You are on page 1of 95

Carbon Footprint (CFP) 3

ฉลากคาร์บอนฟุ ตพรินต์
เกณฑ์และวิธีการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์
ตามแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์ของผลิตภัณฑ์ (ประเทศไทย)

1
หัวข้อการบรรยาย
กรอบการดาเนินงานของ CFP

11 การกาหนดเป้
การก าหนดเป้าหมายและขอบเขตการศึ
าหมายและขอบเขตการศึกษา
กษา

2 การวิเคราะห์เพื่อทาบัญชีรายการสิ่งแวดล้อม

3 แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์ในไทย

2
กรอบการดาเนินงานของการจัดทา CFP

การก
การกาหนดเป้
าหนดเป้าาหมาย
หมาย
และขอบเขตการศึ
และขอบเขตการศึกกษา
ษา

การวิเคราะห์เพือ่ ทา การแปรผลและ
บัญชีรายการสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงผลิตภัณฑ์

การประเมิน
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

3
การกาหนดเป้าหมาย

• เหตุผลที่ทำคำร์บอนฟุตพรินต์
• วัตถุประสงค์และผลที่คำดว่ำจะได้รับ
• เกณฑ์ที่ใช้เลือกผลิตภัณฑ์ที่จะสำมำรถบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด
• ผลิตภัณฑ์ใดที่สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนด

4
การกาหนดขอบเขต

- ส่วนสำคัญที่ต้องมี

 กำหนดระบบผลิตภัณฑ์ที่จะศึกษำ วิธีกำรปันส่วน
 หน่วยกำรทำงำน สมมุติฐำนโดยเฉพำะในช่วงกำรใช้งำน
ขอบเขตของระบบ กำรเลือกค่ำต่ำงๆ สำหรับนำมำใช้คำนวณ
ข้อมูลและคุณภำพข้อมูล ข้อจำกัดของกำรศึกษำ

5
การกาหนดขอบเขต

ระบบผลิตภัณฑ์ (Product system)

•ต้องประกอบด้วยทุกขั้นตอนที่มีอยู่ในวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ตั้งแต่กระบวนกำรที่
ได้มำซึ่งวัตถุดิบ กระบวนกำรผลิต ช่วงกำรใช้งำน และกำรกำจัดซำกผลิตภัณฑ์หลัง
กำรใช้งำน

•ในกรณีที่ไม่สำมำรถศึกษำตลอดทั้งวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ หรือเป็นกำรดำเนินงำน
ในลักษณะ Cradle to-gate ต้องมีกำรระบุขอบเขตไว้อย่ำงชัดเจนเพื่อเอื้อประโยชน์
ให้กับองค์กรหรือผู้ผลิตที่ต้องกำรนำข้อมูลไปใช้ต่อ

6
การกาหนดขอบเขต

กาหนดปริมาณอ้างอิง

• หน่วยอ้ำงอิง ปริ ม ำณของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้


อ้ ำ งอิ ง ในกำรวิ เ ครำะห์ ค ำร์ บ อน
• หน่วยหน้ำที่ ฟุตพรินต์ เช่น
• หน่วยผลิตภัณฑ์ • ปริมำตร (Volume)
• ฯลฯ • พื้นที่ (Area)
• น้ำหนัก (Weight)
• ชิ้น (Product item)
• หน่วยกำรขำย (Sale unit)

7
การกาหนดขอบเขต

ตัวอย่างการกาหนดปริมาณอ้างอิง

เสือ้ ยืดคอกลม 1 ตัว

เครื่องดื่มโคคำ-โคลำ 1 กระป๋อง
เนื้อไก่สดซีพี 1 แพ็ค

8
การกาหนดเป้าหมายและขอบเขต

• “Gate to gate”
• “Cradle to gate”
• “Cradle to grave”
• “Cradle to cradle”

9
การกาหนดเป้าหมายและขอบเขต

Gate to gate: Partial LCA


โ ด ย พิ จ ำ ร ณ ำ เ ฉ พ ำ ะ
กระบวนกำรใด
กระบวนกำรหนึ่งจำกทั้ง
สำยโซ่กำรผลิต

10
การกาหนดเป้าหมายและขอบเขต

Cradle to gate:
ไม่ ร วมกำรใช้ และกำรก ำจั ด
ซำก นิยมใช้ในกำรทำเอกสำร
environmental product
declaration (EPD)

11
การกาหนดเป้าหมายและขอบเขต

Cradle to grave:
LCA เต็ ม รู ป แบบที่
ประเมิ น ผลกระทบตั้ ง แต่
กำรได้ ม ำซึ่ ง วั ต ถุ ดิ บ กำร
ผลิต กำรนำไปใช้ ตลอดจน
กำรกำจัดซำกหลังหมดอำยุ
กำรใช้งำน

12
การกาหนดเป้าหมายและขอบเขต

Cradle to gate
ต้นนา
กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกก่อน

Gate to gate
เข้ำสู่กระบวนกำรผลิตของ
องค์กรที่ทำกำรวัด CFP

Cradle to grave
ปลายนา
กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกหลัง
ผลิตภัณฑ์ถูกจัดจำหน่ำย

