You are on page 1of 30

แนวทำงกำรพัฒนำโครงกำร

Standard T-VER และ Premium T-VER


ดร.สำธิต เนียมสุวรรณ
สำนักรับรองคำร์บอนเครดิต (สรค.)

องค์กำรบริหำรจัดกำรก๊ำซเรือนกระจก
(องค์กำรมหำชน)

www.tgo.or.th
คำร์บอนเครดิตคืออะไร
• คำร์บอนเครดิตเป็นเครื่องมือช่วยสร้ำงแรงจูงใจทำง
กำรเงิ น ให้ แ ก่ ผู้ ที่ ต้ อ งกำรลดกำรปล่ อ ยก๊ ำ ซเรื อ น
กระจกที่มีต้นทุนสูงให้สำมำรถดำเนินกำรได้
• คาร์บอนเครดิตเป็นสิทธิที่ออกโดยหน่วยงานเจ้าของ
กลไกให้แก่ผู้ที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการ
ดำเนินโครงการที่สามารถนำไปแลกเปลี่ยนหรือซื้ อ
ขายให้กับผู้อื่นได้
• คาร์บอนเครดิตถูกวัดในหน่วยของปริมาณก๊าซ CO2
ที่ลดได้
2
กลไกคำร์บอนเครดิตมีอะไรบ้ำง
2008 –
1. Clean Development Mechanism (CDM) Present

ประเทศในภำคผนวกที่ 1 ทำโครงกำรลดก๊ำซเรือน CDM credits คำร์บอนเครดิตที่เหลือ


กระจกในประเทศกำลังพัฒนำ/ด้อยพัฒนำเพื่อ 16.44 1.72
นำไปใช้บรรลุเป้ำหมำยกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก MtCO2e MtCO2e

2013 –
2. Thailand Voluntary Emissions Reduction (T-VER) Present

- พัฒนำโดย TGO ในปี ค.ศ. 2013 TVER credits


- ใช้หลักกำรพื้นฐำนของกลไก CDM และปรับให้ 16.96
เหมำะสมกับบริบทของประเทศไทย MtCO2e

2015 – 2008 –
3. Joint Crediting Mechanism (JCM) 2030 4. Other International Standards Present

ควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ JCM credits • The VCS/VERRA Programme


ไทยและญี่ปุ่น 4,032 • The Gold Standard
11 โครงกำร tCO2e • American Carbon Registry
โครงกำร T-VER แบ่งเป็น 2 ระดับ
ข้อมูลเบื้องต้น
• โครงการ T-VER เป็นกลไกลดก๊าซเรือนกระจกที่พัฒนา
โดย อบก. ตั้งแต่ปี 2557 เพื่อส่งเสริมการลดก๊าซเรือนกระจก
ภายในประเทศ
• กิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกที่เข้าร่วมโครงการ T-VER
ต้องมีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย

Standard T-VER Premium T-VER


วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์
นำเครดิตไปใช้ในภาคสมัครใจเพื่อชดเชยการปล่อย นำเครดิตไปใช้ในภาคสมัครใจเพื่อชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ
ก๊าซเรือนกระจกขององค์กรทั้งภายในประเทศและ องค์กรทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ หรือ เพื่อวัตถุประสงค์การถ่าย
ต่างประเทศ โอนระหว่างประเทศตามแนวทางข้อตกลงที่ 6.2 ของข้อตกลงปารีส 4
กำรนำคำร์บอนเครดิต T-VER ไปใช้ประโยชน์
01 03

เพื่อใช้แลกเปลี่ยน เพื่อบรรลุเป้ำหมำยของ
ระหว่ำง Credit เกณฑ์ทำงด้ำนสิ่งแวดล้อม
ต่ำงๆ และกำรรำยงำน
holders, ซื้อ-ขำย ข้อมูลขององค์กร

02 04

ใช้ในกำรชดเชยกำรปล่อย สร้ำงภำพลักษณ์ที่ดี
ก๊ำซเรือนกระจก (Carbon
Offset/ Carbon Neutral)
ให้กับองค์กร

5
โครงกำร T-VER รับรองกำรลดก๊ำซเรือนกระจกอะไรบ้ำง
ศักยภำพในกำรทำให้เกิด อำยุคงอยู่ในชั้น
ภำวะโลกร้อน (GWP) เทียบกับ CO2 บรรยำกำศ
ชนิดของก๊ำซเรือนกระจก สูตรเคมี
(ปี)
AR4 (2007) AR5 (2014) AR5 (2014)
คำร์บอนไดออกไซด์ CO2 1 1 100

มีเทน CH4 25 28 12

ไนตรัสออกไซด์ N 2O 298 265 114

ไฮโดรฟลูออโรคำร์บอน HFCs 124-14,800 4-12,400 1.4-270

เปอร์ฟลูออโรคำร์บอน PFCs 7,390-12,200 6,630-11,100 <1,000-50,000

ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ SF6 22,800 23,500 3,200

ไนโตรเจนไตรฟลูออไรด์ NF3 17,200 16,100 740


โครงกำรลดก๊ำซเรือนกระจกประเภทไหนทำโครงกำร T-VER

7
7
หลักกำรพื้นฐำนของโครงกำร T-VER
มำตรฐำนในกำรพัฒนำโครงกำร T-VER
1) กรอบกำรดำเนินโครงกำร T-VER สอดคล้องกับ
มาตรฐาน ISO 14064-2
2) แนวทำงกำรตรวจสอบควำมใช้ได้และกำรทวนสอบปริมาณ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของโครงการ สอดคล้องตาม
มาตรฐาน ISO 14064-3
3) ตรวจสอบความใช้ได้โครงการและทวนสอบปริมาณก๊าซเรือน
กระจกโดยผู้ประเมินภำยนอกสำหรับโครงกำรภำคสมัครใจ
(Validation and Verification Body: VVB) เป็นนิติบุคคลที่
3 (Third Party)
4) กำรรับรองระบบงำนของหน่วยงำนตรวจสอบ/ทวนสอบ
สอดคล้องกับตามมาตรฐาน ISO 14065
5) ควำมรู้ควำมสำมำรถและทักษะเบื้องต้นสำหรับผู้ประเมิน
ภำยนอก สอดคล้องกับตามมาตรฐาน ISO 14066 8
หลักกำรที่เพิ่มขึ้นสำหรับโครงกำร Premium T-VER

