You are on page 1of 21

บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-1

บทที่ 7
การจัดการคลังสินค้า
(Warehouse Management)
แนวคิดหลัก
ความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้นมากที่สุดในการบูรณาการโลจิสติกส์ คือการวางแผนและการจั ด การสิ น ค้ า
คงคลัง ซึ่งธุรกิจในอุดมคติคาดหวังให้ “ผู้ผลิตสามารถคาดการณ์ความต้ อ งการและการผลิ ต ได้ ดี จ นไม่ มี
สินค้าคงคลัง” แต่ในความเป็นจริงมีปัจจัยที่ทาให้การคาดการณ์ไม่ถูกต้ อ ง บริ ษั ท จึ ง ต้ อ งผลิ ต และจั ด เก็ บ
สิ น ค้ าส ารอง (Stock) ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เ พื่ อ รองรั บ กั บ การเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบความต้ อ งการของลู ก ค้ า
หากบริษัทสามารถคาดการณ์ได้อย่างถู ก ต้ อ งกิ จ กรรมโลจิ ส ติ ก แบบบู รณาการจ านวนมากจะไม่ จ า เป็ น
หรือมีผลเพียงเล็กน้อยต่อต้นทุนโลจิสติกแบบบูรณาการ คลัง สิ น ค้ า ส่ ว นใหญ่ จ ะหายไป บรรจุ ภั ณ ฑ์ จ ะมี
น้อยลงเพราะผลิตภัณฑ์จะย้ายจากโรงงานไปให้กับลูกค้าซึ่งมีการจั ด การที่ น้ อ ยที่ สุ ด การจั ด การอุ ป กรณ์
เช่น รถยก, รถเครน, และ conveyers จะเป็นวัสดุทไี่ ม่จาเป็น
เป้าหมายสาคัญของการจัดการคลังสินค้า คือ การลดสิน ค้ า คงคลั ง ในขณะที่ รัก ษาบริ ก ารลู ก ค้ า
และระดับการผลิต กับการถือกาเนิดของ "เรียนรู้ก ารผลิ ต " ความคิ ด ที่ จ ะให้ ส ายการผลิ ต ที่ ใ ช้ ต้ น ทุ น ใน
สินค้าคงคลังน้อยที่สุด สินค้าคงคลังที่เพิ่มขึ้นอาจจะราคาถู ก กกว่ า การปิ ด โรงงานเนื่ อ งจากไม่ มี สิ น ค้ า
สารองในคลังสินค้า (stock out) แต่การไม่มีสินค้าสารองในคลั ง สิ น ค้ า (stock out) เดี ย วกั น อาจเป็ น ที่
ยอมรับในธุรกิ จ ค้ า ปลี ก กุ ญ แจส าคั ญ ในการจั ด การสิ น ค้ า คงคลั ง ที่ ดี คื อ การรู้ ว่ า เมื่ อ ไหร่ ที่จ ะยอมรั บ
เหตุการณ์การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้ า (stock out)
ดังนั้น การจัดการคลังสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพจึงต้องมีการทาความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ความหมาย
ความสาคัญ และประเภทของคลังสินค้า รวมถึงการจัดการคลังสินค้าแต่ละรู ป แบบว่ า เป็ น อย่ า งไร อี ก ทั้ ง
ยังต้องเรียนรู้การจัดระบบสินค้าคงคลังและกรคานวณปริมาณสินค้ า คงคลั ง เพื่ อ ให้ ส ามารถวางแผนการ
จัดการคลังสินค้าที่มีประสิทธิภาพต่อ ไป

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้นักศึกษาทราบความหมายและความสาคัญของคลั งสินค้า
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ รูปแบบการใช้คลัง สินค้าที่เหมาะสม
3. เพื่อให้นักศึกษาทราบหลัก การจัด การคลัง สินค้าและสินค้าคงคลั ง

หัวข้อการเรียนรู้
หน่วยที่ 1.1 ความหมายและความสาคัญของคลั งสินค้า
หน่วยที่ 1.2 ระบบคลังสินค้า
หน่วยที่ 1.3 การจัดการคลังสินค้า
หน่วยที่ 1.4 กรณีศึกษา

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-2

หน่วยที่ 1.1 ความหมายและความสาคัญของคลังสินค้า


ความหมายของคลังสินค้า
คลังสินค้าเป็นแหล่งสารองสินค้าเพื่อ ตอบสนองความต้ อ งการสิ น ค้ า ของลู ก ค้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง
กะทันหัน ในบางกรณีคลังสินค้าถูกเปลี่ยนสภาพเป็นศูนย์กระจายสินค้าซึ่งตั้งอยู่ไ ม่ ไ กลจากความต้ อ งการ
ของลู ก ค้ ามมากนั ก ซึ่ ง เป็ น การช่ ว ยลดต้ น ทุ น ในการขนส่ ง และเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภ าพในด้ า นระยะเวลา
ในการขนส่งได้ดีขึ้น ดังนั้น คลังสินค้าจะต้องมีกิจกรรมอื่นนอกจากเก็ บ รั ก ษา เช่ น การบรรจุ หีบ ห่ อ การ
ประกอบชิ้นส่วนตามคาสั่งซื้อของลูกค้า การเป็ น ศู น ย์ ข้ อ มู ลแสดงระดั บ สิ น ค้ า คงคลั ง ที่ มี ก ารเชื่ อ มโยง
ระบบเข้ากับคอมพิวเตอร์ของห่วงโซ่อุป ทานอื่น ทั้งด้านผู้ขายและด้านลูกค้า
ในปัจจุบันในยุคสารสนเทศไร้พรมแดน แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในคลั ง สิ น ค้ า และศู น ย์ ก ระจาย
สินค้าได้มีการจัดการเปลี่ยนไป โดยใช้การจัดการซัพพลายเชนมาเกี่ ย วข้ อ งมากขึ้ น มี ระบบสารสนเทศ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อรูปแบบการจัดการแบบเดิ ม โดยอิ น เตอร์ เ น็ ต ทาให้ ก ารจั ด ส่ ง
สิ น ค้ าถี่ ขึ้ น ปริ ม าณสั่ ง ซื้ อ น้ อ ยลง การตอบสนองลู ก ค้ า รวดเร็ ว ในการเติ ม เมนู ค าสั่ ง ซื้ อ การวางผั ง
คลังสินค้าเป็นแบบการไหลทะลุคลัง (Flow through) ควบคุมด้วยระบบเทคโนโลยี อั ต โนมั ติ เ พื่ อ ควบคุ ม
กระบวนการเคลื่อนย้าย ทาให้การทางานและการจัดส่ งรวดเร็วขึ้น 1

ความสาคัญของคลังสินค้า
หลักการในการจัดการพื้นที่คลังสินค้าคือการจัดการให้มีสินค้าคงคลังในคลั ง สิ น ค้ า ในจ านวนน้ อ ย
แต่ขัดแย้งกับหลักการบริหารทางการตลาดที่ธุรกิจต้องสามารถตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ได้ ทัน
ที่ที่ลูกค้าต้องการสินค้าได้อย่างรวดเร็ว ประกอบกับการผลิตสินค้าต้องการวั ต ถุ ดิ บ ส ารองในปริ ม าณมาก
เพื่อสนับสนุนกระบวนการผลิตและเพื่อความประหยัดในการลดต้นทุนต่อ หน่ ว ย ซึ่ ง การขาดสิ น ค้ า ส ารอง
อาจทาให้ต้องปิดสายการผลิต ส่วนในทางการเงินและการบั ญ ชี ช อบให้ มี สิ น ค้ า คงเหลื อ ต่ าเพื่ อ เพิ่ ม การ
เปลี่ยนสินค้าคงคลังเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนและเป็นการเพิ่ ม ผลตอบแทนจากสิ น ทรั พ ย์ ในมุ ม มองของ
โลจิสติกส์แบบบูรณาการก็มีแนวคิดที่สอดคล้องกับที่กล่าวมาข้างต้ น กล่ า วคื อ สิ น ค้ า คงคลั ง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จะ
เป็นการเพิ่มต้นทุนการดาเนินการ ต้นทุนบรรจุภัณฑ์ และต้นทุนในการจั ด การวั ส ดุ ทั้ ง ด้ า นการเงิ น และ
โลจิสติกแบบบูรณาการทราบถึ งความจาเป็นสาหรั บสินค้าคงคลัง
เหตุผลที่ทาให้ต้องมีการถือครองสินค้าคงคลังจานวนมาก ประการแรก คื อ สิ น ค้ า คงคลั ง จะช่ ว ย
ทาให้เกิดความประหยั ด จากการสั่ ง ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ ในปริ ม าณมาก ( Economices of Scale) ประการที่ 2
คือช่วยให้เกิดความสมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ประการที่ 3 สิ น ค้ า คงคลั ง ช่ ว ยให้ ก ารผลิ ต ส าหรั บ
ความเชี่ยวชาญการผลิต ประการที่ 4 สินค้าคงคลังป้องกันความไม่ แ น่ น อนในความต้ อ งการและในรอบ
การสั่งซื้อ เช่น ความล่าช้าในการขนส่ง, การสูญเสียและความเสียหาย และระยะเวลาที่ เ กิ ด ความล่ า ช้ า
จนในที่สุดสินค้าคงคลังสามารถที่จะไปสู่ช่อ งทางการจัดจาหน่ายได้

1
ดร.คานาย อภิปรัชญาสกุล (2537). ส่วนที่ 3 โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน. โลจิสติกส์เพื่อการผลิต และ
การจัดการดาเนินงาน. บริษัท ซี.วาย.ซิซเทิม พริ้นติ่ง จากัด.

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-3

ความประหยัดด้วยการสั่งซื้ อในปริม าณที่ม าก (ECONOMIES OF SCALE)


บริษัทได้ตระหนักถึงการประหยัดจากการสั่งซื้อในปริ ม าณที่ ม ากในกระบวนการผลิ ต การจั ด ซื้ อ
และการขนส่งโดยถือสินค้าคงคลัง ถ้ามีการซื้อจานวนมากบริษัทจะได้รับส่วนลด ในทางกลั บ การขนส่ ง ใน
ปริมาณมากผ่านการใช้อุปกรณ์ ที่ดี ขึ้ น ช่ ว ยลดต้ น ทุ น การขนส่ ง ได้ และการผลิ ต จะด าเนิ น งานได้ อ ย่ า ง
ต่อเนื่องถ้ามีวัตถุดิบในการผลิตมากขึ้น ซึ่งสินค้าคงคลังช่วยลดต้นทุนต่อหน่วยลง

ความสมดุลระหว่างอุปสงค์ และอุป ทาน (BALANCING SUPPLY AND DEMAND)


ในบางกรณีที่บริษัทจะต้องมีการสะสมสินค้าคงคลัง/วัตถุดิบ ไว้ เ พื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของ
ลูกค้าตามฤดูกาล ซึ่ ง ผู้ ผิ ต จะทราบความต้ อ งการในรอบ 1 ปี ล่ว งหน้ า แต่ ป ระมาณร้ อ ยละ 60 หรื อ
มากกว่านั้นจะต้องการสินค้าในช่วงเทศกาลสาคัญ โดยการผลิตเพื่อสารอง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ามารเก็ บ ไว้ ไ ด้ ใ น
ระดับที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตลอดทั้งปี การลดขี ด ความสามารถในการผลิ ต และ
การรักษาระดับความสัมพันธ์ของแรงงานเป็นการลดต้ น ทุ น ลง ถ้ า ความต้ อ งการค่ อ นข้ า งคงที่ แ ต่ ปั จ จั ย
นาเข้าเป็นไปตามฤดูกาล เช่น การผลิตผลไม้ก ระป๋ อ ง ในกรณี นี้ สิ ง ค้ า คงคลั ง สามารถตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้าได้ตลอดทั้ง ปี

