You are on page 1of 200

การพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

Development of Information System at the Office of


Pranakhon Rajabhat University Council

วาสนา เสนาะ
รณกร รัตนธรรมมา

คณะวิทยาศาสตร9และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

งานวิจัยนี้ไดAรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
เรื่อง: การพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ชื่อผูวิจัย: วาสนา เสนาะ, รณกร รัตนธรรมมา
ป พ.ศ.: 2557

บทคัดยอ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค' เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได-ดําเนินการตามทฤษฏี
ของวัฏจักรการพัฒนาระบบงาน (System Development Life Cycle หรือ SDLC) แผนภาพ Data
Flow Diagram และการออกแบบฐานข-อมูลในระดับแนวคิดแสดงถึงความสัมพันธ' (Entity Relationship
Model หรือ E-R Model) พัฒนาโปรแกรมบนเว็บโดยใช- PHP และฐานข-อมูล MySQL
ผลการวิจั ย การพั ฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิ ทยาลั ยราชภัฏ พระนคร สามารถ
นําไปใช-ในงานบริหารงานทั่วไป งานประชุม และงานกําหนดตําแหน[งทางวิชาการตรงตามที่ได-ศึกษา
โดยวิเคราะห'และออกแบบระบบใหม[มาใช- ได-แก[ ระบบ e-News ระบบจัดการข[าว เป]นระบบสร-าง
สื่อประชาสัมพันธ'อิเล็กทรอนิกส' กระดานถามตอบ (e-Forum) ภาพกิจกรรม และปฏิทินกิจกรรม
(e-Scheduling) ระบบ e-Office ระบบจัดการเอกสาร รับเอกสารจากภายในและภายนอก ส[งให-กับ
คณะกรรมการสภา ระบบ e-Academic ระบบจัดการฐานข-อมูลผู-ดํารงตําแหน[งทางวิชาการ ระบบ
e-Meeting ระบบจัดการการประชุม
ผลการประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
โดยรวมระบบมีประสิทธิภาพระดับมากที่สุด
Title: Development of Information System at the Office of Pranakhon Rajabhat
University Council
Author: Wasana Sanor, Ronnagorn Rattanatumma
Year: 2014

Abstract
The purpose of this research was to develop the information system at the
Office of Pranakhon Rajabhat University Council. The development was based on
System Development Life Cycle (SDLC) theory, Data Flow Diagram and Entity Relationship
Model (E-R Model). The web application was implemented by using PHP and MySQL
Database Management System.
The research results found that the Information System at the Office of
Pranakhon Rajabhat Univerisity Council had three main jobs which are composed of
the general management, the meeting and the promoting for Academic Positions.
However, after the development of the 4 new Information systems, it can be used as
follows: 1) e-News is the electronic news file which had subjects and type of news
stored into the database. It is easily to search by using keywords of subjects or type
of news which is included the e-Forum, Gallery and e-Scheduling. 2) e-Office is the
documents storage systems which has been stored electronic file from inbox and
outbox of the Council’s Office into the database and have been distributed to the
committees. 3) e-Academic is the database of the promoting academic positions’
processes which are included the promotion to be Assistant Professor, Associated
Professor and Professor. 4) e-Meeting is the system to set up the agendas and sub
agendas which is including the meeting information into the electronic format.
The results of the evaluation shown that the over all of the system efficiency
were at the highest level.
กิตติกรรมประกาศ

งานวิ จั ย นี้ ได- รั บ ทุ น สนั บ สนุ น จากมหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ พระนคร ผู- วิ จั ย ขอขอบพระคุ ณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และหน[วยงานต[างๆ ได-แก[ สํานักงานสภามหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย
และพัฒนา คณะวิทยาศาสตร'และเทคโนโลยี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร' ที่ได-ส[งเสริมและสนับสนุน
การทําวิจัย
ขอขอบคุ ณ ผู- ช[ ว ยศาสตราจารย' ดร.นวลศรี เด[ น วั ฒ นา คณะวิ ท ยาการสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ได-ให-คําแนะนํา คําปรึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาโปแกรมด-วย Open Source
ขอขอบคุณ อาจารย' ดร.สถาพร ปกปrอง อาจารย' ดร.ชาญเวทย' อิงคเวทย' และคุณอภัสรดา
นาคพริก ที่ได-เสียสละเวลาทดสอบระบบ และให-ข-อเสนอแนะ
ขอขอบคุณบุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อาจารย'จุไร วรศักดิ์โยธิน
ผู-ช[วยศาสตราจารย'พรทิพย' รักชาติ คุณ ญ หญิง สมแสน คุณสมจิตร' ดวงจันทร' คุณพัชราวไล ไพรี
คุณอภัสรดา นาคพริก และคุณลาวัณย' ชานมณีรัตน' ที่ได-ให-ข-อมูลการทํางาน แบบฟอร'มเอกสารต[างๆ
คําแนะนํา ความคิดเห็น ข-อเสนอแนะ ตลอดจนอํานวยความสะดวกให-ในทุกๆด-าน จนทําให-งานวิจัย
ครั้งนี้สําเร็จลุล[วงได-เป]นอย[างดี

คณะผู-วิจัย
พฤษภาคม 2557
สารบัญ

หนา
บทคัดยอ.................................................................................................................................. ก
Abstract................................................................................................................................. ข
กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................... ค
สารบัญ ..................................................................................................................................... ง
สารบัญตาราง.......................................................................................................................... ฉ
สารบัญภาพ............................................................................................................................. ซ
บทที่ 1 บทนํา
1.1 ความสําคัญและที่มาของปxญหา ............................................................................1
1.2 วัตถุประสงค'ของการวิจัย ......................................................................................2
1.3 สมมุติฐานการวิจัย ................................................................................................2
1.4 กรอบแนวคิดที่ใช-ในการวิจัย .................................................................................3
1.5 ขอบเขตของการวิจัย .............................................................................................4
1.6 นิยามศัพท'เฉพาะ ..................................................................................................6
1.7 ประโยชน'ที่คาดว[าจะได-รับ ....................................................................................7
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
2.1 สภามหาวิทยาลัย ..................................................................................................8
2.2 โครงสร-างการบริหารงานของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ......................... 10
2.3 กลุ[มงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ......................................................... 11
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ ....................................................................... 13
2.5 การวิเคราะห'และออกแบบระบบสารสนเทศ ...................................................... 20
2.6 ภาษา PHP......................................................................................................... 29
2.7 ฐานข-อมูล .......................................................................................................... 30
2.8 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข-อง .......................................................................... 34
บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย
3.1 ประชากรและกลุ[มตัวอย[าง................................................................................. 39
3.2 เครื่องมือที่ใช-ในการวิจัย ..................................................................................... 40
3.3 ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ................................................................... 41
3.4 การเก็บรวบรวมข-อมูล........................................................................................ 42

หนา

3.5 การวิเคราะห'ข-อมูล ............................................................................................ 42


3.6 การวิเคราะห'ระบบงานปxจจุบัน .......................................................................... 42
3.7 การวิเคราะห'และออกแบบระบบสารสนเทศใหม[................................................ 46
3.8 การพัฒนาและการติดตั้งระบบ........................................................................... 69
บทที่ 4 ผลการวิจัย
4.1 การนําเสนอระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครบนเว็บ ....... 70
4.2 การใช-งานระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ................... 105
4.3 การประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัย
ราชภัฏพระนคร ............................................................................................... 154
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย ................................................................................................ 160
5.2 อภิปรายผล ...................................................................................................... 166
5.3 ข-อเสนอแนะ .................................................................................................... 167
บรรณานุกรม ....................................................................................................................... 168
ภาคผนวก ............................................................................................................................ 170
กพอ. 03 ................................................................................................................. 171
แบบประเมินการสอน ............................................................................................. 184
แบบสอบถามเพื่อประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.................................................................................. 185
สารบัญตาราง

หนา
ตารางที่
2.1 สัญลักษณ'แผนภาพกระแสข-อมูล ..................................................................................... 21
3.1 ความต-องการปรับปรุงระบบและข-อเสนอในการปรับปรุงระบบ ....................................... 43
3.2 การกําหนดข-อมูลของตารางประเภทเอกสาร ................................................................... 61
3.3 การกําหนดข-อมูลของตารางเอกสาร ................................................................................ 61
3.4 การกําหนดข-อมูลของตารางหน[วยงาน............................................................................. 61
3.5 การกําหนดข-อมูลของตารางเอกสาร/เข-าออก .................................................................. 61
3.6 การกําหนดข-อมูลของตารางเจ-าหน-าที่ผู-ดูแลระบบ........................................................... 62
3.7 การกําหนดข-อมูลของตารางกลุ[มผู-ใช- ............................................................................... 62
3.8 การกําหนดข-อมูลของตารางการส[งเอกสาร ...................................................................... 62
3.9 การกําหนดข-อมูลของตารางตําแหน[งผู-ใช-งาน .................................................................. 62
3.10 การกําหนดข-อมูลของตารางผู-เข-าใช-ระบบ ..................................................................... 63
3.11 การกําหนดข-อมูลของตารางผู-เข-าใช-ระบบแบ[งตามกลุ[ม ................................................. 63
3.12 การกําหนดข-อมูลของตารางฟอร'ม................................................................................. 64
3.13 การกําหนดข-อมูลของตารางกิจกรรม ............................................................................. 64
3.14 การกําหนดข-อมูลของตารางคําสั่ง .................................................................................. 65
3.15 การกําหนดข-อมูลของตารางข[าวตําแหน[งทางวิชาการ.................................................... 65
3.16 การกําหนดข-อมูลของตารางปริญญากิตติมศักดิ์ ............................................................. 66
3.17 การกําหนดข-อมูลของตารางข[าวการประชุม .................................................................. 67
3.18 การกําหนดข-อมูลของตารางคณะ .................................................................................. 67
3.19 การกําหนดข-อมูลของตารางประวัติอาจารย'ที่ได-รับตําแหน[งทางวิชาการ ....................... 68
3.20 การกําหนดข-อมูลของตารางข-อมูลผลงานวิชาการของผู-ที่ได-รับตําแหน[งทางวิชาการ ..... 68
3.21 การกําหนดข-อมูลของตารางผู-ที่รับปริญญากิตติมศักดิ์ ................................................... 69
3.22 การกําหนดข-อมูลของตารางข[าวตําแหน[งทางวิชาการ.................................................... 69
3.23 การกําหนดข-อมูลของตารางการประชุม ........................................................................ 69
3.24 การกําหนดข-อมูลของตารางผู-เข-าประชุม ....................................................................... 70
3.25 การกําหนดข-อมูลของตารางผู-ร[วมประชุม ...................................................................... 70
3.26 การกําหนดข-อมูลของตารางวาระการประชุม ................................................................ 70
3.27 การกําหนดข-อมูลของตารางวาระการประชุมย[อย ......................................................... 71

หนา

ตารางที่
3.28 การกําหนดข-อมูลของตารางไฟล'การประชุม .................................................................. 71
4.1 ค[าเฉลี่ย ส[วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับประสิทธิภาพ
ด-าน Functional Requirement Test ..................................................................... 155
4.2 ค[าเฉลี่ย ส[วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับประสิทธิภาพ ด-าน Function Test ......... 156
4.3 ค[าเฉลี่ย ส[วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับประสิทธิภาพ ด-าน Usability Test ......... 157
4.4 ค[าเฉลี่ย ส[วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับประสิทธิภาพ ด-าน Security Test .......... 160
สารบัญภาพ

หนา
ภาพที่
2.1 โครงสร-างการบริหารงานของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร .................................. 10
2.2 กระบวนการประมวลผลข-อมูลเพื่อสารสนเทศ ............................................................. 13
2.3 ตัวอย[างระบบการเรียนการสอน .................................................................................. 20
2.4 Context Diagram ของระบบบัญชีเจ-าหนี้ .................................................................. 22
2.5 สัญลักษณ' E-R Model ................................................................................................ 23
26. E-R Diagram ของระบบการสั่งซื้อหนังสือ ................................................................... 23
2.7 เอนทิตีหนังสือ ............................................................................................................. 24
2.8 คุณสมบัติของเอนทิตีนักศึกษา ..................................................................................... 24
2. 9 ความสัมพันธ'แบบ 1:1 ................................................................................................. 25
2. 10 ความสัมพันธ'แบบ 1:M ................................................................................................ 25
2. ความสัมพันธ'แบบ 11M:N ................................................................................................ 25
3.1 Context Diagram ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
(ปxจจุบัน) ..................................................................................................................... 45
3.2 Data Flow Diagram Level 1 ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนคร (ปxจจุบัน) ...................................................................................................... 45
3.3 แผนผัง Process Hierarchy Chart ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนคร ...................................................................................................................... 47
3.4 Context Diagram ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ............... 48
3.5 Data Flow Diagram Level 1 ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัย
ราชภัฏพระนคร ........................................................................................................... 49
3.6 Data Flow Diagram Level 2 ของโปรเซส 1 จัดการเอกสาร .................................... 50
3.7 Data Flow Diagram Level 2 ของโปรเซส 2 จัดการการประชุม .............................. 50
3.8 Data Flow Diagram Level 2 ของโปรเซส 3 จัดการข[าว.......................................... 51
3.9 Data Flow Diagram Level 2 ของโปรเซส 4 จัดการข-อมูลตําแหน[งทางวิชาการ ...... 51
3.10 E-R Model ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ........................... 56
3.11 E-R Model ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (ต[อ) ................... 57

หนา
ภาพที่
4.1 เว็บไซต'ระบบงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร http://www.cpnru.com ......... 70
4.2 แผนผังเว็บไซต'สภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ........................................................ 71
4.3 แถบเมนูหลัก ............................................................................................................... 72
4.4 หน-าแรก ...................................................................................................................... 73
4.5 เมนูหลัก ...................................................................................................................... 74
4.6 ข[าวประชาสัมพันธ' ข[าวกิจกรรม .................................................................................. 75
4.7 พระราชบัญญัติ ระเบียบ ข-อบังคับ ประกาศ................................................................ 76
4.8 รายงานการประชุม ...................................................................................................... 77
4.9 ปริญญากิตติมศักดิ์....................................................................................................... 78
4.10 การอนุมัติหลักสูตร ...................................................................................................... 79
4.11 ปฏิทินกิจกรรม ............................................................................................................ 80
4.12 ภาพกิจกรรม ............................................................................................................... 81
4.13 ดาวน'โหลดแบบฟอร'ม ................................................................................................. 82
4.14 ผู-ดูแลระบบ ................................................................................................................. 83
4.15 การกําหนดตําแหน[งทางวิชาการ.................................................................................. 83
4.16 ข[าวการกําหนดตําแหน[งทางวิชาการ ........................................................................... 84
4.17 ระเบียบ ข-อบังคับ คําสั่งและประกาศ .......................................................................... 85
4.18 วิธีการขอตําแหน[งทางวิชาการ ..................................................................................... 86
4.19 คู[มือการเขียนผลงานทางวิชาการ................................................................................. 86
4.20 แบบฟอร'มการกําหนดตําแหน[งทางวิชาการ ............................................................... 87
4.21 องค'ความรู-ในการขอตําแหน[งทางวิชาการ.................................................................... 87
4.22 ฐานข-อมูลผู-ดํารงตําแหน[งทางวิชาการ ......................................................................... 88
4.23 สรุปจํานวนผู-ดํารงตําแหน[งทางวิชาการ ....................................................................... 89
4.24 การติดตามความก-าวหน-าการขอกําหนดตําแหน[งทางวิชาการ ..................................... 90
4.25 การปrอนรหัสอาจารย' ................................................................................................... 91
4.26 ข-อมูลความก-าวหน-าการขอตําแหน[งทางวิชาการ ......................................................... 91
4.27 รายละเอียดความก-าวหน-าการขอตําแหน[งทางวิชาการ ................................................ 91
4.28 กําหนดการกิจกรรม ..................................................................................................... 92
4.29 หน[วยงานที่เกี่ยวข-อง ................................................................................................... 92

หนา
ภาพที่
4.30 ข[าวการศึกษา .............................................................................................................. 93
4.31 สภาพอากาศทั่วไทย .................................................................................................... 93
4.32 สถิติผู-เข-าชม ................................................................................................................ 94
4.33 เกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย ............................................................................................ 94
4.34 เกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย ............................................................................................ 95
4.35 ประวัติสภามหาวิทยาลัย.............................................................................................. 96
4.36 บทบัญญัติเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย............................................................................ 97
4.37 โครงสร-างการบริหารงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ......................................... 98
4.38 สํานักงานสภามหาวิทยาลัย ......................................................................................... 99
4.39 ติดต[อคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย....................................................................... 100
4.40 ทําเนียบนายกสภามหาวิทยาลัย................................................................................. 101
4.41 บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ............................................. 102
4.42 ติดต[อสภามหาวิทยาลัย ............................................................................................. 103
4.43 ผู-ดูแลระบบ ............................................................................................................... 104
4.44 ระบบสารสนเทศของผู-ดูแลระบบ .............................................................................. 105
4.45 ระบบ e-News .......................................................................................................... 106
4.46 หน-าต[าง Login .......................................................................................................... 106
4.47 จัดการข[าวประกาศ.................................................................................................... 107
4.48 เพิ่มข-อมูลข[าวประกาศ............................................................................................... 108
4.49 จัดการข-อมูลผู-ได-รับปริญญากิตติมศักดิ์ ...................................................................... 109
4.50 ปริญญากิตติมศักดิ์..................................................................................................... 110
4.51 แจ-งข[าวด[วน .............................................................................................................. 111
4.52 เพิ่มข-อมูลแจ-งข[าวด[วน ............................................................................................... 111
4.53 จัดการปฏิทินเหตุการณ' ............................................................................................. 112
4.54 ส[ง E-Mail แจ-งเตือนเหตุการณ' .................................................................................. 113
4.55 ภาพที่แสดงผลในหน-าแรก ......................................................................................... 114
4.56 การจัดการภาพพรีวิว ................................................................................................. 115
4.57 เปลี่ยนรหัสผ[าน ........................................................................................................ 116
4.58 ระบบ e-Office ......................................................................................................... 116

หนา
ภาพที่
4.59 กําหนดค[าระบบ......................................................................................................... 117
4.60 เพิ่มประเภทเอกสาร .................................................................................................. 117
4.61 กําหนดชื่อหน[วยงานหรือชื่อบุคคล............................................................................. 118
4.62 เพิ่มชื่อหน[วยงานหรือชื่อบุคคล .................................................................................. 118
4.63 กําหนดกลุ[มผู-รับเอกสาร ............................................................................................ 119
4.64 เพิ่มกลุ[มผู-รับเอกสาร.................................................................................................. 120
4.65 เพิ่มเอกสารเข-า .......................................................................................................... 121
4.66 ตัวอย[างเอกสารรับจากภายในมหาวิทยาลัย ............................................................... 123
4.67 เพิ่มเอกสารออก ........................................................................................................ 124
4.68 เลือกชื่อผู-รับ .............................................................................................................. 125
4.69 ตัวอย[างข-อมูลการเข-าดูเอกสาร .................................................................................. 126
4.70 จัดการข-อมูลบุคลากร ................................................................................................ 127
4.71 เพิ่มข-อมูลบุคลากร ..................................................................................................... 128
4.72 ตัวอย[างข-อมูลบุคลากร .............................................................................................. 129
4.73 ระบบ e-Academic .................................................................................................. 130
4.74 จัดการข[าวกําหนดตําแหน[งทางวิชาการ ..................................................................... 131
4.75 เพิ่มข[าวการกําหนดตําแหน[งทางวิชาการ ................................................................... 131
4.76 จัดการข-อมูลการติดตามการขอตําแหน[งทางวิชาการ ................................................. 132
4.77 เพิ่มข-อมูลผู-ขอตําแหน[งทางวิชาการ ........................................................................... 133
4.78 ปุ~มบันทึกความก-าวหน-า ............................................................................................. 134
4.79 บันทึกข-อมูลความก-าวหน-าการขอตําแหน[งทางวิชาการ ............................................. 134
4.80 จัดการฐานข-อมูลผู-ดํารงตําแหน[งทางวิชาการ............................................................. 135
4.81 เพิ่มข-อมูลผู-ดํารงตําแหน[งทางวิชาการ........................................................................ 136
4.82 ส[วนบันทึกข-อมูลตําแหน[งทางวิชาการ รองศาสตราจารย' ........................................... 137
4.83 ส[วนบันทึกข-อมูลตําแหน[งทางวิชาการ ผู-ช[วยศาสตราจารย' ........................................ 138
4.84 ระบบ e-Meeting ..................................................................................................... 138
4.85 จัดการการประชุม ..................................................................................................... 139
4.86 เพิ่มการประชุม .......................................................................................................... 140
4.87 เพิ่มวาระการประชุม .................................................................................................. 140

หนา
ภาพที่
4.88 จัดการวาระการประชุม ครั้งที่ 8/2555 ..................................................................... 141
4.89 ระเบียบวาระการประชุมย[อย .................................................................................... 142
4.90 เพิ่มวาระการประชุมย[อย ........................................................................................... 142
4.91 ก[อนบันทึกรายละเอียดการประชุม ............................................................................ 143
4.92 บันทึกรายละเอียดการประชุม ................................................................................... 144
4.93 บันทึกข-อมูลระเบียบวาระที่ 1.1 ............................................................................... 145
4.94 ตัวอย[างรายงานการประชุมบางส[วน .......................................................................... 146
4.95 ก[อนแนบไฟล'เอกสาร................................................................................................. 146
4.96 แนบไฟล'เอกสารหมายเลข 1.1 .................................................................................. 147
4.97 แนบไฟล'เอกสาร 2 ไฟล'............................................................................................. 147
4.98 ผลลัพธ'จากการคลิกปุ~มวาระการประชุม .................................................................... 148
4.99 สําหรับคณะกรรมการสภา ......................................................................................... 149
4.100 เข-าสู[ระบบ ................................................................................................................. 150
4.101 รายละเอียดของเอกสาร............................................................................................. 150
4.102 วาระการประชุมล[าสุด ............................................................................................... 151
4.103 รายงานการประชุมทั้งหมด ........................................................................................ 152
4.104 เปลี่ยนรหัสผ[าน ......................................................................................................... 153
4.105 แก-ไขข-อมูลส[วนตัว ..................................................................................................... 153
บทที่ 1
บทนํา

1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหา
1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
1.3 สมมุติฐานการวิจัย
1.4 กรอบแนวคิดที่ใช*ในการวิจัย
1.5 ขอบเขตของการวิจัย
1.6 นิยามศัพทเฉพาะ
1.7 ประโยชนที่คาดว3าจะได*รับ

1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหา
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครเป7นคณะบุคคลที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครจัดตั้งขึ้น
ตามพระราชบัญญัติราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีอํานาจและหน*าที่หลักที่สําคัญในการควบคุมดูแลกิจการ
ทั่วไปของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครให*ดําเนินไปอย3างถูกต*องและมีประสิทธิภาพ
กลุ3มงานสภามหาวิทยาลัยเป7นหน3วยงานระดับกลุ3มงาน มีหัวหน*างานเป7นผู*มีอํานาจหน*าที่
และความรับผิดชอบในการกํากับดูแล การดําเนินภารกิจในหน3วยงานขึ้นตรงต3อสภามหาวิทยาลัยและ
รายงานต3 อ ผู* ที่ส ภามหาวิ ทยาลั ย มอบหมาย กลุ3 มงานสภามหาวิ ท ยาลั ย มี ภ าระหน* า ที่ ในด* า นการ
ประสานงาน การประชุม การเผยแพร3มติการประชุม การติดตามผล การนํามติไปสู3การปฏิบัติและ
รายงานสภามหาวิ ท ยาลั ย การจั ด ทํ า รายงานประจํ า ป> นอกจากนี้ ยั ง มี ภ าระหน* า ที่ ใ นด* า นการ
ประสานงานการกําหนดตําแหน3งทางวิชาการและงานอื่นๆ ตามที่สภามหาวิทยาลัยมอบหมาย
โครงสร*างการแบ3งงานและอัตรากําลังของกลุ3มงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แบ3ง
ออกเป7น 3 งาน ได*แก3 งานบริห ารงานทั่ว ไป งานกํา หนดตํา แหน3ง ทางวิช าการ และงานประชุม
ทําหน*าที่โดยสรุป ดังนี้
งานบริหารทั่วไป รับผิดชอบงานต3างๆ ดังนี้ ปฏิบัติภาระงานรองรับภารกิจของเลขานุการสภา
และผู*ช3วยเลขานุการสภา รับผิดชอบงานธุรการ งานการเงิน งานพัสดุ งานสารบรรณ งานประชาสัมพันธ
งานประกัน คุณภาพ จัดทําแผนระยะยาวและแผนงานประจําป> และจัดทํารายงานประจําป>ของกลุ3ม
งานสภามหาวิทยาลัย ผลการปฏิบัติราชการและรายงานการประเมินตนเอง วิเคราะหและจัดการ
ความเสี่ยงในการปฏิบัติภาระงาน พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให*มีมาตรฐานและ
ทันสมัยเป7นที่ยอมรับและเชื่อถือ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได*รับมอบหมาย
2

งานกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ รับผิดชอบงานต3างๆ ดังนี้ จัดทําโครงการของบประมาณใน


การพัฒนาอาจารยให*มีตําแหน3งทางวิชาการ การอบรม การเข*าค3ายเขียนผลงาน และทุนสําหรับผู*ได*
ตําแหน3งทางวิชาการ ประสาน อํานวยความสะดวก ติดตามการดําเนินงานในการพิจารณากําหนด
ตําแหน3งของผู*ทรงคุณวุฒิ กรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการ และผู*นําเสนอผลงานเพื่อขอกําหนด
ตําแหน3งทางวิชาการ วิเคราะหและจัดการความเสี่ยงในการปฏิบัติภาระงาน พัฒนาคุณภาพและ
ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให*มีมาตรฐานและทันสมัยเป7นที่ยอมรับและเชื่อถือ รวบรวมฐานข*อมูล
การดําเนินงานกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ และรายงานต3อสภามหาวิทยาลัยและปฏิบัติงานอื่นตามที่
ได*รับมอบหมาย
งานประชุม รับผิดชอบงานต3างๆ ดังนี้ ดูแล ประสานงาน และอํานวยความสะดวกในการใช*
ห*องประชุมสภามหาวิทยาลัย รับผิดชอบงานการประชุมของสภามหาวิทยาลัย กรรมการส3งเสริม
กิจการมหาวิทยาลัย สภาคณาจารยและข*าราชการ รวบรวมและจัดระบบนําข*อมูลการประชุมจาก
กรรมการชุดต3างๆ ไปใช*ประโยชนอย3างรวดเร็ว สอดคล*องกับความต*องการของผู*ใช*ข*อมูล รวบรวม
และเผยแพร3ข*อมูลรายงานการประชุม มติที่ประชุม ประกาศ ระเบียบ และข*อบังคับที่ผ3านการอนุ มั ติ
ของสภามหาวิ ท ยาลั ย ประสาน ติด ตามผลการดํา เนิน งานตามนโยบายของสภามหาวิทยาลัย
วิเคราะหและจัดการความเสี่ยงในการปฏิบัติภาระงาน พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให*
มีมาตรฐานและทันสมัยเป7นที่ยอมรับและเชื่อถือ จัดทํารายงานประจําป> กิจการสภามหาวิทยาลัย
ผลการปฏิบัติราชการ รายงานการประเมินตนเอง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได*รับมอบหมาย
ดังนั้ นเพื่ อปรับตั วให*ทัน ต3อความเปลี่ย นแปลงของเทคโนโลยี ความต*องการการบริการที่
สะดวก รวดเร็ว ทันเหตุการณ และเพิ่มประสิทธิภาพให*กับหน3วยงาน จึงมีความจําเป7นอย3างยิ่งในการ
พัฒนาระบบสารสนเทศมาใช*ในงานสภามหาวิทยาลัยที่สอดคล*องตามความต*องการ การดําเนินงาน
ความสะดวกรวดเร็วในการค*นหาข*อมูล ลดขั้นตอนการทํางาน ลดความผิดพลาดจากการทํางานของ
คน อํ านวยความสะดวกให*กับคณะกรรมการสภามหาวิ ทยาลั ย บุคคลกรทั้งภายในและภายนอก
ในการติ ด ตามระเบี ย บ ประกาศ ข* อบั งคั บ ข3 า วสาร ประชาสั มพั นธ รายงานการประชุ ม มติ การ
ประชุมของสภามหาวิทยาลัย รวมทั้งการติดตามความก*าวหน*าการขอกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ
ของคณาจารย

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศของงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

1.3 สมมุติฐานการวิจัย
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครมีประสิทธิภาพในระดับ
มากขึ้นไป
3

1.4 กรอบแนวคิดที่ใช*ในการวิจัย
1. กรอบแนวคิ ด ในการในการพั ฒ นาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ
พระนคร ผู* วิ จัย ได* พัฒ นาตามแนวคิ ดในการพั ฒ นาระบบสารสนเทศตามวั ฏจั กรการพัฒ นาระบบ
(System Development Life Cycle หรือ SDLC) ประกอบด*วย
1.1 การศึกษาความเป7นไปได* และประโยชนที่ได*
1.2 การวิ เ คราะหระบบ ศึ กษาการทํ า งานของระบบงานปจจุ บั น และกํ า หนดความ
ต*องการของระบบใหม3
1.3 การออกแบบระบบใหม3 จัดลักษณะการทํางานของระบบใหม3 และออกแบบระบบ
สารสนเทศ
1.4 การพัฒนาโปรแกรม เขียนโปรแกรมตามที่ได*ออกแบบไว*
1.5 การทดสอบระบบ แก*ไขข*อผิดพลาดของโปรแกรม ให*ผู*ปฏิบัติงานได*ทดลองใช*ระบบ
ในระยะเวลาหนึ่ง
1.6 ติดตั้งระบบ จัดเตรียมข*อมูลที่บันทึกในระบบ ฝXกอบรมผู*ใช*งานและผู*ดูแลระบบ
1.7 การเปลี่ยนเข*าสู3ระบบใหม3 จากระบบเดิมเข*าสู3ระบบใหม3โดยค3อยเปลี่ยนทีละส3วน
แบบค3อยเป7นค3อยไป และบางส3วนทําขนานจนกว3าเจ*าหน*าที่จะมีความชํานาญในการใช*งาน
2. กรอบแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ในการจัดการงานต3างๆ แบ3งเป7น 3 งาน ได*แก3 งานบริหารงานทั่วไป งานกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ
และงานประชุม ประกอบด*วย
2.1 ระบบจั ด การข3 า ว (e-News) เป7 น ระบบสร* า งสื่ อ ประชาสั ม พั น ธอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส
ในการลงประกาศระเบียบ ข*อบังคับ คําสั่งและประกาศต3างๆ และระบบปฏิทินกิจรรม (e-Scheduling)
เป7 น ระบบช3 ว ยบั น ทึ กเหตุ ก ารณในรู ป แบบปฏิ ทิน ออนไลน นํ า เหตุ การณกิ จ กรรมต3 า งๆ มาแสดง
ในหน*าแรกของเว็บ และแจ*งเหตุการณหรือกิจกรรมนั้นไปยังคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยทาง
email อัตโนมัติ
2.2 ระบบจัดการเอกสาร (e-Office) เป7นระบบบันทึกจัดเก็บเอกสารเข*าและเอกสาร
ออกจากสํานักงานสภามหาวิทยาลัย ไปยังกรรมการสภามหาวิทยาลัยในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส
และจัดเก็บรายละเอียดเอกสารลงฐานข*อมูลงานของสภามหาวิทยาลัย สืบค*นได*ตามหัวเรื่อง ชื่อเรื่อง
หรือค*นตามคําที่ต*องการ
2.3 ระบบจัดการฐานข*อมูลผู*กําหนดตําแหน3งทางวิชาการ (e-Academic) เป7นระบบ
ฐานข*อมูลจัดเก็บประวัติการกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ ช3วยในการสืบค*นข*อมูลการได*รับตําแหน3ง
ทางวิชาการ แสดงผลข*อมูลในรูปตารางและกราฟแท3งสรุปจํานวนผู*ดํารงตําแหน3งทางวิชาการแยก
ตามคณะที่ สั งกั ด และการติ ด ตามข* อมู ล ความก* า วหน* า การขอกํ า หนดตํ า แหน3 ง ทางวิ ช าการของ
คณาจารย
4

2.4 ระบบจัดการงานประชุมอิเล็กทรอนิกส (e-Meeting) เป7นระบบช3วยอํานวยความ


สะดวกในการประชุม ในการสืบค*นวาระและมติการประชุมสภามหาวิทยาลัย รวมถึงการสร*างวาระ
การประชุมใหม3และบันทึกข*อมูลการประชุมในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส สรุปข*อมูลเป7นรายงาน
การประชุม
3. กรอบแนวคิดในการประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แบ3งการประเมินผลออกเป7น 4 ด*าน ดังนี้
3.1 ด*าน Functional Requirement Test เป7นการประเมินผลความถูกต*อง และ
ประสิทธิภาพของระบบว3าตรงตามความต*องการของผู*ใช*ระบบมากน*อยเพียงใด
3.2 ด*าน Functional Test เป7นการประเมินความถูกต*องและประสิทธิภาพในการ
ทํางานของระบบว3าสามารถทํางานได*ตามฟงกชันงานของระบบมากน*อยเพียงใด
3.3 ด*าน Usability Test เป7นการประเมินลักษณะการออกแบบระบบว3ามีความง3ายต3อ
การใช*งานมากน*อยเพียงใด
3.4 ด*าน Security Test เป7นการประเมินระบบในด*านการรักษาความปลอดภัยของ
ข*อมูลในระบบว3ามีมากน*อยเพียงใด

1.5 ขอบเขตของการวิจัย
การพัฒนาระบบสารสนเทศในครั้งนี้ เป7นการวิจัยเฉพาะกรณีการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ของงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีการพัฒนาระบบครอบคลุมส3วนต3างๆ ดังนี้
1. พัฒนาโปรแกรมประยุกตบนเว็บ เพื่อนําเสนอระบบสารสนเทศผ3านทางเครือข3าย
อินเทอรเน็ต ดังนี้
1.1 งานบริหารงานทั่วไป ประกอบด*วย
1.1.1 ระบบจัดการข3าว (e-News) เป7นระบบสร*างสื่อประชาสัมพันธอิเล็กทรอนิกส
การลงประกาศ ระเบียบ ข*อบังคับ คําสั่งและประกาศต3างๆ ในรูปของไฟล ภาพกิจกรรม เผยแพร3แก3
บุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ให*รับทราบถึงการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานของสภา
มหาวิท ยาลัย แนวทางการดํา เนิน งานตามนโยบายของมหาวิท ยาลัย และระบบปฏิทิน กิจ รรม
(e-Scheduling) เป7นระบบช3วยบันทึกเหตุการณและกิจกรรมต3างๆ ในรูปแบบปฏิทินออนไลน และนํา
เหตุการณหรือกิจกรรมนั้นแจ*งไปยังคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยส3งทาง email อัตโนมัติ
1.1.2 ระบบจัดการเอกสาร (e-Office) เป7นระบบบันทึกจัดเก็บเอกสารภายในและ
ภายนอก และส3งต3อเอกสารนั้นไปยังคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส
และจัดเก็บรายละเอียดเอกสารลงฐานข*อมูลงานของสภามหาวิทยาลัยทําให*กลุ3มงานสภามหาวิทยาลัย
มีการเก็บ หลั กฐานเอกสารต3 างๆ อย3า งเป7น หมวดหมู3 สามารถติดตาม สื บค* นเอกสารตามชื่ อเรื่อง
รายละเอียด หรือตามคําที่ต*องการจากเอกสารทั้งหมดที่มีปริมาณมากได*อย3างรวดเร็ว และช3วยลดการ
ใช*กระดาษ
5

1.2 งานกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ ประกอบด*วย ระบบงานกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ


(e-Academic) เป7นระบบฐานข*อมูลจัดเก็บประวัติการกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ ช3วยในการสืบค*น
ข*อมู ล การได* รับ ตํ า แหน3 งทางวิ ช าการ และการติด ตามความก*า วหน* าการขอกํ า หนดตํ า แหน3 งทาง
วิชาการของคณาจารย
1.3 งานประชุม ประกอบด*วย ระบบงานประชุมอิเล็กทรอนิกส (e-Meeting) เป7นระบบ
ช3วยอํานวยความสะดวกในการประชุม การเตรียมเอกสารการประชุมในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส การ
สืบค*นวาระและมติการประชุมสภามหาวิทยาลัยย*อนหลัง รวมถึงการสร*างระเบียบวาระการประชุม
ใหม3 และบันทึกข*อมูลการประชุมในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส สรุปข*อมูลเป7นรายงานการประชุม
ช3วยลดขั้นตอนการทํางานของฝlายเลขานุการในการเตรียมเอกสารการประชุม และลดการใช*กระดาษ
เป7นอย3างมาก
2. ประชากรและกลุ3มตัวอย3าง
2.1 ประชากร ประกอบด*วย
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 22 คน
บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย ได*แก3 หัวหน*างานและเจ*าหน*าที่ จํานวน 5 คน
คณาจารยผู*ขอตําแหน3งทางวิชาการจํานวน 32 คน
2.2 กลุ3มตัวอย3าง ประกอบด*วย
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย จํานวน 1 คน
บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย ได*แก3 หัวหน*างานและเจ*าหน*าที่ จํานวน 5 คน
คณาจารยผู*ขอตําแหน3งทางวิชาการ จํานวน 1 คน
3. เครื่องมือที่ใช*
3.1 ด*านฮารดแวร
เครื่องคอมพิวเตอรทั่วไป สามารถใช*งานอินเทอรเน็ตได*
เครื่องแม3ข3ายเช3าจากบริษัทเอกชนผู*ให*บริการเว็บโฮสติ้ง
3.2 ด*านซอฟตแวร
โปรแกรมช3วยพัฒนาเว็บ dreamweaver CS6
โปรแกรมภาษา PHP
โปรแกรม Filzilla 3.7.3 ใช* upload file ไปยัง server
ชุดโปแกรม appserv 2.6.0 ประกอบด*วยโปรแกรม apache 2.2.8 จําลอง
เครื่องเป7น Server ทดสอบการทํางานเว็บไซตก3อน upload ไปยังเว็บไซตจริง
ฐานข*อมูล MySQL 6.0.4 จัดเก็บข*อมูล
โปแกรม phpMyAdmin 2.10.3 ช3วยในการจัดการฐานข*อมูล
6

1.6 นิยามศัพทเฉพาะ
ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร หมายถึง ระบบสารสนเทศของงาน
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แบ3งเป7น 3 งาน ได*แก3 งานบริหารงานทั่วไป งานกําหนดตําแหน3ง
ทางวิชาการ และงานประชุม
1. งานบริหารงานทั่วไป ประกอบด*วย
ระบบจัดการข4าว (e-News) เป7นระบบสร*างสื่อประชาสัมพันธอิเล็กทรอนิกส การลง
ประกาศข3าว ระเบียบ ข*อบังคับ คําสั่งและประกาศ ภาพกิจกรรม ข*อมูลปริญญากิตติมศักดิ์และระบบ
ปฏิทินกิจรรม (e-Scheduling) เป7นระบบช3วยบันทึกเหตุการณหรือกิจกรรมต3างๆ ในรูปแบบปฏิทิน
ออนไลน และแจ*งกิจกรรมผ3านทาง email โดยอัตโนมัติไปยังคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ระบบจัดการเอกสาร (e-Office) เป7นระบบบันทึกจัดเก็บเอกสารเข*าและเอกสารออกจาก
สํานั กงานสภามหาวิ ทยาลั ย ในรู ป แบบเอกสารอิเ ล็ กทรอนิ กสและจั ด เก็ บรายละเอี ยดเอกสารลง
ฐานข*อมูลของงานสภามหาวิทยาลัย แบ3งเป7นหมวด หมู3 สะดวกต3อการค*นหา และส3งต3อเอกสารให*กับ
คณะกรรมการสภาเป7นรายบุคคลหรือเป7นกลุ3ม และการตรวจสอบสถานะการเปvดไม3เปvดอ3านเอกสาร
2. งานกําหนดตําแหน4งทางวิชาการ ประกอบด*วย
ระบบงานกําหนดตําแหน4งทางวิชาการ (e-Academic) ระบบงานกําหนดตําแหน3งทาง
วิชาการ เป7นระบบฐานข*อมูลจัดเก็บประวัติการกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ ช3วยในการสืบค*นข*อมูล
การได*รับตําแหน3งทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการ กราฟและตารางสรุปจํานวนผู*ได*รับตําแหน3งทาง
วิชาการแยกตามตําแหน3งทางวิชาการและคณะที่สังกัด และการติดตามความก*าวหน*าการขอกําหนด
ตําแหน3งทางวิชาการของคณาจารย
3. งานประชุม ประกอบด*วย
ระบบงานประชุมอิเล็กทรอนิกส (e-Meeting) เป7นระบบช3วยอํานวยความสะดวกใน
การประชุม การสืบค* นวาระการประชุ ม และมติ การประชุ มสภามหาวิ ทยาลั ยย*อนหลัง การสร*า ง
ระเบียบวาระการประชุ ม บันทึกข*อมู ลการประชุ ม สรุปข*อมู ลเป7นรายงานการประชุ ม ในรูปแบบ
เอกสารอิเล็กทรอนิกส
ประสิทธิภาพของระบบ หมายถึง ผลที่ได*จากการประเมินแบบสอบถามประสิทธิภาพการ
พัฒนาระบบสารสนเทศจากกลุ3มตัวอย3างหลังจากการใช*โปรแกรม จากตัวแทนคณะกรรมการสภา
มหาวิทยาลัย เจ*าหน*าที่ในกลุ3มงานสภาที่เป7นผู*ดูแลระบบ บุคคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย
และผู*เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร
ผู*เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร หมายถึง ผู*ที่สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกด*านคอมพิวเตอร
และมีประสบการณด*านการเขียนโปรแกรมบนเว็บมากกว3า 5 ป>
7

1.7 ประโยชนที่คาดว4าจะได*รับ
1. ได*ระบบสารสนเทศงานสภาของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครบนเครือข3ายอินเทอรเน็ต
สําหรับงานบริหารงานทั่วไป งานกําหนดตําแหน3งทางวิชาการ และงานประชุม
2. มีระบบการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส เป7นหมวดหมู3 ง3ายต3อการสืบค*น
3. เพิ่มประสิทธิภาพการเข*าถึงข*อมูล สะดวกรวดเร็ว
4. ลดความเสี่ยงในการสูญหายของข*อมูล
5. ลดการใช*กระดาษ
6. คณาจารยสามารถติดตามความก*าวหน*าการขอตําแหน3งทางวิชาการได*ผ3านทางเว็บ
สะดวก และรวดเร็ว
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูวิจัยได


ศึกษาเอกสาร ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้
2.1 สภามหาวิทยาลัย
2.2 โครงสรางการบริหารงานของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
2.3 กลุมงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
2.5 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ
2.6 ภาษา PHP
2.7 ฐานขอมูล
2.8 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 สภามหาวิทยาลัย
สภามหาวิ ทยาลั ย เป นคณะบุ คคลคณะหนึ่ งในมหาวิ ทยาลั ย จั ดตั้ งขึ้ นตามพระราชบั ญญั ติ
กฎหมาย ระเบียบ หรือตราสารที่จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ โดยสภามหาวิทยาลัยแตละแหงจะมี
องคประกอบ และบทบาทหนาที่แตกตางกันตามที่ไดกําหนดไวในพระราชบัญญัติ กฎหมาย ระเบียบ
หรือตราสารจัดตั้งสถาบัน
โดยทั่วไปสภามหาวิทยาลัย จะมีหนาที่ในการกําหนดนโยบาย วางระเบียบขอบังคับ การพิจารณา
จัดตั้งยุบเลิกหนวยงานในมหาวิทยาลัย การพิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตร การอนุมั ติปริญญา
การแตงตั้งถอดถอนอธิการบดี รองอธิการบดี และผูบริหาร และภารกิจอื่นๆ ตามที่มีกฎหมาย หรือ
ระเบียบกําหนดไว สภามหาวิทยาลัยประกอบดวย นายกสภามหาวิทยาลัย อุปนายกสภามหาวิทยาลัย
และกรรมการสภามหาวิทยาลัยจํานวนหนึ่ง อาจจะประกอบดวยผูบริหาร บุคลากรในสถาบัน และ
ผูทรงคุณวุฒิภายนอก
บทบัญญัติเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547
(จากราชกิจจานุเบกษา เลม 121 พิเศษ 23 ก 14 มิถุนายน 2547) สภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
มีองคประกอบและภาระหนาที่ในการกํากับดูแลการดําเนินกิจการเองของมหาวิทยาลัยใหสัมฤทธิ์ผล
ตามเจตนารมณแหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ในหมวด 1 มาตรา 7 มาตรา 8
หมวด 2 มาตรา 16 มาตรา 17 มาตรา 18 และหมวด 4 ดังนี้
9

หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 7 ให มหาวิ ทยาลั ย เป น สถาบั น อุ ด มศึ กษาเพื่ อการพั ฒ นาท องถิ่ น ที่ เ สริ มสร างพลั ง
ปญญาของแผนดิน ฟนฟู พลังการเรียนรู เชิดชูภูมิปญญาของทองถิ่น สรางสรรคศิลปวิทยา เพื่อความ
เจริญกาวหน าอยางมั่น คงและยั่งยืน ของปวงชน มี สว นร วมในการจัด การ การบํ ารุ งรั กษา การใช
ประโยชน จ ากทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล อมอย างสมดุ ล และยั่ งยื น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค ใ ห
การศึ กษา ส ง เสริ มวิ ช าการและวิ ช าชี พ ชั้ น สู ง ทํ า การสอน วิ จั ย ให บ ริ ก ารทางวิ ช าการแก สั ง คม
ปรั บ ปรุ ง ถ ายทอด และพั ฒ นาเทคโนโลยี ทะนุ บํ า รุ ง ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม ผลิ ต ครู แ ละส ง เสริ ม
วิทยฐานะครู
มาตรา 8 ในการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามมาตรา 7 ใหกําหนดภาระหนาที่
ของมหาวิทยาลัยดังตอไปนี้
(1) แสวงหาความจริ งเพื่อสูความเป นเลิศทางวิ ชาการ บนพื้ นฐานของภู มิ ป ญญาท องถิ่ น
ภูมิปญญาไทย และภูมิปญญาสากล
(2) ผลิตบัณฑิตที่มีความรูคูคุณธรรม สํานึกในความเปนไทย มีความรักและผูกพันตอทองถิ่น
อีกทั้งสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อชวยใหคนในทองถิ่นรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง การผลิต
บัณฑิตดังกลาว จะตองใหมีจํานวนและคุณภาพสอดคลองกับแผนการผลิตบัณฑิตของประเทศ
(3) เสริมสรางความรูความเขาใจในคุณคา ความสํานึก และความภูมิใจในวัฒนธรรมของ
ทองถิ่นและของชาติ
(4) เรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของผูนําชุมชน ผูนําศาสนาและนักการเมืองทองถิ่นให
มีจิตสํานึกประชาธิปไตย คุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชุมชนและ
ทองถิ่นเพื่อประโยชนของสวนรวม
(5) เสริมสรางความเขมแข็งของวิชาชีพครู ผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให
มีคุณภาพและมาตรฐาน ที่เหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง
(6) ประสานความร ว มมื อและช ว ยเหลื อ เกื้ อกู ล กั น ระหว างมหาวิ ทยาลั ย ชุ มชน องค ก ร
ปกครองสวนทองถิ่นและองคกรอื่น ทั้งในและตางประเทศ เพื่อการพัฒนาทองถิ่น
(7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบานและเทคโนโลยีสมัยใหมใหเหมาะสม
กับการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในทองถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทาง เพื่อสงเสริมให
เกิดการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยาง
สมดุลและยั่งยืน
(8) ศึกษา วิจัย สงเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากแนวพระราชดําริในการปฏิบัติ
ภารกิจของมหาวิทยาลัย เพื่อการพัฒนาทองถิ่น
10

2.2 โครงสรางการบริหารงานของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
โครงสรางการบริหารงานของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ไดกําหนดโครงสราง ดังนี้

นายกสภามหาวิทยาลัย

อุปนายกสภามหาวิทยาลัย

กรรมการสภามหาวิทยาลัย

คณะกรรมการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัย
ฝายจัดทําขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ ฝายแผน งบประมาณ และการคลัง

คณะกรรมการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัย
ฝายกฎหมาย ฝายวิชาการ วิจัย และคุณภาพการศึกษา

คณะกรรมการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัย
ฝายกลั่นกรองหลักสูตร ฝายอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม

คณะกรรมการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัย
ฝายธุรกิจและการลงทุน

เลขานุการสภามหาวิทยาลัย

กลุมงานสภามหาวิทยาลัย

ภาพที่ 2.1 โครงสรางการบริหารงานของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

การปฏิบัติหนาที่ของกรรมการสภามหาวิทยาลัยไดยึดถือปฏิบัติอยู 4 ประการ ตามหลักการ


บรรษัทภิบาล คือ 1) การปฏิบัติหนาที่ดวยความระมัดระวัง
2) การปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต
3) การปฏิบัติหนาที่โดยเปนไปตามกฎระเบียบ และ
4) หนาที่ในการเปดเผยขอมูลแกสาธารณะ
11

2.3 กลุม งานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

กลุมงานสภามหาวิทยาลัยเปนหนวยงานระดับกลุมงาน มีหัวหนางานเปนผูมีอํานาจหนาที่
และความรับผิดชอบในการกํากับดูแล การดําเนินภารกิจในหนวยงานโดยขึ้นตรงตอสภามหาวิทยาลัย
และรายงานตอผูที่สภามหาวิทยาลัยมอบหมาย กลุมงานสภามหาวิทยาลัยมีภาระหนาที่ในดานการ
ประสานงาน การประชุม การเผยแพรมติการประชุม การติดตามผลการนํามติไปสูการปฏิบัติและ
รายงานสภามหาวิ ท ยาลั ย การจั ด ทํ า รายงานประจํ า ป นอกจากนี้ ยั ง มี ภ าระหน า ที่ ใ นด า นการ
ประสานงานการกําหนดตําแหนงวิชาการและงานอื่นๆ ตามที่สภามหาวิทยาลัยมอบหมาย
กลุมงานสภามหาวิทยาลัยมีภาระหนาที่ ดังนี้
1. ทําหนาที่เปนผูชวยเลขานุการของสภามหาวิทยาลัย
2. ประสานและดําเนินการเกี่ยวกับงานการประชุมของสภามหาวิทยาลัย
3. ดําเนินการเกี่ยวกับการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ
4. ทําหนาที่ผูชวยเลขานุการคณะกรรมการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัย
5. ติดตามผลการปฏิบัติตามมติของที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยและรวบรวมรายงานการ
ประชุมมติสําคัญ ประกาศ คําสั่ง ระเบียบ ขอบังคบ เพื่อเปนขอมูลประจําป
6. ประสานและดําเนินการเกี่ยวกับการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ
7. ดําเนินการจัดทําคําของบประมาณ แผนงาน/โครงการเพื่อใชในการดําเนินงานของสภา
มหาวิทยาลัย
8. ดําเนินการศึกษา ปองกันและจัดการความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นจากการบริหารและ
ปฏิบัติงานทุกภารกิจ
9. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย

หนาที่ความรับผิดชอบ แบงเปน 3 งาน ไดแก


งานบริหารทั่วไป มีหนาที่ ดังนี้
1. ปฏิบัติภาระงานรองรับภารกิจของเลขานุการสภาและผูชวยเลขานุการสภา
2. รับผิดชอบงานธุรการ งานการเงิน งานพัสดุ งานสารบรรณ งานประชาสัมพันธและงาน
ประกันคุณภาพของกลุมงานสภามหาวิทยาลัย
3. จัดทําแผนระยะยาวและแผนงานประจําปของกลุมงานสภามหาวิทยาลัย
4. จัดทํารายงานประจําปของกลุมงานสภามหาวิทยาลัย ผลการปฏิบัติราชการและรายงาน
การประเมินตนเอง
5. วิเคราะหและจัดการความเสี่ยงในการปฏิบัติภาระงาน
6. พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานใหมีมาตรฐานและทันสมัยเปนที่ยอมรับ
และเชื่อถือ
12

7. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย

งานประชุม มีหนาที่ ดังนี้


1. ดูแล ประสานงาน และอํานวยความสะดวกในการใชหองประชุมสภามหาวิทยาลัย
2. รับผิดชอบงานการประชุมของสภามหาวิทยาลัย กรรมการสงเสริมกิจการมหาวิทยาลัย
สภาคณาจารยและขาราชการ
3. รวบรวมและจัดระบบนําฐานขอมูลการประชุมกรรมการชุดตางๆ ไปใชประโยชนไดอยาง
สะดวก รวดเร็ว สอดคลองกับความตองการของผูใชขอมูล
4. รวบรวมและเผยแพรขอมูลรายงานการประชุม มติที่ประชุม ประกาศ ระเบียบ และ
ขอบังคับที่ผานการอนุมัติของสภามหาวิทยาลัย
5. ประสาน ติดตามผลการดําเนินงานตามนโยบายของสภามหาวิทยาลัย
6. วิเคราะหและจัดการความเสี่ยงในการปฏิบัติภาระงาน
7. พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานใหมีมาตรฐานและทันสมัยเปนที่ยอมรับ
และเชื่อถือ
8. จัดทํารายงานประจําปกิจการสภามหาวิทยาลัย ผลการปฏิบัติราชการ รายงานการ
ประเมินตนเอง
9. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย

งานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ มีหนาที่ ดังนี้


1. จัดทําโครงการของบประมาณในการพัฒนาอาจารยใหมีตําแหนงทางวิชาการ การอบรม
การเขาคายเขียนผลงานทางวิชาการ และทุนสําหรับผูไดตําแหนงทางวิชาการ
2. ประสาน อํานวยความสะดวก ติดตามการดําเนินงานในการพิจารณากําหนดตําแหนง
ของผูทรงคุณวุฒิ กรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการ และผูนําเสนอผลงานเพื่อขอกําหนดตําแหนง
ทางวิชาการ
3. วิเคราะหและจัดการความเสี่ยงในการปฏิบัติภาระงาน
4. พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานใหมีมาตรฐานและทันสมัยเปนที่ยอมรับ
และเชื่อถือ
5. รวบรวมฐานขอมูลการดําเนินงานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ และรายงานตอสภา
มหาวิทยาลัย
6. ปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย
13

2.4 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ขอมูลและสารสนเทศ
นักวิชาการ และหนวยงานทางการศึกษาไดอธิบายความหมายของขอมูล (Data) สารสนเทศ
(Information) และระบบสารสนเทศ (Information System) ไวหลายทัศนะ ดังที่ อํารุง จันทวานิช
และเจษฎ อนรรฆมงคล (2539, หนา 25) ไดกลาววา สารสนเทศ คือขอมูลที่ผานกระบวนการวิเคราะห
เพื่อตอบคําถามหรือวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่ง ระบบสารสนเทศ หมายถึง การเก็บรวบรวมขอมูล
การจัดทําใหเปนสารสนเทศ เพื่อ ประโยชนใ นการปฏิบัติงานและประกอบการวินิจ ฉัย ตามความ
ตองการของผูบ ริห าร ในขณะที่ สุมาลี เมืองไพศาล (2531, หนา 5) ไดกลาววา ขอมูล หมายถึง
ขอเท็จจริงที่มีอยูในกลุมสัญลักษณแทนปริมาณ ขอมูลอาจจะอยูในรูป ตัวเลข ตัวหนังสือและยังไม
ผานการประมวลผล สารสนเทศ หมายถึง ขอมูลที่ไดรับการประมวลผลดวยวิธีการตางๆ เปนความรูที่
ตองใชสําหรับทําประโยชนซึ่งเปนผลลัพธของระบบการประมวลผลสื่อความหมายใหผูรับเขาใจ และ
สามารถนําไปใชในการจัดกิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งโดยเฉพาะ
จากแนวคิดพื้นฐานดังกลาว สรุปไดวา ขอมูล หมายถึง จํานวน กลุมตัวเลข เอกสาร ขาวสาร
ภาษา รูปภาพ สัญลักษณ และตัวอักษร ซึ่งเปนขอเท็จจริงทั่ว ๆ ไป ที่ ยังไมผานการวิเคราะหหรื อ
ประมวลผล สารสนเทศ หมายถึง การนําขอมูล ที่เ ก็บ รวบรวมมาจัด กระทํ าโดยผานกระบวนการ
วิเคราะหหรือประมวลผล เพื่อใหมีความหมายมีประโยชน สามารถนําไปใชประกอบการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศ หมายถึง การจัดหมวดหมูของขอมูลสารสนเทศอยางเปนระเบียบแบบแผนตาม
ภาระงานขององคกร เพื่อประโยชนในการบริหาร การตัดสินใจ การวางแผนและการควบคุมการ
ดําเนินงานตามความตองการของผูบริหาร

ขอมูล ประมวลผล สารสนเทศ

ภาพที่ 2.2 กระบวนการประมวลผลขอมูลเพื่อสารสนเทศ

หลักการของระบบสารสนเทศ
นักวิชาการและหนวยงานทางการศึกษา ใหทัศนะเกี่ยวกับหลักการของระบบสารสนเทศไว
หลายประการ ดั ง ที่ วี ร ะ สุ ภ ากิ จ (2539, หน า 9-10) ได ก ล า วว า หลั ก การที่ สํ า คั ญ ของระบบ
สารสนเทศ คือการบูรณาการของระบบ เปนความผสมกลมกลืนของระบบสารสนเทศกับองคการทั้ง
ดานเปาหมายโครงสราง ขอบขายและสาระ และรูปแบบการบริหารองคการ การมีคุณภาพของขอมูล
ซึ่งขอมู ลต องตรงกั บ ปญหาหรื อความต องการของผู ใช และต องมี คุณสมบั ติ เฉพาะ คือต องมี ความ
ถูกตอง แมนยํา ทันเวลา ครบถวนและกะทัดรัด มีการใชขอมูลเพื่อการบริหารและการดําเนินงานของ
14

องคการ โดยคํานึงถึงเจตคติทางขอมูล โดยผูบริหารตองเห็นความสําคัญและความจําเปนที่ตองใช


ขอมูลเพื่อการวิเคราะหปญหาและแนวทางในการตัดสินใจ มีความเชื่อวาขอมูลจะชวยใหการตัดสินใจ
ถูกตองและครอบคลุมสาเหตุของปญหา การมีความพรอมของขอมูล ไดแก การมีขอมูลที่มีคุณสมบัติ
ครบถวนและพรอมที่จะใชไดตามตองการ มีการจัดระบบการรวบรวมการประมวลผล และการจัด
จําแนกหมวดหมูการเก็บที่ใชไดงาย พอเพียงและเปนปจจุบัน มีความสามารถในการวิ เคราะห การ
วินิจฉัยขอมูล คือ ความสามารถในการวิเคราะห แปลความหมายและเชื่อมโยงขอมูลเขากับปญหา
นั้นๆ ซึ่งจะกระตุนใหเกิดเจตคติที่ดีตอขอมูลยิ่งขึ้น
จากหลักการของระบบสารสนเทศขางตน สรุปไดวา หลักการที่สําคัญคือระบบการเก็บและ
การจัดกระทํากับขอมูล เพื่อใหเปนขอมูลสารสนเทศประกอบการบริหาร และการดําเนินงานในดาน
ตางๆ ขึ้นอยูกับการบูรณาการของระบบ คุณภาพของขอมูล การใชขอมูลตองเขาใจงาย สะดวก และ
ใชสารสนเทศเปนขอมูลในการตัดสินใจแกไขปญหา

คุณลักษณะของสารสนเทศ
นักวิชาการและหนวยงานทางการศึกษาใหทัศนะเกี่ยวกับคุณลักษณะของสารสนเทศไวหลาย
ประการ ดังที่ อํารุง จันทวานิช และ เจษฎ อนรรฆมงคล (2539, หนา 25) ไดกลาววาระบบสารสนเทศที่ดี
จะตองทําหนาที่ครบถวนทั้ง 3 สวน คือ รวบรวมขอมูลและการเก็บรักษาขอมูลซึ่งจะตองบันทึ กและ
เก็บเอาไวเพื่อเปนตัวแทนของเหตุการณ หลักฐานตลอดจนกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นในชวงระยะเวลา
หนึ่งเวลาใดขององคการ มีการรายงานขอมูลที่รวบรวมไดเปนระยะๆ ในรูปของการสรุปรวม เพื่อ
แสดงสภาพการณปจจุบันของเหตุการณ หลักฐานและกิจกรรม มีการวิเคราะหและการประเมินขอมูล
กลาวคือ จากขอมูลที่รวบรวมไดตองนํามาเชื่อมโยงหาความสัมพันธเพื่อวิเคราะหและแปลความหมาย
ขอมูล ทั้งประเมินผลเพื่อประกอบการตัดสินใจในแนวนโยบาย หรือเพื่อการศึกษาวิจัยเฉพาะเรื่อง ในขณะที่
วิจิต ร ศรีส อาน (2529, หนา 2) ไดกลาววาเพื่อใหบ รรลุวัต ถุป ระสงคที่ใชในการตัดสินใจในดาน
การวางแผนและการดําเนินงาน ขาวสารจึงควรมีลักษณะ 3 ประการ ไดแก ตรง ทันเหตุการณ และ
ถูกตอง นอกจากนี้ สุมาลี เมืองไพศาล (2531, หนา 6) ไดกลาววา สารสนเทศที่ดีมีคุณสมบัติ คือมี
ความถูกตอง ทันสมัยตอการใชงาน มีความสมบูรณ มีความกะทัดรัด ตรงตอความตองการของผูใช
นอกจากนั้น จีราภรณ รักษาแกว (2539, หนา 57) ไดกลาววา สารสนเทศที่ดีตองมีความถูกตอง ทัน
ตอการเรียกใชงาน มีความสมบูรณ สารสนเทศควรมีความกะทัดรัดไดใจความสมบูรณในตัวเอง
สามารถแสดงสาระที่สําคัญ สื่อความหมาย ความรู และเขาใจ ตอผูบริหารและควรมีความละเอียด
แมนยําในการวัดขอมูล มีคุณสมบัติเชิงปริมาณ ชวยในการตัดสินใจ สารสนเทศตองเปนที่ยอมรับได
เรียกใชไดงายสะดวกรวดเร็ว ไมลําเอียง ไมเปนสารสนเทศที่มีจุดประสงคที่จะปกปดข อเท็จจริง
บางอยาง ซึ่งทําใหผูใชเขาใจผิดไปจากความจริง ชัดเจนเขาใจงายไมคลุมเครือ
จากคุณลักษณะของสารสนเทศขางตนพอสรุปไดวา สารสนเทศที่ดีตองมีความถูกตอง มี
ความแมนยํา ไมคลุมเครือ ปราศจากการชี้นํา สมบูรณ กะทัดรัด มีความชัดเจน ใชงายสะดวกรวดเร็ว
15

ทันกับเหตุการณและการใชงาน ตรงกับความตองการ ตรงกับงานที่ใชมีความยืดหยุนสามารถปรับ


ใชไดในหลายสถานการณ

ประเภทของระบบสารสนเทศ
นักวิชาการ และหนวยงานทางการศึกษาใหทัศนะเกี่ยวกับประเภทของระบบสารสนเทศ ไว
หลายประการ ดังที่ อํารุง จันทวานิช และเจษฎ อนรรฆมงคล (2539, หนา 28) ไดแบงประเภทของ
ระบบสารสนเทศไว 4 แบบดังนี้
1. Pencil and Paper System งานสารสนเทศประเภทนี้อาศัยการเก็บรวบรวมขอมูลเปน
ระบบเอกสาร มีการใชตูเก็บเอกสารจํานวนมากขอมูลจะบันทึกลงในบัตรหรือรายการการประมวลผล
กระทําดวยมือ ระบบดังกลาวตองใชเวลานานในการประมวลสารสนเทศและใชบุคลากรจํานวนมาก
2. Batch Computer System งานสารสนเทศประเภทนี้เก็บสะสมขอมูลไวในสื่อนําเขา
บางประการ เชน บัตรประมวลผลและประมวลผลดวยเครื่องคอมพิวเตอร ผลลัพธที่ไดจะออกมาใน
รูปแบบที่กําหนดเอาไวหรือในรูปรายงาน
3. Interactive System สารสนเทศประเภทนี้อาศัยการใชเครื่องรับสงขอมูลระยะไกลเปน
สื่อกลาง การไดตอบระหวางผูใชกับเครื่องคอมพิวเตอรโดยตรง ขอมูลจะเก็บเอาไวในฐานขอมูลการ
เรียกใชจะอาศัยโปรแกรมอํานวยความสะดวกบางอยางเพื่อเรียกใชขอมูลจากฐานขอมูล ระบบนี้จะ
สามารถได รั บ สารสนเทศที่ ร วดเร็ ว ทั น การ เพราะผู ใ ช จ ะสามารถติ ด ต อ และโต ต อบกั บ เครื่ อ ง
คอมพิวเตอรทันที
4. Reactive System สารสนเทศประเภทนี้อาศัยระบบการทํางานที่มีลักษณะ คือ สามารถ
ติด ต อโต ตอบระหว างผู ใช กับ เครื่ องคอมพิ ว เตอร ได โ ดยตรงรวดเร็ วต อความตองการขององค การ
สามารถระบุสภาพการณที่เปนปญหาและแนวทางการตัดสินใจแกปญหาสามารถปฏิบัติหรือตัดสินใจ
ทันที
สวน วีระ สุภากิจ (2539, หนา 16 -18) ไดกลาววาประเภทของระบบสารสนเทศควรมี
ดังตอไปนี้
1. ระบบประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลง คือ เหตุการณทางธุรกิจเหตุการณหนึ่ง ซึ่งบันทึก
เหตุการณประจําวันทางธุรกิจไว โดยการรวบรวมและเก็บขอมูลเหตุการณใหสารสนเทศ เปนที่สําหรับ
การควบคุ มเหตุ การณ ทางธุ ร กิ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ประจํ าวั น และทํ าหน าที่ เ ป น ฐานข อมู ล ให ผู บ ริ ห ารของ
องคการเปนผูใช
2. ระบบสํานักงานอัตโนมัติ คือ ใชคอมพิวเตอรเพื่อทํางานกิจวัตรตางๆ ที่ทําในสํานักงาน
โดยอัตโนมัติ เชน การประมวลผลคํา ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การสงโทรสาร
3. ระบบสารสนเทศสําหรับ ผูบ ริห าร คื อการสรุป ยอสารสนเทศให ผู บริ หาร ซึ่งแสดงใน
รูปแบบกราฟก สารสนเทศจะถูกปรับใหทันเวลาเปนประจํา ระบบสามารถแสดงสารสนเทศที่เปน
16

รายละเอียดมากขึ้นถาผูบริหารตองการเรียกดู ผูบริหารใชระบบนี้ติดตามปจจัยที่มีความสําคัญยิ่งตอ
ความสําเร็จขององคการของตน
4. ระบบผูเชี่ยวชาญ เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ทําใหคอมพิวเตอรทํา หรือใหคําแนะนํา
เกี่ยวกับการตัดสินใจที่ไมเปนโครงสราง ระบบนี้เก็บขอเท็จจริงและกฎที่ใชในการวิจัย กรณีเฉพาะ
หนึ่งไว เชน การอนุมัติการใหกูยืม การวินิจฉัยความผิดปกติของรถจักรดีเซล
5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เปนชุดการบูรณาการของเครื่องมือและคอมพิวเตอร ใหผู
ตัดสินใจทําโดยตรงกับคอมพิวเตอร เพื่อสรางสารสนเทศที่เปนประโยชนในการตัดสินใจกึ่งโครงสราง
และไมเปนโครงสราง เชน การตัดสินใจเกี่ยวกับการรวมบริษัท การขยายงาน
6. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือระบบสารสนเทศเกี่ยวกับเหตุการณทางธุรกิจที่เปน
กิจวัตร โดยผลิตสารสนเทศ สรุปยอเกี่ยวกับกิจกรรมปกติทางธุรกิจใหแกฝายบริหาร เพื่อสราง เก็บ
คนหา คํานวณ และเผยแพรสารสนเทศแกผูทําการตัดสินใจ
สําหรับ สัลยุทธ สวางวรรณ (2545, หนา 29 - 35) ไดกลาววา ระบบสารสนเทศมีดวยกัน 6
ประเภทที่นํามาใชสนับสนุนการทํางานของฝายบริหารดังนี้
1. ระบบผูชํานาญการและระบบงานสํานักงาน (Knowledge Work System : KWS)
ใชสนับสนุนการทํางาน พนักงานกลุมที่มีความรูสูงขององคการ
2. ระบบงานสํานักงานใชสนับสนุนการทํางานของเจาหนาที่ ที่ทํางานเกี่ยวของกับขอมูล
โดยตรง ระบบสํานักงานชวยจัดการงานเอกสารผานโปรแกรมประเภท Word Processing, Desktop
Publishing และ Digital Filling
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS) สนับสนุน
การทํางานของผูบริหารในการนําเสนอรายงาน ขอมูลทั่วไป ขอมูลเฉพาะดาน และขอมูลในอดีต เนน
ความตองการของบุคลากรภายในองคการ มากกวาหนวยงานภายนอก ระบบนี้จะชวยงานดานการ
วางแผน การควบคุม และการตัดสินใจ
4. การสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS) สนับสนุนการทํางาน
ของผูบริหาร ชวยในการตัดสินใจแกปญหาแบบกึ่งมีโครงสราง คือ ปญหาที่มีความไมแนนอน มี
ลักษณะเฉพาะตัวและมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ทําใหไมสามารถกําหนดวิธีการแกไขลวงหนาได
ระบบนี้จะตองมีการตอบสนองที่ดี เชนปญหาที่เกิดขึ้นในตอนเชา อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงในตอน
บายทําใหตองแกปญหาเดิมแตใชขอมูลใหม
5. ระบบสนับสนุนผูบริหาร (Executive Support System : ESS) ถูกออกแบบมาชวยใน
การตัดสินใจของผูบริหาร ใชในการวางแผนกลยุทธหรือแผนในการดําเนินงานระยะยาวขององคกร
ระบบนี้มีโครงสรางที่เหมาะสมกับปญหาแบบไมมีโครงสราง จึงตองเนนที่ความออนตัวในการทํางาน
และสนับสนุนการสื่อสารมากกวาที่จะสรางโปรแกรมประยุกตที่ออกแบบมาใหทํางานเฉพาะดาน
ระบบนี้ใชขอมูลทั้งจากภายในและภายนอกองคการ ขอมูลจะถูกประมวลผลดวยวิธีการตางๆ โดยมี
วัตถุประสงคเพื่อกลั่นกรองขอมูลและนําเสนอเฉพาะสวนที่มีความสําคัญตอผูบริหาร ซึ่งจะเนนการใช
17