9
ผู้ประเมินภำยนอกสำหรับโครงกำรภำคสมัครใจ (VVB)
กำรรับรองระบบงำนหน่วยตรวจสอบควำมใช้ได้และทวนสอบก๊ำซเรือนกระจก รำยชื่อผู้ประเมินภำยนอกฯ (ปัจจุบัน)
1. ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านกลยุทธ์ธุรกิจที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
IAF/APAC องค์กำรภูมิภำคเอเชียแปซิฟิกว่ำด้วยกำรรับรองระบบงำน
Asia Pacific Accreditation Cooperation (APAC)
2. หน่วยรับรองการจัดการก๊าซเรือนกระจก มหาวิทยาลัยพะเยา
3. วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมาร์ตกริดเทคโนโลยี
คณะกรรมกำรกำรมำตรฐำนแห่งชำติ (กมช.) มหาวิทยาลัยนเรศวร
TISI/NSC National Standardization Council of
4. บริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จำกัด
Thailand (NSC)

5. บริษัท บูโรเวอริทัส เซอทิฟิเคชั่น (ประเทศไทย) จำกัด


6. บริษัท อีซีอีอี จำกัด
ISO14065 หน่วยตรวจสอบควำมใช้ได้และทวนสอบก๊ำซเรือนกระจก
7. อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิเพื่อสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
8. หน่วยวิจัยเพื่อการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
9. หน่วยรับรองก๊าซเรือนกระจก มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง
VVB
ในพระบรมราชูปถัมภ์
10. บริษัท ทูฟนอร์ด (ประเทศไทย) จำกัด 10
ระเบียบวิธีลดก๊ำซเรือนกระจกภำคสมัครใจ
ความสาคัญ
• ดูรายสาขาของผู้ประเมินภายนอก (VVB)
• ดูเงื่อนไข (เฉพาะ) ของกิจกรรมโครงการที่จะพัฒนาเป็น
โครงการ T-VER
• ดูนิยามของวันเริ่มดำเนินโครงการ
• คำนวณปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม
โครงการสำหรับขึ้นทะเบียนและขอรับรองคาร์บอนเครดิต
• ดูวิธีการติดตามข้อมูลการลดก๊าซเรือนกระจก
▪ พารามิเตอร์ที่ต้องติดตาม
▪ ค่าคงที่ที่ อบก. ประกาศ เช่น ค่า EF ค่า GWP
11
11
ระเบียบวิธีฯ สำหรับ Standard T-VER
T-VER Methodology

01 03 06 09 11 12 15
1) ผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน 1) เปลี่ยนรูปแบบการเดินทางมา 1) เปลี่ยนหลอดไฟ 1) กาจัดมูลฝอยชุมชนโดย 1) ผลิตไบโอมีเทนอัด 1) ผลิตก๊าซชีวภาพจาก 1) ลดการรั่วไหลของ
ทดแทน (On-grid) ใช้ถไฟฟ้าระบบราง 2) ติดตัง้ หลอดไฟในอาคารใหม่ ใช้เตาเผา 2) นาก๊าซจากหลุมฝังกลบ การบาบัดนา้ เสียเพือ่ CH4 ในระบบผลิต
2) ผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน 2) เปลี่ยนรูปแบบการเดินทางมาใช้ 3) ใช้ระบบผลิตพลังงานร่วม 3) ผลิตสารปรับปรุงดินจาก มูลฝอยไปใช้ประโยชน์ นาไปใช้ประโยชน์หรือ หรือท่อส่งปิ โตรเลียม
ทดแทน (Off-grid) ระบบขนส่งผูโ้ ดยสารสาธารณะ 4) นาความร้อนเหลือทิง้ จากกระบวนการผลิต ขยะอินทรีย ์ 3) ผลิตก๊าซชีวภาพจากการ เผาทาลาย 2) ลดการปล่อย NO2
3) ใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลคาร์บอน ที่ใช้ EV ปูนซีเมนต์มาผลิตไฟฟ้า 4) ผลิต RDF จากมูลฝอย บาบัดนา้ เสียฟาร์มสุกร ในกระบวนการผลิต
ต่าหรือเพิ่มสัดส่วนพลังงาน 5) ติดตัง้ เครือ่ งทานา้ เย็นประสิทธิภาพสูง ชุมชน กรดไนตริก
หมุนเวียนในการผลิตความ 6) ปรับปรุงระบบมอเตอร์ 5) ผลิตก๊าซชีวภาพจากการ
ร้อน หมักของเสียแบบไร้
13
7) ติดตัง้ ระบบผลิตพลังงานร่วม (ไฟฟ้าและ
1) ปลูกป่ าอย่างยั่งยืน 14
4) ติดตัง้ ระบบผลิตความร้อน ความเย็น) อากาศ
ใหม่โดยใช้พลังงาน 6) ผลิตก๊าซชีวภาพจากการ 2) ลดการถูกทาลายและความเสื่อมโทรม 1) นา CO2 ที่ปล่อยทิง้
8) นาความร้อนทิง้ กลับมาใช้ประโยชน์ และเพิ่มพูนคาร์บอนในป่ าเดิม
หมุนเวียน 9) ติดตัง้ ระบบผลิตนา้ เย็นแบบใช้ความร้อน หมักขยะอินทรียข์ นาด กลับมาใช้ประโยชน์
5) ผลิตไบโอดีเซลเพื่อใช้เอง เล็ก 3) ปลูกป่ าอย่างยั่งยืน (ขนาดใหญ่)
10) ติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศประสิทธิภาพสูง
6) ใช้พลังงานหมุนเวียนใน 7) รีไซเคิลขยะพลาสติก 4) ปลูกป่ าด้วยไม้เศรษฐกิจโตเร็ว
11) เปลี่ยนเครือ่ งสารองไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง
ระบบผลิตพลังงานร่วม 8) จัดการเศษอาหารและ 5) อนุรกั ษ์และฟื ้ นฟูพนื ้ ที่พรุ
12) นาความเย็นเหลือทิง้ มาใช้ทดแทนการ
7) ติดตัง้ ระบบผลิตพลังงานร่วม นาไปใช้เลีย้ งสัตว์ 6) ลดการใช้ปยเคมี ุ๋ ในพืน้ ที่การเกษตร
ผลิตด้วยเครือ่ งทานา้ เย็น
ใหม่โดยใช้ชีวมวล 7) ลดการใช้ปยเคมี
ุ๋ และเพิ่มการกักเก็บ
13) ติดตัง้ ปั๊ มความร้อน
8) การใช้เชือ้ เพลิงชีวภาพ คาร์บอนในพืชเกษตรยืนต้น
14) นาความเย็นไปใช้ในการผลิตแก๊ส
สาหรับการขนส่ง อุตสาหกรรม
9) การใช้เชือ้ เพลิงคาร์บอนต่า 04 15) เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคาร
รหัสประเภทโครงการ 08-การใช้วสั ดุทดแทนปูนเม็ด
01-พลังงานหมุนเวียนหรือพลังานที่ใช้ทดแทนเชื อ้ เพลิง 09-การจัดการขยะมูลฝอย
ในระบบผลิตความร้อนใหม่ 1) เปลี่ยนยานพาหนะเดิม 16) ติดตัง้ Fuel Cell เพื่อผลิตความร้อน ฟอสซิล 11-การนาก๊าซมีเทนกลับมาใช้ประโยชน์
เป็ นยานพาหนะ EV และ/หรือไฟฟ้า 02-การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าและ 12-การจัดการนา้ เสียอุตสาหกรรม
02 2) ใช้ยานพาหนะไฟฟ้า การผลิตความร้อน 13-การลด ดูดซับ และกักเก็บก๊าซเรือนกระจกจากภาค
1) สร้างโรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงฟอสซิลใหม่ 3) ใช้ยานพาหนะไฟฟ้าใน 03-การใช้ระบบขนส่งสาธารณะ ป่ าไม้และการเกษตร
2) เพิ่มประสิทธิภาพระบบผลิตความร้อน รบบขนส่งสาธารณะ 08 04-การใช้ยานพาหนะไฟฟ้า 14-การดักจับ กักเก็บ และ/หรือการใช้ประโยชน์จากก๊าซ
3) เพิ่มประสิทธิภาพโรงไฟฟ้า 1) ลดการใช้ปนู เม็ดใน 06-การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เรือนกระจก
กระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ ในอาคารและโรงงานและในครัวเรือน 15-อื่นๆ
4) ปรับปรุงประสิทธิภาพกังหันในโรงไฟฟ้า
ระเบียบวิธีฯ สำหรับ Premium T-VER
T-VER Methodology