ความพิเศษ (SPECIALLIZATION)
สินค้าคงคลังช่วยให้บริษัทในเครือที่มีความเชี่ยวชาญ แทนการผลิ ต ที่ หลากหลายของผลิ ต ภั ณ ฑ์
ที่แต่ละโรงงานสามารถผลิ ต สิ น ค้ า และจั ด ส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส าเร็ จ รู ป โดยตรงให้ กั บ ลู ก ค้ า หรื อ คลั ง สิ น ค้ า
สาหรับการจัดเก็บ โดยความเชี่ยวชาญแต่ละโรงงานสามารถทาให้ ป ระหยั ด โดยการด าเนิ น การผลิ ต ใน
ปริมาณที่มากได้ตลอดการผลิตที่ย าวนาน

ป้องกันความเสียหายอันเกิดจากความไม่แน่นอน (PROTECTION FROM UNCERTAINTIES)


เหตุผลหลักที่จะถือสินค้าคงคลังเพื่อชดเชยความไม่แน่นอนในความต้องการ หากการเพิ่ ม ขึ้ น ของ
ความต้องการและวัตถุดิบทีไ่ ม่มีเก็บสารองไว้ การป้องกันการปิ ด สายการผลิ ต จนกว่ า จะมี ก ารส่ ง วั ต ถุ ดิ บ
มา ทาให้เกิดการหยุดชะงักของการทางานในการผลิตซึ่งหมายความว่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม่ ส ามารถด าเนิ น การ
เสร็จสิ้น สุดท้ายหากสั่งซื้อของลูกค้ามีมากกว่าอุปทานสิน ค้ า ส าเร็ จ รู ป ซึ่ ง ผลจากการขาดสิ น ค้ า ส ารอง
ทาให้บริษัทต้องสูญเสียลูกค้ าได้
การขาดสิ น ค้ า ส ารองที่ จ ะส่ ง ให้ แ ก่ ลูก ค้ า ทาให้ ลู ก ค้ า ตั ด สิ น ใจที่ จ ะรอหรื อ ส่ ง ค าสั่ ง ซื้ อ กลั บ
(backorder) หรือ สั่งซื้อสินค้าจากที่อื่นแทน ด้วยการแข่งขันทางการค้าที่ลูกค้า มี ทางเลื อ กเพิ่ ม มากขึ้ น ทา
ให้ ก ารที่ สิ น ค้ า หม ดและไม่ ส ามารถตอบสนองความ ต้ อ งการของลู ก ค้ า อยู่ บ่ อ ย ครั้ ง มี ผ ลต่ อ ขี ด
ความสามารถทางการแข่งขันทางธุรกิจ ซึ่งเกณฑ์ในการตัดสินใจที่ลูกค้า จะใช้ เ มื่ อ สิ น ค้ า ไม่ ส ามารถจั ด ส่ ง
ได้ตามความต้องการของลูกค้าคือ (1) เป็นการขาดแบบชั่ ว คราวหรื อ ถาวร (2) ทางเลื อ กใดที่ supplier
จะใช้ (3) ผลิตภัณฑ์ที่เลือกใช้ควรเป็นอะไร และ (4) ควรสั่ ง ซื้ อ จากแหล่ ง ผลิ ต หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทดแทน
ดังแสดงในรูปที่ 7.1 แสดงให้เห็นถึงการตัดสินใจของลูกค้าที่ ทาเมื่ อ การไม่ มี สิ น ค้ า ส ารองในคลั ง สิ น ค้ า
(Stockout) เกิดขึ้น

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-4

รูปที่ 7.1 การตัดสินใจของลูกค้าเกี่ยวกับ การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout)2

การลดความขัดแย้ง (BUFFER INTERFACE)


สินค้าคงคลังสามารถช่วยลดความขัดแย้ง ที่ ส าคั ญ โดยการสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่เ ป็ น ประโยชน์
ระหว่างเวลาและสถานที่ ความขัดแย้งที่ส าคั ญ ได้ แ ก่ (1) ผู้ จั ด จ าหน่ า ยและการจั ด ซื้ อ ( 2) การจั ด ซื้ อ
และการผลิต (3) การผลิตและการตลาด (4) การตลาดและการจั ด จ าหน่ า ย ( 5) การจั ด จ าหน่ า ยและ
ตัวกลางและ (6) ตัวกลางและลูกค้า มีสินค้าคงคลังที่เชื่อมต่อ เหล่ า นี้ ช่ ว ยให้ มั่ น ใจว่ า สามารถตอบสนอง
ความต้องการได้และลดการขาดสินค้า สารอง

2
David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management. Prentice
Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey.

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-5

หน่วยที่ 1.2 ระบบคลังสินค้า


ประเภทของคลังสินค้า
คลังสินค้ามีหลากหลายแบบโดยองค์ ก ารจั ด ไว้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ความเหมาะสมของสิ น ค้ า บริ ษั ทผู้ มี
กิ จ การให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ค ลั ง สิ น ค้ า จะจั ด คลั ง สิ น ค้ า ของตนให้ เ หมาะสมกั บ สิ น ค้ า ที่ ม า รั บ บริ ก ารจั ด เก็ บ
และจัดเครื่องมือขนส่งเคลื่อนย้ายสิ น ค้ า ในการจั ด เก็ บ ให้ เ หมาะสมกั บ สิ น ค้ า ที่ ใ ช้ บ ริ ก าร ซึ่ ง ทั่ ว ไปแบ่ ง
ประเภทคลังสินค้าได้ 3 ประเภท ได้แก่ 1) การแบ่งประเภทคลั ง สิ น ค้ า ตามจุ ด มุ่ ง หมายในการประกอบ
กิจการ 2) การแบ่งประเภทคลังสินค้าตามลักษณะสินค้า และ 3) การแบ่ง ประเภทคลั ง สิ น ค้ า ตามการใช้
ประโยชน์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) คลังสินค้าตามจุดมุ่งหมายในการประกอบกิจ การ
(1.1) คลังสินค้าสาธารณะของบริษั ทเอกชน
เป็นธุรกิจการค้าของภาคเอกชนที่ จั ด ขึ้ น ในรู ป ของบริ ษั ทจ ากั ด หรื อ บริ ษั ทมหาชนแล้ ว แต่
กรณี กิจการสาคัญที่คลังสินค้าสาธารณะของบริ ษัทเอกชนดาเนินงาน ได้แก่
 การรับฝากสินค้าโดยผู้ประกอบการคลังสินค้าได้รับเงิน ค่ า ตอบแทน หรื อ ประโยชน์
อื่นใด
 การให้ผู้ฝากกู้ยืมเงินโดยเอาสินค้าที่ฝากนั้นจานาไว้เป็นประกั น แก่ ผู้ ป ระกอบกิ จ การ
คลังสินค้า โดยผู้ประกอบการคลั ง สิ น ค้ า ได้ รับ ดอกเบี้ ย หรื อ ประโยชน์ อื่ น ใดเป็ น
ค่าตอบแทน
 การให้บริการด้านความเย็นในการเก็บรั ก ษาสิ น ค้ า รั บ อบพื ช ลดความชื้ น กะเทาะ
คัดผสม หรือด้วยกรรมวิธีอย่างอื่น เพื่อประโยชน์ข องผู้ ฝ าก โดยผู้ ป ระกอบกิ จ การ
คลังสินค้าได้รับ
 ค่าตอบแทน หรือประโยชน์อย่างอื่นอย่างใด
กระทาการใด ๆ ตามแบบวิ ธี เ กี่ ย วกั บ การศุ ลกากร การน าเข้ า การส่ ง ออก การขนส่ ง
สินค้า และอาจจะจัดให้มีการประกันภัยซึ่งสินค้าซึ่ งตนพึงกระทาตามสัญญาเก็บของในคลังสินค้ า เป็นต้น
” การจัด ตั้ ง บริ ษั ทจ ากั ด ที่ ป ระกอบกิ จ การคลั ง สิ น ค้ า สาธารณะและการด าเนิ น งานทาง
ธุรการของกิจการคลังสินค้าอยู่ภายใต้ข้อบังคับของกฏหมายว่าด้วยกิ จ การค้ า ขายที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ความ
ปลอดภัยและผาสุกของสาธารณชน และเงื่อนไขควบคุมคลังสินค้าของกระทรวงพาณิชย์ “
(1.2) คลังสินค้าสาธารณะขององค์ก ารรั ฐบาล
องค์การของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิ จ ทางการค้ า จะจั ด ตั้ ง ขึ้ น ในรู ป ของรั ฐวิ ส าหกิ จ หรื อ รั ฐ
พาณิชย์รูป อื่ น จุ ด มุ่ ง หมายหรื อ นโยบายหลั ก ในการประกอบกิ จ การขององค์ ก ารเหล่ า นี้ เพื่ อ สนอง
นโยบายของรัฐบาลในด้านต่างๆ ที่สาคัญ คลังสินค้าสาธารณะขององค์ ก ารรั ฐบาลที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในรู ป แบบ
ของรัฐวิสาหกิจ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสนองนโยบายของรั ฐบาลด้ า นเศรษฐกิ จ เช่ น องค์ ก ารอุ ต สาหกรรม
ห้องเย็น องค์การคลังสินค้า เป็นต้น
การดาเนินธุรกิจคลังสินค้าสาธารณะขององค์ ก ารรั ฐบาล จะประกอบกิ จ การเช่ น เดี ย วกั บ
คลังสินค้าสาธารณะของบริษัทเอกชน คือการรับทาการเก็ บ รั ก ษาสิ น ค้ า และให้ บ ริ ก ารต่ า ง ๆ เกี่ ย วกั บ
สินค้าที่รับฝากเก็บรักษานั้นเป็นการค้าปกติ และเป็ น การให้ บ ริ ก ารแก่ บุ ค คลทั่ ว ไป องค์ ก ารคลั ง สิ น ค้ า
มีวัตถุประสงค์ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชกฤษฎี ก าจั ด ตั้ ง องค์ ก ารคลั ง สิ น ค้ า พ.ศ. 2498 มาตรา 6 ว่ า
“องค์การมีวัตถุประสงค์ทากิจกรรมทั้งปวงเกี่ ย วกั บ ข้ า ว พื ช ผล และสิ น ค้ า ต่ า ง ๆ เพื่ อ ให้ จ านวนผลิ ต
คุณภาพ ราคา เหมาะสม และเพียงพอกับความต้องการของรั ฐบาลและประชาชนทั่วไป”

