You are on page 1of 36

แบบทดสอบอิงมาตรฐาน

เนนการคิด
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนอานออก เขียนได คิดคํานวณเปน มุงใหเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต
เตรียมตัวเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแขงขันไดในอนาคต การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดมุงหมายดังกลาว
จึงควรใหผูเรียนฝกฝนการนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาได ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของผูเรียน ทางโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด จึงไดจัดทําแบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด
โดยดําเนินการวิเคราะหสาระการเรียนรูที่สําคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นป แลวนํามากําหนดเปนระดับพฤติกรรมการคิด
เพื่อสรางแบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ดังน�้
1 วัดผลการเรียนรู 2 เนนใหผูเรียนเกิดการคิด ผูสอนสามารถนําแบบทดสอบน�้ไปใชเปนเครื่องมือวัด
และประเมินผล รวมทั้งเปนเครื่องบงชี้ความสําเร็จและรายงาน
คุณภาพของผูเรียนแตละคน เพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของนักเรียนใหมีความสามารถในดานการใชภาษา ดานการ
คิดคํานวณ และดานเหตุผล สําหรับรองรับการประเมินผลผูเ รียน
ที่สอดคลองกับมาตรฐาน ตามระดับพฤติกรรมการคิด ในระดับประเทศ (O-NET) และระดับนานาชาติ (PISA) ตอไป
ตัวชี้วัดชั้นปทุกขอ ที่ระบุไวในตัวชี้วัด

แบบทดสอบ
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด ที่จัดทําโดย โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ประกอบดวย
แบบทดสอบ 3 ชุด แตละชุดมีทั้งแบบทดสอบปรนัย และแบบทดสอบอัตนัย โดยวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด และระดับพฤติกรรมการคิด
ที่สัมพันธกับแบบทดสอบไวอยางชัดเจน เพื่อใหผูสอนนําไปใชเปนเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ

โครงการบูรณาการ
ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
ระดับ ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ชุดที่ มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด พฤติกรรม ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
การคิด
1 1 A ความรู ความจํา 6, 19, 27, 34 4
ส 4.1
2 2-3 B ความเขาใจ 2, 7, 10, 18, 26, 28-29, 31-33, 36-37, 40 13

1 28-34 C การนําไปใช - -
ส 4.2
1 2

1
35-40

4-8, 10-15, 17-21


D การวิเคราะห 1, 4-5, 8-9, 11-12, 14-17, 20-22, 24-25,
30, 35, 38-39
20

2 9, 16 E การสังเคราะห 3, 13 2
ส 4.3
3 23-27 F การประเมินคา 23 1

4 22

หมายเหตุ : มีเฉลยและคําอธิบายเชิงวิเคราะห อยูทายแบบทดสอบชุดที่ 3

(1) โครงการวัดและประเมินผล
ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
ระดับ ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ชุดที่ มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด พฤติกรรม ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
การคิด

ส 4.1 1 1, 3 A ความรู ความจํา 12, 18, 30 3

2 2 B ความเขาใจ 7-8, 11, 15, 21, 24, 26, 34, 39 9

1 28-34 C การนําไปใช 14, 20 2


ส 4.2
D การวิเคราะห
2 2

1
35-40

5-8, 10-15, 17-21


1-4, 9-10, 16, 22-23, 25, 28-29,
31-33, 35-38, 40
20

2 4, 9, 16 E การสังเคราะห 6, 13 2
ส 4.3
3 23-27 F การประเมินคา 5, 17, 19, 27 4
แบบทดสอบ

4 22

ส 4.1 1 1, 3 A ความรู ความจํา 1, 31, 34 3

2 2 B ความเขาใจ 5, 13, 18-20, 23, 26, 29-30, 33, 36, 39-40 13

1 28-34 C การนําไปใช - -
ส 4.2
โครงการบูรณาการ

D การวิเคราะห
3 2

1
35-40

5-8, 10-21
2-4, 6-12, 15-17, 21-22, 24-25, 27-28,
32, 35, 37-38
23

2 4, 9 E การสังเคราะห 14 1
ส 4.3
3 23-27 F การประเมินคา - -

4 22

โครงการวัดและประเมินผล (2)
แบบทดสอบว�ชา ประวัติศาสตร ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
ชุดที่ 1 ¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 40

แบบทดสอบ
1. การกําหนดหัวเรือ่ งมีประโยชนตอ การศึกษาประวัตศิ าสตร 4. ขอใด ไมใช สาเหตุของการยายราชธานีจากกรุงธนบุรี
D อยางไร D ขามมายังฝงตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยา
1. เพื่อระบุความสนใจของผูที่จะศึกษา 1. บริเวณที่ตั้งกรุงธนบุรีเปนที่ทองคุง นํ้ากัดเซาะตลิ่งพัง
2. เพื่อปองกันไมใหไปศึกษาซํ้ากับผูอื่น อยูเสมอ
3. ทําใหทราบขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษา 2. เกรงวาจะไมปลอดภัย เพราะขาศึกลวงรูแผนที่ภายใน
4. ทําใหทราบแหลงรวบรวมขอมูลทางประวัตศิ าสตร กรุงธนบุรีหมดแลว

โครงการบูรณาการ
2. สุชาติตองการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตรเกี่ยวกับ 3. ฝงตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยามีชัยภูมิที่ดีในการ
B การตั้งถิ่นฐานของชาวมอญที่เมืองพระประแดงในสมัย ปองกันการโจมตีของขาศึก
รัตนโกสินทร เขาจะตองทําสิ่งใดเปนอันดับตอไปตาม 4. มีวัดตั้งขนาบอยูทั้ง 2 ขางของพระราชวัง ทําใหไม
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร สะดวกในการขยายพระราชวัง
1. การกําหนดหัวเรื่อง 5. การทีร่ ชั กาลที่ 3 ทรงแตงเรือสําเภาไปคาขายยังตางประเทศ
2. การรวบรวมหลักฐาน D สงผลดีตอชาติไทยอยางไร
3. การประเมินคุณคาของหลักฐาน 1. ทําใหทองพระคลังมีรายไดเพิ่มขึ้น
4. การวิเคราะห สังเคราะห และจัดหมวดหมูขอมูล 2. ทําใหไทยมีชื่อเสียงในฐานะเปนประเทศผูนําทาง
3. จากการศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร นักเรียนคิดวา การคา
E ขอใดเปนคุณสมบัติที่นักประวัติศาสตรพึงมี 3. ทําใหชาวตางชาติรูจักสินคาทางการเกษตรที่สําคัญ
1. เปนนักอานพงศาวดารและจดหมายเหตุ ของไทย
2. เปนนักฟงตํานาน นิทานพื้นบานอยูเสมอ 4. ทําใหไทยเปนศูนยกลางในการรับซือ้ และขายขาวไปยัง
3. เปนนักวิเคราะหโดยอาศัยหลักฐานทางประวัติศาสตร ตางประเทศในภูมิภาค
4. เปนผูที่มีความเชื่อวาประวัติศาสตรยอมซํ้ารอยเสมอ

ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา


A B C D E F

(3) โครงการวัดและประเมินผล
6. ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน สินคาตองหามทีท่ างราชการ อานขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามขอ 12.-13.
A กําหนดใหพอคาตางชาติตองนํามาขายใหแกราชสํานัก
โดยตรงคือขอใด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเปน
1. สัตวเลี้ยง พระมหากษัตริยข องไทยและของภูมภิ าคเอเชียตะวัน-
2. เครื่องเทศ ออกเฉียงใตพระองคแรกที่เสด็จประพาสตางประเทศ
3. ขาวเปลือก ทั้งในทวีปเอเชียและทวีปยุโรป รวมทั้งสิ้นหลายครั้ง
4. ปนและกระสุนดินดํา ครั้งที่นับไดวามีความสําคัญมากที่สุด คือ การเสด็จ
ประพาสยุโรปครั้งที่ 1 พ.ศ. 2440 เพราะเปนการ
7. ศักดินามีความสําคัญตอสังคมไทยในสมัยรัตนโกสินทร เสริมสรางความมั่นคงและการรักษาเอกราชของชาติ
B ตอนตนอยางไร
นอกจากนี้ ยังทําใหชาวตางชาติมีความรูความเขาใจ
1. บอกถึงจํานวนการถือครองที่ดิน เมืองไทยมากขึน้ และชืน่ ชมผูน าํ ไทยวาทรงเปนกษัตริย
2. บอกถึงจํานวนไพรบริวารในสังกัด สมัยใหมที่ทรงปฏิรูปประเทศใหทันสมัย
3. บอกถึงสถานภาพของคนในสังคม
4. บอกถึงตําแหนงหนาที่ทางราชการ 12. สถานการณโลกในขอใดเปนปจจัยสําคัญที่ทําให
8. ความสัมพันธระหวางไทยกับชาติตะวันตกในสมัย D รัชกาลที่ 5 ทรงสรางสัมพันธไมตรีกับตางประเทศ
D รัตนโกสินทรตอนตน สวนใหญจะเนนเรื่องใด 1. การสํารวจทางทะเล
แบบทดสอบ

1. การเมือง 2. การฟนฟูศิลปวิทยาการ
2. เศรษฐกิจ 3. การแสวงหาอาณานิคม
3. การทําสงคราม 4. การปฏิวัติอุตสาหกรรม
4. การแสวงหาพันธมิตร 13. ขอใดเปนหลักฐานชัน้ ตนทีค่ วรใชในการศึกษาประวัตศิ าสตร
9. ขอใดเปนปจจัยสําคัญที่สงเสริมพระปรีชาสามารถ E เกี่ยวกับการเสด็จประพาสยุโรปของรัชกาลที่ 5
โครงการบูรณาการ

D ของผูนําไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ 1. พระราชนิพนธ ไกลบาน


1. การประพาสตางประเทศ 2. จดหมายเหตุเสด็จประพาสตน
2. การนับถือพระพุทธศาสนา 3. หนังสือ เรื่อง ความทรงจําจากพระพุทธเจาหลวง
3. การศึกษาในวิทยาลัยหลวง โดยชาลี เอี่ยมกระสินธุ
4. การศึกษาวิทยาการตะวันตก 4. หนังสือ เรื่อง ใตรมพระบารมี จักรีนฤบดินทร
10. รัชกาลที่ 6 ทรงวางรากฐานการปกครองระบอบ สยามินทราธิราช โดยราชบัณฑิตยสถาน
B ประชาธิปไตยดวยวิธีใด 14. เพราะเหตุใดไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศจึงตอง
1. ตั้งกิจการลูกเสือและใหประชาชนดูแลกันเอง D ยอมทําสนธิสัญญาเบาวริง ซึ่งนับวาเปนสนธิสัญญาที่
2. จัดตั้งเทศบาลจากการเลือกตั้งของประชาชน เสียเปรียบกับชาติตะวันตก
3. ใหสทิ ธิเสรีภาพแกประชาชนในการแสดงความคิดเห็น 1. ถูกหลอกใหทําสนธิสัญญา
4. ตัง้ วรรณคดีสโมสรเพือ่ เผยแพรงานเขียนประชาธิปไตย 2. ไมทราบภาษาตางประเทศ
11. นายมิง่ เคยเปนไพร แตเมือ่ รัชกาลที่ 5 ทรงยกเลิกระบบไพร 3. ถูกชาติตะวันตกใชกําลังทหารบังคับ
D นายมิง่ ไดเรียนหนังสือ เมือ่ เรียนจบแลวไดเขารับราชการ 4. ปองกันความขัดแยงเพื่อรักษาเอกราช
เปนขุนนางและมีฐานะดี การที่นายมิ่งเปลี่ยนสถานะไป 15. สนธิสัญญาเบาวริงมีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจไทยขอใด
เชนนี้เพราะผลจากขอใดเปนสําคัญ D มากที่สุด
1. การปฏิรูปทางสังคม 1. ทําใหการคาตางประเทศขยายตัว
2. การปฏิรูปทางการศึกษา 2. ทําใหระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลง
3. การปฏิรูปทางเศรษฐกิจ 3. ทําใหเกิดโรงงานอุตสาหกรรมในไทย
4. การปฏิรูปทางการปกครอง 4. ทําใหชาวตะวันตกมีบทบาทแทนชาวจีน

โครงการวัดและประเมินผล (4)
16. สถาบันพระมหากษัตริยมีอิทธิพลตอความมั่นคงและ 22. การสรางบทบาทของไทยสมัยประชาธิปไตยตอสังคมโลก
D ความเจริญรุงเรืองของไทยอยางไร D มีลักษณะสอดคลองกับคํากลาวในขอใด
1. เปนสถาบันหลักของชาติ 1. ทาดีทีเหลว 2. สามัคคีคือพลัง
2. เปนสถาบันที่มีความมั่นคง 3. เขียนเสือใหวัวกลัว 4. ชาชาไดพราเลมงาม
3. เปนศูนยรวมจิตใจของคนไทย 23. คํากลาวที่วา “ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยเปนมรดก
4. เปนแบบอยางที่ดีของราษฎรชาวไทย F ของคนไทย” มีความหมายตรงกับขอใดมากที่สุด
17. เพราะเหตุใดรัชกาลที่ 7 จึงทรงยอมรับการเปลี่ยนแปลง 1. เปนสิ่งมีคุณคาที่ควรรักษาไว
D การปกครองของคณะราษฎร 2. เปนมรดกทางวัตถุที่จับตองได
1. ขาดกําลังที่จะตอสู 3. มีประวัติความเปนมาอันยาวนาน
2. ไมอยากใหคนไทยรบกันเอง 4. มีการถายทอดจากบรรพบุรุษสูลูกหลาน
3. เพื่อรักษาชีวิตของตัวประกัน 24. สภาพแวดลอมและจินตนาการของผูท อผาสงผลตอผาทอ
4. เกรงอํานาจของคณะราษฎร D ในเรื่องใดมากที่สุด
18. สาเหตุสําคัญที่ทําใหนิสิตนักศึกษาออกมาชุมนุมประทวง 1. ขนาดของผา 2. การกําหนดราคา
B จนเกิดเหตุการณ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 คือขอใด 3. ลวดลายบนผืนผา 4. ประโยชนในการใชสอย

แบบทดสอบ
1. ปญหาเศรษฐกิจตกตํ่าในชวง พ.ศ. 2519 25. ศิลปนผูส รางงานเครือ่ งไมจาํ หลัก นอกจากจะตองมีความ
2. การแทรกแซงระบอบรัฐสภาโดยคณะทหาร D สามารถทางศิลปกรรมแลว ควรมีคุณสมบัติตามขอใด
3. ความไมพอใจที่จอมพลถนอม กิตติขจร เดินทางกลับ 1. มีความจําดี 2. เคยอุปสมบท
เขามาในประเทศไทย 3. มีรางกายแข็งแรง 4. มีความสุขมุ ละเอียดลออ
4. ความไมพอใจที่รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517 26. วัตถุประสงคสาํ คัญของการกอตัง้ มูลนิธสิ ง เสริมศิลปาชีพฯ
ไมมีความเปนประชาธิปไตย

โครงการบูรณาการ
B คือขอใด
19. ขอใดคือนโยบายเศรษฐกิจของไทยสมัยรัฐบาล 1. เปนอาชีพเสริมเพิ่มพูนรายได
A จอมพล ป. พิบูลสงคราม 2. เพื่อฝกสอนงานศิลปะใหแกราษฎร
1. จัดตั้งเขตอุตสาหกรรมในภูมิภาค 3. สนับสนุนและสงเสริมภูมิปญญาไทย
2. ใหคนไทยดํารงชีวิตอยางพอเพียง 4. ใชทรัพยากรในทองถิ่นใหเกิดประโยชนสูงสุด
3. สงเสริมใหคนไทยใชสินคาที่ผลิตในประเทศ 27. เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป หมายถึงบุคคลสําคัญในขอใด
4. สนับสนุนใหชาวตางชาติเขามาลงทุนอยางเสรี A 1. หลวงวิจิตรวาทการ
20. การลดคาเงินบาทสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท 2. พระยาอนุมานราชธน
D มีผลอยางไร 3. พระยาอนุมานราชธนและพระสารประเสริฐ
1. ชวยสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศ 4. พระยาอนุมานราชธนและหลวงวิจิตรวาทการ
2. ชวยใหหนี้สาธารณะของรัฐบาลลดลง 28. ขอใดอธิบายความหมายของคําวา “ยุคของขุนนางฟวดัล”
3. ชวยทําใหหนี้ของผูประกอบการลดลง B ไดชัดเจนที่สุด
4. ชวยแกไขปญหาเงินเฟอภายในประเทศ 1. ขุนนางมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ
21. ขอใดมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย 2. ขุนนางเขาควบคุมกลไกการบริหารประเทศผานทาง
D สมัยประชาธิปไตยมากที่สุด รัฐสภา
1. การนับถือศาสนา 3. อํานาจการปกครองอยูในมือขุนนางเจาของที่ดิน
2. อุดมการณทางการเมือง เปนการปกครองแบบกระจายอํานาจ
3. การเพิ่มจํานวนของประชากร 4. กษัตริยมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยมี
4. ความเจริญทางดานเทคโนโลยี ขุนนางคอยใหความชวยเหลืออยางใกลชิด
(5) โครงการวัดและประเมินผล
29. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับแมเนอร 35. สงครามโลกครั้งที่ 2 มีความแตกตางจากสงครามโลก
B 1. เศรษฐกิจแบบเลี้ยงตัวเอง D ครั้งที่ 1 อยางชัดเจนในประเด็นใด
2. เศรษฐกิจแบบบริษัทรวมทุน 1. การเขารวมสงครามของสหรัฐอเมริกา
3. เศรษฐกิจแบบทุนนิยม โดยสงเสริมการคาอยางเสรี 2. การที่สหภาพโซเวียตไมไดเขารวมสงคราม
4. เศรษฐกิจและการคาขึ้นอยูกับองคกรการคาและ 3. การขยายพืน้ ทีข่ องสมรภูมแิ ละความรายแรงของอาวุธ
สมาคมชางฝมือ 4. การยุตคิ วามขัดแยงและจัดตัง้ องคการระหวางประเทศ
30. การวิพากษวิจารณและการแสดงออกของมารติน ลูเทอร 36. การปดกั้นเบอรลิน สงครามเกาหลี วิกฤตการณขีปนาวุธ
D ในคริสตศตวรรษที่ 16 สงผลกระทบสําคัญตอสังคมยุโรป B ที่คิวบา มีความสัมพันธกับเหตุการณสําคัญในขอใด
อยางไร 1. สงครามเย็น
1. เปนการทาทายอํานาจของคริสตจักร 2. สงครามโลกครั้งที่ 1
2. เปนการโจมตีการใชชีวิตที่หรูหราของขุนนาง 3. สงครามโลกครั้งที่ 2
3. เปนจุดเริ่มตนของการปฏิวัติในยุโรปตะวันตก 4. สงครามประกาศเอกราชของดินแดนอาณานิคม
4. เปนการทาทายและตอตานอํานาจของผูค รองรัฐเยอรมัน 37. ขอใดคือบทบาทของสหรัฐอเมริกาภายหลังสงครามเย็นยุตลิ ง
31. สาระสําคัญของหลักการมอนโรคือขอใด B 1. ปราบปรามขบวนการกอการรายทั่วโลก
B 1. อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศมาจากประชาชน 2. ดําเนินนโยบายตางประเทศผานสหประชาชาติ
แบบทดสอบ

2. ทวีปอเมริกาทัง้ หมดจะปกครองในระบอบประชาธิปไตย 3. สกัดกั้นการพัฒนาอาวุธนิวเคลียรของประเทศอื่น


3. สหรัฐอเมริกาแบงแยกอํานาจการปกครองออกเปน 4. โจมตีประเทศที่ตอตานสหรัฐอเมริกาอยางเปดเผย
3 ฝาย 38. องคการระหวางประเทศที่เกิดขึ้นในคริสตศตวรรษที่ 20
4. หามประเทศในทวีปยุโรปเขามาแสวงหาผลประโยชน D สะทอนใหเห็นถึงสิ่งใดมากที่สุด
ในสหรัฐอเมริกา 1. ความเปนเอกภาพของนานาประเทศ
โครงการบูรณาการ

32. ทวีปอเมริกาเหนือมีลักษณะเศรษฐกิจตรงตามขอใด 2. การแสดงอํานาจและอิทธิพลของชาติมหาอํานาจ


B 1. เอกชนแขงขันกันทางธุรกิจไดอยางเสรี 3. ความตองการสันติภาพและความรวมมืออยางจริงจัง
2. รัฐเขาไปสงเสริมการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม 4. การเปนตัวกลางในการแสดงศักยภาพดานตางๆ ของ
3. รัฐเขามาควบคุมกิจการทุกอยางแตเพียงผูเดียว ประเทศสมาชิก
4. เอกชนสามารถลงทุนไดเฉพาะภาคอุตสาหกรรมเทานัน้ 39. ขอใดคือสาเหตุสาํ คัญทีท่ าํ ใหองคการสหประชาชาติประสบ
33. ซิโมน โบลิวาร กับโฮเซ เดอ ซานมารตนิ เหมือนกันในขอใด D กับความลมเหลวในการรักษาสันติภาพของโลกในชวง
B 1. ปลูกฝงแนวคิดชาตินิยมใหกับชาวลาตินอเมริกา กอน ค.ศ. 1990
2. มีความตั้งใจขับไลสเปนออกจากบานเกิดเมืองนอน 1. ขาดแคลนเงินทุน
3. ไดรับอิทธิพลทางความคิดเรื่องสิทธิ เสรีภาพ และ 2. ขาดอํานาจบังคับเด็ดขาด
ความเสมอภาคจากตะวันตก 3. ไมมีกองกําลังรักษาสันติภาพ
4. สงเสริมความกาวหนาทางเศรษฐกิจและการพัฒนา 4. ชาติมหาอํานาจไมใหความรวมมือ
อุตสาหกรรมในลาตินอเมริกา 40. หากไทยมีกรณีขดั แยงเรือ่ งการขายขาวกับเวียดนาม และ
34. ขอใดหมายถึงการลงคะแนนเสียงแบบออสเตรเลีย B ไมสามารถหาขอยุตไิ ด นักเรียนคิดวาหนวยงานใดมีความ
A (Australian Ballot) เหมาะสมที่สุดในการยุติขอขัดแยงดังกลาว
1. การลงคะแนนโดยวิธีลับ 1. สหภาพยุโรป
2. การลงคะแนนโดยการยกมือ 2. องคการนาโต
3. การลงคะแนนโดยการขานชื่อ 3. องคการการคาโลก
4. การลงคะแนนโดยชาวออสเตรเลียทั้งหมด 4. องคการสหประชาชาติ