13
การกาหนดขอบเขตการวิเคราะห์

B2B Business to Business


จัดหำวัตถุดิบ ผลิต

B2C Business to Customer

จัดหำวัตถุดิบ ผลิต จำหน่ำย ใช้งำน กำจัดซำก

14
การกาหนดขอบเขตการวิเคราะห์

B2B B2C

พิจำรณำกระบวนกำรผลิตและ พิ จ ำรณำกระบวนกำรผลิ ต และ


กระบวนกำรต้ น น้ ำทั้ ง หมด ไม่ กระบวนกำรต้ น น้ ำทั ง หมด รวมถึ ง
พิจารณากระบวนการปลายน้า กระบวนการปลายน้าด้วย

15
การกาหนดขอบเขตการวิเคราะห์

16
หัวข้อการบรรยาย
กรอบการดาเนินงานของ CFP

1 การกาหนดเป้าหมายและขอบเขตการศึกษา

22 การวิเคราะห์เพื่อทาบัญชีรายการสิ่งแวดล้อม

3 แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์ในไทย

17
กรอบการดาเนินงานของการจัดทา CFP

การกาหนดเป้าหมาย
และขอบเขตการศึกษา

การวิ
การวิเเคราะห์
คราะห์เเพืพื่ออ่ ททาา การแปรผลและ
บับัญญชีชีรรายการสิ
ายการสิ่งงแวดล้
แวดล้ออมม การปรับปรุงผลิตภัณฑ์

การประเมิน
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

18
บัญชีรายการข้อมูลคืออะไร ?

• บัญชีรำยกำรข้อมูลเกี่ยวข้องกับกำรรวบรวมข้อมูล สำรขำเข้ำ (Input) และ


สำรขำออก (Output) ของระบบผลิตภัณฑ์ที่ศึกษำ โดยมีมำตรฐำนในกำร
รวบรวมข้อมูลบัญชีรำยกำรสิ่งแวดล้อมตลอดวัฏจักรชีวิต

19
บัญชีรายการข้อมูลคืออะไร ?

สำรขำเข้ำ
วัสดุ พลังงำน ทรัพยำกรธรรมชำติ

การได้มาซึ่ง
การขนส่ง การผลิต การขนส่ง การใช้งาน การกาจัด
วัตถุดิบ

สำรขำออก
มลสำรในอำกำศ และน้ำ ของเสียในรูปของแข็ง
20
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

21
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

22
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

23
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

24
25
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

Mass balance example: flour production


26
27
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

28
29
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

30
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

31
32
33
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

34
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

35
ตัวอย่าง LCI ของกระบวนการผลิต Croissant

36
Allocation

37
ขันตอนการจัดทาบัญชีรายการ

1 การเก็บข้อมูล (Data Collection)

2 การคานวณ (Calculation)

3 การตรวจสอบความถูกต้อง (Data validation)

4 การเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยกระบวนการ(Relating data to the specific system)

5 การปันส่วน (Allocation)

6 การหาค่าเฉลี่ย (Averaging)

38
แหล่งที่มาของข้อมูล

 รำยงำนผลกระทบ
แบบสอบถำม สิ่งแวดล้อม
กำรสัมภำษณ์  เอกสำร EPD
(โดยตรง ทำงโทรศัพท์)  ข้อมูลทำงสถิติ
ข้อมูลปฐมภูมิ  วำรสำรต่ำง ๆ
 วิทยำนิพนธ์
 Government
ข้อมูลทุติยภูมิ publications
 NGO publications
 รำยงำนกำรวิจัยและ
ข้อมูลจากการคานวณ กรณีศึกษำต่ำง ๆ
 ฐำนข้อมูลในอินเตอร์เน็ต
ส ำหรั บ กรณี ที่ ไ ม่ มี ข้ อ มู ล ที่  ฐำนข้อมูลในซอฟท์แวร์ตำ่ ง
ต้ อ ง ก ำ ร ห รื อ ข้ อ มู ล มี ๆ
คุณภำพต่ำ

39
การขอใช้ฐานข้อมูลของประเทศไทย

• ตรวจสอบรำยชื่อและสถำนะของฐำนข้อมูลวัฏจักรชีวิต (National LCI) ที่มี ณ


ปัจจุบัน ได้ที่ http://thailcidatabase.net

• ดำวน์โหลดแบบฟอร์ม “ขอใช้ฐำนข้อมูลวัฏจักรชีวิต (National LCI) กรอกข้อมูลให้


ครบถ้วน

• ส่งจดหมำยขอควำมอนุเครำะห์ข้อมูลพร้อมแบบฟอร์มมำยัง “หัวหน้ำห้องปฏิบบัติ
กำรกำรประเมิ น วั ฏ จั ก รชี วิ ต ศู น ย์ เ ทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห่ ง ชำติ เลขที่ 114
อุทยำนวิทยำศำสตร์แห่งชำติประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภค
ลองหลวง จังหวัดปทุมธำนี 12120”

40
การเตรียมการเพื่อเก็บข้อมูล

• กำหนดขอบเขตในกำรเก็บข้อมูล
• เตรียมแผนผังกระบวนกำรผลิต
• ให้รำยละเอียดแต่ล ะหน่ วยกำรผลิ ตรวมถึง ข้ อมูล สำรขำเข้ ำ สำรขำออกที่
เกี่ยวข้องเท่ำที่ทรำบ
• กำหนดรำยกำรของหน่วยวัดที่ใช้
• ให้รำยละเอียดเทคนิคกำรเก็บข้อมูลและเทคนิคกำรคำนวณ
• จัดเตรียมคู่มืออธิบำยวิธีกำรให้ข้อมูล
• จัดทำแบบสำรวจข้อมูล