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-6

(1.3) คลังสินค้าสาธารณะของสหกรณ์
สหกรณ์เป็นองค์การของเอกชนที่อ ยู่ ภ ายใต้ ก ารควบคุ ม และโดยการสนั บ สนุ น ของรั ฐบาล
จัดตั้งขึ้นตามหลักเกณฑ์ของกฏหมายสหกรณ์ เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มอาชี พ หรื อ กลุ่ ม ผลประโยชน์ ที่มี
เป้าหมายในการดาเนินกิจการร่วมกัน ช่วยเหลื อ สนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น ในทางเศรษฐกิ จ เช่ น สหกรณ์
การเกษตร สหกรณ์การประมง เป็นต้น
คลังสินค้าสาธารณะของสหกรณ์ เ ป็ น ของสหกรณ์ ที่ป ระกอบกิ จ การคลั ง สิ น ค้ า ในลั ก ษณะ
คลังสินค้าสาธารณะ คือ รับทาการเก็บรักษาสินค้าและให้บริ ก ารเกี่ ย วกั บ สิ น ค้ า เพื่ อ บ าเหน็ จ เป็ น ทางค้ า
ปกติสินค้าที่รับทาการเก็บรักษาเป็นสินค้า ของสมาชิ ก และเป็ น สิ น ค้ า เฉพาะอย่ า งอั น เป็ น ผลผลิ ต ตาม
อาชีพของสมาชิกของสหกรณ์นั้น ๆ ทั้งนี้เป็นการช่วยเหลือสมาชิ ก ภายในกลุ่ ม และเมื่ อ เกิ ด ผลก าไรจาก
การประกอบกิจการคลังสินค้า ผลกาไรนั้นก็แบ่งสรรปันผลกลับคืน ให้ แ ก่ ส มาชิ ก คลั ง สิ น ค้ า สาธารณะของ
สหกรณ์จัดตั้งขึ้นโดยกฏหมายสหกรณ์ กาหนดหลั กเกณฑ์ในการจัดตั้งและด าเนินงานโดยเฉพาะ

2) คลังสินค้าตามลักษณะสินค้า ประกอบด้วย
(2.1) คลังสินค้าพืชผล คลังสินค้านี้จากัดการรับฝากและเก็บรักษาพืชผลแต่ ละชนิ ด ไม่ ป นกั น
เช่น คลังสินค้า ไม้ แ ปรรู ป คลั ง เก็ บ ฝ้ า ย คลั ง เก็ บ ใบยาสู บ ข้ า วเปลื อ กที่ จ ะต้ อ งฝากไว้ กั บ โรงสี และ
ข้าวโพดซึ่งเป็นพืชไร่ที่เสียหายได้ง่าย
(2.2) คลังสินค้าที่เก็บรักษาสินค้าเป็นจานวนมาก คลังสินค้าบางชนิ ด สร้ า งไว้ เ ฉพาะเพื่ อ ใช้
เก็บสินค้าเป็นจานวนมากและเก็บสินค้าได้เพียงอย่างเดี ย ว เช่ น คลั ง น้ ามั น สารเคมี ช นิ ด เหลว น้ ามั น
เชื่อมและหัวน้าเชื้อสาหรับผสมเครื่องดื่มรสต่างๆ คลังสินค้าประเภทนี้ รับ ทาการผสมสิ น ค้ า จากโรงงาน
ใหญ่ๆ 2-3 ราย เพื่อส่งให้ลูกค้ารายใหญ่ หนึ่ ง ราย หรื อ บริ ก ารรั บ ฝากของจ านวนมากจากผู้ ผ ลิ ต แล้ ว
กระจายสินค้าให้โรงงาน 2-3 ราย
(2.3) คลังสินค้าห้องเย็น ในอุตสาหกรรมเรียกว่าห้องเย็น คลังสินค้ า นี้ ค วบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ ละ
ความชื้นสัมพันธ์ให้เหมาะสมกับสินค้าที่ใช้จัดเก็บ การเก็ บผั ก ผลไม้ ต้ อ งการอุ ณ หภู มิ 10°C และการเก็ บ
อาหารทะเลและเนื้อสัตว์ต้องการอุณหภูมิ -15°C ซึ้ ง จะใช้ อุ ป กรณ์ ที่แ ตกต่ า งกั น การเก็ บ เครื่ อ งส าอาง
และสารเคมีบางชนิดต้องการความเย็นเพียง 15° - 20°C
(2.4) คลังสินค้าเครื่องใช้ประจาบ้าน จัดเก็บและบริ ก ารเครื่ อ งมื อ ประจ าบ้ า น ไม่ ต้ อ งการ
เครื่องมือพิเศษ บริษัทขายเครื่องเรือนชอบใช้คลังสินค้าชนิดนี้
(2.5) คลังสินค้าทั่ ว ไป เหมาะกั บ การจั ด เก็ บ สิ น ค้ า อุ ป โภคและบริ โ ภค เป็ น คลั ง สิ น ค้ า ที่
บริการจัดเก็บและจัดส่งสินค้า ให้ กับซุปเปอร์มาเก็ต ซึ่งเป็นศูนย์กระจายสินค้า
(2.6) คลังสินค้าทัณฑ์บน เป็นคลังสินค้าเก็บสินค้านาเข้าจากต่างประเทศ—ที่ยัง ไม่ เ สี ย ภาษี
อากรขาเข้า นาเข้ามาเพื่อปรับสภาพสินค้า

3) คลังสินค้าตามการใช้ประโยชน์ 3 สามารถจัดชนิ ด ของสิ น ค้ าคงคลั ง ตามประโยชน์ ข อง


การใช้งานสินค้าได้ คือ
(3.1) สินค้าคงคลังที่อยู่ในระบบหมุนเวียนการจั ด ส่ ง เป็ น สิ น ค้ า ในระบบคงคลั ง ที่ มี ไ ว้ เ พื่ อ
การบริการส่งให้ลูกค้าในระบบการขาย และการสั่ ง ซื้ อ ของลู ก ค้ า ในสถานการณ์ ป กติ เป็ น สิ น ค้ า คงคลั ง
สารองที่ต้องมีให้พอก่อนการส่งของงวดต่อไปของผู้ขายมาถึ ง จ านวนการสั่ ง ซื้ อ ขึ้ น กั บ ขนาดการผลิ ต แต่
ละครั้ง เวลานาของการส่งของ การลดราคาต่อการสั่งจ านวนมาก และค่าเก็บสินค้าคงคลัง

3
http://www.cntrans.co.th/k003_typewarehouse.html

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-7

(3.2) สินค้าคงคลังที่อยู่ระหว่างการผลิต ประกอบด้วยวัต ถุ ดิ บ สิ น ค้ า กึ่ ง ส าเร็ จ รู ป ในระบบ


การผลิต หรือระบบการเปลี่ยนแปลงสภาพสินค้า สินค้าระหว่าการเดินทางจัด ส่ ง ซึ่ ง ผู้ ซื้ อ ได้ ต กตงการซื้ อ
ขายไว้แล้ว ถือ เป็ น ทรั พ ย์ สิ น ของผู้ ซื้ อ และมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการช าระหนี้ ต ามกฎหมาย ตลอดจน
ดอกเบี้ยการค้าที่เกิดขึ้น การขนส่งจากต่างประเทศและการซื้ อครั้ง ละจานวนมาก
(3.3) สินค้าคงคลังสารอง หรือสินค้าในบริภัณฑ์กันชนของทางราชการ เป็ น ปริ ม าณสิ น ค้ า
ที่มีไว้ป้องกันความขาดแคลนที่อาจจะเกิดขึ้นในสถานการณ์ที่ไม้ ไ ด้ ค าดหวั ง เพื่ อ ป้ องกั น ความขาดแคลน
สินค้าในตลาดที่อาจจะเกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด
(3.4) สิ น ค้ า ค งคลั ง ตามฤดู ก าล เป็ น สิ น ค้ า ที่ มี ไ ว้ ล่ว งหน้ า เพื่ อ บริ ก ารลู ก ค้ า ที่ ต้ อ งการ
อุตสาหกรรมบางประเภทต้องลงทุนเยงด้วยเงินทุนมหาศาล เพื่อ เก็ บ สิ ค้ า ไว้ ข ายในช่ ว งระยะเวลาอั น สั้ น
เช่น เครื่องนุ่งห่มสาหรับหน้าหนาว ชุ ด ว่ า ยน้ าที่ จ าหน่ า ยได้ เ ฉพาะหน้ า ร้ อ น ของเล่ น ส าหรั บ ขายช่ ว ง
ปลายปี สาหรับสินค้าจาหน่ายเทศกาลปลายปีในต่างประเทศ ต้ อ งผลิ ต ในเดื อ นกรกฎาคม ส่ ง ของทาง
เรือในเดือนกันยายน เพื่อให้ทันแจจกจ่ายสู่คลังสินค้าและจ าหน่ายในช่วงปลายปี
(3.5) สินค้าคงคลังเพื่อการส่งเสริ ม การขาย เป็ น สิ น ค้ า ที่ เ ตรี ย มไว้ เ พื่ อ ส่ ง ให้ ร้า นค้ า ตาม
แผนการส่งเสริมการขายที่ฝ่ายตลาดกาหนดไว้ ที่คาดว่าจะมีการจาหน่ า ยได้ ม ากกว่ า ในสถานการณ์ ป กติ
ที่ใช้มากในสินค้าอุปโภคและบริโภค เช่น วีวี ตู้เย็ น ยางรถยนต์ สบู่ ยาสี ฟั น และอาหารประเภทจาน
ด่วน ความสาเร็จของการส่งเสริมการขายขึ้นกับการสนั บ สนุ น ของการส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง ได้ แ ก่ การขนส่ ง
และการจัดเก็บ ที่จะต้องส่งด่วนให้ร้านค้าที่ส ามารถขายได้มาก
(3.6) สินค้าคลังเพื่อความเสี่ยงการขาดตลาดและการขึ้ น ราคา สิ น ค้ า ที่ เ ปลี่ ย นแปลงราคา
ขึ้นลงบ่อยๆ เช่น สินค้าพืชไร่ ได้แก่ เมล็ดกาแฟดิบ ยางพารา เป็นต้น
(3.7) สินค้าคงคลังที่หมดความนิยมและขายไม่ได้แล้ว อะไหล่ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เป็ น ชิ้ น ส่ ว นที่
หมดความนิยมได้อย่างรวดเร็ว ที่ผู้ขายต้องระวังอย่างมาก ไม่เก็บของเกินความต้ อ งการองตลาดสิ น ค้ า ที่
อยู่ในระยะอิ่มตัวต้องระวังจานวนในการเก็บ สต็ อ กอย่ า งมาก และต้ อ งการผ ลิ ต น้ อ ยลง ให้ พ อเพี ย งกั บ
ความต้องการของตลาดที่ค่อยๆ ลดลง

ตารางที่ 7.1 การเปรียบเทียบลักษณะของการใช้ป ระโยชน์จ ากคลังสินค้าเอกชนกับ คลั งสินค้าสาธารณะ4