เทคโนโลยี ขั้ น สู ง ที่ ช ว ยในการนํ า เสนอเฉพาะส ว นที่ มี ค วามสํ า คั ญ ต อ ผู บ ริ ห าร ซึ่ ง จะเน น การใช
เทคโนโลยีขั้นสูง ที่ชวยในการนําเสนอ มีความสะดวกและงายแกการรับรูมากที่สุด
6. ระบบประมวลผลรายการธุรกรรม (Transaction Processing System : TPS) เปน
ระบบสารสนเทศพื้นฐานขององคการทางธุรกิจทั่วไป ที่สนับสนุนการทํางานของผูปฏิบัติโดยใชระบบ
คอมพิวเตอรในการทํางานประจําวัน บันทึกรายการขอมูลที่เกิดขึ้นและงานปฏิบัติประจําอื่น ๆ เชน
ระบบงานชําระคาสินคา ระบบงานจองหองพักโรงแรม
จากประเภทของระบบสารสนเทศ ขางตนสรุปไดวา ระบบสารสนเทศที่ใชทั่วไปมีดวยกัน 6
ประเภท ที่ นํ า มาใช ส นั บ สนุ น การทํ างานของผู บ ริ ห าร ได แก ระบบผู ชํ านาญการและระบบงาน
สํ า นั ก งาน ใช ส นั บ สนุ น การทํ า งานพนั กงานกลุ ม ที่ มี ค วามรู สู ง ระบบสารสนเทศเพื่ อการจั ด การ
ชวยงานด านการวางแผน การควบคุ ม และการตัด สินใจ ระบบสนับ สนุนการตั ดสิน ใจช วยในการ
ตัดสินใจ แกปญหา ระบบสนับสนุนผูบริหาร ชวยในการตัดสินใจในการวางแผนกลยุทธหรือแผน
ในการดําเนินงานระยะยาวขององคกร ระบบประมวลผลรายการธุรกรรม สนั บสนุนการทํางานของ
ผูปฏิบัติงาน

องคประกอบของระบบสารสนเทศ
สมจิตร อาจอินทร และงามนิจ อาจอินทร (2540, หนา 4-7) ไดกลาวถึงขบวนการหรือขั้นตอน
การประมวลผลขอมูลใหเปนสารสนเทศ จะตองมีองคประกอบ ดังนี้
1. ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง อุปกรณทางคอมพิวเตอรที่ใชในการจัดเก็บขอมูลและ
ประมวลผลข อมู ล เพื่ อ สร า งสารสนเทศขึ้ น ได แก คอมพิ ว เตอร ตั้ งแต เ ครื่ อ งไมโครคอมพิ ว เตอร
มินิคอมพิวเตอร เมนเฟรมคอมพิวเตอร ไปจนถึงซุปเปอรคอมพิวเตอร นอกจากนี้สารสนเทศสามารถ
จัดเก็บในระบบเครือขายได
2. ซอฟตแวร (Software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ถูกเขียนขึ้น เพื่อใชสั่งงาน
คอมพิวเตอร แบงเปน 2 ประเภท ไดแก
2.1 ซอฟตแวรประยุกต เปนโปรแกรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อการทํางานโดยเฉพาะ เชน
โปรแกรมระบบสินคาคงคลัง โปรแกรมระบบงานบัญชี โปรแกรมระบบเงิ นเดือน ซึ่งพัฒนาโดยใช
ภาษาชั้นสูง
2.2 ซอฟตแวรระบบ เปนโปรแกรมที่มีหนาที่ควบคุมการทํางานของอุ ปกรณตางของ
คอมพิวเตอรใหปฏิบัติงานไดอยางราบรื่น เชน โปรแกรมระบบปฏิบัติการวินโดวส
3. ขอมูล (Stored Data) เปนขอมูลที่เก็บรวบรวมไวในระบบคอมพิวเตอร และจะถูกเรียกใช
เพื่อการประมวลผลโดยโปรแกรมประยุกตตางๆ ขอมูลที่เก็บรวบรวมไวในระบบคอมพิวเตอรนี้ อาจอยู
ในรูปของแฟมขอมูลหรือไฟล ฐานขอมูล
4. บุคลากร (Personal)
4.1 ผูใชงาน (Users) เปนผูนําสารสนเทศที่เกิดจากระบบคอมพิวเตอรไปใช
18

4.2 ผูปฏิบัติงาน (Operating Personnel) มีหนาที่นําขอมูลเขาสูระบบคอมพิวเตอร


และมีหนาที่เรียกใชงานโปรแกรมประยุกตตางๆ ที่ถูกเขียนไวแลว เพื่อสั่งใหคอมพิวเตอรประมวลผล
และสรางสารสนเทศ และคอยรับผลลัพธจากระบบคอมพิวเตอร เพื่อสงใหแกผูใชงานตอไป
4.3 ผูควบคุมระบบและพัฒนาโปรแกรม (System and Application Programmer)
เปนผูมีหนาที่ควบคุมระบบทางฮารดแวร เชน ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอรใหสามารถปฏิบัติงานได
อยางราบรื่น หรือคอยแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานของคอมพิวเตอร
5. ขั้นตอนการดําเนินงาน (Procedures) เปนสิ่งบอกผูใชงานวาจะใชงานสารสนเทศจาก
ระบบคอมพิวเตอรไดอยางไร และจะบอกผูปฏิบัติงานวาจะสั่งใหระบบคอมพิวเตอรทํางานไดอยางไร
ซึ่งผูใชงานและผูปฏิบัติงานจะตองไดรับการอบรมถึงขั้นตอนการทํางานของระบบ จึงจะสามารถใช
งานระบบคอมพิวเตอรได

วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ
วิชัย พลอยประเสริฐ (2546, หนา 11) กลาววาการพัฒนาระบบสารสนเทศไมวาจะทําเอง
หรือวาจางบริษัทที่ปรึกษาทําใหนั้น อาจทําได 2 วิธี คือ
1. พัฒนาโดยใชระเบียบวิธี (Methodology) อยางใดอยางหนึ่งที่หนวยงาน หรือบริษัท
ที่ปรึกษามีความชํานาญ วิธีที่ใชกันทั่วไปเพราะใชงายและผูพัฒนาระบบคุนเคยกันมาก คือ การพัฒนา
ระบบงาน โดยวิธีวัฏจักรการพัฒนาระบบงาน การพัฒนาโดยวิธีนี้อาจตองใชเวลาคอนขางนาน เพราะ
วิธี นี้ป ระกอบดว ยขั้ น ตอนต างๆ ค อนข างมาก ใชวิ ธีเ ขี ยนโปรแกรมเป น ภาษาระดั บสู ง วิ ธีวั ฏจั กร
การพัฒนาระบบงาน เปนวิธีที่สอนกันทั่วไปในหลักสูตรคอมพิวเตอรที่เรียนในมหาวิทยาลัยในวิชา
การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ
2. พั ฒ นาโดยวิ ธี ทําต น แบบ (Prototyping) การพั ฒ นาระบบสารสนเทศโดยวิ ธี วั ฏ จั ก ร
การพัฒนาระบบงานใชเวลาคอนขางนาน ดังนั้นเมื่อพัฒนาระบบเสร็จแลวอาจเปนไปไดที่ระบบนั้น
ไมถูกใจผูใช หรือใชการไมได เพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงในองคกร หรือทางเทคโนโลยี ดังนั้น จึงมี
ผู คิ ด วิ ธี ก ารเร ง รั ด พั ฒ นาระบบงานให เ สร็ จ เร็ ว ขึ้ น วิ ธี นี้ เ รี ย กว า การทํ าต น แบบ ซึ่ ง จะต องอาศั ย
ซอฟตแวรพิเศษสําหรับชวยในการเขียนโปรแกรม เรียกวา CASE Tools หรือ Computer Aided
Software Engineering เคสหรือเครื่องมือชวยพัฒนาซอฟตแวรนี้จะสามารถสรางโปรแกรมตางๆ จาก
ขอกําหนด เชน โปรแกรมบันทึกขอมูล โปรแกรมแสดงรายงาน โปรแกรมคนฐานขอมูล โปรแกรม
คํานวณ เปนตน ไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น เมื่อใชเครื่องมือนี้แลวผูพัฒนาระบบจะสรางระบบไดรวดเร็วขึ้น
เมื่อสรางแลวจะเชิญผูบริหารและผูปฏิบัติงานมาติชม หรือใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับการทํางานของระบบ
ตอนใดที่ผูใชไมชอบผูพัฒนาระบบจะแกไขเปลี่ยนแปลงใหไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น การพัฒนาระบบ
จะสําเร็จโดยเร็วและเปนที่ถูกใจผูใช
สรุปการพัฒนาระบบโดยใชวิธีตนแบบนั้นสะดวกรวดเร็วกวาการใชวิธีวัฏจักรการพัฒนา
ระบบงานมาก แตยังไมคอยมีผูนิยมใชเพราะเครื่องมือเคสมีราคาแพงมาก อีกทั้งยังไมมีมาตรฐาน
19

หากซื้อเครื่องมือเคสมาใชพัฒนาระบบแลว ระบบนั้นจะไมสามารถแกไขปรับปรุงไดโดยเครื่องมือแบบอื่น
นอกจากนั้นระบบที่พัฒนาโดยวิธีตนแบบยังทํางานคอนขางชากวาระบบที่พัฒนาโดยวิธีการพัฒนา
ระบบงาน

วัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ครรชิต มาลัยวงศ (2541, หนา 71-76) ไดกลาวถึงการพัฒนาระบบงานโดยวิธี วัฏจักร
การพัฒนาระบบสารสนเทศ แบงเปนขั้นตอนตางๆ หลายขั้นตอน ดังนี้
1. การศึกษาความเปนไปได (Feasibility Study) เปน การศึกษาวาระบบที่ตองการนั้น
สมควรจัดทําขึ้นหรือไม การศึกษานี้ควรทําใหครบสามประเด็น คือ ความเปนไปไดทางเทคนิ คความ
เปนไปไดทางปฏิบัติ และความเปนไปไดทางเศรษฐศาสตร คือ คุมทุนในการจัดทําหรือไม ทําแลวได
ประโยชนหรือไม
2. การวิเคราะหระบบ (System Analysis) เปนงานที่สําคัญมาก คือ พยายามหาวาระบบที่
กําลังทําอยูในขณะนี้มีปญหาอุปสรรค อะไรอยูบาง งานขั้นตอนนี้มีชื่อเรียกอีกอยางวา การกําหนด
ความตองการของระบบ (System Requirement Definition) ตองใชเวลามาก เพราะนักวิเคราะห
ต องเข าใจระบบป จ จุ บั น ต อ งสอบถามผู บ ริ ห ารว าต องการสารสนเทศอะไรบ าง และต องสั งเกต
การทํางานของเจาหนาที่วามีปญหาอะไรเกิดขึ้นกับการทํางานบาง
3. การออกแบบระบบใหม (System Design) เปน งานดานสังเคราะห กลาวคือ เมื่อ
นักวิเคราะหระบบ ไดทราบลักษณะการทํางาน ปญหา และความตองการของระบบแลว นักวิเคราะห
จะตองพิจารณาวาจะจัดลักษณะการทํางานของระบบใหมอยางไร จึงจะแกปญหาที่มีอยูในระบบเดิมได
สามารถใหสารสนเทศแกผูบริหารไดตามที่ตองการ จะตองจัดเก็บขอมูลอะไรเพิ่มเติม จะบันทึกขอมูล
แบบไหน ฐานขอมูลควรมีลักษณะอยางไร ภาพหนาจอสําหรับการใชงานมีลักษณะอยางไร รายงาน
มีรูปแบบอยางไร เปนตน การออกแบบระบบใหมนี้เปนงานสรางสรรคที่สําคัญ ขณะเดียวกันจะตองมี
แนวคิดเรื่อง User Interface คือจัดใหสวนผูใชงานสะดวกและใชงาย
4. การเขียนโปรแกรม (Programming) เปนขั้นตอนที่นําเอาเคาโครงของระบบและโปรแกรม
ทีไ่ ดออกแบบในขั้นตอนกอนหนามาเขียนเปนโปรแกรมตางๆ อยางละเอียด เปนงานที่สําคัญมาก
เพราะหากโปรแกรมมีขอบกพรองอยูภายในแลวโปรแกรมจะทํางานไมไดผล
5. การทดสอบระบบ (System Testing) เปน ขั้น ตอนในการทดสอบระบบทั้งหมดที่ได
จัดทําขึ้น ระบบสารสนเทศไมไดมีเพียงซอฟตแวรอยางเดียว ตองมีคนทํางานกับซอฟตแวรและขอมูล
คนเปนผูบันทึก การทดสอบการทํางานของระบบจึงตองทดสอบทั้งคนและเครื่องไปพรอมกัน เพื่อดูวา
คนสามารถใชระบบไดอยางราบรื่น ขณะเดียวกันโปรแกรมของระบบสามารถทํางานไดถูกตองดวย
6. การติดตั้งระบบ (Implementation) เมื่อ ไดส รา งระบบและทดสอบเรีย บรอ ยแลว
ทําการติดตัง้ ระบบ โดยตองดําเนินการในเรื่องการจัดเตรียมขอมูลที่จะบันทึก การฝกอบรมเจาที่ผูดูแล
ระบบ และการเปลี่ยนขอมูลที่ใชงานอยูในระบบเดิมใหอยูในรูปแบบของระบบใหม
20

7. การเปลี่ยนเขาสูระบบใหม (Systems Conversion) ทํางานจากระบบเดิมเขาสูระบบ


ใหม การเปลี่ยนนี้ทําไดหลายวิธี ดังนี้
7.1 เปลี่ยนทันทีทันใด คือ หยุดระบบเดิมไปใชระบบใหม
7.2 เปลี่ยนทีละสวน คือ คอยเปนคอยไปทีละสวน
7.3 เปลี่ยนแบบขนาน คือ ทําระบบเดิมควบคูกับทําระบบใหมจนกวาจะชํานาญระบบใหม
และมั่นใจในระบบใหมแลวคอยเปลี่ยนไปใชระบบใหม

2.5 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ
ความหมายระบบ
ระบบ คือกลุมขององคประกอบตางๆ ที่ทํางานรวมกันเพื่อจุดประสงคอันเดียวกัน ระบบ
อาจจะประกอบดวย บุคคลากร เครื่องมือ เครื่องใช พัสดุ วิธีการ ทั้งหมดนี้จะตองมีระบบจัดการ
อยางใดอยางหนึ่ง เพื่อใหบรรลุจุดประสงคอันเดียวกัน เชน ระบบการเรียนการสอน มีจุดประสงค
เพื่อใหนักเรียนไดรับความรูในเนื้อหาวิชาที่สอน

ภาพที่ 2.3 ตัวอยางระบบการเรียนการสอน

ความหมายการวิเคราะหและออกแบบระบบ
การวิ เคราะห และออกแบบระบบ คื อ วิ ธี การที่ ใช ในการสร างระบบสารสนเทศขึ้ น มาใหม
นอกจากการสรางระบบสารสนเทศใหมแลว การวิเคราะหระบบยังชวยการแกไขระบบสารสนเทศเดิม
ที่มีอยูแลวใหดีขึ้นดวย การวิเคราะหระบบเปนการกําหนดความตองการของระบบสารสนเทศใหม
หรือตองการสิ่งใดเพิ่มเติมเขามาในระบบ และการออกแบบระบบ คือ การนําเอาความตองการของ
ระบบมาเปนแบบแผนในการสรางระบบสารสนเทศใหใชงานไดจริง
21

แผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram: DFD)


ประจักษ เฉิดโฉม และศิษฏ วงษกมลเศรษฐ (2537, หนา 19) ไดกลา วถึงการออกแบบ
แผนภาพกระแสขอมูลเปนวิธีการออกแบบระบบงานวิธีหนึ่งที่นิยมใชกันแพรหลาย และสามารถแสดง
ความสัมพันธในรายละเอียดไดชัดเจน ใชสัญลักษณแสดงความสัมพันธเพียง 4 สัญลักษณ และจะเริ่ม
พิจารณาความสัมพันธระบบอยางกวางๆ กอน หลังจากนั้นจะพิจารณาในรายละเอียดในแตละสวนงาน
เพิ่มมากขึ้นเปนอันดับตอไป เปนเครื่องมือที่ใชกันอยางแพรหลายในการเขียนแบบระบบใหม

ตารางที่ 2.1 สัญลักษณแผนภาพกระแสขอมูล


สัญลักษณ ชื่อ สัญลักษณ
ตัวแปรภายนอก
(Entity/Destination/Source)
หนวยประมวลผล
(Process Name)

หนวยเก็บขอมูล
(Data Store)
การไหลของขอมูล
(Data Flow)

กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และจําลอง ครูอุตสาหะ (2541, หนา 168) กลาววา Data Flow Model
เปนแบบจําลองหนึ่งที่นิยมนํามาใชในการกําหนด Function Schema เนื่องจากเปนแบบจําลองที่
ประกอบดวยรูปภาพที่สามารถแสดงถึงสวนประกอบของฟงก ชันการทํ างานตางๆ ของระบบงาน
สารสนเทศ ซึ่งประกอบดวยสวนประมวลผล สวนที่ใชจัดเก็บขอมูล ทิศทางการไหลของขอมูลระหวาง
สวนประมวลผลตางๆ รวมทั้งบุคคลหรือสิ่งตางๆ ที่กระทํากับสวนประมวลผลเหลานั้น
Entity เปนรูปภาพที่ใชแสดงถึงบุคคล หรือสิ่งที่กระทํากับ Process ตางๆ ที่ปรากฏอยู
ในระบบ โดยอาจเปนผูที่ใหขอมูลแก Process หรืออาจเปนผูรับขอมูลที่ไดจากการประมวลผลของ
Process หนึ่ง สําหรับรูปที่ใชแทน Entity ใน Data Flow Model จะเปนรูปสี่เหลี่ยมที่มีชื่อ Entity
นั้นอยูภายใน
Data Store เปนรูปภาพที่ใชแสดงสวนที่จัดเก็บขอมูล หรือ Table โดยเปนรูปของ
เสนตรง 2 เสนขนานกัน ทีม่ ีชื่อของ Data Store นั้นปรากฏอยูภายใน
Data Flow เปนรูปภาพที่ใชแสดงทิศทางการไหลของขอมูลจาก Process หนึ่งหรือจาก
Process ไปยังสวนที่ใชจัดเก็บขอมูล (Data Store) หรือจากสวนที่ใชเก็บขอมูลไปยัง Process โดย
22

เปนรูปลูกศรที่มีขอความแสดงรายละเอียดของขอมูลที่ไหลตาม Data Flow นั้นซึ่งทิศทางการไหล


ของขอมูลจะเปนไปตามลูกศรนั้น
Process เปนรูปภาพที่ใชแทนขั้นตอนการทํางานตางๆ ภายในระบบสารสนเทศ โดยใช
รูปวงกลมที่มีลําดับที่และชื่อของ Process
DFD ระดับสูงสุด (Context Level Data Flow Diagram) เปนแผนภาพระดับสูงสุดของ
DFD แสดงถึงขอบเขตของระบบ ขอมูล และผลลัพธของระบบ ตัวอยางจากภาพดานลางเปน DFD
ระดับสูงสุดของบัญชีเจาหนี้ มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา "Context Diagram" ระดับนี้จะบอกวาระบบมี
อินพุทเปนอะไร ผลลัพธที่ไดจากระบบ และขอมูลจากภายนอกที่เกี่ยวของกับระบบ

ภาพที่ 2.4 Context Diagram ของระบบบัญชีเจาหนี้

การออกแบบฐานขอมูล
การออกแบบฐานขอมูล มีขั้นตอนการออกแบบ 3 ระดับ ดังนี้
1. ออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิด (Conceptual Database Design) เปนขั้นตอนใน
การวิเคราะหขอมูลที่จําเปนทั้งหมดที่เกี่ยวของกับระบบสารสนเทศ โดยกําหนดกลุมขอมูล เอนทิตี
และกําหนดความสัมพันธ (Relationship) ระหวางขอมูลตางๆ จากนั้นจึงระบุรายละเอียดหรือแอททริบิวต
ของขอมูลทั้งหมด และระบุกฎที่จะควบคุมความคงสภาพของขอมูล (Data Integrity) แสดงแนวคิด
การออกแบบโดยใช E-R Model แลวพัฒนา E-R Diagram
2. การออกแบบฐานขอมูลในระดับตรรกะ (Logical Database Design) เปนการแปลง E-R
Diagram ใหเปนเคารางรีเลชัน (Relational schema) ตามทฤษฎีฐานขอมูลเชิงสัมพันธ นํารีเลชันมา
ปรับบรรทัดฐาน (Normalization) ใหอยูในรูปแบบบรรทัดฐานที่เหมาะสม
3. การออกแบบฐานขอมูลในระดับกายภาพ (Physical Database Design) เปนการออกแบบ
โครงสรางขอมูลที่จะนําไปจัดเก็บในฐานขอมูล โดยกําหนดโครงสรางตามคุณสมบัติขอมูลของระบบ
จัดการฐานขอมูลที่จะใชในการจัดการขอมูล ระบุพจนานุกรมของขอมูล (Data Dictionary)
23

E-R Model
E-R Model เป น แบบจํา ลองที่ ใ ช แ สดงแนวคิ ด การออกแบบฐานข อ มู ล ในระดั บ แนวคิ ด
(Conceptual Schema) โดยจะแสดงความสัมพันธระหวางขอมูลที่ประกอบดวยเอนทิตี แอททริบิวต
และความสัม พัน ธ เปน อิส ระจากระบบการจัด การฐานขอ มูล นัก วิเ คราะหแ ละออกแบบระบบ
จะใช E-R Model เปนสื่อกลางในการสื่ อสารระหว างผูใช และผูพัฒนาโปรแกรม

ภาพที่ 2.5 สัญลักษณ E-R Model

ภาพที่ 2.6 E-R Diagram ของระบบการสั่งซื้อหนังสือ


24

องคประกอบของ ER Model
1. เอนทิตี (Entity) หมายถึง หมายถึง กลุมของสิ่งตางๆ ที่ตองการจัดเก็บขอมูลไวใน
ฐานขอมูล ตัวอยางเชน
สิ่งมีชีวิต เชน พนักงาน ลูกคา นักศึกษา อาจารย สมาชิก สุนัข หนังสือ
สถานที่ เชน อาคาร สาขา หองเรียน หนวยงาน
เหตุการณ เชน การเชา การสั่งซื้อ การลงทะเบียน

หนังสือ
ภาพที่ 2.7 เอนทิตหี นังสือ

2. แอททริบิวต (Attribute) หมายถึง คุณสมบัติ หรือคุณลักษณะที่ใชอธิบาย


รายละเอียดของเอนทิตี และความสัมพันธ ตัวอยางเชน
เอนทีตีนกั ศึกษาประกอบดวยขอมูล รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล ที่อยู วันเกิด เกรดเฉลี่ยสะสม
เอนทีตสี ินคาประกอบดวยขอมูล รหัสสินคา ชื่อสินคา ราคาตอหนวย จํานวนคงเหลือ

รูปภาพ ราคา

ชื่อหนังสือ ปที่พิมพ

รหัส ISBN ครั้งที่พิมพ


หนังสือ

ภาพที่ 2.8 คุณสมบัติของเอนทิตีนักศึกษา

3. ความสัมพันธ (Relationship) หมายถึง ความสัมพันธที่เชื่อมโยงระหวางแตละเอนทิตี


ตามเงื่อนไขของระบบงาน เชน เอนทิตี “อาจารย” และเอนทิตี “นักศึกษา” มีความสัมพันธกันชื่อ
“เปนที่ปรึกษา”
25

ประเภทของความสัมพันธระหวางเอนทิตี
ธาริน สิทธิธรรมชารี และสุรสิทธิ์ คิวประสพศักดิ์ (2542, หนา 10-11) กลาววาความสัมพันธ
ระหวางเอนทิตเี ปนความสัมพันธที่สมาชิกของเอนทิตีหนึ่งสัมพันธกับสมาชิกของอีกเอนทิตีหนึ่ง ซึ่งจะ
สามารถแบงประเภทของความสัมพันธออกไดเปน 3 ประเภท ไดแก ความสัมพันธหนึ่งตอหนึ่ง (one-
to-one) แบบหนึ่งตอกลุม (one-to-many) แบบกลุมตอกลุม
1. ความสัมพันธแบบ 1:1 เปนความสัมพันธที่ในหนึ่งเรคอรดของตารางหนึ่งมี
ความสัมพันธอีกเรคอรดของตารางอื่น เชน หนึ่งคณะมีหนึ่งคณบดี

1 1
คณบดี มี คณะ

ภาพที่ 2.9 ความสัมพันธแบบ 1:1

2. ความสัมพันธแบบ 1:M เปนความสัมพันธที่ในหนึ่งเรคอรดของตารางหนึ่งมี


ความสัมพันธกับอีกหนึ่งหรือหลายเรคอรดของตารางอื่น เชน ประเภทหนังสือหนึ่งมีหนังสือหลายเลม

M 1
หนังสือ จัดแบงเปน ประเภทหนังสือ

ภาพที่ 2.10 ความสัมพันธแบบ 1:M

3. ความสัมพันธแบบ M:N เปนความสัมพันธที่ขอมูลหนึ่งเรคอรดหรือหลายเรคอรดใน


ตารางหนึ่งมีความสัมพันธกับหนึ่งเรคอรดหรือหลายเรคอรดในตารางอื่น เชน มีรายการหนังสือหลาย
รายการในการสั่งซื้อไดหลายครั้ง

M N
หนังสือ มีรายการ การสั่งซื้อ

ภาพที่ 2.11 ความสัมพันธแบบ M:N


26

พจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary)


พจนานุกรมขอมูล เปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอการจัดเก็บรายละเอียดของขอมูลไวอยาง
เป น ระบบ เนื่ องจากทุ กฐานข อมู ล จะมี การจั ด เก็ บ รายละเอี ย ดต างๆ เกี่ ย วกั บ ข อมู ล (Metadata)
ภายในฐานขอมูล ตัวอยางเชน โครงรางของฐานขอมูลระดับภายนอก (External Schema) โครงรางของ
ฐานขอมูลระดับแนวคิด (Conceptual Schema) และโครงรางของฐานขอมูลระดับภายใน (Internal
Schema) เปนตน สวนที่ใชสําหรับจัดเก็บขอมูลลักษณะดังกลาวคือ พจนานุกรมขอมูล หรือเรียกอีก
อยางหนึ่งวา System Catalog
พจนานุกรมขอมูลเปนเครื่องมือที่ชวยในการจัดเก็บรายละเอียดตางๆ เกี่ยวกับขอมูลใหเปน
หมวดหมู ทําใหสามารถคนหารายละเอียดที่ตองการไดโดยสะดวก ตัวอยางเชน ผูใชอาจเก็บขอมูล
เกี่ย วกับ รายงานตางๆ ไวภ ายในหมวดรายการชื่อ “Report” เปนตน ทั้งนี้วัตถุประสงคของการ
จัดเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลใหเปนหมวดหมูในพจนานุกรมขอมูล คือ เพื่อใหสามารถอธิบาย
ความหมายของขอมูลตางๆ แกผูใชงานไดอยางถูกตองและเปนมาตรฐานเดียวกันทั้งหนวยงาน
ทั้งนี้ รายละเอียดพื้นฐานทั่วไปที่พจนานุกรมขอมูลควรมี ประกอบดวย 5 สวน คือ ชื่อขอมูล
คําอธิบายชื่อขอมูล ชนิดของขอมูล ขนาดของขอมูล และรายละเอียดอื่นๆ
1. ชื่อข อมู ล ในพจนานุ กรมข อมู ล ประกอบด ว ยชื่อข อมู ล โดยทั่ ว ไปถู กเรี ยกใช ด ว ย
ซอฟตแวรในสวนตางๆ ของระบบจัดการฐานขอมูล หากขอมูลเดียวกันมีชื่อแตกตางกันไปในแตละโปรแกรม
พจนานุกรมขอมูลจะตองระบุชื่อที่ตางกันของขอมูลนั้นๆ ไวดวย เพื่อใหสามารถอางอิงขอมูลเดียวกัน
2. คําอธิบายชื่อขอมูล ในแตละชื่อขอมูลควรมีคําอธิบ ายแสดงความหมายเพื่อขยาย
ความชื่อขอมูลนั้นๆ เพื่อใหผูใชสามารถทําความเขาใจไดงายและสะดวก เนื่องจากในบางซอฟตแวร
อาจมีขอจํากัดในเรื่องจํานวนตัวอักขระที่ใชในการกําหนดชื่อขอมูล ดังนั้น การอธิบายขยายความชื่อ
ขอมูลจึงเปนสิ่งสําคัญยิ่งสําหรับนักวิเคราะหระบบที่จะตองดําเนินการจัดทําใหชัดเจน
3. ชนิดของขอมูล ในพจนานุกรมขอมูล แตละชื่อขอมูลควรมีการกําหนดอยางชัดเจน
เปนรูปแบบชนิดใด เชน ตัวอักขระ ขอความ ตัวเลข หรือตรรกะ
4. ขนาดของขอมูล หมายถึง ขนาดหรือความยาวสูงสุด ที่ชื่อขอมูลนั้นจะสามารถจัดเก็บได
5. รายละเอียดอื่นๆ ในพจนานุกรมขอมูลอาจมีรูปแบบและรายละเอียดอื่นๆ ที่เพิ่มเติม
แตกตางกันออกไปตามความเหมาะสมและความเห็นของนักวิเคราะหระบบ ตัวอยางเชน รายละเอียด
ของรีเลชันหรือตาราง อาจประกอบดวยชื่อตาราง ชื่อแอททริบิวตหรือเขตขอมูล ชื่อแอททริบิวตที่เปน
คียหลัก คียสํารอง และคียนอก ตลอดจนขอจํากัดตางๆ เปนตน

ขั้นตอนการออกแบบฐานขอมูลดวย E-R Model


ขั้นตอนการออกแบบฐานขอมูลดวย E-R Model สรุปไดดังนี้
ขั้นที่ 1 ศึกษาหนาที่ของระบบงาน (Business Function) วามีรายละเอียดของการ
ทํางานและขอมูลที่เกี่ยวของอะไรบาง มีขอสมมุติฐาน (Business Rule) ของงานตางๆ อะไรบาง
27

ขั้นที่ 2 กําหนดเอนทิตีที่ควรจะมีในระบบงานฐานขอมูล
ขั้นที่ 3 กําหนดความสัมพันธระหวางเอนทิตี และขอกําหนดตางๆ
ขั้นที่ 4 กําหนดแอททริบิวตใหกับแตละเอนทิตี
ขั้นที่ 5 ระบุคียหลักของแตละเอนทิตี
ขั้นที่ 6 นําองคประกอบในขั้นที่ 2 – 5 มาแทนดวยสัญลักษณ

การแปลง E-R Model ใหอยูในรูปแบบฐานขอมูลเชิงสัมพันธ


การแปลง E-R Model ใหอยูในรูปแบบฐานขอมูลเชิงสัมพันธ ประกอบดวยขั้นตอน สรุปได
ดังนี้
1. แปลงเอนทิตีตางๆ ใน E-R Model ใหเปนรีเลชัน และแปลงประเภทของความสัมพันธ
ของเอนทิตีเปนความสัมพันธของรีเลชัน
2. แปลงรายละเอียดของเอนทิตีใหเปน แอททริบิวตของรีเลชัน รวมถึงพิจารณาคีย
หลักและคียรองของแตละรีเลชัน
3. พิจารณาเคารางขอมูลของแตละรีเลชันที่ไดมา โดยใหพิจารณาถึงโอกาสที่จะเกิด
ความซ้ําซอนหรือการเกิดปญหาจากการเพิ่ม ลบ หรือปรับปรุงขอมูลที่อาจจะเกิดขึ้น หรือการทําให
รีเลชันอยูในรูปแบบบรรทัดฐาน (Normalization)

การทํารีเลชันใหอยูในรูปแบบบรรทัดฐาน
ศิริลักษณ โรจนกิจอํานวย (2542, หนา 117-131) กลาวถึง แนวคิดในการทํารีเลชันใหอยูใน
รูปแบบบรรทัดฐาน ถูกคิดคนโดย อี.เอฟ.คอดด (E.F. Codd) เปนกระบวนการที่นําเคารางของรีเลชัน
มาทําใหอยูในรูปแบบที่เปนบรรทัดฐาน เพื่อใหแนใจวาการออกแบบเคารางของรีเลชันเปนการออกแบบ
ที่เหมาะสม
วัตถุประสงคของการทําใหอยูในรูปแบบบรรทัดฐาน มีดังนี้
1. เพื่อลดเนื้อที่ในการจัดเก็บขอมูล ดวยการลดความซ้ําซอนของขอมูลในรีเลชัน
2. ลดปญหาที่ขอมูลไมถูกตอง เนื่องจากขอมูลในรีเลชันหนึ่งจะมีขอมูลไมซ้ํากัน เมื่อมี
การปรับปรุงขอมูลจะปรับปรุงทูเพิลนั้นๆ ครั้งเดียว ไมตองปรับปรุงหลายแหง
3. ลดปญหาที่เกิดจากการเพิ่ม ปรับปรุงและลบขอมูล (Insert, Update และ Delete
Anomalies) ชวยแกปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากการปรับปรุงขอมูลไมครบหรือขอมูลหายไปจาก
ฐานขอมูลหรือการเพิ่มขอมูล
28

กฎการทําใหเปนบรรทัดฐาน
กฎการทําใหเปนบรรทัดฐาน มีดังนี้
1. รูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 1 (First Normal Form : 1NF) กลาววารีเลชันหนึ่งๆ จะ
อยูในรูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 1 ตอเมื่อ คาของแอททริบิวตตางๆ ในแตละทูเพิลจะมีคาของขอมูล
เพียงคาเดียว
2. รูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 2 (Second Normal Form: 2NF) กลาววา รีเลชันหนึ่งๆ
จะอยูในรูป แบบบรรทั ดฐานขั้ น ที่ 2 ตอเมื่อ รีเ ลชั น นั้ นๆ อยู ในรูป แบบบรรทั ดฐานขั้ น ที่ 1 และมี
คุณสมบัติอีกประการหนึ่ง คือ แอททริบิวตทุกแอททริบิวตที่ไมไดเปนคียหลักจะตองมีความสัมพันธ
ระหวางคาของ แอททริบิวตแบบฟงกชันกับคียหลัก (Fully Functional Dependency) กลาวอีกนัยหนึ่ง
คือ คาของแอททริบิวตที่ไมไดเปนคียหลัก และสามารถระบุคาโดยแอททริบิวตที่เปนคียหลัก หรือ
แอททริบิวตทั้งหมดที่ประกอบกันเปนคียหลัก ในกรณีที่คียหลักเปนคียผสม
3. รูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 3 (Third Normal Form: 3NF) กลาววา รีเลชันหนึ่งๆ
จะอยูในรูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 3 ตอเมื่อ รีเลชันนั้นๆ ตองอยูในรูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 2 และ
มีคุณสมบัติในการกําหนดคาของแอททริบิวตอื่นที่ไมใชคียหลัก
4. รูปแบบบรรทัดฐานของบอยสและคอดด (Boyce/Codd Normal Form: BCNF)
กลาววารีเลชันหนึ่งๆ จะอยูในรูปแบบบรรทัดฐานของบอยสและคอดด ตอเมื่อ รีเลชันนั้นๆ อยูใน
รูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 3 และไมมีแอททริบิวตอื่นในรีเลชันที่สามารถระบุคาของแอททริบิวตที่เปน
คียหลัก หรือสวนหนึ่งสวนใดของคียหลักในกรณีที่คียหลักเปนคียผสม
5. รูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 4 (Fourth Normal Form: 4NF) กลาววา รีเลชันหนึ่งๆ
จะอยูในรูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 4 ตอเมื่อ รีเลชันนั้นๆ อยูในรูปแบบ BCNF และเปนรีเลชันที่ไมมี
ความสัมพันธในการระบุคาของ แอททริบิวต แบบหลายคาโดยที่ แอททริบิวต ที่ถูกระบุคาหลายคา
เหลานี้ไมมีความสัมพันธกัน (Independently Multivalued Dependency)
6. รูปแบบบรรทัดฐานขั้นที่ 5 (Fifth Normal Form: 5NF) กลาววา รีเลชันหนึ่งๆ จะ
อยู ใ นรู ป แบบบรรทั ด ฐานขั้ น ที่ 5 ต อ เมื่ อ รี เ ลชั น นั้ น อยู ใ นรู ป แบบบรรทั ด ฐานขั้ น ที่ 4 และไม มี
Symmetric Constraint กลาวคือ หากมีการแตกรีเลชันออกเปนรีเลชันยอย (Projection) และเมื่อ
ทําการเชื่อมโยงรีเลชันยอยทั้งหมด (Join) จะไมกอใหเกิดขอมูลใหมที่ไมเหมือนรีเลชันเดิม
โดยสรุป การทําใหเปนบรรทัดฐาน เปนวิธีการลดความซ้ําซอนของขอมูลที่อาจเกิดขึ้นได
มักใชในการออกแบบฐานขอมูลที่เปนแบบฐานขอมูลเชิงสัมพันธ ชวยใหความซ้ําซอนขอมูลลดลง ซึ่ง
หลักการทําใหเปนบรรทัดฐานนี้จะทําการแบงตารางที่มีความซ้ําซอนของขอมูลออกมาเปนตาราง
ยอยๆ และใชคียนอกเปนตัวเชื่อมความสัมพันธระหวางตาราง
29