โครงการวัดและประเมินผล (6)
ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 5 ขอ ขอละ 2 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10

1. นักเรียนสามารถนําวิธีการทางประวัติศาสตรมาใชในการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับตนเองที่สนใจไดอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. เหตุผลใดที่ทําใหรัชกาลที่ 1 ทรงเลือกทําเลที่ตั้งฝงตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยาเปนที่ตั้งราชธานีแหงใหมแทนกรุงธนบุรี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. การยกเลิกระบบไพรและทาสสงผลตอสังคมไทยในขณะนั้นอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โครงการบูรณาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. การเมืองไทยสมัยประชาธิปไตยตั้งแต พ.ศ. 2475-ปจจุบัน มีพัฒนาการความเปนมาโดยสังเขปอยางไร


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. เมื่อเขาสูประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะไดรับประโยชนอยางไรบาง


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(7) โครงการวัดและประเมินผล
แบบทดสอบว�ชา ประวัติศาสตร ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
ชุดที่ 2 ¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 40
1. เพราะเหตุใดจึงตองใชวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรในการศึกษา 4. ขอใดเปนประโยชนสาํ คัญของไทยจากการตัง้ ราชธานีใกล
D ประวัตศิ าสตร D ทะเล
แบบทดสอบ

1. หาความจริงจากขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร 1. ทําใหประชาชนมีรายไดจากการประมง
2. จะไดเขาใจขั้นตอนในการศึกษาประวัติศาสตร 2. สะดวกตอการติดตอคาขายกับตางประเทศ
3. จัดหมวดหมูขอมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร 3. สะดวกตอการเคลื่อนยายกําลังพลในยามสงคราม
4. หาจุดประสงคของผูสรางหลักฐานทางประวัติศาสตร 4. เหมาะสมตอการเพาะปลูกพืชผักผลไมนานาชนิด
2. นารีและนาราใชขอมูลเดียวกันในการเขียนรายงาน 5. การคาขายในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ฝายไทยตองอาศัย
D ประวัติศาสตรเรื่อง สมเด็จพระสุริโยทัย แตปรากฏวางาน F ชาวจีนเปนผูช ว ยเหลือทําการคาขายให เนือ่ งจากชาวจีนมี
โครงการบูรณาการ

ของนารีมคี ณุ คามากกวางานของนารา ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั ขอใด คุณสมบัติเดนตามขอใด


1. การตั้งสมมติฐาน 1. ถนัดในการเจรจา
2. การคัดเลือกขอมูล 2. พูดไดหลายภาษา
3. การนําเสนอขอมูล 3. เชี่ยวชาญในการคา
4. การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูล 4. มีความรักพวกพอง
3. “รัชกาลที่ 2 จึงโปรดใหสมเด็จพระอนุชาธิราช 6. สาระสําคัญของสนธิสัญญาเบอรนียที่ไทยทํากับอังกฤษ
D กรมพระราชวังบวรสถานมงคลเปนแมกอง เสด็จ E สามารถสรุปไดวาอยางไร
ลงไปทํ า เมื อ งขึ้ น ที่ ป ากลั ด ตั ด เอาท อ งที่ แ ขวง 1. ใหไทยสงขาวออกไปขายได
กรุงเทพมหานครบาง แลแขวงเมืองสมุทรปราการบาง 2. อังกฤษตั้งสถานีการคาในไทยได
รวมกันตั้งขึ้นเปนเมืองใหมอีกเมือง 1 พระราชทาน 3. ใหไทยเหมาเก็บภาษีสินคาอังกฤษ
ชื่อวา เมืองนครเขื่อนขันธ” 4. อังกฤษไดรับสิทธิพิเศษทางการคา
จากขอความขางตน ขอใดคือเหตุผลที่ทําใหรัชกาลที่ 2 7. “เจาพระยามหาเสนาสมุหนายก” สวนใดเปนราชทินนาม
B 1. เจาพระยา
ทรงสรางเมืองนครเขื่อนขันธ 2. มหาเสนา
1. เพื่อเปนเมืองทาคาขายกับตางชาติ 3. สมุหนายก
2. เพื่อเปนแหลงระดมพลกอนทําสงคราม
3. เพื่อเปนแหลงรวมเชลยที่จับมาไดในสงคราม 4. เจาพระยามหาเสนา
4. เพื่อเปนปอมปราการไวปองกันขาศึกทางทะเล
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F

โครงการวัดและประเมินผล (8)
8. ความสัมพันธระหวางไทยกับพมาในสมัยรัตนโกสินทร 14. ถานักเรียนประกอบอาชีพเปนเกษตรกรในสมัยรัชกาลที่ 4
B ตอนตนมีลักษณะตรงตามขอใด C นักเรียนจะเลือกปลูกพืชชนิดใด จึงจะตอบสนองตอการ
1. คูสงคราม เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยหลังสนธิสัญญาเบาวริง
2. คูคาทางเศรษฐกิจ 1. ออย 2. พริก
3. ความสัมพันธทางการทูตที่ดี 3. ขาว 4. ยางพารา
4. ตางคนตางอยู ไมยุงเกี่ยวซึ่งกันและกัน 15. จุดมุงหมายเริ่มแรกของการปฏิรูปการศึกษาในสมัย
9. การที่ทําเลที่ตั้งของไทยตั้งอยูระหวางอาณานิคมของ B รัชกาลที่ 5 คือขอใด
D อังกฤษกับฝรั่งเศส สงผลดีตอชาติไทยอยางไร 1. ผลิตคนเขารับราชการ
1. ไทยสงสินคาไปขายในอาณานิคมของทั้งสองประเทศ 2. ไมใหชาวตางชาติดูถูก
2. ไทยไมตอ งทําสงครามกับรัฐใกลเคียงทีเ่ ปนอาณานิคม 3. ลดชองวางระหวางชนชั้น
3. อังกฤษกับฝรั่งเศสไมกลารุกรานไทยเพราะเกรงจะ 4. ใหคนไทยไปศึกษายังตางประเทศ
ขัดแยงกัน 16. ปจจัยทีส่ ง ผลตอความมัน่ คงและความเจริญรุง เรืองของไทย
4. ไทยมีความสัมพันธใกลชิดกับอังกฤษและฝรั่งเศส D สมัยประชาธิปไตยมีอยูหลายประการ ยกเวน ขอใด
มากยิ่งขึ้น 1. การมีทรัพยากรธรรมชาติทสี่ มบูรณ
10. ขอใดเปนเหตุผลที่ทําใหรัชกาลที่ 5 ทรงจัดการปกครอง 2. การเริ่มจางชาวตางชาติมาชวยราชการ

แบบทดสอบ
D สวนภูมิภาคใหเปนแบบเทศาภิบาล 3. นโยบายทางดานการตางประเทศของไทย
1. จะไดดูแลไดทั่วถึง 4. พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย ไทย
2. ตรวจสอบไดสะดวก 17. การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สะทอนใหเห็น
3. ประหยัดงบประมาณ F ลักษณะนิสัยของคนไทยสอดคลองกับขอใด
4. จํานวนขาหลวงมีนอย 1. ยอมหักไมยอมงอ 2. รูแพ รูชนะ รูอภัย

โครงการบูรณาการ
11. การปฏิรูปการปกครองสวนภูมิภาคที่เดนชัดที่สุดในสมัย 3. รูจักประนีประนอม 4. ชอบทดแทนบุญคุณ
B รัชกาลที่ 5 คือขอใด 18. เหตุการณการชุมนุมในระหวางวันที่ 17-20 พฤษภาคม
1. การยกเลิกเมืองลูกหลวง A พ.ศ. 2535 เรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะไร
2. การตั้งเจาเมืองจากสวนกลางออกไปปกครอง 1. เหตุการณมหาวิปโยค
3. การตั้งสภาบริหารราชการแผนดินในแตละหัวเมือง 2. เหตุการณพฤษภาทมิฬ
4. การยกเลิกระบบกินเมือง และรวมเมืองทั้งหลาย 3. เหตุการณประชาธิปไตยทมิฬ
เขาเปนมณฑลเทศาภิบาล 4. เหตุการณวันประชาตอตานเผด็จการ
12. รัชกาลที่ 4 ทรงปรับปรุงดานการเงินของไทยดวยวิธีใด 19. การมีแผนพัฒนาฯ เปนแผนแมบท กอใหเกิดผลดีอยางไร
A 1. ตั้งกระทรวงการคลัง F 1. รัฐสงเสริมการทองเที่ยว
2. ตั้งโรงกษาปณสิทธิการ 2. รัฐเนนลงทุนดานอุตสาหกรรม
3. ตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน 3. รัฐสามารถจะจัดสรรงบไดถูกตอง
4. กําหนดหนวยเงินที่เรียกวา สตางค 4. รัฐรูอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
13. ขอใดคือผลกระทบโดยตรงตอโครงสรางรายไดของไทย 20. ในฐานะที่นักเรียนเปนประชาชนคนหนึ่ง จะมีสวนชวยใน
E จากการทําสนธิสัญญาเบาวริง C การพัฒนาเศรษฐกิจของชาติไทยไดโดยวิธีใด
1. การยกเลิกภาษีปากเรือ 1. ใชจายเงินอยางประหยัด
2. การยกเลิกพระคลังสินคา 2. ใชสินคาที่ผลิตในเมืองไทย
3. การอนุญาตนําฝนเขามาขายโดยเสรี 3. ศึกษาปญหาเศรษฐกิจอยางลึกซึ้ง
4. การสงออกขาวไปขายยังตางประเทศ 4. ปฏิบัติตนตามแผนพัฒนาฯ อยางเครงครัด

(9) โครงการวัดและประเมินผล
21. นโยบายตางประเทศของไทยสมัยสงครามเย็นมีลักษณะ 27. “การสรางอาคารสมัยใหมนี้เปนเกียรติของผูสราง
B อยางไร F เพียงคนเดียว แตโบราณสถานนัน้ เปนเกียรติของชาติ
1. รวมมือกับทุกฝาย อิฐเพียงแผนเดียวก็มคี า ควรทีเ่ ราจะไดชว ยกันรักษาไว
2. ยึดมั่นความเปนกลาง ถาเราขาดสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทรแลว
3. ไมเขาไปเกี่ยวของกับสงครามเย็น ประเทศไทยก็ไมมีความหมาย”
4. สนับสนุนกลุมประเทศประชาธิปไตย
จากพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมพิ ล-
22. เพราะเหตุใดประเทศไทยสมัยประชาธิปไตยจึงตองสราง อดุลยเดชดังกลาวขางตน สะทอนใหเห็นถึงเรื่องใด
D บทบาทของตนในสังคมโลก
มากที่สุด
1. หวังเพิ่มอํานาจการตอรอง 1. การสรางชาติ คือ การสรางวัฒนธรรม
2. หวังเปนประเทศมหาอํานาจ 2. การรักษามรดกทางวัฒนธรรม คือ การรักษาชาติ
3. ชวยสรางสันติภาพใหกับโลก 3. โบราณสถานเปนรากเหงาสําคัญของวัฒนธรรมไทย
4. เปนขอตกลงระหวางประเทศ 4. ประเทศไทยจะไรความหมายถาขาดโบราณสถานทีเ่ ปน
23. ขอใดสะทอนใหเห็นถึงการสรางสรรคภมู ปิ ญ ญาทีเ่ กิดจาก เกียรติของชาติ
D สภาพภูมิศาสตรและสิ่งแวดลอม
28. เหตุการณการปฏิวตั ฝิ รัง่ เศสในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789
แบบทดสอบ

1. การนําเสนใยพืชมาประดิษฐเปนเสื้อผา D สงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคม
2. การใชเครื่องมือนวดขาวแทนการนวดดวยมือ ยุโรปอยางไร
3. การสรางบานเรือนยกพื้นสูงเพื่อปองกันนํ้าทวม 1. ลัทธิคอมมิวนิสตเขามามีอิทธิพลในสังคมยุโรป
4. การแปรรูปฟาทะลายโจรอัดแคปซูลเพื่อทํา 2. ทําใหการปกครองระบอบเกาและระบอบฟวดัล
ยารักษาโรค เสื่อมสลาย
โครงการบูรณาการ

24. ลักษณะเดนของผามัดหมี่ตรงกับขอใด 3. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมีความเขมแข็งและ


B 1. เปนผาทอที่เกิดจากการผูกมัดแลวยอม เจริญรุงเรืองมาก
2. เปนผาทอยกลวดลายใหนูนสูงกวาพื้นผา 4. ระบอบเผด็จการฟาสซิสตหรือเผด็จการทหารเขามามี
3. เปนผาทอดวยฝายตกแตงลายที่เชิงผาทั้งสองขาง บทบาทสําคัญในสังคมยุโรป
ใหสวยงาม 29. กฎบัตรแมกนาคารตาสงผลตอการเปลี่ยนแปลงทาง
4. เปนผาทอที่ใชเทคนิคการขิดโดยเพิ่มเสนดายพุง D การเมืองของอังกฤษอยางไร
พิเศษในระหวางการทอ 1. จํากัดพระราชอํานาจทางการทหาร
25. จอยมีฐานะยากจนจึงโหมทํางานจนลมปวย แมของจอย 2. ทําใหพระราชอํานาจขยายไปทั่วยุโรป
D จึงแนะนําใหจอยรักษาดวยการแพทยแผนไทย นักเรียน 3. จํากัดพระราชอํานาจของกษัตริยในการจัดเก็บภาษี
คิดวาขอใดคือเหตุผลที่แมของจอยแนะนําเชนนั้น 4. สงเสริมพระราชอํานาจของกษัตริยทั้งทางการเมือง
1. รักษาไดทุกโรค 2. ประหยัดคาใชจาย และการทหาร
3. เหมาะสมกับโรคที่เปน 4. หลีกเลีย่ งการใชยาปลอม 30. เหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรที่นับเปนจุดสิ้นสุด
26. หากนักเรียนตองการวิเคราะหถอ ยคําในภาษาไทย ควรจะ A ของยุโรปสมัยกลางและเปนจุดเริ่มตนของประวัติศาสตร
B ศึกษาจากหนังสือเลมใดของพระยาอนุมานราชธน สมัยใหมคือขอใด
1. หนังสือ นิรุกติศาสตร 1. การฟนฟูศิลปวิทยาการ
2. หนังสือ หลักภาษาไทย 2. การปฏิรูปศาสนาของมารติน ลูเทอร
3. อักขรานุกรมภูมิศาสตรไทย 3. การลมสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน
4. หนังสือ ความคลี่คลายของคําไทย 4. การคนพบทวีปอเมริกาของคริสโตเฟอร โคลัมบัส

โครงการวัดและประเมินผล (10)
31. ขอใดเปนผลจากการประกาศเลิกทาสของสหรัฐอเมริกา 36. ขอใดเปนการเปลีย่ นแปลงทางการเมืองซึง่ เปนผลกระทบ
D 1. เกิดสงครามกลางเมืองอเมริกัน D จากสงครามโลกครั้งที่ 2
2. เกิดการปฏิรูปเศรษฐกิจเพราะมีแรงงานเสรีเพิ่มขึ้น 1. เกิดการปฏิวัติขึ้นในรัสเซีย
3. ทําใหสังคมอเมริกันเปนสังคมประชาธิปไตยอยาง 2. การจัดตั้งองคการสันนิบาตชาติเพื่อแกไขขอขัดแยง
แทจริง ระหวางประเทศ
4. ชาวอเมริกนั ทุกคนทัว่ ประเทศมีความเทาเทียมกัน 3. การเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเมืองระหวางประเทศ
ตามกฎหมาย ของมหาอํานาจในยุโรป
32. การปฏิวัติในชิลีโดยนายพลออกุสโต ปโนเชต ค.ศ. 1973 4. เยอรมนีสูญเสียดินแดนในยุโรปและอาณานิคมเนื่อง
D สงผลตอลาตินอเมริกาในขณะนั้นอยางไร มาจากสนธิสัญญาแวรซาย
1. เกิดปญหาการกอการรายและความรุนแรง 37. จากคํากลาวของประธานาธิบดีนิกสันที่วา “ยุคแหงการ
2. ทําใหการปกครองประเทศในระบอบประชาธิปไตย D เผชิญหนาไดสนิ้ สุดลงแลว และโลกกําลังเขาสูย คุ ใหม คือ
สิ้นสุดลง ยุคแหงการเจรจา” จากคํากลาวขางตน แสดงใหเห็นถึง
3. สหรัฐอเมริกาเขามาแทรกแซงกิจการภายในของ ทาทีที่ชัดเจนของสหรัฐอเมริกาในขอใด
ประเทศในลาตินอเมริกามากขึ้น 1. ตองการยุติสงครามเย็น

แบบทดสอบ
4. ลัทธิสังคมนิยมและลัทธิคอมมิวนิสตมีอิทธิพลตอ 2. ตองการผอนคลายความตึงเครียด
ประเทศในลาตินอเมริกามากขึ้น 3. ตองการแสดงบทบาทในฐานะผูนําโลก
33. เพราะเหตุใดชาติตะวันตกจึงตองการเขาครอบครอง 4. ตองการเปดสัมพันธทางการทูตกับยุโรปตะวันออก
D ดินแดนในทวีปแอฟริกา 38. เหตุการณในขอใดเปนการปฏิบัติตามจุดมุงหมายของ
1. เปนตลาดสินคาขนาดใหญ D องคการสหประชาชาติ

โครงการบูรณาการ
2. เปนแหลงกําเนิดอารยธรรมเกาแก 1. การขับไลอาหรับออกจากดินแดนปาเลสไตน
3. ตองการระบายประชากรจากเมืองแม 2. การประทวงตอตานรัฐบาลทหารของชาวอียิปต
4. ความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ 3. กัมพูชายื่นคํารองตอศาลโลกกรณีขอขัดแยงปราสาท
34. ปจจุบันชาวออสเตรเลียกําหนดใหวันที่ 26 มกราคม พระวิหารกับไทย
B เปนวันชาติ เพื่อรําลึกถึงเหตุการณสําคัญในขอใด 4. รัฐบาลมาเลเซียแทรกแซงกิจการภายในเมียนมาร
1. การคนพบทวีปออสเตรเลียของวิลเลม ยานซ กรณีความรุนแรงตอชาวโรฮิงยา
2. การจัดตั้งนิคมนักโทษของกัปตันอาเทอร ฟลลิป 39. สหภาพยุโรปจัดตั้งขึ้นมาเพื่อจุดประสงคในขอใด
3. การจัดใหมีการเลือกตั้งครั้งแรกในอาณานิคม B 1. เพื่อขยายเขตการคาเสรีในตลาดรวมยุโรป
ออสเตรเลีย 2. เพื่อควบคุมภาษีการคากับประเทศนอกกลุม
4. การเดินทางไปถึงชายฝง ทะเลดานตะวันออกของกัปตัน 3. เพื่อตอรองการคากับประเทศตางๆ นอกยุโรป
เจมส คุก 4. เพื่อสรางความเขมแข็งและประสานประโยชนทาง
35. การปฏิวัติรัสเซียในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1917 สงผลสําคัญ การเมืองและเศรษฐกิจของประเทศในยุโรป
D ตอยุโรปอยางไร 40. ประโยชนทปี่ ระเทศไทยจะไดรบั จากการเปนสมาชิกองคการ
1. รัสเซียปกครองในระบอบสังคมนิยม D การคาโลกคือขอใด
2. รัสเซียกลายเปนชาติมหาอํานาจในยุโรป 1. ไดสินคาดี ราคาถูกกวาผลิตเอง
3. นําไปสูการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพยุติสงคราม 2. มีหลักประกันทางการคาระหวางประเทศ
4. กอใหเกิดความขัดแยงระหวางประเทศมหาอํานาจ 3. สามารถใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด
ในยุโรป 4. มีการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิตและบริการ

(11) โครงการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 5 ขอ ขอละ 2 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10

1. ดนัยไดรบั มอบหมายใหจดั ทํารายงานเกีย่ วกับการเสด็จประพาสยุโรปของรัชกาลที่ 5 เขาสามารถนําวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร


มาใชวิเคราะหเหตุการณดังกลาวไดอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. “พระมหากษัตริยไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตนทรงพยายามฟนฟูความเจริญรุงเรืองขึ้นมาใหมเหมือนเมื่อครั้งบานเมืองยังดี
สมัยอยุธยา” นักเรียนเห็นดวยกับขอความดังกลาวหรือไม อยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบทดสอบ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. สาเหตุสําคัญใดที่มีสวนผลักดันใหรัชกาลที่ 5 ทรงทําการปฏิรูปการปกครอง และการปฏิรูปนั้นสงผลตอประเทศไทยอยางไร