คลังสินค้าเอกชน คลังสินค้าสาธารณะ
1. การมีคลังสินค้าเป็ น ของตนเองจะเหมาะสมใน 1. บางครั้งมีปริมาณสิน ค้ า ไม่ ม ากนั ก หรื อ สามารถ
กรณีที่มีคาสั่งซื้อเป็นจานวนมากและต่อเนื่อง จัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าได้ทันทีจึงไม่ จ าเป็ น ต้ อ ง
สร้า งคลั ง สิ น ค้ า ของตนเอง แต่ ใ ช้ วิ ธี ก ารเช่ า
จากผู้ประกอบการคลังสินค้า อื่นแทน
2. การมีคลังสินค้าเป็นของตนเองต้นทุนจะต่ าลงใน 2. ในบางครั้งเป็นความจาเป็นในการจั ด เก็ บ สิ น ค้ า
ระย ะย าว แม้ ว่ า จะมี สิ น ค้ า ที่ จั ด เก็ บ เฉ พาะ จากวัตถุดิบตามฤดูกาล ผู้ผลิต จ าเป็ น ต้ อ งผลิ ต
ฤดูกาล แต่หากสามารถนาไปให้เอกชนอื่ น ๆ เช่ า สิ น ค้ า ไว้ เ มื่ อ มี วั ต ถุ ดิ บ จ านวนมาก และเก็ บ
ดาเนินการได้ ก็ จ ะเป็ น อี ก ทางเลื อ กหนึ่ ง ในการ รักษาไว้ใ นรู ป สิ น ค้ า ส าเร็ จ รู ป รอการจ าหน่ า ย
พิจารณาจัดตั้งคลังสินค้า อาจไม่จาเป็นต้ อ งสร้ า งคลั ง สิ น ค้ า เอกชนหรื อ
คลังสินค้าส่วนตัว

4
http://www.technosriracha.ac.th/Logistic/

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-8

คลังสินค้าเอกชน คลังสินค้าสาธารณะ
3. มีความยืดหยุ่นในการด าเนิ น การดี ก ว่ า การเช่ า 3. การควบคุ ม ค่ า ใช้ จ่ า ย หรื อ ต้ น ทุ น สามารถ
คลังสินค้าสาธารณะ หากต้องมีก ารจั ด ตั้ ง ระบบ ควบคุ ม ได้ จ ากค่ า ใช้ จ่ า ยหรื อ ต้ น ทุ น ที่ แ สดง
การจัดการแบบอัตโนมัติ แต่ปัญหาคื อ ค่ า ใช้ จ่ า ย ออกมาเป็นยอดค่าเช่าหรื อ ค่ า บริ ก ารต่ า งๆ ทา
หรื อ ต้ น ทุ น ในการด าเ นิ น งาน จะควบคุ ม ยาก ให้ ก าหน ดงบประมาณในแต่ ละช่ ว งเวลาได้
และอาจเกิดต้นทุนที่ไม่แน่นอน เหมาะสม
4. มีความเสี่ ย งต่ อ การลงทุ น มาก ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจาก 4. เป็นการลดความเสี่ย งต่ อ การลงทุ น ในด้ า นการ
ปัจจุบันราคาที่ดิน ซึ่งหมายรวมถึ ง การซื้ อ เช่ า ดาเนินงานคลังสินค้า ในบางครั้งธุรกิ จ อาจต้ อ ง
หรื อ เ ซ็ ง จะสู ง มาก หากต้ อ งการราคาถู ก ย้ า ย ฐาน การผลิ ต จากที่ ห นึ่ ง ไปยั ง อี ก ที่ หนึ่ ง
อาจจะได้ ท าเ ลที่ ตั้ ง ที่ ไ กลม าก ขาดแค ลน คลั ง สิ น ค้ า เ อกชน ที่ มี อยู่ อ าจไม่ ส ามารถใช้
สาธารณูปโภครองรับ ประโยชน์ได้
5. ในช่วงของการเริ่มต้นธุรกิ จ หากมี เ งิ น ทุ น จ ากั ด 5. การเริ่มต้นที่มีต้น ทุ น จ ากั ด ผู้ ป ระกอบการอาจ
ต้องนาไปสร้างคลังสินค้าเอกชน กลายเป็ น สิ่ ง ที่ เลือกใช้คลังสินค้าสาธารณะเป็ น ทางเลื อ กเพื่ อ
ต้องนามาพิจารณา นาเงินทุนที่มีไปใช้ในส่วนอื่น ๆ ที่ มี ค วามจ าเป็ น
มากกว่า

หน้าที่คลังสินค้า
ระบบคลังสินค้ามีหน้าที่หลักอยู่สองประการคือ การจั ด เก็ บ สิ น ค้ า คงคลั ง และการจั ด การวั ส ดุ
กิจกรรมประกอบด้วยการนาวัสดุขึ้นเก็บและการนาลงจากที่ เ ก็ บ การเคลื่ อ นย้ า ยวั ส ดุ ไ ปยั ง จุ ด ที่ ก าหนด
ภายในค ลั ง สิ น ค้ า หรื อ การใช้ ส ถาน ที่ ก าหน ดให้ เ ป็ น จุ ด ส่ ง ข อง การจั ด เ ก็ บ ใน ระบบค ลั ง สิ น ค้ า
เป็นการกาหนดการรักษาสินค้าคงคลังในช่วงเวลาที่ ก าหนด การก าหนดจุ ด เก็ บ ของและระยะเวลาการ
เก็บรักษาย่อมขึ้นกับวัตถุประสงค์ข องสินค้า ที่ฝ้ายคลังสินค้า กาหนด
หน้าที่ต้องบริการลูกค้าที่มารับบริการ เริ่มจากการรั บ ของ ก าหนดที่ จั ด เก็ บ หรื อ ส่ ง ให้ ลูก ค้ า ที่ มี
ความต้องการด่วน หรือกาหนดที่เก็บซึ่งกาหนดไว้ในโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ข องคลั ง สิ น ค้ า เจรี ย มสิ น ค้ า
ตามใบสั่งซื้อให้ลูกค้า แล้วจัดพาหนะจัดส่งสินค้ามี 5 ประการ
1) การรับของ (Receiving) จากผู้บริการวัตถุดิ บ หรื อ สิ น ค้ า ส าเร็ จ รู ป ผู้ ส่ ง ของจะนั ด มาที่
คลังสินค้าก่อนเพื่อเตรียมจัดเก็บ
2) การเตรียมเก็บหรือส่งต่อ (Putaway) สินค้าบางอย่างมีการสั่งซื้ อ รอไว้ อ ยู่ แ ล้ ว ผู้ บ ริ หาร
คลังสินค้าต้องสื่อให้ผู้จัดส่งรู้ล่วงหน้าเพื่อการจัดส่ง ได้ ทัน ที ไม่ ต้ อ จั ด เรี ย งเข้ า ที่ ใ นคลั ง สิ น ค้ า ก่ อ น โดย
สินค้าเหล่านี้เป็นสินค่าที่ส่งข้ามท่า (Cross Docking)
3) การจัดเก็บ (Storage) สินค้าเข้าที่ที่กาหนด ตามโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ซึ่ ง จะก าหนด
สินค้าที่ขายมากอยู่ที่ใกล้กว่าสินค้ าที่ขายน้อย เป็นการประหยัดเวลาในการหยิบเก็บเตรียมการจัดส่ ง
4) การจัดเตรียมสินค้าตามคาสั่ง (Order picking) คือการนาสิ น ค้ า ลงจากชั้ น วางของมาก
องเรียงตามที่ลูกค้าสั่งซื้อเป็นเฉพาะรายก่อนนาของขึ้นยานพาหนะขนส่ง ส่วนใหญ่สิ น ค้ า จะกองเรี ย งตรง
ประตูใกล้ทางออก
5) การจัดส่ง (Shipping) คลั ง สิ น ค้ า มี หน้ า ที่ เ ตรี ย มประเภท และจ านวนยานพาหนะที่
เหมาะสมกับการส่งของสินค้า เป็นพาหนะของบริษัทเองหรือ ใช้ พ าหนะที่ จั ด มาจากภายนอก ตามความ
เหมาะสม

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-9

หน้าที่การจัดเก็บของคลังสินค้า
หน้าที่การจัดเก็บของคลังสินค้าได้ กาหนดไว้ 4 ประการ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) การเก็บรักษา (Holding) หน้าที่พื้นฐานของคลังสิ น ค้ า คื อ การเก็ บ รั ก ษา ส่ ว นระยะเวลา
ของการเก็บรักษาจะขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้า การกาหนดผังคลังสิ น ค้ า และวั ส ดุ ที่จ ะน ามาใช้ ใ นการสร้ า ง
ชั้นจัดเก็บ ขึ้นกับสินค้าที่จะนามาจั ด เก็ บ และรั ก ษา ตั ว อย่ า งเช่ น การเก็ บ รั ก ษาและการบ่ ม สุ ราจะต้ อ ง
บรรจุในถังไม้และเก็บไว้ในคลังสินค้าที่มี อุ ณ หภู มิ ที่ไ ม่ สู ง สิ น ค้ า ที่ น ามาจั ด เก็ บ ยั ง มี ส ภาพหรื อ สถานะ ที่
แตกต่างกัน เช่น เป็นสินค้าสาเร็จรูปพร้อมนาออกสู่การจาหน่าย ส่วนประกอบรอการประกอบในโรงงาน
อะไหล่ที่รอส่วนประกอบอื่น และวัตถุดิบที่รอการผลิต เป็นต้น
2) ที่ รวบรวมของสิ น ค้ า จากที่ ต่ า งๆ ( Consolidation) เป็ น กิ จ กรรมข องผู้ ข ายส่ ง หรื อ
ศูนย์กระจายสินค้าที่รวบรวมสินค้าจากที่ต่างๆ หลายโรงงานเพื่ อ ส่ ง ให้ กั บ ลู ก ค้ า รายใหม่ เ พี ย งรายเดี ย ว
ศูนย์รวมสินค้าที่อยู่นอกองค์กร ทาหน้าที่รวมสินค้าจากหลายๆ โรงงานเพื่อ ให้ ลู ก ค้ า รายเดี ย วซึ่ ง เป็ น การ
ลดค่าขนส่งและประหยัดเวลาในการขนส่ง

โรงงานที่ 1

โรงงานที่ 2 คลังสินค้า ลูกค้า

โรงงานที่ 3

รูปที่ 7.2 แสดงคลังสินค้ารวบรวมของสินค้าจากผู้จ าหน่ ายหลายราย

3) กระจายสินค้าขากโรงงานใหญ่ ให้ผู้ใ ช้ หลายราย เป็ น กิ จ กรรมตรงกั น ข้ า มกั บ การรวม


สินค้าจากที่ต่างๆ เพื่อกระจายสินค้าได้จากผู้ผลิตรายเดียว คลังสินค้ า ประเภทนี้ มี ผู้ ผ ลิ ต เพี ย งรายเดี ย ว
และลูกค้าจานวนมาก เช่น เหล็กเส้น ปูนซีเมนต์ และบริษัทน้ามัน เป็ นต้น

ลูกค้า 1

โรงงาน คลังสินค้า ลูกค้า 2

ลูกค้า 3

รูปที่ 7.3 คลังสินค้าเป็นผู้กระจายสินค้าให้ลูกค้ าหลายราย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-10

4) การรวมสินค้าจากที่ต่างกันหรือสิ น ค้ า ชนิ ด ต่ า งกั น จากแหล่ ง ผลิ ต หลายๆ รายและส่ ง


ให้กับลูกค้าเพียง 2-3 ราย คลังสินค้านี้เรียกว่าศูนย์ ก ระจายสิ น ค้ า ใช้ ม ากในอุ ต สาหกรรมอุ ป โภคและ
บริโภค