การพัฒนาโปรแกรมและการบํารุงรักษา
หลักการวิเคราะหและออกแบบอยางเดียวยังมิไดรับประกันความสําเร็จของระบบ เมื่อเสร็จ
สิ้นขั้นตอนการวิเคราะหออกแบบแลว ในขั้นนี้จะรวมถึงการเขียนโปรแกรม ทดสอบและปรับปรุง
เพื่อใหไดระบบที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ในขณะเดียวกันควรจะเริ่มอบรมผูใช และเตรียมสถานที่ ให
พรอมสําหรับคอมพิวเตอร จากนั้นเมื่อเริ่มนําโปรแกรมที่เขียนไดมาใชงาน จะตองโอนถายขอมูลเดิม
เขาสูระบบใหม แลวจึงเริ่มตนใชงานระบบใหม การบํารุงรักษาในขั้นตอนการพัฒนาระบบจะรวมถึง
การบํารุงรักษาประจําวันคือ ทดสอบวาระบบทํางานปกติ ถาหากพบวายังมีขอบกพรองที่จุดใด ระบบ
จะตองไดรับการแกไข

2.6 ภาษา PHP


PHP คือภาษาสคริปต (Script) อยางหนึ่งที่เรียกวา Server-Side Script จะทํางานในฝง
เครื่องแมขาย แลวสงการแสดงผลมายังเบราเซอรของตัว Client นอกจากนี้ ยังเปนสคริปตที่อยูบน
HTML อีกดวย คําสั่งตางๆ จะเก็บอยูในไฟลที่เรียกวา สคริปต เวลาใชงานตองอาศัยตัวแปรชุดคําสั่ง
ตัวอยางของภาษาสคริปต เชน JavaScript, Perl เปนตน
ลักษณะของ PHP แตกตางจากภาษาสคริปตแบบอื่นๆ คือ PHP ไดรับการพัฒนาและออกแบบ
เพื่อใชงานในการสรางเอกสารแบบ HTML โดยสามารถสอดแทรกหรือแกไขเนื้อหาไดโดยอัตโนมัติ
ดังนั้นจึงกลาววา PHP เปนเครื่องมือที่สําคัญชนิดหนึ่งที่ชวยใหสามารถสรางเอกสารแบบ Dynamic
HTML ไดอยางมีประสิทธิภาพและมีลูกเลนมากขึ้น
PHP ไดรับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อแทนที่ SSI รูปแบบเดิมๆ โดยใหมีความสามารถ และมีสวน
เชื่อมตอกับเครื่องมือชนิดอื่นมากขึ้น เชน ติดตอกับคลังขอมูลหรือ database เปนตน
PHP เปนผลงานที่เติบโตมาจากกลุมของนักพัฒนาในเชิงเปดเผยรหัสตนฉบับ หรือ Open Source
ดังนั้น PHP จึงมีการพัฒนาไปอยางรวดเร็ว และแพรหลายโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อใชรวมกับ Apache
Web Server ระบบปฏิบัติอยางเชน Linux หรือ FreeBSD เปนตน ในปจจุบัน PHP สามารถใชรวมกับ
Web Server หลายๆ ตัวบนระบบปฏิบัติการ เชน Windows เปนตน
ภาษาอื่นที่ทําหนาที่คลายกับภาษา PHP เชน Perl, Microsoft Active Server Pages
(ASP), Java Server Page (JSP)

ขอดีของภาษา PHP
ภาษา PHP มีขอไดเปรียบหลายอยางดังตอไปนี้
1. มีสมรรถนะสูง สามารถรองรับการใชหลายลาน hits ในแตละวัน
2. สามารถติดตอกับฐานขอมูลหลายประเภท เชน MySQL, PostgreSQL, mSQL, Oracle,
Informix, Sybase และสามารถใช Open Database Connectivity Standard (ODBC) เพื่อติดตอ
กับผลิตภัณฑฐานขอมูลของ Microsoft
30

3. ไมตองเสียคาใชจายในการใช สามารถดาวนโหลด PHP ไดจาก http://www.php.net


โดยไมตองเสียคาใชจายใดๆ
4. เรียนรูและใชงาย โดยเฉพาะถารูภาษา C, C++, Perl, และ Java อยูแลว
5. สามารถใช PHP ไดบนหลายระบบปฏิบัติการโดยที่ไมตองเปลี่ยนโปรแกรม

2.7 ฐานขอมูล
ความหมายฐานขอมูล
ธาริน สิทธิธรรมชารี และสุรสิทธิ์ คิวประสพศักดิ์ (2542, หนา 6-7) ไดใหความหมายของ
ฐานขอมูล คือ ที่อยูของขอมูล ที่มีความสัมพันธกัน หรืออาจเปรียบเทียบเปนคลังของขอมูล ขอมูล
เหลานี้จะถูกจัดเก็บรวมกันอยางมีระบบและรูปแบบ ทําใหงายตอการประมวลผลและการจัดการ

องคประกอบของระบบฐานขอมูล
ระบบฐานขอมูล ประกอบดวยฐานขอมูล ระบบการจัดการฐานขอมูล (Database Management
หรือ DBMS) และพจนานุกรมขอมูล โดยที่ฐานขอมูลจะเปนที่จัดเก็บขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของไวดวยกัน
มี DBMS ทําหนาที่จัดการฐานขอมูล และโครงสรางฐานขอมูลจะถูกจัดเก็บไวในพจนานุกรมขอมูล
สําหรับ DBMS เปนสวนสําคัญในระบบฐานขอมูลเปนอยางยิ่ง เปรียบเหมือนผูจัดการฐานขอมูล
ทําหนาที่เปนตัวกลางระหวางผูใชงานกับฐานขอมูล โดยที่ DBMS จะรับคําสั่งจากผูใชงาน หรือจาก
โปรแกรมตางๆ หลังจากนั้นจะทําการประมวลผลกับฐานขอมูล โดยอาศัยโครงสรางที่จัดเก็บไวใน
พจนานุกรมขอมูล โครงสรางของฐานขอมูลเหลานี้ เรียกวา Meta Data และทําหนาที่สงผลลัพธที่ได
กลับคืนไปยังผูใชงาน หรือโปรแกรม โดยที่ผูใชงานไมจําเปนตองรูเลยวา DBMS จัดเก็บขอมูลอยางไร
มีกลไกในการเขาถึงหรือคนหาขอมูลอยางไร เพียงรูคําสั่งที่ตองการสั่งงานเพื่อใหไดผลลัพธที่ตองการ
เทานั้น ที่เหลือจะเปนหนาที่ของ DBMS ในการดึงขอมูลหรือการประมวลผลตางๆ ดังนั้น สําหรับ
ผูใชงานจะรูสึกวาการใชงาน DBMS ทําไดอยางงาย เพราะ DBMS จะซอนความยุงยากในการเขาถึง
ไวเอง สําหรับ DBMS ที่ไดรับความนิยมสูงสุดในปจจุบัน เรียกวา RDBMS (Relational DBMS) ซึ่ง
RDBMS มีใหเลือกใชมากมาย เชน MS-Access, FoxPro, Paradox จนถึงในระดับแมขาย ที่เรียกวา
Database Server เชน SQL Server, Oracle, Informix และ MySQL เปนตน

ประเภทของฐานขอมูล
สมจิตร อาจอินทร และงามนิจ อาจอินทร (2540, หนา 23-26) กลาววา ขอมูลในฐานขอมูล
โดยทั่วไปจะถูกสรางใหมีโครงสรางที่งายตอความเขาใจ และการใชงานของผูใชโดยทั่วไป ฐานขอมูลที่
มีใชอยูในปจจุบันมีโครงสราง 3 แบบ ดังนี้
31

1. โครงสรางแบบตามลําดับชั้น (Hierarchical Model) เปนลักษณะของฐานขอมูลที่มี


ความสัมพันธของขอมูลเปนแบบหนึ่งตอหนึ่ง หรือหนึ่งตอกลุม แตจะไมมีความสัมพันธแบบกลุมตอ
กลุมในฐานขอมูลแบบนี้
2. โครงสรางแบบเครือขาย (Network Model) ขอมูลภายในฐานขอมูลแบบนี้สามารถมี
ความสัมพันธกันแบบใดก็ได เชน อาจเปนแบบหนึ่งตอหนึ่ง หนึ่งตอกลุม หรือกลุมตอกลุม เปนตน
3. โครงสรางแบบเชิงสัมพันธ (Relational Model) ฐานขอมูลเชิงสัมพันธ ใช DBMS เปน
พื้นฐานของโมเดลเชิงสัมพันธ เรียกวา ระบบจั ดการฐานขอมูลเชิงสัมพันธ (Relational Database
Management System : RDBMS) เรียกสั้นๆ วา Relation คือแฟมขอมูล หรือไฟล ในระบบการ
ประมวลผลขอมูลแบบแฟมขอมูล (File Processing System) ดังนั้น สามารถเปรียบเทียบความหมาย
การจัดการฐานขอมูลเชิงสัมพันธ กับการประมวลผล ดังนี้
รีเลชัน (Relation) ตาราง (Table)
ทูเพิล (Tuple) แถว (Row) หรือ ระเบียน (Record)
แอททริบิวต (Attribute) คอลัมน (Column) หรือเขตขอมูล (Field)
คารดินาลลิตี้ (Cardinality) จํานวนแถว
ดีกรี (Degree) จํานวนคอลัมน
โดเมน (Domain) ขอบเขตคาของขอมูล

MySQL
MySQL อานวา มายเอสคิวแอลเปนระบบจัดการฐานขอมูลเชิงสัมพันธตัวหนึ่งซึ่งเปนที่นิยม
กันมากในปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งในโลกของอินเทอรเน็ต เพราะวา MySQL เปนฟรีแวรทางดาน
ฐานขอมูลที่มีประสิทธิภาพสูงเปนทางเลือกใหมจากผลิตภัณฑระบบจัดการฐานขอมูลในปจจุบันที่
มักจะเปนการผูกขาดของผลิตภัณฑเพียงไมกี่ตัว นักพัฒนาระบบฐานขอมูลที่เคยใช MySQL ตางยอม
รับในความสามารถความรวดเร็ว การรองรับจํานวนผูใช และขนาดของขอมูลจํานวนมหาศาล ทั้งยัง
สนับ สนุน การใช งานบนระบบปฏิบัติการมากมาย เชน Unix, OS/2, Mac OS หรือ Windows
นอกจากนี้ MySQL ยังสามารถใชงานรวมกับ Web Development Platform ทั้งหลาย ไมวาจะเปน C,
C++, Java, Perl, PHP, Python, Tcl หรือ ASP และมีแนวโนมสูงยิ่งขึ้นตอๆ ไปในอนาคต
MySQL เปนซอฟตแวรประเภท Open Source Software สามารถดาวนโหลด Source
Code ตนฉบับไดจากอินเทอรเน็ต โดยไมเสียคาใชจายใดๆ การแกไขสามารถกระทําไดตามความ
ตองการ MySQL ยึดถือสิทธิบัตรตาม GPL (GNU General Public License) ซึ่งเปนขอกําหนดของ
ซอฟตแวรประเภทนี้สวนใหญ โดยจะเปนการชี้แจงวา สิ่งใดทําได หรือทําไมไดสําหรับการใชงานใน
กรณีตางๆ ทั้งนี้ถาตองการขอมูลเพิ่มเติม หรือรายละเอียดของ GPL สามารถหาขอมูลไดจากเว็บไซต
http://www.gnu.org/
32

MySQL ไดรับการยอมรับและทดสอบเรื่องของความรวดเร็วในการใชงาน โดยจะมีการ


ทดสอบและเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑทางดานฐานขอมูลอื่นอยูเสมอ มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดย
เริ่มตั้งแตเวอรชันแรกๆ ที่ยังไมคอยมีความสามารถมากนัก มาจนถึงทุกวันนี้ MySQL ไดรับการพัฒนา
ใหมีความสามารถมากยิ่งขึ้น รองรับขอมูลจํานวนมหาศาล สามารถใชงานหลายผูใชไดพรอมๆ กัน
มีการออกแบบใหสามารถแตกงานออก เพื่อชวยการทํางานใหเร็วยิ่งขึ้น รองรับขอมูลจํานวนมหาศาล
เพื่อชว ยการทํ างานเร็ วยิ่ งขึ้น (Multi-threaded) และการเชื่อมตอที่ดี ขึ้น การกําหนดสิทธิ และ
การรักษาความปลอดภัยของขอมูลมีความรัดกุมนาเชื่อถือยิ่งขึ้น เครื่องมือหรือโปรแกรมสนับสนุนทั้ง
ของตัวเองและของผูพัฒนาอื่นๆ มีมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้สิ่งหนึ่งที่สําคัญคือ MySQL ไดรับการพัฒนา
ไปในแนวทางตามขอกําหนดมาตรฐาน SQL สามารถใชคําสั่ง SQL ในการทํางานได นักพัฒนาที่ใช
SQL มาตรฐานอยูแลว ไมตองศึกษาคําสั่งเพิ่มเติม แตอาจจะตองเรียนรูถึงรูปแบบและขอจํากัด
บางอยางโดยเฉพาะ ทางทีมงานผูพัฒนา MySQL มีเปาหมายอยางชัดเจนที่จะพัฒนาให MySQL มี
ความสามารถสนับสนุนตามข อกําหนด SQL92 มากที่สุ ด และจะพัฒนาให เป นไปตามขอกํ าหนด
SQL99 ตอไป
ในปจจุบันมีการนํา MySQL ไปใชในระบบตางๆ มากมาย ไมวาจะเปนระบบเล็กๆ ที่มี
จํานวนตารางขอมูลนอย มีความสัมพันธของขอมูลในแตละตารางไมซับซอน เชน ระบบฐานขอมูล
บุคคลในแผนกเล็กๆ ไปจนถึงระบบจัดการขอมูลขนาดใหญ ที่ประกอบดวยตารางขอมูลมากมาย
มีความสัมพันธของขอมูลในแตละตารางซับซอน เชน ระบบสต็อกสินคา ระบบบัญชีเงินเดือน เปนตน
โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจุบัน มีการใช MySQL เปน Database Server เพื่อการทํางานสําหรับ Web
Database Application ในโลกของอินเทอรเน็ตมากขึ้น

สถาปตยกรรมของ MySQL
สถาปตยกรรม หรือ โครงสรางภายในของ MySQL คือ การออกแบบการทํางานในลักษณะ
ของ Client/Server ประกอบดวยสวนหลักๆ 2 สวน คือ สวนของผูใหบริการและ สวนของผูใชบริการ
โดยในแตละสวนจะมีโปรแกรมสําหรับการทํางานตามหนาที่ของตน สวนของผูใหบริการจะเปนสวนที่ทํา
หนาที่บริหารจัดการระบบฐานขอมูล และเปนทีจ่ ัดเก็บขอมูลทั้งหมด ขอมูลที่เก็บไวนี้มีขอมูลที่จําเปน
สํ าหรั บ การทํ า งานกั บ ระบบฐานข อมู ล และข อมู ล ที่ เ กิ ด จากการที่ ผู  ใช แต ล ะคนสร างขึ้ น มา โดย
โปรแกรมสําหรับใชงานในสวนนี้ ไดแก MySQL Client, Access, Web Development Platform ตางๆ
เชน Java, Perl, PHP, ASP เปนตน หลักการทํางานในลักษณะ Client/Server มีดังนี้
1. ที่ฝงของ Server จะมีโปรแกรมหรือระบบสําหรับจัดการฐานขอมูลทํางานรออยู เพื่อ
เตรียมหรือรอคอยการรองขอการใชบริการจาก Client
2. เมื่อมีการรองขอการใชบริการเขามา Server จะทําการตรวจสอบตามวิธีการของตน เชน
อาจจะมีการใหผูใชบริการระบุชื่อและรหัสผาน และสําหรับ MySQL สามารถกําหนดไดวาจะอนุญาต
หรือปฏิเสธ Client ใดๆ ในระบบที่จะเขาใชบริการอีกดวย
33

3. ถาผานการตรวจสอบ Server จะอนุมัติการใหบริการแก Client ที่รองขอการใชบริการ


นั้นๆ ตอไป และถาในกรณีที่ไมไดรับการอนุมัติ Server จะสงขาวสารความผิดพลาดแจงกลับไปที่
Client ที่รองขอการใชบริการนั้น
เครื่องคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เปน Client หรือ Server อาจจะอยูบนเครื่องเดียวกัน หรือ
แยกเครื่องกันก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับลักษณะการทํางาน หรือการกําหนดของผูบริหารระบบ ตามปกติ
ถาเปนการทํางานลักษณะ Web-based มีการใชฐานขอมูลขนาดไมใหญนัก MySQL Server และ
Client มักจะมีอยูบนเครื่องเดียวกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอรดังกลาวจะตองมีทรัพยากรเพื่อการทํางาน
เชน เนื้อที่ฮารดดิสก แรมมากพอสมควร แตสําหรับการทํางานจริง (Real-world Application) มักจะ
แยก Client และ Server ออกเปนคนละเครื่องกัน และสามารถรองรับงานไดดีมากกวา ดังนั้น
ผูบริหารระบบ หรือผูกําหนดนโยบายสําหรับการทํางานเครือขาย จะตองคํานึงถึงเรื่องที่เกี่ยวของ
เหลานี้ใหดี เพื่อที่จะทําใหระบบมีการทํางานรับการใหบริการแกผูใชอยางมีประสิทธิภาพ และขอมูลมี
ความปลอดภัยมากที่สุด
โปรแกรม phpMyAdmin
phpMyAdmin คือโปรแกรมที่ถูกพัฒนาโดยใชภาษา PHP เพื่อใชในการบริหารจัดการ
ฐานขอมูล Mysql แทนการเขียนคําสั่ง เนื่องจากการใชฐานขอมูลที่เปน MySQL บางครั้งจะมีความ
ลําบากและยุงยากในการใชงาน ดังนั้นจึงมีการพัฒนา phpMyAdmin ใหเปนเครื่องมือในการจัดการ
ฐานขอมูล MySQL เพื่อใหสามารถจัดการ DBMS ที่เปน MySQL ไดงายและสะดวกยิ่งขึ้นผานเว็บ
เบราเซอร
phpMyAdmin สามารถที่จะทําการสรางฐานขอมูลใหม หรือสรางตารางใหมๆ และยังมี
ฟงกชันที่ใชสําหรับการทดสอบการทําคิวรี (Query) ขอมูลดวยภาษา SQL ยังสามารถทําการ insert
delete update หรือใชคําสั่งตางๆ เหมือนกับการใชภาษา SQL ในการสรางตารางขอมูล
ความสามารถของ phpMyAdmin คือ
1. สรางและลบฐานขอมูล
2. สรางและจัดการตาราง เชน แทรกระเบียน ลบระเบียน แกไขระเบียน ลบตาราง แกไข
เขตขอมูล
3. โหลดเท็กซไฟลเขาไปเก็บเปนขอมูลในตารางได
4. หาผลสรุปจากคิวรีดวยคําสั่ง SQL
โปรแกรม FileZilla
โปรแกรม FileZilla คือ โปรแกรม FTP ที่นิยมมากที่สุดตัวหนึ่งที่มีผูใชงานทั่วโลก สําหรับ
รับสงขอมูลผานโปรโตคอล FTP, FTPS, และ SFTP ที่มีความปลอดภัยสูง สามารถดาวนโหลด อัพโหลด
และรันขาม Platform ไดไมวาจะเปน Windows ไป Linux ไป Mac OS X สามารถทําไดรองรับ
หลายภาษา สามารถเปลี่ยนชื่อไฟลและสงขอมูลไฟลที่มีขนาดใหญได ใชงานงายไมยุงยาก ทํางาน
ไดเร็วในลักษณะ Drag และ Drop
34

โปรแกรม AppServ
AppServ คือ โปรแกรมที่รวบรวมเอา Open Source Software หลายๆ อยางมารวมเขาไว
ดวยกัน โดยมี Package หลักๆ ดังนี้
Apache
PHP
MySQL
phpMyAdmin
Appserv แตละเวอรชันจะไดตัวเวอรชันของโปรแกรมภายใน package ที่แตกตางกันไป
สามารถทําการติดตั้ง Appserv เพียงหนึ่ง แตสามารถลงโปรแกรมที่ติดมาไดทั้งหมดในคราวเดียว
และยังกําหนดคา config ตางๆใหเสร็จสิ้น โดยปกติทุกโปรแกรมที่ติดมาจะพรอมใชงานทันทีดวย
เปนทางเลือกหนึ่งในการใชงานที่สะดวกรวดเร็วดี
AppServ ใชเปนชุดโปรแกรมที่ทําการติดตั้งไวเพื่อการทดสอบหรือใชงานภาษาในการ
พัฒนาโปรแกรม พัฒนาระบบตางๆ หรือเว็บไซต โดยปกติใชโปรแกรมที่ติดตั้งมาดวยทําหนาที่ ดังนี้
ใช Apache เปน Web Server จําลองการใชงานเสมือนอยูบนอินเทอรเน็ต ในการใช
งานภาษาทีส่ ามารถรองรับได
ใช PHP เพื่อใหสามารถใชงานภาษา PHP และใชบน Web Server ได
ใช MySQL เปน Database Server เพื่อใหภาษาสคริปตางๆ ที่รองรับสามารถสราง
หรือติดตอ กับ Database ได
ใช phpMyAdmin เพื่อเปนตัวชวยในการติดตอ สรางใชงาน Database ไดงายขึ้น
โปรแกรมที่ติดมากับ Appserv นี่เองสามารถทําใหการใชงานภาษา PHP, HTML หรือภาษา
ตางๆ ซึ่งสามารถนําไปใช เชน สามารถใช เขียนโปรแกรมตางๆที่จําเปนตองมีการใชงาน บน Web
Server หรือเขียนเว็บไซตแบบงายๆ จนถึงเว็บไซตที่มีการใชงานโดยเชื่อมตอ Database เปนตน

2.8 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2553 โครงการนี้มี
วัตถุประสงค 1. เพื่อ ใหมีร ะบบสารสนเทศบนเครือ ขา ยอิน เตอรเ น็ต สํา หรับ งานบริห ารองคก ร
การเรี ย นการสอน การวิ จั ย และการบริ การทางวิ ช าการ 2. เพื่ อพั ฒ นาระบบสารสนเทศสํ าหรั บ
สนับสนุนการจัดการองคความรูในองคกร ขอบเขตการดํา+เนินงานของโครงการ การพัฒนาระบบ
สารสนเทศเนนการวิเคราะหและปรับปรุง กระบวนการทํางานในองคกรในรูปแบบของการจัดการ
องคกร โดยนําระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS) มา
ปรับใชใหสอดคลองกับระบบตางๆ ซึ่งไดแก ระบบจัดการเอกสาร ระบบการจัดการขาวสาร ระบบ
การทํ างานรวมกัน ระบบการประมวลภาพ และระบบจัด การสํานักงาน โดยใชเทคโนโลยีจั ดการ
ฐานขอมูลผานเว็บเพจดวยระบบคอมพิวเตอรที่ใช Open Source Software และ Internet Application
35

โดยออกแบบใหมีความเหมาะสมกับความตองการของหนวยงาน วิธีการดําเนินการ 1. กําหนดปญหา


และความตองการของผูใช 2. รวบรวมขอมูลภายใน ภายนอก ซึ่งจําเปนตอหนวยงาน เพื่อศึกษาความ
เปนไปได (ดานเทคนิค, การดําเนินงาน และงบประมาณ) 3. วิเคราะหและปรับปรุงขอมูลใหเปน
สารสนเทศที่พรอมจะนําไปใชประโยชน 4. ออกแบบระบบสารสนเทศและคัดเลือกซอฟตแวร โดยใช
เทคโนโลยีระบบจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต (Content Management System: CMS) เพื่อใหทํางาน
เปนแบบอัตโนมัติเนนการทํางานผานเว็บไซต 5. พัฒนาระบบ Intranet เพื่อการบริหารงานภายใน
องคกร ซึ่งประกอบดวยระบบตางๆ เชน 5.1 ระบบจัดการเอกสาร (Document Control Systems)
ระบบงานดานเอกสารภายในองคกร 5.2 ระบบการจัดการขาวสาร (Message-Handing Systems) 5.3
ระบบการทํางานรวมกัน (Electronic Collaboration Systems) เชน ตารางนัดหมาย/ตาราง
กิจกรรม/ตารางการปฏิบัติงาน (Calendar Appointment) ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail) และ
ขั้นตอนการปฏิบัติงานรวมกัน (Work Instruction: WI) 5.4 ระบบสื่อผสม (Multimedia Systems)
5.5 ระบบจัดการสํานักงาน (Office Management Systems) 5.6 ระบบประกันคุณภาพ 5.7 ระบบ
การใหบริการการศึกษาในดานตางๆ ระบบงานตรวจสอบมาตรฐานการศึกษา ระบบงานบริการ
การเรียนการสอน ระบบงานสนับสนุนการเรียนการสอน ระบบงานพัฒนาหลักสูตร ระบบงานวิจัย
ระบบงานบริการวิชาการ ระบบการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรเศรษฐศาสตรธุรกิจ (MBE) ระบบ
การจัดการเรียนการสอน หลักสูตรธุรกิจการเกษตร (MAB) ระบบสื่อการสอนออนไลน E-learning
6. ติดตั้งและทดสอบระบบสารสนเทศ ระบบซอฟตแวรใหเปนไปตามระบบงานที่ออกแบบไว และ
7. ประเมินผลและบํารุงรักษาระบบ

โครงการ e-University ของมหาวิท ยาลัย เกษตรศาสตร กํา ลัง ดํา เนิน การอยูใ น
ปจ จุบัน โครงการนี้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดใหความสําคัญที่จะพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อนํามาใชกับการเรียนการสอนการบริหารและการวิจัยของมหาวิทยาลัยใหดําเนินไปไดอยางรวดเร็ว
มีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองตอสังคมภายนอกได ดังกรอบนโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีเปาหมายใหเปน e-University โดยผสมผสานกับกระบวนการจัดการแบบปกติ
ในกรณี ที่จํ า เป น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค ห ลั กเพื่ อพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศของมหาวิ ทยาลั ย ให มี
คุณภาพ ประสิทธิภาพ ประหยัด รวดเร็ว ปรับปรุงคุณภาพการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียน
การสอน ใหมีความทันสมัย กาวทันเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว เพื่อเพิ่มศักยภาพการใช
เทคโนโลยี สารสนเทศในการพัฒ นา การวิจั ย เพื่อความเข มแข็ งทางวิ ช าการ ส งเสริ มและพั ฒ นา
วิชาการดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรแกสังคมและชุมชน โดยไดวางแนวทางการดําเนินงานไวดังนี้
1. ในการบริหารยุคตอไป การดําเนินการตองถูกตอง รวดเร็ว มีการใชขอมูลขาวสารอยางมี
ประสิทธิภาพ (e-Office) ลดคาใชจายบางสิ่งบางอยางที่ทําไดทันที เชน การสื่อสาร สิ่งพิมพ และ
การบริหารจัดการ
36

2. ปฏิรูปการเรียนการสอนโดยใชไอทีเขามาชวย เชน การทําฐานขอมูลกลาง หองสมุ ด


ดิจิตอล การเรียนการสอนทางไกล e-Learning การใชสื่อ (e-Courseware) ตางๆ กับการเรียน
การสอน เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาให มากขึ้น ซึ่ งจากแผนฯ ของมหาวิทยาลัย มุงเนน ขยาย
การศึกษาไปในหลายวิทยาเขตโดยการลดตนทุน จะทําใหมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมีแนวโนมที่จะ
เปนมหาวิทยาลัยปดที่ใหญที่สุดในประเทศยกเวน มหาวิทยาลัยเปดอยางมหาวิทยาลัยรามคําแหง
และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
3. เนนความเขมแข็งทางวิชาการและดานวิจัยมุงไปสู Research University มีการพัฒนา
องคความรูทางดานงานวิจัย การวิจัยบนรากฐานการใชอุปกรณคอมพิวเตอรคํานวณประสิทธิภาพสูง
4. การใชไอทีชวยดานประโยชนตอสังคม ชุมชน และศิษยเกา รวมถึงการกระจายความรู
ทางดานการเกษตรไปสูชุมชน โดยเนนการบริการสารสนเทศการเกษตร (e-Ag)

โครงการ e-University ที่ดําเนินการเสร็จไปแลว เชน


โครงการประชุมอิเล็กทรอนิกส (e-Meeting) จัดทําระบบและโปรแกรมเพื่อสนับสนุน
การประชุมสภา การประชุมคณบดี และการประชุม อ.ก.ม. สําหรับผูบริหาร
ระบบ e-Meeting ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเปนระบบสนับสนุนการประชุมโดย
อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาชวยอยางครบวงจรในการจัดเตรียมเอกสาร และการประชุมในหอง
ประชุม หนวยงานตนสังกัดจะจัดเตรียมวาระการประชุมซึ่งอาจอยูในรูปของแฟมขอมูลหรือเอกสาร
ขอมูล เอกสารจะถูกแปลงเป นแฟมโดยการสแกนด วยสแกนเนอร ความเร็ว สูง เจ าหนาที่ จะนํ า
แฟมขอมูลเขาสูฐานขอมูลผานโปรแกรมจัดปอนและกําหนดหัวขอวาระการประชุม เมื่อนําวาระเขา
ครบเสร็จสิ้นแลว สามารถจะสั่งการเพื่อสําเนาวาระลงสูซีดีรอมได
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเริ่มใชระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกสอยางเปนทางการใน
เดือนสิงหาคม 2545 ในการประชุมผูบริหารระดับสูง ไดแก การประชุมคณบดี การประชุมอ.ก.ม และ
การประชุมสภามหาวิทยาลัย
โครงการระบบสํานักงานอัตโนมัติ (e-Office)
จัดทําระบบและโปรแกรมเพื่อสนับสนุนระบบสํานักงาน โดยเริ่มจากงานสารบรรณ
(e-Tracking Document)
จัดอบรมใหแกเจาหนาที่งานธุรการของหนวยงานระดับ คณะสํานัก/สถาบัน
ร ว มมื อ กั บ สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาฯ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบสํ า นั ก งาน
อิเล็กทรอนิกสเพื่อสนับสนุนการใชงานตั้งแตภายในหนวยงานจนถึงระดับมหาวิทยาลัย
โครงการขาวอิเล็กทรอนิกส (e-News)
จัดทําระบบการสงขาวประชาสัมพันธบนโฮมเพจของมหาวิทยาลัยผานทางเครือขาย
อินเทอรเน็ต
37

งานวิจัยที่เกี่ยวของ เรื่อง “การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของสถาบัน


การพลศึกษา” ของ บรรณากิจบรรจง ทองจําปา ,2551 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค เพื่อการพัฒนา
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของสถาบันการพลศึกษา โดยใชกระบวนการวิจัยและพัฒนา
ขั้นตอนการพัฒนาระบบใชหลักวงจรการพัฒนาระบบ System Development Life Cycle: SDLC
จากการวิเคราะหสภาพปญหาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศของสถาบันการพลศึกษา พบวามีประเด็นที่
จะตองไดรับการพัฒนาหลายดาน เชน โครงสรางพื้นฐานของระบบ การกําหนดนโยบายดานขอมูล
การจัดทําขอมูลภายใตทรัพยากรที่มีอยางจํากัด คุณภาพขอมูลและปริมาณขอมูลที่เพิ่มขึ้น ขาดการ
กําหนดรูปแบบการจัดเก็บขอมูลที่เปนมาตรฐานเดียวกัน ขาดการพัฒนาขอมูลสารสนเทศทางการพล
ศึกษาและกีฬาที่สามารถเชื่อมโยงไปสูการปฏิบัติและการตัดสินใจที่ดีของผูบริหาร ระบบการรักษา
ความปลอดภัยขอมูล รวมทั้งการสรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสื่อสารดานการวางแผน
ระดั บ นโยบายระหว า งผู บ ริ ห ารหน ว ยงาน และกระบวนการควบคุ ม ดํ า เนิ น การ ที่ มี ผ ลต อ การ
เปลี่ยนแปลงระบบสารสนเทศ ทําการวิเคราะห ออกแบบระบบงานใหม พัฒนาระบบตามที่ออกแบบ
ไว ทดสอบระบบแกไขปญหา ติดตั้งระบบ ประเมินประสิทธิภาพระบบ และประเมินความพึงพอใจ
ของผูใชระบบ และประชุมสัมมนา ผูมีสวนเกี่ยวของเพื่อใหไดระบบงานสารสนเทศเพื่อการบริหาร
จัดการของสถาบันการพลศึกษา ที่มีความเหมาะสมและเปนไปได
งานวิจัยที่เกี่ยวของ เรื่อง “การพัฒนาระบบสารสนเทศหนวยบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร
อุตสหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง” ของ สมเกียรติ ตันติวงศวาณิช,
2548 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศหนวยบัณฑิตศึกษา ของคณะครุศาสตร
อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และเพื่อศึกษาความคิดเห็น
ของผู ใ ช ที่ มี ต อ ระบบสารสนเทศหน ว ยบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาของคณะครุ ศ าสตร อุ ต สาหกรรม สถาบั น
เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
การพัฒนาระบบสารสนเทศหนวยบัณฑิตศึกษา ไดดําเนินการตามทฤษฎีของวัฏจักรการพัฒนา
ระบบงาน (System Development Life Cycle หรือ SDLC) แผนภาพ Data Flow Diagram และ
การออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิดแสดงถึงความสัมพันธ (Entity Relationship Model หรือ E-R
Model) โปรแกรมที่ใชในการพัฒนา (Active Server Page หรือ ASP) เพื่อแสดงผลขอมูลผานระบบ
เครือขายอินเทอรเน็ต และโปรแกรม Microsoft Access 2003 ภายใต Windows XP
ผลการวิจัย การพัฒนาระบบสารสนเทศหนวยบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สรุปไดดังนี้
1. การพัฒนาระบบสารสนเทศหนวยบัณฑิตศึกษา สามารถนําไปใชในการจัดเก็บขอมูล
สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกล าคุ ณทหารลาดกระบั ง สามารถนํ าไปใช ในการจั ด เก็บ ข อมู ล การ
ประมวลผลขอมูล สืบคน ปรับปรุงแกไขขอมูลและการจัดทํารายงานสารสนเทศไดตรงตามที่ไดศึกษา
วิเคราะห และออกแบบระบบงานใหม
38

2. ความคิดเห็นของผู ใชที่มีตอระบบสารสนเทศหนวยบัณฑิ ตศึกษา ของคณะครุศาสตร


อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง พบวามีความเหมาะสมในดาน
ความสะดวกรวดเร็วเปนลําดับแรก รองลงมาเปนความสมบูรณของขอมูล และดานความสอดคลอง
กับความตองการตามลําดับ ซึ่งทั้งหมดมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก
39

