You are on page 1of 77

ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์

กรณีศึกษาศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
Scientific sample analysis service request system
Case Studies Science Center Yala Rajabhat University

อัฟฮัม วาหะ
Afham Waha

ปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา
โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
ตามหลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ปีการศึกษา 2565
(ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)
ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
กรณีศึกษาศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
Scientific sample analysis service request system
Case Studies Science Center Yala Rajabhat University

อัฟฮัม วาหะ
Afham Waha

ปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา
โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
ตามหลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ปีการศึกษา 2565
(ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)

ใบรับรองโครงการ
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

เรื่อง ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ กรณีศึกษาศูนย์วิทยาศาสตร์


มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
Scientific sample analysis service request system Case Studies Science
Center Yala Rajabhat University

ผู้ศึกษา นายอัฟฮัม วาหะ รหัสนักศึกษา 406259001


ปริ ญ ญานิ พ นธ์ น ี ้ไ ด้ ร ั บ การตรวจสอบและอนุม ั ต ิใ ห้ เ ป็ นส่ว นหนึ ่ง ของการศึ ก ษาวิช า
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2 ตามหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2565

……………………………………………………………………ประธานกรรมการสอบ
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จีราวุธ มุมินทร์นพมาศ)
………./…..……./……..….

…………………………………………………..………………กรรมการสอบ
(อาจารย์ ดร.อรรถพล อดุลยศาสตร์)
………./…..……./……..….

…………………………………………………..………………กรรมการสอบ
(อาจารย์ อับดุลเลาะ บากา)
………./…..……./……..….

……………………………………………………………………อาจารย์ประจำวิชา
(อาจารย์ สุลัยมาน เภอโส๊ะ)
………./…..……./……..….

……………………………………………………………………อาจารย์ที่ปรึกษา
(อาจารย์ สุลัยมาน เภอโส๊ะ)
………./…..……./……..….

………………………………………………………………ประธานหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อิสมาแอ ล่าเตะเกะ)
………./…..……./……..….

ชื่อโครงงาน ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ กรณีศึกษาศูนย์


วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ผู้จัดทำโครงงาน นายอัฟฮัม วาหะ
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ สุลัยมาน เภอโส๊ะ
หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา
ปีการศึกษา 2565

บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาวิเคราะห์ และออกแบบระบบขอใช้บริการวิเคราะห์
ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ 2.เพื่อลดความกังวลเรื่องเอกสารของผู้มาใช้บริการนั้นจะสูญหายหรือชำรุด 3.
เพื่อศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 1. เจ้าที่ศูนย์วิทยาศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา จำนวน 10 คน 2. ผู้เชี่ยวชาญการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ จำนวน 4 คน สถิติ
ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (𝑥) และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เครื่องมือที่ช่วยในการ
พัฒนาระบบ ประกอบด้วย โปรแกรมภาษาลาราเวล(Laravel) สำหรับสร้าง เว็บไซต์ โปรแกรมวิชวล
สตูดิโอโค๊ด (Visual Studio Code) สำหรับแก้ไขและปรับแต่งโค้ด และจัดการฐานข้อมูลด้วยมายเอช
คิวแอล (MySQL)
ผลการวิจัยพบว่า 1. ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย การ
สมัครสมาชิก ส่งตัวอย่าง พรีวิวตัวอย่าง จัดการตัวอย่าง ประวัติการส่งตัวอย่าง 2. ผลการประเมิน
คุณภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญปรากฏว่าคุณภาพอยู่ในระดับมาก (x = 3.62, S.D. =0.00) และ 3.ผลการ
ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (x=3.28,S.D.=0.67)

Project title Scientific sample analysis service request system (Case Studies
Science Center Yala Rajabhat University)
Author Mr. Afham waha
Advisor Mr. Sulaiman Persoh
Degree Bachelor of Science Program in Computer Science
University Yala Rajabhat
Academic Year 2022

Abstract
The purpose of this study was 1. To study and analyze and designing a system
for requesting scientific sample analysis services 2. To reduce concerns about the
documents of those who use the service will be lost or damaged. 3. To study the
satisfaction of the sample group towards the scientific sample analysis service request
system. The sample group used in the study consisted of 1. 10 experts at the Science
Center and Scientists at Yala Rajabhat University 2. 4 experts in database system
development. Statistics used in data analysis were mean (𝑥) and Standard Deviation
(S.D.) tools to help system development, including Laravel language programs for
building websites, Visual Studio Code programs for editing and modifying code. and
manage databases with MySQL (MySQL)
The research findings were as follows: 1. The system for requesting scientific
sample analysis services consisted of applying for membership, submitting samples,
previewing samples. manage sample Sample submission history 2. The results of system
quality assessment by experts showed that the quality was at a high level (x = 3.62, S.D.
=0.00) and 3. System user satisfaction assessment results Satisfaction was at a high level.
(x=3.28,S.D.=0.67)

กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่ อ งระบบขอใช้ บ ริ ก ารวิ เ คราะห์ ต ั ว อย่ า งทางวิ ท ยาศาสตร์ (กรณี ศ ึ ก ษา ศู น ย์
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)สำเร็จลุลวงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์ สุลัยมานเภอโส๊ะ
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์ สุลัยมาน เภอโส๊ะ อาจารย์ ประจำวิชาที่ได้ช่วยเหลือ แนะนำให้
คำปรึกษาตลอดจนตรวจสอบการทำงานของระบบต่างๆ มาโดยตลอด จนโครงงานเสร็จสมบูรณ์ผู้วิจัย
จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอกราบขอบพระคุณบิดามารดา ที่คอยสนับสนุนด้านการศึกษาและให้กำลังใจมาโดยตลอด
ขอขอบคุณเพื่ อนร่วมทำโครงงานที่ร่วมตัดสินใจ คิดวางแผนและแก้ไขปั ญหาในการทำ โครงงานให้
ดำเนินไปตามขั้นตอนจนสำเร็จ

อัฟฮัม วาหะ
มีนาคม 2566

สารบัญ
หน้า
ใบรับรองการจัดทำโครงงาน..................................................................................................................ก
บทคัดย่อ........................................................................................................................... ......................ค
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (Abstract)…………………………………………………………………………………………..ง
กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................................จ
สารบัญ...................................................................................................................... .............................ฉ
สารบัญตาราง......................................................................................................................... ...............ณ
สารบัญภาพ............................................................................................................................. ..............ญ
บทที่ 1บทนำ...........................................................................................................................1
ที่มาและความสำคัญ....................................................................................................1
วัตถุประสงค์.................................................................................................................1
ขอบเขตโครงงาน..........................................................................................................2
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย.......................................................................................2
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้............................................................................................2
ระยะเวลาและแผนการดำเนินงาน...............................................................................4
นิยามศัพท์เพาะ............................................................................................................7
บทที่ 2ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง....................................................................................8
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง..........................................................................................................8
หลักการและทฤษฎีการวิเคราะห์และออกแบบระบบ..................................................8
วงจรการพัฒนาระบบกระบวนการทางความคิด..........................................................8
แผนภาพกระแสข้อมูล...............................................................................................10
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ...............................................................................15
Laragon web คือ Laragon……………………………………………………………………..……16
ระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL................................................................................16
Visual Studoi Code หรือ VSCode........................................................................17
ภาษา PHP ย่อมาจากคำว่า Personal Home Page Tool……………………….……….17
Laravel Framework………………………………………………………………………………..…..18
CSS Framework………………………………………………………………………………………..…18
Tailind CSS…………………………………………………………………………………………..……..18
JavaScript………………………………………………………………………………………………..….18

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.....................................................................................................18
บทที่ 3ระเบียบวิธีการวิจัย...................................................................................................20
การศึกษาและกำหนดปัญหา......................................................................................20
ศึกษาระบบงานเดิม...................................................................................................20
การรวบรวมเอกสาร...................................................................................................20
ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ........................................................................................20
การรวบรวมความต้องการของระบบ.........................................................................20
ขั้นตอนการออกแบบระบบ........................................................................................28
ER-diagram..............................................................................................................28
Data Dictionary………………………………………………………………………………………..…29
การออกแบบหน้าจอระบบ........................................................................................32
บทที่ 4ผลการวิจัย................................................................................................................33
หน้าจอส่วนการทำงานต่างๆ สำหรับผู้ดูแลระบบ (Admin)………………………………..33
ผลจากการพัฒนาระบบสำหรับผู้ใช้ระบบ (User)……………………………………………….39
ผลการประเมินคุณภาพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ......................................................45
เกณฑ์การให้คะแนนระดับประสิทธิภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ..................................45
เกณฑ์การให้คะแนนระดับประสิทธิภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญเฉลี่ย..........................45
ผลการประเมินคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User)……………………………………………47
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User)
เรียงจากมากไปน้อย.................................................................................................47
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User)
จากอันตราภาคชั้น.....................................................................................................47
บทที่ 5สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ................................................................................51
สรุปผลการวิจัย..........................................................................................................51
ผลการพัฒนาระบบ....................................................................................................51
ผลออกแบบระบบ......................................................................................................51
ผลการประเมินระบบ.................................................................................................52
อภิปรายผลการศึกษา................................................................................................53
ข้อเสนอแนะ..............................................................................................................53

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บรรณานุกรม................................................................................................................... ......................54
ภาคผนวก..............................................................................................................................................55
ประวัติผู้จัดทำโครงงาน..........................................................................................................................63

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 แสดงแผนการดำเนินงาน........................................................................................................4
2 แสดงแผนการดำเนิน (ต่อ)......................................................................................................5
3 แสดงแผนการดำเนิน (ต่อ)......................................................................................................6
4 User Requirement Definition ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์.....21
5 Requirements สำหรับผู้ดูแลระบบ (Admin) ระบบการจัดการแสดงข้อมูลตัวอย่าง
ที่ส่งทั้งหมด...........................................................................................................................22
6 Requirements สำหรับผู้ดูแลระบบ (Admin)
ระบบการจักการข้อมูลตัวอย่างทั้งหมด.................................................................................22
7 Requirements สำหรับผู้ดูแลระบบ (Admin) ระบบการจัดการข้อมูลพารามิเตอร์............23
8 Requirements สำหรับผู้ดูแลระบบ (Admin) ระบบการจัดการข้อมูลประวัติการส่ง
ตัวอย่าง..................................................................................................................... ............24
9 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบสมัครสมาชิก...............................................24
10 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบจัดการข้อมูลส่วนตัว.....................................25
11 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบการจัดการข้อมูลการส่งตัวอย่าง..................25
12 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบการจัดการแสดงข้อมูลที่ส่ง..........................26
13 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบการจัดการข้อมูลตัวอย่าง.............................26
14 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User)
ระบบการจัดการข้อมูลประวัติการส่งข้อมูลตัวอย่าง..............................................................27
15 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบชำระเงิน......................................................27
16 ข้อมูลสมาชิก.........................................................................................................................29
17 ข้อมูลที่อยู่.............................................................................................................................30
18 ข้อมูลที่อยู่ (ต่อ).....................................................................................................................30
19 ข้อมูลขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง......................................................................................30
20 ข้อมูลพารามิเตอร์.................................................................................................................31
21 ข้อมูลราคาพารามิเตอร์.........................................................................................................31
22 ข้อมูลไฟล์แลบ....................................................................................................................31
23 ผลการประเมินคุณภาพระบบ...............................................................................................46
24 แสดงผลการประเมินคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User).....................................................48

สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1 เปรียบเทียบสัญลักษณ์ที่ใช้ในแผนภาพกระแสข้อมูล.........................................................12
2 สัญลักษณ์ของ E-R Diagram.............................................................................................13
3 Use case Diagram ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์.......................28
4 ER-Diagram ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์...................................29
5 การออกแบบหน้า login เข้าใช้งาน....................................................................................32
6 การออกแบบหน้าการจัดการระบบ....................................................................................32
7 หน้าแสดงหน้าเข้าสู่ระบบสำหรับเจ้าหน้าที่........................................................................33
8 แสดงหน้าแรกของระบบ....................................................................................................33
9 แสดงเมนูหน้าหลัก.............................................................................................................34
10 หน้าพริวิวตัวอย่างทั้งหมด สามารถกดรับงาน ตรวจสอบงาน
แนบไฟล์แลบ ดูสถานะ ดูข้อมูลที่กรอก..............................................................................35
11 แสดงหน้าดูข้อมูลที่กรอก....................................................................................................35
12 แสดงหน้าแนบไฟล์แลบที่ผ่านการตรวจสอบ......................................................................36
13 แสดงเมนูการจัดการตัวอย่างทั้งหมด..................................................................................36
14 แสดงเมนูจัดการข้อมูลพารามิเตอร์.....................................................................................37
15 แสดงเมนูเพิ่มข้อมูลพารามิเตอร์.........................................................................................37
16 แสดงเมนูข้อมูลพารามิเตอร์................................................................................................38
17 แสดงเมนูระบุราคาพารามิเตอร์..........................................................................................38
18 แสดงเมนูข้อมูลราคาพารามิเตอร์.......................................................................................39
19 แสดงเมนูประวัติทั้งหมด.....................................................................................................39
20 หน้าแรกสำหรับผู้ใช้งาน......................................................................................................40
21 แสดงหน้า login เข้าสู่ระบบการใช้งานสำหรับผู้ใช้............................................................40
22 แสดงเมนูหลักของผู้ใช้งานที่เป็นสมาชิกบุคคลภายนอก.....................................................41
23 หน้าแสดงข้อมูลส่วนตัว......................................................................................................41
24 แสดงหน้าส่งตัวอย่าง..........................................................................................................42
25 หน้าแสดงพรีวิวตัวอย่างทั้งหมด..........................................................................................42
26 หน้าแสดงดูข้อมูลที่กรอก....................................................................................................43
27 หน้าแสดงชำระเงิน.............................................................................................................44

สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
28 หน้าแสดงการจัดการข้อมูลตัวอย่าง...................................................................................44
29 หน้าแสดงประวัติการส่งตัวอย่าง.........................................................................................45
บทที่ 1
บทนำ
การศึกษาโครงงานระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ (กรณีศึกษา ศูนย์
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา) โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
1.1 ทีม่ าและความสำคัญ
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ขอบเขตโครงงาน
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.5 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.6 ระยะเวลาและแผนการดำเนินงาน
1.1 ที่มาและความสำคัญ
เทคโนโลยีดิจิทัลได้เข้ามาเป็นบทบาทต่อการดำรงชีวิต การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ดิจิทัล
ทำให้โลกปัจจุบันก้าวเข้าสู่ยุค เทคโนโลยีดิจิทัล อันส่งผลต่อความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการในทุก ๆ
ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การแพทย์ การพาณิชย์ธุรกิจ บันเทิง การศึกษา การสื่อสาร เป็นต้น โดย
ทั่วโลกให้ความสำคัญกับ การลงทุน ทางเทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือ ในการพัฒ นา
ประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสารจึงเป็นเครื่องมือที่ ช่วย
เพิ่มประสิทธิภาพ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและแม่นยำในการจัดทำข้อมูล และการวิเคราะห์ ข้อมูล การ
เก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่างๆ ในงานจัดการข้อมูลในองค์กรได้ง่าย
ระบบงานเดิมของศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ต้องขอใบขอใช้บริการวิเคราะห์
ตัวอย่างที่ศูนย์วิทย์และกรอกข้อมูลขอใช้บริการ และนำตัวอย่างที่ต้องการตรวจ ส่งให้กับเจ้าหน้าที่
เจ้าหน้าที่ก็จะนำใบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง ให้กับนักวิทยาศาสตร์ เพื่อแจ้ง ว่า มีตัวอย่างที่จะ
ตรวจ รอนักวิทย์ตรวจ 15 วัน นักวิทย์ก็จะส่งใบรายงานผลทดสอบคุณภาพตัวอย่างให้กับเจ้าหน้าที่
เจ้าหน้าที่ก็จะตรวจความเรียบร้อยของข้อมูลในเอกสาร เจ้าหน้าที่ก็จะส่งให้กับ งานธุรการจัดพิมพ์
หนังสือขอแจ้งเก็บค่าบริการตรวจวิเคราะห์ประสาน/แจ้งผู้ใช้มารับบริการ รับผลวิเคราะห์และชำระเงิน
ปัญหาพบเจอคือการจัดเก็บข้อมูลยังเป็นกระดาษ แยกเป็นหมวดหมู่ชุดของข้อมูล ก็ยั งไม่
สามารถว่างใจได้ ว่าข้อมูลเหล่านั้นยังจะจัดเก็บที่ตรงนั้นหรือไหม ก่อให้เกิดความสับสนของการจัดเก็บ
ข้อมูลเหล่านั้นและก่อให้เกิดปัญหา เรื่องข้อมูลหายหรือ ชำรุดและ ผู้ใช้ไม่สามารถทราบว่าเอกสารนั้น
เจ้าหน้าที่ได้การรับหรือยังหรืออยู่ขั้นตอนในแล้วบ้างแล้วในส่วนราคาที่ต้องชำระ
จากปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยเห็นถึงความสำคัญของข้อมูลผู้มาขอใช้บริการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่าง
เพื่อลดความกังวลเรื่องเอกสารของผู้มาใช้บริการนั้นจะสูญหายหรือชำรุด และไม่ต้องการให้ผู้ใช้บริการ
นั้นมาทำใบข้อใช้บริการใหม่ ในส่วนของระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง ผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูล
2

ตัวอย่างและใส่ภาพตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์และดูสถานะของเอกสารว่าอยู่ในสถานะอะไรโดยผู้ใชไม่
ต้องกังวนว่าเอกสารจะสูญหาย ผู้ใช้สามารถเข้าสู้ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างเพื่อเช็คสถานะ
ข้อมูลที่ส่งนั้นอยู่ในส่วนสถานะอะไรและได้รับผลทดสอบคุณภาพวันไหน ราคาเท่าไร่จะแสดงบนหน้า
เว็บแอพพลิเคชัน
ดั ง นั ้ น ผู ้ ว ิ จ ั ย จึ ง มี แ นวคิ ด ในการทำระบบขอใช้ บ ริ ก ารวิ เ คราะห์ ต ั ว อย่ า งทางวิ ท ยาศาสตร์
(กรณีศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา) เพื่อเพิ่มความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ดูแล
ของหน่วยงาน ในการจัดการข้อมูลผู้มาขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีระบบ
ฐานข้อมูลเข้ามาช่วยในการจัดการให้ข้อมูลมีความปลอดภัยและง่ายต่อการเรียกใช้ข้อมูลในส่วนต่างๆ
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ศึกษา วิเคราะห์ และออกแบบระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
2. เพื่อลดความกังวลเรื่องเอกสารของผู้มาใช้บริการนั้นจะสูญหายหรือชำรุด
3. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทาง
วิทยาศาสตร์
1.3 ขอบเขตโครงงาน
1.3.1 ผู้ใช้บริการ จะมี2 ประเภท
1. ผู้ใช้ภายนอก คือ ผู้ใช้งานระบบที่เป็นบุคคลทั่วไปที่ยังไม่มีการสมัครสมาชิก
2. ผู้ใช้ภายใน คือ ผู้ใช้งานระบบที่เป็นสมาชิกของศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
1. สามารถกรอกข้อมูลขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
2. สามารถจัดการข้อมูลผู้ใช้บริการ ได้แก่ เพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูล
3. สามารถเลือกพารามิเตอร์มากกว่าหนึ่งพารามิเตอร์ผ่านเว็บแอพพลิเคชัน
4. สามารถเช็คสถานะของตัวอย่างที่ส่งผ่านเว็บแอพพลิเคชัน
5. สามารถรู้ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมจากพารามิเตอร์ทเี่ ลือกได้ทันทีผ่านเว็บแอพพลิเคชัน
6. สามารถดูประวัติการส่งตัวอย่างผ่านเว็บแอพพลิเคชัน
7. สามารถดูเป็นไฟล์PDFในส่วนที่กรอกขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง
1.3.2 เจ้าหน้าที่
1. สามารถดูข้อมูลผู้ส่งขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
2. สามารถเช็คข้อมูลตัวอย่างที่ส่งถูกต้องหรือไม่ผ่านเว็บแอพพลิเคชัน
3. สามารถกำหนดสถานะของตัวอย่างที่ส่งผ่านเว็บแอพพลิเคชัน
4. สามารถดูประวัติการส่งข้อมูลของผู้ขอใช้บริการทั้งหมดแต่ละเดือนและวัน
5. สามารถจัดการข้อมูลผู้ใช้บริการ ได้แก่ เพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูล ลบข้อมูล
6. สามารถจัดการข้อมูลพารามิเตอร์ ได้แก่ เพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูล ลบข้อมูล
3

7. สามารถจัดการข้อมูลระบุราคาพารามิเตอร์ ได้แก่ เพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูล ลบข้อมูล

1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ สามารถจัดการเก็บรักษาข้อมูลที่สำคัญ
ขององค์กร
2.สามารถเช็คข้อมูลที่หลังได้โดยไม่ต้องกังวนว่าข้อมูลที่กรอกนั้นจะศูนย์หาย
3.สามารถดูประวัติของผู้มาใช้บริการในแต่ล่ะรอบของเดือน
1.5 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.5.1 ซอฟต์แวร์
- Laragon web server
- Visual Studio Code
1.5.2 ภาษา
- MySQL
- Laravel , HTML
- Tailwind CSS , Javascript
1.5.3 แบบประเมิน
- แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ
- แบบประเมินคุณภาพของระบบโดยผู้ใช้งาน
4

1.6 ระยะเวลาและแผนการดำเนินงาน
ตารางที่ 1 แสดงแผนการดำเนินงาน
ระยะเวลา 2565 2566
กิจกรรม มี.ค. - เม.ย. พ.ค. - มิ.ย. ก.ค. - ส.ค. ก.ย. - ต.ค. พ.ย. - ธ.ค. ม.ค. - มี.ค.
1.การรวบรวมความต้องการ(Requirement
gathering)
1.1 ศึกษาระบบงานเดิม
1.2 เอกสารเกี่ยวกับศูนย์วิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
1.3 เอกสารเกี่ยวกับใบขอใช้บริการ
วิเคราะห์ตัวอย่าง
1.4 เอกสารเกี่ยวกับอัตราค่าบริการตรวจ
วิเคราะห์และทดสอบตัวอย่าง
2.การออกแบบพัฒนาระบบ(Design)
2.1 ออกแบบฐานข้อมูล
- เขียนออกแบบฐานข้อมูล
2.2 ออกแบบเว็บแอพพลิเคชัน
(ผู้ให้บริการAdmin)
- ระบบการจัดการแสดงข้อมูลทั้งหมด
- ระบบการจักการข้อมูลตัวอย่าง
5

ตารางที่ 2 แสดงแผนการดำเนินงาน (ต่อ)


ระยะเวลา 2565 2566
กิจกรรม มี.ค. - เม.ย. พ.ค. - มิ.ย. ก.ค. - ส.ค. ก.ย.- ต.ค. พ.ย.- ธ.ค. ม.ค. - มี.ค.
- ระบบการจัดการข้อมูลพารามิเตอร์
- ระบบการจัดการข้อมูลประวัติการรับ
ตัวอย่างที่ส่ง
2.3 ออกแบบเว็บแอพพลิเคชัน(ผู้ใช้บริการ
User)
- ระบบสมัครสมาชิก
- ระบบจัดการข้อมูลส่วนตัว
- ระบบการจัดการข้อมูลการส่งตัวอย่าง
-ระบบการจัดการแสดงข้อมูลที่ส่ง
- ระบบการจัดการข้อมูลประวัติการส่ง
ข้อมูลทั้งหมด
- ระบบชำระเงิน
3.ออกแบบตั ว ต้ น แบบเว็ บ แอพพลิ เ คชั น
(prototype)
4.แบบประเมินระบบ
6

ตารางที่ 3 แสดงแผนการดำเนินงาน (ต่อ)


ระยะเวลา 2565 2566
กิจกรรม มี.ค. - เม.ย. พ.ค. - มิ.ย. ก.ค. - ส.ค. ก.ย.- ต.ค. พ.ย.- ธ.ค. ม.ค. - มี.ค.
4.1 แบบประเมินประสิทธิภาพของระบบ
โดยผู้เชี่ยวชาญ
4.2 แบบประเมินคุณภาพของระบบโดย
ผู้ใช้งาน
5. ต้นแบบระบบที่ละเอียด(Refined
Prototype)
6.ทดสอบระบบ
ทดสอบระบบ
7

1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ
1. ผู้ใช้ภายนอก คือ ผู้ใช้งานระบบที่เป็นบุคคลทั่วไปที่ยังไม่มีการสมัครสมาชิก
2. ผู้ใช้ภายใน คือ ผู้ใช้งานระบบที่เป็นสมาชิกของศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ยะลา
3. เจ้าหน้าที่ คือ ผู้ดูแลระบบที่สามารถเข้าถึงจัดการข้อมูลทั้งหมดของระบบ
บทที่ 2
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การจัดทำโครงงานเรื่องระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ (กรณีศึกษา ศูนย์
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา) ครัง้ นี้ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
2.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1.1วงจรชีวิตการพัฒนาซอฟต์แวร์ (SDLC) Software Development Life Cycle
(SDLC) เป็นกรอบที่กำหนดขั้นตอนที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาซอฟต์แวร์ในแต่ละขั้นตอน ครอบคลุมแผน
โดยละเอียดสำหรับการสร้าง การปรับใช้ และการบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ SDLC กำหนดวงจรที่สมบูรณ์
ของการพัฒนา นั่นคืองานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องในการวางแผน การสร้าง การทดสอบ และการปรับใช้
ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์
2.1.2โมเดลต้นแบบ โมเดลที่พัฒนาต้นแบบก่อนซอฟต์แวร์จริงโมเดลต้นแบบมีความสามารถ
ในการทำงานที่จำกัดและประสิทธิภาพที่ไม่มีประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับซอฟต์แวร์จริง ฟังก์ชัน Dummy
ใช้ในการสร้างต้นแบบ นี่เป็นกลไกที่มีคุณค่าในการทำความเข้าใจความต้องการของลูกค้าซอฟต์แวร์
ต้นแบบถูกสร้างขึ้นก่อนซอฟต์แวร์จริงเพื่อรับคำติชมอันมีค่าจากลูกค้า คำติชมถูกนำมาใช้และต้นแบบ
จะได้รับการตรวจสอบอีกครั้งโดยลูกค้าสำหรับการเปลี่ยนแปลงใดๆ กระบวนการนี้ดำเนิ นต่อไปจนกว่า
แบบจำลองจะได้รับการยอมรับจากลูกค้าเมื่อการรวบรวมความต้องการเสร็จสิ้น การออกแบบอย่าง
รวดเร็วจะถูกสร้างขึ้นและสร้างต้นแบบที่นำเสนอต่อลูกค้าเพื่อการประเมินความคิดเห็นของลูกค้าและ
ความต้องการที่ได้รับการปรับปรุงจะใช้ในการปรับเปลี่ยนต้นแบบและนำเสนอต่อ ลูกค้าอีกครั้งเพื่อการ
ประเมิน เมื่อลูกค้าอนุมัติต้นแบบแล้ว ก็จะใช้เป็นข้อกำหนดในการสร้างซอฟต์แวร์จริง ซอฟต์แวร์จริง
สร้างขึ้นโดยใช้แนวทางแบบจำลองน้ำตก
2.1.2.1ข้อดีของโมเดลต้นแบบ
- โมเดลต้นแบบช่วยลดต้นทุนและเวลาในการพัฒนาเนื่องจากพบข้อบกพร่องเร็วกว่ามาก
- คุณลักษณะหรือฟังก์ชันการทำงานที่ขาดหายไปหรือการเปลี่ยนแปลงความต้องการสามารถระบุได้ใน
- ขั้นตอนการประเมินและสามารถนำไปใช้ในต้นแบบที่ได้รับการปรับปรุง
- การมีส่วนร่วมของลูกค้าตั้งแต่ระยะเริ่มต้นช่วยลดความสับสนในข้อกำหนดหรือความเข้าใจในฟังก์ชัน
การทำงานใดๆ
9

2.1.2.2ข้อเสียของโมเดลต้นแบบ:
- เนื่องจากลูกค้ามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ลูกค้าจึงสามารถเปลี่ยนความต้องการของผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย
ได้ ซึ่งจะเพิ่มความซับซ้อนของขอบเขตและอาจเพิ่มเวลาการส่งมอบผลิตภัณฑ์
2.1.3 Web Application (เว็บแอพพลิเคชั่น)การพัฒนาระบบงานในเว็บไซต์ ซึ่งมี
ระบบการไหลเวียนในแบบออนไลน์ (Online) ทั้งแบบโลคอล (Local) ภายในวงแลน (Lan) และ โก
ลบอล (Global) ออกไปยังเครื่อข่ายอินเทอร์เน็ต ทำให้เหมาะสำหรับงานที่ต้องการข้อมูลแบบเรียลไทม์
(Real Time)เป็นการสร้างแอพพลิเคชั่นหรือโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อการท างานเฉพาะด้าน และ
ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อเป็นเบราว์เซอร์สำหรับการใช้งานเว็บเพจต่าง ๆ เว็บแอพพลิเคชั่นสามารถตอบสนอง
ปัญหาข้างต้นได้เป็นอย่างดี และสามารถแทนที่เดสก์ท็อป แอพพลิเคชั่นที่เป็น Client-Server
Application ได้เป็นอย่างดี KTn Develop เราบริการด้านการบริหารจัดการเว็บไซต์ ดูแลเว็บไซต์
ออกแบบเว็บไซต์ให้ประสบความสำเร็จและตอบสนองตามเงื่อนไขและความต้องการของทางบริษัท การ
ทำงานของเว็บแอพพลิเคชั่นนั้นสามารถทำงานได้ในทุกอุปกรณ์ เพียงแค่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและเปิด
เว็บเบราว์เซอร์ได้เท่านั้นก็เพียงพอ
2.1.4 Laragon web server คื อ เป็ น โปรแกรมจำลองที ่ ช ่ ว ยให้ เ ครื ่ อ งของเรา
ทำงานเป็น Web Server สำหรับภาษา PHP, nodejs, Python,java, Go, Ruby รวดเร็ว เบา ใช้งาน
ง่ายและขยายได้ง่ายเหมาะอย่างยิ่งสำหรับการสร้างและจัดการเว็บแอปพลิเคชันสมัยใหม่ เน้นที่
ประสิทธิภาพ การออกแบบคำนึงถึงความเสถียร ความเรียบง่าย ความยืดหยุ่น และอิสระ ส่วนการ
ทำงานในไบนารีหลักนั้นน้อยกว่า 2MB และใช้ RAM น้อยกว่า 4MB เมื่อทำการรันซึ่ง Laragon ไม่ได้ใช้
Windows services มีการจัดการบริการของตัวเองซึ่งจัดการบริการแบบอะซิงโครนัส และไม่มี การ
บล็อก ดังนั้นจะพบว่า Laragon ทำงานได้อย่างรวดเร็วและราบรื่น วิธีการติดตั้ง laragon นั้นก็ง่ายมาก
แค่ 3 ขั้นตอน เพียงดาวน์โหลดเวอร์ชันล่าสุดแล้วคลิก Next, Next, Next... แล้วรอจรติดตั้งเสร็จก็จะได้
โปรแกรม laragon
2.1.5 ระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL คือ โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล ที่
พัฒนาโดยบริษัท MySQL AB มีหน้าที่เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ รองรับคําสั่ง SQL เป็นเครื่องมือ
สําหรับเก็บข้อมูลที่ต้องใช้ร่วมกับเครื่องมือหรือโปรแกรมอื่นอย่างบูรณาการ เพื่อให้ได้ระบบงานที่
รองรับความต้องการของผู้ใช้ เช่นทํางานร่วมกับเครื่องบริการเว็บ (Web Server) เพื่อให้บริการแก่
ภาษาสคริปต์ที่ทํางานฝั่งเครื่องบริการ (Server-Side Script) เช่น ภาษา php ภาษา aps.net หรือ
ภาษาเจเอสพี เป็นต้น หรือทํางานร่วมกับโปรแกรมประยุกต์ (Application Program) เช่น ภาษาวิชวล
เบสิกดอทเน็ต ภาษาจาวาหรือภาษาซีชาร์ปเป็นต้น ซึ่งโปรแกรมจะถูกออกแบบให้สามารถทํางานได้บน
10