โรงงานที่ 1
ลูกค้า 1

โรงงานที่ 2 คลังสินค้า

ลูกค้า 2
โรงงานที่ 3

รูปที่ 7.4 แสดงคลังสินค้ารวบรวมของสินค้าจากผู้จ าหน่ ายหลายแบบ


และกระจายสินค้าให้ลูกค้า หลายราย

กิจกรรมของคลังสินค้า
กิจกรรมสาคัญของการจัด การคลั งสินค้า
 ตรวจรับและตรวจสอบสินค้าทั้ งด้านปริมาณคุณภาพและเก็บสินค้า ไว้จนถึ งเวลาที่ต้ องการใช้
 จาแนกเก็บสินค้าเป็น หน่วย (Stock Keeping Unit หรือ SKU) โดยทาการบันทึกเป็น
 รหัสแท่ง (Bar Code) และเก็บข้อมูลทางด้านปริมาณ
 เลือกประเภทสินค้าเพื่อแยกเก็บตามสภาวะที่เหมาะสมสาหรั บสินค้านั้น
 เก็บรักษาสินค้าให้คงสภาพพร้อมที่จ ะนาไปใช้ง านได้
 ค้นหาและจัดส่งสินค้าตามความต้องการใช้ที่แจ้ งเข้ามา
 ติดต่อกับฝ่ายขนส่งเพื่อตกลงกันเรื่อ งก าหนดเวลา ชนิ ด ของพาหนะ และปริ ม าณสิ น ค้ า ที่ จ ะ
บรรทุก
 รวบรวม บรรจุสินค้า เตรียมเอกสารกากับสินค้าเพื่อการขนส่งและทาบัญชี
 เตรียมรายงานสินค้าคงคลังทั้งการรับ หรื อการส่ งสินค้าออกไปยังฝ่ายขนส่ ง

การเลือกใช้คลังสินค้า
คลังสินค้าอาจจะเป็นของผู้ดาเนินกิจการเอง หรือเช่าจากบริษัททากิจการคลั ง สิ น ค้ า การเลื อ กใช้
คลังสินค้ามีรูปแบบใหญ่ๆ 4 ประเภท คือ คลังสินค้าของบริษัท เช่ า พื้ น ที่ ค ลั ง สิ น ค้ า ทาสั ญ ญาเช่ า ระยะ
ยาว และการเก็บรักษาระหว่ างเดินทาง
1) คลังสินค้าของบริษัท เป็นคลังสิน ค้ า ที่ บ ริ ษั ท ตั้ ง ขึ้ น มาเอง ส าหรั บ เก็ บ วั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ การ
ผลิตและเก็บสินค้าที่ผลิตเสร็จแล้วเพื่อเตรียมส่งลู กค้า

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-11

2) การเช่าพื้นที่คลังสินค้าสามารถเช่าพื้นที่จากบริษัทที่อยู่ในนิคมอุต สาหกรรมเดี ย วกั น และ


มีที่คลังสินค้าเหลือใช้ หรือเช่าจากบริษัทที่จกทะเบียนเป็นบริษัทคลังสินค้า บริ ษั ทคลั ง สิ น ค้ า จะรั บ บริ ก าร
รับของ จัดเก็บสินค้า นาของขึ้นรถเพื่อเตรียมจัดส่ง
3) การทาสั ญ ญาเช่ า ระยะยาว มั ก ทาสั ญ ญาเช่ า ระยะยาวเป็ น ปี เช่ น ผู้ ส่ ง ออกพื ช ไร่
การเช่าสามารถเช่าจากผู้ดาเนินกิจการคลังสินค้าโดยตรง หรื อ บริ ษั ทใกล้ เ คี ย งที่ มี พื้ น ที่ ทางานเหลื อ ใช้
นามาบริการให้เช่า
4) การเก็บรักษาระหว่างการเดินทาง ได้ แ ก่ การเก็ บ รั ก ษาในตู้ ค อนเทนเนอร์ ระหว่ า งการ
เดินทางจากประเทศ ซึ้งใช้เวลา 3-5 สัปดาห์ สินค้าที่อยู่ในตู้คอนเทนเนอร์เป็นสิทธิ ข องผู้ ซื้ อ แล้ ว สามารถ
นาไปขายล่วงหน้า หรือทานิติกรรมได้ การเลื อ กบริ ษั ทขนส่ ง ทาให้ ระยะเวลาการส่ ง ของเปลี่ ย นแปลง
กาหนดการส่งของได้ การกาหนดตารางเวลาที่ เ หมาะสมทาให้ ลดค่ า ใช้ จ่ า ยการจั ด เก็ บ ลงได้ เช่ น ถ้ า
กาหนดให้เมื่อสินค้าถึงท่าเรือแล้ว สามารถส่ ง ให้ ลูก ค้ า ได้ ทัน ที โ ดยไม่ ต้ อ งให้ พั ก ค้ า งในคลั ง สิ ค้ า ลดค่ า
ขนส่งที่ไม่ต้องขนสินค้ากลับคลังสินค้าของบริ ษัท แล้วส่งให้ลูกค้าอีก ทอดรวมลดค่ าขนส่งได้ 2 เที่ยว

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-12

หน่วยที่ 1.3 การจัดการคลังสินค้า


คลังสินค้าเป็นจุดเชื่อมต่ อ ทางธุ รกิ จ ระหว่ า งโรงงาน ของผู้ ข ายวั ส ดุ กั บ โรงงานของบริ ษั ทและ
ระหว่างโรงงานกับลูกค้าหรือผู้บริโภค5 ดังนั้น การจัดการคลังสินค้าจึงเกี่ยวข้ อ งกั บ ปั จ จั ย ที่ มี ค วามส าคั ญ
ได้แก่ ต้นทุนอันเกิดจากการจัดการคลังสินค้า และ ต้นทุนสิน ค้ า คงคลั ง โดยการจะทราบว่ า การจั ด การ
คลังสินค้าดีหรือไม่นั้นสามารถดู ไ ด้ จ ากปั ญ หา/อาการ ( Symptoms of Poor Inventory Management)
ที่เกิดขึ้นจากการจัดการคลังสินค้ าได้แ ก่
1. การเพิ่ ม ขึ้ น ของจ าน วน Backorder ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ว่ า มี การไม่ มี สิ น ค้ า ส ารองใน
คลังสินค้า (Stockout) จานวนมาก
2. มีจานวนของ Backorder คงที่แต่เงินลงทุนสินค้าคงคลังเพิ่มขึ้น
3. มีการเปลี่ยนแปลงลูกค้าสูง
4. การเพิ่มจานวนของการยกเลิกคาสั่งซื้ อจากลู กค้า หรื อคนกลาง
5. พื้นที่ในการจัดเก็บไม่เพียงพอจากสินค้าคงคลัง ที่มีมากเกินที่จ ะเก็บ ได้
6. การเพิ่มจานวนเงินและมูลค่าของสินค้าล้าสมัย
ผลจากการจัดการสินค้าคงคลั ง จะส่ ง ผลต่ อ ระบบการเงิ น ของสิ น ค้ า คงคลั ง ที่ แ สดงออกมาใน
รูปแบบของ THE DUPONT MODEL, กาไรสุทธิ (NET Profit), อั ต ราการหมุ น ของสิ น ทรั พ ย์ (Asset
Turnover), ผลตอบแทนจากสิ น ทรั พ ย์ (Return on Assets), ใช้ ป ระโยชน์ ทางการเงิ น (Financial
Leverage)

ต้นทุนอันเกิดจากการจัดการคลังสินค้า

รูปที่ 7.5 DuPont Model for ABC Corporation 6


5
ไชยยศ ชัยมั่นคง และ ดร. มยุขพันธุ์ ไชยมั่นคง. (2550). บทที่ 10 การจัดการคลังสินค้า. กลยุทธ์โลจิสติกส์และซัพ
พลายเชนเพื่อการแข่งขันในตลาดโลก. หน้า 390.
6
David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management. Prentice
Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey.

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-13

วิธีการวัดที่สาคัญอีกวิธีการหนึ่งคือการวั ด ไปยั ง ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง จะทาให้ เ ห็ น ถึ ง ก าไรสุ ทธิ จ ากในส่ ว น


ของผู้ถือหุ้น ถึงแม้ว่าจะเป็นวิธีการที่ช่วยยืนยันประสิ ทธิ ภ าพของการบริ หารจั ด การที่ ง านในการจั ด การ
การซื้อ ขายหรื อ ขายสิ น ค้ า ในคลั ง ดั ง นั้ น การวั ด วิ ธี ดั ง กล่ า วจึ ง ไม่ ใ ช่ วิ ธี ที่ดี ที่สุ ด เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ
ผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เนื่องจากอัตราส่วนที่วัดได้จะให้ผลที่สูงกว่าค่าที่เป็นจริ ง ซึ่ ง การใช้ ก ารค านวณ
แบบ the DuPont model (รู ป ที่ 7.6) จะพบว่ า มี มี ก าไรสุ ทธิ หลั ง หั ก ภาษี จ าก 5 ล้ า นดอลลาร์ อั ต รา
กาไรสุทธิร้อยละ 10 ผลตอบแทนต่ อ สิ น ทรั พ ย์ อ ยู่ ที่ร้อ ยละ 10.6 และผลตอบแทนของผู้ ถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ
19.9
The DuPont model แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่เกิดขึ้นถ้าบริษัทที่ จ ะขายส่ ว นหนึ่ ง ของคลั ง สิ น ค้ า ราคา
2 ล้านดอร์ลาสหรัฐอเมริกาและใช้เงินเพื่อลดการต้นทุ น ในระยะยาว สิ น ค้ า คงคลั ง จะต้ อ งลดลง 1 ล้ า น
ดอร์ล่าสหรัฐอเมริกาให้พอดีกับพื้นที่จัดเก็บทีน่ ้อยกว่ า เพราะสิ น ค้ า คงคลั ง เป็ น ทุ น ที่ ร้อ ยละ 10 ของตั ว
แปรด้านต้นทุน ในการดาเนินงาน 100,000 ดอร์ ล่า สหรั ฐอเมริ ก าและบั ญ ชี ก ารค้ า ลดลง 1 ล้ า นดอร์ ล่า
สหรัฐอเมริกา สินทรัพย์ทั้งหมดเท่ า กั บ 44 ล้ า นดอร์ ล่า สหรั ฐอเมริ ก า เช่ น เดี ย วกั บ หนี้ สิ น รวม อั ต รา
ดอกเบี้ ย ในระยะยาวคิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 10 ค่ า ใช้ จ่ า ยคงที่ เ พื่ อ ให้ ลดลง 200 ถึ ง 14,800,000 ดอร์ ล่า
สหรัฐอเมริกา ดังนั้น The DuPont model ที่มีการปรับปรุงใหม่ดังแสดงในรู ปที่ 7.7

รูปที่ 7.6 Modified DuPont Model7

โดยการขายคลังสินค้าและการปรับค่าใช้จ่ า ยสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ABC ‘s profit เพิ่ ม ขึ้ น 9.19


ล้านดอร์ ล่าสหรั ฐอเมริ ก า ในทานองเดี ย วกั น อั ต ราก าไรเพิ่ ม ขึ้ น อยู่ ที่ร้อ ยละ 10.3 ผลตอบแทนจาก
สินทรัพย์เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 11.7 และผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 20.6

7
David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management. Prentice
Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey.