โครงการบูรณาการ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ประเทศไทยสมัยประชาธิปไตยมีบทบาทตอสังคมโลกอยางไร และการเขาไปมีบทบาทดังกลาวสงผลตอประเทศไทยอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. เพราะเหตุใดจึงมีคํากลาวที่วา “คริสตศตวรรษที่ 20 เปนศตวรรษแหงความรุนแรงหรือศตวรรษแหงสงคราม”


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โครงการวัดและประเมินผล (12)
แบบทดสอบว�ชา ประวัติศาสตร ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
ชุดที่ 3 ¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 40
1. การรวบ
การรวบรวมขอเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัตศิ าสตรมาจัด 5. ขอใดคือสาเหตุที่ทําใหรัชกาลที่ 1 โปรดเกลาฯ ใหตรวจ
A เปนหมวดหมู จัดอยูข นั้ ตอนใดของวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร B ชําระกฎหมายขึ้นใหม ที่เรียกวา กฎหมายตราสามดวง

แบบทดสอบ
1. การรวบรวมหลักฐาน 1. กฎหมายเดิมที่ใชอยูไมมีความยุติธรรม
2. การประเมินคุณคาของหลักฐาน 2. ชาวตางชาติดูถูกวากฎหมายไทยไรความศักดิ์สิทธิ์
3. การวิเคราะห สังเคราะห และจัดหมวดหมูขอมูล 3. โบราณราชประเพณีกําหนดใหตองตรวจชําระใหม
4. การเรียบเรียงหรือการนําเสนอ เมื่อเปลี่ยนรัชกาล
2. ประโยชนสูงสุดจากการศึกษาเรื่องราว เหตุการณทาง 4. พระองคทรงเกรงวาผูรูกฎหมายจะคอยๆ หายไป
D ประวัติศาสตรเกี่ยวกับครอบครัวคือขอใด จึงใหรวบรวมไวเปนลายลักษณอักษร

โครงการบูรณาการ
1. ทราบความเปนมาของครอบครัว 6. ระบบเจาภาษีนายอากรที่ใหประมูลผูกขาดการเก็บภาษี
2. สรางความรัก ความผูกพันในครอบครัว D อากร กอใหเกิดผลดีตอชาติไทยอยางไร
3. ทําใหรูจักสมาชิกภายในครอบครัวเปนอยางดี 1. มีผูจัดเก็บภาษีแทนรัฐ
4. ทําใหทราบขอดีและขอเสียของบุคคลในครอบครัว 2. มีผูจัดเก็บภาษีที่แนนอน
3. จากขอความที่วา “ถึงเดือน 5 ปมะเมีย โทศก จุลศักราช 3. รัฐมีรายไดที่แนนอนและเพิ่มขึ้น
D 1172 พระเจากรุงเวียดนามยาลองแตงใหราชทูตญวน 4. พอคาชาวจีนมีฐานะรํ่ารวยและมีิอิทธิพล
เขามากรุงเทพฯ…” เหตุการณดังกลาวเกิดขึ้นในสมัยใด 7. กิจกรรมในขอใดที่ไพรไมสามารถจะกระทําได
1. สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช D 1. ซื้อทาสมารับใช
2. สมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช 2. ยายที่อยูตามใจตน
3. สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช 3. แตงงานมีครอบครัว
4. สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย 4. สงเงินหรือสิ่งของแทนแรงงาน
ใดไม ใช ปจจัยสําคัญที่สงผลตอความมั่นคงและความ
4. ขอใด 8. ขอใดคือวิเทโศบายที่ไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตนใชกับ
D เจริญรุงเรืองของชาติไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน D ชาติตะวันตกในการรักษาความมั่นคงของอาณาจักร
1. การมีราชธานีตั้งอยูใกลทะเล 1. ยอมประนีประนอมผอนปรน
2. พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย 2. ปดประเทศไมยอมเจรจาดวย
3. ประชาชนไดรับการศึกษาจากตางประเทศ 3. ชวงชิงผลประโยชนใหมากที่สุด
4. การมีความสัมพันธทางการทูตที่ดีกับตางประเทศ 4. การแสดงแสนยานุภาพทางการทหาร

ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา


A B C D E F

(13) โครงการวัดและประเมินผล
9. การยกเลิกธรรมเนียมทีล่ า หลังสงผลดีตอ ความมัน่ คงของ 15. ขอใดคือผลระดับนานาชาติทไี่ ทยไดรบั หลังจากสงครามโลก
D ไทยอยางไร D ครัง้ ที่ 1
1. สะดวกในการพัฒนาประเทศ 1. ไทยไดดินแดนที่เคยเสียไปกลับคืนมา
2. สรางความสามัคคีภายในชาติ 2. ไทยไดรับการยอมรับใหเปนมหาอํานาจ
3. ลดคาใชจายจากธรรมเนียมที่ไมสําคัญ 3. ไทยไดเขารวมในองคการสันนิบาตชาติ
4. ไมใหชาติตะวันตกใชเปนขออางมายึดครองไทย 4. นักเรียนไทยไดรบั ทุนจากตางประเทศใหไปศึกษาในยุโรป
10. สาเหตุสาํ คัญทีท่ าํ ใหรชั กาลที่ 5 ทรงทําการปฏิรปู ประเทศ 16. ขอใดคือสาเหตุสาํ คัญทีน่ าํ ไปสูก ารเปลีย่ นแปลงการปกครอง
D ครั้งใหญคือขอใด D พ.ศ. 2475
1. ความลาหลังของประเทศ 1. ความขัดแยงในกองทัพ
2. การเรียกรองของเหลาเสนาบดี 2. แรงกดดันจากมหาอํานาจตะวันตก
3. ภัยคุกคามของจักรวรรดินิยมตะวันตก 3. ความขัดแยงระหวางพระมหากษัตริยกับขุนนาง
4. คําแนะนําจากที่ปรึกษาชาวตางประเทศ 4. การไดรับการศึกษาและแนวคิดประชาธิปไตยจากโลก
11. การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 กอใหเกิดผลดี ตะวันตก
D อยางไร 17. ขอใดเปนปญหาภายในประเทศที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลง
1. เกิดเอกภาพทางการเมือง D การปกครองโดยคณะราษฎรใน พ.ศ. 2475
แบบทดสอบ

2. ตางชาติไมกลาคุกคามไทย 1. ความขัดแยงในกองทัพ
3. หัวเมืองตางๆ ไมกลากอกบฏ 2. เศรษฐกิจในประเทศตกตํ่า
4. บานเมืองพัฒนาไดอยางรวดเร็ว 3. การเรียกรองประชาธิปไตย
12. เหตุใดรัชกาลที่ 5 จึงทรงเลิกทาส 4. การกดขี่ประชาชนของบรรดาขาราชการ
D ก. เพืื่อผลิตคนเขารับราชการ 18. ขอใดเปนชนวนที่ทําใหเหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
ข. เพื่อลดทอนอํานาจของขุนนาง B ลุกลามจนเปนเหตุการณนองเลือด
โครงการบูรณาการ

ค. เพื่อสรางสังคมไทยที่กาวหนาและทันสมัย 1. จอมพลถนอม กิตติขจร ใชกาํ ลังทหารยึดอํานาจตัวเอง


ง. เพื่อสรางแรงงานอิสระในภาคเกษตรกรรม 2. การใชอาํ นาจปกครองแบบเผด็จการของจอมพลถนอม
1. ถูกทั้งขอ ค. และ ง. 2. ถูกทั้งขอ ข. และ ค. กิตติขจร
3. ถูกทั้งขอ ก. และ ข. 4. ถูกทั้งขอ ก. และ ง. 3. การจับกุมผูชุมนุมประทวงเพื่อเรียกรองรัฐธรรมนูญ
13. จากภัยคุกคามของชาติมหาอํานาจตะวันตก รัชกาลที่ 5 โดยถูกตั้งขอหาวาเปนกบฏ
B ทรงเลือกวิธีใดในการแกไขปญหา 4. การประกาศใชกฎอัยการศึกเขาควบคุมสถานการณ
1. การตกลงแบงปนผลประโยชนใหกับชาติตะวันตก ภายในประเทศไมใหมกี ารชุมนุมตอตานจอมพลถนอม
2. การใชวิธีการทางทูตดวยการเจรจาและหาพันธมิตร กิตติขจร
3. การสงกองกําลังทหารออกไปปกปองดินแดนที่ถูก 19. วัตถุประสงคสาํ คัญของการประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
ชาติตะวันตกรุกราน B แหงชาติ ฉบับแรก คือขอใด
4. การปลุกระดมดินแดนใกลเคียงที่เปนอาณานิคมของ 1. เพื่อเปดการคาเสรีกับตางประเทศ
ชาติตะวันตกใหรวมกันตอสูเพื่อเอกราช 2. เพื่อกระจายรายไดอยางทั่วถึงทั้งประเทศ
14. หากนักเรียนเปนชาวอังกฤษที่เขามาลงทุนทําธุรกิจใน 3. เพื่อยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชน
E เมืองไทยสมัยรัชกาลที่ 4 ตอมากระทําความผิด นักเรียน 4. เพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของรัฐบาล
จะตองถูกดําเนินคดียังสถานที่ใด 20. ปญหาเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นจากสาเหตุใด
1. ศาลไทยในประเทศไทย B 1. ปญหาเงินเฟอในประเทศ
2. ศาลอังกฤษในประเทศอังกฤษ 2. วิกฤตเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย
3. ศาลกงสุลไทยในประเทศอังกฤษ 3. การปดบริษัทเงินทุนถึง 58 แหง
4. ศาลกงสุลอังกฤษในประเทศไทย 4. การกูเงินจากตางประเทศเปนจํานวนมาก

โครงการวัดและประเมินผล (14)
21. ขอใดเปนลักษณะสังคมไทยสมัยประชาธิปไตยที่เห็นได 25. “ตุกตาชาววังบงบอกถึงความมีวัฒนธรรมของคนไทย”
D อยางเดนชัดที่สุด D คําพูดดังกลาวสอดคลองกับขอใดมากที่สุด
1. เปนสังคมอุตสาหกรรมที่ทันสมัย 1. เปนงานฝมือที่มีความประณีต
2. ประชาชนตื่นตัวที่จะมีสวนรวมทางการเมือง 2. บอกเลาเรื่องราวที่ปรากฏในวรรณคดีไทย
3. ใหความสําคัญกับวัตถุนิยมและบริโภคนิยม 3. สื่อใหเห็นถึงชีวิตความเปนอยูและวิถีชีวิตแบบไทย
4. ประชาชนสวนใหญในประเทศมีฐานะทางการเงินอยู 4. มีการตกแตงหนาตาและการแตงกายตามแบบ
ในระดับดี ประเพณีไทย
22. เปาหมายสําคัญทีส่ ดุ ของการรวมมือกับนานาประเทศของ 26. ขอใดคือบทบาทสําคัญของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั -
D ไทยสมัยประชาธิปไตยคือขอใด B ภูมพิ ลอดุลยเดชในการธํารงรักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย
1. ขยายแนวคิดประชาธิปไตย 1. ทรงเปนอัครศิลปน
2. ฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ 2. ทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก
3. ถวงดุลอํานาจกับกลุมเศรษฐกิจอื่นๆ 3. ทรงพระอักษรและพระราชนิพนธแปลหลายเรื่อง
4. สรางความมั่นคงและมั่งคั่งใหกับประเทศ 4. ทรงฟนฟูพระราชพิธีเสด็จพระราชดําเนินถวายผา
23. ขอใดกลาวถึงภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยไดถูกตอง พระกฐิน โดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค

แบบทดสอบ
B 1. ภูมิปญญาเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรม 27. ประโยชนทนี่ กั เรียนจะไดรบั จากการศึกษาหนังสือ ศาสนา
2. ภูมิปญญามีตนกําเนิดมาจากวัฒนธรรม D เปรียบเทียบของพระยาอนุมานราชธนคือขอใด
3. วัฒนธรรมเปนสิ่งที่เกิดขึ้นใหมและไดรับอิทธิพลจาก 1. เปนหลักที่ใชในการดําเนินชีวิต
ภายนอก 2. ยึดมั่นในหลักปฏิบัติของศาสนาที่ตนนับถือ
4. วัฒนธรรมเกิดจากการปรับตัวและประสบการณที่ได 3. เขาใจองคประกอบและหลักคําสอนของศาสนา

โครงการบูรณาการ
สั่งสมไว 4. ทําใหทราบถึงขอดีและขอเสียของแตละศาสนา
24. หมูบานดอนดินดีเปนชุมชนเกษตรกรรม ชาวบาน 28. D
จอหน ลอก และรูโซ เปนนักปรัชญาเมธีที่มีแนวคิดทาง
D ประกอบอาชีพทํานา โดยเชือ่ วามีเทพธิดา คือ แมโพสพ การเมืองที่สอดคลองกันในเรื่องใด
1. ความเชื่อมั่นภายในรัฐ
ประจําอยูในตนขาว คอยดูแลใหตน ขาวเจริญงอกงาม
2. การแยกอํานาจอธิปไตย
และอุดมสมบูรณ ทางหมูบานจึงไดจัดประเพณีไหว
3. การสรางความยุติธรรมในรัฐ
แมโพสพเปนประจําทุกป
4. เสรีภาพและความเสมอภาคของประชาชน
จากขอความขางตน เพราะเหตุใดชาวบานจึงมีความเชือ่ วา 29. หลักสําคัญของเศรษฐกิจแบบไลสเซ-แฟร คือขอใด
เทวดาประจําตนขาวเปนผูหญิง B 1. การผูกขาดการคาโดยรัฐ
1. เพราะตนขาวตั้งทองและออกรวงได 2. รัฐเปนผูดําเนินการทางธุรกิจเอง
2. เพราะรวงขาวที่โคงงอ เหมือนผูหญิงที่นุมนวลและ 3. รัฐจะไมแทรกแซงการทําธุรกิจของภาคเอกชน
ออนชอย 4. รัฐมีหนาที่ควบคุมการดําเนินธุรกิจของเอกชน
3. เพราะรวงขาวมีสเี หลืองอรามงามตา เหมือนความงาม 30. สาเหตุของการทําสงครามระหวางอังกฤษและฝรั่งเศสใน
ของสตรี B ทวีปอเมริกาเหนือคือขอใด
4. เพราะขาวเปนอาหารหลักหลอเลี้ยงชีวิต จึงเปรียบ 1. การแยงชิงตลาดการคาขนสัตว
เสมือนมารดาที่เลี้ยงบุตรใหเติบโต 2. ความตองการระบายประชากรจากเมืองแม
3. ความตองการประกาศแสนยานุภาพทางทหาร
4. การแสวงหาวัตถุดบิ ทีจ่ าํ เปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม

(15) โครงการวัดและประเมินผล
31. องคกรความรวมมือทางเศรษฐกิจของประเทศในทวีป 37. ขอใดเปนนโยบายในการปรับโครงสรางทางการเมืองและ
A อเมริกาใตคือขอใด D เศรษฐกิจใหมของสหภาพโซเวียต
1. สหภาพประชาชนอเมริกาใต 1. กลาสนอสต
2. สหภาพแหงประชาชาติอเมริกาใต 2. มุงสูตะวันออก
3. ประชาคมเศรษฐกิจแหงอเมริกาใต 3. เปเรสตรอยกา
4. สหภาพแรงงานและเศรษฐกิจแหงอเมริกาใต 4. ปฏิวัติวัฒนธรรม
32. เพราะเหตุใดพลเมืองสวนใหญในทวีปแอฟริกาจึงยังคง 38. บทบาทในขอใดทีถ่ อื วาเกินขอบเขตของปฏิบตั กิ ารในการ
D รักษาวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมของตนไวได D รักษาสันติภาพของสหประชาชาติ
1. ไมมีนโยบายกีดกันผิว 1. การสงกองกําลังเขาไปดูแลการถอนทหารของคูกรณี
2. เปนดินแดนที่ไมถูกยุโรปยึดครอง 2. การสงกองกําลังเขาไปรวมตอสูก บั กลุม กบฏในประเทศ
3. ไมยอมรับพวกยุโรปที่เขามายึดครอง สมาชิก
4. ปกครองในระบบชนเผาที่มีความเขมแข็ง 3. การสงกองกําลังเขาไปในดินแดนพิพาทหลังทําสัญญา
33. “กาลเวลาแหงความฝน” มีความเกีย่ วของกับชนพืน้ เมือง หยุดยิง
B ของทวีปออสเตรเลียอยางไร 4. การสงเครือ่ งอุปโภคบริโภคเขาไปชวยเหลือผูป ระสบภัย
1. การอยูรวมกันเปนสังคม สงคราม
แบบทดสอบ

2. การใชชีวิตใหเขากับธรรมชาติ 39. เพราะเหตุใดสหภาพยุโรปจึงใชคําขวัญที่วา “United in


3. การผลิตอาวุธและเครื่องมือลาสัตว B Diversity”
4. การสรางโลกและเรื่องราวของบรรพบุรุษ 1. เพื่อแสดงจุดประสงคในการกอตั้งองคกร
34. White Australia Policy หมายถึงขอใด 2. เพื่อแสดงถึงที่มาของสมาชิกแตละประเทศ
A 1. การสงวนพื้นที่ไวใหชาวอะบอริจินิสอยูอาศัย 3. เพื่อแสดงถึงความเปนหนึ่งเดียวกันขององคกร
โครงการบูรณาการ

2. การกีดกันคนที่ไมใชผิวขาวเขามาอยูในออสเตรเลีย 4. เพื่อแสดงถึงความหลากหลายของประเทศสมาชิก
3. การอพยพชาวออสเตรเลียเขาไปอยูต อนกลางของทวีป 40. ขอใดกลาวถึงอาเซียนไดถูกตอง
4. การอนุญาตใหคนผิวเหลืองและผิวดําเขามาตั้งรกราก B 1. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนพัฒนามาจากสมาคมอาสา
ในออสเตรเลีย 2. อาเซียนสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศสมาชิก
35. ขอใดกลาวถึงสงครามเบ็ดเสร็จ (Total War) ไดอยาง ในทุกดาน
D ชัดเจนที่สุด 3. อาเซียนประสบความสําเร็จในการยุติปญหาความ
1. การดําเนินยุทธศาสตรสงครามแบบกองโจร ขัดแยงในภูมิภาค
2. การใชเทคโนโลยีที่เหนือกวาเพื่อโจมตีฝายตรงขาม 4. เขตการคาเสรีอาเซียนมีเปาหมายเพื่อสงเสริมการ
3. การใชทรัพยากรทุกรูปแบบเพื่อทําลายลางคูสงคราม แขงขันภายในอาเซียน
4. การปฏิบตั กิ ารทางทหารทีม่ กี ารวางแผนอยางเปนระบบ
36. สาเหตุสาํ คัญทีท่ าํ ใหเกิดสงครามเย็นขึน้ ภายหลังสงคราม
B โลกครั้งที่ 2 คือขอใด
1. การเรียกรองเอกราชของประเทศเกิดใหม
2. การประกาศวาทะทรูแมนของผูนําสหรัฐฯ ในขณะนั้น
3. ความขัดแยงทางการเมืองระหวางอังกฤษกับเยอรมนี
4. ความขัดแยงในอุดมการณทางการเมืองของประเทศ
อภิมหาอํานาจ

โครงการวัดและประเมินผล (16)
ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 5 ขอ ขอละ 2 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10
1. การวิเคราะหเรื่องราว เหตุการณทางประวัติศาสตรมีความสําคัญอยางไร และสามารถนํามาประยุกต ใชในชีวิตประจําวัน
ไดอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริยไทยในสมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ มีความสําคัญตอความมั่นคงและเจริญรุงเรือง
ของชาติไทยอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยมีความสําคัญตอคนไทยและสังคมไทยอยางไร

โครงการบูรณาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. เพราะเหตุใดทวีปแอฟริกาจึงเปนทวีปที่ผูคนรูจักนอยและมีระดับการพัฒนาดานตางๆ ลาหลังกวาทวีปอื่น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. ยุทธวิธีการรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีความแตกตางจากการรบในอดีตที่ผานมาอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(17) โครงการวัดและประเมินผล
เฉลยแบบทดสอบ ชุดที่ 1

ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 3. การกําหนดหัวเรือ่ งจะทําใหผศู กึ ษาทราบขอบเขตของเรือ่ งทีจ่ ะศึกษา โดยในตอนแรกอาจกําหนดไวกวางๆ
กอน แลวจึงกําหนดใหแคบเพื่อใหเกิดความชัดเจนในภายหลัง ซึ่งในการศึกษา หากไดมีการเริ่มตนที่ดี
มีการกําหนดประเด็นของการศึกษาใหชัดเจนอยูในกรอบของความพอดี ไมกวางมากจนอาจหลงประเด็น
หรือแคบมากจนเกินไป การดําเนินการศึกษาเพื่อแสวงหาความรูใหมก็จะสามารถเริ่มตนไดดี
2. ตอบ ขอ 2. เมือ่ กําหนดประเด็นทีจ่ ะศึกษาไดแลว ขัน้ ตอนตอไป คือ การรวบรวมหลักฐานทางประวัตศิ าสตรทเี่ กีย่ วของ
กับประเด็นที่จะศึกษาคนควา ทั้งหลักฐานที่เปนลายลักษณอักษรและหลักฐานที่ไมเปนลายลักษณอักษร
หรือสัมภาษณครอบครัวชาวมอญทีอ่ าศัยอยูท เี่ มืองพระประแดงในปจจุบนั ถึงประวัตคิ วามเปนมาของชุมชน
ที่ตนอยูอาศัย
3. ตอบ ขอ 3. นักประวัติศาสตรจะตองเปนผูรื้อฟนอดีตใหกลับมามีชีวิตอีกครั้งหนึ่ง โดยอาศัยวิธีการทางประวัติศาสตร
แบบทดสอบ