บทที่ 3
วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เปนการวิจัย


ประยุกต ผูวิจัยไดศึกษาระบบงานของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โดยวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล
จากการสอบถามผู ปฏิ บั ติ งาน และรวบรวมตั ว อยางรายงาน เอกสารของสํ านั กงาน นํามาศึ กษา
วิเคราะหความตองการระบบงานใหม ออกแบบฐานขอมูล พัฒนาโปรแกรม และนําไปทดลองใชงาน
ตลอดจนปรับปรุงแกไขการทํางานของระบบใหมีความเหมาะสมตรงกับความตองการ ติดตั้งระบบเพื่อ
ใชงานจริง โดยเปลี่ยนทีละสวนแบบคอยเปนคอยไป และบางสวนทําขนานจนกวาเจาหนาที่จะมีความ
ชํานาญในการใชงาน มีขั้นตอนในการดําเนินงาน ดังนี้
3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง
3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
3.3 ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล
3.5 การวิเคราะหขอมูล
3.6 การวิเคราะหระบบงานปจจุบัน
3.7 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศใหม
3.8 การพัฒนาและการติดตั้งระบบ

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากร
ประชากรที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ คือ
1. คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย จํานวน 22 คน
2. บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย จํานวน 5 คน
3. คณาจารยผูขอตําแหนงทางวิชาการ จํานวน 32 คน

กลุมตัวอยาง
กลุมตัวอยาง รวม 7 คน ดังนี้
1. คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย จํานวน 1 คน
2. บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย จํานวน 5 คน
3. คณาจารยผูขอตําแหนงทางวิชาการ จํานวน 1 คน
40

3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
ในการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผูวิจัยไดใชเครื่องมือใน
3 ลักษณะ ดังนี้
1. ดานฮารดแวร
เครื่องคอมพิวเตอรทใี่ ชงานทั่วไปและสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ต
เครื่องแมขายใชบริการเว็บโฮสติ้งเชาจากบริษัทเอกชน
2. ดานซอฟตแวร เลือกใชโปรแกรมโอเพนซอรส ไดแก
ภาษา PHP ใชเขียนโปรแกรม
ฐานข อมูล MySQL 6.0.4 ใชจัดเก็บขอมูล
โปรแกรม phpMyAdmin 2.10.3 ใชจัดการฐานขอมูล
โปรแกรม Filzilla 3.7.3 ใชในการ upload file ไปยัง server
ชุดโปรแกรม appserv 2.6.0 ประกอบดวย โปรแกรม apache 2.2.8 จําลองเครื่องเปน
Server ทดสอบการทํางานเว็บไซตกอน upload ไปยังเว็บไซตจริง
3. แบบสอบถามเพื่อประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
แบบสอบนี้เปนการสอบถามขอมูล ความคิด เห็นของผูดูแลระบบ กรรมการสภา และ
ผูเชี่ยวชาญคอมพิวเตอร ภายหลังจากที่ไดทดลองใชโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น เพื่อประเมินประสิทธิภาพ
ของระบบ แบงการประเมินผลออกเปน 4 ดาน ดังนี้
1. ดาน Functional Requirement Test เปนการประเมินผลความถูกตอง และ
ประสิทธิภาพของระบบวาตรงตามความตองการของผูใชระบบมากนอยเพียงใด
2. ดาน Functional Test เปนการประเมินความถูกตองและประสิทธิภาพในการ
ทํางานของระบบวาสามารถทํางานไดตามฟงกชันงานของระบบมากนอยเพียงใด
3. ดาน Usability Test เปนการประเมินลักษณะการออกแบบระบบวามีความงายตอ
การใชงานมากนอยเพียงใด
4. ดาน Security Test เปนการประเมินระบบในดานการรักษาความปลอดภัยของ
ขอมูลในระบบวามีมากนอยเพียงใด
โดยมีลักษณะเปนแบบประมาณคา 5 ระดับ มีเกณฑดังนี้
5 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในระดับ มากที่สุด
4 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในระดับ มาก
3 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในระดับ ปานกลาง
2 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในระดับ นอย
1 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในระดับ นอยที่สุด
41

3.3 ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ในการพัฒนาระบบสารสนเทศไดดําเนินการตามวัฏจักรการพัฒนาระบบ มีขั้นตอน ดังนี้
1. การศึกษาความเปนไปได เปนขั้นตอนแรกของการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยจะทํา
การรวบรวมข อมูลที่เ กี่ยวข องกับ ระบบงานสารสนเทศ เพื่อนํ ามาศึกษา ค นหาปญหาที่เกิ ดขึ้นกั บ
ระบบงานปจจุบันตลอดจนคนหาแนวทางการแกไขปญหาซึ่งจะทําใหทราบวามีความเปนไปไดมาก
น อ ยแค ไ หนในการพั ฒ นาระบบ และระบบสารสนเทศที่ จ ะพั ฒ นาขึ้ น จะมี ลั ก ษณะเป น อย า งไร
และศึกษาวาเปนไปไดหรือไมที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ
2. การวิเคราะหระบบ ศึกษาการทํางานของระบบงานปจจุบัน และกําหนดความตองการ
ของระบบใหม การวิ เ คราะห ร ะบบงานป จ จุ บั น ทํ าความเข าใจขั้ น ตอนการทํ างานของระบบงาน
ปจจุบัน พิจารณาจุดดอยของการทํางานในปจจุบัน วิเคราะหใหอยูในรูปแบบสารสนเทศ โดยใช Data
Flow Diagram (DFD) เปนเครื่องมือในการทําความเขาใจการไหลของขอมูลที่ไหลเขาสูระบบและ
การไหลของขอมูลออกจากระบบงานปจจุบัน ขบวนการหรือขั้นตอนตางๆ ในการทํางานระบบงาน
ปจจุบัน และผลลัพธที่ไดออกมาจากระบบงานปจจุบัน
3. การออกแบบระบบใหม จะเป น การออกแบบรายละเอี ย ดในส ว นต า งๆ ของระบบ
สารสนเทศใหม โดยระบบสารสนเทศใหมจะสามารถแกไขปญหาระบบงานเดิม ปรับปรุงประสิทธิภาพ
การทํางานระบบงานเดิมและสามารถตอบสนองความตองการของบุคลากรภายในหนวยงานได โดยใช
Data Flow Diagram (DFD) ของระบบงานใหมเปนเครื่องมือในการอธิบายขบวนการหรือขั้นตอน
ตางๆ ในการทํางานของระบบงานใหม และใชเครื่องมือ Entity Relationship Model (E-R Model)
ในการออกแบบฐานขอมูลระบบงานใหมในระดับแนวคิด โดยแสดงถึงความสัมพันธและรายละเอียด
ของขอมูลตางๆ ของระบบงานใหม
4. การพัฒนาโปรแกรม เขียนโปรแกรมตามที่ไดออกแบบไว เปนขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
และแกไขขอผิดพลาดตางๆ ของโปรแกรม ใหมีความถูกตองในการทํางาน
5. การทดสอบระบบ เพื่อตรวจสอบการทํางานของระบบกอนใชงานจริง ได ทดสอบกั บ
ขอมูลจริงบางสวนของงานสภามหาวิทยาลัย และใหผูปฏิบัติงานไดทดลองใชระบบในระยะเวลาหนึ่ง
เพื่อหาขอผิดพลาดของระบบ
6. การติ ด ตั้ ง ระบบ หลั ง จากได ท ดสอบระบบและแก ไ ขข อ ผิ ด พลาดต า งๆ และพั ฒ นา
ระบบงานจนเสร็จ จึงทําการติดตั้งระบบงานใหมไวที่เว็บไซต http://www.cpnru.com จัดทําคูมือ
การใชงาน อบรมการใชงานใหกับผูดูแลระบบ
7. การเปลี่ยนเขาสูระบบใหม จากระบบเดิมเขาสูระบบใหมโดยคอยเปลี่ยนทีละสวน แบบ
คอยเปนคอยไป และบางสวนทําขนานจนกวาเจาหนาที่จะมีความชํานาญในการใชงาน และรอความ
พรอมของอุปกรณในหองประชุมสําหรับการจัดประชุมดวยระบบใหม
42

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล
1. ทําหนังสือขออนุญาตจากหัวหนางานกลุมงานสภามหาวิทยาลัยเพื่อรวบรวมขอมูลการ
วิจัยจากเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานสํานักงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ไดแก งานบริหารงาน
ทั่วไป งานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ และงานประชุม
2. นําโปรแกรมที่ไดพัฒนาไปใหผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอร ตัวแทนคณะกรรมการสภา
มหาวิ ทยาลั ย และเจ าหน าที่ ใ นสํ า นั กงานสภาที่ จ ะเป น ผู ดู แลระบบได ทดลองใช งาน พร อมตอบ
แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชโปรแกรมเพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบ
นําโปรแกรมที่ไดพัฒนาระบบงานที่ไดทดลองใชงานจริงระยะหนึ่ง นําเสนอตอเลขานุการ
สภามหาวิทยาลัย หัวหนากลุมงานสภา และเจาหนาที่ของสํานักงาน รับฟงขอเสนอแนะและทําการ
ปรับปรุงโปรแกรมตามขอเสนอแนะทั้งหมด

3.5 การวิเคราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นที่มีตอการใชระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครเพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบ มีเกณฑการแปลความหมายของคาเฉลี่ย ดังนี้
4.50 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมอยูในระดับ มากที่สุด
3.50 – 4.49 หมายถึง มีความเหมาะสมอยูในระดับ มาก
2.50 – 3.49 หมายถึง มีความเหมาะสมอยูในระดับ ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถึง มีความเหมาะสมอยูในระดับ นอย
1.00 – 1.49 หมายถึง มีความเหมาะสมอยูในระดับ นอยที่สุด
สถิติในการวิเคราะหขอมูลใชคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

3.6 การวิเคราะหระบบงานปจจุบัน
จากการศึกษาและวิเคราะหระบบงานปจจุบันโดยใชเทคนิคการสัมภาษณบุคลากร
ผูปฏิบัติงาน และรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของกับระบบงานปจจุบัน มีการทํางานแบงเปน 3 งาน ดังนี้
1. งานบริหารงานทั่วไป รับสงเอกสารเขา เอกสารออก จากหนวยงานภายในและภายนอก
มหาวิทยาลัย และจัดสงใหกับผูรับหรือสําเนาแจงไปยังคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย การจัดเก็บ
เอกสารจะใชเครื่องสแกน เพื่อจัดเก็บขอมูลในรูปของ pdf แลวบันทึกเก็บในคอมพิวเตอรสวนบุคคล
ของงานบริหารงานทั่วไป
2. งานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ติดตามการดําเนินงานในการพิจารณากําหนดตําแหนง
ของผู ทรงคุ ณ วุ ฒิ กรรมการพิ จ ารณาผลงานทางวิ ช าการ และผู ขอกํ าหนดตํ าแหน ง ทางวิ ช าการ
รวบรวมฐานขอมูลการดํ าเนินงานกําหนดตําแหน งทางวิชาการ และรายงานตอสภามหาวิทยาลั ย
43

การจัดเก็บขอมูลจะถูกจัดเก็บในคอมพิวเตอรสวนบุคคลของงานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ โดยใช
โปรแกรม Ms-Word และโปรแกรม Ms-Excel
3. งานประชุม เปนงานเกี่ยวกับการประชุมงานสภามหาวิทยาลัย กําหนดจัดประชุมเดือน
ละ 1 ครั้งหรืออาจมากกวา มีการเตรียมเอกสารระเบียบวาระการประชุม มติที่ประชุม สรุปรายงาน
การประชุ ม และต อ งเผยแพร ใ ห กั บ ประชาคมรั บ ทราบ โดยการสํ า เนาส ง ไปหน ว ยงานต า งๆ
ในมหาวิทยาลั ย การจัด เก็ บ ขอมู ล จะถู กจั ด เก็ บ ในคอมพิ ว เตอร ส ว นบุ คคลของงานประชุ ม โดยใช
โปรแกรม Ms-Word

ผูวิจัยไดรับทราบความตองการในการปรับปรุงระบบ และขอเสนอในการปรับปรุงระบบ ดังนี้


ตารางที่ 3.1 ความตองการปรับปรุงระบบและขอเสนอในการปรับปรุงระบบ
ความตองการปรับปรุงระบบ ขอเสนอในการปรับปรุงระบบ
1. ตองการใหมีการจัดระเบียบขอมูล เกี่ยวกับ พัฒนาระบบ e-News และระบบ e-Office เพื่อ
ระเบี ย บ ประกาศ และข อ บั ง คั บ ต า งๆ ให ชวยการจัดการงานเอกสารที่เกี่ยวของตางๆ
ประชาคมรับทราบ และงายตอการสืบคน
2. ต อ งการแสดงภาพของคณะกรรมการสภา สรางฐานขอมูลเพื่อจัดเก็บขอมูลคณะกรรมการ
ประวัติพอสังเขป และขอมูลการติดตอ สภา และนําเสนอสารสนเทศผานทางเว็บ
3. ต อ งการให มี ก ารแจ ง ข า วประชาสั ม พั น ธ พัฒนาระบบ e-News เพื่อชวยการจัดการงาน
กิ จ กรรม ภาพกิ จ กรรม สามารถดาวน โ หลด เอกสารที่ เ กี่ ย วข อ งต า งๆ และสร า งปฏิ ทิ น
แบบฟอรมตางๆ กิจกรรม e-Scheduling บันทึกกิจกรรมผานทาง
ปฏิ ทิน ออนไลน แจ ง เตื อนไปยั งคณะกรรมการ
สภา
4. ตองการใหแสดงขอมูล ดังตอไปนี้ พัฒนาเว็บไซต และสรางฐานขอมูลในการจัดเก็บ
ประวัติสภามหาวิทยาลัย ขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของ
บทบัญญัติเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย
โครงสรางการบริหารสภามหาวิทยาลัย
ทําเนียบนายกสภามหาวิทยาลัย
บุคลากรในสํานักงาน
ขอมูลผูไดรับปริญญากิตติมศักดิ์
5. คณะกรรมการสภา สามารถดูระเบียบวาระการ พัฒนาระบบ e-Meeting เพื่อจัดการงานประชุม
ประชุม รายงาน มติ และเอกสารประกอบการ
ประชุมได
44

ความตองการปรับปรุงระบบ ขอเสนอในการปรับปรุงระบบ
6. ใหเผยแพรรายงานการประชุม มติการประชุม พัฒนาระบบ e-Meeting เพื่อจัดการงานประชุม
7. ใหจัดระบบการรับสงเอกสารเขา เอกสารออก พัฒนาระบบ e-Office เพื่อชวยจัดการระบบการ
จากหนวยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รับสงเอกสารเขา เอกสารออก จากหนวยงาน
และจัดสงใหกับผูรับหรือสําเนาแจงไปยัง ภายในและภายนอก
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยทําไดผาน
ระบบบนเว็บ
8. ตองการประชาสัมพันธขาวสารเกี่ยวกับงาน พัฒนาระบบ e-Academic ประชาสัมพันธ
กําหนดตําแหนงทางวิชาการ ผลงานของผูดํารง ขาวสารงานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ให
ตําแหนงทางวิชาการ จํานวนผูดํารงตําแหนง แสดงตารางและกราฟ สถิติจํานวนของผูดํารง
ทางวิชาการแยกตามคณะ และผูขอกําหนด ตําแหนงทางวิชาการแยกตามคณะ และให
ตําแหนงทางวิชาการสามารถติดตาม คณาจารยสามารถติดตามความกาวหนาการขอ
ความกาวหนาการขอตําแหนงทางวิชาการผาน กําหนดตําแหนงทางวิชาการ ผานทางเว็บไซตได
ทางเว็บได ดวยตนเอง

จากการวิเคราะหระบบสารสนเทศที่หนวยงานสภามหาวิทยาลัยใชอยูในปจจุบัน ไดแกระบบ
เว็บไซตของสภามหาวิทยาลัยไมสามารถตอบสนองตอความตองการดังกลาวขางตน ของบุคลากร
ภายในหนวยงานไดทั้งหมด
ระบบสารสนเทศที่ใชอยูในปจจุบันสามารถแสดงการวิเคราะหดวยแผนภาพ Data Flow
Diagram มีรายละเอียดดังนี้
45

แผนภาพ Data Flow Diagram ของระบบระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏ


พระนคร (ปจจุบัน) แสดงดังภาพ

ภาพที่ 3.1 Context Diagram ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (ปจจุบัน)

ภาพที่ 3.2 Data Flow Diagram Level 1 ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


(ปจจุบัน)
46

3.7 การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศใหม
การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยใหมเพื่อใหตรงกับความ
ตองการของบุคลากรภายในหนวยงาน มีรายละเอียดดังนี้
1. หนวยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวของระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัย ไดแก
1.1 หนวยงานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
1.2 หนวยงานภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
1.3 กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
1.4 บุคลากรผูเกี่ยวของ
2. ขอมูลหรือแฟมขอมูลที่เกี่ยวของระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัย ไดแก
2.1 ขอมูลเอกสารเขา
2.2 ขอมูลเอกสารออก
2.3 ขอมูลกรรมการสภามหาวิทยาลัย
2.4 ขอมูลการประชุม
2.5 ขอมูลขาวประกาศ
2.6 ขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ
2.7 ขอมูลกระดานถามตอบ
3. ระบบมีกระบวนการทํางาน ดังนี้
3.1 ปรับปรุงขอมูลเอกสารเขา
3.2 สรางเอกสารออก
3.3 ปรับปรุงขอมูลเอกสารออก
3.4 ปรับปรุงขอมูลกรรมการสภามหาวิทยาลัย
3.5 จัดการขอมูลผูใชระบบ
3.6 กําหนดวาระการประชุม
3.7 บันทึกมติที่ประชุม
3.8 ออกรายงานการประชุม
3.9 แยกประเภทขาวประกาศ
3.10 ปรับปรุงขอมูลขาวประกาศ
3.11 แจงประกาศขาว
3.12 จัดการปฏิทินกิจกรรม
3.13 จัดการกระดานถามตอบ
3.14 รับเอกสารการขอตําแหนงทางวิชาการ
3.15 ตรวจสอบหลักฐาน
3.16 ปรับปรุงขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชา
47

4. โครงสรางการทํางานของระบบงานใหม
จากการศึกษาระบบงานปจจุบัน สามารถนํามาเขียนเปนแผนภูมิโครงสรางการทํางานใหมในแตละสวนของระบบงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แสดงดัง
ภาพ

ภาพที่ 3.3 แผนผัง Process Hierarchy Chart ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

47
48

5. แผนภาพ Data Flow Diagram ของระบบงานใหม


ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ พระนครประกอบด ว ยระบบงานที่ มี
ความสัมพันธกันของหนวยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวของกัน และขอมูลตางๆ มีความสัมพันธกับระบบ
สามารถแบงแยกการทํางานหลักออกเปนการทํางานยอยๆ ตามหน าที่การทํา งาน สามารถแสดง
ความสัมพันธดวย Data Flow Diagram ในระดับตางๆ ตามการทํางานของแตละงาน แสดงดังภาพ

ภาพที่ 3.4 Context Diagram ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


49

ภาพที่ 3.5 Data Flow Diagram Level 1 ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

49
50

ภาพที่ 3.6 Data Flow Diagram Level 2 ของโปรเซส 1 จัดการเอกสาร

ภาพที่ 3.7 Data Flow Diagram Level 2 ของโปรเซส 2 จัดการการประชุม


51

ภาพที่ 3.8 Data Flow Diagram Level 2 ของโปรเซส 3 จัดการขาว

ภาพที่ 3.9 Data Flow Diagram Level 2 ของโปรเซส 4 จัดการตําแหนงทางวิชาการ


52

5.1 รายละเอียดของโปรเซส 1 จัดการเอกสาร


เปนการอธิบายการทํางานของโปรเซสแสดงแผนผังการไหลของขอมูล โดยอธิบายถึง
รายละเอียดของโปรเซสที่ 1 ขอมูลเขา และขอมูลออก ดังนี้
ชื่อโปรเซส 1.1 ปรับปรุงขอมูลเขา
กระบวนการทํางาน นําเอกสารเขาสูระบบแยกเก็บตามหนวยงานภายใน หนวยงานภายนอก และ
สงใหผูรับ และจัดเก็บเอกสารเขา
ขอมูลเขา หนังสือ, เอกสารเขา
ขอมูลออก ขอมูลเอกสารเขา
ขอมูลเอกสารถึงกรรมการสภามหาวิทยาลัย
แฟมเอกสารเขา
ชื่อโปรเซส 1.2 สรางเอกสารออก
กระบวนการทํางาน นําหนังสือ เอกสารเขา และขอมูลกรรมการสภามหาวิทยาลัย นํามาสราง
เอกสารออก สงไปยังหนวยงานภายในและภายนอก
ขอมูลเขา หนังสือ, เอกสารเขา
ขอมูลกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ขอมูลออก หนังสือ เอกสารออก

ชื่อโปรเซส 1.3 ปรับปรุงขอมูลเอกสารออก


กระบวนการทํางาน นําเอกสารออกมาปรับปรุงขอมูล
ขอมูลเขา หนังสือ, เอกสารออก
ขอมูลออก หนังสือ, เอกสารออก
แฟมเอกสารออก
ชื่อโปรเซส 1.4 ปรับปรุงขอมูลกรรมการสภามหาวิทยาลัย
กระบวนการทํางาน นําขอมูลกรรมการสภา มาปรับปรุงขอมูล สงไปบันทึกในแฟมกรรมการสภา
ขอมูลเขา ขอมูลกรรมการสภา
ขอมูลออก แฟมกรรมการสภา
ชื่อโปรเซส 1.5 จัดการขอมูลผูใชระบบ
กระบวนการทํางาน นําขอมูลกรรมการสภา มาจัดการขอมูลผูใชระบบ สงไปบันทึกในแฟม
กรรมการสภา
ขอมูลเขา ขอมูลกรรมการสภา
ขอมูลออก ขอมูลเขาสูระบบ
แฟมกรรมการสภา
53

5.2 รายละเอียดของโปรเซส 2 จัดการการประชุม


เปนการอธิบายการทํางานของโปรเซสแสดงแผนผังการไหลของขอมูล โดยอธิบายถึง
รายละเอียดของโปรเซสที่ 2 ขอมูลเขา และขอมูลออก ดังนี้
ชื่อโปรเซส 2.1 กําหนดวาระการประชุม
กระบวนการทํางาน นําขอมูลเอกสารการประชุม เอกสารเขา ขอมูลการขอกําหนดตําแหนงทาง
วิชาการ กําหนดวาระการประชุม สงหนังสือเชิญประชุมไปยังคณะกรรมการ
บันทึกขอมูลการประชุมในแฟมการประชุม
ขอมูลเขา ขอมูลการประชุม
ขอมูลเอกสารเขา
ขอมูลการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลออก หนังสือเชิญประชุม
ขอมูลการประชุม
แฟมการประชุม

ชื่อโปรเซส 2.2 บันทึกมติที่ประชุม


กระบวนการทํางาน นําวาระการประชุม ขอมูลการประชุม บันทึกมติที่ประชุม ลงในแฟมการ
ประชุม
ขอมูลเขา วาระการประชุม
ขอมูลมติการประชุม
ขอมูลออก ขอมูลการประชุม
แฟมการประชุม

ชื่อโปรเซส 2.3 ออกรายงานการประชุม


กระบวนการทํางาน นําขอมูลจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ขอมูลรายงานการประชุม
ขอมูลสรุปรายงานมติการประชุม และขอมูลการประชุม ออกรายงานการ
ประชุม และสงออกใหกับคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย และสงขอมูลการ
กําหนดตําแหนงทางวิชาการไปยังโปรเซส 4 กําหนดตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลเขา ขอมูลการประชุม
ขอมูลจากกรรมการสภามหาวิทยาลัยนําขอมูลเขาสูระบบ
ขอมูลออก ขอมูลการประชุมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลรายงานการประชุม
ขอมูลสรุปรายงานมติการประชุม
54

5.3 รายละเอียดของโปรเซส 3 จัดการขาว


เปนการอธิบายการทํางานของโปรเซสแสดงแผนผังการไหลของขอมูล โดยอธิบายถึง
รายละเอียดของโปรเซสที่ 3 ขอมูลเขา และขอมูลออก ดังนี้
ชื่อโปรเซส 3.1 แยกประเภทขาวประกาศ
กระบวนการทํางาน นําขอมูลเขา มาแยกประเภทขาวประกาศ สงขอมูลขาวประกาศไปยังโปรเซส
ที่ 3.2
ขอมูลเขา หนังสือ, เอกสารออก
หนังสือ,เอกสารเขา
ขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลการประชุม
ขอมูลออก ขอมูลขาวประกาศ

ชื่อโปรเซส 3.2 ปรับปรุงขอมูลขาวประกาศ


กระบวนการทํางาน นําขอมูลขาวประกาศมาปรับปรุงขอมูลขาวประกาศบันทึกในแฟมขาว
ประกาศ
ขอมูลเขา ขอมูลขาวประกาศ
ขอมูลออก ขอมูลขาวประกาศ
แฟมขาวประกาศ

ชื่อโปรเซส 3.3 แจงประกาศขาว


กระบวนการทํางาน นําขอมูลขาวประกาศจากแฟมขอมูลแจงประกาศขาว คําสั่ง ประกาศ
แบบฟอรม สงใหกับบุคลากรที่เกี่ยวของ
ขอมูลเขา ขอมูลขาวประกาศ
ขอมูลออก ขอมูลขาว คําสั่ง ประกาศ แบบฟอรม

ชื่อโปรเซส 3.4 จัดการปฏิทินกิจกรรม


กระบวนการทํางาน นําขอมูลขาวประกาศบันทึกลงในปฏิทินกิจกรรมและประกาศไปยังบุคลากรที่
เกี่ยวของ
ขอมูลเขา ขอมูลขาวประกาศ
ขอมูลออก ประกาศ
55

ชื่อโปรเซส 3.5 จัดการกระดานถามตอบ


กระบวนการทํางาน บุคลากรที่เกี่ยวของแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ขอมูลเขา ขอมูลความคิดเห็น ขอมูลขาวประกาศ
ขอมูลออก ขอมูลความคิดเห็น

5.4 รายละเอียดของโปรเซส 4 จัดการขอมูลตําแหนงทางวิชาการ


เปนการอธิบายการทํางานของโปรเซสแสดงแผนผังการไหลของขอมูล โดยอธิบายถึง
รายละเอียดของโปรเซสที่ 4 ขอมูลเขา และขอมูลออก ดังนี้
ชื่อโปรเซส 4.1 รับเอกสารการขอตําแหนงทางวิชาการ
กระบวนการทํางาน นําแบบฟอรมการขอตําแหนงทางวิชาการรับเอกสารการขอตําแหนงทาง
วิชาการและนําสงขอมูลตอไปยังโปรเซสที่ 4.2
ขอมูลเขา แบบฟอรมการขอตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลออก ขอมูลการขอตําแหนงทางวิชาการ

ชื่อโปรเซส 4.2 ตรวจสอบหลักฐาน


กระบวนการทํางาน นําขอมูลการขอตําแหนงทางวิชาการ ขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ
ตรวจสอบหลักฐาน สงออกขอมูลการขอตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลเขา ขอมูลการขอตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลออก ขอมูลการขอตําแหนงทางวิชาการ

ชื่อโปรเซส 4.3 ปรับปรุงขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ


กระบวนการทํางาน นําขอมูลการประชุมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ปรับปรุงขอมูลผูดํารง
ตําแหนงทางวิชาการบันทึกลงแฟมผูดํารงตําแหนงทางวิชาการและสงขอมูล
ออก
ขอมูลเขา ขอมูลการประชุมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลออก ขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ
แฟมผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ
56

6. การออกแบบฐานขอมูลระบบงานใหม
ขั้ น ตอนการออกแบบฐานข อมู ล ข อมู ลที่ ได จากการเก็ บรวบรวม และศึ กษาวิ เคราะห
สามารถใช Entity Relationship Model (E-R Model) ในการออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิด
โดยแสดงถึงความสัมพันธและรายละเอียดของขอมูลตางๆ ของระบบใหม โดยรวม ดังนี้
6.1 Conceptual Database Design ขั้นตอนนี้จะทําการออกแบบฐานขอมูลระบบสภา
มหาวิทยาลัยเชิงแนวคิดตามความตองการของกลุมผูใชระบบโดยใชแบบจําลอง E-R Model
Diagram ชวยในการออกแบบ ไดแบบจําลอง ดังนี้

ภาพที่ 3.10 E-R Model ระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


57

ภาพที่ 3.11 E-R Model ของระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (ตอ)

6.2 Logical Database Design ขั้นตอนนี้จะทําการออกแบบตารางความสัมพันธ


(Relational Table) ที่ใชเก็บขอมูลระบบสภามหาวิทยาลัย ตามแนวคิดที่ไดออกแบบไวจากขั้นที่ 1
แปลงเปนตารางจะไดโครงสรางตาราง (Relational Schema) ตารางที่สรางขึ้นทั้งหมดไดผานการ
Normalization เพื่อลดความซ้ําซอนของขอมูล ดังนี้

ขีดเสนใต หมายถึง Primary key และ * หมายถึง Foreign key


1. TypeDocument (typedocid,typedocname)
2. Document (docid,docname,content,filename,signdate,urgent,dateupload,
typedocid*,username*)
3. Department (depid,dname)
4. Send1 (docid*,depid*,dates,in_out)
5. Officer (username,password,name,surname,authority)
6. GroupUser (groupid,groupname)
7. Send2 (groupid*,docid*,open)
8. Position (posid,posname)
9. User (username,password,title,name,surname,email,tel,profile,posid*)
10. InGroup (username*,groupid*)
11. Form (id,newsname,newsdetail,date,filename,new,hidden,expire)
12. Activity (id,newsname,newsdetail,date,filename,new,hidden,expire)
58

13. Regulation (id,newsname,newsdetail,date,filename,new,hidden,expire)


14. Academic (id,newsname,newsdetail,date,filename,new,hidden,expire,
professorlevel)
15. HonoraryDegree (id,newsname,newsdetail,date,filename,new,hidden,
expire, major)
16. Meeting (id,newsname,newsdetail,date,filename,new,hidden,expire,
meetingdate,datafile,reportfile)
17. Faculty (facid,facultyname)
18. Teacher(teacherid,title,teachername,teachersurname,educationdetail,birth,
major,retire)
19. Appoint (id*,teacherid*,appointdate,researchname,bookname,
documentname,committeedate, progress,infoprogress)
20. Graduate (graduateid,title,graduatename,graduatesurname)
21. Charity (id*,graduateid*,year,remark)
22. Tbmeeting (mid,meetingday,name,place,start,end,detail,resolve)
23. Person (no,title,pname,psurname,come)
24. Has3 (mid*,no*)
25. Agenda (agid,agno,agname,agdetail,agresolve,mid*)
26. SubAgenda (agsubid,agsubno,agsubname,agsubdetail,agsubresolve,agid*)
27. AgendaFile (fileid,filename,filedate,agid*)
6.3 Physical Database Design ขั้นตอนนี้จะทําการออกแบบฐานขอมูลเชิงกายภาพ
ทําการระบุพจนานุกรมของขอมูล (Data Dictionary) กําหนดชนิดของขอมูล และคุณสมบัติของ
ขอมูลที่ไดจากขั้นตอนการออกแบบที่ 2
พจนานุกรมของขอมูลระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ไดจัด
อยูในรูปของบรรทัดฐานในระดับ BCNF เนื่องจากทุกตารางอยูในรูป 3 NF และไมมี attribute อื่นใน
ตารางที่สามารถระบุคาของ attribute ที่ระบุคา Primary key หรือสวนหนึ่งสวนใดของ Primary
key ในกรณีที่ Primary key เปน Composite key
พจนานุกรมขอมูลของระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
จํานวน 27 ตาราง รายละเอียดดังนี้
59

ตารางที่ 3.2 การกําหนดขอมูลของตารางประเภทเอกสาร


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
TypeDocument typedocid รหัสประเภทเอกสาร Int(11) yes Not NULL
typedocname ชื่อประเภทเอกสาร Varchar(50) Not NULL

ตารางที่ 3.3 การกําหนดขอมูลของตารางเอกสาร


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Document docid รหัสเอกสาร Varchar(50) yes Not NULL
docname ชื่อเอกสาร Varchar(50) Not NULL
content เนื้อความ Text NULL
filename ไฟลเอกสาร Varchar(50) NULL
signdate วันที่ลงนาม Varchar(10) NULL
urgent สถานะเอกสารดวน/ไมดวน Int(1) 0=ดวน
1=ไมดวน
dateupload วันที่ upload Varchar(10) Not NULL
typedocid รหัสประเภทเอกสาร Int(11) yes TypeDocument Not NULL
username ชื่อเจาหนาที่ upload Varchar(50) yes Officer Not NULL

ตารางที่ 3.4 การกําหนดขอมูลของตารางหนวยงาน


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Department depid รหัสหนวยงาน Int(11) yes Not NULL
dname ชื่อหนวยงาน Varchar(50) Not NULL

ตารางที่ 3.5 การกําหนดขอมูลของตารางเอกสาร/เขาออก


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Send1 docid รหัสเอกสาร Varchar(50) yes yes Document Not NULL
depid รหัสหนวยงาน Int(11) yes yes Department Not NULL
dates วันที่สง/รับเอกสาร Varchar(10) Not NULL
in_out สถานะเอกสาร Int(1) 0=เอกสารเขา
1=เอกสารออก
เขา/ออก
60

ตารางที่ 3.6 การกําหนดขอมูลของตารางเจาหนาที่ผูดูแลระบบ


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Officer username ชื่อเขาระบบ Varchar(50) yes Not NULL
password รหัสผาน Varchar(50) Not NULL
name ชื่อ Varchar(50) Not NULL
surname นามสกุล Varchar(50) Not NULL
authority ความรับผิดขอบ Text NULL

ตารางที่ 3.7 การกําหนดขอมูลของตารางกลุมผูใช


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
GroupUser groupid รหัสกลุมผูใช Int(11) yes Not NULL

groupname ชื่อกลุมผูใช Varchar(100) Not NULL

ตารางที่ 3.8 การกําหนดขอมูลของตารางการสงเอกสาร


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Send2 groupid รหัสกลุมผูใช Int(11) yes yes GroupUser Not NULL

docid รหัสเอกสาร Varchar(50) yes yes Document Not NULL

open สถานะเอกสาร Int(1) 0=ยังไมเปด


ถูกเปดอาน/ไมเปดอาน 1=เปดอาน
แลว

ตารางที่ 3.9 การกําหนดขอมูลของตารางตําแหนงผูใชงาน


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Position posid รหัสตําแหนงงานผูใช Int(11) yes Not NULL

posname ชื่อตําแหนง Varchar(50) Not NULL


61

ตารางที่ 3.10 การกําหนดขอมูลของตารางผูเขาใชระบบ


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
User username ชื่อผูใชเขาระบบ Varchar(50) yes Not NULL

password รหัสผาน Varchar(50) Not NULL

title คํานําหนา Varchar(50) Not NULL

name ชื่อผูใช Varchar(50) Not NULL

surname นามสกุลผูใช Varchar(50) Not NULL

email อีเมล Varchar(50) NULL

tel หมายเลขโทรศัพท Varchar(50) NULL

profile ประวัติ Text NULL

posid รหัสตําแหนงงาน Int(11) yes Position Not NULL


ผูใช

ตารางที่ 3.11 การกําหนดขอมูลของตารางผูเขาใชระบบแบงตามกลุม


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
InGroup username ชื่อผูใชเขาระบบ Varchar(50) yes yes User Not NULL

groupid รหัสกลุมผูใช Int(11) yes yes GroupUser Not NULL


62

ตารางที่ 3.12 การกําหนดขอมูลของตารางฟอรม


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Form id รหัสแบบฟอรม Varchar(50) yes Not NULL

newsname ชื่อแบบฟอรม Varchar(50) Not NULL

newsdetail รายละเอียดแบบฟอรม Text NULL

date วันประกาศใช Varchar(10) Not NULL

filename ไฟลแบบฟอรม Varchar(50) NULL

new สถานะแบบฟอรม Int(1) 0=ใหม


ใหม/เกา 1=เกา
hidden สถานะแบบฟอรม Int(1) 0=แสดง
แสดง/ไมแสดง 1=ไมแสดง
expire วันที่หมดอายุ Varchar(10) NULL
การแสดงผล

