เทคโนโลยีการเกษตร
• เทคโนโลยีการคมนาคมขนสง่
• เทคโนโลยีการแพทย์
ื่ สาร
• เทคโนโลยีการสอ
• เทคโนโลยีการทหาร
ึ ษา
• เทคโนโลยีการศก

4
นว ัตกรรม คืออะไร
การนาสงิ่ ใหม่ ๆ เข้ามา
Innovation กระทรวง นว ัตกรรม = เปลีย่ นแปลงเพิม ่ เติม
ศึกษาธิกา วิธก
ี ารทีท
่ าอยูเ่ ดิมเพือ ่ ให้
ร ใชไ้ ด้ผลดียงิ่ ขึน

Innovator = นว ัตกร = ผูน้ าสงิ่ ใหม่มาใช ้

นวกรรม = การก่อสร้าง

นวการ, นวกรรมมิกะ = ผูด


้ แ
ู ลการก่อสร้าง

ความหมายของ “นว ัตกรรม”


ทอม ัส ฮวิ ช ์ (Thomas Hughes, 1987)
• เป็ นการนาวิธก ี ารใหม่ๆ มาปฏิบต ั หิ ลังจากได ้ผ่าน
การทดลองหรือได ้รับการพัฒนามาเป็ นขัน ้ แล ้ว
โดยเริม ่ มาตัง้ แต่การคิดค ้น (Invention)
พัฒนาการ (Development) ซงึ่ อาจจะเป็ นไปใน
รูปของโครงการทดลองปฏิบต ั ก
ิ อ่ น (Pilot Project)
แล ้วจึงนาไปปฏิบต ั จิ ริง ซงึ่ มีความแตกต่างไปจาก
การปฏิบต ั เิ ดิมทีเ่ คยปฏิบต ั ม ิ า และเรียกว่า
นวัตกรรม (Innovation)

ทีม
่ าภาพ : http://www.nndb.com/people/710/000103401/

5
ความหมายของ “นว ัตกรรม”
มอร์ต ัน (Morton, J.A.)
• การทาให ้ใหม่ขน ึ้ อีกครัง้ (Renewal)
ซงึ่ หมายถึงการปรับปรุงของเก่า และการพัฒนา
ศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือ
องค์การ ซงึ่ นวัตกรรมไม่ใชก ่ ารขจัดหรือล ้มล ้างสงิ่
เก่าให ้หมดไป แต่เป็ นการปรับปรุงเสริมแต่ง และ
พัฒนาเพือ ่ ความอยูร่ อดของระบบ

ทีม
่ าภาพ : http://com5441440044-1.blogspot.com/

ความหมายของ “นว ัตกรรม”


รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ
• วิธก ี ารปฏิบต ั ใิ หม่ ๆ ทีแ ่ ปลกไปจากเดิม โดย
อาจจะได ้มาจากการคิดค ้นพบวิธก ี ารใหม่ ๆ ขึน้ มา
หรือการปรุงแต่งของเก่าให ้ใหม่เหมาะสม และสงิ่
ทัง้ หลายเหล่านีไ ้ ด ้รับการทดลอง พัฒนามาจน
ื่ ถือได ้แล ้วว่าได ้ผลดีในทางปฏิบต
เป็ นทีเ่ ชอ ั ิ ทาให ้
ระบบก ้าวไปสูจ ่ ด ุ หมายปลายทางได ้อย่างมี
ประสท ิ ธิภาพขึน ้

ทีม
่ าภาพ : http://com5441440044-1.blogspot.com/

6
ความหมายของ “นว ัตกรรม”

ศ.ดร.ชยยงค์ พรหมวงศ ์
• หลักการ วิธป ี ฏิบต
ั ิ หรือแนวคิดอย่างใดอย่างหนึง่
ซงึ่ ไม่ถอ
ื ว่าเป็ นนวัตกรรมของประเทศหนึง่ แต่อาจ
เป็ นนวัตกรรมของประเทศอืน ่ ก็ได ้ และสงิ่ ทีถ
่ อ
ื ว่า
เป็ นนวัตกรรมแล ้วในอดีต หากมีการใชกั้ นอย่าง
แพร่หลายแล ้ว ก็ไม่ถอ ื ว่าเป็ นนวัตกรรมอีกต่อไป
แต่สงิ่ ทีใ่ ชไม่
้ ได ้ผลในอดีต หากมีการนามา
ปรับปรุงใชได ้ ้อย่างมีประสท ิ ธิภาพ สงิ่ นัน้ ถือได ้ว่า
เป็ นนวัตกรรม
ทีม
่ าภาพ : http://www.buddhabirthplace.net/chaiyongvision/