ระบบปฏิบัติการที่หลากหลาย และเป็นระบบฐานข้อมูลโอเพนทซอร์ท (Open Source)ที่ถูกนําไปใช้


งานมากที่สุด
2.1.5.1 MySQL ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (RDBMS : Relational Database
Management System) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกของ internet
เนื่องจาก
- mysql เป็นฟรีแวร์ทางด้านฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง
- นักพัฒนาฐานข้อมูลที่เคยใช้mysql ต่างยอมรับในความรวดเร็ว การรองรับจํานวนผู้ใช้
และขนาดของข้อมูลจํานวนมหาศาล
- สนั บ สนุ น การใช้ ง านบนระบบปฏิ บ ั ต ิ ก ารมากมาย เช่ น UNIX OS/2 MAC OS
Windows
- สามารถใช้งานร่ว มกับ Web Development platform เช่น C, C++ , Java, Perl,
PHP, Python, TCL, หรือ ASP
- ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆในอนาคตทุกวันนี้มี
การนํา mysql ไปใช้ในระบบต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะเป็นระบบเล็กๆที่มีจํานวนตารางข้อมูลน้อย เช่น
ระบบฐานข้อมูลของแผนกเล็กๆไปจนถึงระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น ระบบบัญชีเงินเดือนในปัจจุบัน
ได้มีการใช้ mysql เป็น Database Server เพื่อการทํางานสําหรับฐานข้อมูลบนเว็บมากขึ้นโครงสร้าง
การทํางานของ mysql เป็นลักษณะการทํางานแบบ client/server ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนหลักๆคือ
ส่วนของผู้ให้บริการ (Server) และ ส่วนของผู้ใช้บริการ (Client) โดยในแต่ละส่วนก็จะมีโปรแกรม
สําหรับการทํางานตามหน้าที่ของตน ส่วนของผู้ให้บริการ (Server) เป็นส่วนที่ทําหน้าที่บริหารจัดการ
ระบบฐานข้อมูล ก็คือ ตัว mysql server นั่นเอง และเป็นที่จัดเก็บข้อมูลทั้งหมด
2.1.6 Visual Studio Code หรือ VSCode เป็นโปรแกรม Code Editor ที่ใช้ในการ
แก้ไขและปรับแต่งโค้ด จากค่ายไมโครซอฟท์ มีการพัฒนาออกมาในรูปแบบของ OpenSource จึง
สามารถนำมาใช้งานได้แบบฟรี ๆ ที่ต้องการความเป็นมืออาชีพ ซึ่ง Visual Studio Code นั้น เหมาะ
สำหรับนักพัฒนาโปรแกรมที่ต้องการใช้งานข้ามแพลตฟอร์ม รองรับการใช้งานทั้งบน Windows,
macOS และ Linux สนับสนุนทั้งภาษา JavaScript, TypeScript และ Node.js สามารถเชื่อมต่อกับ
Git ได้ นำมาใช้งานได้ง่ายไม่ซับซ้อน มีเครื่องมือส่วนขยายต่าง ๆ ให้เลือกใช้อย่างมากมาก ไม่ว่าจะเป็น
1.การเปิดใช้งานภาษาอื่น ๆ ทั้ง ภาษา C++, C#, Java, Python, PHP หรือ Go 2.Themes
3.Debugger 4.Commands เป็นต้น
11

2.1.7 Laravel Framework คือ PHP Framework ตัวหนึ่งที่ถูกออกแบบมาเพื่อ


พัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นต่างๆในรูปแบบ MVC (Model Views Controller) ซึ่งมีการแบ่งโค้ดของระบบ
ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ Model, View และ Controller ตามชื่อที่เรียกเลย ซึ่งแต่ละส่วนก็จะมีหน้าที่
แตกต่างกันไป

ภาพที่ 1 MVC (Model Views Controller)


2.1.7.1 Model คือ โค้ดส่วนที่ใช้สำหรับติดต่อกับฐานข้อมูล จัดการนำข้อมูลเข้าหรือออกจาก
ฐานข้อมูล เพื่อนำไปประมวลผล
2.1.7.2 View คือ โค้ดส่วนที่ใช้แสดงผลออกทางหน้าจอ เพื่อติดต่อรับคำสั่งหรือข้อมูลจาก
ผู้ใช้งาน
2.1.7.3 Controller คือ โค้ดส่วนที่ใช้ประมวลผลการทำงานตามที่ได้รับคำสั่งหรือข้อมูลจาก
ผู้ใช้งาน เป็นส่วนที่ควบคุมการทำงานของระบบ
มีจุดเด่นและข้อดีคือ ทำให้การเขียนโค้ดของเรานั้น ดูสะอาดสามารถอ่านและแก้ไขได้ง่าย แถม
ยังสามารถดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรี ๆ โดยผู้พัฒนาคือ นาย Taylor Otwell ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ MIT
และ Source Code ได้ถูกเก็บไว้บน Host ของ Github ซึ่งในปัจจุบันกำลังเป็นที่นิยมนำมาใช้งานอย่าง
แพร่หลายทำให้สามารถหาข้อมูลหรือตัวอย่างเกี่ยวกับตัว Laravel Framework ได้อย่างง่ายดาย หมด
ห่วงเมื่อติดปัญหาที่คิดไม่ตกหรือแก้ไม่ได้เพราะสามารถหาข้อมูลดูได้ทางอินเทอร์เน็ต อีกทั้งตัว Laravel
นั้นยังมีการอัพเดทอยู่ตลอดเวลาทำให้เรามั่นใจได้ว่า Framework นี้จะยังคงมีการพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ
นั้นเอง
2.1.7.4 โครงสร้างของ Laravel Framwork
12

ภาพที่ 2 โครงสร้างของ Laravel Framwork


2.1.7.5 หน้าที่ของโฟลเดอร์และไฟล์ที่มือใหม่ควรรู้
* app เป็นโฟลเดอร์ที่ใช้เก็บไฟล์เช่น Model หรือ Controller ที่ใช้ในการประมวลผลและเชื่อมต่อกับ
ฐานข้อมูล
* database เป็นโฟลเดอร์ที่ใช้เก็บไฟล์เกี่ยวกับ Migrations และ Seeding เพื่อใช้ในการสร้าง Table
หรือใส่ข้อมูลในฐานข้อมูลผ่านคำสั่ง “artisan”
* public ใช้เก็บพวก Javascript, CSS รวมไปถึง File index และ .htaccess โดยเป็นตัวจัดการไฟล์ที่
สามารถเข้าถึงได้
* resources ใช้เก็บโฟลเดอร์ที่ใช้ในส่วนของการแสดงผลต่าง ๆ (Views และส่วนที่เกี่ยวข้อง ฯ)
* routes เป็นส่วนที่ใช้เก็บไฟล์ในการกำหนด Url ของ web (File routes)
* storage เป็นส่วนของคลังพื้นที่จัดเก็บข้อมูลตระกูล Session, caches หรือไฟล์ที่ถูกทาง blade
engine ทำการ compiled มาแล้ว
* tests เป็นส่วนที่ใช้จัดการพวก automated tests เช่น unit test
* .env เป็นไฟล์ที่ใช้ config laravel กับ ฐานข้อมูล

2.1.7.6 จุดเด่นของ Laravel Framework


13

* การเรียกใช้งานคลาสต่าง ๆ ที่ง่ายขึ้นเพราะ Laravel เรียกใช้งานคลาสโดย Name


Space โดยคำสั่งที่สั้นและเข้าใจง่าย
* ส่ว นขยายของ Laravel ที่ช ื่อว่า Bundle ซึ่งช่ว ยให้ประหยัดเวลาในการเขียน
Code ลงเป็นอย่างมากโดยใช้คำสั่งผ่าน Command Line ในการติดตั้งผ่านคำสั่ง “php artisan”
แทน

ภาพที่ 3 การเรียกใช้งานคลาสต่าง ๆ Laravel Framwork


* Eloquent ORM ชุดคำสั่งหรือเครื่องมือในการแสดงผลและคำนวนข้อมูลต่างๆ ใน
ฐานข้อมูลสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก Eloquent
* Unit testing สามารถสร้าง Unit test ขึ้นมาเพื่อทดสอบงานของตัวเองได้ โดย
สร้างผ่านชุดคำสั่ง สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก artisan
* View Composer ส่วนของ Code HTML ที่นำมาเรียงติดต่อกัน และจะทำงาน
หลังจากประกอบกัน เสร็จ เรีย บร้อยแล้ว เช่นเราแบ่งส่ว น header, container, footer และนำมา
เรียกใช้ต่อกันภายหลังเป็นต้น
* Routing สามารถกำหนดชื ่ อ ของ Url เพื ่ อ ชี ้ ไ ปยั ง ส่ ว นต่ า ง ๆ เช่ น View หรื อ
Controller ตามที่ต้องการได้คำสั่งอ่านและเข้าใจง่ายมากสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก Routing

ภาพที่ 4 Restful Controller สามารถกรองชนิดการส่งคำร้องขอจากฟอร์ ม ทั้ง


แบบ Post, Get, Put/Patch, Delete
14

2.1.8 HTML ภาษาHTML มีต้นแบบมาจากภาษาเอสจีเอ็มแอล (SGML ย่อมาจาก Standard


Generalized Markup Language) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ได้เฉพาะ กับประเภท ของคอมพิวเตอร์ สิ่งที่
HTML รั บ มาจาก เอสจี เ อ็ ม แอล คื อ การประกาศค่ า และ การกำหนดรู ป แบบเอกสาร ( DTD :
Document Type Definition) ในปี พ.ศ.2533 (ค.ศ.1990) นาย ทิม เบอร์เนอร์ส -ลี (Tim Berners-
Lee) แห่ ง ศู น ย์ ป ฏิ บ ัต ิ ก ารวิ จ ั ย ทางอนุ ภ าคฟิ ส ิ ก ส์ ข องยุ โ รป (CERN: Conseil Europeen Pour La
Recherche Nucleaire) ซึ ่ ง ตั ้ ง อยู ่ ท ี ่ ก รุ ง เจนี ว า สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ได้ ก ำหนดไว้ ว ่ า เพื ่ อ สร้ า งสื ่ อ ที่
นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ส ามารถจะเผยแพร่ ผ ลงาน และใช้ อ ้ า งอิ ง ได้ ต ลอด 24 ชั ่ ว โมง และสร้ า ง
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่รองรับภาษาท้องถิ่น ที่ไม่ขึ้นกับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Platform) หรือ
ระบบเครือข่ายใด ๆ จากนั้นได้แพร่ขยายออกไประบบนี้จึงได้ตั้งชื่อที่เป็นที่รู้จักกันคือ เวิลด์ไวด์เว็บ
จนถึงปัจจุบัน
พ.ศ.2533 (ค.ศ. 1991) อินเทอร์เน็ตได้เกิดและเติบ โตขึ้น พร้อมกับภาษาคอมพิวเตอร์ และโพรโทคอ
ลจำนวนมากเพื่อรองรับกับ การเติบโตอย่างรวดเร็วของอินเทอร์เน็ต หนึ่งในภาษาคอมพิวเตอร์และ
โปรโตคอลนั้นคือ ภาษาHTMLและ ทั้งนี้ถึงแม้ว่าเวิลด์ไวด์เว็บจะเป็นเพียงส่วน หนึ่งของอินเทอร์เน็ต แต่
ได้รับความนิยมอย่างสูงและรวดเร็ว โพรโทคอลHttp ซึ่งเป็นส่วนย่อยของ โพรโทคอล TCP/IP จึงได้รับ
การพัฒนาเพื่อสนับสนุนภาษาHTML ซึ่งใช้ในการจัดเก็บเอกสารบนเวิลด์ไวด์เว็บเวอร์ชั่นต่างๆของ
HTML การพัฒนาและถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลาย จึงทำให้เกิดมาตรฐานในกำหนดรูปแบบเวอร์ชั่นต่างๆ
ดังต่อไปนี้
HTML 1.0 เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2536 (ค.ศ.1993) นาย ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี (Tim Berners-Lee)
และนายเดป แรคเก็ต (Dave Raggett) ได้กำหนดให้เอกสารภาษา HTML ที่พัฒนาขึ้นต้องไม่ทำให้
เอกสารที่สร้างขึ้นนั้นอ่านไม่ได้ “Any standard must not make exiting documents (As Far As
Possible)
HTML 2.0 เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2538 (ค.ศ.1995)พัฒนาโดย IETF (International Engineering
Task ForceX) ซึ่งมุ่งหวังให้สามารถเปิดแสดงผลกับเว็บเบราว์เซอร์ที่ใช้งานทั่วไปได้ ได้รับการยอมรับ
เป็นมาตรฐานที่สมบูรณ์ แต่อย่างไรก็ดี บริษัท Netscape และบริษัท Microsoft ต่างก็เพิ่มคำสั่งใหม่ๆ
ลงในโปรแกรมของตนเอง เพื่อให้ผู้ให้ออกแบบเพจสามารถใช้ฟังก์ชันอื่น นอกเหนือไปจาก HTML 2.0
HTML 3.0
เกิดขึ้นในปี พ.ศ 2538 (ค.ศ 1995) ได้พัฒนาภาษา HTML ให้มีความสามารถเพิ่มขี้น โดยการเพิ่มการ
ทำงานเกี่ยวกับตาราง ปรับข้อความล้อมรอบภาพ และ แสดงส่วนที่มีความซับซ้อนได้ดีขี้น รวมทั้งช่วย
15

ให้เว็บเบราว์เซอร์ย้อนกลับไปดูเว็บเพจหน้าที่เคยเข้าไปชมมาก่อนแล้วได้ดีกว่า HTML 2.0 หรือเรียกปุ่ม