ตารางที่ 3.13 การกําหนดขอมูลของตารางกิจกรรม


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Activity id รหัสขาวกิจกรรม Varchar(50) yes Not NULL

newsname ชื่อกิจกรรม Varchar(50) Not NULL

newsdetail รายละเอียดกิจกรรม Text NULL

date วันประกาศ Varchar(10) Not NULL

filename ไฟลประกาศ Varchar(50) NULL

new สถานะขาวกิจกรรม Int(1) 0=ใหม


ใหม/เกา 1=เกา
hidden สถานะขาวกิจกรรม Int(1) 0=แสดง
แสดง/ไมแสดง 1=ไมแสดง
expire วันที่หมดอายุ Varchar(10) NULL
การแสดงผล
63

ตารางที่ 3.14 การกําหนดขอมูลของตารางคําสั่ง


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Regulation id รหัสคําสั่ง Varchar(50) yes Not NULL

newsname ชื่อคําสั่ง Varchar(50) Not NULL

newsdetail รายละเอียดคําสั่ง Text NULL

date วันประกาศใช Varchar(10) Not NULL

filename ไฟลคําสั่ง Varchar(50) NULL

new สถานะคําสั่งใหม/เกา Int(1) 0=ใหม


1=เกา
hidden สถานะคําสั่ง Int(1) 0=แสดง
แสดง/ไมแสดง 1=ไมแสดง
expire วันที่หมดอายุการแสดงผล Varchar(10) NULL

ตารางที่ 3.15 การกําหนดขอมูลของตารางขาวตําแหนงทางวิชาการ


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Academic id รหัสขาวตําแหนงวิชาการ Varchar(50) yes Not NULL

newsname ชื่อขาวตําแหนงวิชาการ Varchar(50) Not NULL

newsdetail รายละเอียดขาวตําแหนง Text NULL


วิชาการ
date วันประกาศใช Varchar(10) Not NULL

filename ไฟลขาว Varchar(50) NULL

new สถานะขาวใหม/เกา Int(1) 0=ใหม


1=เกา
hidden สถานะขาวแสดง/ไมแสดง Int(1) 0=แสดง
1=ไมแสดง
expire วันที่หมดอายุ การแสดงผล Varchar(10) NULL

professorlevel ประเภทตําแหนงทางวิชาการ Int(1) 0=ผูขอตําแหนง


1=ผศ.
2=รศ.
3=ศ.
64

ตารางที่ 3.16 การกําหนดขอมูลของตารางปริญญากิตติมศักดิ์


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
HonoraryDegree id รหัสคําสั่งปริญญา Varchar(50) yes Not NULL
กิตติมศักดิ์
newsname ชื่อคําสั่งปริญญา Varchar(50) Not NULL
กิตติมศักดิ์
newsdetail รายละเอียดคําสั่ง Text NULL

date วันประกาศใช Varchar(10) Not NULL

filename ไฟลคําสั่ง Varchar(50) NULL

new สถานะคําสั่ง Int(1) 0=ใหม


ใหม/เกา 1=เกา
hidden สถานะคําสั่ง Int(1) 0=แสดง
แสดง/ไมแสดง 1=ไมแสดง
expire วันที่หมดอายุ Varchar(10) NULL
การแสดงผล
major สาขาปริญญากิตติมศักดิ์ Varchar(50) Not NULL
65

ตารางที่ 3.17 การกําหนดขอมูลของตารางขาวการประชุม


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล
Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Meeting id รหัสขาวการประชุม Varchar(50) yes Not NULL

newsname ชื่อครั้งที่ประชุม Varchar(50) Not NULL

newsdetail รายละเอียดการประชุม Text NULL

date วันประกาศขาว Varchar(10) Not NULL

filename ไฟลคําสั่ง Varchar(50) NULL

new สถานะขาว Int(1) 0=ใหม


ใหม/เกา 1=เกา
hidden สถานะขาว Int(1) 0=แสดง
แสดง/ไมแสดง 1=ไมแสดง
expire วันที่หมดอายุ Varchar(10) NULL
การแสดงผล
meetingdate วันที่ประชุม Varchar(50) Not NULL

datafile ไฟลรายงานการประชุม Varchar(50) NULL

reportfile ไฟลมติที่ประชุม Varchar(50) NULL

ตารางที่ 3.18 การกําหนดขอมูลของตารางคณะ


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Faculty facid รหัสคณะ Int(11) yes Not NULL
facultyname ชื่อคณะ Varchar(50) Not NULL
66

ตารางที่ 3.19 การกําหนดขอมูลของตารางประวัติอาจารยที่ไดรับตําแหนงทางวิชาการ


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Teacher teacherid รหัสอาจารยไดรบั Int(11) yes Not NULL
ตําแหนงทางวิชาการ
title คํานําหนา Varchar(50) Not NULL

teachername ชื่ออาจารย Varchar(50) Not NULL


teachersurname นามสกุลอาจารย Varchar(50) Not NULL
educationdetail ประวัติการศึกษา Text NULL

birth วันเดือนปเกิด Varchar(10) NULL

major สังกัดสาขา Varchar(50) Not NULL

retire สถานะเกษียณอายุ Int(1) 1=ใช


ใช/ไมใช 2=ไม

ตารางที่ 3.20 การกําหนดขอมูลของตารางขอมูลผลงานวิชาการของผูที่ไดรับตําแหนงทางวิชาการ


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Appoint id รหัสขาวตําแหนง Varchar(50) yes yes Academic Not NULL
วิชาการ
teacherid รหัสอาจารยไดรบั Int(11) yes yes Teacher Not NULL
ตําแหนงทางวิชาการ
appointdate วันที่รับตําแหนง Varchar(10) Not NULL

bookname รายชื่อตํารา Text NULL

researchname รายชื่องานวิจัย Text NULL

documentname รายชื่อบทความ Text NULL

committeedate วันเดือนป Varchar(10) Not NULL


คณะกรรมการรับรอง
progress สถานะความกาวหนา varchar(30) NULL

infoprogress รายละเอียดความกาวหนา TEXT NULL


67

ตารางที่ 3.21 การกําหนดขอมูลของตารางผูที่รับปริญญากิตติมศักดิ์


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Graduate graduateid รหัสผูรับปริญญา Int(11) yes Not NULL
กิตติมศักดิ์
title คํานําหนาชื่อ Varchar(50) Not NULL

graduatename ชื่อผูรับปริญญา Varchar(50) Not NULL


กิตติมศักดิ์
Graduatesurname นามสกุล Varchar(50) Not NULL

ตารางที่ 3.22 การกําหนดขอมูลของตารางขาวตําแหนงทางวิชาการ


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
HonoraryDegree
Charity id รหัสขาวตําแหนงวิชาการ Varchar(50) yes yes Not NULL

graduateid รหัสผูรับปริญญากิตติมศักดิ์ Int(11) yes yes Graduate Not NULL

year วันที่รับพระราชทาน Varchar(10) Not NULL

remark หมายเหตุ Text NULL

ตารางที่ 3.23 การกําหนดขอมูลของตารางการประชุม


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Tbmeeting mid รหัสการประชุม Int(11) yes Not NULL

meetingday วันที่ประชุม Varchar(10) Not NULL

name ชื่อการประชุม Varchar(50) Not NULL

place สถานที่ประชุม Varchar Not NULL


(200)
start เวลาเริ่มประชุม Varchar(50) NULL

end เวลาเลิกประชุม Varchar(50) NULL

detail รายละเอียด Text NULL


การประชุม
resolve มติการประชุม Text NULL
68

ตารางที่ 3.24 การกําหนดขอมูลของตารางผูเขาประชุม


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Person no รหัสผูรวมประชุม Int(11) yes Not NULL

title คํานําหนา Varchar(10) Not NULL

pname ชื่อผูรวมประชุม Varchar(50) Not NULL

psurname นามสกุล Varchar(50) Not NULL

come เขารวมประชุม Int(1) 1=ใช


ใช/ไมใช 2=ไม

ตารางที่ 3.25 การกําหนดขอมูลของตารางผูรวมประชุม


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Has3 mid รหัสการประชุม Int(11) yes yes Tbmeeting Not NULL

no รหัสผูรวมประชุม Int(11) yes yes Person Not NULL

ตารางที่ 3.26 การกําหนดขอมูลของตารางวาระการประชุม


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
Agenda agid รหัสวาระประชุม Int(11) yes Not NULL

agno ลําดับที่วาระการประชุม Varchar(10) Not NULL

agname ชื่อวาระการประชุม Tiny Text Not NULL

agdetail รายละเอียดวาระการ Text NULL


ประชุม
agresolve มติวาระการประชุม Text NULL

mid รหัสการประชุม Int(11) yes Tbmeeting Not NULL


69

ตารางที่ 3.27 การกําหนดขอมูลของตารางวาระการประชุมยอย


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
SubAgenda agsubid รหัสวาระประชุมยอย Int(11) yes Not NULL

agsubno ลําดับที่วาระการประชุมยอย Varchar(10) Not NULL

agsubname ชื่อวาระการประชุมยอย Tiny Text Not NULL

agsubdetail รายละเอียดวาระการ Text NULL


ประชุมยอย
agsubresolve มติวาระการประชุมยอย Text NULL

agid รหัสวาระการประชุม Int(11) yes Agenda Not NULL

ตารางที่ 3.28 การกําหนดขอมูลของตารางไฟลการประชุม


Primary Foreign
ตาราง ชื่อฟลด คําอธิบาย ชนิดขอมูล Key Key
อางอิง ขอกําหนด
AgendaFile fileid รหัสไฟลวาระประชุม Int(11) yes Not NULL

filename ชื่อไฟลวาระประชุม Varchar(50) Not NULL

filedate วันที่ประกาศ Varchar(10) NULL

agid รหัสวาระประชุม Int(11) yes Agenda Not NULL

3.8 การพัฒนาและการติดตั้งระบบ
หลังจากทําการออกแบบระบบใหม เสร็จแลว ไดเขียนโปรแกรมพัฒนาระบบงานตามที่ ได
ออกแบบไว เปนโปรแกรมแบบเว็บแอพพลิเคชัน เขียนโปรแกรมดวยภาษา PHP สรางฐานขอมูลดวย
โปรแกรม MySQL 6.0.4 จัดเก็บขอมูล และชุดโปรแกรม appserv 2.6.0 ประกอบดวยโปรแกรม
apache 2.2.8 จําลองเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลเปนเครื่อง Server เพื่อใชในการประมวลผล การ
เชื่อมตอระหวางเว็บและฐานขอมูลใชภาษา SQL ในการจัดการฐานขอมูล หลังจากทดสอบการทํางาน
ของโปรแกรมดวยขอมูลจริงของงานสภาบางสวนจนมั่นใจความถูกตองแลวจึงได upload โปรแกรม
ไปยั ง เครื่ อ งแม ข า ยที่ ใ ช ง านจริ ง ซึ่ ง ได จ ดทะเบี ย นโดเมนเนม (Domain Name) ชื่ อ เว็ บ
http://www.cpnru.com จากนั้นไดจัดทําคูมือการใชงานสําหรับผูดูแลระบบ คูมือการใชงานสําหรับ
คณะกรรมการสภา และฝกอบรมการใชงานใหกับผูดูแลระบบ
บทที่ 4
ผลการวิจัย

ผูวิจัยไดดํ าเนินการศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิ ทยาลัยราชภั ฏพระนคร


ตามวัฏจักรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle หรือ SDLC) ประกอบดวยการศึกษา
ความเปนไปได การวิเคราะหระบบ การออกแบบระบบใหม การพัฒนาโปรแกรม การทดสอบระบบ
ติดตั้งระบบ และการเปลี่ยนเขาสูระบบใหม เขียนโปรแกรมดวยภาษา PHP ฐานขอมูล MySQL 6.0.4
จัดเก็บขอมูล การจัดการฐานขอมูลใชโปรแกรม phpMyAdmin 2.10.3 และชุดโปแกรม appserv 2.6.0
ประกอบดวยโปรแกรม apache 2.2.8 จําลองเครื่องเปน Server ทดสอบการทํางานเว็บไซตกอน upload
ไปยังเว็บไซตจริงเปนเครื่องมือในการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยมีผลการวิจัย ดังนี้
4.1 การนําเสนอระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครบนเว็บ
4.2 การใชงานระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
4.3 การประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

4.1 การนําเสนอระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครบนเว็บ
การนําเสนอระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครบนเว็บผานทางเครือขาย
อินเทอรเน็ต ไดติดตั้งระบบไวที่ http://www.cpnru.com แสดงดังภาพที่ 4.1
แผนผังเว็บไซต แสดงดังภาพที่ 4.2

ภาพที่ 4.1 เว็บไซตระบบงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร http://www.cpnru.com


71

หนาแรก

เมนูหลัก เกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย

ขาวประชาสัมพันธ ขาวกิจกรรม ประวัติสภามหาวิทยาลัย

พ.ร.บ. ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ บทบัญญัติเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย

รายงานการประชุม โครงสรางการบริหารสภามหาวิทยาลัย

ปริญญากิตติมศักดิ์ สํานักงานสภามหาวิทยาลัย

การอนุมัติหลักสูตร ติดตอคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย

ปฏิทินกิจกรรม ทําเนียบนายกสภามหาวิทยาลัย

ภาพกิจกรรม บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย

ดาวนโหลดแบบฟอรม
ติดตอสภามหาวิทยาลัย
การกําหนดตําแหนงทางวิชาการ
ผูดูแลระบบ
ขาวการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ
e-News ระบบจัดการขาว ปฏิทินกิจกรรม
ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งและประกาศ
e-Office ระบบจัดการเอกสาร
วิธีการขอตําแหนงทางวิชาการ
e-Academic ระบบจัดการฐานขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ
คูมือการเขียนผลงานทางวิชาการ
e-Meeting ระบบจัดการประชุมอิเล็กทรอนิกส
แบบฟอรมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ
สําหรับคณะกรรมการสภา
องคความรูในการขอตําแหนงทางวิชาการ
Committee login
ฐานขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ

สรุปจํานวนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ หนวยงานที่เกี่ยวของ

การติดตามความกาวหนาการขอตําแหนงทางวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

กําหนดการประชุมสภา กระทรวงศึกษาธิการ

สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
กําหนดกิจกรรม

ขาวประกาศ ขาวการศึกษา

รายงานประชุมลาสุด สภาพอากาศทั่วไทย

สถิติจํานวนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ สถิติผูเขาชม

ภาพที่ 4.2 แผนผังเว็บไซตสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


72

แถบเมนูหลัก ประกอบดวย หนาแรก เกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย ติดตอสภามหาวิทยาลัย และ


ผูดูแลระบบ แสดงดังภาพที่ 4.3

ภาพที่ 4.3 แถบเมนูหลัก

1. เมนู หนาแรก ในหนาแรกเปนสวนแสดงสารสนเทศ ขาวประกาศ รายงานการประชุมลาสุด


สถิติจํานวนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ รายงานการดําเนินงานสภามหาวิทยาลัย และเมนูดานขวา
แบ งเป น 7 ส วน ไดแก เมนู หลั ก การกํ าหนดตํ าแหน งทางวิ ชาการ กํ าหนดการประชุ มสภามหาวิ ทยาลั ย
กําหนดการกิจกรรม หนวยงานที่เกี่ยวของ ขาวการศึกษา สภาพอากาศทั่วไทย และสถิติผูเขาชม แสดง
ดังภาพ
73

ภาพที่ 4.4 หนาแรก


74

เมนู หนาแรก มีรายละเอียดในแตละสวน ดังนี้


1.1 เมนู เมนูหลัก ประกอบดวยเมนูยอย ไดแก ขาวประชาสัมพันธ ขาวกิจกรรม พ.ร.บ.
ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ รายงานการประชุม ปริญญากิตติมศักดิ์ การอนุมัตหิ ลักสูตร ปฏิทินกิจกรรม
ภาพกิจกรรม ดาวนโหลดแบบฟอรม และผูดูแลระบบ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.5 เมนูหลัก


75

1.1.1 เมนู ขาวประชาสัมพันธ ขาวกิจกรรม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.6 ขาวประชาสัมพันธ ขาวกิจกรรม


76

1.1.2 เมนู พระราชบัญญัติ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.7 พระราชบัญญัติ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ


77

1.1.3 เมนู รายงานการประชุม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.8 รายงานการประชุม


78

1.1.4 เมนู ปริญญากิตติมศักดิ์ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.9 ปริญญากิตติมศักดิ์


79

1.1.5 เมนู การอนุมัติหลักสูตร แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.10 การอนุมัติหลักสูตร


80

1.1.6 เมนู ปฏิทินกิจกรรม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.11 ปฏิทินกิจกรรม


81

1.1.7 เมนู ภาพกิจกรรม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.12 ภาพกิจกรรม


82

1.1.8 เมนู ดาวนโหลดแบบฟอรม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.13 ดาวนโหลดแบบฟอรม


83

1.1.9 เมนู ผูดูแลระบบ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.14 ผูดูแลระบบ


1.2 เมนู การกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ประกอบดวยเมนูยอย ไดแก ขาวการกําหนด
ตําแหนงทางวิชาการ ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งและประกาศ วิธีการขอตําแหนงทางวิชาการ คูมือการเขียน
ผลงานทางวิชาการ แบบฟอรมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ องคความรูในการขอตําแหนงทาง
วิชาการ ฐานขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ สรุปจํานวนผูกําหนดตําแหนงทางวิชาการ การติดตาม
ความกาวหนาการขอตําแหนงทางวิชาการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.15 การกําหนดตําแหนงทางวิชาการ


84

1.2.1 เมนู ขาวการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.16 ขาวการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ


85

1.2.2 เมนู ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งและประกาศ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.17 ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งและประกาศ


86

1.2.3 เมนู วิธีการขอตําแหนงทางวิชาการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.18 วิธีการขอตําแหนงทางวิชาการ


1.2.4 เมนู คูมือการเขียนผลงานทางวิชาการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.19 คูมือการเขียนผลงานทางวิชาการ


87

1.2.5 เมนู แบบฟอรมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.20 แบบฟอรมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ

1.2.6 เมนู องคความรูในการขอตําแหนงทางวิชาการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.21 องคความรูในการขอตําแหนงทางวิชาการ


88

1.2.7 เมนู ฐานขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.22 ฐานขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ


89

1.2.8 เมนู สรุปจํานวนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.23 สรุปจํานวนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ

1.2.9 เมนู การติดตามความกาวหนาการขอตําแหนงทางวิชาการ อาจารยผูขอ


ตําแหนงสามารถติดตามความกาวหนาโดยการคนหา ชื่อ จากปุม Search จากนั้นคลิกปุมแสดง
ความกาวหนา จะมีหนาตาง Login ใหปอนรหัสอาจารย เพื่อดูขอมูล แสดงดังภาพ
90

ภาพที่ 4.24 การติดตามความกาวหนาการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ


91

ภาพที่ 4.25 การปอนรหัสอาจารย

ภาพที่ 4.26 ขอมูลความกาวหนาการขอตําแหนงทางวิชาการ

ภาพที่ 4.27 รายละเอียดความกาวหนาการขอตําแหนงทางวิชาการ


92

1.3 เมนู กําหนดการกิจกรรม แสดงขอมูลที่นํามาจากกิจกรรมที่กําหนดใหปฏิทิน แสดงดัง


ภาพ

ภาพที่ 4.28 กําหนดการกิจกรรม

1.4 เมนู หนวยงานที่เกี่ยวของ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.29 หนวยงานที่เกี่ยวของ


93

1.5 เมนู ขาวการศึกษา แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.30 ขาวการศึกษา


1.6 เมนู สภาพอากาศทั่วไทย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.31 สภาพอากาศทั่วไทย


94

1.7 เมนู สถิติผูเขาชม เปนสวนแสดงสถิติการเขาชม ไดแก ผูเขาชมทั้งหมด ผูใชงาน


ออนไลน และผูเขาชมในวันนี้ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.32 สถิติผูเขาชม

2. เมนู เกี่ ย วกั บ สภามหาวิ ท ยาลั ย เป น ส ว นแสดงข อ มู ล ต า งๆ ของสภามหาวิ ท ยาลั ย


ประกอบดวยเมนูยอย ไดแก ประวัติสภามหาวิทยาลัย บทบัญญัติเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย โครงสราง
การบริ ห ารสภามหาวิ ท ยาลั ย สํ านั ก งานสภามหาวิ ท ยาลั ย ติ ด ต อคณะกรรมการสภามหาวิ ท ยาลั ย
ทําเนียบนายกสภามหาวิทยาลัย และบุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.33 เกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย


95

ภาพที่ 4.34 เกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย


96

2.1 เมนู ประวัติสภามหาวิทยาลัย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.35 ประวัติสภามหาวิทยาลัย


97

2.2 เมนู บทบัญญัติเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.36 บทบัญญัติเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย


98

2.3 เมนู โครงสรางการบริหารสภามหาวิทยาลัย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.37 โครงสรางการบริหารงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


99

2.4 เมนู สํานักงานสภามหาวิทยาลัย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.38 สํานักงานสภามหาวิทยาลัย


100

2.5 เมนู ติดตอคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.39 ติดตอคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย


101

2.6 เมนู ทําเนียบนายกสภามหาวิทยาลัย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.40 ทําเนียบนายกสภามหาวิทยาลัย


102

2.7 เมนู บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.41 บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


103

3. เมนู ติดตอสภามหาวิทยาลัย เปนสวนแสดงที่แผนที่ ที่อยู และเบอรโทร แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.42 ติดตอสภามหาวิทยาลัย


104

4. เมนู ผูดูแลระบบ เปนสวนสําหรับผูดูแลระบบ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.43 ผูดูแลระบบ


105

4.2 การใชงานระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
การใชงานระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ไดกําหนดสิทธิ์และผูใชงานใน
การเขาถึงขอมูล ดังนี้
1. สําหรับผูดูแลระบบ ในการเขาถึงขอมูลตองกําหนดชื่อผูใชและรหัสผาน แบงเปน 4 ระบบ
แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.44 ระบบสารสนเทศของผูดูแลระบบ

กําหนดปุมที่ใชงาน ประกอบดวย

ปุมเพิ่มขอมูล

ปุมแกไขขอมูล

ปุมลบขอมูล
106

การเขาถึงขอมูลในระดับผูดูแลระบบ สามารถจัดการขอมูลไดทุกระบบ แบงเปน 4 ระบบ ไดแก


1.1 ระบบ e-News ประกอบดวยเมนูตางๆ ไดแก จัดการขาวประกาศ จัดการขอมูล
ปริญญากิตติมศักดิ์ แจงขาวดวน จัดการปฏิทินเหตุการณ จัดการภาพ preview เปลี่ยนรหัสผาน และ
ออกจากระบบ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.45 ระบบ e-News


1.1.1 เมนู จัดการขาวประกาศ เปนสวนการลงขาวประกาศ เมื่อเขาระบบจะตอง
กําหนดชื่อผูใชและรหัสผาน แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.46 หนาตาง Login


107

ภาพที่ 4.47 จัดการขาวประกาศ


108

การเพิ่มขอมูล เพื่อลงขาวประกาศ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.48 เพิ่มขอมูลขาวประกาศ

การปอนขอมูลเพื่อลงประกาศขาว ประกอบดวยรายการตางๆ ดังนี้


วัน/เดือน/ป พ.ศ. รูปแบบการปอน 00/00/0000
ประเภทเอกสาร จะมีรายการประเภทเอกสารใหเลือก แสดงดังภาพ
109

ปอนขอมูล ดังตอไปนี้
หัวเรื่อง ใสหัวเรื่อง
เนื้อความ ใสเนื้อความ
เอกสารแนบ ใหคลิกปุม เลือกไฟล
ป พ.ศ. ที่ประกาศใช คลิกเลือกป พ.ศ. จากรายการเลือกสําหรับขอมูลที่เปน
ระเบียบ ขอบังคับ หรือประกาศ
สง E-mail แกบุคลากรในหนวยงาน คลิกเลือกจะแสดงเครื่องหมายถูก
แสดงผลหนาแรก คลิกเลือกถาตองการแสดงผลหนาแรกจะปรากฏเครื่องหมายถูก
แสดง icon new คลิกเลือกจะปรากฏเครื่องหมายถูกและ

จะแสดงไอคอน ในหัวขอขาว
วันหมดอายุ ระบุวันที่หมดอายุเมื่อพนวันที่ที่กําหนดแลวขาวจะไมแสดงใหเห็น

1.1.2 เมนู จัดการขอมูลปริญญากิตติมศักดิ์ เปนสวนของขอมูลผูไดรับปริญญา


กิตติมศักดิ์ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.49 จัดการขอมูลผูไดรับปริญญากิตติมศักดิ์


110

การเพิ่มขอมูล แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.50 ปริญญากิตติมศักดิ์

ปอนขอมูล ดังนี้
ป พ.ศ. ที่ไดรับพระราชทาน ระบุ พ.ศ.
ลําดับความสําคัญของการแสดงผล 1= แสดงกอน
พระนาม/นาม ใสชื่อ
ชื่อปริญญา ใสชื่อปริญญา
รายละเอียดเพิ่มเติม ใสรายละเอียดเพิ่มเติม
111

1.1.3 เมนู แจงขาวดวน เปนสวนแสดงขาวประกาศ กรณีเปนขาวดวน เนนที่จะ


แสดงผลกอนจะเขาสูหนาแรก แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.51 แจงขาวดวน


แจงขาวดวน แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.52 เพิ่มขอมูลแจงขาวดวน


ปอนขอมูล ดังนี้
แสดงขาวดวน/ลบขาวดวน คลิกเครื่องหมายถูกเมื่อตองการแสดงขาว
คลิกรูปถังขยะ เมื่อตองการลบ
เอกสารแนบ คลิกเลือกไฟล
แจงเรื่อง ใสขอมูลเรื่อง
รายละเอียด ใสรายละเอียด
112

1.1.4 เมนู จัดการปฏิทินเหตุการณ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.53 จัดการปฏิทินเหตุการณ


113

ปอนขอมูล ดังนี้
วัน/เดือน/ป เลือกวันที่
เรื่อง ใสขอมูลเรื่อง
รายละเอียด ใสรายละเอียด
ลบขอมูล คลิกปุมสี่เหลี่ยม ใหมีเครื่องหมายถูก เมื่อตองการลบขอมูล

คลิกปุม
แจงเตือนเหตุการณเพื่อนัดหมายไปยังคณะกรรมการสภาทาง E-Mail ไดผลลัพธแสดงดังภาพ

คลิกปุม เพื่อสง E-mail แจงเตือนเหตุการณ

ภาพที่ 4.54 สง E-Mail แจงเตือนเหตุการณ


114

1.1.5 เมนู จัดการภาพ preview เปนสวนที่แสดงภาพในหนาแรก เพื่อใหสามารถ


ปรับเปลี่ยนภาพใหทันตอเหตุการณ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.55 ภาพที่แสดงผลในหนาแรก


115

ภาพที่ 4.56 การจัดการภาพพรีวิว

เพื่อใหภาพสวยงามควรปรับขนาดภาพ 550x367 pixel แตละไฟลไมควรเกิน 3MB ถาเกินให


upload ทีละไฟล และควร resize ภาพดวยเพื่อใหมีขนาดเล็กลง
116

1.1.6 เมนู เปลี่ยนรหัสผาน แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.57 เปลี่ยนรหัสผาน


การเปลี่ยนรหัสผาน ใหปอนขอมูล ดังนี้
รหัสผานใหม: กําหนดรหัสผานใหม
ยืนยันรหัสผานใหม: ใสรหัสผานใหมอีกครั้งเพื่อยืนยันการเปลี่ยน

1.1.7 เมนู ออกจากระบบ เพื่อออกจากระบบในสวนของผูดูแลระบบ

1.2 ระบบ e-Office ประกอบดวยเมนูตางๆ ไดแก จัดการเอกสารเขา [in-box] จัดการ


เอกสารออก [out-box] จัดการเอกสารสวนบุคคล [private-box] จัดการขอมูลบุคลากร กําหนดคา
ระบบ เปลี่ยนรหัสผาน และออกจากระบบ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.58 ระบบ e-Office


117

การใชงานเมนูตางๆ ควรเริ่มจากทําเมนูกําหนดคาระบบ ดังนี้


1.2.1 เมนู กําหนดคาระบบ เปนเมนูที่กําหนดคาเริ่มตนของระบบ แบงออกเปน
1) กําหนดชื่อประเภทเอกสาร ไดกําหนดคาเริ่มตนเอาไว ไดแก คําสั่งประชุม
คําสั่งอบรม คําสั่งแตงตั้ง คําสั่งไปราชการ บันทึกขอความ ประกาศ รายงานการประชุม และหนังสือ
ราชการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.59 กําหนดคาระบบ


เพิ่มประเภทเอกสาร คลิกปุม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.60 เพิ่มประเภทเอกสาร

2) กําหนดชื่อหนวยงานหรือชื่อบุคคล ไดกําหนดคาเริ่มตน เชน วิทยาลัยการ


ฝกหัดครู สกอ. สถาบันวิจัยและพัฒนา เปนตน
118

ภาพที่ 4.61 กําหนดชื่อหนวยงานหรือชื่อบุคคล

เพิ่มชื่อหนวยงาน หรือ ชื่อบุคคลคลิกปุม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.62 เพิ่มชื่อหนวยงานหรือชื่อบุคคล


119

3) กําหนดกลุมผูรับเอกสาร แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.63 กําหนดกลุมผูรับเอกสาร

เพิ่มกลุมผูรับเอกสารคลิกปุม ใหตั้งชื่อกลุม จากนั้นคลิกเลือกรายชื่อตามตองการ แสดง


ดังภาพ
120

ภาพที่ 4.64 เพิ่มกลุมผูรับเอกสาร

1.2.2 เมนู จัดการเอกสารเขา [in-box] เปนการรับเอกสารเขาแบงเปน 2 กลุม ไดแก


1) รับเอกสารจากหนวยงานภายใน
2) รับเอกสารจากหนวยงานภายนอก
การทํางานในการรับเอกสารทั้งสองภายในและภายนอก มีการทํางานในลักษณะเดียวกัน
เพิ่มขอมูลใชปุม แสดงดังภาพ
121

ภาพที่ 4.65 เพิ่มเอกสารเขา


122

ปอนขอมูล ดังตอไปนี้
เอกสารมาจากหนวยหนวยงาน คลิกเลือก ภายใน มรภ.พระนคร หรือ ภายนอก มรภ.พระนคร
วัน/เดือน/ป ที่รับเอกสาร ระบุวันที่รับเอกสาร
เลขที่เอกสาร ระบุเลขที่ของเอกสาร
ความสําคัญเอกสาร คลิกเลือก เรื่องทั่วไป เรื่องดวน หรือ เรื่องดวนที่สุด
ประเภทเอกสาร คลิกเลือก

ชื่อเอกสาร ระบุชื่อเรื่อง
เอกสารลงวันที่ วัน/เดือน/ป ระบุวันที่ของเอกสาร
เอกสารแนบ คลิกเลือกไฟล กรณีที่มีเอกสารแนบ
หนวยงานผูสง คลิกเลือกจากรายการ กรณีไมมีชื่อหนวยงาน ใหไปเพิ่มใน
เมนู กําหนดคาระบบ

กรุณาเลือกผูรับ คลิกเลือกผูรับจากรายการ
123

ตัวอยาง การเก็บขอมูลจากการรับเอกสารจากภายใน

ภาพที่ 4.66 ตัวอยางเอกสารรับจากภายในมหาวิทยาลัย

1.2.3 เมนู จัดการเอกสารออก [out-box] เปนการปอนขอมูล เอกสารออกจากงาน


สภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
การเพิ่มขอมูลใชปุมเพิ่มขอมูล แสดงดังภาพ
124

ภาพที่ 4.67 เพิ่มเอกสารออก

ปอนขอมูล ดังตอไปนี้
วัน/เดือน/ปที่รับเอกสาร ระบุวันที่ที่สงเอกสารออก
เลขที่เอกสาร ระบุเลขที่เอกสาร
ความสําคัญของเอกสาร คลิกเลือก เรื่องทั่วไป เรื่องดวน หรือ เรื่องดวนที่สุด
ประเภทเอกสาร คลิกเลือก

ชื่อเอกสาร ระบุชื่อเรื่อง
เอกสาร ลงวันที่ วัน/เดือน/ป ระบุ เอกสารลงวันที่
เอกสารแนบ เลือกไฟลแนบ
125

หนวยงานผูรับ

1.2.4 เมนู จัดการเอกสารสวนบุคคล [private-box] เปนการตรวจสอบการรับ


เอกสารจากระบบ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.68 เลือกชื่อผูรับ


126

ตัวอยาง เลือกผูรับจากรายการ แสดงสถานะยังไมเปดเอกสาร

ภาพที่ 4.69 ตัวอยางขอมูลการเขาดูเอกสาร

1.2.5 เมนู จัดการขอมูลบุคลากร เปนสวนเพิ่มขอมูลบุคลากรประกอบดวย เชน ชื่อ


นามสกุล ตําแหนง สถานะ/อยูในวาระ หมายถึงในกําหนดลําดับตัวเลขในการแสดงผล คานอยกวาจะ
แสดงในแถวกอนเสมอ เชน นายกสภามหาวิทยาลัย ถูกกําหนด สถานะเปน 1 สวนอุปนายกสภา ถูก
กําหนดสถานะเป น 2 หมายถึ ง การแสดงผลในลําดั บ แรก เปน ข อมู ล ของนายกสภา ลําดั บ ถั ด มาจะ
แสดงผลของอุปนายกสภา แสดงดังภาพ
127

ภาพที่ 4.70 จัดการขอมูลบุคลากร


128

การเพิ่มขอมูลใชปุมเพิ่มขอมูล แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.71 เพิ่มขอมูลบุคลากร

ปอนขอมูล ดังตอไปนี้
คํานําหนาชื่อ คลิกเลือกจากรายการ

ชื่อ – นามสกุล ระบุ


Username Userxx
Password ระบุรหัสผาน
129

ตําแหนงงาน เลือกจากรายการ

รายละเอียดตําแหนงงาน ระบุรายละเอียดเพิ่มเติม
เบอรโทรศัพท ระบุเบอรโทรศัพท
E-mail ระบุ E-mail
Facebook/blog ระบุสื่อทางอินเทอรเน็ต http://...
รูปภาพ ใสรูปภาพ

ตัวอยางเพิ่มขอมูลบุคลากร

ภาพที่ 4.72 ตัวอยางขอมูลบุคลากร


130

1.2.6 เมนู เปลี่ยนรหัสผาน เปนสวนสําหรับใหผูดูแลระบบ เปลี่ยนรหัสผานใหม


1.2.7 เมนู ออกจากระบบ เปนสวนที่ออกจากสวนของผูดูแลระบบ

1.3 ระบบ e-Academic เปนระบบจัดการเกี่ยวกับการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ


ประกอบดวยเมนูตางๆ ไดแก จัดการขาวการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ จัดการขอมูลการติดตามการ
ขอตําแหนงทางวิชาการ จัดการฐานขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.73 ระบบ e-Academic

1.3.1 เมนู จัดการขาวการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ เปนสวนจัดการขาวกําหนด


ตําแหนงทางวิชาการ ซึ่งเปนประเภทตางๆ แสดงดังภาพ
131

ภาพที่ 4.74 จัดการขาวกําหนดตําแหนงทางวิชาการ

การเพิ่มขอมูลใชปุม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.75 เพิ่มขาวการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ

ปอนขอมูลดังนี้
วัน/เดือน/ป พ.ศ. วันที่ จะใสวันที่ปจจุบันที่ทําการบันทึก
ประเภทเอกสาร เลือกประเภทเอกสารจากรายการ
132

หัวเรื่อง ระบุหัวเรื่อง
เนื้อความ ใสเนื้อความ
เอกสารแนบ เลือกไฟลเอกสารแนบ
แสดงผลหนาแรก คลิกใหมีเครื่องหมายถูก
เพื่อใหแสดงผลในหนาที่แยกตามประเภทของเอกสาร
แสดง icon new แสดงรูปไอคอน new เนนการ
วันหมดอายุ ถาระบุวันหมดอายุ เมื่อพนกําหนดวันแลว ขาวนี้จะไมแสดงผลใหเห็น

1.3.2 เมนู จัดการขอมูลการติดตามการขอตําแหนงทางวิชาการ เปนสวนบันทึก


ขอมูลการติดตามความกาวหนาของผูขอตําแหนงทางวิชาการ

ภาพที่ 4.76 จัดการขอมูลการติดตามการขอตําแหนงทางวิชาการ

ปอนขอมูล ดังนี้
133

ภาพที่ 4.77 เพิ่มขอมูลผูขอตําแหนงทางวิชาการ


134

เพิ่มขอมูลบันทึกความกาวหนา คลิกปุม EDIT

ภาพที่ 4.78 ปุมบันทึกความกาวหนา

ภาพที่ 4.79 บันทึกขอมูลความกาวหนาการขอตําแหนงทางวิชาการ


135

1.3.3 เมนู จัดการฐานขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ เปนสวนบันทึกขอมูลของผู


ไดรับตําแหนงทางวิชาการ ประกอบดวย วัน/เดือน/ป ที่แตงตั้ง ชื่อ-สกุล คณะ ดํารงตําแหนงทางสาขา
การแสดงผลในสวนผูดูแลระบบ นั้นจะแสดงความแตกตางดวย 3 สี ใหความหมาย ดังนี้
แถบสีเขียว หมายถึง แสดงผูดํารงตําแหนง รองศาสตราจารย
แถบสีสีฟา หมายถึง แสดงผูดํารงตําแหนง ผูชวยศาสตราจารย
แถบสีแดง หมายถึง แสดงผูดํารงตําแหนงทางวิชาการทีเ่ กษียณอายุราชการแลว
แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.80 จัดการฐานขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ


136

ปอนขอมูล ดังนี้

ภาพที่ 4.81 เพิ่มขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ


137

ปอนขอมูล ดังนี้
คํานําหนา: คํานําหนาชื่อ เชน นาย นาง นางสาว
ชื่อ: ใสชื่อ
นามสกุล: นามสกุล
วันเกิด: วันเกิด
สถานะ: เลือกสถานะจากรายการ

กรณีเกษียณอายุ โปรดระบุวันที่ดวย
ตําแหนงทางวิชาการ: เลือกจากรายการ

วุฒิการศึกษา: ปริญญาตรี ระบุ ..