พลังงำนหมุนเวียน กำรใช้ กำรจัดกำรขยะมูลฝอย กำรจัดกำรน้ำเสีย CCUS ป่ำไม้และเกษตร


หรือพลังงำนที่ใช้ทดแทน ยำนพำหนะไฟฟ้ำ อุตสำหกรรม
เชื้อเพลิงฟอสซิล
1) การจัดการขยะมูลฝอย 1) การดักจับและกักเก็บ 1) การปลูกป่า (ยกเว้นพื้นที่ชุ่ม
1) ผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน 1) การเปลี่ยนยานยนต์ ชุมชนเพื่อทดแทนการฝัง 1) การกักเก็บก๊าซมีเทน CO2 ไว้ในชั้นหินทาง น้ำ)
หมุนเวียนเพื่อจำหน่ายเข้าสู่ สันดาปภายในให้เป็น กลบ จากการบำบัดน้ำเสีย ธรณีวิทยาใต้ดนิ 2) การปลูกป่าชายเลน
ระบบสายส่ง ยานยนต์ไฟฟ้า แบบไร้อากาศเพื่อ 3) การลดการปล่อยก๊าซเรือน
2) ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหนุม นำไปใช้ประโยชน์หรือ กระจกจากการถูกทำลายและ
เวียนเพื่อใช้เองและ/หรือ เผาทำลาย ความเสื่อมโทรมของป่า และ
จำหน่ายตรง การเพิ่มพูนการกักเก็บ
3) ผลิตไฟฟ้าและความร้อนร่วม คาร์บอน
จากชีวมวลเพื่อจำหน่าย 4) การฟื้นฟูป่าชายเลนและหญ้า
ทะเล
5) การปรับปรุงการจัดการป่าไม้
6) การจัดการพื้นทีเ่ กษตรที่ดี
7) การอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่พรุ
หลักกำรคิดคำร์บอนเครดิตสำหรับ Standard และ Premium T-VER
คำร์บอนเครดิต ER = BE - PE - LE
ตกำรดำเนินงำนที่ต่ำกว่ำ
กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก (tCO2eq)

กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก (tCO2eq)
ปกติ (Below BAU)
กำรดำเนินงำนปกติ
(Business as Usual) BE
ER BE
ER

PE+LE PE+LE

ปี ปี
Standard T-VER Premium T-VER
หมำยเหตุ
BE = กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกในกรณีฐำน PE = กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกจำกกำรดำเนินโครงกำร
LE = กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกนอกขอบเขตโครงกำร ER = กำรลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก 14
หลักกำรคิดคำร์บอนเครดิตสำหรับ Standard และ Premium T-VER
ตัวอย่างสาหรับโครงการผลิตไฟฟ ้าจากพลังงานหมุนเวียน

กำรดำเนินงำนปกติ กำรดำเนินงำนที่ต่ำกว่ำปกติ
(BAU) (Below BAU)
Natural Gas
Fossil fuel