41
ข้อมูลที่ต้องมีแบบสารวจข้อมูล

• ขั้นตอนกำรผลิตและรำยละเอียดที่เกี่ยวข้อง
• ช่วงเวลำที่เก็บข้อมูล
• ขั้นตอนและวิธีกำรได้มำซึ่งข้อมูล เช่น จำกกำรวัด จำกกำรคำนวณ จำก
กำรประมำณค่ำ ฯ
• ปริมำณสำรขำเข้ำ (วัตถุดบิ และพลังงำน)
• ปริมำณสำรขำออก (ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ร่วม มลสำรต่ำง ๆ ของเสีย)

42
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (1)

พลังงำน น้ำ

ผลิตภัณฑ์
ทรัพยำกร วัตถุดิบ หน่วยกระบวนกำร
ผลิตภัณฑ์ร่วม

มลสำร มลสำร
ที่ปล่อยสู่อำกำศ ที่ปล่อยสู่น้ำ

ของเสียในรูปของแข็ง

43
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (2) : แหล่งกาเนิดก๊าซเรือนกระจก

1 กำรผลิตวัตถุดิบที่ใช้ทุกประเภท

2 กำรผลิตพลังงำนที่ใช้ทุกประเภท

3 กระบวนกำรเผำไหม้

4 ปฏิกริยำเคมี

5 กำรสูญเสียน้ำยำทำควำมเย็น

6 กำรขนส่ง

7 กำรกำจัดของเสีย

44
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (3)

 วัตถุดิบในกระบวนกำรผลิตและบรรจุหีบห่อ

ข้อมูลที่ต้องกำรได้แก่:
- ชนิดและปริมำณของวัตถุดิบหลัก วัตถุดิบประกอบ สำรเคมี บรรจุภัณ ฑ์
รวมถึงวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนกำรแต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์
- รูปแบบกำรนำไปใช้ของวัตถุดิบแต่ละรำยกำร
- ชนิดและปริมำณของวัตถุดิบที่มีกำรสูญหำยไปในระหว่ำงกำรผลิต

45
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (4)

วัตถุดิบในกำรขนส่ง (Transport service inputs)

ได้แก่ กำรขนส่งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์
ข้อมูลที่ต้องกำรได้แก่:
- พำหนะที่ใช้ เช่น ฟอร์คลิฟท์ รถบรรทุก เรือ ฯ
- ระยะทำงที่ขนส่ง
- ชนิดและน้ำหนักของสิ่งที่บรรทุก
- ส่วนใหญ่จะพิจำรณำเฉพำะกำรขนส่งเข้ำโรงงำน

46
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (5)

 วัตถุดิบในระบบบำบัดของเสีย

ข้อมูลที่ต้องกำรได้แก่
- ชนิดของของเสีย (ของเสียทั่วไป ของเสียอันตรำย กำกตะกอน น้ำเสีย)
- ปริมำณ
- ส่วนประกอบทำงเคมี และทำงกำยภำพ
- กระบวนกำรบำบัด (ฝังกลบ เผำ รีไซเคิล ฯ)

47
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (6)

น้ำ

ข้อมูลที่ต้องกำรได้แก่
- ชนิดของน้ำ ได้แก่ น้ำผิวดิน (บำบัด / ไม่บำบัด) น้ำบำดำล
น้ำประปำ น้ำอ่อน น้ำ ปรำศจำกแร่ธำตุ น้ำปรำศจำกไอออน
- ปริมำณ
- รูปแบบกำรนำไปใช้

48
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (7)

 พลังงำน

ข้อมูลที่ต้องกำรได้แก่
- พลังงำนที่สำคัญมี 2 รูปแบบได้แก่ พลังงำนไฟฟ้ำและพลังงำน
ควำมร้อน
- ข้อมูลที่ดีควรแบ่งพลังงำนตำมชนิดของตัวพำพลังงำน
- ชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช้ รูปแบบกำรนำไปใช้ (end final use)
มลสำรที่ปล่อยออก

49
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (8)

มลสำรที่ปล่อยสู่อำกำศ

ข้อมูลที่ต้องกำรได้แก่
- ปริมำณอำกำศเสีย
- ส่วนประกอบของอำกำศเสีย (โดยเฉพำะส่วนที่เกี่ยวข้องกับโลหะหนัก)
- ควรแยกระหว่ำงมลสำรที่ปล่อยจำกกระบวนกำรผลิตและมลสำรที่ปล่อย
จำกกำรใช้พลังงำน

50
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (9)

มลสำรที่ปล่อยสู่น้ำ

ข้อมูลที่ต้องกำรได้แก่
- ปริมำณของน้ำเสีย
- ส่วนประกอบของน้ำเสีย (หลังกำรบำบัด)

51
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (10)

มลสำรที่ปล่อยสู่ดิน

ข้อมูลที่ต้องกำรได้แก่
- ปริมำณ
- ส่วนประกอบ
- ชนิดของพื้ยดินที่มีกำรปลดปล่อยของเสีย (agricultural,
industrial)

