You are on page 1of 8

การประยุกต์ใช้แนวคดิมลิค์รน ั เพือ

่ ลดต้นทุนการขนส่ง กรณี ศก ึ ษา
บริษท
ั ตัวแทนจาหน่ ายเหล็กเส้น Adopting Milk Run Concept for Transportation Cost
Reduction: A Case Study of Steel Bar Distribution Company อุไรวรรณ วรรณศิร

บทความวิจยั นาเสนอการประยุกต์ใช้แนวคิดมิลค์รน ั (Milk Run)


เพือ ่ ลดต้นทุนการขนส่งกรณีศก ึ ษา บริษท ั ตัวแทนจาหน่ ายเหล็กเส้น
ซึง่ มาจากปัญหาการแข่งขันธุรกิจด้านการขนส่งทางถนนทีส่ งู ขึน ้
โดยงานวิจยั นี้มวี ตั ถุประสงค์ คือ 1)
ศึกษาระบบการขนส่งสินค้าของบริษท ั ตัวแทนจาหน่ ายเหล็กเส้น 2) ศึกษาประยุกต์ใช้
แนวคิดมิลค์รน ั (Milk Run) กับ บริษท ั ตัวแทนจาหน่ ายเหล็กเส้น
วิธีการดาเนินงานวิจยั ประกอบด้วยการเก็บข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ ้ มลูนาไปสูก่ ารแก้ไขโดยการนาแนวคิดมิลค์รน ั มาประยุกต์ใช้เพือ
่ เปรียบเทีย
บต้นทุนก่อนและหลังแก้ไข้ปญ ั หา ผลการศึกษาพบว่า รอบการขนส่งแบบดังเดิมมีจานวน 10
รอบต่อสัปดาห์คา่ ขนส่งรวมทัง้ หมด 75,000
บาทต่อสัปดาห์เมือ่ นาแนวคิดมิลค์รน ั มาใชแก้ปญ ั หาเพือ
่ การจัดเส้นทางใหม่สาหรับการขนส่ง
ทาให้ สามารถลดรอบการขนส่งเหลือจานวน 5
รอบต่อสัปดาห์คา่ ขนส่งรวมทัง้ หมดลดลงเหลือ42,500 บาทต่อสัปดาห์
คิดเป็ นอัตราค่าขนส่งทีล่ ดลง 43.33 % ส่งผลให้สามารถลดต้นทุนการขนส่ง
และเพิม ่ ศักยภาพในการแข่งขันทาง ธุรกิจได้ดยี งิ่ ขึน ้
การลดสินค้าคงคลังโดนเทคนิคนิลค์รน ั กรณีศก
ึ ษาอุตสาหากกรรมการผลิต
ชิน
้ ส่วนควยคุมอุณหภูมใิ นอุตสาหกรรมยานยนตร์
กาค้นคว้าอิสระนี้มวี ตั ถุประสงค์เพือ
่ การศึกษาถึงการนาเทคนิคมิลค์รน ั
มาประบุกต์ใข้กบั โรงงานกรณี ศก ึ ษา เพือ ่ ให้ทราบถึงค่าความเปลีย่ นแปลงของสินค้าคงคลัง
รวมทัง้ ความเหามะสมในการนาเทคนิคมิลค์รน ั มาใข้กยัผูจ้ ดั จาหน่ าย 2
รายของโรงงานกรณี ศก ึ ษิ โดยใช้ตวั ชี้วดั ประสิทธิภาพ 4 ตัวคือ มูบค่าสินค้าคงคลังเฉลีย่
และเวลานาระหว่างการจัดส่ง
และอัตราหมุนเวียนสินค้าคลเหลือและจานวนวันของสินค้าคงคลัง
โดยมีการเก็บข้อมูลจากการประยุกต์ใช้เทคนิคมิลค์รน ั (MILK RUN) ของโรงงานกรณี ศก ึ ษา
แบ่งเป็ น 2 ช่วง คือก่อนการปรับปรุง และช่วงการปรับปรุง
ผลการศึกษา เมือ่ มีการประยุกต์ใช้เทคนิคมิลค์รน ั
แล้วสามารถสรุปผลได้ตามตัวชี้วดั ประสิทธิภาพ 4 ตัว คือ มูลค่าสินค้าคงคลังเฉลีย่
และเวลานาระหว่างการจัดส่ง และอัตราหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ
และจานวนวันของสินค้าคงคลัง โดยด้านมูลค่าสินค้าคงคลังเฉลีย่ ของผูจ้ ดั จาหน่ าย ZVC และ
SDT ลดลงทัง้ สองราย โดยอัตราการลดมีวคามแตกต่างกันน้อย
ส่วนด้านเวลานาระหว่างการจัดส่งของผูจ้ ดั จาหน่ ายทัง้ สองรายมีอตั ราการลดลงเท่ากัน
และแตกต่างกันน้อย ผลการทดสอบทางสถิตพ ิ บว่า ช่วงก่อนการปรับปรุง
และช่วงการปรับปรุง แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ 0.05 ส่วน
ด้านอัตราหมุนเวียนสินค้าคงเหลือเพิม ้ โดยมีอตั ราการเพิม
่ ขึน ้ แตกต่างกันน้อย
่ ขึน
ส่วนด้านจานวนวัน ของสินค้าคงคลังลงลด โดยทีอตั ราการลดลงแตกต่างกันน้อย

