You are on page 1of 15

บทที่ 1 ทำความเข้าใจกับ โซ่อุปทาน

วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
1. อธิบายถึงวัฏจักรและมุมมองของกระบวนการแบบดึง
(Pull) และแบบผลัก (Push) ของโซ่อุปทาน
2. ระบุถึงการตัดสินใจในด้านต่างๆ ที่มีความสำคัญทั้ง 3
ด้านของโซ่อุปทานและอธิบายถึงลักษณะสำคัญของแต่ละด้านนั้น
3. อภิปรายถึงเป้ าหมายของโซ่อุปทานและอธิบายถึงผลก
ระทบของการตัดสินใจในโซ่อุปทานที่มีต่อความสำเร็จของบริษัท

1
บทที่ 1 ทำความเข้าใจกับ โซ่อุปทาน
โซ่อุปทาน (Supply Chain) คือ อะไร

โซ่อุปทานจะประกอบไปด้วยขั้นตอนทุกๆขั้นตอนที่
เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อมที่มีต่อการตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า

2
การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management)

การไหลของสินค้า

องค์กร A องค์กร B องค์กร C องค์กร D


Supplier Manufacturer Distributor Retailer Customer

การไหลของข้อมูล

3
ผังการทำงานในระบบ Supply Chain Management
Retailer
Retailer MIS
MIS MDSG
MDSG
SUPER
Sports
P/O
Daily Prod
Sale MSTF

1. ลูกค้าซื้อสินค้า โดยใช้เครื่อง 2. ข้อมูลถูกรับจาก 3 หน่วยงาน 3. รับข้อมูลจากหน่วยงาน MIS


P.O.S. แล้วส่งข้อมูลกลับฐาน เข้ามาที่ฐานข้อมูลส่วนกลาง ไปทำการเปิ ด P/O สั่งซื้อ
ข้อมูลกลางทุกสิ้นวันเมื่อปิ ด เพื่อ Update แล้วทำการ สินค้าเข้า DC
การขาย วิเคราะห์
ศูนย์กระจายสินค้า
ศูนย์กระจายสินค้า(D.C.)
(D.C.) Supplier
Supplier
Daily Receipt
GR Center
รับสินค้าแทน
สาขาตามใบปะ
หน้าพร้อม P/O
แยกสาขา

5. รับสินค้าจาก Supplier ตาม Plan Receipt เข้าจัดเก็บ 4. รับ P/O เพื่อผลิตหรือเตรียมสินค้า แล้ว
แล้วเตรียมกระจายให้สาขาตามระบบ JIT และ Cross นำส่งไป DC ตาม Plan Order 4
Docking
วัตถุประสงค์ของห่วงโซ่อุปทาน

คือ การเพิ่มคุณค่าโดยรวมให้เกิดขึ้นมากที่สุด ในการตอบ


สนองความต้องการของลูกค้า ซึ่งเกี่ยวข้องกับความสามารถในการ
สร้างผลกำไรของโซ่อุปทาน

5
การตัดสินใจในด้านต่างๆของโซ่อุปทาน
1. กลยุทธ์หรือการออกแบบโซ่อุปทาน บริษัทจะทำการ
ตัดสินใจว่าโครงสร้างของโซ่อุปทานควรจะมีลักษณะอย่างไร
- ความสามารถในการผลิต
- การจัดการสินค้าคงคลัง
- สถานที่จัดเก็บ
- ชนิดของการขนส่ง
- ระบบของข้อมูลที่เหมาะสม
6
การตัดสินใจในด้านต่างๆของโซ่อุปทาน

2. การวางแผนโซ่อุปทาน ผลที่เกิดขึ้น คือนโยบายที่ใช้ใน


การปฏิบัติ ในระยะสั้น ๆ โดยอาศัย การพยากรณ์ความต้องการ
และตลาด
3. การปฏิบัติการในโซ่อุปทาน เป็นลักษณะรายวัน หรือ
สัปดาห์
การตัดสินใจด้านโซ่อุปทานจะสามารถแบ่งออกได้เป็นการ
ออกแบบ การวางแผน และการนำไปปฏิบัติ โดยแบ่งตามกรอบ
เวลาที่การตัดสินใจได้เกิดขึ้น
7
มุมมองเชิงกระบวนการของโซ่อุปทาน
1. มุมมองเชิงวัฏจักร
2. มุมมองแบบการผลัก หรือดึง (Push/Pull)
Pull เกิดจากคำสั่งซื้อของลูกค้า
Push เกิดจากการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า

8
มุมมองเชิงวัฏจักรของกระบวนการโซ่อุปทาน
1. วัฏจักรการสั่งซื้อของลูกค้า
2. วัฏจักรการเติมเต็มสินค้า
3. วัฏจักรการผลิต
4. วัฏจักรการจัดซื้อจัดหา

9
วัฏจักรการสั่งซื้อของลูกค้า
จะเกิดขึ้นเมื่อลูกค้าและผู้ค้าปลีกติดต่อกัน
1. การมาถึงของลูกค้า
2. การป้ อนคำสั่งซื้อของลูกค้า
3. การเติมเต็มคำสั่งซื้อของลูกค้า
4. การรับสั่งซื้อของลูกค้า

10
วัฏจักรการเติมเต็มสินค้า
จะเกิดขึ้นเมื่อผู้ค้าปลีกและตัวแทนจำหน่ายได้มีการติดต่อ
กัน
1. การป้ อนคำสั่งซื้อของผู้ค้าปลีก
2. การเติมเต็มคำสั่งซื้อของผู้ค้าปลีก
3. การได้รับคำสั่งซื้อของผู้ค้าปลีก

11
วัฏจักรการผลิต
จะเกิดขึ้นเมื่อตัวแทนจำหน่ายและผู้ผลิตได้ติดต่อกัน
1. การมาถึงของคำสั่งซื้อจากตัวแทนจำหน่าย ผู้ค้าปลีก
หรือลูกค้า
2. การจัดตารางการผลิต
3. การผลิตและการส่งสินค้า
4. การรับสินค้าของตัวแทนจำหน่าย ผู้ค้าปลีก หรือลูกค้า

12
วัฏจักรการจัดซื้อจัดหา
จะเกิดขึ้นเมื่อผู้ผลิตและผู้จัดส่งวัตถุดิบได้ทำการติดต่อกัน

มุมมองเชิงวัฏจักรของโซ่อุปทานนั้นจะทำให้เราสามารถ
กำหนดกระบวนการต่างๆ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการต่าง ๆ
ได้อย่างชัดเจน ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากในการตัดสินใจใน
ระดับขั้นตอนการปฏิบัติการ เนื่องจากทำให้สามารถระบุ บทบาท
หน้าที่ความรับผิดชอบในโซ่อุปทานได้
13
มุมมองแบบการผลักหรือดึงของกระบวนการในโซ่อุปทาน
จะมีการแบ่งกระบวนการต่างๆ โดยดูว่ากระบวนการนั้น
เกิดจากการตอบสนองต่อคำสั่งซื้อของลูกค้า (ดึง) หรือเกิดจากการ
พยากรณ์ถึงความต้องการของลูกค้า (ผลัก) ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ
การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโซ่อุปทาน

14
ความสำคัญของการไหลในโซ่อุปทาน
การออกแบบและการจัดการของการไหลของโซ่อุปทาน
(ผลิตภัณฑ์ ข้อมูลและเงินสด) ถือได้ว่ามีความสำคัญต่อการส่งผล
กับความสำเร็จของโซ่อุปทานเป็นอย่างยิ่ง
กรณีศึกษา บริษัท เดล

15

You might also like