52
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (11)

• กำรปล่อยก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ที่มีแหล่งกำเนิดจำกฟอสซิลและไบโอจินิค
คำร์บอน
– ต้องนำกำรปล่อยก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจำกแหล่งกำเนิดฟอสซิลมำคำนวณด้วยแต่
ไม่ต้องคำนวณกำรปล่อยก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจำกไบโอจินิคคำร์บอน
• กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกที่ไม่ใช่คำร์บอนไดออกไซด์ที่มีแหล่งกำเนิดจำกฟอสซิล
และไบโอจินิคคำร์บอน
– ต้องนำกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกที่ไม่เป็นก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ทั้งที่มำจำกฟอสซิล
และไบโอจินิคคำร์บอนมำคำนวณด้วย

53
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ (12)

ผลิตภัณฑ์ร่วม (Co-Product)
ข้อมูลที่ต้องกำรได้แก่
- ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนกำรผลิตผลิตภัณฑ์หลัก
- ถ้ ำ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลำยชนิ ด เกิ ด ขึ้ น ในกระบวนกำรผลิ ต จ ำเป็ น ต้ อ ง
“ปันส่วน” ของเสียที่เกิดขึ้นและพลังงำนที่ใช้ให้แก่ผลิตภัณฑ์แต่ละ
รำยกำร

54
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

ช่วงการได้มาซึ่งวัตถุดิบและกระบวนการผลิต
1.วัตถุดิบ
ให้รวมกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกที่เกิดจำกทุกกระบวนกำรที่ใช้วัตถุดิบ กำรใช้พลังงำน
รวมทั้งแหล่งที่มีกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกโดยตรง
หมำยเหตุ :
1.กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกจำกวัตถุดิบ จะรวมไปถึงกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกจำกกำร
ทำเหมือง หรือกำรสกัดวัตถุดิบต่ำงๆ (ของแข็ง ของเหลวและก๊ำซ)
2.กำรปล่อยกำซเรือนกระจกจำกภำคเกษตรกรรมจะรวมไปถึงกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระ
จำกกำรใช้ปุ๋ยและกำรปศุสัตว์

55
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

ช่วงการได้มาซึ่งวัตถุดิบและกระบวนการผลิต
2.พลังงำน
หมำยเหตุ :
กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกจำกพลังงำนจะรวมถึงกำรปล่อยก๊ำซที่เกิดจำกวัฏจักร
ชีวิตของพลังงำน ได้แก่ กำรปล่อย ณ แหล่งที่มีกำรใช้พลังงำน (กำรปล่อยจำก
กำรเผำไหม้) กำรปล่อยก๊ำซที่เกิดจำกเชื้อเพลิงกำรขนส่ง

56
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

ช่วงการได้มาซึ่งวัตถุดิบและกระบวนการผลิต
3.ข้อกำหนดของกำรผลิตและกำรบริกำร
ให้นำกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกที่เกิดจำกกำรผลิตสินค้ำและบริกำรภำยใน
วัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์มำคำนวณด้วยในกรณีที่มีกระบวนกำรสร้ำงต้นแบบ (model)
ของผลิตภัณฑ์ใหม่ ให้ทำกำรคำนวณกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกโดยทำกำรปันส่วนกำร
ปล่อยก๊ำซไปยังผลิตภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ร่วม (co-product) ด้วย

57
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

ช่วงการได้มาซึ่งวัตถุดิบและกระบวนการผลิต
4.กำรปฏิบัติงำนในพื้นที่
คำนวณกำรปล่อยก๊ำซที่เกิดจำกกำรปฏิบัติหน้ำที่ ประกอบด้วย ระบบแสงสว่ำง
ระบบควำมร้อน ระบบควำมเย็น ระบบระบำยอำกำศ กำรควบคุมควำมชื้น
และกำรควบคุ ม มลพิ ษ สิ่ ง แวดล้ อ มอื่ น ๆ โดยอำศั ย กำรปั น ส่ ว นที่ เ หมำะสม
รวมถึงกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกจำกโกดังสินค้ำ

58
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

ช่วงการได้มาซึ่งวัตถุดิบและกระบวนการผลิต
5.กำรขนส่ง
ทำกำรประเมินโดยวิธีกำรใดวิธีกำรหนึ่ง โดยเรียงลำดับดังนี้
1. ข้อมูลปริมำณเชื้อเพลิงที่ใช้ในกำรขนส่ง คูณด้วยค่ำ EF
2. กรณีไม่มีข้อมูลเชื้อเพลิง ให้ใช้ค่ำเฉลี่ยของระยะทำงคูณด้วยปริมำณสินค้ำที่
บรรทุก จำกนั้นคูณด้วยค่ำ EF ตำมประเภทรถที่ใช้ในกำรขนส่ง
3. ให้ใช้ระยะทำง 700 กิโลเมตร พิจำรณำขำไปและกลับ ของรถบรรทุกกึ่งพ่วง
22 ล้อ ขนำด 32 ตัน