การลดต้นทุนการขนส่งโดยการศึกษาประยุกต์ใช้การขนส่งแบบมิลค์รน
ั (Milk run)
การศึกษานี้มวี ตั ถุประสงค์เพือ ่ ศึกษาความเป็ นไปได้ในการเปลีย่ นรูปแบบการขนส่ง
ชิน
้ ส่วนเข้าสูโ่ รงงานประกอบรถยนต์จากรูปแบบทีผ ่ ผูล้ ต
ิ ชิน
้ ส่วนจดัสง่ เองจานวน 6
บริษท ั ทีม่ ตี าแหน่ งทีต ่ ง้ ั ในนิคมอมตะนครจังหวัดชลบุรีเป็ นการขนส่งแบบมิลค์รน ั (Milk run)
โดยโรงงาน ประกอบรถยนต์เป็ นผูด ้ าเนินการ โดยได้ใช้ขอ ้ มูลการพยากรณ์ การผลิต 6
เดือนตัง้ แต่เดือน กุมภาพันธ์ถงึ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558
มาใช้ในการคานวณเปรียบเทียบค่าขนส่งการศึกษาครัง้ นี้
มุง่ เน้นศึกษาไปทีต ่ น
้ ทุนการขนส่งทีส่ ามารถลดลงได้จากการเปลีย่ นแปลงรูปแบบการขนส่งจ
าก ผูผ ้ ลิตชิน ้ ส่วนจัดส่งเองเป็ นการขนส่งแบบมิลคร์น ั (Milk run) โดยโรงงานประกอบรถยนต์
เท่านัน ้
โดยมิได้พจิ ารณาศึกษาถึงการจัดเส้นทางการเดินรถและการเปลีย่ นแปลงรูปแบบบรรจุภณ ั ฑ์
ผลการศึกษาสรุปได้วา่ มีความเป็ นไปได้ทจี่ ะเปลีย่ นแปลงรูปแบบการขนส่งจากผผูผ ้ ลิต
จดัสง่ เองเป็ นการขนส่งแบบมิลค์รน ั
โดยบริษท ั กรณี ศกึ ษาเนื่องจากค่าใช้จา่ ยด้านการขนส่งลดลง 523,146 บาทต่อเดือน
หรือคิดเป็ นร้อยละ 67.58 เมือ่ เปลีย่ นการขนส่งเป็ นแบบมิลค์รน ั โดยโรงงานประกอบรถยนต์
การพัฒนาระบบการจัดการสินค้าคงคลัง : กรณีศก
ึ ษาบริษท
ั ติดตัง้
และบารุงรักษาเครือ
่ งจักรของโรงงาน SME
งานวิจยั ครัง้ นี้ มีวตั ถุประสงค์คอ ื เพือ่ เพิม
่ ประสิทธิภาพในการบริหารสินค้าคงคลัง
และเพือ่ ปรับปรุงกระบวนการทางานในระบบสินค้าคงคลังจัดทากลุม ่ ของสินค้า (Product
Category) ลดปริมาณสินค้าทีไ ่ ม่มกี ารเคลือ ่ นไหว
ลดปริมาณการจัดเก็บสินค้าและลดค่าใช้จา่ ยในการจัดเก็บลง
คณะผูว้ จิ ยั ได้ใช้เครือ่ งมือในการหาสาเหตุและปัญหาโดยใบตรวจสอบ (Cheek Sheet)
และแผนผัง ก้างปลา (Ishikawa Diagram) เพือ ่ วิเคราะห์ปญั หาและค้นหาแนวทางแก้ไข
ผลการวิเคราะห์พบว่า บริษท ั มีปญ ั หาเรียงตามความส าคัญดังนี ปัญหาด้านสินค้าคงคลัง
เกิดจากไม่มก ี ารจัดทาระบบสินค้า คงคลัง ไม่มก ี ารบันทึกข้อมูลสินค้าคงคลัง
ขาดการวางแผนการจัดซื้อ การจัดสินค้าไม่เป็ นหมวดหมู่
จากปัญหาดังกล่าวคณะวิจยั ได้ทาการใช้เครือ ่ งมือการจัดการ
ในการแก้ไขปัญหาดังนีการจัดทาใบ บันทึกรายการสินค้า (Stock card) การใช้ทฤษฎี ABC
Analysis ทฤษฎี EOQ การกาหนดกระบวนการ การทางานของการบริหารสินค้าคงคลัง
แนวคิด 5 ส. สินค้าค้างสต๊อกมีการเปลีย่ นแปลงด้านการบริหาร สินค้าคงคลัง สามารถท
างานอย่างเป็ นระบบมากขึ น มีการตรวจนับสินค้าคงคลังและจัดท าใบบันทึก รายการสินค้า
(Stock card) สินค้าคงคลังมีการจัดเรียงหมวดหมูต ่ ามประเภท มีการวางแผนการ
จัดซื้อทีเ่ หมาะสม และมีการระบายสินค้าค้างสต๊อก
ผลจากการดาเนินงานทาให้ตน ้ ทุนสินค้าค้าง สต๊อกลดลง
สรุปผลการวิจยั จากการนาเครือ ่ งมือมาใช้ในการแก้ไขปัญหาด้านการบริหารสินค้าคงคลัง
เพือ่ เพิม
่ ประสิทธิภาพในการบริหารสินค้าสินค้าคงคลังโดยลดการสัง่ ซือ้ ทีซ
่ า้ ซ้อนสามารถคิดเ
ป็ นเงิน ลดลงได้1,533,600 บาท
และปรับปรุงกระบวนการทางานในระบบสินค้าคงคลังจัดทากลุม ่ ของสินค้า (Product
Category) ลดปริมาณสินค้าทีไ ่ ม่มก ี ารเคลือ
่ นไหว ลดปริมาณการจัดเกงบสินค้าและลด
ค่าใช้จา่ ยในการจัดเกงบลงสามารถคิดเป็ นเงินลดลงได้ 671,700 บาท