ปริญญาโท ระบุ ..
ปริญญาเอก …
บันทึกขอมูลสวนของตําแหนงทางวิชาการ รองศาสตราจารย

ภาพที่ 4.82 สวนบันทึกขอมูลตําแหนงทางวิชาการ รองศาสตราจารย


138

บันทึกขอมูลสวนของตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย

ภาพที่ 4.83 สวนบันทึกขอมูลตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย

1.3.4 เมนู เปลี่ยนรหัสผาน เปนสวนสําหรับใหผูดูแลระบบ เปลี่ยนรหัสผานใหม


1.3.5 เมนู ออกจากระบบ เปนสวนที่ออกจากสวนของผูดูแลระบบ

1.4 ระบบ e-Meeting เปนระบบจัดการการประชุม ประกอบดวยสวน จัดการการประชุม


จัดการวาระการประชุม เปลี่ยนรหัสผาน และออกจากระบบ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.84 ระบบ e-Meeting


139

1.4.1 เมนู จัดการประชุม เปนสวนแสดงรายงานการประชุม มติการประชุม แสดงดัง


ภาพ

ภาพที่ 4.85 จัดการการประชุม


การเพิ่มการประชุม ระบบจะใสคาเริ่มตน ของ 2 เขตขอมูล
วัน/เดือน/ป พ.ศ. ประชุม เปนวันที่ที่ทําการปอนขอมูล ซึ่งสามารถแกไขวันที่ได โดยรูปแบบ
dd/mm/yyyy
สถานที่ประชุม กําหนดคาเริ่มตนเปน หองประชุมสภามหาวิทยาลัย ชั้น ๔ อาคาร อนุสรณ ๑๐๐
ป การฝกหัดครูไทย แสดงดังภาพ
140

ภาพที่ 4.86 เพิ่มการประชุม

ปอนขอมูล ดังนี้
วัน/เดือน/ป พ.ศ. ประชุม ระบุวันที่จัดประชุม/กําหนดคาเริ่มตนให แกไขได
ครั้งที่ประชุม/ป พ.ศ. ระบุครั้งที่จัดประชุม เชน 6/2556
สถานที่ประชุม ระบุสถานที่จัดประชุม/กําหนดคาเริ่มตนให แกไขได
แสดงผลหนาแรก คลิกใหแสดงเครื่องหมายถูก
แสดง icon new คลิกใหแสดงเครื่องหมายถูก จะแสดงไอคอน new

1.4.2 เมนู จัดการวาระการประชุม เปนสวนการกําหนดระเบียบวาระการประชุมวาระ


การประชุม หลังจากที่ไดเพิ่มการประชุมแลว จากขอ 14.1 มีปุมเพิ่มวาระการประชุม
แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.87 เพิ่มวาระการประชุม


141

ตัวอยาง การเพิ่มวาระการประชุม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.88 จัดการวาระการประชุม ครั้งที่ 8/2555

การจัดการการประชุม มีปุมจัดการ ดังนี้

ปุมบันทึกการประชุม ใชในการบันทึกรายละเอียดในการประชุม เชน สถานที่ประชุม ผูมา


ประชุม ผูลาประชุม เริ่มประชุมเวลา เวลาเลิกประชุม ผูตรวจรายงานการประชม เปนตน
ปุมวาระการประชุม ไดผลลัพธเปนไฟลเอกสารในรูปของ Ms-Word มีขอมูลของวาระการ
ประชุม เพื่อใชกอนการประชุม
ปุมรายงานการประชุม ไดผลลัพธเปนไฟลเอกสาร ในรูปของ Ms-Word มีขอมูลของ
รายละเอียดการประชุม ซึ่งมีการปอนขอมูลจากปุมบันทึกวาระ เพื่อใชในการทําสรุปรายงานการประชุม
ทําในขณะการประชุมหรือหลังการประชุม

การจัดการกับระเบียบวาระการประชุม มีปุมจัดการ ดังนี้

ปุมลบ ลบขอมูลวาระการประชุมยอย
ปุม บันทึกวาระ ใชสําหรับปอนรายละเอียดการประชุมและมติการประชุม กรณีนี้ไมมีวาระยอย
142

ปุมเอกสาร สําหรับแนบไฟลเอกสารตางๆ ที่ใชในระเบียบวาระนี้ทั้งหมด สามารถเพิ่มเอกสาร


ตอเนื่องไปไดเรื่อยๆ และใหระบุลําดับตัวเลขของเอกสารและชื่อเรื่อง

การจัดการกับวาระการประชุมยอย มีปุมจัดการ ดังนี้

ปุมลบ ลบขอมูลวาระการประชุมยอย
ปุมบันทึกวาระยอย ใชสําหรับปอนรายละเอียดการประชุมและมติการประชุมของวาระยอย

การเพิ่มวาระการประชุมยอย แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.89 ระเบียบวาระการประชุมยอย

ตัวอยางเพิ่มวาระการประชุมยอย

ภาพที่ 4.90 เพิ่มวาระการประชุมยอย


143

ปุม ไดผลลัพธ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.91 กอนบันทึกรายละเอียดการประชุม


144

ตัวอยางปอนขอมูลบันทึกรายละเอียดการประชุม

ภาพที่ 4.92 บันทึกรายละเอียดการประชุม


145

ตัวอยางการปอนขอมูลการบันทึกวาระยอย ไดผลลัพธ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.93 บันทึกขอมูลระเบียบวาระที่ 1.1


146

การรายงานการประชุม ใชปุม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.94 ตัวอยางรายงานการประชุมบางสวน


การแนบไฟล หรือเอกสารประกอบการประชุม ใชปุม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.95 กอนแนบไฟลเอกสาร


147

ตัวอยางการปอนขอมูล

ภาพที่ 4.96 แนบไฟลเอกสารหมายเลข 1.1

ภาพที่ 4.97 แนบไฟลเอกสาร 2 ไฟล


148

ผลลัพธของปุม แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.98 ผลลัพธจากการคลิกปุมวาระการประชุม


149

1.4.3 เมนู เปลี่ยนรหัสผาน เปนสวนสําหรับใหผูดูแลระบบ เปลี่ยนรหัสผานใหม


1.4.4 เมนู ออกจากระบบ เปนสวนที่ออกจากสวนของผูดูแลระบบ

2. สําหรับคณะกรรมการสภา เปนสวนสําหรับใหคณะกรรมการสภา สามารถเขาถึงระบบ โดย


จะตองระบุชื่อผูใช และรหัสผาน แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.99 สําหรับคณะกรรมการสภา

การเขาถึงระบบ ประกอบดวยเมนูตางๆ ดังนี้


2.1 เมนู เอกสารเขา [private box] เปนสวนรับเอกสาร ที่สงผานเขามาทางระบบ
e-Office แสดงดังภาพ
150

ภาพที่ 4.100 เขาสูระบบ

รายละเอียดของขอมูลเอกสารแนบ แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.101 รายละเอียดของเอกสาร


151

2.2 เมนู วาระการประชุมลาสุด เปนสวนเขาไปดูวาระการประชุม เอกสารแนบ


ประกอบการประชุมครั้งลาสุด แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.102 วาระการประชุมลาสุด


152

2.3 เมนู รายงานการประชุมทั้งหมด เปนสวนเขาถึงเอกสาร รายงานการประชุม


มติการประชุม และระเบียบวาระการประชุมทั้งหมดที่ผานมา แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.103 รายงานการประชุมทั้งหมด

2.4 เมนู เปลี่ยนรหัสผาน เปนสวนเปลี่ยนรหัสผาน แสดงดังภาพ


153

ภาพที่ 4.104 เปลี่ยนรหัสผาน

2.5 เมนู แกไขขอมูลสวนตัว เปนสวนแกไขขอมูลสวนตัว แสดงดังภาพ

ภาพที่ 4.105 แกไขขอมูลสวนตัว

2.6 เมนู ออกจากระบบ เพื่อออกจากระบบในสวนของคณะกรรมการสภา


154

4.3 การประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนคร
การประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภาจากกลุมตัวอยาง ภายหลังจากที่
ไดทดลองใชโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น แบงการประเมินผลออกเปน 4 ดาน ดังนี้
1. ดาน Functional Requirement Test เปนการประเมินผลความถูกตอง และ
ประสิทธิภาพของระบบวาตรงตามความตองการของผูใชระบบมากนอยเพียงใด
2. ดาน Functional Test เปนการประเมินความถูกตองและประสิทธิภาพในการทํางานของ
ระบบวาสามารถทํางานไดตามฟงกชันงานของระบบมากนอยเพียงใด
3. ดาน Usability Test เปนการประเมินลักษณะการออกแบบระบบวามีความงายตอการใช
งานมากนอยเพียงใด
4. ดาน Security Test เปนการประเมินระบบในดานการรักษาความปลอดภัยของ ขอมูลใน
ระบบวามีมากนอยเพียงใด

เกณฑในการประเมินคาเฉลี่ยของระดับประสิทธิภาพ ดังนี้
4.51 – 5.00 มีประสิทธิภาพมากที่สุด
3.51 – 4.50 มีประสิทธิภาพมาก
2.51 – 3.50 มีประสิทธิภาพปานกลาง
1.51 – 2.50 มีประสิทธิภาพนอย
1.00 – 1.50 มีประสิทธิภาพนอยที่สุด
155

ผลการประเมินระบบดาน Functional Requirement Test มีรายละเอียด ดังนี้


ตารางที่ 4.1 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับประสิทธิภาพ ดาน Functional
Requirement Test

สวนเบี่ยงเบน ระดับ
รายการประเมิน คาเฉลี่ย
มาตรฐาน ประสิทธิภาพ
1. ความสามารถของระบบในดานการประกาศขาว 5.00 0.000 มากที่สุด
2. ความสามารถของระบบในดานการจัดการการประชุม 4.33 0.577 มาก
3. ความสามารถของระบบในดานการจัดการเอกสาร 5.00 0.000 มากที่สุด
4. ความสามารถของระบบในดานการคนหาขอมูล 4.33 0.577 มาก
5. ความสามารถของระบบในดานการเพิ่ม ลบ แกไขขอมูล 4.67 0.577 มากที่สุด
6. ความสามารถของระบบในดานการแสดงผลในรูปกราฟ 4.67 0.577 มากที่สุด
7. ความสามารถของระบบในดานการจัดการงานกําหนด 4.33 0.577 มาก
ตําแหนงทางวิชาการ
8. ความสามารถของระบบในดานการรายงานผลในรูปแบบ 4.67 0.577 มากที่สุด
เอกสาร ของโปรแกรม Ms-Word
รวม 4.63 0.331 มากที่สุด

จากตารางที่ 4.1 พบวา ความสามารถของระบบ ในดานการจัดการเอกสาร ดานการประกาศ


ขาว ดานการเพิ่ม ลบ แกไข ขอมูล ด านการแสดงผลในรูปกราฟ และดานการรายงานผลในรู ปแบบ
เอกสารของโปรแกรม Ms-Word มีประสิทธิภาพอยูในระดับมากที่สุด ความสามารถของระบบในดานการ
จัดการประชุม ดานการคนหาขอมูล และดานการจัดการงานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ มีประสิทธิภาพ
ในระดับมาก พิจารณาโดยรวม ระดับประสิทธิภาพของระบบดาน Functional Requirement Test ซึ่ง
เปนการประเมินผลความถูกตอง และประสิทธิภาพของระบบวาตรงตามความตองการของผูใชระบบมาก
นอยเพียงใดนั้น มีประสิทธิภาพในระดับมากที่สุด
156

ผลการประเมินระบบดาน Function Test มีรายละเอียด ดังนี้


ตารางที่ 4.2 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับประสิทธิภาพ ดาน Function Test

สวนเบี่ยงเบน ระดับ
รายการประเมิน คาเฉลี่ย
มาตรฐาน ประสิทธิภาพ
1. ความถูกตองในการจัดเก็บขอมูลนําเขา 5.00 0.000 มากที่สุด
2. ความถูกตองในการคนหาขอมูล 4.67 0.577 มากที่สุด
3. ความถูกตองในการปรับปรุงแกไขขอมูล 4.67 0.577 มากที่สุด
4. ความถูกตองในการลบขอมูล 4.67 0.577 มากที่สุด
5. ความถูกตองของผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล 5.00 0.000 มากที่สุด
6. ความถูกตองของการผลลัพธในรูปแบบรายงาน 5.00 0.000 มากที่สุด
7. ความครอบคลุมของโปรแกรมที่พัฒนากับระบบงานจริง 4.67 0.577 มากที่สุด
8. การปองกันขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น 4.33 0.577 มาก
รวม 4.75 0.250 มากที่สุด

จากตารางที่ 4.2 พบวา การประเมินประสิทธิภาพในการปองกันขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น อยูใน


ระดับมาก สวนรายการประเมินในขออื่นๆ ที่เหลือทุกขอ มีประสิทธิภาพระดับมากที่สุด พิจารณาโดยรวม
การประเมินประสิทธิภาพในดาน ดาน Functional Test ซึ่งเปนการประเมินความถูกตองและประสิทธิภาพ
ในการทํ างานของระบบวาสามารถทํ างานได ต ามฟ งก ชั น งานของระบบมากน อยเพี ย งใดนั้ น ผลการ
ประเมินอยูในระดับมากที่สุด
157

ผลการประเมินระบบดาน Usability Test มีรายละเอียด ดังนี้

ตารางที่ 4.3 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับประสิทธิภาพ ดาน Usability Test

สวนเบี่ยงเบน ระดับ
รายการประเมิน คาเฉลี่ย
มาตรฐาน ประสิทธิภาพ
1. ความงายตอการใชงานของระบบ 5.00 0.000 มากที่สุด
2. ความเหมาะสมในการเลือกใชขนาดของตัวอักษร 4.67 0.577 มากที่สุด
บนจอภาพ
3. ความเหมาะสมในการใชสีของตัวอักษรและรูปภาพ 5.00 0.000 มากที่สุด
4. ความเหมาะสมในการใชขอความ สัญลักษณหรือรูปภาพ 4.33 0.577 มาก
เพื่ออธิบายสื่อความหมาย
5. ความเปนมาตรฐานเดียวกันในการออกแบบหนาจอภาพ 4.33 0.577 มาก
6. ความเหมาะสมในการปฏิสัมพันธโตตอบกับผูใช 4.33 0.577 มาก
7. ความเหมาะสมในการวางตําแหนงของสวนประกอบ 4.67 0.577 มากที่สุด
บนจอภาพ
8. คําศัพทที่ใชผูใชมีความคุนเคยและสามารถปฏิบัติตาม 5.00 0.000 มากที่สุด
ไดโดยงาย
รวม 4.67 0.315 มากที่สุด

จากตารางที่ 4.3 พบวา การประเมินประสิทธิภาพ ความงายตอการใชงานระบบ ความเหมาะสม


ในการใชสีของตัวอักษรและรูปภาพ ความเหมาะสมในการวางตําแหนงของสวนประกอบบนจอภาพ และ
คําศัพทที่ใชผูใชมีความคุนเคยและสามารถปฏิบั ติตามได โดยงาย มีระดับประสิทธิภาพมากที่ สุด ความ
เหมาะสมในการใชขอความ สั ญลั กษณ หรื อรู ป ภาพ เพื่ ออธิบ ายสื่ อความหมาย ความเป น มาตรฐาน
เดียวกันในการออกแบบหนาจอภาพ และความเหมาะสมในการปฏิสัมพันธโตตอบกับผูใช มีประสิทธิภาพ
ในระดับมาก พิจารณาโดยรวมประสิทธิภาพดาน Usability Test ซึ่งเปนการประเมินลักษณะการ
ออกแบบระบบวามีความงายตอการใชงานมากนอยเพียงใดนั้น มีประสิทธิภาพในระดับมากที่สุด
158

ผลการประเมินระบบดาน Security Test มีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 4.4 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับประสิทธิภาพ ดาน Security Test

สวนเบี่ยงเบน ระดับ
รายการประเมิน คาเฉลี่ย
มาตรฐาน ประสิทธิภาพ
1. การกําหนดรหัสผูใช และรหัสผานในการตรวจสอบ 4.67 0.577 มากที่สุด
ผูเขาใชระบบ
2. การตรวจสอบสิทธิ์กอนการใชงานของผูใชระบบในระดับ 4.67 0.577 มากที่สุด
ตางๆ
3. การควบคุมใหใชงานตามสิทธิ์ผูใชไดอยางถูกตอง 4.67 0.577 มากที่สุด
รวม 4.67 0.577 มากที่สุด

จากตารางที่ 4.4 พบวาการการประเมินประสิทธิภาพใน ดาน Security Test ซึ่งเปนการ


ประเมินระบบในดานการรักษาความปลอดภัยของขอมูลในระบบวามีมากนอยเพียงใดนั้น ทุกรายการมี
ประสิทธิภาพในระดับมากที่สุด

ขอเสนอแนะ
1. การนัดหมายหรือประกาศจากเลขานุการไปยังคณะกรรมการสภา นาจะมีชองทางการ post
ใหสื่อสารกันงายขึ้น
2. นาจะมีชองทางการใหรายงานขอมูลวิจัยมหาวิทยาลัยแนวใหม (3-4 เลม)
3. การแสดงสถานะของกรรมการสภาขอใหใชสีเพื่อแสดงขอความใหเดนชัด
4. การสรางวาระการประชุมควรกําหนดเปนคาโดยปริยาย วาระที่ 1 – วาระที่ 6

ขอเสนอแนะในการนําไปใชและเพื่อการวิจัยในครั้งตอไป
1. ควรมีการปรับปรุงขอมูลใหมีความเปนปจจุบันเสมอ
2. ควรปรับปรุงภาพในหนาแรกใหสอดคลองกับเหตุการณปจจุบัน
3. ควรอบรมการใชงานและแจกคูมือใหกับคณะกรรมการสภาทุกทาน
4. สํานักงานสภามหาวิทยาลัยไมสามารถนําระบบ e-Office ในสวนการรับสงเอกสารใหกับ
คณะกรรมการสภาไปใช งานได จ ริ ง เนื่ องจากคณะกรรมการสภาบางท านนิ ย มการใช เ อกสารที่ เ ป น
กระดาษมากกวา
5. สํานักงานสภามหาวิทยาลัยไมสามารถนําระบบ e-Meeting ไปใชในการประชุมไดจริง
เนื่องจากในหองประชุมไมมีอุปกรณคอมพิวเตอร สําหรับเปดเอกสารอิเล็กทรอนิกส แต สามารถนําไปใช
159

ในการสงเอกสารการประชุมใหกับผูเขารวมประชุมที่เปนบุคลากรของมหาวิทยาลัย แทนการสงเอกสาร
เปนเลมรายงาน เพื่อประหยัดกระดาษได
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ไดสรุป


ผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ดังนี้
5.1 สรุปผลการวิจัย
1. วัตถุประสงคของการวิจัย
2. ประชากรและกลุมตัวอยาง
3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
4. ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
5. การเก็บรวบรวมขอมูล
6. การวิเคราะหขอมูล
7. การวิเคราะหระบบงานปจจุบัน
8. การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศใหม
9. การพัฒนาและการติดตั้งระบบ
10. สรุปผลการวิจัยและพัฒนา
5.2 อภิปรายผล
5.3 ขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจัย
1. วัตถุประสงคของการวิจัย
เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
2. ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากร ประกอบดวย
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จํานวน 22 คน
บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย จํานวน 5 คน
คณาจารยผูขอตําแหนงทางวิชาการ จํานวน 32 คน
กลุมตัวอยาง ประกอบดวย
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย จํานวน 1 คน
บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย จํานวน 5 คน
คณาจารยผูขอตําแหนงทางวิชาการ จํานวน 1 คน
161

3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
3.1 ดานฮารดแวร
เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานกันทั่วไปสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตได
เครื่องแมขายไดเชาจากบริษัทเอกชนที่บริการเว็บโฮสติ้งเพื่อติดตั้งระบบเว็บ
http://www.cpnru.com
3.2 ดานซอฟตแวร
โปรแกรมชวยพัฒนาเว็บ dreamweaver CS6
โปรแกรมภาษา PHP
โปรแกรม Filzilla 3.7.3 ใช upload file ไปยัง server
ชุดโปแกรม appserv 2.6.0 ประกอบดวยโปรแกรม apache 2.2.8 จําลอง
เครื่องเปน Server ทดสอบการทํางานเว็บไซตกอน upload ไปยังเว็บไซตจริง
ฐานขอมูล MySQL 6.0.4 จัดเก็บขอมูล
โปแกรม phpMyAdmin 2.10.3 ชวยในการจัดการฐานขอมูล
3.3 แบบสอบถามประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครเพื่อประเมินประสิทธิภาพของระบบแบงเปน 4 ดาน
3.3.1 ดาน Functional Requirement Test เปนการประเมินผลความถูกตอง
และประสิทธิภาพของระบบวาตรงตามความตองการของผูใชระบบมากนอยเพียงใด
3.2.1 ดาน Functional Test เปนการประเมินความถูกตองและประสิทธิภาพใน
การทํางานของระบบวาสามารถทํางานไดตามฟงกชันงานของระบบมากนอยเพียงใด
3.2.3 ดาน Usability Test เปนการประเมินลักษณะการออกแบบระบบวามีความ
งายตอการใชงานมากนอยเพียงใด
3.2.4 ดาน Security Test เปนการประเมินระบบในดานการรักษาความปลอดภัย
ของขอมูลในระบบวามีมากนอยเพียงใด
4. ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ในการพัฒนาระบบสารสนเทศไดดําเนินการตามวัฏจักรการพัฒนาระบบ มี 7 ขั้นตอน
ดังนี้
4.1 การศึกษาความเปนไปได เปนขั้นตอนแรกของการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยจะ
ทําการรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับระบบงานสารสนเทศ เพื่อนํามาศึกษา คนหาปญหาที่เกิดขึ้นกับ
ระบบงานปจจุบันตลอดจนคนหาแนวทางการแกไขปญหาซึ่งจะทําใหทราบวามีความเปนไปไดมาก
นอยแคไหนในการพัฒนาระบบ และระบบสารสนเทศที่จะพัฒนาขึ้นจะมีลักษณะเปนอยางไร และ
ศึกษาวาเปนไปไดหรือไมที่จะเปลี่ยนแปลงระบบ
4.2 การวิเคราะหระบบ ศึกษาการทํางานของระบบงานปจจุบัน และกําหนดความตองการ
ของระบบใหมการวิเคราะหระบบงานปจจุบัน ทําความเขาใจขั้นตอนการทํางานของระบบงานปจจุบัน
162

พิจารณาจุดดอยของการทํางานในปจจุบัน วิเคราะหใหอยูในรูปแบบสารสนเทศ โดยใช Data Flow


Diagram (DFD) เปนเครื่องมือในการทําความเขาใจการไหลของขอมูลที่ไหลเขาสูระบบและการไหล
ของขอมูลออกจากระบบงานปจจุบัน ขบวนการหรือขั้นตอนตางๆในการทํางานระบบงานปจจุบัน
และผลลัพธที่ไดออกมาจากระบบงานปจจุบัน
4.3 การออกแบบระบบใหม จะเปนการออกแบบรายละเอียดในสวนตางๆ ของระบบ
สารสนเทศใหม โดยระบบสารสนเทศใหมจะสามารถแกไขปญหาระบบงานเดิม ปรับปรุงประสิทธิภาพ
การทํางานระบบงานเดิมและสามารถตอบสนองความตองการของบุคลากรภายในหนวยงานได โดยใช
Data Flow Diagram (DFD) ของระบบงานใหมเปนเครื่องมือในการอธิบายขบวนการหรือขั้นตอน
ตางๆ ในการทํางานของระบบงานใหม และใชเครื่องมือ Entity Relationship Model (E-R Model)
ในการออกแบบฐานขอมูลระบบงานใหมในระดับแนวคิด โดยแสดงถึงความสัมพันธและรายละเอียด
ของขอมูลตางๆ ของระบบงานใหม
4.4 การพัฒ นาโปรแกรม เขี ยนโปรแกรมตามที่ไดออกแบบไว เป นขั้ นตอนการเขีย น
โปรแกรม และแกไขขอผิดพลาดตางๆของโปรแกรม ใหมีความถูกตองในการทํางาน
4.5 การทดสอบระบบ เพื่อตรวจสอบการทํางานของระบบกอนใชงานจริง ไดทดสอบกับ
ขอมูลจริงบางสวนของงานสภามหาวิทยาลัย และใหผูปฏิบัติงานไดทดลองใชระบบในระยะเวลาหนึ่ง
เพื่อหาขอผิดพลาดของระบบ
4.6 การติดตั้งระบบ หลังจากไดทดสอบระบบและแกไขขอผิดพลาดตางๆ และพัฒนา
ระบบงานจนเสร็จ จึงทําการติดตั้งระบบงานใหมไวที่เว็บไซต http://www.cpnru.com จัดทําคูมือ
การใชงาน อบรมการใชงานใหกับผูดูแลระบบ
4.7 การเปลี่ยนเขาสูระบบใหม จากระบบเดิมเขาสูระบบใหมโดยคอยเปลี่ยนทีละสวน
แบบคอยเปนคอยไป และบางสวนทําขนานจนกวาเจาหนาที่จะมีความชํานาญในการใชงาน และรอ
ความพรอมของอุปกรณในหองประชุมสําหรับการจัดประชุมดวยระบบใหม
5. การเก็บรวบรวมขอมูล
5.1 ทําหนังสือขออนุญาตจากหัวหนางานกลุมงานสภามหาวิทยาลัยเพื่อรวบรวมขอมูล
การวิจัยจากเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานสํานักงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ไดแก งานบริหารงาน
ทั่วไป งานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ และงานประชุม
5.2 นําโปรแกรมที่ไดพัฒนาไปใหผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอร ตัวแทนคณะกรรมการ
สภามหาวิทยาลัย คณาจารยผูขอตําแหนงทางวิชาการ และเจาหนาที่ในสํานักงานสภาที่จะเปนผูดูแล
ระบบไดทดลองใชงาน พรอมตอบแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชโปรแกรมเพื่อประเมิน
ประสิทธิภาพของระบบ
นํ าโปรแกรมที่ ได พัฒ นาระบบงานที่ ได ท ดลองใช งานจริ งระยะหนึ่ ง นํ าเสนอต อ
เลขานุการสภามหาวิทยาลัย หัวหนากลุมงานสภา และเจาหนาที่ในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย รับฟง
ขอเสนอแนะและทําการปรับปรุงโปรแกรมตามขอเสนอแนะทั้งหมด
163

6. การวิเคราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูลแบบสอบถามเพื่อประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศ
งานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ใชสถิติคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เกณฑในการประเมินคาเฉลี่ยของระดับประสิทธิภาพ ดังนี้
4.51 – 5.00 มีประสิทธิภาพมากที่สุด
3.51 – 4.50 มีประสิทธิภาพมาก
2.51 – 3.50 มีประสิทธิภาพปานกลาง
1.51 – 2.50 มีประสิทธิภาพนอย
1.00 – 1.50 มีประสิทธิภาพนอยที่สุด
7. การวิเคราะหระบบงานปจจุบัน
จากการศึ กษาและวิ เ คราะห ร ะบบงานป จ จุ บั น โดยใช เ ทคนิ คการสั มภาษณ บุ คลากร
ผูปฏิบัติงาน และรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวของกับระบบงานปจจุบัน มีการทํางานแบงเปน 3 งาน ไดแก
งานบริหารงานทั่วไป งานกําหนดตําแหนงทางวิชาการและงานประชุม ไดรับทราบปญหาและความ
ตองการของระบบใหม ไดเสนอแนะระบบงานใหม ไดแก ระบบ e-News การจัดการขาว ระบบ
กระดานถามตอบ (e-Forum) ปฏิทินกิจกรรม (e-Scheduling) ระบบ e-Office การจัดการเอกสาร
ระบบ e-Academic งานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ และระบบ e-Meeting การจัดการการประชุม
8. การวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศใหม
ขอมูลที่ไดจากการเก็บรวบรวม และศึกษาวิเคราะหใช Entity Relationship Model
(E-R Model) ในการออกแบบฐานขอมูลในระดับแนวคิด โดยแสดงถึงความสัมพันธและรายละเอียด
ของขอมูลตางๆ ของระบบใหม
9. การพัฒนาและติดตั้งระบบ
หลังจากทําการออกแบบระบบใหมเสร็จแลว ไดเขียนโปรแกรมพัฒนาระบบงานตามที่ได
ออกแบบไว เปนโปรแกรมแบบเว็บแอพพลิเคชัน (Web Application) ไดจดทะเบียนโดเมนเนม ชื่อ
เว็ บ http://www.cpnru.com จั ด ทํ าคู มือการใช งานสํ าหรั บ ผู ดู แลระบบ คู มือการใช งานสํ าหรั บ
คณะกรรมการสภา และฝกอบรมการใชงานใหกับผูด ูแลระบบ
10. สรุปผลการวิจัยและพัฒนา
จากการวิจัยทําใหไดระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครบนเว็บ ผาน
เครือขายอินเทอรเน็ตเพื่อใชในงาน ดังนี้
10.1 การนําเสนอระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครบนเว็บ ได
นํ า เสนอระบบสารสนเทศประกอบด ว ยเมนู หน า แรก เกี่ ย วกั บ สภามหาวิ ท ยาลั ย ติ ด ต อ สภา
มหาวิทยาลัย และผูดูแลระบบ รายละเอียดดังนี้
164

10.1.1 เมนูหนาแรก เปนสวนแสดงสารสนเทศ ขาวประกาศ รายงานการประชุม


ลาสุด สถิติจํานวนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ รายงานการดําเนินงานสภามหาวิทยาลัย และเมนูดานขวา
แบงเปน 8 สวน ไดแก เมนูหลัก การกําหนดตําแหนงทางวิชาการ กําหนดการประชุมสภามหาวิทยาลัย
กําหนดการประชุ มสภามหาวิทยาลัย กํ า หนดการกิจ กรรม หนว ยงานที่เ กี ่ย วขอ ง ขาวการศึกษา
สภาพอากาศทั่วไทย และสถิติผูเขาชม นําเสนอสารสนเทศ ดังนี้
1) เมนูหลัก แสดงขอมูลหลักของระบบ ประกอบดวยเมนูยอย ไดแก
ขาวประชาสัมพันธ ขาวกิจกรรม ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งและประกาศ รายงานการประชุม ปริญญา
กิตติมศักดิ์ หลักสูตรปรับปรุง ปฏิทินกิจกรรม ภาพกิจกรรม ดาวนโหลดแบบฟอรม กระดานถามตอบ
และผูดูแลระบบ
2) การกํ าหนดตํ าแหน งทางวิ ช าการ แสดงข อมู ล ของงานกํ าหนด
ตําแหนงทางวิชาการ ประกอบดวยเมนูยอย ไดแก ขาวการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ระเบียบ
ข อบั งคั บ คํ า สั่ งและประกาศ วิ ธี การขอตํ าแหน งทางวิ ช าการ คู มือการเขี ย นผลงานทางวิ ช าการ
แบบฟอรมการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ องคความรูในการขอตําแหนงทางวิชาการ ฐานขอมูล
ผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ สรุปจํานวนผูกําหนดตําแหนงทางวิชาการ
3) กําหนดการประชุมสภามหาวิทยาลัย แจงวันประชุมสภา
4) กําหนดการกิจกรรม แสดงขอมูลที่นํามาจากกิจกรรมที่กําหนดให
ปฏิทิน
5) หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง แสดงจุ ด เชื่ อ มโยงไปยั ง เว็ บ ไซต อื่ น ได แ ก
มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ พระนคร กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนา
ระบบราชการ (ก.พ.ร)
6) ขาวการศึกษา แสดงจุดเชื่อมโยงไปยังเว็บไซตอื่นๆ ที่เกี่ยวของดาน
การศึกษา
7) สภาพอากาศทั่วไทย แสดงขอมูลการพยากรณอากาศ
8) สถิติผูเขาชม แสดงสถิติการเขาชม ไดแก ผูเขาชมทั้งหมด ผูใชงาน
ออนไลน และผูเขาชมในวันนี้
10.1.2 เมนูเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย นําเสนอสารสนเทศ ดังนี้
1) ประวัติสภามหาวิทยาลัย
2) บทบัญญัติเกี่ยวกับสภามหาวิทยาลัย
3) โครงสรางการบริหารสภามหาวิทยาลัย
4) สํานักงานสภามหาวิทยาลัย
5) ติดตอคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย
6) ทําเนียบนายกสภามหาวิทยาลัย
165