โครงกำร Standard T-VER โครงกำร Premium T-VER

“การกาหนดกรณีฐานของ Premium T-VER จะให้ผลลัพธ์ที่ต่ากว่าของ Standard T-VER ทาให้ปริมาณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก


(คาร์บอนเครดิต) ที่คานวณจากระเบียบวิธีฯ ของ Premium T-VER จะมีค่าน้อยกว่าการคานวณโดยใช้ระเบียบวิธีฯ ของ Standard T-VER”
15
เงื่อนไขกำรพัฒนำโครงกำร T-VER
Standard T-VER Premium T-VER
• ต้องเป็นกำรดำเนินงำนมำกกว่ำที่กฎหมำยกำหนด • ต้องเป็นกำรดำเนินงำนมำกกว่ำที่กฎหมำยกำหนด
• ต้องผ่ำนกำรพิสูจน์กำรดำเนินงำนเพิ่มเติมจำกกำรดำเนินงำนตำมปกติ (Additionality) • ต้องผ่ำนกำรพิสูจน์กำรดำเนินงำนเพิ่มเติมจำกกำรดำเนินงำนตำมปกติ
หรือเป็นโครงกำรลดก๊ำซเรือนกระจกที่ไม่ต้องพิสูจน์ส่วนเพิ่มเติม (Positive List) (Additionality) หรือเป็นโครงกำรลดก๊ำซเรือนกระจกที่ไม่ต้องพิสูจน์
➢ โครงกำรที่เข้ำข่ำย Positive list (ไม่ต้องพิสูจน์ Additionality) ส่วนเพิ่มเติม (Positive List)
❑ โครงการขนาดเล็กมากหรือขนาดเล็ก ➢ โครงกำรที่เข้ำข่ำย Positive list (ไม่ต้องพิสูจน์ Additionality)
❑ โครงการประเภทป่าไม้และพื้นที่สีเขียวหรือการเกษตร ❑ ใช้เทคโนโลยีลดก๊าซเรือนกระจกที่ อบก. กำหนด เช่น Green
❑ โครงการที่ใช้เทคโนโลยีลดก๊าซเรือนกระจกที่ อบก. กำหนด เช่น การใช้ระบบกักเก็บ hydrogen, Carbon Capture Utilization and Storage,
พลังงานที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียน การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานน้ำแบบสูบกลับ เป็นต้น Bio-energy with Carbon Capture and Storage เป็นต้น
➢ โครงกำรที่ต้องพิสูจน์ Additionality ➢ โครงกำรต้องพิสูจน์ Additionality ในทุกประเภทโครงกำร
❑ โครงการขนาดใหญ่ที่ไม่เข้าข่าย Positive List โครงกำรต้องผ่ำนกำรพิสูจน์ ❑ ต้องมีเทคโนโลยีที่แตกต่างแนวปฏิบัติทั่วไป
Additionality โดยกำรประเมินระยะเวลำคืนทุน (Payback Period) ของโครงกำร ❑ วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และผลตอบแทนการลงทุน
ซึ่งต้องมีระยะเวลำคืนทุนมำกกว่ำ 3 ปี
• โครงกำร T-VER ต้องเป็นโครงกำรที่ยังไม่ได้ดำเนินกำรเท่ำนั้น และต้อง
• โครงกำร T-VER ต้องเป็น ยื่นเอกสำรแสดงเจตจำนงก่อนที่จะเริ่มโครงกำร
❑ กิจกรรมที่ยังไม่เริ่มดำเนินการ หรือ
• ผู้พัฒนำโครงกำรขึ้นทะเบียนให้เสร็จภำยในระยะเวลำที่กำหนดนับจำก
❑ กิจกรรมที่มีวันเริ่มดำเนินการและก่อให้เกิดการลดก๊าซเรือนกระจก ย้อนหลังไม่เกิน 3 ปี นับ
จากวันที่จัดทำเอกสารข้อเสนอโครงการ (Project Design Document: PDD) ฉบับสุดท้ายที่ วันเริ่มดำเนินโครงกำร
ผ่านการตรวจสอบความใช้ได้จาก VVB ยกเว้นโครงกำรประเภทกำรปลูกป่ำ/ต้นไม้ กำร ❑ ภายใน 3 ปีสำหรับโครงการทั่วไป
อนุรักษ์หรือฟื้นฟูป่ำ และกำรเกษตร ❑ ภายใน 5 ปีสำหรับโครงการประเภทป่าไม้และ CCUS 16
เกณฑ์กำรจำแนกขนำดของโครงกำร Standard T-VER
ขนำดของโครงกำร T-VER
กิจกรรม
ขนำดเล็กมำก (Micro scale) ขนำดเล็ก (Small scale) ขนำดใหญ่ (Large scale)
กำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ำ กำลังการผลิตติดตั้งรวม กำลังการผลิตติดตั้งรวม กำลังการผลิตติดตั้งรวม
จำกพลังงำนหมุนเวียน (Installed Capacity) (Installed Capacity) (Installed Capacity)
(Renewable Energy) ไม่เกิน 5 MW ไม่เกิน 15 MW มากกว่า 15 MW
กำรเพิ่มประสิทธิภำพพลังงำน เป้าหมายการลดใช้พลังงานรวม เป้าหมายการลดใช้พลังงานรวม เป้าหมายการลดใช้พลังงานรวม
(Energy Efficiency) ไม่เกิน 20 GWh ต่อปี ไม่เกิน 60 GWh ต่อปี มากกว่า 60 GWh ต่อปี
กำรปลูกป่ำ/ต้นไม้และ
เป้าหมายในการลด/กักเก็บก๊าซเรือนกระจก เป้าหมายในการลด/กักเก็บก๊าซเรือนกระจก เป้าหมายในการลด/กักเก็บก๊าซเรือนกระจก
กำรอนุรักษ์หรือฟื้นฟูป่ำ