การวิเคราะห์ปญ
ั หาของการบริหารสินค้าคงคลัง กรณี ศก
ึ ษา บริษท
ั เฟ้ ลป์ส ดอด์จ
อินเตอร์เนชันแนล (ไทยแลนด์) จากัด
การศึกษาวิจยั ครัง้ นี้มวี ตั ถุประสงค์เพือ ่ วิเคราะห์สาเหตุทที่ าให้เกิดปัญหาในการบริหาร
สินค้าคงคลัง และ นาเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา
ในการจัดการระบบในการบริหารสินค้าคงคลัง บริษท ั เฟ้ ลป์ส ดอด์จ อินเตอร์เนชันแนล
(ไทยแลนด์) จากัด เพือให้ทราบถึงสาเหตุของปัญหาในการควบคุมระดับสินค้าคงคลัง และ
สามารถนาข้อมูลทีไ่ ด้ไปจัดการระดับสินค้าคงคลัง ของบริษท ั ให้มป
ี ระสิทธิภาพสูงสุด
เก็บข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์ เชิงลึกจากพนักงานระดับ ผูบ ้ ริหาร ผูจ้ ดั การ และ หัวหน้างาน
จานวน 9 คน การวิเคราะห์ขอ ้ มูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis)
เครือ ่ งมือในการหาสาเหตุและปัญหาโดยใช้แผนผังก้างปลา (Ishikawa diagram)
เพือ ่ วิเคราะห์ปญ ั หาและค้นหาแนวทางแก้ไข
ผลการสัมภาษณ์ ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ สว่ นใหญ่แสดงความเห็นว่าปัญหาการบริหารสินค้าคงคลังขอ
งบริษท ั เฟ้ ลป์ส ดอด์จ อินเตอร์เนชันแนล (ไทยแลนด์) จากัด เกิดจากความผิดพลาดจาก
ตัวพนักงาน พนักงานขาดความรู ้ ทักษะ ความชานาญ ความล่าช้าของการบันทึกข้อมูล
ปัญหาจาก การสือ่ สาร ความผิดพลาดจากการวางแผน ไม่มรี ะบบการควบคุมภายใน
ไม่มก ี ารกาหนดขัน ้ ตอน การทางาน สาหรับข้อเสนอแนะแนวทางแกไขปัญหานัน ้
ผูน
้ าหรือตัวแทนทีเ่ ป็ นกลุม ่ ตัวอย่างได้เสนอแนวทางไว้หลายแนวทาง
ทีเ่ ป็ นประโยชน์ ตอ ่ การพัฒนาระบบการบริหารสินค้าคงคลังของ องค์กร
ซึง่ ข้อมูลทีไ่ ด้ดงั กล่าวนี้ผูบ
้ ริหาร หรือ พนักงาน สามารถนาไปใช้เป็ นข้อมูลในการจัดการ
ระดับการบริหารสินค้าคงคลังของบริษท ั ให้มป
ี ระสิทธิภาพสูงสุด
การประยุกต์ใช้เทคนิคมิลค์รน
ั ในการขนส่งวัตถุดบ
ิ ของบริษท
ั ผูผ
้ ลิตชิน
้ ส่วนรถยนต์
งานวิจยั นี้เป็ นการประยุกต์ใช้เทคนิคมิลค์รน ั ในการขนส่งวัตถุดบ ิ ของบริษท ั ผูผ
้ ลิต
้ ส่วนรถยนต์แห่งหนึ่ง ทีม
ชิน ่ พ ่ ง้ ั อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมปิ่ นทองสาม จังหวัดชลบุรี ซึง่ น
ี ื้นทีต
ามาประยุกต์ใช้กบั การขนส่งชิน ้ ส่วนจากซัพพลายเออร์มายังบริษท ั กรณีศก ึ ษา
โดยมีจด ุ ประสงค์หลักเพือ่ ศึกษาแนวทางการลดต้นทุนค่าขนส่งของบริษท ั กรณีศึกษาและ
เพือ ่ ศึกษาความเป็ นไปได้ในการประยุกต์ใช้เทคนิคมิลค์รน ั ในการขนส่งวัตถุดบ ิ ของบริษท