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-14

ต้นทุนสินค้าคงคลัง
ไม่ว่าจะเป็นสินค้าคงคลังประเภทไหนมักจะมีราคาแพงซึ่ ง ผู้ เ ชี่ ย วชาญบางท่ า นได้ ป ระมาณการ
ต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งหมดจะมี ตั้ ง แต่ ร้อ ยละ 14 จนถึ ง มากกว่ า ร้ อ ยละ 50 ของมู ลค่ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์
พื้นฐาน ต้นทุนสินค้าคงคลังสามารถมีได้มากถึงร้อยละ 38 ของต้นทุนโลจิ ส ติ ก ส์ จึ ง ไม่ น่ า แปลกใจที่ จ ะมี
ความพยายามในการควบคุมสิ น ค้ า คงคลั ง และต้ น ทุ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง แต่ ก ารควบคุ ม ต้ น ทุ น สิ น ค้ า คงคลั ง
จะต้องมีความเข้าใจว่าสถานการณ์ของสินค้ าคงคลั ง
สิ น ค้ า คงคลั ง สามารถแบ่ ง ได้ เ ป็ น 2 ประเภท ได้ แ ก่ ต้ น ทุ น การด าเนิ น การสิ น ค้ า คงคลั ง
(Carrying Cost) และ ต้ น ทุ น การสั่ ง ซื้ อ (Ordering costs) โดยต้ น ทุ น การด าเนิ น การสิ น ค้ า คงคลั ง
(Carrying Cost) คือ ต้นทุน ในการดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ทางกายภาพ ในขณะที่ ต้ น ทุ น การ
สั่งซื้อเป็นค่าใช้จ่ายของการวางคาสั่ง (รูปที่ 7.8) ต้นทุนสินค้าคงคลังทั้ง 2 แบบ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ผ กผั น
กัน กล่าวคือ บริษัทสามารถดาเนินการสินค้าคงคลังเพิ่มเติม และสั่ ง ซื้ อ น้ อ ย หรื อ มี ค าสั่ ง บ่ อ ยขึ้ น และมี
สินค้าคงคลังที่น้อยมักจะทาให้ต้นทุน ในการสั่งซื้อลดลง ดัง นั้ น ปั ญ หาที่ ส าคั ญ ของการจั ด การคลั ง สิ น ค้ า
คือการหาต้นทุนรวมต่าสุด

รูปที่ 7.7 Inventory Carrying Costs8

ต้นทุนการดาเนินการ (CARRYING COSTS)


ต้นทุนการดาเนินการ (Carrying Cost) เป็นต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการจั ด เก็ บ สิ น ค้ า ทางกายภาพ
ซึ่ ง มี อ ยู่ 4 ลั ก ษณะ ประกอบด้ ว ย เงิ น ทุ น ( capital), พื้ น ที่ จั ด เก็ บ (storage space) , การบริ ก าร
(service), ความเสี่ยง (risk) โดยต้ น ทุ น ทั้ ง หมดมั ก จะมากกว่ า ต้ น ทุ น ในการสั่ ง ซื้ อ ( ordering costs)
ต้นทุนถือครองจะถูกคานวณภายใต้เงื่อนไขที่สาคั ญ 2 ประการ คื อ 1) การค านวณต้ น ทุ น ทั้ ง หมดก่ อ น
การหักภาษี 2) คานวณจากต้นทุนที่แตกต่างจากสินค้ า คงคลั ง ที่ ถู ก รวมกั บ ต้ น ทุ น การด าเนิ น การไปแล้ ว
ตัวอย่างเช่น เงินเดือนผู้จัดการคลังสินค้าไม่เป็น ต้นทุนการดาเนินการสินค้าคงคลั ง

8 David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management. Prentice
Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey.

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-15

ต้นทุนด้านเงินทุนหรือโอกาสเปรียบเทียบกับสิ่งที่บริษัทจะได้ รับ จากการลงทุ น อื่ น ๆ ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่


ต้นทุนด้านเงินทุนเป็นประเภทต้นทุนการดาเนินการที่มีมากที่สุด ซึ่งบริษัทอาจจะใช้อัต ราส่ ว นผลตอบแทน
ต่อการลงทุนเป็นต้นทุนด้านเงินของสินค้าคงคลังในการประมาณการครั้งแรกที่
ต้นทุนพื้นที่ในการจัดเก็บครอบคลุมถึงต้นทุนในการเคลื่อนย้ายสินค้าในการเข้ า ออกของสิ น ค้ า คง
คลัง ซึ่งเพียงต้นทุนผันแปรของค่าเช่าค่าสาธารณูปโภคและพื้นที่ หากบริ ษั ทเช่ า หรื อ เช่ า พื้ น ที่ ค ลั ง สิ น ค้ า
บนต่อหน่วยพื้นฐานสาหรับสินค้าคงคลังตามฤดูกาลแล้วต้น ทุ น จะเป็ น ต้ น ทุ น พื้ น ที่ จั ด เก็ บ แต่ หากบริ ษั ท
เป็นเจ้าของคลังสินค้าของตัวเองและไม่จ่ายค่าพรีเมี่ยมที่สามารถระบุตัวในต้นทุนสิน ค้ า คงคลั ง แล้ ว ต้ น ทุ น
ก็จะไม่นับรวมต้นทุนพื้นที่จัดเก็บหรือต้นทุนการดาเนินการ แต่จะเป็นต้นทุนด้านคลังสินค้าแทน
ต้นทุนด้านการบริการสินค้าคงคลังได้แก่การประกันและภาษี ซึ่งบริ ษั ทควรมี น โยบายการประกั น
สินค้า อย่างไรก็ตามนโยบายการประกันสินค้าบางตัวถูกเขียนได้หลากหลายรู ป แบบและมี อ งค์ ป ระกอบที่
เฉพาะเจาะจง ความหลากหลายขององค์ ป ระกอบควรถู ก รวมในต้ น ทุ น การให้ บ ริ ก ารสิ น ค้ า คงคลั ง
เริ่มตั้งแต่ภาษีสินค้าคงคลัง ซึ่งรัฐส่วนใหญ่มีภาษีสินค้าคงคลั ง รั ฐส่ ว นใหญ่ ยั ง มี ข้ อ ยกเว้ น สิ น ค้ า คงคลั ง
เหล่านี้ ข้อยกเว้นมักจะได้รับการยกเว้นสินค้าคงคลังที่ไม่ได้ขายในรัฐ เช่ น กฎหมายคลั ง สิ น ค้ า พอร์ ต ฟรี
สร้างโอกาสการหลีกเลี่ยงภาษีสินค้าคงคลัง ตัวอย่างเช่น หลายบริ ษั ทด าเนิ น การศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ า ใน
รั ฐ Reno หรื อ รั ฐ Nevada ที่ จ ะให้ บ ริ ก ารตลาดแคลิ ฟ อร์ เ นี ย รั ฐ Nevada มี ก ฎหมาย free port
warehouse ที่จะช่วยให้บริษัทหลีกเลี่ยงบางภาษี สินค้าคงคลังแคลิฟอร์เนีย
ต้ น ทุ น ค วามเ สี่ ย งของสิ น ค้ า ค งค ลั ง หมาย รวม ถึ ง ต้ น ทุ น สิ น ค้ า ล้ า สมั ย , ข องเสี ย หาย ,
การเคลื่อนย้าย สินค้าล้าสมัยหมายถึงสินค้าที่ไม่สามารถขายในราคาเดิมหรือราคาทุ น เดิ ม ซึ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์
ที่ ดี ต้ อ งสามารถใช้ ไ ด้ หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าน วนม ากได้ รับ การลงวั น ที่ หมดอายุ ถื อ เป็ น สิ น ค้ า ล้ าสมั ย
สินค้าประเภทนี้ ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ แ ก่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระเภทอาหารและเทคโนโลยี เช่ น คอมพิ ว เตอร์ ดั ง นั้ น
ผู้จัดการ หรือตัวแทนส่งมอบที่มีการเก็บสินค้าประเภทนี้ ม ากกว่ า จ านวนสิ น ค้ า ที่ ร้า นค้ า ปลี ก ต้ อ งการจะ
เป็นการสร้างค่าใช้จ่ายสินค้าล้าสมัย นอกจากนี้ยังมีสินค้าทีอ่ าจได้รับความเสีย หายในการจั ด เก็ บ หรื อ ส่ ง
ซึ่งสาเหตุมากมายที่ทาให้สินค้าคงคลังทางกายภาพหดตัว ลงเป็ น ต้ น ทุ น การเปลี่ ย นสถานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
การเคลื่อนย้ายจากคลังสินค้าหนึ่งเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้ า
ต้นทุนการดาเนินการมักจะเป็นอัตราร้อยละของมูลค่ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ในการค านวณต้ น ทุ น การ
ดาเนินการของบริษัทจะต้องระบุมูลค่าสินค้าคงคลังที่วัดหมวดหมู่ต้นทุ น แต่ ละตั ว เป็ น ร้ อ ยละและคู ณ ร้ อ ย
ละต้นทุนการดาเนินการโดยรวมแต่ละครั้งของมู ลค่ า สิ น ค้ า คงคลั ง ถ้ า ค่ า ของยางรถยนต์ 100 เหรี ย ญ
ดอร์ลาสหรัฐอเมริกา ต้นทุนการดาเนินการยางที่ เ ป็ น สิ น ค้ า คงคลั ง จะขึ้ น อยู่ กั บ การค านวณของร้ อ ยละ
ต้นทุนการดาเนินการของสินค้าคงคลัง ตัวอย่างเช่น ต้นทุนการดาเนินการอาจจะมี (1) เงิ น ทุ น ร้ อ ยละ 10
(2) พื้นที่การจัดเก็บร้อยละ 2 (3) บริ ก ารสิ น ค้ า คงคลั ง ร้ อ ยละ 3 และสิ น ค้ า คงคลั ง บริ ก ารร้ อ ยละ 3
และ (4) ความเสี่ยงร้อยละ 1 จากนั้นรวมสินค้าคงคลังเข้าด้ ว ยกั น เท่ า กั บ ร้ อ ยละ 16 แปลงตั ว ชี้ วั ด เชิ ง
ผลิตภัณฑ์เป็นมูลค่าในรูปของร้อยละจะได้มู ลค่ า ต้ น ทุ น การด าเนิ น การของยางเป็ น 16 เหรี ย ญดอร์ ลา
สหรัฐอเมริกาต่อปี (0.16 x $100 = $ 16) ดังนั้น ประมาณร้อยละ 10 ของต้ น ทุ น ค่ า เสี ย โอกาสที่ ลดลง
สาหรับบริษัทขนาดใหญ่ภายใต้เงื่อนไขของการจัดทางบประมาณเงินทุน แต่อาจจะน าไปใช้ กั บ ธุ รกิ จ ขนาด
เล็กที่จะจ่ายเงินกู้จากธนาคารถ้าเงินเป็นอิสระ

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-16

ต้นทุนการสั่งซื้อ (ORDERING COSTS)


ต้นทุนการสั่งซื้อประกอบด้วยต้นทุนในการสั่งซื้อ ต้นทุนการติดตั้งหรือทั้งสองอย่ า ง ต้ น ทุ น ในการ
สั่งซื้ออาจรวมถึงการจัดเตรียมและการประมวลผลค าขอเพื่ อ การเลื อ กซั พ พลายเออร์ ที่ต รวจสอบสต็ อ ก
การเตรียมการชาระเงินและการตรวจสอบระดั บ สิ น ค้ า คงคลั ง ส่ ว นต้ น ทุ น การติ ด ตั้ ง จะพิ จ ารณาการ
ปรับเปลี่ ย นกระบวนการผลิ ต เพื่ อ ให้ สิ น ค้ า ที่ แ ตกต่ า งกั น ซึ่ ง รวมถึ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยด้ า นบุ ค คลากรรวมทั้ ง
ค่าใช้จ่ายอุปกรณ์ ทุน โดยบริษัทจานวนมากใช้คาสั่งซื้อแบบ Blanket เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ

การจาแนกสินค้าคงคลัง (CLASSIFYING INVENTORY)


ระบบการจัดหมวดหมู่สินค้าคงคลังช่วยจัดสรรเวลาและเงิ น ในการจั ด การสิ น ค้ า คงคลั ง ระบบ
การจาแนกประเภทสินค้าคงคลังช่วยให้บริษัทสามารถที่ จ ะจั ด การกั บ สายการผลิ ต ที่ มี ค วามหลากลหาย
ของผลิตภัณฑ์และความหลากหลายของหน่ ว ยเก็ บ สต็ อ ก ( stock-keeping units: SKU) ในการจ าแนก
สินค้าคงคลังที่นิยมนามาประยุกต์ใช้มี 2 รูปแบบ ได้แก่ การวิเคราะห์ เ บื้ อ งต้ น คื อ ABC analysis และ
การวิเคราะห์ค่าวิกฤต (critical value analysis: CVA) โดยมีรายละเอียดดังนี้

ABC ANALYSIS
การวิเคราะห์ABC เป็นการจาแนกผลิตภัณฑ์ตามความสาคัญ ความสาคัญ อาจจะมาจากกระแส
เงินสด, เวลานา (lead time), การขาดแคลนสินค้าในคลั ง สิ น ค้ า (stockout), ต้ น ทุ น ขาดแคลนสิ น ค้ า ใน
คลังสินค้า (Stockout), ปริมาณการขายหรือการทาก าไร เมื่ อ ปั จ จั ย การจั ด อั น ดั บ เป็ น cosen, ทาลาย
จุดจะถูกเลือก A, B, C, และอื่น ๆ
การวิเคราะห์เบื้องต้นใช้กฎหมาย Pareto ซึ่งแยก "สินค้าที่ มี ค วามส าคั ญ มาก" จาก "สิ น ค้ า ที่ มี
ความสาคัญน้อย" ตัวอย่างที่มีการใช้เป็นประจาซึ่งเกิดจากส่ว นใหญ่ ข องยอดขายมาจากส่ ว นเล็ ก ๆ ของ
พนักงานขาย กฎ "80-20" ซึ่งเป็นกฎ Pareto กล่าวว่า 80 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ข องการสั่ ง ซื้ อ มาจากร้ อ ยละ 20
ของลูกค้า

รูปที่ 7.8 ABC Analysis

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-17

เมื่อปัจจัยการจัดอันดับการเลือกผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในลาดับความสาคัญจากมากไปน้ อ ย ในตั ว อย่ า ง


นี้ปัจจัยการจัดอันดับเป็นรายได้จากการขายที่เกิดขึ้นจริงและสะสมเปอร์เซ็ น ต์ ข องรายได้ ก ารขายส าหรั บ
ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดมีการคานวณ การจัดรายการจะขึ้ น อยู่ กั บ การตั ด สิ น ใจของผู้ ป ระเมิ น และการจั ด
หมวดหมู่อาจขึ้นอยู่กับผู้ที่มีประสิทธิภาพการจัดอันดับ

การวิเคราะห์ค่าวิกฤต (CRITICAL VALUE ANALYSIS: CVA)


การวิเคราะห์ค่าวิกฤต (CVA) ให้ความสาคัญมากขึ้นกับรายการ C แม้ ว่ า จะจั ด อั น ดั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์
ที่คล้ายกับ ABC analysis แต่ CVA วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ตามอัตรา การไม่ มี สิ น ค้ า ส ารองในคลั ง สิ น ค้ า
(Stockout) ตามปกติ จะใช้ ส าหรั บ การจั ด หมวดหมู่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ระมาณ 3-5 ประเภ ท โดย CVA
สามารถประเมินผลิตภัณฑ์ดังต่อไปนี้
1. การจัดลาดับความสาคัญด้ า นบน (Top priority) เป็ น รายการที่ ส าคั ญ และเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่
ต้องมีตลอดเวลา สินค้าจะขาดตลาดไม่ได้
2. การจัดลาดับความสาคัญสูง (High priority) เป็นรายการที่จาเป็น แต่ มี ก ารควบคุ ม การไม่ มี
สินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) ในปริมาณที่จากัด
3. การจัดลาดับความสาคัญปานกลาง (Medium priority) เป็นรายการจ าเป็ น แต่ ส ามารถ การ
ไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) เป็นครั้งคราวได้
4. การจัดลาดับความสาคัญระดับต่า (Low priority) เป็นรายการที่ เ ป็ น ที่ น่ า พอใจ แต่ ส ามารถ
การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) ได้
5. การจั ด ลาดั บ ความส าคั ญ ต่ าสุ ด (Lowest priority) เป็ น รายการที่ มี ค วามต้ อ งการ แต่
สามารถ การไม่มีสินค้าสารองในคลังสินค้า (Stockout) ได้บนพื้นฐานกว้าง
อัตราการขาดแคลนสินค้าในคลังสินค้ า (Stockout) เป็ น การช่ ว ยในการจั ด หมวดหมู่ ข องแต่ ละ
รายการ โดยการจัดลาดับความส าคั ญ ด้ า นบน (Top priority) ควรเป็ น zero stockouts การจั ด ลาดั บ
ความส าคั ญ สู ง (High priority) มี อั ต ราที่ ร้อ ยละ 3 ส่ ว นอั ต รา การขาดแคลนสิ น ค้ า ในคลั ง สิ น ค้ า
(Stockout) การจัดลาดับความสาคัญปานกลาง (Medium priority) อยู่ ที่ร้อ ยละ 6 อั ต ราการจั ด ลาดั บ
ความสาคัญระดับต่า (Low priority) อยู่ ที่ ร้อ ยละ 10 และการจั ด ลาดั บ ความส าคั ญ ต่ าสุ ด (Lowest
priority) อยู่ที่ร้อยละ 15

รูปแบบการจัดการสินค้าคงคลัง (INVENTORY MANAGEMENT MODELS)

รูปแบบการผลักและการดึง (PUSH AND PULL MODELS)


รูปแบบการจัดการสินค้าคงคลังสามารถถู ก จั ด รู ป แบบเป็ น ทั้ ง ผลั ก หรื อ ดึ ง รู ป แบบการผลั ก ดั น
ตารางคาสั่งให้การผลิตหรือการสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า ในอนาคตของความต้ อ งการของลู ก ค้ า ซึ่ ง ผู้ ผ ลิ ต ผลั ก ดั น
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปผ่านช่องทางการจัดจาหน่ายไปยังตัวกลางและผู้ บ ริ โ ภคขั้ น สุ ด ท้ า ย รู ป แบบการผลั ก
(Push Model) ประกอบด้วย ปริมาณการสั่งซื้ อ ทางเศรษฐกิ จ (EOQ) การวางแผนความต้ อ งการวั ส ดุ
(MRPI) การวางแผนทรั พ ยากรการผลิ ต ( MRPII) และความต้ อ งการการวางแผนการจั ด จ าหน่ า ย
(DRP)
รูปแบบสินค้าคงคลังแบบดึงจะขึ้นอยู่กับเครื่องหมายสินค้าเมื่อความต้องการของลู ก ค้ า เป็ น ที่ รู้จั ก
กัน สินค้าจะถูกดึงผ่านช่องทางการจัดจาหน่ายตามคาสั่ง แนวโน้มล่าสุดแสดงให้ เ ห็ น การเคลื่ อ นไหวที่ จ ะ
ใช้ รูป แบบการดึ ง สิ น ค้ า คงคลั ง เพื่ อ ลดสิ น ค้ า คงคลั ง ในทุ ก ช่ อ งทาง ระบบ Just-in-time (JIT) และ
ระบบคัมบัง (KANBAN) เป็นระบบที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในรูปแบบสินค้าคงคลังแบบดึง

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-18

รูปแบบการสั่งซื้อทางเศรษฐกิจปริมาณ (ECONOMIC ORDER QUANTITY MODEL)


ในสภาพแวดล้อมที่คาดวัง การคาดการณ์ความต้องการจะเป็นไปได้ง่ายและตรงไปตรง เพี ย งแค่
มองไปที่รูปแบบความต้องการที่ผ่านมาเพื่อคาดการณ์ก ารบริ โ ภคในอนาคต ภายใต้ เ งื่ อ นไขเหล่ า นี้ แ บบ
EOQ สามารถนามาใช้ในการคานวณเวลาที่ จ ะสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า และวิ ธี ก ารสั่ ง ซื้ อ สม การ EOQ ขั้ น พื้ น ฐาน
ดังนี้

EOQ = 2 PD / CV

เมื่อ P= ค่าใช้จ่ายของการวางคาสั่ งซื้อ


D= ความต้องการประจาปีส าหรับผลิตภัณฑ์
C= ต้นทุนการดาเนินการสินค้าคงคลังประจ าปีแ สดงเป็นร้อยละของต้นทุนของผลิตภัณฑ์
V= ต้นทุนเฉลี่ยหรือมูลค่าหนึ่งหน่วยของสินค้าคงคลัง

สม ม ติ ฐ า น การสั่ ง ซื้ อ ทางเ ศรษฐกิ จ ปริ ม าณ ( ECONOMIC ORDER QUANTITY


ASSUMPTION) เงื่อนไขของแบบ EOQ อาศัยหลายสมมติฐาน:
1. มีอัตราความต้องการอย่างต่ อเนื่อง คงที่ และรู้อัตราความต้องการ
2. รอบเวลา / วงจรการเติมเต็มเป็นที่รู้จักและคงที่
3. ราคาการจัดซื้อคงที่เป็นอิสระจากปริมาณการสั่งซื้ อ
4. ต้นทุนการขนส่งมีค่าคงที่ไม่ว่าจานวนที่เคลื่อนย้ายหรื อระยะทาง
5. ไม่มีการขาดแคลนสินค้าในคลังสินค้า (Stockout)
6. ไม่มีสินค้าคงคลังในระหว่างการขนส่ง
7. ส่วนสินค้าคงคลังทั้งหมดเป็นอิสระจากกัน
8. การวางแผนไม่มีที่สิ้นสุด
9. ไม่มีการจากัดปริมาณของเงินทุนที่มีอยู่
สมมติฐานเหล่านี้มักจะหลงทางห่างไกลจากชี วิ ต จริ ง ความต้ อ งการอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจะไม่ ค่ อ ย
คงที่ แ ละเป็ น ที่ รู้จั ก เวลาน า, ต้ น ทุ น การขนส่ ง และราคาที่ แ ตกต่ า งกั น ไป กาไม่ มี สิ น ค้ า ส ารองใน
คลั ง สิ น ค้ า (Stockout) ที่ เ กิ ด ขึ้ น การวางแผนที่ ระยะยาวถู ก จ ากั ด และปริ ม าณส่ ว นลดได้ อ ย่ า งมี
นั ย ส าคั ญ นอกจากนี้ สิ น ค้ า จ านวนมากมี ก ารพึ่ ง พาซึ่ ง กั น และกั น สิ น ค้ า คงคลั ง ในการขนส่ ง ไม่ ไ ด้
หมายความว่า บริษัท ที่ ซื้ อ บนพื้ น ฐานของการส่ ง มอบราคาและขาย แบบ F.O.B จะมี ก ารวางแผนที่
จากัด เช่น เงินทุนที่มีอยู่ อย่างไรก็ตาม EOQ เป็นรูปแบบสินค้าคงคลังเดียวที่ใช้ กั น อย่ า งแพร่ หลาย มั น
เป็นเรื่องง่ายที่จะใช้และให้คาตอบที่แน่นอน
รูปแบบการ EOQ พื้นฐานที่หลากหลานซึ่งเป็นตัวแปรหนึ่ ง ที่ ทาให้ ป ริ ม าณการสั่ ง ซื้ อ คงที่ แต่ จ ะ
แปรผันตามระยะเวลาที่จะแตกต่างกันไป ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในรู แ บบปริ ม าณคงที่ และรู ป แบบตั ว แปรด้ า น
เวลา การแปรผันของ EOQ คือการตั้งเวลาการสั่งซื้อ (จุดสั่งซื้อใหม่) แต่ แ ตกต่ า งกั น ไปตามปริ ม าณการ
สั่งซื้อ (ความแปรผันด้านปริมาณแต่เวลาคงที่)
เพราะระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลงและการคาดการณ์ที่คลาดเคลื่ อ นมี ค วามส าคั ญ ต่ อ สิ น ค้ า คงคลั ง
สารอง (safety stock) โดยสินค้าคงคลังสารอง (safety stock) จะช่วยป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ บ ริ ษั ทเกิ ด การไม่ มี
สินค้าสารองในคลังสินค้า (stockout) เมื่อความต้องการหรือระยะเวลาในการเปลี่ ย นแปลงมี ม ากขึ้ น ควร
มีการสารวจสินค้าคงคลังสารอง (safety stock)