เครื่องมือนั้นว่า “Backward”
HTML 3.2 เกิดขึ้นในปี พ.ศ 2539 (ค.ศ 1996) ได้มีการเพิ่มองค์ประกอบย่อย( Element)
และ คุณลักษณะ (Attribute) ที่สามารถทำงานร่วมกับหลาย ๆ เว็บเบราว์เซอร์
HTML 4.0 เกิดขึ้นในปี พ.ศ 2540 (ค.ศ 1997) ความต้องการของนักออกแบบที่เพิ่มมากขึ้น
ทำให้องค์กร W3C ตกลงประกาศใช้ โดยมีความสามารถใช้คำสั่งใหม่ ๆช่วยให้ผู้ออกแบบเพจ สามารถ
ควบคุมรูปแบบเอกสาร การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้วยซีเอสเอส (CSS ย่อมาจาก Cascading
Style Sheets) การฝังออบเจคของโปรแกรมเสริมเพื่อแสดง รูปภาพและเสียง การสร้างฟอร์ม ได้ดีขึ้น
และใช้ร่วมกับภาษาสคริปต์ (Scripting Language ) คือ การเขียนคำสั่งสั้นๆ ที่เรียกว่า สคริปต์ (Script)
แบบต่าง ๆ เพื่อให้เว็บเพจสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้มากขึ้น โดยสคริปต์ที่เขียนขึ้นนั้น ต้องนำไป
แทรกในไว้ภาษา HTML แต่ทั้งนี้เว็บเบราว์เซอร์นั้นจะต้องสนับสนุนฟังก์ช ันของ HTML 4.0 ด้วย
ความสามารถในการจัดการกับ Object Model โดย HTML 4.0 ถูกแบ่งออกเป็น 3 ประเภทได้แก่
- แบบเคร่ ง ครั ด (Strict HTML 4.0) เป็ น เอกสาร Hypertext ที ่ เ ขี ย นด้ ว ยภาษา HTML 4.0 ตาม
มาตรฐานอย่างเคร่งครัด แท็กใดที่คณะกรรมการชุดนี้ นิยามว่า ล้าสมัย(Deprecate) หรือ ให้เลิกใช้
(Obsolete) ก็จ ะไม่ใช้คำสั่งนั้น ในการเขียนเอกสาร ซึ่งในความเป็นจริงในขณะนี้ ยังคงไม่มี เว็บ
เบราว์เซอร์ ใด สนับสนุนภาษา HTML 4.0 อย่างเคร่งครัด แต่คาดว่าในอนาคต อันใกล้ น่าจะมีความ
เป็นไปได้
- แบบค่อยเป็นไป (Transitional/ Loose HTML 4.0) เป็นเอกสารที่สร้างด้วยภาษา HTML 4.0 โดยใช้
ร่วมกับคำสั่งใน HTML เวอร์ชัน 3.2 เพื่อให้ เอกสารที่สร้างขึ้นมีรูปแบบและใช้งานได้ตามจริง แม้ว่าจะ
ใช้กับเว็บเบราว์เซอร์ ระบบเครือข่าย และประเภท คอมพิวเตอร์ที่หลากหลายก็ตาม และแน่นอนว่า
เอกสารที่สร้างขึ้นจะถูกจัดให้อยู่ในเป็นประเภทนี้
- แบบเฟรมเซ็ท (Frameset HTML 4.0) เป็นเอกสารที่รวมเอาประเภท Transitional เข้ากับคำสั่งแท็ก
ประเภทเฟรม ได้แก่ Frame, Frameset, Noframes และ Iframeซึ่งเป็นแท็ก ใหม่เพิ่งจะมีในเวอร์ชัน
4.0 นี้
HTML 4.01 เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2540 (ค.ศ.1997) ได้พัฒนาปรับปรุงที่ผิดพลาดให้สมบูรณ์มี
การทำงานประสิทธิภาพสูงมากขึ้น
ในปัจจุบันทาง W3C ผลักดัน รูปแบบของHTML แบบใหม่ โดยเปลี่ยนไปพัฒนาภาษามาตรฐานใหม่ที่
ชื่อว่า XHTML ย่อมาจากคำว่า Extensible Hyper Text Markup Language มาใช้ในการสร้างเว็บ
เพจ เพื่อขยายการใช้ เว็บเพจไปสู่อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้เพิ่มมาขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้าง XML
16

(eXtensible Markup Language) ที่มีห ลักเกณฑ์ในการกำหนดโครงสร้างที่มาตรฐานดีกว่า มาใช้


ทดแทน HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
HTML 5.0ป็นมาตรฐานของภาษาHTML ที่อยู่ในระหว่างการพัฒนาภาษามาร์กอัป สำหรับ รุ่น
ต่อไป ได้ออกเผยแพร่การใช้งานเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ.2551 โดยภาษา HTML 5.0 มีรูปแบบสอง
แบบที่ร่วมกันคือ แบบดั้งเดิม และแบบที่สองคือ XHTML ที่ใช้ในการจัดโครงสร้างและการแสดงผลของ
เนื้อหาสำหรับเวิลด์ไวด์เว็บ มาตรฐานใหม่จะมีคุณลักษณะเด่นที่สำคัญ ได้แก่
- การใช้งานวิดีโอ
- การแสดงตำแหน่งทางภูมิศาสตร์
- การเก็บไฟล์ในลักษณะออฟไลน์
- การแสดงกราฟิกส์
- ชนิดของการป้ อ นข้ อ มูล แบบใหม่ เช่น search, number, range, color, tel, url, email, date,
month, week, time, datetime, datetime-local
โดยคุณสมบัติเด่นหลายอย่างไม่จำเป็นต้องติดตั้งซอฟต์แวร์เพิ่ม เช่น เกียรส์ แฟลช หรือ ซิลเวอร์ไลต์
เหมือนที่ผ่านมาในการใช้งาน HTML 4.0
HTML 5.0 ได้มีการแนะนำ องค์ประกอบของ HTML ใหม่หลายตัวเพื่อตอบสนองการใช้งาน
ของเว็บไซต์รุ่นใหม่ โดยส่วนหนึ่งเป็นซีแมนติก คือ วิธีการที่จะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าถึงเว็บไซต์
ที่สัมพันธ์กันได้โดยอัตโนมัติ และยังสามารถดึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันออกมาจากฐานข้อมูลแบบสเปรดชีต
(Spreadsheet) หรือ ไฟล์รูปภาพได้ด้วย ในขณะที่ภาษา HTML รุ่นก่อน เพียงแสดงข้อมูลผ่านทางเว็บ
เบราว์เซอร์เท่านั้น คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถรู้ว่าข้อมูลเหล่านั้น คือ อะไรและมีความสัมพันธ์กัน
อย่างไร ผู้ใช้จะต้องเป็นผู้ตัดสินใจเลือกว่าจะเข้าไปที่เว็บไซต์ใด จึงจะได้ข้อมูลที่ต้องการโดยอาศัยการ
คลิกไปตามการเชื่อมโยงต่างๆและองค์ประกอบบางตัวที่ตกรุ่นถูกทดแทนด้วยการทำงานด้วยคำสั่ง CSS
2.1.9 Tailwind CSS คือ CSS Utility Framework ที่ช่วยให้นักพัฒนาสร้าง UI ที่
สำคัญได้ด้วยตัวเองอย่างรวดเร็ว และยังสามารถปรับแต่งในรายละเอียดปลีกย่อยได้ง่าย เนื่องจากมา
พร้อมกับ Class สำเร็จรูปสุดอเนกประสงค์ที่ใช้งานได้ทันทีในกรณีที่ต้องการเปลี่ยน UI หลักของเฟรม
เวิร์ก เช่น สี ขนาด การจัดวาง หรือปุ่มต่างๆ นั้นทำให้นักพัฒนาแทบไม่ต้องเข้าไปแก้ไขที่ไฟล์ CSS
2.1.10 JavaScript คือ JavaScript เป็นภาษาโปรแกรมที่นักพัฒนาใช้ในการสร้าง
หน้าเว็บแบบอินเทอร์แอคทีฟ ตั้งแต่การรีเฟรชฟีดสื่อโซเชียลไปจนถึงการแสดงภาพเคลื่อนไหวและแผน
ที่แบบอินเทอร์แอคทีฟ ฟังก์ชันของ JavaScript สามารถปรับปรุงประสบการณ์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการ
ใช้งานเว็บไซต์ และในฐานะที่เป็นภาษาในการเขียนสคริปต์ฝั่งไคลเอ็นต์ จึงเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีหลัก
17

ของ World Wide Web ยกตัวอย่างเช่น เมื่อคุณท่องเว็บแล้วเห็นภาพสไลด์ เมนูดร็อปดาวน์แบบคลิก


ให้แสดงผล หรือสีองค์ป ระกอบที่เ ปลี่ยนแบบไดนามิ กบนหน้าเว็บ นั่นคือคุณเห็นเอฟเฟกต์ ข อง
JavaScript
2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.3.1 งานวิจัยเรื่อง คุณภาพการให้บริการตรวจวิเคราะห์ทดสอบกับผู้ใช้บริการของ
ศูนย์บริการประกันคุณภาพอาหาร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
นำเสนอโดย มัลลิกา กลิ่นภู่ สาขาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผู้รับผิดชอบบทความ การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ (1) เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการตรวจวิเคราะห์
ทดสอบกับผู้ใช้บริการของ ศูนย์บริการประกันคุณภาพอาหาร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์
อาหาร ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล (2) เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการตรวจวิเคราะห์
ทดสอบกับผู้ใช้บริการของศูนย์บริการประกันคุณภาพ อาหาร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์
อาหาร ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำแนกตามปัจจัย ประชากรศาสตร์ (3) เพื่อศึกษาคุณภาพ
การให้บริการตรวจวิเคราะห์ทดสอบกับผู้ใช้บริการของศูนย์บริการประกัน คุณ ภาพอาหาร สถาบัน
ค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำแนกตาม พฤติกรรมการใช้
บริการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่เคยใช้
บริการวิชาการ ของศูนย์บริการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร จำนวน 178 คน โดยใช้แบบสอบถาม
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติการ ทดสอบแบบ t-test สถิติความแปรปรวนทางเดียว (One
way ANOVA) และหากพบความแตกต่างจะนำไป เปรียบเทียบเป็นรายคู่ โดยใช้วิธีของ LSD ผลการ
ทดสอบสมมุ ต ิ ฐ านพบว่ า ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารศู น ย์ บ ริ ก ารประกั น คุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้ต่อเดือน
ต่างกัน มีระดับ ความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการประกันคุณภาพอาหาร สถาบัน
ค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาหาร ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไม่แตกต่างกัน นอกจากนี้
พฤติกรรมการใช้บริการ พบว่า มี 2 ด้าน ได้แก่ ช่วงเวลาในการใช้บริการ และค่าใช้จ่ายในการใช้บริการ
ที่ต่างกัน มีระดับความคิดเห็นต่อคุณภาพการ ให้บริการของศูนย์บริการประกันคุ ณภาพอาหาร สถาบัน
ค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ
ที่ระดับ 0.05 (มัลลิกา กลิ่นภู่, 2559)
18

2.3.2 งานวิจัยเรื่อง ระบบสวัสดิการมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา


สหกรณ์ออมทรัพย์ (อารมย์ กัณหา และพันธ์ศักดิ์ ภูทอง, 2558) คือ การรับฝากเงิน การถือหุ้น
และการให้สินเชื่อ แต่กิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์เป็นสถาบันการเงินในอีกรูปแบบหนึ่ง กล่าวคือ มี
กระแสเงินเข้าระยะยาว ได้แก่ ทุนเรือนหุ้น ซึ่งสมาชิกจะต้องถือหุ้นกับสหกรณ์ และมีกระแสเงินเข้า
ระยะสั้น ได้แก่ เงินรับฝากจากสมาชิกและผลตอบแทนของเงินที่ ให้บริการสินเชื่อแก่สมาชิก รวมทั้ง
ผลประโยชน์ที่เกิดจากการให้บริการทางการเงินต่าง ๆ ของสหกรณ์ ที่ท าให้สมาชิกสามารถ ใช้เงินจน
ก่อให้เกิดประโยชน์ในรูปของความอยู่ดีกินดีได้อย่างแท้จริง เพื่อที่จะให้การบริหารเงินของสหกรณ์ บรรลุ
วัตถุประสงค์ ตามอุดมการณ์ของสหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์จึงควรพิจารณาในเรื่องความสามารถใน
การบริหารงานเชิงธุรกิจอยู่เสมอ สวัสดิการมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (สวัสดิการ, 2561) เป็นสหกรณ์
ออมทรัพย์ประเภทหนึ่งที่จัดตั้งขึ้นจากการ รวมตัวของบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา 4
ประเภท ได้แก่ ข้าราชการ ลูกจ้างประจ า พนักงานราชการ และพนักงาน มหาวิทยาลัย โดยมี
จุดมุ่งหมายหลักของสวัสดิการฯ คือ การออมเงิน และการน าเงินออมสำหรับช่วยเหลือสมาชิกแบบ
เงินกู้ ดอกเบี้ยต่าง โดยมีคณะกรรมการสวัสดิการ 7 คน ผู้ซึ่งได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิกในการประชุม
สามัญประจ าปีของทุกปีท า หน้าที่ด าเนินงานสวัสดิการ โดยคณะกรรมการฯ ท าการรับสมาชิกใหม่ ท
ารายการหักเงินฝากสมาชิกทุกคนส่งให้การเงิน มหาวิทยาลัยหักเงินฝากรายเดือนอย่างน้อยเดือนละ
1,500 บาท น าเงินฝากรายเดือนปล่อยให้สมาชิกกู้ 2 แบบ ได้แก่ 1) เงินกู้ สามัญ สมาชิกสามารถกู้ได้
คนละไม่เกิน 500,000 บาท โดยต้องมีสมาชิกสวัสดิการฯ เป็นผู้ค้าประกัน จำนวน 3 คน ซึ่งจะต้อง จ่าย
เงินกู้คืนรายเดือน ไม่เกิน 60 งวด และ 2) เงินกู้ฉุกเฉิน สมาชิกกู้ได้คนละไม่เกิน 50,000 บาท โดยไม่
ต้องมีผู้ค้ำประกัน ซึ่ง จะต้องจ่ายเงินกู้ คืนรายเดือน ภายใน 10 งวด อย่างไรก็ตาม สมาชิกที่กู้เงิน
สามารถนำเงินมาล้างหนี้เงินกู้ก่อนครบกำหนดได้ โดยจะต้องแจ้งให้คณะกรรมการทราบล่วงหน้าก่อน
การประชุมในแต่ละเดือน สำหรับการถอนเงิน สมาชิกสามารถถอนเงินฝาก ได้ปีละ 1 ครั้งตามจำนวน
เงินที่ฝาก แต่จะต้องคงเงินฝากสะสมไว้อย่างน้อย 35,000 บาท และการลาออก สมาชิกจะสิ้นสุ ด
สมาชิกภาพ 2 กรณี คือ 1) สมาชิกลาออกด้วยความสมัครใจ และ 2) สมาชิก ออกโดยการเกษียณอายุ
ราชการ หรือลาออก จากราชการ หรือเสียชีวิต เมื่อการดำเนินงานครบ 1 ปี คณะกรรมการจะท าการ
สรุปผลการด าเนินงานส่งให้ผู้ตรวจสอบบัญชี ลงนามรับรอง จัดประชุมสามัญประจ าปี เพื่อรายงานผล
การด าเนินงานสวัสดิการฯ ในการนี้สมาชิกจะได้รับค่าตอบแทนในการ เข้าร่วมประชุม และจะได้รับเงิน
ปันผล 2 แบบ ได้แก่ 1) ปันผลเงินฝากสะสมรายเดือน และ 2) ปันผลจากดอกเบี้ยเงินกู้ ทั้งนี้ การ
จัดเก็บข้อมูลในการด าเนินงานของคณะกรรมการสวัสดิการมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาในปัจจุบัน ทำ
19