กรณีศก ึ ษาโดยเลือกกลุม่ ซัพพลายเออร์ตวั อย่าง ทีม ่ พ
ี ื้นทีต
่ ง้ ั ของโรงงานผลิตใกล้เคียงกัน
ผลจากการวิจยั พบว่า การน าเทคนิคมิลค์รน ั เข้ามาใช้กบั การขนส่งชิน ้ ส่วนจาก
ซัพพลายเออร์ตวั อย่างทัง้ หมด 5 ราย มายังบริษท ั กรณีศก ึ ษา สามารถลดจ านวนรถบรรทุก
ทีเ่ ข้ามาในบริษท ั จากเดิม 5 คัน เหลือเพียง 1คันต่อวัน
และค่าใช้จา่ ยจากการขนส่งชิน ้ ส่วนจาก ซัพพลายเออร์
มายังบริษท ั กรณี ศก
ึ ษาโดยเป็ นการขนส่งแบบปกติ มีคา่ ใช้จา่ ยเท่ากับ 175,567.11
บาทต่อเดือน เมือ่ มีการน าเทคนิคมิลค์รน ั เข้ามาช่วย จะมีคา่ ใช้จา่ ยจากการขนส่ง เท่ากับ
69,300.00 บาทต่อเดือน ซึง ่ ท าให้คา่ ใช้จา่ ยจากการขนส่งลดลงเท่ากับ 106,267.11 บาท หรือ
ประมาณ 100,000.00 บาทต่อเดือน
การคัดเลือกผูจ้ ดั หาวัตถุดบ
ิ เพือ
่ เข้าสูร่ ะบบการขนส่งแบบมิลค์รน
ั ของบริษท
ั ผูผ
้ ลิตชิน
้ ส่วนรถ
ยนต์
ผูผ
้ ลิตชิน ้ ส่วนยานยนต์ไทยลาดับที่ 2 และ 3
ส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยมีอานาจในการควบคุมการขนส่งวัตถุดบ ิ แบบทันเวลาพอดี
และความต้องการสินค้าของลูกค้าทีม ่ ก
ี ารแกว่งตัวสูงทาให้ผูป ้ ระกอบการเหล่านี้ตอ ้ งมีการแบ
กรับภาระต้นทุนการเก็บสินค้าสูง ดังนัน ้
ผูผ้ ลิตชิน ้ ส่วนจึงมีแนวคิดทีน ่ าระบบมิลครันมาใช้เพือ ่ ลดการเก็บสินค้าลงเเต่จากลักษณะทีเ่ เต
กต่างของผูจ้ ดั หาวัตถุดบ ิ ทาให้การวนรถขนส่งเพือ ่ ไปรับสินค้าจากผูจ้ ดั หาวัตถุดบ ิ บางรายไม่
คุม ้ ค่าต่อการดาเนินการ
งานวิจยั นี้จงึ ทาการนาเสนอขัน ้ ตอนวิธีการตัดสินใจคัดเลือกผูจ้ ดั หาวัตถุดบ ิ เพือ่ เข้าสูร่ ะบบกา