ความหมายของ “นว ัตกรรม” : สรุป


• นว ัตกรรม หมายถึง สงิ่ ประดิษฐ์ แนวคิด หรือวิธก ี าร
ใหม่ทแ ี่ ปลกไปจากเดิม โดยได ้มาจากการคิดค ้น หรือ
การปรับปรุงเสริมแต่งของเก่า ซงึ่ ได ้ผ่านการทดลอง
และพัฒนาจนเป็ นทีเ่ ชอื่ ถือได ้ เพือ ้
่ นามาใชในการ
แก ้ไขปั ญหาหรือเพิม
่ ประสท ิ ธิภาพการงานในด ้านนัน้
ให ้สูงขึน้

7
หล ักสาค ัญการพิจารณา
“นว ัตกรรม”

1. จะต ้องเป็ นสงิ่ ใหม่ทงั ้ หมด หรือเกิดจากการปรับปรุงดัดแปลงจากที่


เคยมีมาก่อนแล ้วบางสว่ น
2. มีการนาวิธรี ะบบมาใชพิ้ จารณาองค์ประกอบสว่ นรับเข ้า กระบวนการ
และสว่ นผลลัพธ์ ให ้เหมาะสมก่อนทาการเปลีย ่ นแปลง
3. มีการพิสจ ่ ชว่ ยให ้การ
ู น์ด ้วยการวิจัย หรืออยูร่ ะหว่างการวิจัย เพือ
ดาเนินงานบางอย่างมีประสท ิ ธิภาพ
4. ยังไม่เป็ นสว่ นหนึง่ ของระบบงานทีใ่ ชอยู
้ ใ่ นปั จจุบัน

ทีม
่ า : ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2537

ั ันธ์ของนว ัตกรรม
ความสมพ
และเทคโนโลยี
นว ัตกรรม

้ งั คม
ทดลองใชในส แพร่หลายในสงั คม

ออกแบบระบบใหม่ เทคโนโลยี

วิเคราะห์ระบบ เกิดการ
เปลีย
่ นแปลง
ทีม
่ า : นิพนธ์ ศุขปรีด,ี 2533

8
การยอมร ับนว ัตกรรม
• การยอมรับนวัตกรรม คือ กระบวนการตัดสนิ ใจนวัตกรรม
(Innovation decision process) ประกอบด ้วย 5 ขัน
้ คือ
1. ขัน
้ ความรู ้ (knowledge) ทราบว่ามีนวัตกรรมเกิดขึน

(รู ้จัก/รู ้วิธใี ช ้/รู ้หลักการ)
2. ขัน
้ ชักชวน (persuasion) มีทัศนคติตอ
่ นวัตกรรมนัน

(เห็นด ้วย/ไม่เห็นด ้วย)
3. ขัน
้ ตัดสินใจ (decision) ตัดสินใจทีจ
่ ะยอมรับแต่ยงั ไม่ถาวร
้ การนาไปใช ้ (Implementation) นานวัตกรรมทีต
4. ขัน ่ ัดสินใจเลือก
ไปใช ้งาน
5. ขัน
้ ยืนยัน (confirmation) หาข ้อมูลมาสนับสนุนการตัดสินใจของ
ตนเองเพือ ่ นาไปใช ้อย่างถาวร

ทีม
่ า : Rogers and Shoemaker (1978)

ปัจจ ัยทีผ ้ อมร ับนว ัตกรรม


่ ใู ้ ชย
1. ประโยชน์ของนวัตกรรม -- หากเกิดประโยชน์สงู จะมีอัตรา
การยอมรับสูง
2. ความสอดคล ้องของนวัตกรรม -- สอดคล ้องกับค่านิยมของ
ผู ้ใช ้
3. ความซบั ซอนของนวั
้ ตกรรม -- ผู ้ใชต้ ้องการนวัตกรรมทีไ่ ม่
ั ซอน
ซบ ้
้ ตกรรม -- ผู ้ใชได
4. การได ้ทดลองใชนวั ้ ้ทดลองใชก่้ อนจะเกิด
การยอมรับสูงกว่าไม่เคยได ้ทดลองใช ้
5. การสงั เกตเห็นการใชงาน
้ -- เมือ ่ ใชก็้ จะเกิดการ
่ เห็นผู ้อืน
ยอมรับง่ายขึน