การจัดเก็บข้อมูลด้วย โปรแกรม Google Sheet ซึ่งอำนวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการในการ


ทำงานในระดับหนึ่ง โดยไม่ได้เปิดให้บริการข้อมูล แก่สมาชิกแต่อย่างใด
2.3.3 งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบจองคิวออนไลน์ส ำหรับการเข้ารับบริการดูแลรักษา
รถยนต์:กรณีศึกษาบริการ
คาร์แคร์ร้านให้บริการเกี่ยวกับการดูแลรักษาและทำความสะอาดรถยนต์หรือที่เรียกว่ าบริการ
คาร์แคร์ (car care service) โดยทั่วไปจะมีบริการถ่ายน้ำมันเครื่อง เช็คลมยาง การบำรุงรักษารถยนต์
ในด้านต่างๆ รวมถึงการล้างสี ดูดฝุ่น ขัดสี เคลือบสี เคลือบแก้ ว ขัดลบรอย และคราบสกปรกต่ างๆ
โดยลูกค้าจะต้องนำรถเข้ามารับบริการที่ร้านหรือศูนย์ให้บริการ แต่ในกรณีที่ลูกค้าไม่สะดวกเดินทางมา
ใช้บริการบางร้านก็จะมีการให้บริการนอกสถานที่ โดยลูกค้ าที่ต้องการที่จะรับบริการจะต้ องโทรศัพท์
จองคิวล่วงหน้าเพื่อนัดระบุวัน เวลา และสถานที่ที่จะรับบริการ ในปัจจุบันรูปแบบการจองคิวเพื่อติดต่ อ
ขอเข้ารับบริการคาร์แคร์ส่วนใหญ่จะทำผ่านทางโทรศัพท์ โดยปัญหาที่เกิดขึ้นคือ เกิดความผิดพลาดใน
การสื่อสาร รวมถึงการใช้ระยะเวลาค่อนข้างนานในการอธิบายรูปแบบการให้บริการคาร์แคร์และโปรโม
ชันต่าง ๆ นอกจากนี้ข้อมูลจะได้รับการจัดเก็บในรูปแบบกระดาษหรือระบบแฟ้มข้ อมูล ทำให้ยากต่อ
การจัดการข้ อมูลรวมถึงการเรี ย กดูข้ อมูลประวัติการเข้ ารับบริการคาร์แคร์ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึ ง มี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบเว็บแอปพลิเคชันสำหรับการจองคิวออนไลน์เพื่อใช้ บริการคาร์แคร์ โดย
ช่วยอำนวยความสะดวกให้ กับลูกค้าให้สามารถเรียกดูข้ อมูลการให้ บริการต่างๆ รวมถึงค่ าใช้จ่ายที่
เกิดขึ้น และทำการจองคิว การรับ บริการผ่ านระบบได้ ด้วยตนเอง นอกจากนี้ยังทำให้ร้ านคาร์แ คร์
สามารถบันทึกข้อมูลในรูปแบบดิจิทัล เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกรายงานสรุปต่าง ๆ รวมถึงทำ
การวิเคราะห์ตา่ ง ๆ ต่อไปได้ในอนาคตได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
2.3.4 งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาการพัฒนาระบบจองห้องพักออนไลน์ กรณีศึกษาอุทยาน
แห่งชาติตาดโตน
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบจองที่พักออนไลน์ กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติตาด
โตนและเพื่อบริหารจัดการระบบที่พักออนไลน์ กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติตาดโตนซึ่งเป็นระบบที่
เกี่ยวข้องกับการจองห้องพักออนไลน์เป็นหลักโดยระบบนี้แบ่งออกเป็น2 ส่วนคือผู้ใช้บริการ และผู้ดูแล
ระบบผู้ใช้บริการสามารถจองห้องพักออนไลน์ยกเลิกแก้ไขข้อมูลการจองห้องพักออนไลน์ผู้ดูแลระบบ
สามารถบริหารจัดการข้อมูลในการจองห้องพักออนไลน์รวมไปถึงการอนุมัติและยกเลิกการจองห้ องพัก
ออนไลน์ ซึ่งทำให้เกิดความสะดวกในการทำงานของระบบจองห้องพักออนไลน์ การจัดเก็บข้อมูล ทำให้
ระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสะดวกรวดเร็ว ข้อมูลมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้นและสามารถ
นำไปใช้งานได้จริงผลการประเมินประสิทธิภาพระบบด้านการท างานของระบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก
20

(𝑥 =4.03)และความพึงพอใจในการใช้งานระบบอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน(𝑥 =4.08)ซึ่งในการทำงาน
ของระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมีความสะดวกรวดเร็วข้อมูลมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้นและสามารถ
นำไปใช้ได้
2.3.5 งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารงานพัสดุ เพื่อการควบคุมวัสดุ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการระบบ
สารสนเทศการบริหารงานพัสดุ เพื่อการควบคุมวัสดุ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 2. เพื่อพัฒนาระบบ
สารสนเทศการบริ ห ารงานพั ส ดุ เพื ่ อ การควบคุ ม วั ส ดุ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สกลนคร 3. เพื ่ อ หา
ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศการบริหารงานพัสดุ เพื่อการควบคุมวัสดุ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สกลนคร 4. เพื่อหาความพึงพอใจของระบบสารสนเทศการบริหารงานพัสดุ เพื่อการควบคุมวัสดุ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สกลนคร จํานวน 98 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ผู้บริหาร ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) จํานวน 14 คน หน่วยงานละ 1 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมี
โครงสร้าง (Structured Interview)กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านพัส ดุ ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้น
(Stratified Random Sampling) จํานวน 84 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้ง
ฉบับเท่ากับ 0.97 และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และวิเคราะห์เชิงเนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการระบบ
สารสนเทศการบริหารงานพัสดุ เพื่อการควบคุมวัสดุ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร พบว่าสภาพปัจจุบัน
มีการกําหนดผู้รับผิดชอบโดยมอบหมายให้เจ้าหน้าที่พัสดุเป็นผู้ควบคุมวัสดุ มีการจัดทําบัญชีเพื่อควบคุม
วัสดุส่วนใหญ่มีการจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มเอกสารสําหรับปัญหาพบว่า การสืบค้นข้อมูลที่มีความล่าช้า ไม่
มีระบบสารสนเทศเพื่อควบคุมวัสดุการรายงานข้อมูลการเบิกจ่ายวัสดุล่าช้าและการตรวจสอบวัสดุทําได้
ยากความต้องการระบบสารสนเทศการบริห ารงานพัสดุ การควบคุมวัสดุครบถ้ว นถูกต้องตรงตาม
ระเบียบสามารถรายงานผลการเบิกจ่ายวัสดุประจํ าปี มีรายงานผลการเบิกจ่ายวัสดุประจําปีย้อนหลัง 3
ปี รายงานผลการเบิกจ่ายวัสดุแต่ละหน่วยงานโดยแยกตามประเภทวัสดุ แยกตามประเภทเงิน รายงาน
ประวัติการจัดซื้อวัสดุล่าสุดเพื่อประกอบการตัดสินใจในการจัดซื้อ 2. การพัฒนาระบบสารสนเทศการ
บริหารงานพัสดุ พบว่า ระบบสารสนเทศมีคุณสมบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ คือ การนําข้อมูลเข้าระบบ การ
ค้นหาข้อมูล และการสรุปผลข้อมูล ครอบคลุมการควบคุมวัสดุในด้านการลงบัญชีเพื่อควบคุมวัสดุ
ข้อมูลด้านการเก็บรักษาวัสดุ ข้อมูลด้านการเบิกวัสดุ ข้อมูลด้านการจ่ายวัสดุ ซึ่งประกอบด้วยโมดูล
สําหรับผู้ใช้งาน 4 กลุ่ม คือ โมดูลสําหรับเจ้าหน้าที่พัสดุ โมดูลสําหรับหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุโมดูลสําหรับ
21

หัวหน้าหน่วยงาน และโมดูลสําหรับผู้ดูแลระบบ3. ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศการบริหารงาน


พัสดุโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านการ
รักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ (Security Test) อยู่ในระดับมากที่สุด 4. ความพึงพอใจของ
ระบบสารสนเทศการบริหารงานพัสดุพบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ
ด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ (Usability Test)อยู่ในระดับมาก
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวิจัย
การพัฒนาระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ (กรณีศึกษาศูนย์วิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)ในครั้งนี้ได้ศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานและการออกแบบตาม
ขั้นตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้
3.1 การศึกษาและการกำหนดปัญหา
3.2 ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ
3.3 ขั้นตอนการออกแบบระบบ
3.1 การศึกษาและการกำหนดปัญหา
ในปัจจุบันหลายองค์กรที่จัดเก็บข้อมูลยังเป็นกระดาษ แยกเป็นหมวดหมู่ชุดของข้อมูลก็ยังไม่
สามารถว่างใจได้ ว่าข้อมูลเหล่านั้นยังจัดเก็บที่ตรงนั้นหรือไหม ก่อให้เกิดความสับสนของการจัดเก็บ
ข้อมูลเหล่านั้นและก่อให้เกิดปัญหา เรื่องข้อมูลหายหรือชำรุดได้
เหตุนี้ ผู้วิจัยได้นำศาสตร์ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ใช้ในการพัฒนาระบบขอใช้บริการ
วิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ (กรณีศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)
3.1.1 ศึกษาระบบงานเดิม
จากการศึ ก ษาข้ อ มู ล เกี ่ ย วกั บ ปั ญ หาต่ า งๆ ที ่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ เจ้ า หน้ า ที ่ ดู แ ลศู น ย์
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และขั้นตอนการพัฒนาระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง ทำ
ให้ทราบถึงปัญหาต่างๆ และขั้นตอนการพัฒนาระบบ เพื่อการพัฒนาระบบขอใช้บริการวิเคราะห์
ตัวอย่าง มากยิ่งขึ้น
3.1.2 การรวบรวมเอกสาร
1. เอกสารเกี่ยวกับศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
2. เอกสารเกี่ยวกับใบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง
3. อัตราค่าบริการตรวจวิเคราะห์และทดสอบตัวอย่าง
4. งานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชัน
3.2 ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ
3.2.1 การรวบรวมความต้องการของระบบ
การรวบรวมความต้องการของระบบ คือ การศึกษาข้อมูลความต้องการของผู้ใช้งานระบบใน
ขอบเขตของระบบที่ต้องการให้เป็นและนำมาวิเคราะห์ระบบงานให้เป็นไปตามความต้องการ โดย
ขั้นตอน การศึกษานั้นสามารถรวบรวมข้อมูลได้หลายๆ แบบ เช่น แบบสอบถาม รวบรวงานวิจัยที่
เกี่ยวข้องหรืออาจเป็นการรวบรวมความต้องการจากระบบงานเดิมที่มีอยู่แล้วจากการวบรวมความ
23

ต้องการของระบบงานทั้งหมดนั้นสามารถออกแบบตาราง User Requirement Definition และ User


Requirements Specification ได้ดังต่อไปนี้
ตารางที่ 4 User Requirement Definition ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง
ทางวิทยาศาสตร์
User Requirement Definition ระบบสำหรับผู้ให้บริการ เจ้าหน้าที่
1.ระบบการจัดการแสดงข้อมูลตัวอย่าง
ที่ส่งทั้งหมด
2.ระบบการจักการข้อมูลตัวอย่าง
ทั้งหมด
3.ระบบการจัดการข้อมูลพารามิเตอร์
4.ระบบการจัดการข้อมูลประวัติการ
รับตัวอย่างที่ส่งข้อมูลตัวอย่าง
ระบบสำหรับผู้ใช้งาน (User)
1.ระบบสมัครสมาชิก
2.ระบบจัดการข้อมูลส่วนตัว
3.ระบบการจัดการข้อมูลการส่ง
ตัวอย่าง
4.ระบบการจัดการแสดงข้อมูลที่ส่ง
5.ระบบการจัดการข้อมูลตัวอย่าง
6.ระบบการจัดการข้อมูลประวัติการส่ง
ข้อมูลตัวอย่าง
7. ระบบชำระเงิน

ตารางที่ 5 Requirements สำหรับผู้ดูแลระบบ (Admin) ระบบการจัดการแสดงข้อมูลตัวอย่างที่ส่ง


ทั้งหมด
System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบการจัดการแสดงข้อมูลตัวอย่างที่ส่งทั้งหมด
Objective 1. เพื่อแสดงข้อมูลขอใช้บริกาวิเคราะห์รตัวอย่างที่ส่ง
ทั้งหมด
Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ
24

User 1. ผู้ดูแลระบบ
Requirement 1. สามารถดูข้อมูลตัวอย่างที่ส่งทั้งหมด
specification 2. สามารถตรวจสอบสถานะตัวอย่าง
3. สามารถดูข้อมูลที่กรอก
4. สามารถดูเป็นไฟล์PDF
5. สามารถแนบไฟล์แลบ
6. สามารถดูสลิปเงินที่โอน

ตารางที่ 6 Requirements สำหรับผู้ดูแลระบบ (Admin) ระบบการจักการข้อมูลตัวอย่างทั้งหมด


System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบการจักการข้อมูลตัวอย่างทั้งหมด
Objective 1. เพื่อแสดงข้อมูลตัวอย่างทั้งหมด
Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ
User 1. ผู้ดูแลระบบ
Requirement 1. สามารถดูข้อมูลชื่อตัวอย่าง
specification 2. สามารถดูชนิดตัวอย่าง
3. สามารถดูจำนวนตัวอย่าง
4. สามารถดูรายละเอียดตัวอย่าง
5. สามารถดูจุดประสงค์ในการวิเคราะห์
6. สามารถดูพารามิเตอร์
7. สามารถดูการรับผลการวิเคราะห์
8. สามารถดูเป็นไฟล์ PDF
9. สามารถแก้ไขข้อมูลตัวอย่างที่ส่ง
10. สามารถลบข้อมูลตัวอย่างที่ส่ง

ตารางที่ 7 Requirements สำหรับผู้ดูแลระบบ (Admin) ระบบการจัดการข้อมูลพารามิเตอร์


System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบการจักการข้อมูลตัวอย่างทั้งหมด
Objective 1.เพื่อจัดการข้อมูลพารามิเตอร์
2.เพื่อจัดการข้อมูลราคาพารามิเตอร์
25

Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ


User 1. ผู้ดูแลระบบ
Requirement 1. จัดการข้อมูลพารามิเตอร์
Specification 1.1 สามารถเพิ่มรายการพารามิเตอร์
1.2 สามารถแก้ไขรายการพารามิเตอร์
1.3 สามารถลบรายการพารามิเตอร์
1.4 สามารถดูรายการพารามิเตอร์
2. จัดการข้อมูลราคาพารามิเตอร์
2.1 สามารถเพิ่มข้อมูลราคาพารามิเตอร์
2.2 สามารถแก้ไขข้อมูลราคาพารามิเตอร์
2.3 สามารถลบข้อมูลราคาพารามิเตอร์
2.4 สามารถดูราคาพารามิเตอร์แต่ละอันมีราคา
เท่าไหร่
2.5 สามารถดูราคาเมื่อก่อนและราคาปัจจุบัน

ตารางที่ 8 Requirements สำหรั บ ผู ้ ด ู แ ลระบบ (Admin) ระบบการจั ด การข้ อ มู ล ประวั ต ิ ก ารส่ ง


