You are on page 1of 9

บทที่ 3 ตัวขับเคลื่อนและอุปสรรคของโซ่อุปทาน

วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
1. ระบุถึงตัวขับเคลื่อนโซ่อุปทาน
2. อภิปรายถึงบทบาทของตัวขับเคลื่อนโซ่อุปทานแต่ละตัว
ที่มีต่อการสร้างความเหมาะสมระหว่างกลยุทธ์ของโซ่อุปทานและ
กลยุทธ์ด้านการแข่งขัน
3. อธิบายได้ถึงอุปสรรคหลัก ๆ ที่ต้องเอาชนะเพื่อให้การ
จัดการด้านโซ่อุปทานประสบผลสำเร็จ

1
ตัวขับเคลื่อนสมรรถนะของโซ่อุปทาน
1. สินค้าคงคลัง (Inventory) ประกอบด้วยวัตถุดิบ งาน
ระหว่างกระบวนการ และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป
2. การขนส่ง (Transportation) จากการเคลื่อนย้ายวัสดุ
คงคลังจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
3. สิ่งอำนวยความสะดวก (Facilities) เป็นสถานที่เก็บของ
วัสดุคงคลัง
4. ข้อมูลสารสนเทศ (Information) ประกอบด้วยข้อมูลดิบ
และการวิเคราะห์ ที่เกี่ยวข้องกับตัวขับเคลื่อนสมรรถนะและลูกค้า
2
กรอบการทำงานสำหรับการจัดโครงสร้างของตัวขับ
เคลื่อนโซ่อุปทาน
เริ่มจาก
1. กลยุทธ์เชิงการแข่งขัน
2. กลยุทธ์ด้านโซ่อุปทาน โดยพิจารณาแนวทางในการ
สร้างประสิทธิภาพและความสามารถในการตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า
3. ตัวขับเคลื่อนโซ่อุปทานทั้ง 4 ประการ

3
สินค้าคงคลัง
โดยครอบคลุมตลอดทั้งโซ่อุปทาน ตั้งแต่การใช้วัตถุดิบใน
การผลิต จนออกมาเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป โดยมีองค์ประกอบ
ของการตัดสินในด้านสินค้าคงคลังดังนี้
1. สินค้าคงคลังหมุนเวียน
2. สินค้าคงคลังเพื่อความปลอดภัย
3. สินค้าคงคลังตามฤดูกาล

4
การขนส่ง
การขนส่งทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ระหว่างขั้น
ตอนต่าง ๆ โดยมีองค์ประกอบของการตัดสินใจด้านการขนส่ง คือ
1. วิธีการของการขนส่ง
2. เส้นทางและการเลือกเครือข่าย
3. การดำเนินการเองภายในหรือใช้บริการภายนอก
4. การสร้างภาวะสมดุลโดยรวม : ความสามารถในการ
ตอบสนองความต้องการของลูกค้าและความมีประสิทธิภาพ

5
สิ่งอำนวยความสะดวก
องค์ประกอบของการตัดสินใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
1. ทำเลที่ตั้ง
2. ความสามารถในการผลิตหรือจัดเก็บ โดยพิจารณาความ
ยืดหยุ่นและความมีประสิทธิภาพ
3. วิธีการในการผลิต
4. วิธีการในการจัดเก็บสินค้าคงคลัง

6
ข้อมูลสารสนเทศ
โดยมีองค์ประกอบของการตัดสินใจด้านข้อมูลดังนี้
1. ระบบผลักหรือระบบดึง
2. การประสานงานและการใช้ข้อมูลร่วมกัน
3. การพยากรณ์และการวางแผนการผลิตโดยรวม
4. เทคโนโลยีต่าง ๆ

7
องค์ประกอบของเทคโนโลยีต่าง ๆ
1. การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI)
2. อินเตอร์เน็ต
3. ระบบการวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (ERP System)
4. ซอฟแวร์การจัดการโซ่อุปทาน (SCM)

8
อุปสรรคในการบรรลุถึงความเหมาะสมเชิงกลยุทธ์
อันประกอบไปด้วย
1. การเพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
2. วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ที่สั้นลง
3. ลูกค้ามีความต้องการเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
4. การแบ่งแยกความเป็นเจ้าของของโซ่อุปทาน
5. โลกาภิวัตน์
6. ความยากในการดำเนินงานกลยุทธ์ใหม่

You might also like