9
Innotech
ด้านการศกึ ษา

ทีม
่ าภาพ : https://www.aksorninspire.com

ความหมายของ
ึ ษา
เทคโนโลยีการศก
• ศ.ดร.วิจต
ิ ร ศรีสอ้าน ให ้ความหมายว่า
เทคโนโลยีการศก ึ ษา (Educational
Technology) เป็ นการประยุกต์เอาเทคนิค
วิธก
ี าร แนวความคิด วัสดุ อุปกรณ์ และ
เครือ ้ อ
่ งมือใหม่ๆ มาใชเพื ่ แก ้ปั ญหาทาง
ึ ษา ทัง้ ในด ้านการขยายงาน และด ้าน
การศก
การปรับปรุงคุณภาพของการเรียนการสอน

ทีม
่ า : ศ.ดร.วิจต
ิ ร ศรีสอ ้าน (2517)
ทีม
่ าภาพ : https://management.wu.ac.th/site/communication

10
ความหมายของ
ึ ษา
เทคโนโลยีการศก
ึ ษาจึงครอบคลุมเรือ
• เทคโนโลยีการศก ่ งต่าง ๆ 3 ด ้าน ดังนี้
1. การนาเอาเครือ ้
่ งมือใหม่ๆ มาใชในการเรี
ยนการสอน
2. การผลิตวัสดุการสอนแนวใหม่

3. การใชเทคนิ
คและวิธก
ี ารใหม่

ทีม
่ า : ศ.ดร.วิจต
ิ ร ศรีสอ ้าน (2517)

ความหมายของ
ึ ษา
เทคโนโลยีการศก

• ศ.ดร.ชยยงค์ พรหมวงศ ์ ให ้ความหมายว่า เทคโนโลยี
ึ ษา หมายถึง การนาเอาสงิ่ ประดิษฐ์ทางสงั คมมาใชใน
การศก ้
ึ ษาให ้มีประสท
การศก ิ ธิภาพ ครอบคลุมทัง้ แนวคิด หลักการ
ปฏิบต
ั ิ กระบวนการ ระบบ ระเบียบ กฎเกณฑ์ วิธก
ี าร และ
สงิ่ ประดิษฐ์

11
ความหมายของ
ึ ษา : สรุป
เทคโนโลยีการศก

ึ ษา เป็ นการประยุกต์เอาเทคนิค วิธก


• เทคโนโลยีการศก ี าร
แนวความคิด วัสดุ อุปกรณ์ และสงิ่ ต่างๆ อันสบ
ื เนือ
่ ง

มาจากเทคโนโลยี นามาใชในวงการศกึ ษา
(ถึงแม ้ว่าเทคโนโลยีเหล่านัน
้ จะเป็ นการคิดค ้นเพือ ้
่ ใชในวงการ
อืน ้
่ โดยเฉพาะ แต่ก็สามารถนามาใชในวงการศกึ ษาได ้เชน
่ กัน)

ึ ษา
เทคโนโลยีการศก

12
ึ ษา
ความหมายของนว ัตกรรมการศก

ึ ษา (Educational Innovation)
• นว ัตกรรมการศก
• รศ.ดร.อ ัญชลี โพธิท ์ อง ให ้ความหมายว่า
นวัตกรรมการศก ึ ษา เป็ นการนาแนวคิดวิธก ี ารมาใช ้
ในการจัดการศก ึ ษา เพือ ่ สง่ เสริมให ้เกิดการเรียน
การสอนทีม่ ป
ี ระสทิ ธิภาพดียงิ่ ขึน้

ทีม
่ าภาพ : http://www.edu.ru.ac.th/index.php/36-2014-06-07-12-36-18/178-2014-06-07-12-45-45

ึ ษา
ความหมายของนว ัตกรรมการศก

• รศ.ดร.กิดาน ันท์ มลิทอง ให ้ความหมายว่า


นวัตกรรมการศก ึ ษา เป็ นการนานวัตกรรมทีเ่ ป็ น
สงิ่ ประดิษฐ์หรือปฏิบต ั กิ ารใหม่ๆ หรือทีพ ่ ัฒนาให ้ดี
ยิง่ ขึน ้
้ จากของเดิมมาใชในวงการศ กึ ษาโดยเฉพาะ
การเรียนการสอน เพือ ่ ให ้เกิดประสทิ ธิภาพและ
ประสท ิ ธิผลสูงสุดแก่ผู ้เรียนในการเรียนรู ้