ซึง่ มีหลักฐานทางประวัตศิ าสตรทมี่ นุษยในอดีตทิง้ รองรอยไวเปนเครือ่ งมือสําคัญที่ไขไปสูอ ดีตนัน้ ผูศ กึ ษา


ประวัติศาสตรจะตองกลั่นกรองขอมูลที่นาเชื่อถือ แลวนํามาอธิบายถายทอดออกมาเปนเรื่องราวอยางมี
ความหมายและคุณคา
4. ตอบ ขอ 2. สาเหตุสาํ คัญของการยายราชธานีจากกรุงธนบุรขี า มมายังฝง ตะวันออกของแมนาํ้ เจาพระยา ไดแก บริเวณ
ทีต่ งั้ กรุงธนบุรเี ปนทีท่ อ งคุง นํา้ กัดเซาะตลิง่ พังอยูเ สมอ การทีม่ วี ดั ตัง้ ขนาบอยูท งั้ 2 ขางของพระราชวัง คือ
โครงการบูรณาการ

วัดอรุณราชวราราม (วัดแจง) กับวัดโมลีโลกยาราม (วัดทายตลาด) ทําใหไมสะดวกในการขยายพระราชวัง


และฝงตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยามีชัยภูมิที่ดีในการปองกันการโจมตีของขาศึก
5. ตอบ ขอ 1. รัชกาลที่ 3 ทรงแตงเรือสําเภาไปคาขายกับตางชาติโดยเฉพาะจีน ทําใหนํารายไดเขาสูทองพระคลังเปน
จํานวนมาก พระองคทรงเก็บเงินรายไดจากกิจการนี้เปนเงินพระคลังขางที่ไวในถุงแดงเปนจํานวนมากถึง
40,000 ชั่ง เพื่อนําไปใชจายในการแผนดิน
6. ตอบ ขอ 4. เนื่องจากปนและกระสุนดินดําเปนยุทธปจจัยสําคัญในการทําสงคราม การกอกบฏ ดังนั้น ทางราชการ
จึงผูกขาดการคา หามมิใหพอคาตางชาติขายอาวุธและกระสุนดินดําใหแกใครๆ นอกจากทางราชการ
ทั้งนี้เพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ
7. ตอบ ขอ 3. ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน สังคมไทยยังคงเปนสังคมในระบบศักดินาตามแบบสมัยอยุธยาและธนบุรี โดย
ศักดินาจะเปนตัวบอกถึงสถานภาพของบุคคลในสังคมวามีสิทธิ หนาที่ ความรับผิดชอบมากนอยเพียงใด
และควรปฏิบตั ติ อ บุคคลอืน่ ในสังคมทีม่ ศี กั ดินาสูงหรือตํา่ กวาตนอยางไร หรือกลาวอีกนัยหนึง่ ศักดินาเปน
เกณฑกําหนดฐานะ สิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบของบุคคลในสังคม นอกจากนี้ เกณฑศักดินายัง
ถูกนําไปใชในการปรับไหมหากมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น
8. ตอบ ขอ 2. ดังจะเห็นไดจากชาติตะวันตกสงทูตเขามาเจริญสัมพันธไมตรี และมีการเจรจาทําสนธิสญั ญาทางพระราช-
ไมตรีและการพาณิชยระหวางกันในสมัยรัชกาลที่ 3 ที่เรียกวา สนธิสัญญาเบอรนีย ซึ่งไทยทํากับอังกฤษ
ใน พ.ศ. 2369 และไทยยังทําสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชยกับสหรัฐอเมริกาดวยใน พ.ศ.
2375 นอกจากนี้ ในตอนปลายรัชกาล รัฐบาลสหรัฐอเมริกาและอังกฤษยังไดสงทูตเขามายังกรุงเทพฯ
อีก 2 คณะ เพื่อขอแกไขสนธิสัญญาที่ทําไวตอนตนรัชกาล แตการเจรจาไมบรรลุผลสําเร็จ

โครงการวัดและประเมินผล (18)
9. ตอบ ขอ 4. การทีผ่ นู าํ ไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรปู ประเทศไดรบั การศึกษาวิทยาการตะวันตก รวมทัง้ ทรงสนทนาแลกเปลีย่ น
ความคิดเห็นกับชาวตะวันตก ทําใหทรงมีความรูกวางขวาง รูเทาทันความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ
ที่ชาติมหาอํานาจตะวันตกกําลังขยายอิทธิพลเขามาในไทย ยิ่งกวานั้น ผูนําไทยทรงตระหนักดีวาในการ
ติดตอกับประเทศมหาอํานาจตะวันตก ไทยไมสามารถสูไดดวยกําลังอาวุธ เนื่องจากชาติตะวันตกมีความ
เจริญกาวหนากวาไทย ไมวาจะเปนกําลังทัพหรืออาวุธยุทโธปกรณที่ทันสมัย ดังนั้น สิ่งเดียวที่ไทยจะใช
ตอสูกับมหาอํานาจตะวันตกอยางมีประสิทธิภาพก็คือ วาจาและหัวใจอันกอปรดวยสติและปญญา
10. ตอบ ขอ 3. รัชกาลที่ 6 ทรงใหประชาชนมีเสรีภาพในการแสดงออก โดยเขียนบทความแสดงความคิดเห็นในหนังสือพิมพ
และพระองคยังทรงชี้แจงหรือโตตอบในหนังสือพิมพดวย ซึ่งการใหเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
จัดเปนหลักการพื้นฐานของระบอบประชาธิปไตย
11. ตอบ ขอ 2. การเปลีย่ นสถานะของนายมิง่ จากไพรเปนขุนนางเพราะไดเรียนหนังสือ เปนผลโดยตรงจากการปฏิรปู การ
ศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งทําใหประชาชนไดมีโอกาสศึกษาเลาเรียนอยางกวางขวางและทุกเพศ สําหรับ
การปฏิรปู การศึกษาในระยะแรกเริม่ จากในพระบรมมหาราชวังกอน ทีส่ าํ คัญคือ การตัง้ โรงเรียนนายทหาร
มหาดเล็กขึ้น เรียกวา โรงเรียนนายทหารมหาดเล็กหรือโรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบใน พ.ศ. 2425
ในขั้นแรกมีจุดมุงหมายเพื่อใหฝกวิชาทหาร แตเนื่องจากมีผูนิยมสงบุตรหลานเขาเรียนมากขึ้นทุกป จึง

แบบทดสอบ
ขยายโรงเรียนใหกวางขวางออกไป และเปลี่ยนชื่อเปนโรงเรียนฝกหัดขาราชการพลเรือน โดยมุงฝกสอน
เพือ่ รับราชการพลเรือนเปนสําคัญ นอกจากนี้ รัชกาลที่ 5 ยังทรงตัง้ โรงเรียนสําหรับราษฎรดวย โดยจัดตัง้
โรงเรียนหลวงแหงแรกที่วัดมหรรณพารามใน พ.ศ. 2427 ตอมาจึงไดขยายการจัดตั้งโรงเรียนหลวงตาม
วัดตางๆ ใหแพรหลายออกไป
12. ตอบ ขอ 3. ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั เปนชวงทีจ่ กั รวรรดินยิ มตะวันตกหรือการลาอาณานิคม

โครงการบูรณาการ
กําลังคุกคามไทยอยางหนัก โดยเฉพาะการคุกคามจากฝรัง่ เศสและอังกฤษ ซึง่ เปนประเทศมหาอํานาจของ
โลกในเวลานั้น ไมเพียงแตประเทศไทย ลัทธิจักรวรรดินิยมไดแผขยายไปยังดินแดนตางๆ ในทวีปเอเชีย
เชน จีน ญี่ปุน ประเทศเพื่อนบานอยางเวียดนาม พมา รวมทั้งทวีปแอฟริกา ดวยเหตุนี้ รัชกาลที่ 5
ซึ่งตระหนักถึงภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับบานเมือง จึงตองทรงเตรียมและดําเนินการปองกันและแกไข
ไมใหภยั จากจักรวรรดินยิ มขยายตัวจนลุกลามถึงขัน้ เสียเอกราชได ซึง่ วิธกี ารแกไขวิธหี นึง่ ก็คอื การเจรจา
ทางการทูต รัชกาลที่ 5 จึงไดเจริญสัมพันธไมตรีกับตางประเทศดวยการเสด็จประพาสยุโรปถึง 2 ครั้ง
ใน พ.ศ. 2440 และ พ.ศ. 2450 เพื่อเจรจาและหาพันธมิตรที่จะชวยสนับสนุนไทย
13. ตอบ ขอ 1. ไกลบานเปนพระราชนิพนธลายพระราชหัตถเลขาในรัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2
ใน พ.ศ. 2450 โดยพระราชทานใหแกสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟานิภานภดล กรมขุนอูทองเขต
ขัตติยนารี รวมจํานวน 43 ฉบับ ขณะที่เสด็จประพาสยุโรปเปนระยะเวลา 225 วัน ไกลบานเปนการเลา
ทํานองจดบันทึกหรือรายงานประจําวัน นับตั้งแตเสด็จลงเรือพระที่นั่งมหาจักรีออกจากกรุงเทพมหานคร
ผานประเทศตางๆ ทางเรือและทางรถไฟตามลําดับ โดยสอดแทรกเกร็ดความรูเ รือ่ งราวตางๆ รวมทัง้ เสนอ
แนวพระราชดําริและพระราชวินจิ ฉัยสวนพระองคตอ เหตุการณตา งๆ ซึง่ สะทอนใหเห็นถึงสภาพบานเมือง
สังคม วิถีชีวิตความเปนอยู ตลอดจนทัศนคติของบุคคลในแตละประเทศไดเปนอยางดี
14. ตอบ ขอ 4. หากไทยไมยอมทําสนธิสญั ญาดวย ชาติมหาอํานาจตะวันตกก็จะใชกาํ ลังทหารทีเ่ หนือกวาบีบบังคับใหไทย
ตองยอมรับขอเรียกรอง และไทยอาจตองสูญเสียเอกราชใหแกชาติตะวันตกดังที่หลายประเทศเพื่อนบาน
ของไทยประสบมาแลว ดวยเหตุนี้ การทําสนธิสัญญาเบาวริงกับอังกฤษ แมวาจะทําใหไทยตองเปนฝาย
เสียเปรียบ ก็ชวยใหไทยรอดพนจากการบีบบังคับโดยใชกําลังของอังกฤษและสามารถรักษาเอกราชของ
ประเทศไวได

(19) โครงการวัดและประเมินผล
15. ตอบ ขอ 2. สนธิสญั ญาเบาวรงิ มีผลทําใหระบบเศรษฐกิจของไทยเปลีย่ นแปลงจากระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพเปนระบบ
เศรษฐกิจการตลาด ซึ่งจําเปนตองพึ่งพาและผูกพันกับเศรษฐกิจภายนอกและเปนผลตอเนื่องมาจนถึง
ปจจุบัน นับไดวาสงผลตอการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทางเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของคนไทยมากกวาขออื่น
16. ตอบ ขอ 3. นับตั้งแตสมัยสุโขทัยเปนตนมาจนถึงปจจุบัน ประเทศไทยมีพระมหากษัตริยครองราชสมบัติติดตอกัน
เรื่อยมา และลวนทรงประกอบพระราชกรณียกิจที่เปนประโยชนตอราษฎรชาวไทยและประเทศชาติอยาง
มากมาย โดยเฉพาะการปองกันรักษาบานเมืองใหมั่นคงปลอดภัยและพัฒนาใหเจริญรุงเรือง ดวยเหตุนี้
สถาบันพระมหากษัตริยจึงเปนศูนยรวมจิตใจของประชาชนชาวไทยตลอดมา
17. ตอบ ขอ 2. การเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎรสําเร็จลงเนื่องจากรัชกาลที่ 7 ไมทรงตองการใหเกิดการ
เสียเลือดเนือ้ ของคนไทยดวยกันโดยไมจาํ เปน ซึง่ สอดคลองกับพระราชดําริของพระองคทจี่ ะพระราชทาน
รัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทยอยูแลว
18. ตอบ ขอ 3. ในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2519 จอมพลถนอม กิตติขจร ที่เดินทางออกไปนอกประเทศหลังเหตุการณ
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ไดเดินทางกลับเขามาในประเทศไทย ซึ่งสรางความไมพอใจใหกับนิสิตนักศึกษา
จนเกิดการรวมตัวประทวงเพื่อเรียกรองใหจอมพลถนอม กิตติขจร เดินทางออกไปนอกประเทศ
19. ตอบ ขอ 3.
แบบทดสอบ

จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดใชนโยบายเศรษฐกิจแบบทุนนิยม โดยสงเสริมใหคนไทยใชของที่ผลิตใน


ประเทศไทย ดังคําขวัญที่วา “ของไทย ไทยทํา ไทยใช” หรือ “ไทยทํา ไทยใช ไทยเจริญ” หรือ “ทําใน
เมืองไทย โดยคนไทย และเปนของคนไทย”
20. ตอบ ขอ 1. การลดคาเงินบาทจะทําใหคา ใชจา ยของนักลงทุนตางชาติทเี่ ขามาลงทุนในประเทศไทยลดลง ซึง่ ชวยสงเสริม
การลงทุนจากตางประเทศ
โครงการบูรณาการ

21. ตอบ ขอ 4. เพราะเทคโนโลยีมอี ทิ ธิพลอยางมากตอวิถชี วี ติ ของคนไทยในสมัยประชาธิปไตย ดังจะเห็นไดจากในปจจุบนั


ไดมเี ทคโนโลยีใหมๆ เกิดขึน้ มากมาย ไมวา จะเปนเทคโนโลยีทางดานการคมนาคม จากเครือ่ งบินโดยสาร
ขนาดใหญที่จุผูโดยสารไดหลายรอยคน เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ทําใหการสื่อสารทั้งภาพและเสียงติดตอ
ถึงกันไดอยางรวดเร็ว โดยผานทางดาวเทียม อินเทอรเน็ต โทรศัพทเคลื่อนที่ กลองระบบดิจิทัล ซึ่งทําให
รับทราบขอมูลขาวสารจากทุกสวนของโลกไดอยางรวดเร็ว กลาวไดวา อิทธิพลของความเจริญทางดาน
เทคโนโลยีทําใหชีวิตของมนุษยเปลี่ยนแปลงอยางมากมายและมีความสุขสบายมากขึ้น
22. ตอบ ขอ 2. การสรางบทบาทของไทยสมัยประชาธิปไตยตอสังคมโลกนั้นจะเปนไปในลักษณะการรวมมือกับประเทศ
ตางๆ ทั้งในภูมิภาคและนอกภูมิภาค เริ่มจากการเขาเปนสมาชิกองคการสหประชาชาติ (UN) ในการ
ปฏิบัติภารกิจในภูมิภาคตางๆ การรวมจัดตั้งองคการซีโต (SEATO) สมาคมอาสา (ASA) กลุมอาเซียน
(ASEAN) อาฟตา (AFTA) รวมถึงการเขารวมในองคการการคาโลก (WTO) และองคการตางๆ มากมาย
ซึ่งทําใหประเทศตางๆ รูจักประเทศไทยมากขึ้น
23. ตอบ ขอ 4. มรดกทางภูมิปญญาและวัฒนธรรมเกิดจากการสรางสรรคของมนุษย ซึ่งถายทอดจากคนรุนหนึ่งไปยัง
อีกรุนหนึ่ง เปนสิ่งที่ชุมชนและกลุมคนสรางมาอยางสมํ่าเสมอ เพื่อตอบสนองตอสภาพแวดลอมของตน
และกอใหเกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง
24. ตอบ ขอ 3. ลวดลายตางๆ บนผืนผานั้นลวนไดรับแรงบันดาลใจมาจากสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ และจินตนาการ
ของผูทอ รวมถึงวัฒนธรรมความเชื่อของแตละกลุมชนดวย ซึ่งลวดลายบนผาทอพื้นเมืองของไทยจะมี
ความแตกตางและมีเอกลักษณเฉพาะตัวของแตละทองถิ่น

โครงการวัดและประเมินผล (20)
25. ตอบ ขอ 4. ศิลปนผูสรางงานเครื่องไมจําหลัก นอกจากมีความสามารถทางดานศิลปะแลว ควรมีลักษณะนิสัยสุขุม
ละเอียดลออ และใจเย็น เพราะงานเครื่องไมจําหลักเปนงานที่ตองใชความประณีตและอดทน โดยภาพที่
จําหลักสวนใหญเปนรูปเทพยดารักษาประตูโบสถหรือเทพยดารักษาโบสถ เปนตน
26. ตอบ ขอ 1. วัตถุประสงคสําคัญของการกอตั้งมูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพฯ ก็เพื่อใหโอกาสชาวนาชาวไรและครอบครัว
ประกอบอาชีพเสริมเพิ่มพูนรายได โดยไมตองพะวงถึงอุปสรรคทางดินฟาอากาศ อันจะเปนการยกระดับ
ความเปนอยูของราษฎรใหดีขึ้น
27. ตอบ ขอ 3. เสฐียรโกเศศ เปนนามปากกาของศาสตราจารยพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) สวนนาคะประทีป
เปนนามปากกาของพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทีป) โดยทัง้ สองมักแตงหนังสือรวมกัน จนนามปากกา
เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป เปนที่รูจักกันทั่วไปวาเปนนามปากกาแฝด
28. ตอบ ขอ 3. การปกครองแบบฟวดัล เปนการปกครองแบบกระจายอํานาจทีข่ นุ นางในแวนแควนตางๆ ตางปกครองตนเอง
โดยลอรด (lord) หรือขุนนางผูค รอบครองทีด่ นิ จะใหความคมุ ครองแกวสั ซัล (vassal) ทีเ่ ปนชาวนาและทาส
ติดที่ดิน รวมทั้งดูแลทุกขสุขและตัดสินคดีความ สวนวัสซัลจะทํางานตางๆ รับใชลอรดเปนการตอบแทน
ในลักษณะของการเกือ้ หนุนและแบงปนผลประโยชนซงึ่ กันและกัน สําหรับกษัตริยแ มวา จะทรงเปนเจาของ
ที่ดินทั้งหมด แตในทางปฏิบัติกลับไมมีพระราชอํานาจสูงสุด อํานาจการปกครองและตุลาการจะกระจาย

แบบทดสอบ
อยูกับลอรดเจาที่ดิน
29. ตอบ ขอ 1. แมเนอรเปนเขตทีด่ นิ ในปกครองของขุนนาง เปนทีเ่ พาะปลูกและอยูอ าศัย โดยมีเขตทีต่ งั้ ปราสาทของขุนนาง
เจาของที่ดิน และเขตหมูบานซึ่งเปนเขตที่อยูอาศัยของพวกทาสติดที่ดินและชาวไรชาวนาบางคนที่เปน
เสรีชน เศรษฐกิจในเขตแมเนอรเปนเศรษฐกิจพอเลีย้ งตนเอง ทีช่ าวไรชาวนาตางประกอบอาชีพพอกินพอใช
และผลิตสินคาเพื่อใชเองหรือแลกเปลี่ยนกัน

โครงการบูรณาการ
30. ตอบ ขอ 1. การปฏิรูปศาสนาของมารติน ลูเทอร ทําใหคริสตศาสนิกชนแบงแยกเปน 2 กลุม คือ กลุมโรมันคาทอลิก
และโปรเตสแตนต นับเปนการทาทายอํานาจของคริสตจักรซึ่งเปนผูนําทางปญญาในขณะนั้น ลูเทอร ไม
เห็นดวยกับขอปฏิบัติขององคกรคริสตศาสนาที่ขายใบไถบาปเพื่อนําเงินไปสรางมหาวิหารเซนตปเตอร
เขาเชื่อวามนุษยทุกคนสามารถหลุดพนไดดวยตัวเองตามหลักเหตุผล โดยเสนอใหยึดพระคัมภีร ไบเบิล
เปนหลักปฏิบัติที่สําคัญที่สุดเทานั้น ดวยเหตุนี้ ใน ค.ศ. 1517 ลูเทอรจึงไดเสนอหลักการ 95 ประการ
(95 Theses) ติดประกาศโจมตีความเสื่อมทรามของศีลธรรมจรรยาของพวกนักบวชและการประพฤติ
ผิดวินัยในคริสตศาสนา การประกาศหลักการ 95 ประการของลูเทอรจึงถือเปนการเริ่มตนของขบวนการ
ปฏิรูปศาสนา
31. ตอบ ขอ 4. อดีตประธานาธิบดีเจมส มอนโร ไดประกาศหลักการมอนโรเมือ่ ค.ศ. 1823 โดยมีจดุ ประสงคใหสหรัฐอเมริกา
อยูอยางสงบและโดดเดี่ยว ไมตองการใหยุโรปเขามาแทรกแซงกิจการภายใน และแสวงหาอาณานิคมใน
ดินแดนสหรัฐอเมริกา
32. ตอบ ขอ 1. ระบบเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือเปนระบบการคาเสรี ที่เอกชนตางแขงขันกันดําเนินการทางธุรกิจ
อยางอิสระภายใตขอบเขตของกฎหมาย สวนรัฐบาลจะควบคุมและดําเนินการทางธุรกิจเกี่ยวกับกิจการ
สาธารณะและสวัสดิภาพของสังคมสวนรวม
33. ตอบ ขอ 2. โบลิวาร และซานมารตนิ มีความตัง้ ใจอยางแนวแนทจี่ ะทําการปลดปลอยชาวลาตินใหเปนอิสระจากสเปน
โดยโบลิวาร ชาวเวเนซุเอลาเปนผูนําการเคลื่อนไหวใหประเทศตางๆ ในทวีปอเมริกาใตทางตอนเหนือ
(เวเนซุเอลา โคลอมเบีย เปรู ปานามา และโบลิเวีย) เปนอิสระ สวนซานมารตนิ เปนนายพลชาวอารเจนตินา
เปนผูนําในการประกาศเอกราชของทวีปอเมริกาใตทางตอนใต (อารเจนตินาและชิลี) จากสเปน