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-19

ระดั บ การบริ ก ารลู ก ค้ า และสิ น ค้ า คงคลั ง ส ารอง (CUSTOMER SERVICE LEVEL and
SAFERTY STOCK
สิ น ค้ า ค งคลั ง ส ารองเ ป็ น สิ น ค้ า คงคลั ง ที่ จั ด ขึ้ น เนื่ อ งจากความไม่ แ น่ น อนข องระย ะเวลาที่
เปลี่ยนแปลง (Lead time) นอกจากนี้ สินค้าคงคลังสารองยั ง เป็ น สิ น ค้ า ที่ ใ ช้ ช ดเชยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ห มดใน
คลังสินค้า ต้นทุนของสินค้าคงคลังสารองและต้นทุน การไม่มีสินค้า ส ารองในคลั ง สิ น ค้ า ( Stockout) ควร
ถูกวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจเมื่อมีการเก็บสินค้าไว้เป็นพิ เ ศษ จากการศึ ก ษาพบว่ า ลู ก ค้ า จะยอมรั บ รั บ การ
บริการลูกค้าที่ต่ากว่าระดับการบริการลูกค้า การไม่ มี สิ น ค้ า ส ารองในคลั ง สิ น ค้ า (stockout) จะแปรผั น
ตามอุตสาหกรรมและช่องทางสมาชิก บริษัทผู้ผลิต เช่น ฟอร์ดและโตโยต้าจะไม่ มี ก ารขาดแคลนสิ น ค้ า ใน
คลังสินค้า (stockout) เนื่องจากต้นทุนการหยุดการผลิต และเริ่ ม ต้ น การผลิ ต ใหม่ ในขณะที่ ร้า นค้ า ปลี ก
เช่น Wal-Mart และ Sears สามารถทนต่อการไม่มีสินค้าสารองในคลั งสินค้า (stockout) ได้

ระบบการจัดการคลังสินค้า (Warehousing Management System)


แนวโน้มในการกระจายสินค้าปัจจุบัน เริ่มใช้ระบบเทคโนโลยี อั ต โนมั ติ เช่ น ซั น โยใช้ ค ลั ง สิ น ค้ า
อัตโนมัติในการกระจายสินค้า จัดเก็บประมาณหนึ่งหมื่นพาเลท ซึ่ ง ต้ อ งพ่ ว งระบบการจั ด การคลั ง สิ น ค้ า
กั บ หุ่ น ยนต์ ที่อ ยู่ ใ นรู ป เครนขนสิ น ค้ า ( Stacker Crane) นอกจากนั้ น ยั ง ควบคุ ม การจั ด เก็ บ การรั บ
การเลื อ กหยิ บ สิ น ค้ า การจั ด ส่ ง ต่ อ พ่ ว งกั บ ระบบการจั ด การขนส่ ง ( Transportation Management
System) การจัดการลานเก็บสินค้าหรื อ จอดรถ (Yard Management) มี ระบบการจั ด การด้ า นแรงงาน
การออกฉลากรหั ส แท่ ง การบรรจุ ภั ณ ฑ์ การค้ น หาช่ อ งจั ด เก็ บ ทาให้ เ กิ ด การใช้ ป ริ ม าตรคลั ง สู ง สุ ด
นอกจากนั้นยังมีการควบคุมกาหนดเวลาในการจั ด ส่ ง สิ น ค้ า ของผู้ ข าย ผู้ ซื้ อ ทาให้ เ กิ ด ระบบสิ น ค้ า ผ่ า น
คลัง (Cross Docking) ดังแสดงในรูปที่ 7.10

รูปที่ 7.9 ระบบการจัดการคลังสินค้า (WMS)

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-20

สินค้าคงคลังของผู้ขายปัจจัยการผลิตที่ได้รับการจัดการ (Vendor-Managed Inventory : VMI)


ผู้กระจายสินค้าหรือผู้ซื้อ ในระบบเดิ ม จะสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า ไปยั ง ผู้ ข ายปั จ จั ย การผลิ ต เมื่ อ ต้ อ งการ
สินค้าโดยผู้กระจายสินค้ารับทาหน้าที่ในการกาหนดเวลา ขนาดการสั่ ง ซื้ อ การวางแผนระดั บ สิ น ค้ า คง
คลั ง ในระบบนี้ ผู้ ผ ลิ ต จะท าหน้ า ที่ แ ทน โดยรั บ ข้ อ มู ลอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ผ่ า นการแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ลทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (EDI) หรืออินเตอร์เน็ต ซึ่งผู้ผลิตสามารถรับทราบยอดขาย ระดั บ สต็ อ คที่ ผู้ ข ายสิ น ค้ า มี
อยู่ผ่านระบบเรียลไทม์ที่มีอยู่ผู้ผลิตสามารถกาหนดระดับสินค้าคงคลังที่จะเก็ บ ไว้ โ ดยไม่ ใ ห้ ก ระทบต่ อ การ
ผลิต เพิ่มประสิทธิภาพในซัพพลายเชน เป็นผู้วางแผนการผลิ ต เอง ทาให้ เ กิ ด ประโยชน์ ทั้ง ผู้ ผ ลิ ต และผู้
กระจายสินค้า เพิ่มความเร็วในกระบวนการ ลดความยกพร่ อ งในการป้ อ นข้ อ มู ล เพราะการสื่ อ สารทา
ระหว่างระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ และอินเตอร์เน็ตระหว่ า งคอมพิ ว เตอร์ ต่ อ คอมพิ ว เตอร์
โอกาสประโยชน์สินค้าในสต็อคขาดมีน้อยมาก ต้นทุ น การวางแผนและการสั่ ง ซื้ อ ต่ าลงเพราะย้ า ยไปให้
ผู้ผลิตดาเนินการเอง การบริ ก ารได้ รับ การปรั บ ปรุ ง ให้ ดี ขึ้ น เพราะกระจายสิ น ค้ า ได้ ถู ก ต้ อง ในเวลาที่
กาหนด ทาให้ติดตามยอดขายจากจุดที่ขายได้ทันทีลดความบกพร่องในการสั่ ง สิ น ค้ า ของผู้ ก ระจายสิ น ค้ า
ซึ่งเป็นการเริ่มต้นของความร่วมมือช่วงแรกในซัพพลายเชน

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน


บทที่ 7 การจัดการคลังสินค้า 7-21

หน่วยที่ 1.4 กรณีศึกษา


Nike ในยุโรป9
Nike มี ค ลั ง สิ น ค้ า ในยุ โ รป 20 แห่ ง เมื่ อ มี ก ารจั ด ตั้ ง สหภาพยุ โ รป ( EU) บริ ษั ทลดจ านวน
คลังสินค้าเหลือเพี ย งแห่ ง เดี ย ว คลั ง สิ น ค้ า นี้ ตั้ ง อยู่ ที่เ มื อ ง Meerhout ประเทศเบลเยี ย ม มี พื้ น ที่ รวม
70,000 ตารางเมตร ที่ตั้งคลังสินค้าอยู่ใกล้ถนนสายหลัก สถานี รถไฟ การขนส่ ง ลาน้ า และอยู่ ห่า งจาก
ท่าเรื่องระหว่างประเทศ Antwert เพียงหนึ่งชั่วโมงด้ ว ยทางรถยนต์ การลดคลั ง สิ น ค้ า เหลื อ เพี ย งแห่ ง
เดียวทาให้บริษัทลดต้นทุนคลังสินค้าและสินค้าคงคลั ง และเพื่ อ คงไว้ ซึ่ ง การบริ ก ารลู ก ค้ า ในยามรี บ ด่ ว น
บริษัทใช้การขนส่งที่รวดเร็ว แม้การขนส่งที่รวดเร็วจะมีต้นทุนสูง แต่ต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ก็ ยั ง น้ อ ยกว่ ารายจ่ า ย
คลังสินค้าและสินค้าคงคลังที่ประหยั ดได้ทาให้บ ริษัทมี กาไรสู งขึ้น

แบบฝึกหัดท้ายบท
1. ให้นักศึกษาอธิบายความหมายและความส าคัญของการจัด การคลั งสินค้า
2. ให้นักศึกษาอธิบายปัจจัยที่ทาให้คลัง สินค้าไม่มีคุณภาพ
3. ให้นกั ศึกษาอธิบายความแตกต่า งระหว่า งการจัด การคลั งสินค้าและสินค้าคงคลัง

เอกสารอ้างอิง
David J. Bloomberg, Stephen Lemay and Joe B. Hanna (2002) Warehouse Management.
Prentice Hall, Inc., upper Saddle River, New Jersey.
ไชยยศ ไชยมั่นคง และ ดร.มยุขพันธุ์ ไชยมั่นคง. 2537. กลยุทธ์โลจิสติก ส์ แ ละซั พ พลายเชนเพื่ อ แข่ ง ขั น
ในตลาดโลก. บริษัท ซี. วาย. ซิซเทม พริ้นติ่ง จากัด
ดร.คานาย อภิปรัชญาสกุล (2537). ส่วนที่ 3 โลจิสติ ก ส์ แ ละการจั ด การซั พ พลายเชน. โลจิ ส ติ ก ส์ เ พื่ อ
การผลิต และการจัดการด าเนินงาน. บริษัท ซี.วาย.ซิซเทิม พริ้นติ่ง จากัด.

9
ไชยยศ ไชยมั่นคง และ ดร.มยุขพันธุ์ ไชยมั่นคง. 2537. กลยุทธ์โลจิสติกส์และซัพพลายเชนเพื่อแข่งขันในตลาดโลก.
บริษัท ซี. วาย. ซิซเทม พริ้นติ่ง จากัด. หน้า 427

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา LOG2401 การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

You might also like