รขนส่งเเบบมิลค์รน ั ของบริษท ั ผูผ
้ ลิตชิน ้ ส่วนรถยนต์เเละเลือกจานวนรถขนส่งทีจ่ ดั หารายปี
เพือ ่ ให้ตน ้ ทุนรวมจากการดาเนินการต่าลง
โดยเมือ่ เลือกผูจ้ ดั หาวัตถุดบ ิ เข้าสูร่ ะบบมิลค์รน ั เเละเลือกจานวนรถขนส่งเเล้วการว่งเเผนจัดเส้
นทางรายวันทีด ่ ีก็เป็ นส่วนสาคัญทีจ่ ะทาให้ตน ้ ทุนรวมการดาเนินการต่า ดังนัน ้
งานวิจยั นี้จงึ เเบ่งการศึกษาออกเป็ น 2 ส่วน คือ 1
กระบวนการตัดสินใจคัดเลือกผูจ้ ดั หาวัตถุดบ ิ เเละเลือกจานวนรถขนส่งทีต ่ อ้ งจัดหารายปี 2
กระบวนการวางเเผนการขนส่งรายวัน ซึง่ ในส่วนที่ 1
ของงานวิจยั นี้ได้ทาการเสนอวิธีการตัดสินใจคัดเลือกผูจ้ ดั หาวัตถุดบ ิ เเละเลือกจานวนรถขนส่
งขึน ้ มา3วิธี คือ วิธีเเจงนับ (T) ฮิวริสติก (AH) เเละวิธฮ ี ลิ ริสติกพืน
้ ฐาน (BH)
เพือ ่ ให้ตน ้ ทุนรวมรายปี ของการดาเนินการต่า เเละในส่วนที่ 2
การวางเเผนจัดเส้นทางรายวันจะทาการจัดเส้นทางขนส่งด้วยวิธี Nearest Neighbor
เพือ ่ ให้ตน ้ ทุนการดาเนินการรายวันต่า จากการวัดผลพบว่า ทัง้ 3
วิธีการสามารถนาไปใช้งานได้จริงเนื่องจากสามารถลดต้นทุนรวมลงเมือ่ เทียบกับกรณี ไม่ทา
การขนส่งเเบบมิลค์รน ั โดยวิธีเเจงนับให้คาตอบได้ดีกว่าฮิวริสติกประมาณ 1.66%
เเละฮิวริวติดให้คาตอบได้ดีในสถานการณ์ 1 ความต้องการสินค้าสินค้าการเเกว่งตัวสูง 2
ราคาสินค้าทีล่ ดลงจากการไปรับสินค้าด้วยระบบมิลค์รน ั ไม่มากนัก 3
สถานการณ์ ทต ี่ น
้ ทุนการเช่ารถขนส่งรายปี ตา้ จ้างรถภายนอกสูงขึน ้ 4
ผูจ้ ดั หาวัตถุดบ
ิ มีลกั ษณะทีต่ ง้ ั เเบบอยูร่ วมกันเป็ นกลุม