(21) โครงการวัดและประเมินผล
34. ตอบ ขอ 1. ออสเตรเลียเปนประเทศแรกในโลกที่ใชวิธีการลงคะแนนเสียงโดยวิธีลับตั้งแต ค.ศ. 1856 ซึ่งแตแรกนั้น
เรียกวา การลงคะแนนเสียงแบบออสเตรเลีย
35. ตอบ ขอ 3. สําหรับสงครามโลกครั้งที่ 1 สมรภูมิรบจะอยูในทวีปยุโรป และอาณาเขตยังไมกวางขวางมากนัก แต
สงครามโลกครั้งที่ 2 สมรภูมิรบไดขยายขอบเขตไปทั่วทุกภูมิภาคของโลก และมีการใชอาวุธสงครามที่
มีอํานาจการทําลายลางรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะการใชระเบิดปรมาณูที่กอใหเกิดความเสียหายอยาง
ประเมินคาไมได จึงสรางความหายนะและความพินาศใหแกประเทศตางๆ ทัง้ ดานระบบเศรษฐกิจ การเมือง
และสังคมมากยิ่งกวาสงครามโลกครั้งที่ 1
36. ตอบ ขอ 1. สงครามเย็นเปนศัพทที่ใชอธิบายถึงความขัดแยงทางอุดมการณทางการเมืองเพื่อแยงชิงความเปนผูนํา
โลกระหวางประเทศอภิมหาอํานาจ 2 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต โดยเกิดขึ้นในยุโรป
กอนและตอมาไดขยายขอบเขตออกไปทั่วโลก ความขัดแยงมีหลายรูปแบบ เชน การแสวงหาพันธมิตร
การสะสมและพัฒนาอาวุธ การโฆษณาชวนเชื่อ การทูต แตไมถึงขั้นประกาศสงครามกันโดยตรง แตเปน
ลักษณะของสงครามตัวแทน สําหรับวิกฤตการณทางการเมืองที่เปนผลมาจากความขัดแยงของสงคราม
เย็น เชน การปดกั้นเบอรลิน ค.ศ. 1948-1949 สงครามเกาหลี ค.ศ. 1950 การสรางกําแพงเบอรลิน
แบบทดสอบ

ค.ศ. 1961 วิกฤตการณขีปนาวุธที่คิวบา ค.ศ. 1962 สงครามเวียดนาม ค.ศ. 1960-1975 เปนตน


37. ตอบ ขอ 2. หลังจากการลมสลายของระบอบคอมมิวนิสต ในยุโรปตะวันออกและสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาได
ดําเนินนโยบายตางประเทศผานองคการระหวางประเทศตางๆ เชน องคการสหประชาชาติ องคการนาโต
ตัวอยางที่เห็นไดชัด คือ หลังสงครามอิรักสิ้นสุดลง สหรัฐอเมริกาไดขอมติจากคณะมนตรีความมั่นคง
แหงสหประชาชาติในการปลดอาวุธอิรัก และเมื่อมีชัยชนะตออิรักก็ขอความรวมมือในกรอบคณะมนตรี
โครงการบูรณาการ

ความมั่นคงแหงสหประชาชาติในการบูรณะฟนฟูอิรัก หรือในกรณีของสงครามคอโซโว ซึ่งเปนผลจาก


ปญหาความขัดแยงเรื่องเชื้อชาติระหวางพวกคอโซวารกับพวกเซิรบในเซอรเบีย สหรัฐอเมริกาก็ไดขอ
ความรวมมือจากองคการนาโตในการใชกําลังอาวุธตอยูโกสลาเวีย เพื่อกดดันใหมีการเปดเจรจาเกี่ยวกับ
สันติภาพในคอโซโว เปนตน
38. ตอบ ขอ 3. องคการระหวางประเทศทีเ่ กิดขึน้ ในคริสตศตวรรษที่ 20 คือ องคการสันนิบาตชาติและองคการสหประชาชาติ
เพือ่ เปนกลไกในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศ โดยมงุ สรางสันติภาพและความรวมมือในทุกดาน
39. ตอบ ขอ 4. หนาที่ในการรักษาสันติภาพของโลกเปนหนาที่โดยตรงของคณะมนตรีความมั่นคง (Security Council)
ซึ่งประกอบดวยสมาชิก 15 ประเทศ มีประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ไดแก จีน รัสเซีย ฝรั่งเศส อังกฤษ
และสหรัฐอเมริกา สวนอีก 10 ประเทศ ไดรับเลือกจากสมัชชาสหประชาชาติใหเขาเปนสมาชิกแบบมี
วาระในการดํารงตําแหนง 2 ป การลงมติใดๆ ในการตัดสินปญหาการเมืองของโลก จะตองไดเสียง
เห็นชอบอยางนอย 9 เสียง ถาหากสมาชิกถาวรประเทศใดประเทศหนึ่งใชสิทธิยับยั้ง มตินั้นถือวาไมผาน
เทาที่ผานมาในชวงกอน ค.ศ. 1990 ปรากฏวาการแกปญหาการเมืองที่ประสบความลมเหลว เกิดจาก
ประเทศมหาอํานาจที่เปนสมาชิกถาวรมักใชสิทธิยับยั้ง
40. ตอบ ขอ 3. องคการการคาโลกเปนองคการระหวางประเทศ ซึง่ ทําหนาทีเ่ กีย่ วกับขอตกลงดานการคาระหวางประเทศ
เปนเวทีสําหรับเจรจาตกลง ตอรอง และขจัดขอพิพาทในเงื่อนไขกฎเกณฑทางการคาและบริการระหวาง
ประเทศสมาชิก สําหรับองคการสหประชาชาติแมวาจะมีหนาที่ในการแกปญหาระหวางประเทศเชนกัน
แตมุงเนนในทางการเมืองและการรักษาสันติภาพของโลก

โครงการวัดและประเมินผล (22)
ตอนที่ 2
1. แนวตอบ ประเด็นหรือเรือ่ งทีต่ นเองสนใจศึกษา เชน เพลงลูกทุง ทีต่ นเองชอบรองในแตละชวงเวลา จากนัน้ ใหทาํ การ
รวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวของ เชน สมุดบันทึกของตนเอง หนังสือเพลง ซีดีเพลง ไฟลเพลง รูปภาพ
วีดทิ ศั นของตนเกีย่ วกับเพลงลูกทงุ บันทึกหรือคําบอกเลาของผูป กครอง ครู เพือ่ นสนิท แลวนําขอมูลทีไ่ ดมา
ประเมินความนาเชือ่ ถือ และแยกแยะตามชวงเวลาวา ในแตละชวงเวลาตนเองชอบรองเพลงลูกทงุ เพลงใด
หากพบวาบางชวงเวลามีเพลงที่ชอบหลายเพลง ใหเปรียบเทียบหลักฐานและใชเหตุผลวิเคราะหหาเพลง
ลูกทุง ทีต่ นเองชอบรองทีส่ ดุ ของเวลานัน้ แลวจัดลําดับเพลงอืน่ ๆ จากนัน้ สังเคราะหหรือจัดหมวดหมูข อ มูล
ตามลําดับเวลา และนําเสนอผลการศึกษาพรอมทั้งแสดงเหตุผลและขอมูลหลักฐานอางอิงประกอบ
(พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
2. แนวตอบ เพราะกรุงธนบุรีมีทําเลที่ตั้งไมเหมาะสม โดยเปนเมืองอกแตกที่มีแมนํ้าไหลผานกลางเมือง จึงไมสะดวก
ในการตอสูกับขาศึก อีกทั้งกรุงธนบุรีตั้งอยูบนที่ดอนซึ่งเปนที่ทองคุง นํ้าเซาะตลิ่งพังอยูเสมอ และมีพื้นที่
คับแคบ ไมสามารถขยายพืน้ ทีอ่ อกไปได เพราะมีวดั แจงและวัดทายตลาดกระหนาบอยูท งั้ สองขาง ขณะที่
กรุงเทพมหานครซึง่ ตัง้ อยูฝ ง ตะวันออกของแมนาํ้ เจาพระยามีชยั ภูมดิ กี วา โดยมีแมนาํ้ เจาพระยาเปนคูเมือง
ทางดานตะวันตกและดานใต เพียงแตขดุ คลองเปนคูเมืองแตดา นเหนือกับดานตะวันออกเทานัน้ ถึงแมวา

แบบทดสอบ
ขาศึกจะยกทัพเขามาไดถึงพระนครก็พอตอสูได อีกประการหนึ่ง เนื่องดวยทางฝงตะวันออกนี้ พื้นที่นอก
คูเมืองเดิมเปนพื้นที่ลุมที่เกิดจากการตื้นเขินของทะเล ขาศึกจะยกทัพมาทางนี้คงกระทําไดยาก ฉะนั้น
การปองกันพระนครจะไดมุงปองกันเพียงดานฝงตะวันตกแตเพียงดานเดียว
3. แนวตอบ ไพรและทาสมีสถานะเปนราษฎรทีม่ อี สิ ระในการตัง้ ถิน่ ฐานและการประกอบอาชีพ ทําใหเกิดแรงงานเสรี กอให

โครงการบูรณาการ
เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เนือ่ งจากความตองการแรงงานในการสนองตอบระบบทุนนิยมทีเ่ กิดขึน้ ใน
สังคมไทยภายหลังจากการทําสนธิสัญญาเบาวริงเปนตนมา นอกจากนี้ ยังทําใหฐานะอํานาจของขุนนาง
ทีม่ ีไพรในสังกัดหมดไป ขุนนางไมสามารถแสวงหาผลประโยชนจากไพรไดอีก การควบคุมกําลังคนจึงอยู
ภายใตพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย ทําใหพระมหากษัตริยมีฐานอํานาจทางการเมืองมั่นคงยิ่งขึ้น
4. แนวตอบ หลังจากคณะราษฎรยึดอํานาจการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ทําใหประเทศไทยเกิดการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริยเปนประมุข ภายใตรัฐธรรมนูญอันเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ภายหลังตอมาเกิด
การรัฐประหารยึดอํานาจโดยคณะทหารและหันไปใชอํานาจเผด็จการหลายครั้ง จนนําไปสูการเรียกรอง
ประชาธิปไตยของนิสติ นักศึกษาและประชาชน เหตุการณสาํ คัญ ไดแก เหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
เหตุการณ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 และเหตุการณพฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 หลังจากนั้นมาการเมืองไทย
ไดกาวเขาสูความเปนประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยมากขึ้นตามลําดับ
5. แนวตอบ ประโยชนที่ประเทศไทยจะไดรับจากประชาคมอาเซียนมีหลายประการ เชน
• เกิดความมั่นคงทางดานการเมือง จากการแกไขขอพิพาทตางๆ โดยสันติ การไดรับการสงเสริมความ
รวมมือระหวางประเทศสมาชิกในการแกไขปญหาอาชญากรรมขามชาติ การกอการราย โรคระบาด
เปนตน
• เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากการเพิ่มพูนการคาสินคา การลงทุน ทั้งตลาดภายในอาเซียนและ
ตลาดภายนอกอาเซียน ไมวาจะเปนตลาดจีน ญี่ปุน เกาหลีใต เปนตน
• เกิดการพัฒนาคุณภาพแรงงานไทยจากการเคลื่อนยายแรงงานอยางเสรี
• เกิดการพัฒนาดานการสื่อสารและคมนาคมขนสงใหมีความสะดวก รวดเร็ว และทั่วถึง

(23) โครงการวัดและประเมินผล
เฉลยแบบทดสอบ ชุดที่ 2

ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 1. การศึกษาประวัติศาสตรโดยใชวิธีการทางประวัติศาสตร จะชวยใหผูศึกษาสามารถคนพบความจริงจาก
ขอเท็จจริงที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร
2. ตอบ ขอ 4. การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลจะชวยใหผลงานทางประวัติศาสตรสามารถอธิบายเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร ไดแจมชัดมากขึ้น ซึ่งผูศึกษาตองใชทั้งการวิเคราะหและสังเคราะหควบคูกันไป ดวยการ
พิจารณาวาเรื่องราว เหตุการณตางๆ เกิดขึ้นที่ไหน เมื่อใด อยางไร และแตละเหตุการณมีความเกี่ยวของ
สัมพันธกันอยางไร
3. ตอบ ขอ 4. เนือ่ งจากสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ไทยยังทําสงครามปองกันบานเมืองกับขาศึกทีเ่ ขามารุกราน รัชกาลที่ 2
ทรงเล็งเห็นวาขาศึกอาจยกกําลังมาทางทะเลได จึงโปรดเกลาฯ ใหสรางเมืองนครเขื่อนขันธที่เคยสราง
คางไวในรัชกาลกอนขึ้นเปนเมืองหนาดานบริเวณปากแมนํ้าเจาพระยา เพื่อปองกันการรุกรานของขาศึก
แบบทดสอบ

ที่ยกมาทางทะเล ในการสรางเมืองนครเขื่อนขันธนั้น รัชกาลที่ 2 โปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระบวรราชเจา-


มหาเสนานุรกั ษเปนแมกอง โดยตัดเอาทองทีแ่ ขวงกรุงเทพมหานครและแขวงเมืองสมุทรปราการบางสวน
รวมกันเปนเมืองใหม พระราชทานนามวา เมืองนครเขือ่ นขันธ และใหยา ยครัวมอญเมืองปทุมธานี จํานวน
300 คน ไปอยูที่เมืองนครเขื่อนขันธ ทรงตั้งสมิงทอมา บุตรพระยาเจง เปนเจาเมืองนครเขื่อนขันธ
4. ตอบ ขอ 2.
โครงการบูรณาการ

การติดตอคาขายกับตางประเทศสวนใหญเปนการคาทางทะเลโดยอาศัยเรือขนาดใหญ การตั้งราชธานีอยู
ใกลทะเลจะทําใหชาวตางชาติเขามาติดตอคาขายและขนสงสินคาเปนไปโดยสะดวก โดยเฉพาะการคาขาย
กับจีน นับเปนรายไดสําคัญในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน
5. ตอบ ขอ 3. การที่รัฐสงเสริมสนับสนุนใหชาวจีนที่อพยพเขามาในเมืองไทยชวยเหลือทําการคาให เนื่องจากชาวจีน
มีความสามารถในการคาขาย มีความชํานาญในการเดินเรือ รูจักตลาดคาขายตามเมืองทาตางๆ ดีกวา
คนไทย รวมทั้งไมขึ้นกับระบบไพรอีกดวย ชาวจีนจึงเปนทั้งพอคาคนกลาง เจาภาษีนายอากร ผูดําเนิน
การคาทางเรือ ผูดําเนินการคาขาย
6. ตอบ ขอ 4. การทําสนธิสญั ญาเบอรนยี ท าํ ใหองั กฤษไดรบั สิทธิพเิ ศษทางการคา โดยพอคาอังกฤษสามารถคาขายสินคา
ในเมืองไทยไดโดยเสรีและเสียภาษีในอัตราที่แนนอน แตทั้งนี้หามมิใหพอคาอังกฤษซื้อขาวเพื่อสงออก
นอกประเทศ สวนไทยไมเสียผลประโยชนมากนักและสามารถประนีประนอมได เพราะสนธิสัญญาฉบับนี้
มีผลบังคับใชเฉพาะพอคาชาวอังกฤษและคนในบังคับ ซึ่งในขณะนั้นมีการติดตอคาขายกับไทยนอยมาก
7. ตอบ ขอ 2. มหาเสนาเปนราชทินนาม ซึ่งเปนชื่อที่พระมหากษัตริยพระราชทานใหแกขุนนาง เจาพระยา คือ ยศ
สวนสมุหนายก คือ ตําแหนง ขุนนางไทยสมัยกอนนั้น เมื่อเขารับราชการจะไดรับพระราชทานยศศักดิ์
ซึ่งประกอบดวยยศหรือบรรดาศักดิ์ ตําแหนง ราชทินนาม และศักดินา โดยทั่วไปยศศักดิ์ทั้ง 4 ประการนี้
จะไปดวยกัน กลาวคือ เมื่อขุนนางไดรับพระราชทานยศหรือบรรดาศักดิ์สูงขึ้น ก็มักไดรับตําแหนง
ราชทินนาม และศักดินาสูงขึ้นตามไปดวย ซึ่งนําไปสูการไดควบคุมกําลังไพรพลจํานวนมาก

โครงการวัดและประเมินผล (24)
8. ตอบ ขอ 1. ไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนมีความสัมพันธกับพมาในลักษณะการทําสงครามตอกัน ซึ่งพมาตองการ
เขามามีอํานาจเหนือไทย ไทยจึงตองตอสูเพื่อรักษาบานเมือง โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 1 ไทยกับพมา
ทําสงครามกัน 7 ครั้ง มากกวารัชกาลใดๆ ในสมัยรัตนโกสินทร สงครามครั้งใหญ คือ สงครามเกาทัพ
ใน พ.ศ. 2328 โดยพระเจาปดุง กษัตริยพมาทรงเกณฑ ไพรพลไดประมาณแสนกวาคน แบงเปน 9 ทัพ
ประชิดพรมแดนไทยทางดานตะวันตก ตั้งแตหัวเมืองเหนือเรื่อยมาจนถึงหัวเมืองปกษใต ซึ่งจะแตกตาง
กับสมัยอยุธยาที่พมาจะยกทัพเขามาทางเดียวหรือ 2 ทาง
9. ตอบ ขอ 3. การที่ไทยเปนรัฐที่อยูตรงกลางระหวางเขตอํานาจของอังกฤษในพมา มลายู และเขตอํานาจของฝรั่งเศส
ในเวียดนาม กัมพูชา และลาว ไทยจึงเปรียบเสมือนรัฐกันชนระหวางอังกฤษกับฝรัง่ เศส ทําใหทงั้ สองชาติ
ไมกลารุกรานไทย เพราะเกรงวาจะขัดแยงกับอีกประเทศ
10. ตอบ ขอ 1. การปกครองแบบเทศาภิบาลเปนการรวมอํานาจการควบคุมขาราชการ การคลัง การทหาร และการบริหาร
หัวเมืองตางๆ เขาไวทสี่ ว นกลางในกระทรวงเดียวกัน ทําใหรฐั บาลสามารถดูแลหัวเมืองตางๆ ไดอยางทัว่ ถึง
หัวเมืองและประเทศราชรวมอยูในราชอาณาจักร ประเทศไทยในเวลานัน้ หรือสยามจึงมีลกั ษณะเปนรัฐชาติ
สําหรับหลักการและสาระสําคัญของการปกครองแบบเทศาภิบาล คือ รัฐบาลจะทําการปกครองหัวเมือง
ตั้งแตชั้นตํ่าสุดจนถึงชั้นสูงสุด โดยเริ่มตนใหพลเมืองมีสิทธิเลือกตั้งผูใหญบาน และผูใหญบานประมาณ

แบบทดสอบ
10 หมูบาน มีสิทธิเลือกตั้งนายกํานันของตําบล ตําบลหลายๆ ตําบลมีพลเมืองประมาณ 10,000 คน
รวมกันเปนอําเภอ มีนายอําเภอเปนผูบ งั คับบัญชาสูงสุด หลายอําเภอรวมกันเปนเมือง มีผวู า ราชการเมือง
เปนผูดูแล หลายเมืองรวมกันเปนมณฑลหนึ่ง มีขาหลวงเทศาภิบาลหรือตอมาเรียกวา สมุหเทศาภิบาล
เปนผูบ งั คับบัญชามณฑลละ 1 คน ในระยะแรกนีส้ มุหเทศาภิบาลขึน้ กับกระทรวงมหาดไทยบาง กระทรวง
กลาโหมบาง แตหลังจากการแบงหนาที่ของกระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงกลาโหมใน พ.ศ. 2437 แลว

โครงการบูรณาการ
มณฑลทั้งหลายขึ้นกับกระทรวงมหาดไทยเพียงกระทรวงเดียว
11. ตอบ ขอ 4. การยกเลิกระบบกินเมือง แลวใหรวมเมืองทั้งหลายเปนมณฑลเทศาภิบาลและมีขาหลวงเทศาภิบาลจาก
สวนกลางเปนผูปกครอง จัดเปนการปฏิรูปการปกครองสวนภูมิภาคในสมัยรัชกาลที่ 5
12. ตอบ ขอ 2. สืบเนื่องจากภายหลังไทยทําสนธิสัญญาเบาวริงแลว การคาขายมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว เงินตรา
ตางประเทศเขามาในเมืองอยางมากมาย เงินพดดวงที่รัฐบาลผลิตขึ้นไมเพียงพอกับความตองการในการ
แลกเปลี่ยนเงินตรา รัชกาลที่ 4 จึงทรงปรับปรุงดานการเงินของไทยดวยการตั้งโรงกษาปณสิทธิการเพื่อ
ผลิตเงินเหรียญใชแทนเงินพดดวงแบบเดิม โดยโปรดเกลาฯ ใหสั่งซื้อเครื่องจักรผลิตเงินเหรียญกษาปณ
จากอังกฤษเขามา ทําใหผลิตเงินเหรียญไดรวดเร็วขึ้น
13. ตอบ ขอ 2. เนือ่ งจากพระคลังสินคาซึง่ ทําหนาทีผ่ กู ขาดการคามาตัง้ แตสมัยกอนนับเปนแหลงรายไดทสี่ าํ คัญของไทย
การทําสนธิสญั ญาเบาวรงิ ทําใหทางราชการตองสูญเสียรายไดอยางมากจากการยกเลิกการผูกขาดการคา
โดยพระคลังสินคามาเปนการคาโดยเสรี
14. ตอบ ขอ 3. สาระสําคัญของสนธิสัญญาเบาวริงประการหนึ่ง คือ ไทยอนุญาตใหนําขาว ปลา เกลือไปขายยังตาง
ประเทศได ทําใหขาวกลายเปนสินคาออกที่สําคัญของไทยมาจนถึงปจจุบัน ดังนั้น หากประกอบอาชีพ
เปนเกษตรกรในสมัยรัชกาลที่ 4 การเลือกปลูกขาวจึงนาจะดีที่สุดเพื่อใหตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจภายหลังสนธิสัญญาเบาวริง