ไม่เกิน 1,000 tCO2eq ต่อปี ไม่เกิน 16,000 tCO2eq ต่อปี มากกว่า 16,000 tCO2eq ต่อปี
(Reforestation)
กำรเกษตร เป้าหมายในการลด/กักเก็บก๊าซเรือนกระจก เป้าหมายในการลด/กักเก็บก๊าซเรือนกระจก เป้าหมายในการลด/กักเก็บก๊าซเรือนกระจก
(Agriculture) ไม่เกิน 1,000 tCO2eq ต่อปี ไม่เกิน 16,000 tCO2eq ต่อปี มากกว่า 16,000 tCO2eq ต่อปี
เป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจก เป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจก เป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจก
ประเภทโครงกำรอื่นๆ
ไม่เกิน 20,000 tCO2e ต่อปี ไม่เกิน 60,000 tCO2eq ต่อปี มากกว่า 60,000 tCO2eq ต่อปี
ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับกำรแบ่งปันคำร์บอนเครดิตจำกกำรปลูกป่ำ ดูแลป่ำ ในพื้นที่ของ ทช. ปม. และ อส.
ระเบียบ ผู้มีสิทธิ์ยื่นคำขอ กำรยื่นคำขอ สัดส่วนกำรแบ่งปันคำร์บอนเครดิต
ระเบียบกรมทรัพยำกรทำง บุคคล หรือ องค์กร ทั่วไปที่ประสงค์ดำเนิน หน่วยงานในสังกัด ทช. ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ ร้อยละ 90 สำหรับองค์กร/บุคคลภายนอก
ทะเลและชำยฝั่ง โครงการปลูกป่าร่วมกับ ทช. และให้ทำเอกสารประกอบการขอขึ้นทะเบียน และร้อยละ 10 สำหรับ ทช.
ว่าด้วยการปลูกและบำรุงป่าชาย โครงการ T-VER ตามที่ อบก.กำหนด หรือ ตามที่ตกลงกัน โดยจะต้องกำหนด
เลนสำหรับองค์กรหรือ สัดส่วนสำหรับ ทช. ไม่น้อยกว่ำร้อยละ 10
บุคคลภายนอก พ. ศ. 2564
ทช.
ระเบียบกรมป่ำไม้ 1. ผู้ได้รับอนุมัติตาม ม.19 พรบ.ป่าสงวน ยื่นต่อสำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ 1. สำหรับผู้ได้รับอนุมัติตาม ข้อ 5 (1) การ
ว่าด้วยการแบ่งปันคาร์บอน แห่งชาติ ออนไลน์ หรือ ตามที่อธิบดีกำหนด พร้อม แบ่งให้เป็นไปตามที่ คกก. กำหนด แต่
เครดิตจากการปลูก อนุรักษ์ 2. ผู้ได้รับอนุญาตตาม ม.54 พรบ.ป่าไม้ และ ด้วยเอกสำรประกอบกำรขอขึ้นทะเบียน กรมต้องได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10
และฟื้นฟูป่าในพื้นที่ป่าไม้ พ.ศ. ม. 13/1 ม.16 ม.20 พรบ.ป่าสงวนแห่งชาติ โครงกำร T-VER ตำมที่ อบก.กำหนด เพื่อ 2. สำหรับผู้ได้รับอนุญาต/อนุมัติตาม ข้อ 5
2564 3. ผู้ได้รับอนุมัติให้ใช้ประโยชน์พื้นที่สวนป่า อธิบดีพิจำรณำเห็นชอบก่อนนำส่ง อบก. (2) (3) ร้อยละ 90 สำหรับองค์กร/
ของกรมป่าไม้ตาม มติ ครม. เพื่อขอขึ้นทะเบียนเป็นโครงกำร T-VER บุคคลภายนอก และร้อยละ 10 สำหรับ
ปม. ปม.
ระเบียบกรมอุทยำนแห่งชำติ 1. ผู้ได้รับอนุญาตตาม ม. 23 ม.28 ม.64 ยื่นคำขอต่อ เจ้าหน้าที่สำนักวิจัยการอนุรักษ์ สัดส่วนการแบ่งปันคาร์บอนเครดิตเป็นไป
สัตว์ป่ำและพันธุ์พืช พรบ.อุทยานฯ ป่าไม้และพันธุ์พืช หรือ วิธีการ และสถานที่ ตามที่ คกก. กำหนด แต่กรมต้องได้ไม่น้อย
ว่าด้วยการแบ่งปันคาร์บอน 2. ผู้ได้รับอนุญาตตาม ม.56 ม.67 ม.121 ตามที่อธิบดีกำหนด พร้อมด้วยเอกสำร กว่ำร้อยละ 10
เครดิตที่ได้จากการปลูก บำรุง พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ประกอบกำรขอขึ้นทะเบียนโครงกำร T-VER
อนุรักษ์และฟื้นฟูป่าในพื้นที่ป่า ตำมที่ อบก.กำหนด เพื่อ อธิบดีพิจำรณำ
อส. อนุรักษ์ พ.ศ. 2564 เห็นชอบก่อนนำส่ง อบก. เพื่อขอขึ้น
ทะเบียนเป็นโครงกำร T-VER
อำยุโครงกำร และกำรต่ออำยุโครงกำร T-VER
อำยุโครงกำร กำรต่ออำยุโครงกำร
Standard T-VER
(ระยะเวลำคิดเครดิต) จำนวนปี/จำนวนครั้ง
ประเภทที่ 1-12 และ 14 7 ปี ต่ออำยุได้ 1 ครั้ง (ระยะเวลำ 7 ปี)
ต่ออำยุได้ครั้งละ 7 ปี
ประเภทที่ 13 เกษตร 7 ปี
(ไม่จำกัดจำนวนครั้ง)
ต่ออำยุได้ครั้งละ 10 ปี
ประเภทที่ 13 กำรปลูกป่ำ/ต้นไม้หรือกำรอนุรักษ์หรือฟื้นฟูป่ำ 10 ปี
(ไม่จำกัดจำนวนครั้ง)

อำยุโครงกำร กำรต่ออำยุโครงกำร
Premium T-VER
(ระยะเวลำคิดเครดิต) จำนวนปี/จำนวนครั้ง
ประเภทที่ 1-12 5 ปี ต่ออำยุได้ 2 ครั้ง (ระยะเวลำ 5 ปี)