ทีม
่ าภาพ : http://pirun.kps.ku.ac.th/~b5620600386/page4.html

13
ึ ษา
ความหมายของนว ัตกรรมการศก

• รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี ให ้ความหมายว่า


นวัตกรรมการศก ึ ษา เป็ นกระบวนการ แนวคิด หรือ
วิธก
ี ารใหม่ๆ ทางการศก ึ ษา ซงึ่ อยูใ่ นระหว่างการ
ทดลองทีจ ่ ะจัดขึน ้ อย่างมีระบบและกว ้างขวาง
พอสมควรเพือ ่ พิสจ ู น์ประสทิ ธิภาพ อันจะนาไปสู่
การยอมรับเพือ ้
่ นาไปใชในระบบการศ กึ ษาอย่าง
กว ้างขวางต่อไป

ทีม
่ าภาพ : http://portal.edu.chula.ac.th/

ึ ษา : สรุป
ความหมายของนว ัตกรรมการศก

• นว ัตกรรมการศก ึ ษา หมายถึง สงิ่ ประดิษฐ์ แนวคิด


วิธก
ี าร หรือกระบวนการทีส ่ ร ้างสงิ่ ใหม่ หรือทีป ่ รับปรุง
เสริมแต่งให ้แปลกจากเดิม โดยผ่านการทดลองและ
พัฒนาจนเป็ นทีเ่ ชอ ื่ ถือได ้ แต่ยังไม่ได ้ถูกนาไปใชกั้ น
อย่างแพร่หลาย เพือ
่ แก ้ไขปั ญหาระบบการศก ึ ษา
หรือเพิม ิ ธิภาพระบบการศก
่ ประสท ึ ษาให ้สูงขึน

14
พ ัฒนาการของเทคโนโลยี
ึ ษา
และนว ัตกรรมการศก
• ประเทศไทยมีพัฒนาการของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ึ ษา 3 ยุค คือ
การศก
1. ยุคแรก
2. ยุคปรับเปลีย
่ น
3. ยุคสารสนเทศ

พ ัฒนาการของเทคโนโลยี
ึ ษา
และนว ัตกรรมการศก
• ยุคแรก – สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงสมัยกรุงธนบุรี
• พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อก
ั ษรไทย
่ ภาษิตพระร่วง ไตรภูมพ
• วรรณกรรมต่างๆ เชน ิ ระร่วง
ื เรียนเล่มแรกของไทยชอ
• หนังสอ ื่ จินดามณี

ทีม
่ าภาพ : http://www.sac.or.th ทีม
่ าภาพ : http://www.info.ru.ac.th ทีม
่ าภาพ : http://www.rimkhobfabooks.com

15
พ ัฒนาการของเทคโนโลยี
ึ ษา
และนว ัตกรรมการศก
• ยุคปร ับเปลีย ิ้ สุด
่ น – สมัยพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก จนถึงสน
สงครามโลกครัง้ ที่ 2
ึ ษา
• เปิ ดสอนในระดับอุดมศก
• เทคโนโลยีการสอน – พัฒนาวิธก
ี ารสอน รูปแบบการสอน
ื่ – พัฒนาสอ
• เทคโนโลยีสอ ื่ จากผลผลิตทางด ้านวิทยาศาสตร์
และวิศวกรรมศาสตร์
• มีการจัดตัง้ หน่วยงานเพือ ึ ษา
่ รับผิดชอบด ้านการศก

พ ัฒนาการของเทคโนโลยี
ึ ษา
และนว ัตกรรมการศก
• ยุคสารสนเทศ – ตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2530 เป็ นต ้นมา
• นาคอมพิวเตอร์เข ้ามามีบทบาท
ื่
• เทคโนโลยีด ้านสอ
ื่ สาร
• เทคโนโลยีด ้านการสอ
• เทคโนโลยีด ้านระบบ
• เทคโนโลยีด ้านการสอน

ทีม
่ าภาพ : http://www.vcharkarn.com/varticle/58293

16
แนวคิดทีส ่ ผลให้เกิดนว ัตกรรมการศก
่ ง ึ ษา

(อดีต)
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล หาวิธก ี ารทีใ่ ห ้ผู ้เรียนได ้เรียน
ตามความสามารถ
2. ความพร ้อม การเรียนรู ้จะเกิดขึน
้ ได ้เมือ
่ ผู ้เรียนมีความพร ้อม