(25) โครงการวัดและประเมินผล
15. ตอบ ขอ 1. รัชกาลที่ 5 ทรงตระหนักถึงความจําเปนที่จะตองพัฒนาใหคนไทยมีความรูในวิทยาการแบบตะวันตก
ซึ่งเปนที่ตองการของทางราชการ จึงทรงปฏิรูปการศึกษาดวยการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นเพื่อผลิตคนออกมา
รับราชการตามความตองการของบานเมืองในขณะนั้น ไมวาจะเปนการจัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นใน
พระบรมมหาราชวังใน พ.ศ. 2414 เพื่อสอนหนังสือไทยแกเจานายและบุตรหลานของขุนนาง ตอมาได
เปดสอนภาษาอังกฤษดวย การจัดตั้งโรงเรียนนายทหารมหาดเล็กหรือโรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ
ใน พ.ศ. 2425 การตั้งโรงเรียนสําหรับราษฎรแหงแรกที่วัดมหรรณพารามใน พ.ศ. 2427 ตอมาไดขยาย
ออกไปตามลําดับทั้งในกรุงเทพฯ และหัวเมือง นอกจากนี้ ทรงตั้งกรมศึกษาธิการขึ้นใน พ.ศ. 2430 เพื่อ
รับผิดชอบในดานการศึกษาโดยเฉพาะ รวมทั้งทรงสงพระเจาลูกยาเธอ เจานาย พระบรมวงศานุวงศ และ
บุตรขุนนางที่ทรงเห็นสมควรไปศึกษาตอยังตางประเทศดวย
16. ตอบ ขอ 2. การจางชาวตางชาติมาชวยเปนที่ปรึกษาราชการเริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งไดวางรากฐานความเจริญ
ใหแกบานเมืองในสมัยหลังตอมา ครั้นหลัง พ.ศ. 2475 เปนตนมา ชาวตางชาติที่เขารับราชการไดลด
บทบาทลง จะเปนคนไทยหัวสมัยใหมที่ศึกษาจากตางประเทศเขามาชวยราชการมากกวา
17. ตอบ ขอ 3. ดังจะเห็นไดจากในเหตุการณครั้งนั้นไมมีการสูรบรุนแรงจนตองมีการเสียเลือดเนื้อเกิดขึ้น รัชกาลที่ 7
ทรงยอมรับการเปลีย่ นแปลงการปกครอง และพระราชทานรัฐธรรมนูญใหกบั ปวงชนชาวไทยเพือ่ ใชเปนหลัก
แบบทดสอบ

ในการปกครองประเทศสืบไป
18. ตอบ ขอ 2. ระหวางวันที่ 17-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ไดมีการชุมนุมประทวงการขึ้นดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี
ของพลเอก สุจินดา คราประยูร อดีตผูบัญชาการทหารสูงสุดและผูบัญชาการทหารบก ที่มิไดมาจาก
การเลือกตั้ง รัฐบาลไดใชกําลังปราบปรามผูชุมนุมอยางรุนแรง ทําใหมีผูบาดเจ็บลมตายเปนจํานวนมาก
โครงการบูรณาการ

จึงเรียกวา เหตุการณพฤษภาทมิฬ ตามชื่อของเดือนที่เกิดความรุนแรง


19. ตอบ ขอ 3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติแตละฉบับจะมีการวางเปาหมายไวอยางชัดเจน ซึง่ จะทําใหรฐั บาล
จัดสรรงบเพื่อใชในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไดอยางถูกตอง ไมเปนการสิ้นเปลืองงบประมาณมาก
เกินไป
20. ตอบ ขอ 2. การใชสนิ คาทีผ่ ลิตในเมืองไทยจะทําใหเกิดการหมุนเวียนของเงินภายในระบบเศรษฐกิจ เงินตราไมรวั่ ไหล
ออกนอกประเทศ อีกทั้งสงเสริมการจางงานเพิ่มขึ้น ซึ่งถือเปนการชวยพัฒนาเศรษฐกิจของชาติในระดับ
ที่นักเรียนสามารถทําได
21. ตอบ ขอ 4. ในสมัยสงครามเย็น ไทยใหการสนับสนุนกลมุ ประเทศประชาธิปไตยโดยใชนโยบายตอตานคอมมิวนิสตตาม
อยางสหรัฐอเมริกาและโลกเสรีประชาธิปไตย ไมวาจะเปนการสรางสัมพันธอันดีกับสหรัฐอเมริกา เพื่อให
ไดรับความชวยเหลือทางดานตางๆ ทั้งเศรษฐกิจ การเมือง การทหาร และวิชาการ หรือการสงทหารเขา
รวมรบกับโลกเสรีประชาธิปไตยตามมติขององคการสหประชาชาติในสงครามเกาหลี การเขาเปนสมาชิก
ผูร ว มกอตัง้ องคการซีโต (SEATO) เพือ่ ตอตานการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต การสงทหารเขาไปรวมรบ
กับสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรในสงครามเวียดนาม เปนตน
22. ตอบ ขอ 1. ไทยสมัยประชาธิปไตยเปนสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงในหลายดาน ไมวาจะเปนการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เพื่อใหทันกับยุคโลกาภิวัตนจึงตองดําเนินบทบาทของตนในสังคมโลก
ดวยการรวมมือกับนานาประเทศในดานตางๆ ทัง้ นีจ้ ะไดชว ยเพิม่ อํานาจการตอรองของตนในเวทีโลกเพื่อ
ใหแขงขันกับประเทศตางๆ ได

โครงการวัดและประเมินผล (26)
23. ตอบ ขอ 3. ประเทศไทยมีสภาพภูมิศาสตรและสิ่งแวดลอมที่แตกตางหลากหลาย ทําใหคนไทยเรียนรูที่จะปรับตัว
ใหเขากับสภาพแวดลอมนั้นๆ เชน ภาคกลางเปนที่ราบลุม มีแมนํ้าไหลผานหลายสาย บางพื้นที่จึงเกิด
นํ้าทวมในฤดูฝน ทําใหคนไทยแกปญหาดวยการสรางบานยกพื้นสูงเพื่อปองกันนํ้าทวม รวมทั้งปองกัน
สัตวรายหรือคนรายที่จะมาคุกคามคนในบานยามคํ่าคืนดวย เปนตน
24. ตอบ ขอ 1. ผามัดหมีเ่ ปนศิลปะการทอผาพืน้ เมืองที่ใชกรรมวิธที เี่ รียกวา การมัดยอม เพือ่ ทําใหผา ทอเกิดเปนลวดลาย
สีสันตางๆ ลักษณะเดนอยูตรงที่รอยซึมของสีที่วิ่งไปตามบริเวณของลวดลายที่ผูกมัด และการเหลื่อมลํ้า
ในตําแหนงตางๆ ของเสนดาย
25. ตอบ ขอ 2. การทีแ่ มของจอยแนะนําใหจอยรักษาโรคดวยการแพทยแผนไทย ก็เพราะวาการแพทยแผนไทยเปนวิธกี าร
บรรเทารักษาโรคทีช่ ว ยประหยัดคาใชจา ยใหแกผปู ว ย และไมมผี ลขางเคียงมากเทาการใชยาแผนปจจุบนั
จึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับประชาชนในการรักษาโรคภัยไขเจ็บ
26. ตอบ ขอ 1. หนังสือ นิรุกติศาสตร เปนวิชาที่วาดวยที่มาและความหมายของคํา ดังนั้น ถาศึกษาวิชานิรุกติศาสตร
ก็จะมีหลักเกณฑสําหรับวิเคราะหถอยคําในภาษาไทยแตละคําไดเปนอยางดี
27. ตอบ ขอ 2. พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชดังกลาวขางตน สะทอนใหเห็นวาการ

แบบทดสอบ
รักษามรดกทางวัฒนธรรม คือ การรักษาชาติ ถาเราไมชวยกันรักษาโบราณสถานซึ่งถือเปนมรดกทาง
วัฒนธรรม ก็เทากับสูญสิ้นชาตินั่นเอง
28. ตอบ ขอ 2. วันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 เปนวันเริม่ ตนเหตุการณการปฏิวตั ฝิ รัง่ เศส ซึง่ จัดเปนหัวเลีย้ วหัวตอสําคัญใน
ประวัตศิ าสตรการเมืองและสังคมยุโรป ทําใหการปกครองระบอบเกาซึง่ ยึดถือระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
และการดําเนินกฎเกณฑ ในสังคมตามระบอบฟวดัลเสื่อมสลาย และปลุกกระแสการปกครองในระบอบ

โครงการบูรณาการ
ประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศใหแกชาวยุโรป ซึ่งมีอิทธิพลอยางมากตอ
การปฏิวัติอีกหลายครั้งในหลายประเทศที่เกิดขึ้นในเวลาตอมา
29. ตอบ ขอ 3. กฎบัตรแมกนาคารตาหรือมหากฎบัตร เปนกฎบัตรทีพ่ ระเจาจอหนแหงอังกฤษถูกกลมุ ขุนนาง พระ พอคา
และประชาชน บีบบังคับใหทรงยอมรับขอตกลงที่เปนลายลักษณอักษรในการจํากัดพระราชอํานาจในการ
เก็บภาษีอากร การลงโทษ และอื่นๆ นับเปนจุดเริ่มตนที่นําไปสูพัฒนาการของระบบรัฐสภาในอังกฤษ
30. ตอบ ขอ 4. นักประวัติศาสตรตะวันตกไดกําหนดใหสมัยกลางสิ้นสุดลงในปลายคริสตศตวรรษที่ 15 เมื่อคริสโตเฟอร
โคลัมบัสคนพบทวีปอเมริกาใน ค.ศ. 1492 ภายใตการอุปถัมภของพระเจาเฟอรดินานด และสมเด็จ
พระราชินนี าถอิซาเบลลาแหงสเปน และเปนการเริม่ ตนประวัตศิ าสตรสมัยใหม ซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงเปน
อยางมากในยุโรป โดยยุโรปเขาสูย คุ ทีก่ ษัตริยก า วขึน้ มามีบทบาทในประเทศตางๆ เศรษฐกิจเกิดการขยายตัว
มีการคนพบดินแดนใหมๆ และชาติตะวันตกเขาครอบครองดินแดนตางๆ ทั่วโลก
31. ตอบ ขอ 1. การประกาศเลิกทาสในสหรัฐอเมริกานําไปสูความขัดแยงทางการเมือง ระหวางมลรัฐทางภาคเหนือซึ่ง
เปนเขตอุตสาหกรรมและไมใชแรงงานทาสนิโกร กับมลรัฐทางภาคใตที่เปนเขตเกษตรกรรมและอาศัย
แรงงานทาสนิโกร เมื่อรัฐบาลกลางประกาศเลิกทาสโดยมลรัฐทางภาคเหนือและมลรัฐทางภาคตะวันตก
ใหการสนับสนุน แตมลรัฐทางภาคใตไมเห็นดวยและประกาศแยกตัวออกจากรัฐบาลกลาง รัฐบาลกลาง
จึงเห็นวามลรัฐทางภาคใตเปนกบฏ สงครามกลางเมืองอเมริกันจึงเกิดขึ้นระหวาง ค.ศ. 1861-1865 และ
จบลงดวยความพายแพของมลรัฐทางภาคใตซึ่งเปนสมรภูมิในการรบ

(27) โครงการวัดและประเมินผล
32. ตอบ ขอ 2. การปฏิวัติของนายพลออกุสโต ปโนเชต ในชิลีครั้งนั้น มีผลทําใหยุคการปกครองประเทศตามวิถีทาง
ระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนับไดวายาวนานที่สุดในประวัติศาสตรการปกครองโดยมีรัฐธรรมนูญของบรรดา
ประเทศในลาตินอเมริกาถึงกาลอวสานและหันไปใชอํานาจเผด็จการทหารในการปกครอง ปจจุบันชิลี
กลับมาปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ
33. ตอบ ขอ 4. แอฟริกาเปนทวีปทีม่ คี วามอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติมากโดยเฉพาะทองคํา งาชาง เครือ่ งเทศ
ดังนั้น ชาวตะวันตกจึงตองการแสวงหาผลประโยชนจากทรัพยากรดังกลาว โดยเฉพาะเมื่อเกิดการปฏิวัติ
อุตสาหกรรมในคริสตศตวรรษที่ 19 ไดเกิดการแยงกันจับจองดินแดนแอฟริกาเปนอาณานิคม ชนพืน้ เมือง
ถูกนําตัวไปเปนทาสใหแกผปู ระกอบการโพนทะเลชาวยุโรปในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต จนกระทัง่
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ดินแดนในแอฟริกาจึงทยอยไดรับเอกราช
34. ตอบ ขอ 2. วันชาติออสเตรเลีย คือ วันที่ 26 มกราคมของทุกป เพื่อรําลึกถึงการเดินทางมาถึงออสเตรเลียครั้งแรก
ของกองเรือหมูแรก ภายใตการนําของกัปตันอาเทอร ฟลลิป เพื่อหาแหลงระบายนักโทษแทนอาณานิคม
อเมริกาที่ประกาศอิสรภาพแลว จึงยึดออสเตรเลียเปนแหลงระบายนักโทษแหงใหม
35. ตอบ ขอ 1. ในชวงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 รัสเซียเกิดการปฏิวัติขึ้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1917 ผลสําคัญของการ
ปฏิวัติครั้งนี้ คือ รัสเซียไดเปลี่ยนการปกครองเปนระบอบสังคมนิยมเปนประเทศแรกของโลก และตอมา
แบบทดสอบ

ไดเปลี่ยนชื่อเปนสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต และพยายามสรางระบอบการเมือง เศรษฐกิจ


สังคมและวัฒนธรรมใหมตามอุดมการณลทั ธิคอมมิวนิสต แนวความคิดลัทธิคอมมิวนิสตจงึ กลายเปนแนว
ความคิดทางการเมืองที่มีบทบาทและอิทธิพลตอประเทศตางๆ ในคริสตศตวรรษที่ 20
36. ตอบ ขอ 3. กอนสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุโรปเปนศูนยกลางแหงอํานาจทางการเมืองโลก แตเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2
ยุติ ทําใหอังกฤษ ฝรั่งเศสซึ่งเปนประเทศมหาอํานาจลดบทบาทลง โดยมีสหรัฐอเมริกาและสหภาพ
โครงการบูรณาการ

โซเวียตเปนประเทศอภิมหาอํานาจแทน ทั้งสองประเทศไดเขามามีบทบาทและอิทธิพลมากขึ้นในยุโรป
โดยสหรัฐอเมริกาไดชวยเหลือประเทศยุโรปตะวันตกในการบูรณะฟนฟูประเทศ ในขณะที่สหภาพโซเวียต
ก็ขยายอิทธิพลเขาไปในประเทศยุโรปตะวันออก
37. ตอบ ขอ 2. คําพูดดังกลาวเปนคําพูดที่ประธานาธิบดีริชารด นิกสันไดประกาศในวันเขารับตําแหนง เพื่อลดความเปน
ปรปกษระหวางนานาประเทศ ซึ่งเห็นไดวาเปนจุดเริ่มตนของการผอนคลายความตึงเครียดอยางชัดเจน
ทําใหสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตใชนโยบายหันหนาเขาหากันเพื่อสรางความสัมพันธอันดีในการ
แกไขปญหาขอขัดแยง
38. ตอบ ขอ 3. ตามกฎบัตรสหประชาชาติมีจุดมุงหมาย 4 ประการ ไดแก
1. การรักษาสันติภาพและความมั่นคงของโลก
2. พัฒนาความสัมพันธฉันมิตรระหวางประเทศ
3. รวมมือแกปญหาระหวางประเทศและสงเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน
4. เปนศูนยกลางในการสรางความปรองดองในการดําเนินนโยบายของชาติตางๆ
ซึ่งคําตอบขอ 3. ตรงกับจุดมุงหมายขอ 3.
39. ตอบ ขอ 4. สหภาพยุโรปหรืออียู (EU) เปนการรวมกลมุ ประเทศในทวีปยุโรปเพือ่ รวมมือกันสรางเอกภาพในการดําเนิน
นโยบายทางการเมือง เศรษฐกิจ การเงิน ความมั่นคง การตางประเทศ รวมถึงสังคมและวัฒนธรรม
40. ตอบ ขอ 2. เพราะขอผูกพันที่มีตอองคการการคาโลก ประเทศภาคีสมาชิกจะละเมิดไมได หากมีการละเมิดเกิดขึ้น
ประเทศนั้นตองเจรจาและชดใชใหประเทศที่เสียหาย

โครงการวัดและประเมินผล (28)
ตอนที่ 2

1. แนวตอบ เริ่มจากมีประเด็นที่จะศึกษาแลว ขั้นตอไป คือ การรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวของ เชน พระราชหัตถเลขา


ของรัชกาลที่ 5 เกีย่ วกับการเสด็จประพาสยุโรป บันทึกของผูต ามเสด็จประพาสยุโรป หรือเอกสาร ภายถาย
ของชาวตางชาติทกี่ ลาวถึงพระราชกรณียกิจของรัชกาลที่ 5 ขณะเสด็จประพาสยุโรป จากนัน้ ทําการประเมิน
ความนาเชือ่ ถือของหลักฐาน แลวนําขอมูลมาวิเคราะหและสังเคราะหโดยแยกแยะขอมูลออกเปนหมวดหมู
เชน สาเหตุของการเสด็จประพาสยุโรป พระราชกรณียกิจขณะเสด็จประพาส ผลจากการเสด็จประพาสยุโรป
จากนั้นสรุปผลการศึกษาและนําเสนอขอมูลอยางมีเหตุผล
2. แนวตอบ เห็นดวยกับขอความดังกลาว ดังจะเห็นไดจากรัชกาลที่ 1 ยังคงยึดถือจารีตประเพณีการปกครองตามแบบอยาง
อยุธยาและธนบุรี และมีแกไขปรับปรุงบาง นอกจากนี้ยังโปรดเกลาฯ ใหรื้อกําแพงและปอมกรุงศรีอยุธยา
มาสรางกําแพงและปอมปราการของราชธานีใหม ทรงสรางวัดวาอารามและบูรณปฏิสังขรณพระพุทธรูป
ที่ชํารุดเสียหายตามหัวเมืองตางๆ แลวนําเขามารักษาไวในพระนคร นอกจากนี้ พระองคยังทรงฟนฟู
พระราชพิธีสําคัญตางๆ เชน พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีถือนํ้าพระพิพัฒนสัตยา ทรงสราง
วัดพระศรีรัตนศาสดารามหรือวัดพระแกวในเขตพระบรมมหาราชวังเหมือนกับวัดพระศรีสรรเพชญที่

แบบทดสอบ
กรุงศรีอยุธยา จากตัวอยางที่กลาวมาแสดงใหเห็นวา พระมหากษัตริย ไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตนทรง
มีพระราชประสงคที่จะสรางกรุงรัตนโกสินทรใหเจริญรุงเรืองเชนสมัยอยุธยาอีกครั้งหนึ่ง
3. แนวตอบ รัชกาลที่ 5 ทรงเล็งเห็นวาวิธกี ารปกครองบานเมืองทีเ่ ปนอยูน นั้ ลาสมัย มีผลทําใหประเทศชาติขาดเอกภาพ
ในการปกครอง อีกทัง้ ในขณะนัน้ อยูในชวงจักรวรรดินยิ มทีม่ หาอํานาจตะวันตกเขามาแสวงหาอาณานิคมใน
ดินแดนตางๆ รวมทัง้ เอเชีย หากไมทรงทําการปฏิรปู การปกครองแผนดินอาจเปนอันตรายตอเอกราชของ