ตัวอย่าง
System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบการจัดการข้อมูลประวัติการรับตัวอย่างที่ส่ง
ข้อมูลทั้งหมด
Objective 1. เพื่อแสดงข้อมูลประวัติการส่งตัวอย่าง
Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ
User 1. ผู้ดูแลระบบ
Requirement 1. สามารถดูชื่อผู้ส่งตัวอย่าง
specification 2. สามารถดูชนิดตัวอย่าง
3. สามารถดูจำนวนตัวอย่าง
4. สามารถดูการรับผลการวิเคราะห์
5. สามารถดูวันที่ส่งตัวอย่าง
6. สามารถดูวันที่รับตัวอย่าง
7. สามารถดูรายละเอียดตัวอย่างที่ส่ง
26

8. สามารถค้นหาข้อมูลชื่อผู้ส่งและแสดงวันเดือนปีที่
ส่ง

ตารางที่ 9 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบสมัครสมาชิก


System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบสมัครสมาชิก
Objective 1. เพื่อกรอกข้อมูล ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านในการเป็น
สมาชิก
Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ
User 1. ผู้ใช้งาน
Requirement 1. สามารถดูข้อมูลของตนเองได้
specification 2. สามารถแก้ไขข้อมูลของตนเองได้
3. สามารถเพิ่มข้อมูลขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง
4. สามารถแก้ไขข้อมูลขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง
5. สามารถเลื อ กพารามิ เ ตอร์ ท ี ่ ต ้ อ งการวิ เ คราะห์
มากกว่าหนึ่ง
6. สามารถเข้ า ระบบได้ โดยการป้ อ นข้ อ มู ล
username และ password เท่านั้น
7. สามารถออกจากระบบได้โดยการกดปุ่มออกจาก
ระบบ
ตารางที่ 10 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบจัดการข้อมูลส่วนตัว
System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบจัดการข้อมูลส่วนตัว
Objective 1. เพื่อจัดการข้อมูลส่วนตัว
Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ
User 1. ผู้ใช้งาน
Requirement 1. สามารถดูข้อมูลของตนเองได้
specification 2. สามารถแก้ไขข้อมูลของตนเองได้

ตารางที่ 11 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบการจัดการข้อมูลการส่งตัวอย่าง


27

System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบการจัดการข้อมูลการส่งตัวอย่าง
Objective 1. เพื่อกรอกข้อมูลที่ต้องการขอใช้บริการวิเคราะห์
ตัวอย่าง
Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ
User 1. ผู้ใช้งาน
Requirement 1. สามารถเพิ่มข้อมูลชื่อตัวอย่าง
specification 2. สามารถเพิ่มข้อมูลจำนวนตัวอย่าง
3. สามารถเพิ่มข้อมูลชนิดตัวอย่าง
4. สามารถเพิ่มข้อมูลภาพตัวอย่าง
5. สามารถเพิ่มรายละเอียดตัวอย่าง
6. สามารถเพิ่มข้อมูลจุดประสงค์ในการวิเคราะห์
7. สามารถเพิ่มข้อมูลพารามิเตอร์มากกว่าหนึ่ง
8. สามารถเลือกการมารับผลการวิเคราะห์
9. สามารถแก้ไขข้อมูลขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง

ตารางที่ 12 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบการจัดการแสดงข้อมูลที่ส่ง


System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบการจัดการแสดงข้อมูลที่ส่ง
Objective 1.เพื่อแสดงข้อมูลขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างที่ส่ง
Programmer 1.นายอัฟฮัม วาหะ
User 1. ผู้ใช้งาน
Requirement 1. สามารถดูสถานะของข้อมูลที่ส่ง
specification 2. สามารถดูรายละเอียดของข้อมูลที่ส่ง

ตารางที่ 13 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบการจัดการข้อมูลตัวอย่าง


System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบการจัดการข้อมูลตัวอย่าง
Objective 1. เพื่อแสดงข้อมูลการจัดการข้อมูลตัวอย่าง
Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ
28

User 1. ผู้ใช้งาน
Requirement 1. สามารถดูข้อมูลชื่อตัวอย่าง
specification 2. สามารถดูชนิดตัวอย่าง
3. สามารถดูจำนวนตัวอย่าง
4. สามารถดูรายละเอียดตัวอย่าง
5. สามารถดูจุดประสงค์ในการวิเคราะห์
6. สามารถดูพารามิเตอร์
7. สามารถดูการรับผลการวิเคราะห์
8. สามารถดูเป็นไฟล์ PDF
9. สามารถแก้ไขข้อมูลตัวอย่างที่ส่ง

ตารางที่ 14 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบการจัดการข้อมูล ประวัติการส่งข้อมู ล


ตัวอย่าง
System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
Module ระบบการจัดการข้อมูลตัวอย่าง
Objective 1. เพื่อแสดงข้อมูลการจัดการข้อมูลตัวอย่าง
Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ
User 1. ผู้ใช้งาน
Requirement 1. สามารถดูข้อมูลชื่อตัวอย่าง
specification 2. สามารถดูชนิดตัวอย่าง
3. สามารถดูจำนวนตัวอย่าง
4. สามารถดูรายละเอียดตัวอย่าง
5. สามารถดูจุดประสงค์ในการวิเคราะห์
6. สามารถดูพารามิเตอร์
7. สามารถดูการรับผลการวิเคราะห์
8. สามารถดูเป็นไฟล์ PDF
9. สามารถแก้ไขข้อมูลตัวอย่างที่ส่ง

ตารางที่ 15 Requirements สำหรับผู้ใช้งาน (User) ระบบชำระเงิน


System ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์
29

Module ระบบชำระเงิน
Objective 1. เพื่อแสดงการชำระค่าใช้จ่ายที่ขอใช้บริการ
วิเคราะห์ ด้วยการแนบสลิปการโอนการชำระค่าใช่
จ่าย
Programmer 1. นายอัฟฮัม วาหะ
User 1. ผู้ใช้งาน
Requirement 1. สามารถดูราคาที่ต้องชำระค่าใช่จ่าย
specification 2. สามารถสแกนคิวอาโค้ดเพื่อการชำระค่าใช่จ่าย
3. สามารถแนบสลิปการชำระค่าใช่จ่าย

3.3 ขั้นตอนการออกแบบระบบ
จุดประสงค์หลักของการเขียน Use Case Diagram ก็เพื่ออธิบายเรื่องราวทั้งหมดของระบบว่า
มีการทำงานอะไรบ้าง เป็นการดึง Requirement หรือเรื่องราวต่างๆ ของระบบจากผู้ใช้งาน(ธันวา
สุวรรณวงษ์, 2556) ซึ่งจากการรวบรวมความต้องการของระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทาง
วิทยาศาสตร์ สามารถ
นำมาออกแบบ Use case Diagram ได้ดังนี้

ภาพที่ 5 Use case Diagram ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์


3.4 ER-diagram
E-R Diagram เป็นขั้นตอนของการแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Entity ในลักษณะภาพรวม ซึ่ง
นำไปใช้ในการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Entity ที่มีในระบบขอ
ใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ ดังภาพที่ 4
30

ภาพที่ 6 ER-Diagram ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์


Data Dictionary หรือ พจนานุกรมข้อมูลเป็นรายละเอียดตารางข้อมูลต่างๆในฐานข้ อ มูล
(Database) ซึ่งประกอบด้วยรีเลชั่น (Relation Name), แอตทริบิวต์ (Attribute), ชื่อแทน (Aliases
Name), รายละเอียดข้อมูล (Data Description), แอตทริบิวโดเมน (Attribute Domain) ฯลฯ ทำให้
สามารถค้นหารายละเอียดที่ต้องการได้สะดวกมากยิ่งขึ้น (อัษฎาพร ทรัพย์สมบูรณ์: 2554) การออก
ออกแบบ Data Dictionary ของระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างมีทั้งหมด 6 ตาราง ดังนี้
3.5 Data Dictionary
ตารางที่ 16 ข้อมูลสมาชิก

ลำดับ ชื่อแอตทริบิวต์ (Attribute) ชนิดข้อมูล ขนาด คำอธิบาย คีย์


1 id bigint รหัส PK
2 prefix varchar 10 คำนำหน้ำ
3 name varchar 255 ชื่อ-นามสกุล
4 agc_name varchar 255 ชื่อหน่วยงาน
5 offiliation varchar 255 สังกัด
-ภายนอน
-ภายใน
31

6 tel varchar 255 เบอร์โทรศัพท์


7 house_number varchar 100 บ้านเลขที่
8 road varchar 100 ถนน
9 swine varchar 100 หมู่
10 sub_district varchar 100 ตำบล
11 district varchar 100 เขต
12 province varchar 100 จังหวัด
13 zip_code varchar 100 รหัสไปรษณีย์
14 email varchar 255 อีเมล
15 password varchar 255 รหัสผ่าน
16 role varchar 100 บทบาท
ตารางที่ 17 ข้อมูลที่อยู่
ลำดับ ชื่อแอตทริบิวต์ (Attribute) ชนิดข้อมูล ขนาด คำอธิบาย คีย์
1 address_id bigint ที่อยู่ PK
2 id varchar 255 รหัส
3 house_number varchar 255 บ้านเลขที่
4 road varchar 255 ถนน
5 swine varchar 255 หมู่
6 sub_district varchar 255 ตำบล
7 district varchar 255 เขต
ตารางที่ 18 ข้อมูลที่อยู่ (ต่อ)
ลำดับ ชื่อแอตทริบิวต์ ชนิดข้อมูล ขนาด คำอธิบาย คีย์
(Attribute)
1 province varchar 255 จังหวัด
2 zip_code varchar 255 รหัสไปรษณีย์
ตารางที่ 19 ข้อมูลขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง
ลำดับ ชื่อแอตทริบิวต์ ชนิดข้อมูล ขนาด คำอธิบาย คีย์
(Attribute)
1 id bigint รหัส PK
2 user_id varchar 255 รหัสผู้ใช้
32

3 ss_name varchar 255 ชื่อตัวอย่าง


4 type varchar 255 ชนิดตัวอย่าง
5 amount varchar 255 จำนวน
ตัวอย่าง
6 description varchar 255 รายละเอียด
7 anl_purpose varchar 255 จุดประสงค์
8 prm_purpose varchar 255 พารามิเตอร์
9 price_prm varchar 8,2 ราคา
พารามิเตอร์
10 rec_anl_purpose varchar 100 เลือกการมา
รับ
11 in_completed varchar 100 เสร็จสมบูรณ์
12 date_completed varchar 100 วันที่เสร็จสิ้น
13 slip varchar 100 สลิป
14 status varchar 255 สถานะ
15 ss_image varchar 100 รูป
16 admin varchar 255 เจ้าหน้าที่
ตารางที่ 20 ข้อมูลพารามิเตอร์
ลำดับ ชื่อแอตทริบิวต์ ชนิดข้อมูล ขนาด คำอธิบาย คีย์
(Attribute)
1 prm_id bigint รหัส PK
พารามิเตอร์
2 prm_name varchar 255 ชื่อ
พารามิเตอร์
ตารางที่ 21 ข้อมูลราคาพารามิเตอร์
ลำดับ ชื่อแอตทริบิวต์ ชนิดข้อมูล ขนาด คำอธิบาย คีย์
(Attribute)
1 id bigint รหัส PK
2 prm_id varchar 10 รหัส
พารามิเตอร์
33

3 price_inside decimal 8,2 ราคา


ภายใน
4 price_outside decimal 8,2 ราคา
ภายนอก
5 status varchar 255 สถานะ
ราคา
ตารางที่ 22 ข้อมูลไฟล์แลบ
ลำดับ ชื่อแอตทริบิวต์ ชนิดข้อมูล ขนาด คำอธิบาย คีย์
(Attribute)
1 id bigint รหัส PK
2 send_sample_id varchar 255 รหัสขอใช้
บริการ
วิเคราะห์
ตัวอย่าง
3 labfile varchar 255 ไฟล์แลบ

3.6 การออกแบบหน้าจอระบบ

ภาพที่ 7 การออกแบบหน้า login เข้าใช้งาน


34

ภาพที่ 8 การออกแบบหน้าการจัดการระบบ
บทที่ 4
ผลการวิจัย
การพัฒนาระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์(กรณีศึกษาศูนย์วิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)ผู้วิจัย ได้ด ำเนินการ ศึกษาข้อมูล วิเคราะห์และพัฒ นาระบบงานต่ า งๆ
ตลอดจนการทดสอบและประเมินประสิทธิภาพของระบบ โดย ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ใช้ระบบ (User)
4.1 ผลจากการพัฒนาระบบสำหรับเจ้าหน้าที่ดูแลระบบ
4.2 ผลจากการพัฒนาระบบสำหรับผู้ใช้ระบบ (User)
4.3 ผลการประเมินประสิทธิภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ
4.4 ผลการประเมินคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User)

ภาพที่ 9 หน้าแสดงหน้าเข้าสู่ระบบสำหรับเจ้าหน้าที่
4.1 หน้าจอส่วนเข้าสู้ระบบการทำงานต่างๆสำหรับเจ้าหน้าที่
เจ้าหน้าที่ดูแลระบบสามารถจัดการข้อมูลต่างๆในระบบขอใช้บริการวิเคราะห์
ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ดังภาพที่ 7
36

ภาพที่ 10 แสดงหน้าแรกของระบบ
จากภาพที่ 10 แสดงแถบเมนูการจัดการข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้
สามารถดู หน้าแรก ส่งตัวอย่าง พริวิวตัวตัวอย่าง จัดการข้อมูลตัวอย่าง ประวัติการส่งตัวอย่าง

ภาพที่ 11 แสดงเมนูหน้าหลัก
จากภาพที่ 11 หน้าแรกแสดงคู่มือการใช้งานและอัตราค่าบริการ ดังนี้
สามารถดูคู่มือการใช้งานและ ดูอัตราค่าบริการ
37

ภาพที่ 12 แสดงเมนูพริวิวตัวอย่างทั้งหมด
ภาพที่ 12 หน้าพริวิวตัวอย่างทั้งหมด สามารถกดรับงาน ตรวจสอบงาน แนบไฟล์แลบ ดู
สถานะ ดูข้อมูลที่กรอก ดังนี้ สามารถดูสถานะ กดรับงาน ตรวจสอบงาน แนบไฟล์แลบ ดูข้อมูลที่
กรอก

ภาพที่ 13 แสดงหน้าดูข้อมูลที่กรอก
จากภาพที่ 13 หน้าพดูข้อมูลที่กรอก สามารถกดรับงาน ตรวจสอบงาน แนบไฟล์แลบ ดู
สถานะ ดูข้อมูลที่กรอก ดังนี้ สถานะ กดรับงาน ตรวจสอบงาน แนบไฟล์แลบ ดูข้อมูลที่กรอก ดูข้อมูล
เป็นไฟล์PDF
38

ภาพที่ 14 แสดงหน้าแนบไฟล์แลบที่ผ่านการตรวจสอบ
จากภาพที่ 14 หน้าดูข้อมูลแนบไฟล์แลบที่ผ่านการตรวจสอบ สามารถจัดการได้ดังนี้ แนบไฟล์
แลบที่ผ่านการตรวจสอบได้หลายไฟล์

ภาพที่ 15 แสดงเมนูการจัดการตัวอย่างทั้งหมด
จากภาพที่ 15 หน้าสามารถจัดการตัวอย่างทั้งหมดจัดการข้อมูลได้ ดังนี้ ดูข้อมูลตัวอย่างเป็น
ไฟล์PDF แก้ไขข้อมูลตัวอย่าง ลบข้อมูลตัวอย่าง
39