7) บุคลากรในสํานักงานสภามหาวิทยาลัย
10.1.3 เมนูติดตอสภามหาวิทยาลัย เปนสวนแสดงขอมูล สถานที่อยู เบอรโทร
และแผนที่
10.1.4 เมนูผูดูแลระบบ นําเสนอสารสนเทศสําหรับผูดูแลระบบในการเขาถึง
เพื่อจัดการระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร แบงเปน 4 ระบบ ไดแก
1) ระบบ e-News เปนระบบจัดการขาวประกาศ จัดการปฏิทิน
กิจกรรม และจัดการภาพpreview การแสดงภาพในหนาแรก
2) ระบบ e-Office เปนระบบจัดการเอกสาร
3) ระบบ e-Academic เปนระบบจัดการเกี่ยวกับการกําหนดตําแหนง
ทางวิชาการ และการติดตามความกาวหนาการขอตําแหนงทางวิชาการ
4) ระบบ e-Meeting เปนระบบจัดการการประชุม
10.2 การใชงานระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
10.2.1 สําหรับผูดูแลระบบ ทําหนาที่จัดการกับ 4 ระบบ ไดแก
1) ระบบ e-News เปนระบบจัดการขาวประกาศ จัดการปฏิทิน และ
จัดการภาพในการแสดงหนาแรก ประกอบดวยเมนูตางๆ ไดแก จัดการขาวประกาศ จัดการขอมูล
ปริญญากิตติมศักดิ์ แจงขาวดวน จัดการปฏิทินเหตุการณ จัดการภาพ preview เปลี่ยนรหัสผาน
2) ระบบ e-Office เปนระบบจัดการเอกสาร ประกอบดวยเมนูตางๆ
ไดแก จัดการเอกสารเขา [in-box] จัดการเอกสารออก [out-box] จัดการเอกสารสวนบุคคล [private-
box] จัดการขอมูลบุคลากร กําหนดคาระบบ เปลี่ยนรหัสผาน
3) ระบบ e-Academic เปนระบบจัดการเกี่ยวกับการกําหนดตําแหนง
ทางวิ ช าการ ประกอบด วยเมนู ตางๆ ไดแก จั ด การข าวการกํ าหนดตํ าแหน งทางวิ ช าการ จั ด การ
ฐานขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ และการติดตามความกาวหนาการขอตําแหนงทางวิชาการ
4) ระบบ e-Meeting เปนระบบจัดการการประชุม ประกอบดวยสวน
จัดการการประชุม จัดการวาระการประชุม เปลี่ยนรหัสผาน
10.2.2 สําหรั บ คณะกรรมการสภา เปน ส ว นสํ าหรั บ ให คณะกรรมการสภา
สามารถเขาถึงระบบ โดยจะตองระบุชื่อผูใช และรหัสผาน สามารถเขาใชงานของระบบ e-Office รับ
เอกสาร และสวนของระบบ e-Meeting ดูรายงานการประชุม มติการประชุมที่ผานมา และวาระการ
ประชุมครั้งลาสุด
10.3 การประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภาจากกลุมตัวอยาง
ภายหลังจากที่ไดทดลองใชโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น แบงการประเมินผลออกเปน 4 ดาน ไดแก ดาน
Functional Requirement Test ดาน Functional Test ดาน Usability Test และดาน Security
Test ผลการประเมินในภาพรวมทุกดานมีประสิทธิภาพในระดับมากที่สุด
166

5.2 อภิปรายผล
การใชงานระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัย ราชภัฏ พระนคร สามารถนํ าไปในการ
จัดการงานตางๆ ใน 3 ของงานสภามหาวิทยาลัย ไดแก งานบริหารงานทั่วไป งานประชุม และงาน
กําหนดตําแหนงทางวิชาการ ดังนี้
1. งานบริหารงานทั่วไป สามารถนําระบบสารสนเทศที่พัฒนาไปชวยในงาน ไดแก ระบบ
จัดการเอกสาร (e-Office) เปนระบบบันทึกจัดเก็บเอกสารเขาและเอกสารออกจากสํานักงานสภา
มหาวิทยาลัย ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกสและจัดเก็บรายละเอียดเอกสารลงฐานขอมูลงานของ
สภามหาวิทยาลัย ระบบปฏิทินกิจกรรม (e-Scheduling) เปนระบบชวยบันทึกเหตุการณและแจงนัด
หมายกิจ กรรมตา งๆ ระบบขาวประชาสัมพัน ธ (e-News) เปน ระบบสรา งสื่อ ประชาสัม พัน ธ
อิเล็กทรอนิกส ในการลงประกาศระเบียบ ขอบังคับ คําสั่งและประกาศตางๆ
พระราชบัญญัติที่เกี่ยวของ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศของมหาวิทยาลัยไดนําเสนอขอมูล
บนเว็บ ตั้งแตป 2547 – 2557
ไมสามารถนําระบบ e-Office ไปใชในการรับสงเอกสารใหกับคณะกรรมการสภาไดจริง
เนื่องจากคณะกรรมการสภาบางทานนิยมการใชเอกสารที่เปนกระดาษมากกวา
2. งานกําหนดตําแหนงทางวิชาการ สามารถนําระบบ e-Academic งานกําหนดตําแหนง
ทางวิชาการ เปนระบบฐานขอมูลจัดเก็บประวัติการกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ชวยในการสืบคน
ขอมูลการไดรับตําแหนงทางวิชาการ การติดตามขอมูลการขอตําแหนงทางวิชาการ
ขอมูลผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไดปรับปรุงขอมูลลาสุด เมษายน 2557
ข อ มู ล การติ ด ตามความก า วหน า การขอตํ า แหน ง ทางวิ ช าการปรั บ ปรุ ง ข อ มู ล ล า สุ ด
เมษายน 2557 เหลือในสวนการใหรายละเอียดความกาวหนาเฉพาะของแตละบุคคล
3. งานประชุม สามารถนําระบบงานประชุมอิเล็กทรอนิกส (e-Meeting) เปนระบบชวย
อํานวยความสะดวกในการประชุม ในการสืบคนวาระและมติการประชุมสภามหาวิทยาลัย รวมถึงการ
สรางวาระการประชุมใหมและบันทึกขอมูลการประชุมในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส สรุปขอมูล
เปนรายงานการประชุม
ไมสามารถนําระบบ e-Meeting ไปใชในการประชุมไดจริง เนื่องจากในหองประชุมไมมี
อุปกรณคอมพิวเตอร สําหรับเปดเอกสารอิเล็กทรอนิกส แตคาดวาในอนาคตจะมีการพิจารณาในสวน
การจัดซื้ออุปกรณเปนไอแพด หรือแท็บเล็ตสําหรับคณะกรรมการตอไป
167

5.3 ขอเสนอแนะ
1. ควรมีการปรับปรุงขอมูลใหมีความเปนปจจุบันเสมอ
2. ควรปรับปรุงภาพในหนาแรกใหสอดคลองกับเหตุการณปจจุบัน
3. ควรอบรมการใชงานและแจกคูมือใหกับคณะกรรมการสภาทุกทาน
4. สํานักงานสภามหาวิทยาลัยไมสามารถนําระบบ e-Office ในสวนการรับสงเอกสารใหกับ
คณะกรรมการสภาไปใชงานไดจริง เนื่องจากคณะกรรมการสภาบางทานนิย มการใชเอกสารที่เปน
กระดาษมากกวา ดังนั้นควรเริ่มการใชงานสําหรับผูที่มีความตองการไปกอนแบบคอยเปนคอยไป
5. สํานักงานสภามหาวิทยาลัยไมสามารถนําระบบ e-Meeting ไปใชในการประชุมไดจริง
เนื่องจากในหองประชุมไม มีอุปกรณ คอมพิ วเตอร สําหรั บเปด เอกสารอิเ ล็กทรอนิ กส แตส ามารถ
นําไปใชในการสงเอกสารการประชุมใหกับผูเขารวมประชุมที่เปนบุคลากรของมหาวิทยาลัย แทนการ
สงเอกสารเปนเลมรายงาน เพื่อประหยัดกระดาษได และจัดหางบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณอาจ
เปนไอแพด หรือแท็บเล็ตสําหรับการเปดเอกสารในการประชุมแทนการใชกระดาษ ซึ่งจะทําใหลดการ
ใชกระดาษไดมาก
บรรณานุกรม
กิตติ ภักดีวัฒนกุล และจําลอง ครูอุตสาหะ.2541. การออกแบบฐานขอมูล Database Design.
กรุงเทพฯ: ไทยเจริญการพิมพ(.
_______.2550. ระบบฐานขอมูล. พิมพ(ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ( แอนด( คอนซัลท(.
ครรชิต มาลัยวงศ(.2541. ขาราชการกับไอที:เสนทางที่จะตองเลือกเดิน. กรุงเทพฯ: งานมัลติมีเดีย
ฝ1ายศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ.
จีราภรณ( รักษาแก6ว.2539. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.พิมพ(ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชาญชัย ศุภอรรถกร.2556. สรางเว็บแอพพลิเคชัน PHP MySQL + AJAX jQuery ฉบับสมบูรณ?.
กรุงเทพฯ:สํานักพิมพ( ซิมพลิฟาย.
ธาริน สิทธิธรรมชารี และสุรสิทธิ์ คิวประสพศักดิ์.2542. Advance Visual Basic Version 6.0.
กรุงเทพฯ: ส.เอเซียเพรส (1989).
บรรณากิจบรรจง ทองจําปา.2551. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของสถาบัน
การพลศึกษา. สถาบันพลศึกษา.
บัญชา ปะสีละสัง.2553. พัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นดวย PHP รPวมกับ MySQL และ
DreamWeaver.กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ประจักษ( เฉิดโฉม และศิษฏ( วงษ(กมลเศรษฐ( (2537). การวิเคราะห?ระบบคอมพิวเตอร?.
กรุงเทพฯ: สกายบุHกส(.
ฝ1ายผลิตหนังสือตําราวิชาการคอมพิวเตอร(.2551. การวิเคราะห?และออกแบบระบบ.
กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร(. e-University.[online] .Available from:
http://www.ku.ac.th/e-university/index01.html [10 มกราคม 2556]
ราชกิจจานุเบกษา2547 .. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547. กรุงเทพฯ :
สํานักนายกรัฐมนตรี.
วิจิตร ศรีสอ6าน .2529. แนวคิดพื้นฐานการพัฒนาระบบสารสนเทศ. ในรวมบทความ
เกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการศึกษา 1 หน6า)-3). นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิชัย พลอยประเสริฐ.2546. การพัฒนาระบบสารสนเทศบุคลากร. วิทยานิพนธ(
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการศึกษาวิทยาศาสตร( เอกคอมพิวเตอร(,
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล6าคุณทหารลาดกระบัง.
169

วินัย บังคมเนตร.2551. ระบบสารสนเทศการบริหารงานทรัพยากรบุคคลทางอินทราเน็ตของ


โรงเรียนพณิชยการลานนาเชียงใหมP. การค6นคว6าอิสระ หลักสูตรปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม].
วีระ สุภากิจ.(2539). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ:จากทฤษฏีสูPการปฏิบัติในโรงเรียน/
วีระ สุภากิจ.กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส(น.
ศิริชัย นามบุรี .(2546). รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศขPาวสาร
สถาบันราชภัฏยะลา ผPานเครือขPายอินเตอร?เน็ต. ยะลา: คณะวิทยาศาสตร(
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
ศิริลักษณ( โรจนกิจอํานวย.2542. ระบบฐานขอมูล. พิมพ(ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ(มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร(.
ศูนย(เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ MySQL. [Online]. Available from:
http://www.moph.go.th/download/svg/docs/CH07_BasicMySQL.pdf
[20 มกราคม 2556]
สมเกียรติ ตันติวงศ(วาณิช. 2548. การพัฒนาระบบสารสนเทศหนPวยบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร?
อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.
สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร((คอมพิวเตอร() บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล6าเจ6าคุณทหารลาดกระบัง.
สมจิตร อาจอินทร( และงามนิจ อาจอินทร(. 2540. ระบบฐานขอมูล. ขอนแก]น: ขอนแก]นการพิมพ(.
สรายุทธ อินทรเสมา.การวิเคราะห?และออกแบบระบบสารสนเทศ. [Online]. Available from:
http://www.olearning.siam.edu/-2-2/2011-11-28-08-10-01/629-100-101-
[2 มกราคม 2556]
สัลยุทธ( สว]างวรรณ. 2545. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ: เพียร(สันเอ็ดยูเคชั่น
อินโดไชน]า.
สุมาลี เมืองไพศาล.2531. การจัดการระบบขอมูล. พิมพ(ครั้งที่5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
อํารุง จันทวานิช และเจษฎ( อนรรฆมงคล) .2539). สภาพปcจจุบันและปcญหาของระบบ
สารสนเทศทางการศึกษาในประเทศไทย และระบบสารสนเทศทางการศึกษา
ในรวมบทความเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ .สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหPงชาติ
ทางการศึกษา) .25-35กรุงเทพฯ .(: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ(.2551. ระบบฐานขอมูล. กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด.
Date, C. J.(2003). An Introduction to Database System. America: Addison-Wesley.
ภาคผนวก
171

ก.พ.อ. ๐๓
แบบคําขอรับการพิจารณากําหนดตําแหนงทางวิชาการ
สําหรับผูขอแตงตั้งตําแหนงทางวิชาการ

สวนที่ ๑ ประวัติและผลงานและผลงานทางวิชาการ
แบบประวัติสวนตัวและผลงานทางวิชาการ
เพื่อดํารงตําแหนง
(ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย)
โดยวิธี (วิธีปกติ / วิธีที่ ๑ / วิธีที่ ๒) (วิธีพิเศษ )
ในสาขาวิชา
ของ
สังกัดภาค/สาขาวิชา ..........................................................
สังกัดคณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

๑. ประวัติสวนตัว
๑.๑ วัน เดือน ปเกิด
๑.๒ อายุ ป
๑.๓ การศึกษาระดับอุดมศึกษา (เรียงจากวุฒิสูงสุดตามลําดับ)
คุณวุฒิ ป พ.ศ. ที่สาํ เร็จการศึกษา ชื่อสถานศึกษาและประเทศ
๑)
๒)
๓)
๑.๔ หัวขอวิทยานิพนธระดับปริญญาโทและปริญญาเอก
๑.๔.๑
๑.๔.๒

๒. ประวัติการรับราชการ
๒.๑ ปจจุบันเปน  ขาราชการ ดํารงตําแหนง ระดับ ขั้น บาท
 พนักงานมหาวิทยาลัย ดํารงตําแหนง ขั้น บาท
 อื่นๆ ระบุ ดํารงตําแหนง ขั้น บาท
172

๒.๒ ไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงอาจารย เมื่อวันที่ เดือน พ.ศ.


๒.๓ ไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารยในสาขาวิชา
เมื่อวันที่ เดือน พ.ศ.
๒.๔ ไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยในสาขาวิชา
เมื่อวันที่ เดือน พ.ศ.
อายุราชการ ป เดือน
๒.๕ ตําแหนงอื่นๆ
๒.๕.๑
๒.๕.๒ .
๒.๕.๓ .
๒.๕.๔ .
๓. ภาระงานยอนหลัง ๓ ป (เปนภาระงานที่ทําโดยความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชา)
๓.๑ งานสอน (โปรดระบุระดับวาปริญญาตรี หรือบัณฑิตศึกษา)
ชั่วโมง/ เปดสอนภาค/
ระดับ รายวิชาที่สอน
สัปดาห ปการศึกษา
๑)
๒)
๓)
๔)
๕)
๓.๒ งานวิจัย (โปรดระบุเรื่องที่ทําการวิจัย และระยะเวลาที่ใชในแตละโครงการ)

.
.
๓.๓ งานบริการทางวิชาการ (โปรดระบุประเภทของกิจกรรม และปริมาณเวลาที่ใชในการใหบริการตอสัปดาห)

.
.
๓.๔ งานบริหาร (โปรดระบุงานบริหารที่มีสวนรับผิดชอบโดยตรง และปริมาณเวลาที่ใชตอสัปดาห)

.
.
173

๓.๕ งานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ (โปรดระบุประเภทของงานและปริมาณเวลาที่ใชตอสัปดาห)

.
.
๔.ผลงานทางวิชาการ
๔.๑ ผลงานทางวิชาการที่เสนอเพื่อประกอบการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย
๔.๑.๑ งานวิจัย
๔.๑.๑.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานวิจัยนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ
 บทความวิจัยในหนังสือที่มีบรรณาธิการประเมินและตรวจสอบ
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณไดผานการประเมินคุณภาพโดยผูทรงคุณและแสดง
หลักฐานวาไดเผยแพรไปยังวงวิชาการและวิชาชีพในสาขาวิชานั้น
 เว็บไซต
 หนังสือประมวลผลการประชุมวิชาการ (Proceedings)
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

๔.๑.๒ ผลงานวิชาการรับใชสังคม
๔.๑.๒.๑ ......................................................................................................................
ผลงานวิชาการรับใชสังคมนี้เคยใชสําหรับการพิจารณาขอกําหนดตําแหนง
ผูชวยศาสตราจารยและ/หรือตําแหนงรองศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ...... และผลการพิจารณาอยูในระดับ......ตามที่ ก.พ.อ. กําหนด)
วิธีเผยแพร ใหมีการเผยแพรโดยการจัดเวทีนําเสนอผลงานในพื้นที่ หรือการเปดใหเยี่ยมชม
พื้นที่และจะตองมีการเผยแพรสูสาธารณชนอยางกวางขวางในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สอดคลองกับผลงาน
โดยการเผยแพรนั้นจะตองมีการบันทึกเปนเอกสารหรือเปนลายลักษณอักษรที่สามารถใชอางอิง หรือศึกษา
คนควาตอไปได
174

๔.๑.๓ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
๔.๑.๓.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ประเภทผลงาน  สิ่งประดิษฐ  ผลงานดานศิลปะ
 สารานุกรม  งานแปล
 อืน่ ๆ (ระบุ)
ผลงานนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  การพิมพโดยโรงพิมพหรือสํานักพิมพ  การจัดนิทรรศการหรือการจัดแสดง
 สื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ (เชน ซีดีรอมหรือเว็บไซต)
 ถายสําเนาเย็บเปนรูปเลม หรือรูปแบบอื่นๆ
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

๔.๑.๔ ผลงานแตงหรือเรียบเรียงตํารา หนังสือ หรือบทความทางวิชาการ


งานแตงหรือเรียบเรียงตํารา
๔.๑.๔.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  การพิมพโดยโรงพิมพหรือสํานักพิมพ
 สื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ (เชน ซีดีรอมหรือเว็บไซต)
 ถายสําเนาเย็บเปนรูปเลม หรือรูปแบบอื่นๆ
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

งานแตงหรือเรียบเรียงหนังสือ
๔.๑.๔.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
175

ผลงานนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  การพิมพโดยโรงพิมพหรือสํานักพิมพ
 สื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ (เชน ซีดีรอมหรือเว็บไซต)
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

บทความทางวิชาการ
๔.๑.๔.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  บทความในวารสารทางวิ ช าการ (สิ่ ง พิ ม พ สื่ อ อิ เ ล็ กทรอนิ กส หรื อ เว็ บ ไซต )
 บทความในหนังสือรวมบทความ
 หนังสือประมวลผลการประชุมวิชาการ (Proceedings)
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

๔.๑.๕ เอกสารประกอบการสอน
๔.๑.๕.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  จัดทําเปนรูปเลมดวยการพิมพหรือถายสําเนาเย็บเลม
 สื่ออื่นๆ (เชน ซีดีรอม หรือเว็บไซต)
ระบุรายละเอียดการเผยแพร
. ใชในการสอนภาคการศึกษา / .
๔.๒ ผลงานทางวิชาการที่เสนอเพื่อประกอบการพิจารณากําหนดตําแหนงรองศาสตราจารย
๔.๒.๑ งานวิจัย
๔.๒.๑.๑
176

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานวิจัยนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผู ชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง
รองศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ  บทความวิจัยในหนังสือ
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ  เว็บไซต
 หนังสือประมวลผลการประชุมวิชาการ (Proceedings)
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

๔.๒.๑.๒

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานวิจัยนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง
รองศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ  บทความวิจัยในหนังสือ
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ  เว็บไซต
 หนังสือประมวลผลการประชุมวิชาการ (Proceedings)
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

๔.๒.๒ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
๔.๒.๒.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ประเภทผลงาน  สิ่งประดิษฐ  ผลงานดานศิลปะ
 สารานุกรม  งานแปล
 อื่นๆ (ระบุ)
ผลงานนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง รอง
ศาสตราจารยมาแลวหรือไม
177

 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  การพิมพโดยโรงพิมพหรือสํานักพิมพ  การจัดนิทรรศการหรือการจัดแสดง
 สื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ (เชน ซีดีรอมหรือเว็บไซต)
 ถายสําเนาเย็บเปนรูปเลม หรือรูปแบบอื่นๆ
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

๔.๒.๓ งานแตงหรือเรียบเรียงตํารา หรือหนังสือ


งานแตงหรือเรียบเรียงตํารา
๔.๒.๓.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง รอง
ศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  การพิมพโดยโรงพิมพหรือสํานักพิมพ
 สื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ (เชน ซีดีรอมหรือเว็บไซต)
 ถายสําเนาเย็บเปนรูปเลม หรือรูปแบบอื่นๆ
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

งานแตงหรือเรียบเรียงหนังสือ
๔.๒.๓.๑ (ข)

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง รอง
ศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  การพิมพโดยโรงพิมพหรือสํานักพิมพ
 สื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ (เชน ซีดีรอมหรือเว็บไซต)
ระบุรายละเอียดการเผยแพร
178

๔.๒.๔ เอกสารคําสอน
๔.๒.๔.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง รอง
ศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  จัดทําเปนรูปเลมดวยการพิมพหรือถายสําเนาเย็บเลม
 สื่ออื่นๆ (เชน เว็บไซต)
ระบุรายละเอียดการเผยแพร
. ใชในการสอนภาคการศึกษา / .
๔.๓ ผลงานทางวิชาการที่เสนอเพื่อประกอบการพิจารณากําหนดตําแหนงศาสตราจารย
๔.๓.๑ งานวิจัย
๔.๓.๑.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานวิจัยนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง
รองศาสตราจารย และ/ หรือตําแหนงศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ  บทความวิจัยในหนังสือ
 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ  เว็บไซต
 หนังสือประมวลผลการประชุมวิชาการ (Proceedings)
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

๔.๓.๒ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
๔.๓.๒.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ประเภทผลงาน  สิ่งประดิษฐ  ผลงานดานศิลปะ
 สารานุกรม  งานแปล
179

 อื่นๆ (ระบุ)
ผลงานวิจัยนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง
รองศาสตราจารย และ/ หรือตําแหนงศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  การพิมพโดยโรงพิมพหรือสํานักพิมพ  การจัดนิทรรศการหรือการจัดแสดง
 สื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ (เชน ซีดีรอมหรือเว็บไซต)
 ถายสําเนาเย็บเปนรูปเลม หรือรูปแบบอื่นๆ
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

๔.๓.๓ งานแตงตําราหรือหนังสือ
งานแตงตํารา
๔.๓.๓.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานวิจัยนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง
รองศาสตราจารย และ/ หรือตําแหนงศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  การพิมพโดยโรงพิมพหรือสํานักพิมพ
 สื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ (เชน ซีดีรอมหรือเว็บไซต)
 ถายสําเนาเย็บเปนรูปเลม หรือรูปแบบอื่นๆ
ระบุรายละเอียดการเผยแพร

งานแตงหนังสือ
๔.๓.๓.๑

สัดสวนการมีสวนรวมในผลงาน (%)
ผลงานวิจัยนี้เคยใชสําหรับการพิจารณากําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย และ/หรือตําแหนง
รองศาสตราจารย และ/ หรือตําแหนงศาสตราจารยมาแลวหรือไม
 ไมเคยใช
 เคยใช (เมื่อป พ.ศ. และผลการพิจารณาอยูในระดับ ตามที่ ก.พ.อ.กําหนด )
วิธีเผยแพร  การพิมพโดยโรงพิมพหรือสํานักพิมพ
180

 สื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ (เชน ซีดีรอมหรือเว็บไซต)


ระบุรายละเอียดการเผยแพร

ขอรับรองวาขอความดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ

ลงชื่อ...............................................เจาของประวัติ
(..............................................)
วันที่........เดือน...............พ.ศ..............

หมายเหตุ
๑. ผลงานทางวิชาการดังกลาวขางตน ใหเสนอโดยเขียนตามหลักของการเขียนเอกสารอางอิง ซึ่ง
ประกอบดวย ชื่อผูแตง/ผูวิจัย ป พ.ศ. ชื่อเรื่อง แหลงพิมพ จํานวนหนา เปนตน
๒. ในกรณีที่มีผูมีสวนรวมในผลงานทางวิชาการหลายคน ใหผูมีสวนรวมสงหลักฐานรับรองการมีสวนรวม
ในผลงานวาแตละคนมีสวนรวมในปริมาณเทาใด พรอมระบุบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของผูขอกําหนดตําแหนง
ในผลงานชิ้นนั้น มาประกอบการพิจารณาดวย
181

สวนที่ 2 แบบประเมินคุณสมบัติโดยผูบังคับบัญชา

แบบประเมินแตงตั้งใหดํารงตําแหนง..................................
(ผูชวยศาสตราจารย/ รองศาสตราจารย/ ศาสตราจารย)
ในสาขาวิชา.............................................................
โดยวิธีที่ 1 / วิธีที่ 2
ของ................................................................
สังกัด/ภาควิชา/สาขาวิชา........................................
คณะ...................................................มหาวิทยาลัย......................................................
------------------------------------
ไดตรวจสอบคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง.....(ผูชวยศาสตราจารย/รองศาสตราจารย
ศาสตราจารย)...... แลวเห็นวา นาย/นาง/นางสาว.................................................................เปนผูมีคุณสมบัติ
(ครบถวน/ไมครบถวน) ตามหลักเกณฑที่ ก.พ.อ. กําหนด

ลงชื่อ .................................................................
(........................................................)
ตําแหนง…ผูบังคับบัญชาระดับหัวหนาภาควิชาหรือเทียบเทา...
วันที่..............เดือน...................................พ.ศ............

ความเห็นผูบังคับบัญชาระดับคณบดีหรือเทียบเทา
ไดพิจารณาแลวเห็นวา นาย / นาง/นางสาว…....................................................……เปนผูมี
คุณสมบัติ (เขาขาย / ไมเขาขาย) ที่จะไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนง.....(ผูชวยศาสตราจารย/รองศาสตราจารย/
ศาสตราจารย).....

ลงชื่อ ...........................................................
(...............................................................)
ตําแหนง..................................................................
วันที่.............เดือน.............................พ.ศ…..........
182

หนังสือรับรองจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ
ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่องหลักเกณฑและวิธีการพิจารณาแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงผูชวย
ศาสตราจารย รองศาสตราจารย และ ศาสตราจารย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ ไดกําหนดใหผูขอกําหนด
ตําแหนงทางวิชาการ ตองคํานึงถึงจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ ดังนี้
๑. ตองมีความซื่อสัตยทางวิชาการ ไมนําผลงานของผูอื่นมาเปนผลงานของตนและไมลอกเลียน
ผลงานของผูอื่น รวมทั้งไมนําผลงานของตนเองในเรื่องเดียวกันไปเผยแพรในวารสารวิชาการมากกวาหนึ่ง
ฉบับ ในลักษณะที่จะทําใหเขาใจผิดวาเปนผลงานใหม
๒. ต อ งให เ กี ย รติ แ ละอ า งถึ ง บุ ค คลหรื อ แหล ง ที่ ม าของข อ มู ล ที่ นํ า มาใช ใ นผลงาน
ทางวิชาการของตนเองและแสดงหลักฐานของการคนควา
๓. ตองไมคํานึงถึงประโยชนทางวิชาการจนละเลยหรือละเมิดสิทธิสวนบุคคลของผูอื่นและสิทธิ
มนุษยชน
๔. ผลงานทางวิชาการตองไดมาจากการศึกษาโดยใชหลักวิชาการเปนเกณฑไมมีอคติมาเกี่ยวของ
และเสนอผลงานตามความเปนจริง ไมจงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัยโดยหวังผลประโยชนสวนตัว หรือตองการ
สรางความเสียหายแกผูอื่น และเสนอผลงานตามความเปนจริง ไมขยายขอคนพบโดยปราศจากการตรวจสอบ
ยืนยันในทางวิชาการ
๕. ตองนําผลงานไปใชประโยชนในทางที่ชอบธรรมและชอบดวยกฎหมาย

ขา พเจา ขอรั บรองว า ขา พเจ าไดป ระพฤติ และปฏิ บัติตามหลั กจริ ยธรรมและจรรยาบรรณทาง
วิชาการที่กําหนดไวขางตนทุกประการ และขาพเจาไดรับทราบผลของการละเมิดจริยธรรมและจรรยาบรรณ
ทางวิชาการตามหมวดที่ ๒ ของประกาศ ก.พ.อ. ดังกลาว

(ลงชื่อ) ................................................................................ ผูขอกําหนดตําแหนง


(..............................................................................)
ตําแหนง...............................................................
คณะ.....................................................................
วันที่ เดือน พ.ศ.
183

เอกสารแนบทายประกาศ ก.พ.อ.
เรื่องหลักเกณฑและวิธีการพิจารณาแตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รอง
ศาสตราจารย และศาสตราจารย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐
...................................................
แบบแสดงหลักฐานการมีสวนรวมในผลงานทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ ตํารา หนังสือ งานวิจัย ลักษณะการมีสวนรวมในผลงานวิชาการรับใช
สังคม ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
ชื่อเรื่อง .........................................................................................................................
ผูรวมงาน จํานวน ......................... คน แตละคนมีสวนรวมดังนี้

ชื่อผูรวมงาน ปริมาณงานรอยละ และหนาที่ความรับผิดชอบ

หมายเหตุ :
ลงชื่อ ..................................................................
(...............................................................)

ลงชื่อ ..................................................................
(...............................................................)

ลงชื่อ ..................................................................
(...............................................................)

ลงชื่อ ..................................................................
(...............................................................)
184

แบบขอรับการประเมินผลการสอน
เพื่อเขาสูตําแหนงทางวิชาการ
ของอาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

เรียน ประธานคณะกรรมการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการ

๑. ชื่อ-สกุล .........................................................................................................................................
๒. สังกัดสาขาวิชา .............................................................สังกัดคณะ.................................................
๓. ขอในสาขาวิชา ...............................................................................................................................
๔. วุฒิการศึกษา .................................................................................................................................
๕. เขารับราชการในตําแหนง ..............................................................................................................
เมื่อวัน/เดือน/ป .............................................................................................................................
๖. มีความประสงคขอรับการประเมินผลการสอน เพื่อเขาสูตําแหนงทางวิชาการ
ระดับ ผูชวยศาสตราจารย
รองศาสตราจารย
ศาสตราจารย
๗. ขอนําเสนอเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคําสอน จํานวน ๕ ชุด มาพรอมนี้
เรื่อง ...............................................................................................................................................
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ ........................................................................ (ผูขอรับการประเมิน)


(........................................................................)
วันที่ ........... เดือน ......................................... พ.ศ. .............
แบบสอบถามเพื่อประเมินประสิทธิภาพ
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
คําชี้แจง
แบบสอบถามความคิดเห็นนี้ เปนการสอบถามขอมูลความคิดเห็นของผูดูแลระบบ กรรมการ
สภา และผู เชี่ ย วชาญคอมพิ ว เตอร% ภายหลั ง จากที่ ไ ดทดลองใชโปรแกรมที่ พั ฒ นาขึ้ น แบ. ง การ
ประเมินผลออกเปน 4 ดาน ดังนี้
1. ดาน Functional Requirement Test เปนการประเมินผลความถูกตอง และ
ประสิทธิภาพของระบบว.าตรงตามความตองการของผูใชระบบมากนอยเพียงใด
2. ดาน Functional Test เปนการประเมินความถูกตองและประสิทธิภาพในการทํางาน
ของระบบว.าสามารถทํางานไดตามฟFงก%ชันงานของระบบมากนอยเพียงใด
3. ดาน Usability Test เปนการประเมินลักษณะการออกแบบระบบว.ามีความง.ายต.อการ
ใชงานมากนอยเพียงใด
4. ดาน Security Test เปนการประเมินระบบในดานการรักษาความปลอดภัยของ ขอมูล
ในระบบว.ามีมากนอยเพียงใด

ในการตอบแบบสอบถามนี้ ขอความกรุณาใหท.านดําเนินการดังนี้
ทําเครื่องหมาย ลงในช.องในแบบสอบถามที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท.าน
มากที่สุด โดยตัวเลขของระดับประสิทธิภาพต.อแบบประเมินแต.ละดานมีความหมายดังนี้
5 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในระดับดีมาก
4 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในระดับดี
3 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในระดับที่พอใช
2 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นตองปรับปรุงแกไข
1 หมายถึง โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นไม.สามารถนําไปใชงานได

ตัวอย.างการประเมิน
ระดับประสิทธิภาพ
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
ความง.ายต.อการใชงานของระบบ
186

แบบสอบถาม

ส%วนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม
 ผูดูแลระบบ  กรรมการสภา  บุคลากร  ผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอร%

ส%วนที่ 2 การประเมินผล
2.1 การประเมินระบบดาน Functional Requirement Test เปนการประเมินผลความ
ถูกตอง และประสิทธิภาพของระบบว.าตรงตามความตองการของผูใชระบบมากนอยเพียงใด
ระดับประสิทธิภาพ
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
1. ความสามารถของระบบในดานการประกาศข.าว
2. ความสามารถของระบบในดานการจัดการการประชุม
3. ความสามารถของระบบในดานการจัดการเอกสาร
4. ความสามารถของระบบในดานการคนหาขอมูล
5. ความสามารถของระบบในดานการเพิ่ม ลบ แกไขขอมูล
6. ความสามารถของระบบในดานการแสดงผลในรูปกราฟ
7. ความสามารถของระบบในดานการจัดการงานกําหนดตําแหน.งทาง
วิชาการ
8. ความสามารถของระบบในดานการรายงานผลในรูปแบบเอกสาร
ของโปรแกรม Ms-Word

2.2 การประเมินระบบดาน Function Test เปนการประเมินความถูกตองและประสิทธิภาพ


ในการทํางานของระบบว.าสามารถทํางานไดตามฟFงก%ชันงานของระบบมากนอยเพียงใด
ระดับประสิทธิภาพ
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
1. ความถูกตองในการจัดเก็บขอมูลนําเขา
2. ความถูกตองในการคนหาขอมูล
3. ความถูกตองในการปรับปรุงแกไขขอมูล
4. ความถูกตองในการลบขอมูล
5. ความถูกตองของผลลัพธ%ทไี่ ดจากการประมวลผล
6. ความถูกตองของการผลลัพธ%ในรูปแบบรายงาน
7. ความครอบคลุมของโปรแกรมที่พฒ ั นากับระบบงานจริง
8. การปYองกันขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น
187

2.3 การประเมินระบบดาน Usability Test เปนการประเมินลักษณะการออกแบบระบบว.า


มีความง.ายต.อการใชงานมากนอยเพียงใด

ระดับประสิทธิภาพ
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
1. ความง.ายต.อการใชงานของระบบ
2. ความเหมาะสมในการเลือกใชขนาดของตัวอักษรบนจอภาพ
3. ความเหมาะสมในการใชสีของตัวอักษรและรูปภาพ
4. ความเหมาะสมในการใชขอความ สัญลักษณ%หรือรูปภาพ เพื่อ
อธิบายสื่อความหมาย
5. ความเปนมาตรฐานเดียวกันในการออกแบบหนาจอภาพ
6. ความเหมาะสมในการปฏิสัมพันธ%โตตอบกับผูใช
7. ความเหมาะสมในการวางตําแหน.งของส.วนประกอบบนจอภาพ
8. คําศัพท%ที่ใชผูใชมีความคุนเคยและสามารถปฏิบตั ิตามไดโดยง.าย

2.4 การประเมินระบบดาน Security Test เปนการประเมินระบบในดานการรักษาความ


ปลอดภัยของ ขอมูลในระบบว.ามีมากนอยเพียงใด

ระดับประสิทธิภาพ
รายการประเมิน
5 4 3 2 1
1. การกําหนดรหัสผูใช และรหัสผ.านในการตรวจสอบผูเขาใชระบบ
2. การตรวจสอบสิทธิ์ก.อนการใชงานของผูใชระบบในระดับต.าง ๆ
3. การควบคุมใหใชงานตามสิทธิ์ผูใชไดอย.างถูกตอง

ข)อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขอขอบพระคุณเป,นอย%างสูง

You might also like