โครงการบูรณาการ
ชาติได การปฏิรูปการปกครองของพระองคนับเปนการวางรากฐานการปกครองใหแกสมัยหลังตอมา ซึ่ง
ไดมีการปรับปรุงบางสวนใหมีความเหมาะสมตอสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ทําใหประเทศมีระบบการ
บริหารทีท่ นั สมัย มีเอกภาพและมัน่ คง และทีส่ าํ คัญประเทศไทยรอดพนจากการยึดครองของชาติตะวันตก
4. แนวตอบ บทบาทของไทยตอสังคมโลกนั้นมีมากมาย โดยเริ่มตั้งแตประเทศไทยเปนสมาชิกองคการสหประชาชาติ
ใน พ.ศ. 2489 และไดเขารวมภารกิจของสหประชาชาติในการรักษาสันติภาพเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน
และตอมาไดรวมมือกับประเทศตางๆ ทั้งภูมิภาคเดียวกันและตางภูมิภาค เชน เปนสมาชิกผูรวมกอตั้ง
องคการสนธิสัญญาปองกันรวมกันแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือซีโต (SEATO) จัดตั้งสมาคมเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต หรืออาสา (ASA) เพื่อรวมกันทางดานเศรษฐกิจและสังคม ภายหลังรวมกลุมกับ
ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในนามสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือ
อาเซียน (ASEAN) เพื่อสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาค และไทยยัง
เขาเปนสมาชิกขององคการการคาโลก (WTO) และองคการอื่นๆ อีกดวย เปนตน การที่ไทยมีบทบาท
ในเวทีโลกยอมสงผลดีตอภาพลักษณและฐานะของประเทศ โดยปจจุบันไทยตองการที่จะรวมมือกับ
นานาประเทศมากขึ้น
5. แนวตอบ คริสตศตวรรษที่ 20 เปนศตวรรษแหงความรุนแรงหรือศตวรรษแหงสงคราม โดยเกิดสงครามโลก
ขึ้นถึง 2 ครั้ง และสงผลกระทบใหญหลวงตอโลก สงครามที่เกิดขึ้นมีการใชประดิษฐกรรมใหมๆ ในการรบ
ทําใหสังหารชีวิตผูคนจํานวนมหาศาลอยางไรคา โดยเฉพาะการฆาลางเผาพันธุชาวยิวที่เกิดขึ้นใน
สงครามโลกครั้งที่ 2 สะทอนใหเห็นถึงความเหี้ยมโหดของมนุษยที่กระทําตอเพื่อนมนุษยดวยกัน รวมทั้ง
การใชอาวุธปรมาณูของสหรัฐอเมริกา ซึ่งไดขยายขอบเขตความหายนะรายแรงกวาที่เคยปรากฏมากอน
ในประวัติศาสตรการทําสงครามของมนุษยชาติ
(29) โครงการวัดและประเมินผล
เฉลยแบบทดสอบ ชุดที่ 3

ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 3. การวิเคราะห สังเคราะห และจัดหมวดหมูข อ มูล เปนขัน้ ตอนทีน่ าํ ขอเท็จจริงทีร่ วบรวมไดจากหลักฐานทีผ่ า น
การประเมินคุณคาแลว มาวิเคราะหหรือแยกแยะเปนประเด็นตางๆ เชน สาเหตุของเหตุการณ เหตุการณ
ทีเ่ กิดขึน้ ผลของเหตุการณ แลวสังเคราะหหรือรวมประเด็นตางๆ เขาเปนเรือ่ งราวทางประวัตศิ าสตรตาม
ประเด็นที่ตองการศึกษา
2. ตอบ ขอ 2. การศึกษาเรือ่ งราว เหตุการณทางประวัตศิ าสตรเกีย่ วกับครอบครัวจะสะทอนความผูกพันในอดีตของคนใน
ครอบครัว ซึ่งชวยสรางความรัก ความผูกพันในครอบครัวใหแนนแฟนยิ่งขึ้น
3. ตอบ ขอ 4. เหตุการณทางประวัตศิ าสตรดงั กลาวเกิดขึน้ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย โดยวิเคราะห
จากปที่เกิดเหตุการณ โดยนํา จ.ศ. 1172 มาเทียบเปน พ.ศ. จะตรงกับ พ.ศ. 2353 ซึ่งอยูในชวงรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย และวิเคราะหจากรายละเอียดของเหตุการณทวี่ า กษัตริยเ วียดนาม
แบบทดสอบ

สงทูตเขามายังกรุงเทพฯ ซึ่งกรุงเทพฯ เปนราชธานีของไทยสมัยรัตนโกสินทร


4. ตอบ ขอ 3. เนื่องจากในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน การไปศึกษายังตางประเทศยังไมแพรหลายในหมูคนไทย คนไทย
สวนใหญยังคงศึกษาจากวัดในชุมชนโดยมีพระภิกษุสงฆเปนครู จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ 4-5 จึงทรง
สงเสริมการเรียนรูภาษาของชาติตะวันตก
5. ตอบ ขอ 1. กฎหมายตราสามดวงเปนกฎหมายเกาของไทยที่ใชกันมาในสมัยอยุธยาและธนบุรี โดยไดรับอิทธิพลจาก
โครงการบูรณาการ

คัมภีรพ ระธรรมศาสตรของอินเดีย แตภายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 กฎหมายบางสวน


มีขอบกพรองจนทําใหไมมีความยุติธรรม ดังนั้น รัชกาลที่ 1 จึงโปรดเกลาฯ ใหราชบัณฑิต ลูกขุน
(ผูพิพากษา) และอาลักษณ รวม 11 นาย ชวยกันชําระกฎหมายใหมีความบริสุทธิ์ยุติธรรม และทรงตรวจ
แกไขดวยพระองคเอง เสร็จแลวใหประทับตราพระราชสีห ตราพระคชสีห และตราบัวแกวไว ดวยเหตุนี้
จึงเรียกกฎหมายนี้วา กฎหมายตราสามดวง และแยกเก็บไว 3 แหง ไดแก หอหลวง ศาลหลวง และ
หองเครื่อง (หรือขางที่) เพื่อใหสามารถตรวจสอบกันไดเมื่อมีปญหาเกิดขึ้น
6. ตอบ ขอ 3. ระบบเจาภาษีนายอากรหรือการประมูลผูกขาดจัดเก็บภาษีอากรเริ่มมีมาตั้งแตสมัยอยุธยา จนกระทั่งใน
ตอนปลายรัชกาลที่ 2 จึงไดนําระบบนี้มาใชอีกครั้งหนึ่ง และขยายตัวกวางขวางในสมัยรัชกาลที่ 3 วิธีการ
ประมูลผูกขาดจัดเก็บภาษีอากรดังกลาว ทางราชการจะใหเอกชนเขามาขอประมูลจากรัฐบาลเพื่อเก็บ
ภาษีชนิดใดชนิดหนึ่ง ผูชนะการประมูลจะไดเปนเจาภาษีนายอากร มีอํานาจสิทธิ์ขาดในการเก็บภาษีตาม
ทีป่ ระมูลไดและไดรบั บรรดาศักดิเ์ ปนขุนนาง เมือ่ ถึงเวลาทีก่ าํ หนด เจาภาษีจะตองนําเงินภาษีอากรทีเ่ ก็บได
มาสงหลวงใหครบตามสัญญา โดยมีพระคลังสินคาคอยควบคุมการเก็บผลประโยชน ในลักษณะนี้ใหกับ
รัฐบาล ทําใหรัฐในเวลานั้นมีรายไดที่คอนขางชัดเจนและแนนอน อยางไรก็ดี ในการจัดเก็บภาษีอากร
ของเจาภาษีนายอากรสามารถเรียกเก็บไดในพิกัดอัตราที่มีการกําหนดไวในแตละประเภท แตในทาง
ปฏิบัติ เจาภาษีนายอากรมักเก็บเกินอัตราที่กําหนดไวอยูเสมอ จึงเปนชองทางใหเจาภาษีนายอากร
แสวงหากําไรหรือผลประโยชนสวนตัวเพิ่มมากขึ้น ตอมาเจาภาษีนายอากรเริ่มหลีกเลี่ยงการชําระเงิน
ใหครบถวนตามยอดเงินที่ตนประมูลได ทําใหการเก็บภาษีอากรไดไมเต็มจํานวน ดังนั้น รัชกาลที่ 5
จึงคอยๆ ยกเลิกการประมูลผูกขาดจัดเก็บภาษีอากรเปนลําดับมา จนในทีส่ ดุ ก็ไดลม เลิกระบบเจาภาษีนายอากร
ทั่วประเทศในสมัยรัชกาลที่ 6

โครงการวัดและประเมินผล (30)
7. ตอบ ขอ 2. ในยามปกติไพรมีหนาที่รับราชการโดยถูกเกณฑแรงงานมาทํางานใหกับทางราชการในชวงเวลาหนึ่ง
ทุกๆ ป ทีเ่ รียกวา การเขาเดือน งานที่ไพรตอ งทําในระหวางการมาเขาเดือนมีหลายประเภท เชน กอสราง
และซอมแซมวัง วัด กําแพง ปอม ขุดคลอง ทําถนน เปนตน และยังตองรับใชมูลนายที่ตนสังกัดดวย
สวนในยามสงคราม ทางราชการถือวาไพรทกุ คนเปนกําลังรบ ไพรตอ งประจําการพรอมทําการรบตลอดเวลา
ไมมีโอกาสออกไปทํามาหากินไดเลย กลาวไดวาไพรจะตองสังกัดมูลนาย และจะยายที่อยูตามใจตนไมได
ตองทํามาหากินอยูในภูมิลําเนาของตน รวมทั้งจะยายกรมสังกัดไมไดเวนแตไดรับอนุญาตจากมูลนาย
อยางไรก็ดี แมวา ไพรจะตองรับภาระอยางหนักทัง้ ในยามปกติและยามสงคราม แตไพรกไ็ ดรบั ความชวยเหลือ
คุมครองจากทางราชการโดยผานทางเจาขุนมูลนาย และยังมีโอกาสไดเลื่อนชั้นในสังคมไดดวย
8. ตอบ ขอ 1. นโยบายประนีประนอมผอนปรนของไทย ดังจะเห็นไดจากการทําสนธิสญั ญาเบอรนยี  ที่ไทยสามารถเจรจา
จนอังกฤษยอมรับสิทธิและอธิปไตยของไทยเหนือไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และพอคาอังกฤษสามารถเขามา
คาขายในเมืองไทยไดอยางเสรีโดยเสียภาษีในอัตราทีแ่ นนอน แตทางราชการไทยยังคงผูกขาดการคาขาว
และหามมิใหพอ คาอังกฤษนําอาวุธปนและกระสุนดินดําเขามาขายในเมืองไทย การทําสนธิสญั ญาดังกลาว
ก็เพื่อรักษาความมั่นคงของอาณาจักรเปนสําคัญ
9. ตอบ ขอ 4. การยกเลิกธรรมเนียมที่ลาหลัง จะทําใหชาติตะวันตกใชเรื่อง “ภาระของคนผิวขาว” ที่จะยึดครองดินแดน

แบบทดสอบ
ที่ลาหลังเพื่อพัฒนาใหเจริญกาวหนามาเปนขออางยึดครองไทยไมได สําหรับการยกเลิกขนบธรรมเนียม
ประเพณีที่ทําใหชาวตะวันตกดูถูกคนไทย ดังจะเห็นไดจากรัชกาลที่ 4 โปรดเกลาฯ ใหชาวตางประเทศ
เขาเฝาพระองค ไดในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกซึ่งไมเคยปรากฏมาในรัชกาลกอนๆ อีกทั้งทรงออก
ประกาศใหทราบทัว่ กันวา ในการเขาเฝานัน้ ชาวตางประเทศสามารถแสดงความเคารพตอพระองคไดตาม
ธรรมเนียมประเพณีนิยมของพวกเขา เชน ใหยืนตรงถวายคํานับได โดยไมตองถูกบังคับใหหมอบกราบ

โครงการบูรณาการ
เหมือนดั่งที่พวกทูตฝรั่งตองปฏิบัติตอนเขาเฝาพระมหากษัตริยพระองคกอนๆ อีกทั้งยังโปรดเกลาฯ
พระราชทานเลีย้ งแกชาวตางประเทศ พรอมทัง้ แจกของทีร่ ะลึกอีกดวย สําหรับคนไทยนัน้ ยังคงโปรดเกลาฯ
ใหหมอบกราบตอนเขาเฝาตอไปตามประเพณีนยิ มเดิมของไทย นอกจากนี้ ทรงออกประกาศใหขา ราชการ
สวมเสื้อเวลาเขาเฝาทุกคนดวย เปนตน
10. ตอบ ขอ 3. สมัยจักรวรรดินิยมที่เกิดขึ้นในตนพุทธศตวรรษที่ 25 ไดนําไปสูการที่ชาติตะวันตกเขายึดครองดินแดน
ตางๆ ในเอเชียและแอฟริกา โดยเกิดจากแรงผลักดันหลายประการ ทั้งเพื่อเปนแหลงทรัพยากรและตลาด
ระบายสินคาอุตสาหกรรม พลังชาตินิยมเพื่อความยิ่งใหญของชาติ แหลงระบายประชากรที่เพิ่มจํานวน
อยางรวดเร็ว การเผยแผคริสตศาสนาเพื่อใหพวกนอกรีตกลายเปนคริสตศาสนิกชน รวมถึงแนวคิดใน
เรื่อง “ภาระของคนผิวขาว” (white man’s burden) เพื่อชวยใหคนผิวสีอื่นๆ มีความเจริญขึ้น ดวยสาเหตุ
ดังกลาว เมืองไทยในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 จึงถูกคุกคามจากมหาอํานาจตะวันตกทัง้ จากอังกฤษ
และฝรัง่ เศส การถูกคุกคามจากจักรวรรดินยิ มตะวันตกนีเ้ องทีเ่ ปนตัวเรงสําคัญทีท่ าํ ใหรชั กาลที่ 5 ทรงเห็น
ความจําเปนในการที่ตองปฏิรูปประเทศเปนการดวน ทั้งนี้เพราะพระองคและกลุมคนรุนใหมอื่นๆ ไดแก
พระบรมวงศานุวงศ และขาราชการที่ไดรับการศึกษาแบบใหมตั้งแตรัชกาลที่แลว ตางตระหนักถึงภัย
คุกคามจากการแสวงหาอาณานิคมของประเทศมหาอํานาจตะวันตก และมีความเห็นสอดคลองเชนเดียวกับ
รัชกาลที่ 4 วา วิธีการเผชิญหนากับการคุกคามของจักรวรรดินิยมตะวันตก คือ ไทยจะตองยอมผอนปรน
ตามขอเรียกรองของมหาอํานาจตะวันตกบาง ในทํานองยอมเสียผลประโยชนสว นนอยเพือ่ รักษาประโยชน
สวนใหญ คือ เอกราชของชาติไว แตในขณะเดียวกันก็ตองเรงปรับปรุงประเทศใหเจริญตามแบบตะวันตก

(31) โครงการวัดและประเมินผล
11. ตอบ ขอ 1. การปฏิรปู การปกครองของรัชกาลที่ 5 นับเปนกาวสําคัญอีกกาวหนึง่ ในประวัตศิ าสตรการปกครองของไทย
เพราะเปนการดําเนินการตอจากการปฏิรปู การปกครองเมือ่ ครัง้ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึง่ เปนเวลาที่
ผานมาถึง 400 ป ยิง่ ไปกวานัน้ การปฏิรปู การปกครองของรัชกาลที่ 5 เปนพระราชประสงคของพระองคเอง
เพื่อรักษาเอกราชของบานเมืองและความสุขของบรรดาราษฎร ซึ่งผลดีจากการปฏิรูปการปกครองนั้น
ทําใหการปกครองของไทยมีระบบทีช่ ดั เจน มีความเปนอันหนึง่ อันเดียวกันภายในอาณาจักร เกิดความเปน
เอกภาพทางการเมือง เปนรัฐชาติในความหมายสมัยใหม สําหรับนโยบายของรัชกาลที่ 5 ในการปฏิรูป
การปกครอง มีดังนี้
1. การปกครองสวนกลาง ทรงประกาศจัดตั้งเสนาบดีสภา และกระทรวงแบบใหมขึ้นแทนจตุสดมภ โดย
จัดสรรอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของแตละกระทรวงใหชัดเจนและเปนสัดสวน โดยมีดวยกัน
12 กระทรวง
2. การปกครองสวนภูมภิ าค ทรงยกเลิกระบบกินเมือง และจัดการปกครองแบบเทศาภิบาล โดยรวมเมือง
ทั้งหลายเขาเปนมณฑลเทศาภิบาล และมีขาหลวงเทศาภิบาลหรือสมุหเทศาภิบาลจากสวนกลางเปน
ผูปกครอง อํานาจสวนกลางจึงครอบคลุมสวนภูมิภาค
3. การปกครองสวนทองถิ่น ทรงนําระบบการปกครองแบบสุขาภิบาลมาใชเปนครั้งแรกที่ตําบลทาฉลอม
เมืองสมุทรสาคร และแตงตั้งตําแหนงกํานัน ผูใหญบาน
แบบทดสอบ

12. ตอบ ขอ 1. สาเหตุสําคัญที่รัชกาลที่ 5 ทรงเลิกทาสก็คือ ตองการใหราษฎรสวนใหญไดรับอิสรเสรีที่จะออกไปเปน


แรงงานสําคัญในภาคเกษตรกรรม และเพื่อใหสอดคลองกับสภาพการเมืองการปกครองประเทศที่กําลัง
พัฒนาไปสูรูปแบบใหมซึ่งเปนสังคมที่กาวหนาและทันสมัยตามแบบตะวันตก ในการเลิกทาส รัชกาลที่ 5
ทรงดําเนินการใน พ.ศ. 2417 แตใหมีผลยอนหลังไปถึง พ.ศ. 2411 ซึ่งเปนปที่พระองคเสด็จขึ้นครอง
ราชสมบัติ โดยใหลูกทาสที่เกิดใน พ.ศ. 2411 มีคาตัวลดลงเรื่อยๆ จนอายุยางเขาปที่ 21 ก็หมดคาตัวเปน
ไทหรือเปนอิสระได ดังนั้น ลูกทาสรุนแรกที่เปนไท คือ ลูกทาสที่เกิดเมื่อ พ.ศ. 2411 และเปนไทเมื่อ
โครงการบูรณาการ

พ.ศ. 2432 จากนั้นลูกทาสรุนตอๆ มาก็คอยๆ เปนไทตามลําดับ จนใน พ.ศ. 2448 พระองคทรงประกาศ


ยกเลิกระบบทาสในไทย โดยใหลูกทาสทั้งหลายที่มีอยูเปนไททั้งหมด หามคนที่เปนไทขายตัวเปนทาส
อีกตอไป สวนผูเปนทาสใหลดคาตัวลงเดือนละ 4 บาท จนหมดคาตัวหรือหมดหนี้
13. ตอบ ขอ 2. ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไทยเผชิญกับการคุกคามของจักรวรรดินยิ มอังกฤษและฝรัง่ เศสอยางหนัก และผูน าํ ไทย
ตระหนักดีวาไทยไมอาจสูกับมหาอํานาจตะวันตกที่มีกําลังทหารและอาวุธที่เหนือกวาได ดังนั้น จึงทรง
เตรียมการปองกันและแกไขไมใหภัยอันตรายขยายตัวลุกลามไปจนทําใหเสียเอกราชได วิธีการหนึ่งก็คือ
การใชนโยบายการทูตนําการทหารในการติดตอสัมพันธกับมหาอํานาจตะวันตก ซึ่งถือเปนนโยบายที่กอ
ใหเกิดสันติภาพและเหมาะสมกับสภาพการเมืองระหวางประเทศในขณะนั้น แมวาการเจรจาจะทําใหไทย
ตองยอมเสียดินแดนบางสวนใหแกฝรั่งเศสและอังกฤษไปก็ตาม แตก็เปนเหตุการณที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได
ซึ่งการใชวิธีทางการทูตในการแกไขปญหาก็มีสวนชวยใหไทยสามารถรักษาเอกราชไวได นอกจากนี้
รัชกาลที่ 5 ยังทรงเห็นความจําเปนที่จะตองเสด็จประพาสยุโรปเพื่อเจรจาโดยตรงกับผูนําอังกฤษและ
ฝรั่งเศส นอกเหนือจากการทอดพระเนตรความเจริญของยุโรปเพื่อนํามาใชปรับปรุงในบานเมือง โดยใน
การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 พ.ศ. 2440 ถือไดวาเปนการดําเนินงานทางการทูตที่ประสบความสําเร็จ
พระองคทรงไดรับการตอนรับจากซารนิโคลัสที่ 2 แหงรัสเซียอยางสมพระเกียรติ และรัสเซียไดรับรอง
ความเปนเอกราชของไทย สวนฝรั่งเศส พระองคทรงเจรจากับผูนํารัฐบาลฝรั่งเศสในเรื่องสําคัญตางๆ
เชน เรื่องการสืบทอดการเปนคนในบังคับฝรั่งเศส เรื่องหลักเขต 25 กิโลเมตร เรื่องการปลอยตัวพระยอด
เมืองขวาง เปนตน ตอมาพระองค ไดเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 พ.ศ. 2450 เพื่อรักษาพระพลานามัยที่
ถูกบัน่ ทอนไปในระหวางการคุกคามเรือ่ งดินแดนจากอังกฤษและฝรัง่ เศส และการปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจ
ที่เปนการสงเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศโดยเฉพาะกับฝรั่งเศส

โครงการวัดและประเมินผล (32)
14. ตอบ ขอ 4. หากนักเรียนเปนชาวอังกฤษและกระทําความผิดในประเทศไทย จะตองถูกดําเนินคดีที่ศาลกงสุลอังกฤษ
ในไทย ทั้งนี้เปนไปตามผลจากการทําสนธิสัญญาเบาวริง ที่อังกฤษสามารถตั้งศาลกงสุลขึ้นในกรุงเทพฯ
แลวยังไดสิทธิสภาพนอกอาณาเขต กลาวคือ ใหศาลกงสุลอังกฤษมีสิทธิพิพากษาคดีคนอังกฤษรวมไป
ถึงคนในบังคับอังกฤษที่เปนชาวเอเชียที่ตกเปนจําเลย โดยมีกงสุลเปนผูลงโทษตามกฎหมายอังกฤษ
ซึ่งศาลกงสุลมักผอนปรนการลงโทษคนในบังคับเพื่อจูงใจใหคนมาสมัครเปนคนในบังคับดวย กลาวไดวา
สนธิสญั ญาเบาวรงิ ทําใหไทยตองเสียอธิปไตยทางการศาลใหแกองั กฤษ อยางไรก็ดี ปญหาเรือ่ งคนในบังคับ
และการใชสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในระยะแรกๆ มีไมมาก เพราะคนในบังคับตางชาติมีนอย แตในสมัย
รัชกาลที่ 5 เรื่องนี้กลายเปนปญหาใหญที่ไทยจะตองรีบจัดการแกไข
15. ตอบ ขอ 3. หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ไทยไดรับการยอมรับใหเขาเปนสมาชิกองคการสันนิบาตชาติ ซึ่งเปนองคการ
สากลที่สําคัญที่สุดของโลกในขณะนั้น กลาวไดวา ไทยไดเขาสูสังคมนานาชาติ ที่ทําใหชื่อเสียงของไทย
แพรหลายมากขึ้น
16. ตอบ ขอ 4. การไดรบั การศึกษาและแนวคิดประชาธิปไตยจากโลกตะวันตกเปนสาเหตุสาํ คัญประการหนึง่ ทีน่ าํ ไปสูก าร
เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยในสมัยรัชกาลที่ 7 กลุมผูรับการศึกษาจากตางประเทศ ซึ่ง
ประกอบดวย รอยโท ประยูร ภมรมนตรี รอยโท แปลก ขีตตะสังคะ (ตอมาคือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม)