3. การใชเวลาเพื อ ึ ษา เป็ นการเปิ ดโอกาสให ้ใชเวลา
่ การศก ้
เรียนอย่างอิสระตามความสามารถและความต ้องการ
4. วิชาการและจานวนประชากร เปิ ดโอกาสให ้ทุกคนได ้ศก ึ ษา
อย่างกว ้างขวางและทั่วถึง

ทีม
่ า : ปรับจาก อรนุช ลิมตศิร ิ

แนวคิดทีส ่ ผลให้เกิดนว ัตกรรมการศก


่ ง ึ ษา

(ปัจจุบ ัน)
5. มีการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว
6. มีแนวโน ้มการเรียนรู ้ด ้วยตนเองสูงขึน

7. ความก ้าวหน ้าของเทคโนโลยีสารสนเทศทีส ่ ง่ ผลต่อการใช ้
นวัตกรรมการศก ึ ษาเพิม ่ มากขึน

8. จานวนประชากรวัยเรียนลดลง แต่จานวนประชากรผู ้สูงอายุ
เพิม
่ ขึน

9. โรคระบาดและสภาวะแวดล ้อม

ทีม
่ า : ปรับจาก อรนุช ลิมตศิร ิ

17
ประเภทของ
ึ ษา
นว ัตกรรมการศก
แบ่งเป็ น 5 ประเภท
1. นวัตกรรมทางด ้านหลักสูตร
2. นวัตกรรมการประเมินผล
3. นวัตกรรมการบริหารจัดการ
4. นวัตกรรมการเรียนการสอน
ื่ การสอน
5. นวัตกรรมสอ

ประเภทของ
ึ ษา
นว ัตกรรมการศก
1. นว ัตกรรมทางด้านหล ักสูตร เป็ นการใชวิ้ ธก
ี ารใหม่ๆเข ้ามาพัฒนา
หลักสูตรให ้ตอบสนองความต ้องการและสอดคล ้องกับสภาพแวดล ้อม

และยุคสมัย เชน
• หลักสูตรแบบบูรณาการ
• หลักสูตรรายบุคคล
• หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์
• หลักสูตรท ้องถิน

• หลักสูตรอบรม
• ฯลฯ

18
ประเภทของ
ึ ษา
นว ัตกรรมการศก
2. นว ัตกรรมการประเมินผล
• คลังข ้อสอบ
• ้
การใชคอมพิ วเตอร์ในการตัดเกรด
• การวัดผลแบบอิงกลุม ่ และแบบอิงเกณฑ์
• การประเมินผลเพือ ่ แก ้ข ้อบกพร่อง
• การเลือ ั ้ โดยอัตโนมัต ิ
่ นชน
• การประเมินผลก่อนเรียน
• ฯลฯ

ประเภทของ
ึ ษา
นว ัตกรรมการศก
3. นว ัตกรรมการบริหารจ ัดการ
• การจัดการศกึ ษาแบบเปิ ด
• การจัดตารางสอนแบบยืดหยุน ่
• การจัดการศก ึ ษานอกโรงเรียน
• การจัดโรงเรียนแบบไม่แบ่งชน ั้
• การลงทะเบียนผ่านอินเทอร์เน็ ต
• ้
การใชสมาร์ ทการ์ด เพือ
่ การใชบริ ้ การของสถานศก
ึ ษา
• ฯลฯ

19
ประเภทของ
ึ ษา
นว ัตกรรมการศก
4. นว ัตกรรมการเรียนการสอน เป็ นการใชวิ้ ธก ี ารระบบในการปรับปรุงและ
คิดค ้นวิธก
ี ารสอนแบบใหม่ เชน ่
• การสอนเป็ นรายบุคคล
• การสอนแบบกลุม ั พันธ์
่ สม
• การจัดการเรียนรู ้แบบเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ
• การสอนโดยเพือ ่ นชว่ ยเพือ ่ น
• การสอนแบบพีส ่ อนน ้องและการปรับพฤติกรรม
• การสอนแบบบูรณาการ
• การสอนแบบโมดูล
• การเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
• ฯลฯ

ประเภทของ
ึ ษา
นว ัตกรรมการศก
ื่ การสอน
5. นว ัตกรรมสอ
• ผลิตภัณฑ์/สงิ่ ประดิษฐ์
• แบบฝึ ก/ชุดฝึ ก/เอกสารประกอบการสอน
• ชุดการสอน/ชุดการเรียน
• บทเรียนสาเร็จรูป
• มัลติมเี ดีย
• CAI/ WBI/ e-Learning
• ฯลฯ