ประเภทที่ 13 ที่เป็นกำรลด CH4 หรือ N2O 5 ปี ต่ออำยุได้ 2 ครั้ง (ระยะเวลำ 5 ปี)

ประเภทที่ 13 และ 14 15 ปี ต่ออำยุได้ 2 ครั้ง (ระยะเวลำ 15 ปี)


19
ค่ำใช้จ่ำยในกำรพัฒนำโครงกำร Standard T-VER

ค่ำตรวจวัด ค่ำตรวจสอบ
ค่ำจัดทำเอกสำร
และจัดเก็บข้อมูล ควำมใช้ได้
ค่ำธรรมเนียม ค่ำใช้จ่ำย
(กรณีจ้ำงที่ กำรขึ้นทะเบียน/
ปรึกษำ)
(กรณีจ้ำงที่ และทวนสอบ
รับรองเครดิต รวม
ปรึกษำ) โครงกำร

ไม่แนะนำ จำเป็น จำเป็น


จำเป็น
บำงประเภทโครงกำร
• PDD • อุปกรณ์ตรวจวัดและ • กำรตรวจสอบควำมใช้ได้ 5,000 บำท/โครงกำร-ครั้ง
• Monitoring บันทึกข้อมูล (Validation) (ไม่รวม VAT)
Report • ระบบประมวลผลข้อมูล • กำรทวนสอบ (Verification)
• ... • กำรจัดทำรำยงำน (12,000-15,000
บำท/man-day)

20
ประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินโครงกำร Standard T-VER
(กรณีจัดทำเอกสำรและเก็บข้อมูลด้วยตนเอง) ยกเว้นสำหรับโครงกำรประเภทป่ำไม้

กำรพัฒนำโครงกำร กำรตรวจสอบควำมใช้ได้ ขึ้นทะเบียนโครงกำร กำรติดตำมผลกำรลด GHG กำรทวนสอบโครงกำร กำรรับรองคำร์บอนเครดิต


กำรจั ด ท ำเอกสำรข้ อ เสนอ ค่ำธรรมเนียมกำรขอ
ค่ำตรวจสอบควำมใช้ได้ ค่ำธรรมเนียมกำรขึ้น กำรจัดทำรำยงำนกำร ค่ำทวนสอบโครงกำรจำกผู้
โครงกำร (PDD) อบก.จั ด รับรองคำร์บอนเครดิต
โครงกำรจำกผู้ประเมิน ทะเบียนโครงกำรกับ อบก. ติดตำมประเมินผล ประเมินภำยนอก
ฝึกอบรม และ ให้คำปรึกษา โดย (ค่าธรรมเนียมการขอรับรอง
ไม่คิดค่าใช้จ่าย ภำยนอก (ค่าธรรมเนียมการขอขึ้นทะเบียน (MR) อบก.จัดฝึกอบรม และ ให้ - 12,000-15,000 บ/man-day
โครงการ 5,000 บาท/โครงการ คำปรึกษาโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ขึ้นอยู่กับความยากง่ายของพื้นที่ ปริมาณก๊าซเรือนกระจก
- 12,000-15,000 บ/man-day
ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) - จำนวนวันสำหรับการตรวจ 5,000 บาท/โครงการ/ครั้ง
ค่ำใช้จ่ำยในกำรเก็บข้อมูล ขึ้นอยู่กับความยากง่ายของพื้นที่
- จำนวนวันสำหรับการตรวจ
ค่ำใช้จ่ำยในเก็บข้อมูลและ โครงการขนาดเล็ก 3-4 วัน ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)
และตรวจวัดพำรำมิเตอร์
โครงการประเภทพลังงานอาจมีบาง โครงการขนาดเล็ก 3-4 วัน ตรวจวัดพำรำมิเตอร์ โครงการขนาดใหญ่ 5-6 วัน
โครงการขนาดใหญ่ 5-6 วัน โครงการประเภทพลังงานอาจมีบาง (ถ้าหากมีพื้นที่โครงการมากกว่า 1 แห่ง
พารามิเตอร์ที่ต้องมีการตรวจวัดโดยใช้
เครื่องมือ ซึ่งค่าใช้จ่ายจะแตกต่างกัน (ถ้าหากมีพื้นที่โครงการมากกว่า 1 แห่ง พารามิเตอร์ที่ต้องมีการตรวจวัดโดยใช้ อาจมีจำนวนวันในการตรวจเพิ่มขึ้น
ไปตามประเภทพารามิเตอร์ อาจมีจำนวนวันในการตรวจเพิ่มขึ้น) เครื่องมือ ซึ่งค่าใช้จ่ายจะแตกต่างกันไป รวมถึงค่าเดินทางและที่พักของผู้ตรวจ)
ตามประเภทพารามิเตอร์

Ex.
ขอรับรองคำร์บอนเครดิต
ขึ้นทะเบียน = 75,000 + 5,000 = 80,000 บำท
(ค่าตรวจสอบความใช้ได้ของโครงการ 15,000 บาท X 5 man-day = 75,000 บาท)
รับรองคำร์บอนเครดิตปีที่ 1 - 7 = 7 ครั้ง X [75,000 + 5,000] = 560,000 บำท (ค่าทวนสอบโครงการ 15,000 บาท X 5 man-day = 75,000 บาท)
รวมค่าใช้จ่ายตลอดโครงการ
ทุกปี ขึ้นทะเบียนโครงกำร ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่ 6 ปีที่ 7 640,000 บาท