แบบทดสอบ
รอยตรี ทัศนัย มิตรภักดี นายตั้ว ลพานุกรม หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี) นายแนบ พหลโยธิน
และหลวงประดิษฐมนูธรรม (ปรีดี พนมยงค) ไดรวมตัวกันกอตั้ง “คณะราษฎร” ขึ้นเพื่อเปลี่ยนแปลง
การปกครองใน พ.ศ. 2475
17. ตอบ ขอ 2. ปญหาเศรษฐกิจตกตํ่าเปนผลสืบเนื่องจากการใชจายในสมัยรัชกาลที่ 6 และภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก
รัชกาลที่ 7 จึงทรงพยายามแกไขปญหาเศรษฐกิจดวยวิธีการตางๆ เชน การตัดทอนรายจายลงหลายครั้ง

โครงการบูรณาการ
การเพิม่ ภาษีตา งๆ หลายประเภท การปลดขาราชการออกเปนจํานวนมาก เปนตน มาตรการแกไขปญหา
ตางๆ เหลานี้ลวนมีผลกระทบตอขาราชการและราษฎรที่กําลังทุกขยากอยูในขณะนั้นมากขึ้น นอกจากนี้
นับตั้งแต พ.ศ. 2472 เปนตนมาจนถึง พ.ศ. 2475 ไดเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลกที่สืบเนื่องมาจาก
สงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของไทยอยางมาก เนื่องจากสินคาไทยไมสามารถขาย
ในตลาดโลกได ทําใหเปนเหตุผลสําหรับคณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
18. ตอบ ขอ 3. จากการจับกุมผูช มุ นุมทีท่ าํ การเคลือ่ นไหวเพือ่ เรียกรองรัฐธรรมนูญซึง่ ประกอบดวยนิสติ นักศึกษา อาจารย
และนักการเมืองจํานวน 13 คน โดยถูกตั้งขอหาวาเปนกบฏ ทําใหเกิดการชุมนุมที่ขยายตัวออกเปน
วงกวางเพื่อเรียกรองใหปลอยตัวผูที่ถูกจับกุม จนทําใหรัฐบาลใชกําลังเขาปราบปรามผูชุมนุมดวยอาวุธ
ที่รุนแรงและลุกลามไปจนเกิดการนองเลือดในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ในที่สุด
19. ตอบ ขอ 3. วัตถุประสงคสาํ คัญของการประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับแรก คือ ยกมาตรฐานการครองชีพ
ของประชาชนใหดีขึ้น โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับแรก มีระยะเวลา 6 ป ระหวาง พ.ศ. 2504-
2509 โดยมุงเนนไปในดานการเพิ่มประสิทธิภาพและปริมาณการผลิตดานเกษตรกรรม รวมทั้งการสราง
โครงสรางพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ เชน การขนสง การสือ่ สาร การชลประทาน ตลอดจนสงเสริมอุตสาหกรรม
โดยกระตุนใหภาคเอกชนตื่นตัวกันมากขึ้น
20. ตอบ ขอ 4. การกูเ งินจากตางประเทศเปนจํานวนมาก แตไมไดถกู นําไปใชลงทุนทางเศรษฐกิจอยางเปนรูปธรรม ทําให
ไมกอใหเกิดรายได ดังนั้น เมื่อครบกําหนดชําระหนี้คืนจึงไมมีเงินใชหนี้
21. ตอบ ขอ 3. ปจจุบันสังคมไทยสมัยประชาธิปไตยมีลักษณะเปนสังคมที่ใหความสําคัญกับวัตถุนิยมและบริโภคนิยม
ดังจะเห็นไดจากการใชเงินจับจายซื้อของในราคาแพง มียี่หอดังๆ และทันสมัยเปนจํานวนมาก โดยไม
คํานึงถึงประโยชนในการใชสอยที่แทจริง
(33) โครงการวัดและประเมินผล
22. ตอบ ขอ 4. การทีป่ ระเทศไทยสมัยประชาธิปไตยใหความรวมมือกับนานาประเทศ ก็เพือ่ สรางความมัน่ คงและเขมแข็ง
ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เพื่อใหมีความเจริญกาวหนาและมั่งคั่ง และใหทุกคนอยูภายใตสังคมโลก
รวมกันอยางสันติสุข สําหรับตัวอยางความรวมมือระหวางประเทศของไทยสมัยประชาธิปไตย เชน
การเขาเปนสมาชิกองคการสหประชาชาติ การสงกําลังทหารเขารวมรบกับโลกเสรีภายใตการนําของ
สหรัฐอเมริกาตามมติขององคการสหประชาชาติในสงครามเกาหลี การเขาเปนสมาชิกผูร ว มกอตัง้ องคการ
สนธิสัญญาปองกันรวมกันแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือซีโต (SEATO) การใหความรวมมือกับ
สหรัฐอเมริกาในการเขาไปปฏิบตั กิ ารในสงครามกลางเมืองในลาว การสงทหารเขารวมรบกับสหรัฐอเมริกา
และพันธมิตรในสงครามเวียดนาม การเปดความสัมพันธทางการทูตกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
การรวมมือกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตจัดตั้งสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต
หรืออาเซียน (ASEAN) ซึ่งตอมาจะพัฒนาความรวมมือเปนประชาคมอาเซียน การเขาเปนสมาชิก
องคการการคาโลก (WTO) เปนตน
23. ตอบ ขอ 1. ภูมิปญญา คือ ความรู ความคิด ความเชื่อ ที่เกิดจากประสบการณ การปรับตัวและการดํารงชีวิตที่ได
พัฒนาสืบสานกันมา สวนวัฒนธรรม คือ ระบบความเชื่อ คุณคา และวิถีชีวิตทั้งหมด ดังนั้น ภูมิปญญา
และวัฒนธรรมจึงเปนสิ่งที่ผสานกันอยางลงตัว ภูมิปญญาจึงเปนลักษณะสวนหนึ่งของวัฒนธรรม
24. ตอบ ขอ 4. เพราะขาวเปนอาหารหลักของคนไทยที่ใชหลอเลี้ยงชีวิตใหมีสุขภาพดี จึงเปรียบเสมือนมารดาที่เลี้ยงดู
แบบทดสอบ

บุตรใหเจริญเติบโต
25. ตอบ ขอ 3. เอกลักษณของตุกตาชาววัง คือ ลักษณะทรวดทรงและทาทางของตุกตาที่สื่อใหเห็นถึงชีวิตความเปนอยู
และวิถชี วี ติ แบบไทย การละเลน และขนบธรรมเนียมประเพณี ซึง่ บงบอกถึงความมีวฒ ั นธรรมของคนไทย
26. ตอบ ขอ 4. การที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงฟนฟูพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรก
นาขวัญ พระราชพิธีเสด็จพระราชดําเนินถวายผาพระกฐิน โดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เปนตน
โครงการบูรณาการ

แสดงใหเห็นถึงบทบาทสําคัญของพระองคในการธํารงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอันงดงามและ
ยิ่งใหญ ขณะที่ขอ 1. แสดงถึงบทบาทของพระองคทางศิลปะ ขอ 2. ดานศาสนา และขอ 3. ดานภาษา
และวรรณกรรม
27. ตอบ ขอ 3. หนังสือ ศาสนาเปรียบเทียบของพระยาอนุมานราชธน จะทําใหผอู า นเขาใจไดวา แตละศาสนามีองคประกอบ
แตกตางกันไปตามคําสอนของศาสดา แตสุดทายก็จะสามารถสรุปไดวาศาสนาทุกศาสนาสอนใหผูนับถือ
ปฏิบัติแตสิ่งที่ดีงาม
28. ตอบ ขอ 4. ทั้งจอหน ลอก และรูโซ แมวาอาจมีความคิดเห็นเกี่ยวกับประชาธิปไตยที่แตกตางกันในรายละเอียด
แตในสวนของความเสมอภาคในหมูประชาชนนั้นดูจะคลายคลึงกัน โดยทั้งคูเชื่อวารัฐนั้นเกิดจากการ
รวมตัวของปจเจกชนผูม คี วามเทาเทียมหรือเสมอภาคกันในคุณสมบัติ โดยจอหน ลอกเห็นวา คนทัง้ หลาย
มีฐานะความเปนมนุษยผูมีสิทธิตางๆ เทากัน สวนรูโซเชื่อมโยงความเสมอภาคของมนุษย ไวกับแนวคิด
เรื่องเสรีภาพที่มนุษยมีอยูโดยธรรมชาติ
29. ตอบ ขอ 3. ไลสเซ-แฟร หมายถึง การดําเนินนโยบายภายในที่รัฐบาลไมควรเขาไปกาวกายกับการคา เปนธุรกิจของ
ภาคเอกชนทั้งอุตสาหกรรมและการเงิน สงเสริมใหนายทุนแขงขันกันอยางเสรี ซึ่งในโลกปจจุบัน ระบบ
เศรษฐกิจแบบไลสเซ-แฟร หรือทุนนิยมยังคงเปนนโยบายเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศประชาธิปไตย
30. ตอบ ขอ 1. ทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะแคนาดาซึ่งเปนอาณานิคมของฝรั่งเศส เปนตลาดใหญของการคาขนสัตว
เมื่ออังกฤษไดอาณานิคมอเมริกัน จึงตองการแยงชิงตลาดการคาขนสัตวของฝรั่งเศส จนนําไปสูการทํา
สงครามและจบลงดวยความพายแพของฝรั่งเศส ทําใหฝรั่งเศสสูญเสียแคนาดาใหแกอังกฤษ
31. ตอบ ขอ 2. สหภาพแหงประชาชาติอเมริกาใต (Union of South American Nation : UNASUR) กอตั้งขึ้นเมื่อเดือน
มีนาคม ค.ศ. 2011 เปนความพยายามที่จะรวมมือกันในการสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการเมือง
มีสํานักงานใหญอยูที่เอกวาดอร โดยใชแนวทางของสหภาพยุโรปเปนแมแบบ
โครงการวัดและประเมินผล (34)
32. ตอบ ขอ 4. พลเมืองสวนใหญของทวีปแอฟริกาเปนพวกแอฟริกนั ผิวดํา ซึง่ แบงออกเปนกลมุ ยอยๆ ไดหลายกลมุ เชน
พวกทุตซี พวกปกมี พวกบุชเมน พวกฮอตเทนนอต เปนตน พลเมืองเหลานี้ปกครองในระบบชนเผา
อาศัยอยูในชนบท ดํารงชีพดวยการลาสัตว หาของปา กลุมชนพวกนี้จะไมนิยมเขาปะปนหรืออาศัยอยู
ในเมือง แตยังคงยึดถืออยูกับประเพณีประจําเผาของตนอยู ดวยเหตุนี้จึงยังคงรักษาวัฒนธรรมประเพณี
ดั้งเดิมของตนไวได รวมทั้งมักมีการปะทะกันเองระหวางเผาเรื่องพื้นที่ทํามาหากิน จนถึงขั้นทําสงคราม
ตอกันดวย
33. ตอบ ขอ 4. ในอดีตชนพื้นเมืองของทวีปออสเตรเลียหรือชาวอะบอริจินิสมีมากกวา 500 เผา และตางมีความเชื่อ
รวมกันในตํานานเรือ่ ง กาลเวลาแหงความฝน (Dreamtime Stories) ทีอ่ ธิบายถึงการสรางโลกและเรือ่ งราว
ของบรรพบุรษุ ทีเ่ ลาขานสืบทอดกันมา อีกทัง้ ยังสอนใหพวกเขาใชชวี ติ แบบกึง่ พเนจรลาสัตว ไมตงั้ ถิน่ ฐาน
หรือทําการเพาะปลูก
34. ตอบ ขอ 2. หลังจากที่มีการจัดตั้งเครือรัฐออสเตรเลียแลว รัฐบาลกลางไดออกพระราชบัญญัติหลายฉบับเพื่อกีดกัน
การอพยพของคนผิวเหลืองรวมทัง้ คนผิวดํา กลายเปนนโยบายของประเทศ เรียกวา นโยบายออสเตรเลีย
สีผิวขาว (White Australia Policy) ซึ่งรัฐบาลออสเตรเลียดําเนินนโยบายดังกลาวเปนเวลาหลายสิบป
และยกเลิกไปในชวงทศวรรษที่ 1960
35. ตอบ ขอ 3. สงครามเบ็ดเสร็จนับเปนความขัดแยงอยางไรขอบเขตของคูสงคราม โดยมีการระดมทรัพยากรทั้งหมด

แบบทดสอบ
เพือ่ ใชในการทําสงคราม จุดมงุ หมายของการสูร บอยูท กี่ ารทําลายลางศัตรูอยางสิน้ เชิง กลาวไดวา เปนการ
ใชกําลังอํานาจทั้งมวลที่มีอยูเพื่อชัยชนะ
36. ตอบ ขอ 4. สงครามเย็นเปนการตอสูระหวางประเทศอภิมหาอํานาจที่มีอุดมการณทางการเมืองและระบอบการเมือง
ที่แตกตางกัน คือ สหภาพโซเวียตที่ปกครองดวยระบอบสังคมนิยม และสหรัฐอเมริกาซึ่งปกครองดวย
ระบอบประชาธิปไตย จากความแตกตางทั้งในระบอบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

โครงการบูรณาการ
ทําใหทั้ง 2 ฝายเกิดความขัดแยงกันมากยิ่งขึ้นเมื่อสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตตางแขงขันกัน
ขยายอํานาจและอิทธิพลดวยวิธีการตางๆ จนทําใหโลกเกิดสภาวะความขัดแยงทางการเมืองที่ไมใช
ทั้งสงครามและสันติภาพ ที่เรียกวา สงครามเย็น ซึ่งเกิดขึ้นในทวีปยุโรปกอน ตอมาจึงไดขยายขอบเขต
ไปทั่วโลกระหวาง ค.ศ. 1945-1991
37. ตอบ ขอ 3. เปาหมายของนโยบายเปเรสตรอยกา คือ การ “ปรับ” โครงสรางใหมของสหภาพโซเวียต เพื่อใหสหภาพ
โซเวียตเปนมหาอํานาจทีย่ งิ่ ใหญ มีความเจริญรุง เรืองทางเศรษฐกิจและสามารถแขงขันกับตะวันตกไดอยาง
มีประสิทธิภาพ สวนนโยบายสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ กลาสนอสต เปนการ “เปด” ประเทศใหกวางขึ้น
เปนประชาธิปไตยมากขึ้น โดยใหประชาชนมีอิสระในการแสดงความคิดเห็น ทั้ง 2 นโยบายนี้ เรียกวา
นโยบายเปด-ปรับ ซึ่งนายมีฮาอิล กอรบาชอฟ ประธานาธิบดีแหงสหภาพโซเวียตในขณะนั้นนํามาใช
ในการปฏิรูปประเทศ
38. ตอบ ขอ 2. องคการสหประชาชาติมจี ดุ ประสงคหลัก คือ การเปนองคกรกลางประสานประโยชนและสรางสันติภาพโลก
มีขอบเขตการดําเนินงานในการเขาไปแกไขปญหาระหวางประเทศกับประเทศ แตไมสามารถเขาไปแกไข
ปญหาภายในของประเทศใดประเทศหนึ่งได
39. ตอบ ขอ 3. สหภาพยุโรปไมตองการใหเอกภาพขององคกรสั่นคลอนจากความหลากหลายของเชื้อชาติ ความเชื่อ
และวัฒนธรรมของประชากรในประเทศทีเ่ ขามาเปนสมาชิก จึงมีคาํ ขวัญวา “United in Diversity” (เอกภาพ
ในความหลากหลาย)
40. ตอบ ขอ 2. อาเซียนจัดตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วิชาการ และวัฒนธรรม เพื่อสราง
เสถียรภาพ ความมั่นคง และความเปนปกแผนของประชาชาติและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

(35) โครงการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2
1. แนวตอบ การวิเคราะหทาํ ใหเราทราบวา ขอมูลทีม่ อี ยูม ากมายนัน้ ขอมูลใดนาจะถูกตองและนาเชือ่ ถือ และขอมูลใด
ไมถกู ตองและไมนา เชือ่ ถือ ซึง่ เราจะตองฝกการคิดวิเคราะหอยูเ ปนประจําใหเกิดความชํานาญ เพือ่ ใหเกิด
ประโยชนในการศึกษาเรือ่ งราวตางๆ ไมเฉพาะแตวชิ าประวัตศิ าสตร สําหรับการวิเคราะหนนั้ สามารถนํามา
ประยุกตใชในชีวิตประจําวันได เชน การวิเคราะหขอมูลขาวสารจากสื่อตางๆ ไมวาจะเปนโทรทัศน วิทยุ
หนังสือพิมพ อินเทอรเน็ตอยางมีวิจารณญาณ ไมใชเชื่อทันทีโดยไมไตรตรองใหรอบคอบกอน หรือการ
เลือกซื้อสิ่งของเครื่องใชตางๆ อยางรอบคอบ โดยการเปรียบเทียบคุณภาพ ราคา และคุณคาการใชสอย
เปนตน
2. แนวตอบ พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริยไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรปู ประเทศทุกพระองคนบั ตัง้ แตรชั กาลที่ 4
เปนตนมา ทรงมีความทันสมัย รูท นั ความเปลีย่ นแปลงของโลก เห็นความสําคัญในการปรับปรุงและปฏิรปู
ประเทศ โดยรัชกาลที่ 4 ทรงมีความรูภ าษาตางประเทศและดาราศาสตรเปนอยางดี ทรงติดตอกับชาวตางชาติ
อยางกวางขวาง สวนรัชกาลที่ 5 ก็ทรงมีความรอบรูทั้งดานภาษา วัฒนธรรม ประวัติศาสตรของไทยและ
ตางชาติอยางลึกซึ้ง อีกทั้งทรงเสด็จประพาสตางประเทศ เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีและนําความเจริญของ
บานเมืองในยุโรปมาปรับใชใหเหมาะสมกับสังคมไทย ขณะที่รัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ก็ทรงไดรับการ
แบบทดสอบ

ศึกษาอยางดีจากอังกฤษ จึงจะเห็นไดวา ดวยพระปรีชาสามารถตางๆ ดังที่กลาวมา ไมวาจะเปนการรูทัน


ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในนานาประเทศ การมีวิสัยทัศนที่กาวหนา การมองการณ ไกล ลวนสงเสริม
ใหไทยเกิดความมั่นคงและเจริญรุงเรือง
3. แนวตอบ ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยเปนเครื่องแสดงถึงความเจริญ ลักษณะประจําชาติและดํารงความเปนชาติ
ไทย เปนสิง่ เชิดชูเกียรติของบุคคลและประเทศชาติ ชวยใหเกิดความภาคภูมิใจในชาติ และเปนเครือ่ งชวย
โครงการบูรณาการ

ในการสรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม กลาวไดวาภูมิปญญา


และวัฒนธรรมเปนสิ่งสําคัญที่ชวยหลอหลอมใหคนในชาติเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
4. แนวตอบ ปจจัยทางดานภูมิศาสตรเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหทวีปแอฟริกาคอนขางลาหลังและโดดเดี่ยวจากทวีปอื่นๆ
นอกจากนี้ การตกเปนอาณานิคมของชาติตะวันตก ทําใหถกู แสวงหาผลประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ
เมื่อไดรับเอกราชก็เกิดปญหาความขัดแยงภายใน รูปแบบการปกครองที่สถาปนาขึ้นก็ขาดเสถียรภาพ
ไมมั่นคง จึงกลายเปนเวทีการแขงขันในชวงสงครามเย็นของประเทศมหาอํานาจ ประกอบกับประชาชน
มีการศึกษานอย จึงตกอยูภายใตการชี้นําทางเศรษฐกิจของชาติตะวันตก
5. แนวตอบ สงครามโลกครัง้ ที่ 1 ทีเ่ กิดขึน้ มีการประดิษฐและนําอาวุธทีม่ อี านุภาพทําลายลางสูงมาใช เชน ปนใหญ รถถัง
ระเบิดมือ แกสพิษ ปนกล อีกทั้งมีการประสานการรบระหวางกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ
อยางเปนเอกภาพครัง้ แรก การนําเครือ่ งบินมาใชทาํ ใหเกิดการรบทางอากาศขึน้ เปนครัง้ แรกเชนกัน ทําให
สงครามโลกครัง้ ที่ 1 มีความแตกตางจากการรบในอดีตซึง่ จะใชอาวุธประเภทดาบ ธนู หอก และสูร บบนหลังมา
เปนสวนใหญ นอกจากนี้ สงครามโลกยังไดกอ ใหเกิดการนองเลือด มีผคู นบาดเจ็บลมตายและไรทอี่ ยูอ าศัย
เปนจํานวนมหาศาลมากกวาสงครามที่เกิดขึ้นในอดีต

โครงการวัดและประเมินผล (36)

You might also like