20
การนาเอานว ัตกรรมมาใชใ้ นการเรียนรู ้
้ ้วในอดีตแต่ไม่ได ้ผลมาปรับปรุง
• นานวัตกรรมทีเ่ คยใชแล
เพือ ้
่ ใชใหม่
• นานวัตกรรมทีม
่ อ
ี ยูแ ้ มรูปแบบ
่ ล ้วมาใชเต็
• นานวัตกรรมทีม
่ อ
ี ยูแ ้ ยงบางสว่ น
่ ล ้วมาใชเพี
• คิดค ้นหรือริเริม
่ สร ้างสรรค์ขน
ึ้ มาใหม่
สร ้างนวัตกรรม
การสอนดีกว่า

คาถามก่อนพ ัฒนานว ัตกรรม

1. ต ้องการแก ้ปั ญหาอะไร

่ ลลัพธ์อย่างไร
2. นาไปสูผ
นว ัตกรรม
้ ตกรรมนี้
3. ใครคือผู ้ใชนวั

4. มีขน
ั ้ ตอนการพัฒนาอย่างไร

21
แนวทางการพ ัฒนา
ึ ษา
นว ัตกรรมการศก

ศก ึ ษา
ผลการวิจัย คิดริเริม

ึ ษาทฤษฎี
ศก
ผลผลิตใหม่ๆ +
ทีเ่ กีย
่ วกับ ทฤษฎี
ทีเ่ กีย
่ วข ้อง นวัตกรรมและ +
เทคโนโลยี ผลงานวิจัย
การศก ึ ษา

ึ ษา
ระบบการพ ัฒนานว ัตกรรมการศก
1. ศก ึ ษาสภาพปั ญหาและความต ้องการในการพัฒนา – วิเคราะห์
สภาพปั จจุบัน/ จุดเด่นจุดด ้อย/ ความต ้องการในการพัฒนา
2. ออกแบบนวัตกรรม – จินตนาการ/ จัดลาดับความคิด/ แสวงหา
ข ้อสนับสนุนเพือ ้
่ ใชในการพั ฒนา
3. สร ้างหรือพัฒนานวัตกรรม – เตรียมทรัพยากร/ พัฒนาตาม
้ ตอน/ ตรวจสอบ/ สงั เคราะห์ผลและปรับปรุง/ กาหนดเกณฑ์
ขัน
การประเมินคุณค่า
4. ทดลองใช ้ – สร ้างเครือ
่ งมือรวบรวมข ้อมูลผลการทดลอง/ Try
Out/ ประเมินผล
5. สรุป รายงาน และเผยแพร่

ทีม
่ า : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
้ พืน
้ ฐาน

22
สงิ่ ทีต
่ อ
้ งคานึงถึง
เมือ
่ นาเทคโนโลยีและนว ัตกรรม
มาใชใ้ นการศก ึ ษา

1 ิ ธิภาพ (Efficiency)
ประสท

2 ิ ธิผล (Satisfaction)
ประสท

3 ประหยัด (Economy)

สงิ่ ทีต
่ อ
้ งคานึงถึง
เมือ
่ นานว ัตกรรมและเทคโนโลยี
มาใชใ้ นการศก ึ ษา
1 ิ ธิภาพ (Efficiency)
ประสท

• ในการเรียนการสอนต ้องให ้ผู ้เรียนได ้เรียน และผู ้สอนได ้สอน


อย่างเต็มความสามารถ เต็มหลักสูตร เต็มเวลา
• เกิดการเรียนรู ้เต็มความสามารถ (Full Energy) และเกิดความ
พอใจ (Satisfaction) ทีไ่ ด ้ใชส้ อ
ื่ นั น

23
สงิ่ ทีต
่ อ
้ งคานึงถึง
เมือ
่ นานว ัตกรรมและเทคโนโลยี
มาใชใ้ นการศก ึ ษา
2 ิ ธิผล (Satisfaction)
ประสท

• เพือ่ ให ้การจัดการเรียนการสอนบรรลุตามวัตถุประสงค์การเรียนรู ้
ทีต
่ งั ้ ไว ้
้ ตกรรมหรือ
• ทาให ้นั กเรียนเกิดการเรียนรู ้ได ้ดีกว่าการทีไ่ ม่ใชนวั
เทคโนโลยีนัน ้