โดยฮิวริสติกทาให้เกิดต้นทุนรวมต่ากว่า ฮิวริสติก ประมาณ 24.66%
การปรับปรุงกระบวนการขนส่งภายในคลังสินค้าโดยใช้แบบจาลองสถานการณ์ กรณี ศก
ึ ษา
อุตสาหกรรมน้าอัดลม
งานวิจยั นี้ศก ึ ษาระบบการขนส่งภายในคลังสินค้ามีวตั ถุประสงค์เพือ ่ ขจัดกิจกรรมทีม ่ ค
ี วามสูญ
เปล่า ทัง้ นี้ได้ เก็บรวบรวมข้อมูลจา นวน 120
ชุดและระบุถงึ ปัญหาทีเ่ กิดจากความสูญเปล่าภายในคลังสินค้า และได้นา เสนอแนวคิด
ของลีนเพือ ่ ลดความสูญเปล่าดังกล่าว
จากการวิเคราะห์ดว้ ยแผนภาพกิจกรรมการไหลของสินค้าพบว่า เกิดการรอคอย
ในกระบวนการจัดส่งและเกิดสินค้าคงคลังปริมาณสูงอันเนื่องมาจากการระบายสินค้าออกได้
ช้า ดังนัน ้ การวิเคราะห์หา แนวทางการลดความสูญเสียด้วยแนวความคิดลีน
และประยุกต์รว่ มกับโปรแกรมจาลองสถานการณ์ เพือ ่ สะท้อนภาพการ ดา
เนินงานในสภาพการณ์ ปจั จุบน ั และผลทีค
่ าดว่าจะได้รบั จากแนวทางการปรับปรุง 2 แนวทาง
ได้แก่ 1) การประยุกต์ ใช้ระบบคัมบัง 2) การประยุกต์ใช้ระบบคัมบังและ
การส่งสินค้าทันทีจากผลการวิเคราะห์พบว่า เมือ่ นา ระบบคัมบังมา
ประยุกต์ใช้จะเป็ นการควบคุมปริมาณ WIP ในระบบ
ส่งผลให้ระยะเวลาการรอสินค้าของรถโฟล์คลิฟเป็ น 0 นาทีแต่เพิม ่
ระยะเวลาทีส่ น ิ ค้าจะต้องรอรถมารับแทน ทา ให้ระยะเวลาทีส่ ญู เปล่าจากจุดนี้สามารถนา
ไปใช้ในกิจกรรมการนาขวดเปล่า กลับเข้าสูก ่ ระบวนการ Re-use เพิม ่ มากขึน ้
ทัง้ นี้ผลของแนวทางที่ 1 และแนวทางที่ 2 ให้ผลทีไ่ ม่แตกต่างกันในทาง
สถิตแ ิ ต่สามารถลดปริมาณสินค้าคงคลังได้10.24%, 2.37% และลดเวลารอคอยเหลือ 0
นาทีเราจึงสามารถสรุปได้ ว่า การประยุกต์ใช้ระบบคัมบังสามารถเพิม ่ ประสิทธิภาพในการทา
งาน และเป็ นแนวทางในการประยุกต์ใช้กบั อุตสาหกรรม การผลิตทีม ่ อี ัตราผลิตต่อเนื่องได้
การปรับปรุงระบบขนส่งแบบมิลค์-รัน กรณีศก
ึ ษา บริษท
ั อุตสาหกรรมชิน
้ ส่วนยานยนต์
งานศึกษาวิจยั นี้มวี ตั ถุประสงค์เพือ
่ ศึกษา
สภาพปัจจุบน ั และปัญหาของระบบการขนส่งชิน ้ ส่วน ยานยนต์แบบมิลค์-รัน
ของบริษท ั ตัวอย่างเพือ ่ ปรับปรุงให้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน ้ การวิจยั นี้ได้ วิเคราะห์ปญ