ภาพที่ 16 แสดงเมนูจัดการข้อมูลพารามิเตอร์

ภาพที่ 17 แสดงเมนูเพิ่มข้อมูลพารามิเตอร์
จากภาพที่ 17 หน้าจัดการเพิ่มข้อมูลพารามิเตอร์ สามารถจัดการข้อมูลได้ ดังนี้ เพิ่มข้อมูล
พารามิเตอร์
40

ภาพที่ 18 แสดงเมนูข้อมูลพารามิเตอร์
จากภาพที่ 18 หน้าข้อมูลพารามิเตอร์ สามารถจัดการข้อมูลได้ ดังนี้ แก้ไขข้อมูลพารามิเตอร์
ลบข้อมูลพารามิเตอร์

ภาพที่ 19 แสดงเมนูระบุราคาพารามิเตอร์
จากภาพที่ 19 หน้าระบุราคาพารามิเตอร์สามารถจัดการข้อมูลได้ ดังนี้ เลือกพารามิเตอร์ ที่
ต้องการ เพิ่มข้อมูลราคาสำหรับหน่วยงานภายใน เพิ่มข้อมูลราคาสำหรับหน่วยงานภายนอก
41

ภาพที่ 20 แสดงเมนูข้อมูลราคาพารามิเตอร์
จากภาพที่ 20 หน้าข้อมูลราคาพารามิเตอร์สามารถจัดการข้อมูลได้ ดังนี้ แก้ไขข้อมูล ราคา
พารามิเตอร์ ลบข้อมูลราคาพารามิเตอร์

ภาพที่ 21 แสดงเมนูประวัติทั้งหมด
จากภาพที่ 21 หน้าประวัติทั้งหมดสามารถจัดการข้อมูลได้ ดังนี้ ค้นหาประวัติข้อมูลผู้ขอใช้
บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ แต่ล่ะเดือนดูรายละเอียด
42

4.2 ผลจากการพัฒนาระบบสำหรับผู้ใช้ระบบ (User)

ภาพที่ 22 หน้าแรกสำหรับผู้ใช้งาน
4.2.1 ผู้ใช้งานระบบที่เป็นลูกค้าทั่วไป สามารถจัดการได้ดังนี้
สามารถดูข้อมูลการมาใช้บริการศูนย์วิทย์ สามารถสมัครสมาชิก
4.2.2 ผู้ใช้งานระบบที่เป็นลูกค้าทั่วไป สามารถจัดการได้ดังนี้

ภาพที่ 23 แสดงหน้า login เข้าสู่ระบบการใช้งานสำหรับผู้ใช้


43

ภาพที่ 24 แสดงเมนูหลักของผู้ใช้งานที่เป็นสมาชิกบุคคลภายนอก

ภาพที่ 25 หน้าแสดงข้อมูลส่วนตัว
จากภาพที่ 25 ผู้ใช้งานสามารถจัดการข้อมูลส่วนตัวได้ ดังนี้ แก้ไขข้อมูลส่วนตัว
44

ภาพที่ 26 แสดงหน้าส่งตัวอย่าง
จากภาพที่ 26 ผู้ใช้งานสามารถจัดการส่งตัวอย่างได้ ดังนี้ กรอกข้อมูลชื่อตัวอย่างกรอกข้อมูล
จำนวนตัวอย่าง เลือกข้อมูลชนิดตัวอย่างแนบภาพตัวอย่างที่ส่ง กรอกข้อมูลรายละเอียดตัวอย่างกรอก
ข้อมูลจุดประสงค์ในการวิเคราะห์เลือกพารามิเตอร์มที่ต้องการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ ติ
กการรับผลการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์

ภาพที่ 27 หน้าแสดงพรีวิวตัวอย่างทั้งหมด
จากภาพที่ 27 ผู้ใช้งานสามารถจัดการข้อมูล พรีวิวตัวอย่างทั้งหมดได้ ดังนี้ ดูสถานะ ชำระเงิน
ดูข้อมูลที่กรอก
45

ภาพที่ 28 หน้าแสดงดูข้อมูลที่กรอก
จากภาพที่ 28 ผู้ใช้งานสามารถจัดการข้อมูลพรีวิวตัวอย่างทั้งหมดได้ ดังนี้ ดูสถานะชำระเงินดู
ข้อมูลที่กรอกดูข้อมูลเป็นไฟล์PDF

ภาพที่ 29 หน้าแสดงชำระเงิน
จากภาพที่ 29 ผู้ใช้งานสามารถชำระเงินตัวอย่างได้ ดังนี้ สามารถสแกนคิวอาโค้ดชำระเงิน ดู
ราคาดูชนิดตัวอย่างแนบสลิบการชำระเงิน
46

ภาพที่ 30 หน้าแสดงการจัดการข้อมูลตัวอย่าง
จากภาพที่ 30 ผู้ใช้งานสามารถจัดการข้อมูลตัวอย่างได้ ดังนี้ แก้ไขข้อมูลตัวอย่าง

ภาพที่ 31 หน้าแสดงประวัติการส่งตัวอย่าง
จากภาพที่ 31 ผู้ใช้งานสามารถจัดการประวัติการส่งตัวอย่างได้ ดังนี้ ดูรายละเอียด
4.2 ผลการประเมินคุณภาพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ
ผู้เชี่ย วชาญระบบได้ดำเนิน การประเมินคุณภาพระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัว อย่าง ทาง
วิ ท ยาศาสตร์ (กรณี ศ ึ ก ษา ศู น ย์ ว ิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ยะลา) โดยใช้ แ บบประเมิ น
ประสิทธิภาพเป็นค าถามปลายเปิดและปลายปิด ในการให้คะแนนระดับประเมินประสิทธิภาพและ
แสดงความคิ ด เห็ น ต่ อ ระบบขอใช้ บ ริ ก ารวิ เ คราะห์ ต ั ว อย่ า งทางวิ ท ยาศาสตร์ (กรณี ศ ึ ก ษา ศู น ย์
47

วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา) ผู้เชี่ยวชาญที่ผู้วิจัยเลือกมาให้ประเมินในครั้งนี้มีจำนวน 4 ท่าน


คือ
1. นายอิควรรณ หะยีดือราเฮง ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์
2. นายแวโซเฟียน แวเย็ง ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์
3. นายอาทิตน์ ดือราโซ ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์
4. นายทวีวุฒิ นาคอหมะ ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์
4.2.1 เกณฑ์การให้คะแนนระดับประสิทธิภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ เรียงจากมาก ไปน้อยดังนี้
4 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับดีมาก
3 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับดี
2 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง
1 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับพอใช้
0 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับปรับปรุง
4.2.2 เกณฑ์ที่ใช้แปลผลระดับประสิทธิภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญเฉลี่ย จากอันตราภาคชั้น ดังนี้
มากกว่าหรือเท่ากับ 3.50 การประเมินผลอยู่ในระดับดีมาก
2.50 – 3.49 การประเมินผลอยู่ในระดับดี
1.50 – 2.49 การประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง
0.50 – 1.49 การประเมินผลอยู่ในระดับพอใช้
น้อยกว่าหรือเท่ากบั 0.49 การประเมินผลอยู่ในระดับปรับปรุง
ผลการประเมินได้ตามตารางที่ 4.1
ตารางที่ 23 (4.1) ผลการประเมินคุณภาพระบบ
เรื่องที่ประเมิน 𝑥 S.D. ระดับการ
ประเมิน
ก. ด้านการวิเคราะห์ระบบ
1.ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและที่มาที่ไปของ 4.00 0.00 ดีมาก
โครงงาน
2.การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ แ ละการเก็ บ รวบรวมความ 4.00 0.00 ดีมาก
ต้องการได้ถูกต้องครบถ้วน
3.การใช้เครื่องมือ (Context Diagram, DFD,อื่นๆ) ได้ถูกต้อง 3.00 0.00 ดี
4.การเขียนพจนานุกรมข้อมูล(Data Dictionary)ได้ ถูกต้อง 3.00 0.00 ดี
5.ความสมบูรณ์และถูกต้องของการวิเคราะห์ระบบโดยรวม 4.00 0.00 ดีมาก
48

ข. ขั ้ น ตอนการออกแบบ Input ,Output, Database,


Process
1.ออกแบบ Input ได้เหมาะสมและเป็นมาตรฐาน 4.00 0.00 ดีมาก
2.ออกแบบ Output ได้เหมาะสมและเป็นมาตรฐาน 4.00 0.00 ดีมาก
3.การออกแบบฐานข้อมูลได้ถูกต้อง 3.00 0.00 ดี
4.การออกแบบ Process ของระบบได้ถูกต้อง 4.00 0.00 ดีมาก
5.ความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนของการออกแบบระบบ 3.00 0.00 ดี
ค. ขั้นตอนการพัฒนา การติดตั้ง และการประเมินผลระบบ
1.ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้พัฒนา 4.00 0.00 ดีมาก
2.ออกแบบ Output ได้เหมาะสมและเป็นมาตรฐาน 4.00 0.00 ดีมาก
3.ความถูกต้องของโปรแกรมและสารสนเทศ 3.00 0.00 ดี
4.มีการทดลองติดตั้งและประเมินประสิทธิภาพระบบงาน 3.00 0.00 ดี
5.สามารถนำระบบงานไปติดตั้งและใช้งานได้จริง 4.00 0.00 ดีมาก
รวม 47 คะแนน 3.62 0.00 ดีมาก
จากตารางที่ 21 พบว่าผลผลการประเมินประสิทธิภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ ภาพรวมอยู่ใน
ระดับ ดีมาก (x̄ = 3.62, S.D. = 0.00) ซึ่งประกอบด้ว ยด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านการวิเคราะห์ระบบ 1.
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและที่มาที่ไปของ โครงงานอยู่ในระดับดีมาก (x̄ = 4.00, S.D. = 0.00)
2. การศึกษาความเป็นไปได้และการเก็บรวบรวมความ ต้องการได้ถูกต้องครบถ้วนอยู่ในระดับดีมาก (x̄=
4.00, S.D. = 0.00) 3. การใช้เครื่องมือ (Use case diagram, ER-Diagram,อื่นๆ) ได้ถูกต้องอยู่ใน
ระดับดี (x̄= 3.00, S.D. = 0.00) 4) ความสมบูรณ์และถูกต้อง ของการวิเคราะห์ระบบโดยรวมอยู่ใน
ระดับดีมาก (x̄= 4.00, S.D. = 0.00) ด้านขั้นตอนการออกแบบ Input, Output, Database, Process
1. ออกแบบ Input ได้ เ หมาะสมและเป็ น มาตรฐานอยู ่ ใ นระดั บ ดี ม าก (x̄ = 4.00, S.D. = 0.00) 2.
ออกแบบ Output ได้เหมาะสมและเป็นมาตรฐานอยู่ในระดับดีมาก (x̄= 4.00, S.D. = 0.00) 3. การ
ออกแบบฐานข้อมูลได้ถูกต้องอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.00, S.D. = 0.00) 4. การออกแบบ Process ของ
ระบบได้ถูกต้องอยู่ในระดับดีมาก (x̄ = 4.00 , S.D. = 0.00) 5) ความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนของการ
ออกแบบระบบอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.00 , S.D. = 0.00) ด้านขั้นตอนการพัฒนา การติดตั้ง และการ
ประเมินผลระบบ 1. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้พัฒนาอยู่ในระดับดีมาก (x̄ = 4.00, S.D.
= 0.00) 2. ความรู้และทักษะการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้พัฒนาอยู่ในระดับดีมาก (x̄ = 4.00, S.D. =
49

0.00) 3. ความถูกต้องของโปรแกรมและสารสนเทศอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.00 , S.D. = 0.00) 4. มีการ


ทดลองติดตั้งและประเมินประสิทธิภาพระบบงานอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.00 , S.D. = 0.00)
4.3 ผลการประเมินคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User)
ระบบขอใช้ บ ริ ก ารวิ เ คราะห์ ต ั ว อย่ า งทางวิ ท ยาศาสตร์ (กรณี ศ ึ ก ษา ศู น ย์ ว ิ ท ยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา) ได้ประเมินโดยผู้ใช้งาน (User) ในด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยใช้
แบบประเมินคุณภาพเป็นคำถามปลายเปิดและปลายปิดในการให้ คะแนนระดับประเมินคุณภาพและ
แสดงความคิ ด เห็ น ต่ อ ระบบขอใช้ บ ริ ก ารวิ เ คราะห์ ต ั ว อย่ า งทางวิ ท ยาศาสตร์ (กรณี ศ ึ ก ษา ศู น ย์
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา) ผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มผู้ใช้งาน (User) เป็นบุคคลทั่วไป จำนวน 10
ท่าน ให้ประเมิน คุณภาพของระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัว อย่าง (กรณีศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา) สำหรับผู้ใช้งาน (User)
4.5.1 เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User) เรียงจากมากไปน้อย ดังนี้
4 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับดีมาก
3 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับดี
2 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง
1 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับพอใช้
0 หมายถึง การประเมินผลอยู่ในระดับปรับปรุง
4.5.2 เกณฑ์ที่ใช้แปลผลระดับคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User) จากอันตราภาคชั้น ดังนี้
มากกว่าหรือเท่ากับ 3.50 การประเมินผลอยู่ในระดับดีมาก
2.50 – 3.49 การประเมินผลอยู่ในระดับดี
1.50 – 2.49 การประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง
0.50 – 1.49 การประเมินผลอยู่ในระดับพอใช้
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.49 การประเมินผลอยู่ในระดับปรับปรุง4
ตารางที่ 24 แสดงผลการประเมินคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User)
รายการประเมิน 𝑥 S.D. ระดับการ
ประเมิน
ก. การออกแบบหน้าจอมีความเป็นมาตรฐาน
1. ความเหมาะสมในการเลือกใช้ชนิด ขนาดตัวอักษรบน 3.60 0.49 ดีมาก
จอภาพ
2.ความเหมาะสมในการใช้สีของตัวอักษรและรูปภาพ 3.30 0.64 ดี
50

3.ความเหมาะสมในการใช้ข้อความสัญลักษณ์หรือรูปภาพ 3.40 0.66 ดี


เพื่ออธิบายสื่อความหมาย
4. ความเป็นมาตรฐานเดียวกันในการออกแบบหน้าจอภาพ 3.20 0.75 ดี
5. ความเหมาะสมในการวางตำแหน่งของส่วนประกอบบน 3.20 0.60 ดี
จอภาพ
ข. การทำงานของระบบ
1. ความถูกต้องในการจัดเก็บข้อมูลนำเข้า 3.60 0.49 ดีมาก
2. ความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล 3.40 0.66 ดี
3. ความถูกต้องของรายงาน 3.30 0.64 ดี
4. ความรวดเร็วในการประมวลผล 3.70 0.46 ดีมาก
5. ความครอบคลุมของโปรแกรมต่อระบบงานจริง 2.90 0.54 ดี
ค. ขั้นตอนด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ
1. ความเหมาะสมในการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้ใช้ 3.20 0.75 ดี
2. คำศัพท์ที่ใช้ ผู้ใช้มีความคุ้นเคยและสามารถปฏิบัติตามได้ 3.60 0.49 ดีมำก
โดยง่าย
3. รายงานเข้าใจได้ง่าย 3.30 0.64 ดี
4. มีการออกแบบหน้าจอให้ใช้งานง่าย เมนูไม่ซับซ้อน 3.30 0.64 ดี
5. ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการใช้งานระบบ 3.40 0.49 ดี
ง. การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ
1. การกำหนดรหัสผู้ใช้ และรหัสผ่านในการตรวจสอบผู้เข้าใช้ 3.30 0.64 ดี
ระบบ
2. การตรวจสอบสิทธิ์ก่อนการใช้งานของผู้ใช้ระบบในระดับ 2.90 0.54 ดี
ต่างๆ
3. การควบคุมให้ใช้งานตามสิทธิ์ผู้ใช้ได้อย่างถูกต้อง 3.10 0.54 ดี
4. การป้องกันการกำหนดรหัสผ่านอย่างง่าย 2.80 0.98 ดี
5. การป้องกันการล้มเหลวของข้อมูลในระบบ 3.10 0.70 ดี
รวม 656 คะแนน 3.28 0.67 ดี