สงิ่ ทีต
่ อ
้ งคานึงถึง
เมือ
่ นานว ัตกรรมและเทคโนโลยี
มาใชใ้ นการศก ึ ษา
3 ประหย ัด (Economy)

้ ตกรรมและเทคโนโลยีเข ้ามาชว่ ยในการจัดการ


• ในการใชนวั
เรียนการสอน ต ้องคานึงถึงสภาพความเหมาะสมตามฐานะ
• การประหยัด หมายถึง ประหยัดทัง้ เงิน ประหยัดเวลา และ
ประหยัดแรงงาน

24
ต ัวอย่าง .
ด้านเครือ
่ งมือ

บทเรียนโปรแกรม บทเรียนคอมพิวเตอร์
(Programmed Instruction)

คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
(Computer Assisted Instruction)

คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนแบบมัลติมเี ดีย


(Multimedia Computer Assisted Instruction)

เว็บช่วยสอน
(Web Based Instruction)

เว็บช่วยสอนแบบมัลติมเี ดีย
(Multimedia Web Based Instruction)

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
(e-Learning)

การเรียนทางไกล
(Distance Learning)

25
อินเทอร์เน็ ต

เครือ
่ งมือให ้บริการบนอินเทอร์เน็ต
(Internet Service Tools)

• Search Engine
• e-mail
• Web board
• blog
• Chat
ie firefox chrome safari

ปิ ดตานาน 26 ปี

E-book

ทีม
่ าภาพ : http://06550128-01.blogspot.com/

ทีม
่ าภาพ : http://exchangethailand.net/ความหมายของ-ebook

26
M-Learning

ทีม่ าภาพ : http://elearningmind.com/difference-elearning-mlearning/ ทีม


่ าภาพ : http://www.infocar.se/eu-project09/
ทีม
่ าภาพ : https://www.learndash.com/category/mlearning/page/2/ ทีม่ าภาพ : https://www.gotoknow.org/posts/531183

Interactive-board

ทีม ่ าภาพ : http://www.sbi-bd.com/?p=437


ทีม่ าภาพ : https://www.youtube.com/watch?v=uGYAQpb9w0A
ทีม
่ าภาพ : https://mypad.northampton.ac.uk/alexandragroverblog/2013/03/01/interactive-whiteboard/

27
MOOC

ระบบสือ่ สาระออนไลน์แบบเปิ ด
ของสวทช.
https://mooc.learn.in.th/

ทีม
่ าภาพ : https://www.linkedin.com/pulse/what-advantages-moocs-benefits-from-them-siyana-sokolova

่ ยสอน
Application ชว

28
Metaverse

ทีม
่ าภาพ : https://siamblockchain.com

้ ทีน
พืน ึ ษา
่ ว ัตกรรมการศก

29
30
21st Century skills

ทีม
่ าภาพ : http://pirun.kps.ku.ac.th/~b5620600955/page7.html

สงิ่ ทีค
่ รูตอ
้ งรู ้

31
ประโยชน์ของเทคโนโลยีและนว ัตกรรม
ทีม
่ ต
ี อ ึ ษา
่ การศก
1. ประโยชน์สาหรับผู ้เรียน
2. ประโยชน์สาหรับผู ้สอน
ึ ษา
3. ประโยชน์สาหรับการจัดการศก

ประโยชน์ของนว ัตกรรม
และเทคโนโลยีทม
ี่ ต
ี อ ึ ษา
่ การศก

1. ประโยชน์สาหรับผู ้เรียน

• ผู ้เรียนมีโอกาสใชความสามารถของตนเองในการเรี
ยนรู ้อย่าง
เต็มที่
ิ ใจเลือกเรียนตามชอ
• ผู ้เรียนมีโอกาสตัดสน ่ งทางทีเ่ หมาะกับ
ความสามารถของตนเอง
• ทาให ้กระบวนการเรียนรู ้ง่ายขึน

• ผู ้เรียนมีอส
ิ ระในการเลือก
• ผู ้เรียนสามารถเรียนรู ้ได ้ทุกเวลา ทุกสถานที่

32
ประโยชน์ของนว ัตกรรม
และเทคโนโลยีทม
ี่ ต
ี อ ึ ษา
่ การศก

1. ประโยชน์สาหรับผู ้เรียน (ต่อ)