หาโดยใช้เทคนิคแผนผังพาเรโต (Pareto Diagram) เทคนิคแผนผังแสดงเหตุและผล (Cause &
Effect Diagram) และใช้การปรับปรุง คุณภาพอย่างต่อเนื่อง (ไคเซ็น) เข้าช่วยประยุกต์ใน
การปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการการขนส่ง ชิน ้ ส่วนยานยนต์แบบมิลค์-รัน
งานศึกษาวิจยั นี้ได้ประยุกต์ใช้หลักการ ไคเซ็นเพือ ่ เป็ นการปรับปรุงมาตรฐานการซ้อนและ
จัดเรียงสินค้าทีไ่ ด้ทาการออกแบบและตกลงทีจ่ ะใช้
ร่วมกันระหว่างบริษท ั ลูกค้าและบริษท ั ขนส่ง ทาการ
คานวณมาตรฐานการจัดวางสินค้าของลูกค้าแต่ละ
รายซึง่ เป็ นกรณี การจัดเรียงสินค้าประเภทเดียวกัน และบรรจุภณ ั ฑ์ชนิดเดียวกัน
ผลการศึกษาพบว่าก่อนการปรับปรุงซึง่ เก็บ ข้อมูลเป็ นเวลา 2 สัปดาห์
ประสิทธิภาพการส่งมอบ สินค้าตรงเวลาของ บริษท ั ขนส่ง A = 99.51%, บริษทั ขนส่ง B =
99.27%, และบริษท ั ขนส่ง C = 99.64%, ประสิทธิภาพการส่งมอบสินค้าตรง เวลาโดยรวม =
99.47% ซึง ่ ต่ากว่าเป้ าหมายทีว่ างไว้ หลังการปรับปรุงเป็ นเวลา 2 สัปดาห์ ประสิทธิภาพ
การส่งมอบสินค้าของ บริษท ั ขนส่ง A = 99.57%, บริษทั ขนส่ง B = 99.69%, บริษท ั ขนส่ง C =
100%, ดังนัน ้ ประสิทธิภาพการส่งมอบ สินค้าตรงเวลาโดยรวม = 99.71% ซึง่ สูงกว่า
เป้ าหมายทีว่ าง คือ 99.50% เมือ่ คานวณค่าใช้จา่ ยในการขนส่งสินค้า
กรณีการส่งมอบสินค้าล่าช้า โดยรวมพบว่าก่อนการ
ปรับปรุงมีคา่ ใช้จา่ ยในการขนส่งสินค้าล่วงเวลารวม 7 ชั่วโมง คิดเป็ นเงินทัง้ สิน ้ 10,950 บาท
ภายหลังการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดวางชิน ้ งานพบว่า
ค่าใช้จา่ ยในการขนส่งสินค้าล่วงเวลารวมเหลือเพียง 3 ชั่วโมง คิดเป็ นเงินทัง้ สิน ้ 2,900 บาท