ปีที่ 3 ปีที่ 7 รวมค่าใช้จ่ายตลอดโครงการ


ขอรับรองคำร์บอนเครดิต ขึ้นทะเบียนโครงกำร ปีที่ 5
320,000 บาท
ในปีที่ 3, 5 และ 7 ขึ้นทะเบียน = 75,000 + 5,000 = 80,000 บำท รับรองคำร์บอนเครดิตปีที่ 3, 5 และ 7 = 3 ครั้ง X [75,000 + 5,000] = 240,000 บำท (ค่าทวนสอบโครงการ 15,000 บาท X 5 man-day = 75,000 บาท)
(ค่าตรวจสอบความใช้ได้ของโครงการ 15,000 บาท X 5 man-day = 75,000 บาท)
หมำยเหตุ: ค่าใช้จ่ายในการทวนสอบโครงการตลอดระยะเวลาการคิดเครดิตจะขึ้นอยู่กับจำนวนครั้งในการขอรับรองคาร์บอนเครดิต ซึ่งผู้พัฒนาโครงการสามารถกำหนดจำนวนครั้งในการขอรับรองได้เอง เช่น ปีละครั้ง 2 ปีครั้ง หรือ 3 ปีครั้ง เป็นต้น
ขั้นตอนกำรพัฒนำโครงกำร Standard T-VER
I. ขึ้นทะเบียนโครงกำร II. รับรองคำร์บอนเครดิต

พิจำรณำ จัดทำ ตรวจสอบ ขึ้นทะเบียน ติดตำมผล ทวนสอบ รับรอง


ขอบเขต เอกสำร ควำมใช้ได้ และ ปริมำณ คำร์บอนเครดิต
โครงกำร
กำรดำเนินโครงกำร ข้อเสนอโครงกำร โครงกำร จัดทำรำยงำน ก๊ำซเรือนกระจก

ผู้พฒ
ั นาโครงการ ผู้ประเมินภายนอกฯ
22
ขั้นตอนกำรพัฒนำโครงกำร Premium T-VER

ยื่นเอกสารแสดง จัดประชุมรับฟังความ จัดทารายงาน SD และ


Start เจตจานงค์ (MOC) คิดเห็นและจัดทาเอกสาร การประเมินและป้ องกันผล เผยแพร่เอกสาร
(ก่อนวันเริ่ มดาเนิ นโครงการ) ข้อเสนอโครงการ (PDD) กระทบเชิงลบ (Safeguards) ผ่านเว็บไซต์เป็ น
เวลา 30 วัน

ตรวจสอบความใช้ได้
ในเอกสารข้อเสนอโครงการ
(Validation)

ทวนสอบข้อมูล (Verification) ติ ดตามการ GHG /การประเมิ น


รับรองคาร์บอน ความเสี่ยงต่อความไม่ถาวร
ขึ้นทะเบียน
และรายงานผลการประเมิ น
เครดิต ความเสี่ยงต่อความไม่ถาวร (ถ้ามี) / SD & Safeguards โครงการ

ผู้พฒ
ั นาโครงการ ผู้ประเมินภายนอกฯ
สถิติโครงกำร Standard T-VER ปี พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน
โครงกำรที่ได้รับกำรขึ้นทะเบียน

9,845,632
371 โครงกำร ปริมำณก๊ำซเรือนกระจกที่คำดว่ำจะลด/กักเก็บได้ (tCO2eq/y)

ปริมำณก๊ำซเรือนกระจก ปริมำณคำร์บอนเครดิต (tCO2eq)

tCO2eq
ที่คำดว่ำจะลด/กักเก็บได้
11,504,475 tCO eq/year 2

4,152,988
โครงกำรที่ได้รับกำรรับรอง 3,719,911

2,042,953

1,870,306

1,616,066
คำร์บอนเครดิต

1,268,145
973,628
155 โครงกำร (308 ครั้ง)

805,165

533,984

516,455
369,271
364,245

122,185

81,598
78,549

38,115

38,089
24,318
2,826
ปริมำณคำร์บอนเครดิต
0

0
0
0

0
0
0
0

0
0
16,959,754 tCO eq 2 REF EEP PT EV EEE EEB MNR CS SWM CWM MU IWM FOR&AGI CC OTH

REF พลังงำนหมุนเวียนหรือพลังงำนที่ใช้ทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล CS กำรใช้วัสดุทดแทนปูนเม็ด ณ วันที่ 30 กันยำยน 2566


EEP กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตไฟฟ้ำและกำรผลิตควำมร้อน SWM กำรจัดกำรขยะมูลฝอย
PT กำรใช้ระบบขนส่งสำธำรณะ CWM กำรจัดกำรน้ำเสียชุมชน
EV กำรใช้ยำนพำหนะไฟฟ้ำ MU กำรนำก๊ำซมีเทนกลับมำใช้ประโยชน์
EEE กำรเพิ่มประสิทธิภำพเครื่องยนต์ IWM กำรจัดกำรน้ำเสียอุตสำหกรรม
EEB กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรใช้พลังงำนในอำคำรและโรงงำน และในครัวเรือน FOR & AGI กำรลด ดูดซับ และกักเก็บก๊ำซเรือนกระจกจำกภำคป่ำไม้และกำรเกษตร
MNR กำรปรับเปลี่ยนสำรทำควำมเย็นธรรมชำติ CC กำรดักจับ กักเก็บ และ/หรือใช้ประโยชน์จำกก๊ำซเรือนกระจก
สถิติโครงกำร Premium T-VER
MoC MoC
บริษัท วรุณำ (ประเทศไทย) จำกัด กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง
AGR 001 โครงการลดการปล่อยก๊าซมีเทนจากการจัดการน้ำในพื้นที่ปลูกข้าว
FOR 009 โครงการเพิ่มแหล่งดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของประเทศไทย
ผ่านการจัดการป่าชายเลนอย่างยั่งยืน โดยเอสซีจี เคมิคอลส์ (เอสซีจีซี)

กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง บ.ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหำชน)