59
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

การขนส่งวัตถุดิบภายในประเทศ การขนส่งวัตถุดิบระหว่างประเทศ

ผู้จัดหำวัตถุดิบ

ผู้จัดหำวัตถุดิบ
ขอบเขตกำรเก็บข้อมูล

ท่ำเรือต่ำงประเทศ

ขอบเขตกำรเก็บข้อมูล
ผู้ผลิต ท่ำเรือประเทศไทย

ผู้ผลิต

60
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

การขนส่งผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ การขนส่งผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ

ผู้ผลิต

ผู้จัดหำวัตถุดิบ
ขอบเขตกำรเก็บข้อมูล

แหล่งกระจำยสินค้ำ

ขอบเขตกำรเก็บข้อมูล
แหล่งกระจำยสินค้ำ
ท่ำเรือประเทศไทย

ท่ำเรือต่ำงประเทศ
61
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

การขนส่งซากผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์

- คำนวณกำรปล่อยก๊ำซเรือน
ผู้ใช้งำน กระจกที่เกิดจำกกำรกำจัดซำกผลิตภัณฑ์
ขอบเขตกำรเก็บข้อมูล

หลังกำรใช้งำนด้วย (ยกเว้นกำรประเมิน
แบบ Cradle-to-gate)
- ห ำ ก ไ ม่ มี ข้ อ มู ล ป ฐ ม ภู มิ ใ ห้
คำนวณโดยกำหนดให้ใช้ค่ำกำรปล่อยก๊ำซ
แหล่งรับบำบัด/กำจัด เรือนกระจกจำกกำรกำจัดซำกผลิตภัณฑ์
แบบกำรฝังกลบ (landfill)

62
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

การขนส่งของเสียต่างๆ

- กำรขนส่งขยะคิดระยะทำงเที่ยวละ 40
ผู้ผลิต
ขอบเขตกำรเก็บข้อมูล

กิโลเมตร
- รถบรรทุ ก 10 ล้ อ ขนำด 16 ตั น
บรรทุกแบบน้ำหนักเต็ม
- พิ จ ำรณำกำรขนส่ ง ขำกลั บ ที่ เ ป็ น
แหล่งรับบำบัด/กำจัด
รถบรรทุกขยะเปล่ำด้วย

63
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

ประเด็นที่ไม่กาหนดให้อยู่ในขอบเขตระบบ
-พลังงำนของมนุษย์
-กำรเดินทำงไปกลับของลูกค้ำ ณ จุดขำยปลีก
-กำรเดินทำงของพนักงำนทั้งไปและกลับจำกที่ทำงำน
-กำรขนส่งโดยสัตว์
-กิจกรรมส่วนสำนักงำน
-โรงอำหำร และสินค้ำทุน (Capital goods)

64
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

สัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีนัยสาคัญ
กำรประเมินคิดทุกช่วงวัฏจักรชีวิตตำมขอบเขตที่กำหนด ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลปริมำณ
กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกไม่น้อยกว่ำร้อยละ 95 ของกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก
ทั้งหมด สำหรับข้อมูลที่ขำดต้องมีสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 5 ของกำรปล่อยก๊ำซเรือน
กระจกทั้งระบบผลิตภัณฑ์ซึ่งสำมำรถทำกำรตัดออกได้ และเมื่อกำรตัดออกต้องมีกำร
เพิ่มสัดส่วนของปริมำณก๊ำซเรือนกระจกจำกวัตถุดิบและสำรขำออกรวมทุกรำยกำร

65
ขอบเขตการเก็บข้อมูลตามคู่มือการประเมินฯ

ข้อกาหนดด้านคุณภาพข้อมูล
ข้อมูลที่นำมำใช้ในกำรประเมินกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก ควรคำนึงถึงประเด็น
ดังต่อไปนี้

- ระยะเวลำที่ใช้ในกำรเก็บข้อมูล - ควำมสม่ำเสมอ
- ภูมิศำสตร์ - ควำมสำมำรถในกำรทำซ้ำ
- เทคโนโลยี - แหล่งที่มำของข้อมูล
- ควำมเที่ยง - ควำมไม่แน่นอนของข้อมูล
- ควำมเป็นตัวแทนของข้อมูล - ควำมครบถ้วน

66
ตัวอย่างบัญชีข้อมูลรายการ

(ทีมำของข้อมูล: International Aluminum Institute, 2003)


67
อุปสรรคและข้อจากัด

• กำรเก็บข้อมูลทำได้ยำกและใช้เวลำนำน
- ข้อมูลที่ตีพิมพ์เกี่ยวกับภำระสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ไม่สอดคล้องกันและไม่สำมำรถนำไป
งำนได้โดยตรง

• ข้ อ มู ล ที่ มี อ ยู่ มี ค วำมคลำดเคลื่ อ นสู ง เพรำะข้ อ มู ล มำจำกหลำยแหล่ ง ซึ่ ง มี เ ป้ ำ หมำย


กำรศึกษำไม่ตรงกัน และอำจมีกำรกำหนดสมมติฐำนหลำยอย่ำง บำงครั้งในข้อมูลทำง
สถิติซึ่งอำจไม่ตรงกับข้อมูลจริง หลำยครั้งใช้กำรประมำณค่ำแบบเส้นตรง
- กำรคำนวณปริมำณต่ำง ๆ เกิดควำมผิดพลำดได้ง่ำย
- กำรทำสมดุลมวลสำร และสมดุลพลังงำนอำจไม่ถูกต้อง