การวิจยั เรือ
่ งการเพิม
่ ประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง
ศูนย์จาหน่ ายผลิตภัณฑ์นมห้างหุน ้ ส่วนจากัด ชัยภูมแ
ิ ดรี่

มีวตั ถุประสงค์เพือ
่ วิเคราะห์ปญ
ั หาทีเ่ กิดจากการจัดการสินค้าคงคลังขาดปร
ะสิทธิภาพ และหาแนวทางในการเพิม ่ ประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง
โดยในการวิจยั นี้ได้ทาการศึกษาข้อมูลจากสภาพแวดล้อมในการปฏิบตั งิ าน
จริงจัดเก็บข้อมูลจากเอกสาร
การสัมภาษณ์ ผป ู้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการสินค้าคงคลัง
จากนัน้ จึงทาการวิเคราะห์หาปัญหาทีเ่ กิดขึน ้
โดยใช้แผนภูมก ิ ารไหลของงานในการพิจารณาลดขัน ้ ตอนการปฏิบตั งิ านที่มีควา
มซา้ ซ้อนและไม่มีประสิทธิภาพ และหาแนวทางการแก้ไข
โดยใช้แนวทางการนาระบบสารสนเทศเข้ามาใช้เพือ ่ ควบคุมการปฏิบตั งิ านการจั
ดการสินค้าคงคลังให้มีประสิทธิภาพมากขึน ้
จากการศึกษากระบวนการทางานของ ศูนย์จาหน่ ายผลิตภัณฑ์นม
ห้างหุน
้ ส่วนจากัดชัยภูมแ
ิ ดรี่ พบว่า
การนาระบบสารสนเทศทีพ ่ ฒ
ั นาขึน้ ใหม่มาใช้ในการปฏิบตั งิ าน
ทาให้การจัดการสินค้าคงคลังมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้
โดยสามารถลดขัน ้ ตอนการปฏิบตั งิ านการบันทึกข้อมูลในระบบบัญชี (Stock
card) แล้วนาระบบ Scan Barcode
เข้ามาทอดแทนในการเพิม ่ ยอดสินค้าและลดยอดสินค้าในระบบ ทาให้สพดวก
รวดเร็วในการตรวจเช็คและนับจานวนสินค้าคงคลังและข้อมูลสินค้าคงคลังเป็ นแ
บบ Real time ส่งผลให้ลดระยะเวลาการปฏิบตั งิ าน จากเดิม 3325 นาที เหลือ
995 นาที ลดลง 2330 นาที คิดเป็ นร้อยละ 70.08
สามารถคิดเป็ นค่าตอบแทนจากการประหยัดเวลาการปฏิบตั งิ านได้ 339,456
บาท/ปี และสินค้าสูญหายลดลงคิดเป็ นมูลค่า 185,902 บาท/ปี หรือร้อยละ 94.24
โดยมีระยะเวลาคืนทุนจากการพัฒนาระบบ 2 เดือน
การประยุกต์ใช้แนวคดิมลิค์รน ั เพือ
่ ลดต้นทุนการขนส่ง กรณี ศก ึ ษา
บริษท
ั ตัวแทนจาหน่ ายเหล็กเส้น Adopting Milk Run Concept for Transportation Cost
Reduction: A Case Study of Steel Bar Distribution Company อุไรวรรณ วรรณศิร

อุไรวรรณ วรรณศิร 2560


การลดสินค้าคงคลังโดนเทคนิคนิลค์รน ั กรณีศก
ึ ษาอุตสาหากกรรมการผลิต
ชิน
้ ส่วนควยคุมอุณหภูมใิ นอุตสาหกรรมยานยนตร์
พงษ์ อูข ั ธวงค์ (2554)
่ น
การลดต้นทุนการขนส่งโดยการศึกษาประยุกต์ใช้การขนส่งแบบมิลค์รน
ั (Milk run)

ทิพวรรณ วริยะสหกิ
จ (2558)
การพัฒนาระบบการจัดการสินค้าคงคลัง : กรณีศก
ึ ษาบริษท
ั ติดตัง้
และบารุงรักษาเครือ
่ งจักรของโรงงาน SME
ปฐมพงษ์ หอมศรี (2557)
จักรพรรณ คงธนะ (2557)
การวิเคราะห์ปญ
ั หาของการบริหารสินค้าคงคลัง กรณี ศก
ึ ษา บริษท
ั เฟ้ ลป์ส ดอด์จ
อินเตอร์เนชันแนล (ไทยแลนด์) จากัด
นฤมล วงศ์รกั ษ์ (2559)
การประยุกต์ใช้เทคนิคมิลค์รน
ั ในการขนส่งวัตถุดบ
ิ ของบริษท
ั ผูผ
้ ลิตชิน
้ ส่วนรถยนต์
ธภัทร ธาราศักดิ ์ (2559)
การคัดเลือกผูจ้ ดั หาวัตถุดบ
ิ เพือ
่ เข้าสูร่ ะบบการขนส่งแบบมิลค์รน
ั ของบริษท
ั ผูผ
้ ลิตชิน
้ ส่วนรถ
ยนต์
นิตยา สมยิง่ (2557 )
การปรับปรุงกระบวนการขนส่งภายในคลังสินค้าโดยใช้แบบจาลองสถานการณ์ กรณี ศก
ึ ษา
อุตสาหกรรมน้าอัดลม
พัฒนพงศ์ น้อยนวล (2554)
การปรับปรุงระบบขนส่งแบบมิลค์-รัน กรณีศก
ึ ษา บริษท
ั อุตสาหกรรมชิน
้ ส่วนยานยนต์
อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ ศา (2551)

การวิจยั เรือ
่ งการเพิม
่ ประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง
ศูนย์จาหน่ ายผลิตภัณฑ์นมห้างหุน ้ ส่วนจากัด ชัยภูมแ
ิ ดรี่
จารุภา อุน
่ จางวาง (2556)

You might also like