ิ ธิภาพมากขึน
• ทาให ้การเรียนมีประสท ้
• ลดเวลาในการเรียนรู ้ทาให ้ผู ้เรียนสามารถเรียนรู ้ได ้มากกว่าเดิมใน
เวลาทีเ่ ท่ากัน
• ทาให ้ผู ้เรียนสามารถเรียนรู ้ได ้ทัง้ ในแนวกว ้างและแนวลึก
• ชว่ ยให ้ผู ้เรียนรู ้จักเสาะหาแหล่งการเรียนรู ้
• ฝึ กให ้ผู ้เรียนคิดเป็ น และสามารถแก ้ปั ญหาด ้วยตนเองได ้

ประโยชน์ของนว ัตกรรม
และเทคโนโลยีทม
ี่ ต
ี อ ึ ษา
่ การศก

2. ประโยชน์สาหรับผู ้สอน
ิ ธิภาพของการสอนสูงขึน
• ทาให ้ประสท ้
• ผู ้สอนสามารถจัดกิจกรรมได ้หลากหลาย
• ทาให ้ผู ้สอนมีเวลามากขึน ้
้ จึงใชเวลาที
เ่ หลือในการเตรียมการสอน
ได ้เต็มที่
• ทาให ้กระบวนการสอนง่ายขึน

• ลดเวลาในการสอนน ้อยลง
• สามารถเพิม
่ เนื้อหาและจุดมุง่ หมายในการสอนมากขึน

33
ประโยชน์ของนว ัตกรรม
และเทคโนโลยีทม
ี่ ต
ี อ ึ ษา
่ การศก

2. ประโยชน์สาหรับผู ้สอน (ต่อ)



• ผู ้สอนไม่ต ้องใชเวลาสอนทั ั ้ เรียน เพราะบทบาท
ง้ หมดอยูใ่ นชน
สว่ นหนึง่ ผู ้เรียนเป็ นผู ้ดาเนินการเอง
• ผู ้สอนสามารถแก ้ปั ญหาความไม่ถนั ดของตนเองได ้
่ ว ้างและลึกซงึ้ กว่าเดิม
• ผู ้สอนสามารถสอนผู ้เรียนได ้เนื้อหาทีก

• ง่ายในการประเมินเพราะการใชเทคโนโลยี
มงุ่ ให ้ผู ้เรียนประเมิน
ตนเองด ้วย

ประโยชน์ของนว ัตกรรม
และเทคโนโลยีทม
ี่ ต
ี อ ึ ษา
่ การศก

ึ ษา
3. ประโยชน์สาหรับการจัดการศก
่ งว่างทางการศก
• ทาให ้ลดชอ ึ ษาให ้น ้อยลง
• สามารถเปิ ดโอกาสของการเรียนรู ้ได ้อย่างแท ้จริง
• สามารถสร ้างผู ้เรียนทีม
่ ป ิ ธิภาพมากกว่าเดิม
ี ระสท
• ทาให ้การจัดการและการบริหารเป็ นระบบมากขึน


• ทาให ้ลดการใชงบประมาณและสามารถใช ้
งบประมาณที
ม ่ อ
ี ยูใ่ ห ้
คุ ้มค่า
ึ ษาได ้หลายประการ
• สามารถแก ้ปั ญหาทางการศก

34
ึ ษา : สรุป
เทคโนโลยีและนว ัตกรรมการศก

• เป็ นการนา ว ัสดุ เครือ


่ งมือ และวิธก ้
ี าร มาใชในการ
ปรับปรุงการศก ึ ษา
• โดยนามาเพิม ิ ธิภาพ เพิม
่ ประสท ิ ธิผล และ
่ ประสท
เกิดความประหย ัดคุ ้มค่า
• เพือ
่ ให ้เกิดประโยชน์ตอ
่ ผูเ้ รียน ผูส
้ อน และการจ ัด
การศก ึ ษา

งานเดีย
่ ว #1

ั พันธ์ของเทคโนโลยีการศก
1. จงอธิบายความสม ึ ษา และนวัตกรรมการศก
ึ ษา
ึ ษา
2. จงอธิบายหลักในการพิจารณานวัตกรรมการศก
ึ ษาในด ้านใดบ ้าง และสาคัญ
3. นวัตกรรมมีความสาคัญต่อการจัดการศก
อย่างไร
4. ครูมบ ึ ษา
ี ทบาทอย่างไรในการนาเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมการศก

มาใชในการจั ดการเรียนการสอน
ึ ษาทีไ่ ด ้รับความนิยมในปั จจุบัน
5. จงยกตัวอย่างของเทคโนโลยีการศก
จานวน 5 รายการ

35

You might also like