จากตารางที่ 24 พบว่าผลผลการประเมินคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User) ภาพรวมอยู่ ใน


ระดับดี (x̄ = 3.28, S.D. = 0.67) ซึ่งประกอบด้วยด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านการออกแบบหน้าจอ มีความ
เป็นมาตรฐาน 1. ความเหมาะสมในการเลือกใช้ชนิดและขนาดตัวอักษรบนจอภาพอยู่ในระดับดี
51

มาก (x̄ = 3.60, S.D. = 0.49) 2.ความเหมาะสมในการใช้สีของตัวอักษรและรูปภาพอยู่ในระดับดี (x̄ =


3.30, S.D. = 0.64) 3) ความเหมาะสมในการใช้ ข ้ อ ความ สั ญ ลั ก ษณ์ ห รื อ รู ป ภาพเพื ่ อ อธิ บ าย สื่ อ
ความหมายอยู่ในระดั บ ดี (x̄ = 3.40, S.D. = 0.66) 4) ความเป็นมาตรฐานเดียวกันในการออกแบบ
หน้ า จอภาพอยู ่ ใ นระดั บ ดี (x̄ = 3.20, S.D. = 0.75) 5) ความเหมาะสมในการวางตำแหน่ ง ของ
ส่วนประกอบบนจอภาพอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.20, S.D. = 0.60) ด้านการท างานของระบบ 1. ความ
ถูกต้องในการจัดเก็บ ข้อมูล นำเข้าอยู่ในระดับดีมาก (x̄ = 3.60, S.D. = 0.49) 2. ความถูกต้องของ
ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.40, S.D. = 0.66) 3. ความถูกต้องของรายงานอยู่
ในระดับดี (x̄ = 3.30, S.D. = 0.64) 4. ความรวดเร็วในการประมวลผลอยู่ในระดับดีมาก (x̄ = 3.70,
S.D. = 0.46) 5. ความครอบคลุมของโปรแกรมต่อระบบงานจริงอยู่ในระดับดี (x̄ = 2.90, S.D. = 0.54)
ด้านขั้นตอนด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ 1. ความเหมาะสมในการปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้ใช้อยู่ใน
ระดับดี (x̄ = 3.20, S.D. = 0.75) 2. คำศัพท์ที่ใช้ผู้ใช้มีความคุ้นเคยและสามารถปฏิบัติตามได้โดยง่ายอยู่
ในระดับดีมาก (x̄ = 3.60, S.D. = 0.49) 3. รายงานเข้าใจได้ง่ายอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.30, S.D. = 0.64)
4. มีการออกแบบหน้าจอให้ใช้งานง่าย เมนูไม่ซับซ้อนอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.30, S.D. = 0.64) 5) ความ
พึงพอใจในภาพรวมต่อการใช้งานระบบอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.40, S.D. = 0.49) ด้านการรักษาความ
ปลอดภัยของข้อมูลในระบบ 1. การกำหนดรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านในการตรวจสอบผู้เข้าใช้ระบบอยู่ใน
ระดับดี (x̄ = 3.30, S.D. = 0.64) 2. การตรวจสอบสิทธิ์ ก่อนการใช้งานของผู้ใช้ระบบในระดับต่างๆ อยู่
ในระดับดี (x̄ = 2.90, S.D. = 0.54) 3. การควบคุมให้ใช้งานตามสิทธิ์ผู้ใช้ได้อย่างถูกต้องอยู่ในระดับดี (x̄
= 3.10, S.D. = 0.54) 4. การป้องกันการกำหนดรหัสผ่านอย่างง่ายอยู่ในระดับดี (x̄ = 2.80, S.D. =
0.98) 5. การป้องกันการล้มเหลวของข้อมูลในระบบอยู่ในระดับดี (x̄ = 3.10, S.D. = 0.70)
บทที่ 5
สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
จากการพัฒนาและทดสอบระบบระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ ทาง
วิทยาศาสตร์ (กรณีศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา) ผู้วิจัยได้ดำเนินการพัฒนาตาม
ขั้นตอนการวิเคราะห์และออกแบบระบบตั้งแต่ศึกษารูปแบบการดำเนินงานของศูนย์วิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ศึกษาปัญหาและความต้องการ ดำเนินการพัฒนาระบบงานต่างๆ และ
ทดสอบระบบ ตลอดจนการประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของระบบ
โดยผู้ใช้ระบบ (User)
5.1 สรุปผลการศึกษา
5.2 อภิปรายผลการศึกษา
5.3 ข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย
ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้
5.1.1 ผลการพัฒนาระบบ
5.1.1.1 การพัฒนาฐานข้อมูล
การพัฒนาฐานข้อมูลนั้นได้สร้างตารางหลัก 6 ตาราง ได้แก่ สมัครสมาชิก ข้อมูลผู้ใช้ระบบ
ข้อมูลพารามิเตอร์ ข้อมูลรารามิเตอร์ ข้อมูลไฟล์แลบ โดยใช้สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลแบบฐานข้อมูล
Relational Database เป็นฐานข้อมูลที่ใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model)
5.1.1.2 การพัฒนาระบบงาน
การพัฒ นาระบบงานต่างๆ แบ่งเป็น 3 ส่ว น การใช้งานคือ ส่ว นของเจ้าหน้าที่ ดูแลศู น ย์
วิทยาศาสตร์ ส่วนของผู้ใช้ภายนอก (User) และส่วนของผู้ใช้ภายใน (User) ซึ่งทั้ง 3 ส่วน มีลักษณะการ
ใช้งานที่แตกต่างกันดังนี้ 1. ส่วนของเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์วิทย์ สามารถจัดการข้อมูลขอใช้บริการทั้งหมด
2. ส่วนของผู้ใช้ (User) ภายนอก สามารถสมัครสมาชิก จัดการข้อมูลส่วนตัว จัดการข้อมูล ส่งตัวอย่าง
ทางวิทยาศาสตร์ คิดราคาตามอัตราค่าบริการที่กำหนด 3. ส่วนของผู้ใช้ (User) ภายใน สามารถสมัคร
สมาชิก จัดการข้อมูลส่วนตัว จัดการข้อมูล ส่งตัวอย่างวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ในส่วนคิดราคาตาม
อัตราค่าบริการนั้น ไม่คิดค่าบริการ
5.1.1.3 การออกแบบระบบ
53

ออกแบบระบบงานต่างๆ จากผลการศึกษารูป แบบการดำเนินงานของศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย


ราชภัฏ ยะลา วิเคราะห์ร ะบบปั ญหาและความต้ อ งการ โดยใช้ซอฟต์แวร์ภ าษา Laravel, HTML,
Tailwind CSS และระบบจำลองฐานข้อมูล MySQL
5.1.2 ผลการประเมินระบบ
5.1.2.1 ผลการประเมินประสิทธิภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่าผลการประเมิน ระบบ
ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์ (กรณีศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช
ภัฏยะลา) อยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.62 โดยประเมินจากด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านการวิเคราะห์
ระบบ 1. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและที่มาที่ไปของ โครงงาน 2. การศึกษาความเป็นไปได้และ
การเก็บ รวบรวมความ ต้องการได้ถูกต้องครบถ้ว น 3. การใช้เครื่องมือ (Use case diagram, ER-
Diagram, อื่นๆ) ได้ถูกต้อง 4. ความสมบูรณ์และถูกต้องของการวิเคราะห์ระบบโดยรวม ด้านขั้นตอน
การออกแบบ Input, Output, Database, Process 1. ออกแบบ (Input) ได้ เ หมาะสมและเป็ น
มาตรฐาน 2. ออกแบบ (Output) ได้เหมาะสมและเป็นมาตรฐาน 3. การออกแบบฐานข้อมูลได้ถูกต้อง
4. การออกแบบ (Process) ของระบบได้ถูก ต้อง 5. ความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนของการออกแบบ
ระบบ ด้านขั้น ตอนการพัฒนาการติดตั้งและการประเมินผลระบบ 1. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีที่ใช้พัฒนา 2. ความรู้และทักษะการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้พัฒนา 3. ความถูกต้องของ
โปรแกรมและสารสนเทศ 4. มีการทดลองติดตัง้ และประเมินประสิทธิภาพระบบงาน
5.1.2.2 ผลการประเมินคุณภาพระบบโดยผู้ใช้ระบบ (User) พบว่าผลการประเมินระบบ
ขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างศูนย์วิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.28 โดยประเมินจาก
ด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านการออกแบบหน้าจอมีความเป็นมาตรฐาน 1. ความเหมาะสมในการเลือกใช้ชนิด
และขนาดตัวอักษรบนจอภาพ 2. ความเหมาะสมในการใช้สีของตัวอักษรและรูปภาพ 3. ความเหมาะสม
ในการใช้ข้อความสัญลักษณ์หรือรูปภาพเพื่ออธิบายสื่อความหมาย 4. ความเป็นมาตรฐานเดียวกันใน
การออกแบบหน้าจอภาพ 5. ความเหมาะสมในการวางตำแหน่งของส่วนประกอบบนจอภาพ ด้านการ
ทำงานของระบบ 1. ความถูกต้องในการจัดเก็บข้อมูลนำเข้า 2. ความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้จากการ
ประมวลผล 3. ความถูกต้องของรายงาน 4. ความรวดเร็วในการประมวลผล 5. ความครอบคลุมของ
โปรแกรมต่อระบบงานจริง ด้านขั้นตอนด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ 1. ความเหมาะสมในการ
ปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับผู้ใช้ 2. คำศัพท์ที่ใช้ผู้ใช้มีความคุ้นเคยและสามารถปฏิบัติตามได้โดยง่าย 3.
รายงานเข้าใจได้ง่าย 4. มีการออกแบบหน้าจอให้ใช้งานง่ายเมนูไม่ซับซ้อน 5. ความพึงพอใจในภาพรวม
ต่อการใช้งานระบบด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ในระบบ 1. การกำหนดรหัส ผู้ใช้และ
รหัสผ่านในการตรวจสอบผู้เข้าใช้ระบบ 2. การตรวจสอบสิทธิ์ก่อนการใช้งานของผู้ใช้ระบบในระดับ
54

ต่างๆ 3. การควบคุมให้ใช้งานตามสิทธิ์ผู้ใช้ได้อย่างถูกต้อง 4. การป้องกันการกำหนดรหัสผ่านอย่างง่าย


5. การป้องกันการล้มเหลวของข้อมูลในระบบ
5.2 อภิปรายผลการศึกษา
การพัฒนาระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์(กรณีศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)บรรลุตามวัตถุประสงค์ ทุกประการ อันเนื่องมาจากความประสบผลสำเร็จ
ทางด้านวิเคราะห์ออกแบบระบบที่สามารถตอบโจทย์ได้เป็นอย่างดีและจากผลการประเมินคุณภาพ
ประสิทธิภาพของระบบมีผลเป็นที่น่าพอใจกล่าวคือผลการประเมิน ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง
ทางวิทยาศาสตร์(กรณีศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)อยู่ในระดับดี ทั้งนี้ อาจ
เนื่องมาจากการออกแบบระบบที่ง่ายต่อการใช้งานและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน
5.3 ข้อเสนอแนะ
จากการดำเนินการพัฒนาระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่างทางวิทยาศาสตร์(กรณีศึกษา
ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา)ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้และความต้องการพัฒนาระบบใน
อนาคตพบว่ามีข้อเสนอแนะให้เพิ่ม ขั้นตอนในการรายงานผลทดสอบคุณภาพตัวอย่างและ สถานะการ
ดำเนินการตรวจวเคราะห์
บรรณานุกรม
มัลลิกา กลิ่นภู่ สาขาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (2561).ณภาพการ
ให้บริการตรวจวิเคราะห์ทดสอบกับผู้ใช้บริการของ ศูนย์บริการประกันคุณภาพอาหาร สถาบัน
ค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
อารมย์ กัณหา และพันธ์ศักดิ์ ภูทอง. (2558).ระบบสวัสดิการมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ธนกฤต ตินพ สุธารัตน์ ชาวนาฟาง และอุษณีย์ ภักดีตระกูลวงศ์ . การพัฒนาระบบจองคิวออนไลน์
สำหรับการเข้ารับบริการดูแลรักษารถยนต์:กรณีศึกษาบริการคาร์แคร
สนทยา พลพาลสังข์ และ รัช ชนัน ท์ห ลาบมาลา.การพัฒ นาการพัฒ นาระบบจองห้ อ งพั ก ออนไลน์
กรณีศึกษา อุทยานแห่งชาติตาดโตน
สุริยัน นิลทะราชและ สมบูรณ์ ชาวชายโขง. การพัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารงานพัสดุ เพื่อการ
ควบคุมวัสดุมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
วงจรชีวิตการพัฒนาซอฟต์แวร์ (SDLC).เป็นกรอบที่กำหนดขั้นตอนที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาซอฟต์แวร์
ในแต่ละขั้นตอน ครอบคลุมแผนโดยละเอียดสำหรับการสร้าง การปรับใช้ และการบำรุงรักษา
ซอฟต์แวร์
softwarethaiware. (2560) . visualstudio , สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2565. จาก.
https://visualstudio.microsoft.com
softwarethaiware. (2560) . Laragon , สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2565. จาก.
https://shorturl.asia/1mIp2
softwarethaiware. (2560) . MySQL Database , สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2565. จาก.
https://shorturl.asia/gXHz9
softwarethaiware. (2560) . Laravel , สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2565. จาก.
https://shorturl.asia/pOAHm
softwarethaiware. (2560) . HTML , สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2565. จาก.
https://shorturl.asia/Ey3GQ
softwarethaiware. (2560) . Tailwind CSS , สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2565. จาก.
https://shorturl.asia/AOtZx
elfms.ssru.ac.th. (2559). นิยามผู้ภายนอก นิยามผู้ภายใน
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แบบเสนอโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์
ภาคผนวก ข
แบบฟอร์มพบอาจารย์ที่ปรึกษา
ประวัติผู้จัดทำโครงงาน
ชื่อ นายอัฟฮัม วาหะ
โครงงานเรื่อง ระบบขอใช้บริการวิเคราะห์ตัวอย่าง (กรณีศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช
ภัฏยะลา)
สาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร์บันฑิต
ประวัติ
ประวัติส่วนตัว
วันเดือนปีเกิด วันที่
ที่อยู่ปัจจุบัน 3 หมู่ที่ 3 ตำบลแม่ดง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส 96160
อีเมล afham2855@yru.ac.th
ประวัติการศึกษา
วุฒิการศึกษา สถานศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา
ประถมศึกษา โรงเรียนวุฒิศาสตร์วิทยา 2555
มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนรอมาเนีย(มูลนิธิ) 2559
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียน รอมาเนีย(มูลนิธิ) 2562

You might also like