68
อุปสรรคและข้อจากัด

• กำรจัดทำข้อมูล LCI ขึ้นกับวัตถุประสงค์ของกำรนำไปใช้งำนเป็นหลัก เช่น สำหรับ


เป็ น ฐำนข้ อ มู ล พื้ น ฐำนของประเทศ ส ำหรั บ เปรี ย บเที ย บกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อื่ น ที่ ใ ช้
เทคโนโลยีต่ำงกัน ฯลฯ จึงต้องให้ควำมสำคัญกับวัตถุประสงค์มำก ๆ

69
หัวข้อการบรรยาย
กรอบการดาเนินงานของ CFP

1 การกาหนดเป้าหมายและขอบเขตการศึกษา

2 การวิเคราะห์เพื่อทาบัญชีรายการสิ่งแวดล้อม

33 แนวทางการประเมิ
แนวทางการประเมินนคาร์
คาร์บบอนฟุ
อนฟุตตพริ
พรินนต์ต์ใในไทย
นไทย

70
กรอบการดาเนินงานของการจัดทา CFP

การกาหนดเป้าหมาย
และขอบเขตการศึกษา

การวิเคราะห์เพือ่ ทา การแปรผลและ
บัญชีรายการสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงผลิตภัณฑ์

การประเมิ
การประเมินน
ผลกระทบสิ
ผลกระทบสิ่ง่งแวดล้
แวดล้ออมม

71
การประเมินผลกระทบ

• Life Cycle Impact Assessment (LCIA) เป็นขั้นตอนที่มีเป้ำหมำยเพื่อ


ประเมินระดับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมว่ำผลกระทบด้ำนใดที่มีควำมสำคัญ
ในระบบผลิตภัณฑ์ที่พิจำรณำ

• โดยจะแปรข้ อมู ลบัญ ชี รำยกำร (ค่ ำ ปริม ำณของของเสีย ที่เ กิดขึ้ นทั้ง หมด
ตลอดจนวัตถุดิบและพลังงำนที่ใช้) ให้อยู่ในรูปของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

72
Download : http://www.tgo.or.th
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก(TGO)

74
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

• ชื่อผลิตภัณฑ์ => ข้อมูลผลิตภัณฑ์


• ขอบเขตกระบวนกำรผลิต => B2B หรือ B2C
• วัตถุดิบ
• ค่ำสัมประสิทธิ์ กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก
(GHG Emission Factor)
• ปริมำณกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก

ข้อมูลทั้งหมดต้องได้รับกำรบันทึกไว้ในรูปแบบที่เหมำะสมสำหรับใช้วิเครำะห์และ
ทวนสอบได้อีกอย่ำงน้อย 2 ปี หรือตลอดอำยุผลิตภัณฑ์ที่แสดงฉลำกนั้นอยู่ในตลำด

75
ข้อมูลผลิตภัณส์ าหรับขอขึนทะเบียนคาร์บอนฟุตพรินต์

• ชื่อ / รุ่น ผลิตภัณฑ์


• ขนำด / น้ำหนัก
• เครื่องหมำยกำรค้ำ
• วัตถุดิบหลัก
• ผลิตในประเทศ / นำเข้ำ

ข้อมูลเพิ่มเติม: http://thaicarbonlabel.tgo.th/File/CarbonRegisForm.pdf

76
หน่วยการวิเคราะห์

• ก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่ำต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ เช่น
− กรัมคำร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่ำต่อหน่วยผลิตภัณฑ์
− กิโลกรัมคำร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่ำต่อหน่วยผลิตภัณฑ์
− ตันคำร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่ำต่อหน่วยผลิตภัณฑ์

77
การคานวณคาร์บอนฟุตพรินต์

CO2 emission Environmental Emission


Load Factor

Environmental Load เป็นข้อมูลกิจกรรมที่ก่อให้เกิดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก


Emission factor เป็นค่ำคงที่ที่ใช้เปลี่ยน Activity data ให้เป็นค่ำปริมำณกำรปล่อย
ก๊ำซเรือนกระจก
การจัดหาวัตถุดิบ

• สำหรับ B2B และ B2C


• กำรสกัดทรัพยำกรธรรมชำติ เช่นกำรทำเหมืองแร่
กำรเกษตรกรรม ฯลฯ  ปริมำณวัตถุดิบ
• กำรผลิตวัตถุดิบและพลังงำน  ปริมำณพลังงำน
• กำรกำจัดและบำบัดของเสียจำกกำรได้มำซึ่งวัตถุดิบ  ปริมำณบรรจุภัณฑ์
• กำรขนส่งวัตถุดิบและพลังงำน
• กำรขนส่งของเสียจำกกำรได้มำซึ่งวัตถุดิบ

79
การผลิต

• สำหรับ B2B และ B2C


• กำรผลิตผลิตภัณฑ์เป้ำหมำย  ปริมำณเชื้อเพลิง
 ปริมำณวัตถุดิบ
• กำรกำจัดและบำบัดของเสียจำกกำรผลิต
 ปริมำณของเสีย
• กำรขนส่งของเสียจำกกำรผลิต
 ปริมำณพลังงำนไฟฟ้ำ
 ปริมำณพลังงำนควำมร้อน