FOR 002 โครงการฟื้นฟูป่าชายเลนเพื่อระบบนิเวศที่ยั่งยืนของประเทศไทย (กลุ่ม 1) โครงกำรที่ได้ส่งเอกสำรแสดง CCS 010 โครงการดักจับและกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CCS) ของแหล่งก๊าซ
ธรรมชาติอาทิตย์
ควำมประสงค์จะพัฒนำโครงกำร บ.สยำมคูโบต้ำคอร์ปอเรชั่น จำกัด
FOR 003 กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง
โครงการฟื้นฟูป่าชายเลนเพื่อระบบนิเวศที่ยั่งยืนของประเทศไทย (กลุ่ม 2) Premium T-VER (MoC)มำยัง อบก. AGR 011 โครงการจัดการทำเกษตรที่ดีในการปลูกข้าวเพื่อลดแก๊สเรือนกระจก
จังหวัดสระบุรี

กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง
FOR 004 โครงการปลูกป่าชายเลนช่วยโลกลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย (กลุ่ม 1) SOLAR 012
บ.เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด
โครงการหลังคาพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาด 240 kWp
ณ อาคารครอเชด บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด
กรมทรัพยำกรทำงทะเลและชำยฝั่ง
FOR 005 บ.กรีนเอิร์ธ เอ็นเนอร์จี จำกัด (โรงงำนสุพรรณบุร)ี
โครงการปลูกป่าชายเลนช่วยโลกลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย (กลุ่ม 2)
BIOGAS 013 โครงการการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ โดยบริษัท กรีนเอิร์ธ
เอ็นเนอร์จี จำกัด)
บริษัท แอดวำนซ์ ไบโอคำร์บอน จำกัด
CCS 006 โครงการเครื่องลดมลพิษและกักเก็บก๊าซเรือนกระจก ห้ำงหุ้นส่วนจำกัด เฮซ ฟรี
FOR 014 โครงการปลูกป่าวนเกษตร
กรมป่ำไม้
FOR 007 โครงการปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วม กฟผ. ปี พ.ศ. 2566
(ตำบลแม่ตีบ อำเภองาว จังหวัดลำปาง) บ.เวฟ บีซีจี จำกัด
AGR 015 โครงการแม่จันป่าร่วมยาง
บ.มิตรผลวิจัย พัฒนำอ้อยและน้ำตำล จำกัด
AGR 008 โครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบการผลิตอ้อย
ในพื้นที่ไร่บริษัทกลุ่มน้ำตาลมิตรผล)
บ. คำร์บอน อะไลอันซ์ จำกัด
AGR 016 โครงการการจัดการพื้นที่ปลูกข้าวที่ดีเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
25
สถิติกำรซื้อขำยคำร์บอนเครดิต T-VER รำยปี
332.47 ปริมำณ มูลค่ำ รำคำเฉลี่ย
ปีงบประมำณ
(tCO2eq) (บำท) (บำท/tCO2eq)
2559 5,641 846,000.00 149.97
2560 33,468 1,006,000.00 30.06
2561 144,697 3,090,520.00 21.36
2562 131,028 3,246,984.00 24.78
2563 169,806 4,375,686.00 25.77
108.22 2564 286,580 9,714,290.00 33.90
79.71 2565 1,187,327 128,489,976.00 108.22
2566 857,102 68,321,090.00 79.71
24.78 25.77 33.90
2567 165,929 55,166,200.00 332.47
ยอดรวม: ปีงบประมาณ 2566
หมายเหตุ 2,981,578 274,256,746.00
เป็นการเก็บสถิติราคาจากรู ปแบบ OTC และ Exchange Platform (FTIX)
2562 2563 2564 2565 2566 2567
ณ วันที่ 31 ต.ค. 2566
รำคำเฉลี่ย ่ย(บำท/ตั
รำคำเฉลี (บำท/tCO
น) 2eq)
26
รำคำซื้อขำยคำร์บอนเครดิต T-VER ตำมประเภทโครงกำร
ประเภท ราคาต่าสุด ราคาสูงสุด ราคาเฉลี่ย ปริมาณ มูลค่า
ประเภทย่อย
โครงการ (บาท/tCO2eq) (บาท/tCO2eq) (บาท/tCO2eq) (tCO2eq) (บาท)
AE ชีวภาพ 130 250 133.05 610,734 81,259,200
ชีวมวล 19 500 33.41 1,247,491 41,676,844
พลังงานน้า 25 200 86.33 48,602 4,195,945
พลังงานแสงอาทิตย์ 21.5 500 46.01 504,063 23,193,555
พลังงานลม 200 200 200.00 8 1,600
EE Waste Heat Recovery 20 35 20.00 1,000 20,000
Motor Replacement 100 100 100.00 147 14,700
Forestry ป่าไม้ 55 2,000 286.15 309,316 88,511,649
WM ปุ๋ยหมัก 200 320 246.17 10,375 2,554,040
Methane Recovery and Utilization 130 135 132.50 245,284 32,500,130
OTH CO2 Recovery 15 250 72.20 4,558 329,083
Total 2,981,578 274,256,746
แหล่งอ้างอิง : http://carbonmarket.tgo.or.th/ ณ วันที่ 31 ต.ค. 2566
รูปแบบกำรซื้อขำยคำร์บอนเครดิต: OTC และ Exchange
Approve
order

Through transfer account 1


TGO Register account
Carbon Credit
For trading 3
Credit Marketplace Payment
Exchange Register account
1 Approve

3 order

www.thaicarbonlabel.tgo.or.th

2 FTIX Exchange Platform


Developed by
Volume Bid Offer Volume
2 350
550
200
180
200
180
500
750
Negotiation Automatic
Buyer (OTC) Project Developer/ Matching
Order
Project owner
And Transfer
Account for Cancelation TGO Carbon Credit
(For Carbon Offset)
Only for organization that trading on FTIX
All processed approved by TGO 28
ค้นหำข้อมูลโครงกำร T-VER
ไปที่ http://ghgreduction.tgo.or.th/t-ver

29
ขอบคุณครับ
Thank you for your attention

ดร.สาธิต เนี ยมสุวรรณ ผู จ


้ ด
ั การโครงการ
สานักร ับรองคาร ์บอนเครดิต (สรค.)
Tel: 0-2141-9843 หรือ 06-5724-6117
Fax: 0-2143-8404
E-mail: sathit.ni@tgo.or.th
Website: www.tgo.or.th

30

You might also like