80
การจาหน่าย

• สำหรับ B2C เท่ำนั้น  ปริมำณเชื้อเพลิง


• กำรจั ด เก็ บ และรั ก ษำผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข ณะขนส่ ง  ปริมำณวัตถุดิบ
ก่อนวำงจำหน่ำย และขณะวำงจำหน่ำย
 ปริมำณของเสีย
• กำรกำจัดและบำบัดของเสียจำกกำรจำหน่ำย
 ปริมำณพลังงำนไฟฟ้ำ
• กำรขนส่งผลิตภัณฑ์
 ปริมำณพลังงำนควำมร้อน
• กำรขนส่งของเสียจำกกำรจำหน่ำย
ปริมำณบรรจุภัณฑ์

81
การใช้งาน

• สำหรับ B2C เท่ำนั้น


• กำรเตรี ย มกำร กำรติ ด ตั้ ง กำรใช้ ง ำนหรื อ บริ โ ภคสิน ค้ ำ ตลอดจนกำร
บำรุงรักษำผลิตภัณฑ์ตลอดอำยุกำรใช้งำน
• กำรบำบัดและกำจัดของเสียจำกกำรใช้งำน
• กำรขนส่งของเสียจำกกำรใช้งำนไปยังแหล่งรับจกำจัดและบำบัด

รูปแบบกำรใช้งำนผลิตภัณฑ์ต้องอ้ำงอิงตำมข้อมูลกำรใช้งำนผลิตภัณฑ์ตำมที่
ผู้ผลิตกำหนด หรือข้อกำหนดเฉพำะของผลิตภัณฑ์ (Product Category Rule:
PCR)

82
การคานวณการจัดการซาก

วิธีที่ 1 ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ กล่ำวคือให้อ้ำงอิงกำรกำจัดและบำบัดซำกตำม


เหตุกำรณ์จริง เช่น เผำ แยกชิ้นส่วน นำกลับไปใช้ใหม่ ฯลฯ

วิธีที่ 2 คำนวณโดยใช้ค่ำกำรปลดปล่อยก๊ำซเรือนกระจกจำกกำรกำจัดซำก
ผลิตภัณฑ์ด้วยกำรฝังกลบ (Landfill) ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลที่สำมำรถพิสูจน์ได้
หรือกรณีที่ซำกผลิตภัณฑ์มีกำรนำกลับไปเป็นวัตถุดิบในผลิตภัณฑ์อื่นที่ไม่ใช่
ผลิตภัณฑ์ประเภทเดิมในกำรสำยกำรผลิตเดิม

83
การจัดการซาก

• สำหรับ B2C เท่ำนั้น  ปริมำณเชื้อเพลิง


• กำรกำจัดและบำบัดซำกผลิตภัณฑ์และ  ปริมำณวัตถุดิบ
บรรจุภัณฑ์  ปริมำณของเสีย
• กำรขนส่ ง บ ำบั ด ซำกผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ  ปริมำณพลังงำนไฟฟ้ำ
บรรจุภัณฑ์  ปริมำณพลังงำนควำมร้อน
ปริมำณบรรจุภัณฑ์

84
การคานวณการขนส่ง

วิธีที่ 1 ข้อมูลปริมำณเชื้อเพลิงที่ใช้ในกำรขนส่ง X ค่ำสปส.กำรปล่อยก๊ำซเรือน


กระจกตำมชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้
วิธีที่ 2 ข้อมูลระยะทำงเฉลี่ย X ปริมำณของที่บรรทุก X ค่ำสปส.กำรปล่อยก๊ำซ
เรือนกระจกตำมประเภทรถที่ใช้ขนส่ง
วิธีที่ 3 ข้อมูลจำกสถำนกำรณ์ที่กำหนด

หมำยเหตุ กำรขนส่งทำงบกต้องคิดทั้งเที่ยวไปและเที่ยวกลับ

85
ค่าสัมประสิทธิ์ฯ การกาจัดซากผลิตภัณฑ์ด้วยการฝังกลบ

องค์ประกอบของขยะ EF (tCO2e ต่อตันขยะ)


กระดำษ และ กระดำษกล่อง 2.93
ผ้ำ 2.00
เศษอำหำร 2.53
เศษไม้ 3.33
กิ่งไม้ ต้นหญ้ำ จำกสวน 3.27
ผ้ำอ้อมเด็กทำด้วยกระดำษ 4.00
ยำงและหนัง 3.13
หมำยเหตุ กรณีที่มีองค์ประกอบคำร์บอน ให้ใช้ค่ำ 2.32
86
การคานวณการขนส่ง

ตัวอย่ำงค่ำสัมประสิทธิ์ฯ ตำมชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

เชือเพลิง หน่วย การผลิตเชือเพลิง การเผาไหม้เชือเพลิง


น้ำมันดีเซล kg 0.3215 3.1859
liter 0.2732 2.7080
แก๊สโซลีน kg 0.3409 2.5760
liter 0.2898 2.1896

87
ตัวอย่างประเภทพาหนะในการขนส่ง

(1) รถกระบะบรรทุก 10 ล้อ B5 16 ตัน (12) รถตูบ้ รรทุก 6 ล้อ ขนาดเล็ก 8.5 ตัน
(2) รถกระบะบรรทุก 10 ล้อ 16 ตัน (13) รถตู้บรรทุก 6 ล้อ ขนำดใหญ่ 11 ตัน
(3) รถกระบะบรรทุก 4 ล้อ 7 ตัน (14) รถตู้บรรทุกกึ่งพ่วง 18 ล้อ 32 ตัน
(4) รถกระบะบรรทุก 6 ล้อ ขนำดเล็ก 8.5 ตัน (15) รถตู้บรรทุกพ่วง 18 ล้อ 32 ตัน
(5) รถกระบะบรรทุก 6 ล้อ ขนำดใหญ่ 11 ตัน (16) รถตู้บรรทุกเปืด 10 ล้อ 16 ตัน
(6) รถกระบะบรรทุกกึ่งพ่วง 18 ล้อ 32 ตัน (17) รถบรรทุกขยะ 10 ล้อ 16 ตัน
(7) รถกระบะบรรทุกพ่วง 20 ล้อ 32 ตัน (18) รถบรรทุกซีเมนต์ชนิดโม่ 10 ล้อ 16 ตัน
(8) รถกระบะบรรทุกพ่วง 22 ล้อ 32 ตัน (19) รถบรรทุกซีเมนต์ผง แบบกล้วย 10 ล้อ 16 ตัน
(9) รถตู้บรรทุก 10 ล้อ 16 ตัน (20) รถบรรทุกซีเมนต์ผง แบบเต้ำและถ้วย 10 ล้อ 16 ตัน
(10) รถตู้บรรทุก 4 ล้อ 7 ตัน (21) รถบรรทุกซีเมนต์ผง แบบเต้ำและถ้วย 18 ล้อ 32 ตัน
(11) รถตู้บรรทุก 4 ล้อ ขนำดเล็ก 1.5 ตัน (22) รถบรรทุกเฉพำะกิจ ติดเครน 10 ล้อ 16 ตัน

88
การคานวณการขนส่ง

ตัวอย่ำงค่ำสัมประสิทธิ์ฯ ตำมประเภทพำหนะที่ใช้

ประเภทพาหนะ อัตราบรรทุก GHG Emission Factor


(3) รถกระบะบรรทุก 4 ล้อ 7 ตัน 100% Load 0.1399 kgCO2e/ton-km
75% Load 0.1825 kgCO2e/ton-km
50% Load 0.2676 kgCO2e/ton-km
0% Load 0.3105 kgCO2e/km
(5) รถกระบะบรรทุก 6 ล้อ 11 ตัน 100% Load 0.0609 kgCO2e/ton-km
75% Load 0.0762 kgCO2e/ton-km
50% Load 0.1074 kgCO2e/ton-km
0% Load 0.4882 kgCO2e/km
89
กรณีมีการขนส่งจากหลายเส้นทางให้ใช้ ระยะทางเฉลี่ยถ่วงนาหนัก เช่น
มี Supplier หลายเจ้า, มี Dealer หลายเจ้า

60%
300 km

30% 250 km

120 km
10%

ระยะทำงเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก = 300x60% + 250x30% + 120x10%


= 180 + 75 + 12
= 267 km
90
การคานวณการขนส่ง

• ตรวจสอบระยะทางระหว่างจังหวัดของประเทศไทย

http://map-server.doh.go.th/

http://www.sisaket.go.th/amphur/distance1.html

http://www.moohin.com/distance.shtml

http://www.bcoms.net/temp/province.asp

91
การคานวณการขนส่ง

• ตรวจสอบระยะทางเส้นทางเดินเรือระหว่างประเทศ

http://www.searates.com/

92
การคานวณการขนส่ง

วัตถุดิบสาหรับผลิตภัณฑ์เป้าหมาย = 0.4 ตัน/ตันผลิตภัณฑ์

รถบรรทุก 10 ล้อ 16 ตัน (บรรทุกเต็ม)


0.0529 kgCO2e/ton-km

รถบรรทุก 10 ล้อ 16 ตัน (วิ่งเปล่ำ) เที่ยวมา : 0.0529 kgCO2e/ton-km x (240km) x (0.4t) = 5.08 kgCO2e
0.5851 kgCO2e/km เที่ยวกลับ : 0.5851 kgCO2e/km x (240km) x (0.4t/16t) = 3.51 kgCO2e

93
การแสดงผล

• กำรแสดงปริมำณคำร์บอนฟุตพรินต์บนผลิตภัณฑ์ ควรแสดงด้วยตัวเลข 3
ตัว (Three significant number) เช่น 3.15 kg, 152 g เป็นต้น
• ในกรณี ที่ มี ตั ว เชขทศนิ ย ม กำรปั ด เศษตั ว เลขดั ง กล่ ำ วต้ อ งเป็ น ไปตำม
มำตรฐำน มอก. 929-2533
• กำรประเมินแบบ B2B ซึ่งวัดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกบำงช่วงชีวิตของ
ผลิตภัณฑ์ไม่สำมำรถแสดงปริมำณคำร์บอนฟุตพรินต์บนผลิตภัณฑ์โดยตรง แต่
สำมำรถแสดงในแหล่ง อื่ น ๆ เช่ น เว็ บ ไซด์ หรื อเอกสำรเผยแพร่ ข องบริ ษั ท
เป็นต้น

94
Thank You!
Excellence Center of Eco-Energy (ECEE)
Email: pharnpon@engr.tu.ac.th

95

You might also like