You are on page 1of 135

ระบบบริหารอาชวี อนาม ัยและความปลอดภ ัย

ISO 14001:2015
: ISO 14001 Guide Book
(ตีความรายข้อกาหนด)
Update: June 21

Just for Customer


Guide Series

ปรับปรุงครัง้ สุดท้าย 23 มิถนุ ายน 2564


ระบบบริหารอาชวี อนาม ัยและความปลอดภ ัย

บทนา
อะไรคือระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อม

ระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อมคืออะไร


องค์กรทุกประเภทกำลังพยำยำมทีจ ่ ะแสดงให ้เห็นว่ำเป็ นองค์กรทีช ่ ว่ ยรักษำสิง่ แวดล ้อมกันมำกขึน ้ ด ้วยกำรควบคุมมิ
ให ้กิจกรรมของตนมีผลเสียต่อสิง่ แวดล ้อม ทัง้ นี้เป็ นผลมำจำกกำรใช ้กฎหมำยทีเ่ ข ้มงวดขึน ้ ใช ้นโยบำยเศรษฐกิจที่
ให ้ควำมสำคัญด ้ำนสิง่ แวดล ้อมมำกขึน ้ และยังมีมำตรกำรอืน ่ ๆ ทีช ่ ว่ ยเสริมกำรคุ ้มครองสิง่ แวดล ้อมและกำรพัฒนำ
อย่ำงยั่งยืน
หลำย ๆ แห่งได ้ใช ้เครือ ่ งมือต่ำง ๆ เช่น กำรตรวจสอบกำรประเมินผลกระทบสิง่ แวดล ้อมและกำรเลือกเทคโนโลยี
ี ำรเหล่ำนี้ก็อำจจะยังไม่ทำให ้มั่นใจได ้ว่ำกำรรักษำสิง่ แวดล ้อมให ้ได ้ตำมกฎหมำยและนโยบำยจะเกิดขึน
แต่วธิ ก ้ ทัง้
ในขณะนี้แ ละในอนำคต แต่ล ะวิธ ีก็ มีส่ว นดีข องมั น อยู่ ซึง่ ถ ้ำน ำมำรวมกัน ได ้ก็ จ ะกลำยเป็ นระบบของกำรจัด กำร
สิง่ แวดล ้อม (กำรจัดกำรทรัพยำกรและสิง่ แวดล ้อมแบบบูรณำกำร) และเกิดบูรณำกำรของกำรจัดกำรทัง้ หมด ระบบ
กำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อมระบบหนึง่ จะมีองค์ประกอบ ดังนี:้
• ผู ้บริหำรสูงสุดขององค์กรยอมรับเป็ นพันธกิจทีจ ่ ะใช ้ระบบกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อม เรือ ่ งนี้นับเป็ นสิง่ สำคัญที่
จะจัดกำรสิง่ แวดล ้อมในองค์กรนัน ้ ให ้เป็ นผลสำเร็จได ้
• กำรทบทวนหรือตรวจสอบเบือ ้ งต ้นเพือ ่ ใช ้แสดงถึงสภำพกำรรักษำสิง่ แวดล ้อมทีเ่ ป็ นอยูข ่ ณะนัน ้ ผลกระทบ
สิง่ แวดล ้อมทีส ่ ำคัญและโอกำสทีจ ่ ะปรับปรุงให ้ดีขน ึ้
• นโยบำยด ้ำนสิง่ แวดล ้อมทีแ ่ สดงถึงพันธกิจ และแนวทำงของกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อมขององค์กร
• วิธก ี ำรทีจ ่ ะทำควำมเข ้ำใจปั ญหำสิง่ แวดล ้อมรวมทัง้ เครือ ่ งมือวิเครำะห์ผลกระทบสิง่ แวดล ้อมอันเกิดจำก
กิจกรรมขององค์กรนัน ้ หรือทีอ ่ งค์กรมีสว่ นจะต ้องรับผิดชอบอยูด ่ ้วย โดยเน ้นผลกระทบด ้ำนต่ำง ๆ ทีส ่ ำคัญ
• กำรวิเครำะห์แบบครบขัน ้ ตอนเพื่อระบุประเด็นทำงสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วโยงกับผลิตภัณฑ์ เริม ่ จำกกำรซือ ้
วัตถุดบ ิ และนำไปผลิตจนถึงขัน ้ ตอนกำรบริโภคและกำรทิง้ เป็ นขยะเมือ ่ ใช ้แล ้ว
• กำรวิเครำะห์ผลกระทบสิง่ แวดล ้อมจำกโครงกำรและกำรตัดสินใจเรือ ่ งใหญ่ ๆ ภำยในองค์กร ซึง่ จะต ้อง
วิเครำะห์กอ ่ นทีจ ่ ะมีกำรดำเนินกำร
• กำรสือ ่ สำรภำยในองค์กรเพือ ่ ระบุประเด็นทำงสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วโยงกับกิจกรรมทำงธุรกิจทุกกิจกรรมและผู ้
มีสว่ นได ้ส่วนเสียทุกฝ่ ำย
• วิธท ี จ
ี่ ะทำให ้รู ้ว่ำมีนโยบำย กฎระเบียบ และเงือ ่ นไขต่ำง ๆ ของกลุ่มผู ้มีส่วนเกีย ่ วข ้องอยู่อย่ำงไรบ ้ำงที่
องค์กรจะต ้องปฏิบัตต ิ ำม ซึง่ จะเป็ นกำรกำหนดวัตถุประสงค์และเป้ ำหมำยในกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อมของ
องค์กรไปด ้วย
• หลังจำกทีม ่ อ
ี งค์ประกอบทัง้ หมดแล ้ว โดยได ้จัดทำเป็ นเอกสำรและได ้นำไปปฏิบัตแ ิ ล ้ว องค์กรตรวจสอบ
ให ้มั่นใจว่ำผลงำนด ้ำนสิง่ แวดล ้อมกำลังเป็ นไปตำมทีต ่ ้องกำร

มาตรฐานระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อม ISO 14001


มำตรฐำนว่ำด ้วยระบบกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อม (ISO 14001) กำหนดขึน ้ เพือ
่ ส่งเสริมคุณภำพของกำรจัดกำร
สิง่ แวดล ้อม กำรปฏิบัตไิ ด ้ตำมมำตรฐำนนีก ่ นใจในตลำดระหว่ำงประเทศและหลำยประเทศได ้ใช ้
้ ำลังเป็ นทีส
มำตรฐำน ISO นีแ ้ ล ้ว ข ้อดีและข ้อด ้อยของ ISO 14001 ได ้แสดงไว ้ใน ตำรำงที่ 1

องค์กรทีไ่ ด ้ใบรับรองมำตรฐำน ISO 14001 ย่อมแสดงให ้นำนำชำติเห็นได ้ว่ำเป็ นองค์กรทีม ี ันธกิจด ้ำนสิง่ แวดล ้อม
่ พ
อุตสำหกรรมจำนวนมำกในประเทศไทยและประเทศเวียดนำมได ้รับกำรรับรองมำตรฐำน ISO 14001 ซึง่ บริษัทเหล่ำนี้
ยอมรับภำระทีจ ่ ะดำเนินกำรต่อไปนีเ้ ป็ นอย่ำงน ้อยคือ:
• มีนโยบำยเกีย ่ วกับสิง่ แวดล ้อมเป็ นลำยลักษณ์อักษร
• บอกถึงสิง่ ต่ำง ๆ ทีเ่ กีย ่ วกับสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบทีม
่ ำจำกกิจกรรมของตน
• กำหนดลำดับควำมสำคัญ จุดมุง่ หมำยและเป้ ำหมำยทีจ ่ ะปรับปรุงทำงด ้ำนสิง่ แวดล ้อม
• ก ำหนดควำมรั บ ผิด ชอบอย่ำ งชัด เจนเกี่ย วกั บ กำรปฏิบั ต ิ กำรฝึ กอบรม กำรติด ตำมผล และกำรแก ้ไข
จุดบกพร่อง
• จัดทำเอกสำรบันทึกกำรดำเนินงำนและผลลัพธ์
• ประเมินผลและปรั บกำรทำงำนใหม่เมื่อเวลำผ่ำนไปเพื่อให ้เกิด กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่องทัง้ ในแง่ของ
จุดมุง่ หมำยด ้ำนสิง่ แวดล ้อมและระบบกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อม

อะไรคือการป้องก ันมลพิษ

ปรับปรุงครัง้ สุดท้าย 23 มิถนุ ายน 2564


ระบบบริหารอาชวี อนาม ัยและความปลอดภ ัย

3.2.7 การป้องก ันมลพิษ

กำรใช ้กระบวนกำร (3.3.5) ,กำรปฏิบต ั ,ิ กำรเทคนิค,วัสดุอป


ุ กรณ์,ผลิตภัณฑ์,บริกำร หรือ พลังงำนเพือ

หลีกเลีย่ ง,ลดหรือควบคุม (โดยกำรแยกหรือกำรรวม) กำรเกิดขึน ้ ,กำรระบำยหรือทิง้ มลสำรประเภทต่ำงๆหรือของ
เสีย, เพือ ่ ะลดผลกระทบด ้ำนสิง่ แวดล ้อมด ้ำนลบ (3.2.4)
่ ทีจ
หมำยเหตุ1 : กำรป้ องกันมลพิษสำมำรถรวมถึงกำรลดและกำจัดแหล่งกำเนิดกำรเปลีย ่ นแปลงกระบวนกำร
ผลิตภัณฑ์หรือบริกำรกำรใช ้ทรัพยำกรวัตถุดบ ิ และพลังงำนทดแทนอย่ำงมีประสิทธิภำพกำรใช ้ซ้ำกำรนำกลับมำใช ้
ใหม่กำรปรับปรุงและกำรบำบัด

ระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อมตามกรอบของมาตรฐาน ISO14001 ควรเป็นเชน


่ ไร
ระบบกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อม ISO14001 ต ้องไม่เน ้นที่ ระบบกำรจัดกำรของเสีย ทีซ ่ งึ่ เป็ นกำรบำบัด /กำจัดทีป
่ ลำย
ท่อ (end of pipe treatment) ทีซ่ งึ่ เป็ นเน ้นกำรทำกำรบำบัด หรือกำจัดเช่น กำรฝั กกลบ กำรบำบัดน้ำเสีย แต่เพียง
อย่ำงเดียว แต่ระบบกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อม ISO14001 ต ้องเป็ นระบบกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อมทีเ่ น ้น กำรลด /กำรไม่
ทำให ้เกิดของเสีย “Waste minimization” หรือเรียกอีกชือ ่ ว่ำ กำรป้ องกันมลพิษ (pollution prevention) หรือ
่ ว่ำ เทคโนโลยีสะอำด)clean technology/cleaner production) เป็ นกำรป้ องกันและลดปริมำณของเสีย
เรียกอีกชือ
ให ้มำกทีส
่ ดุ

การป้องก ันมลพิษ เป็น การลดมลพิษทีแ


่ หล่งกาเนิด
1. กำรปรับปรุงผลิตภัณฑ์
2. กำรเปลี่ย นองค์ป ระกอบ กำรท ำผลิต ภั ณ ฑ์ท ดแทน กำรท ำให ้ผลิต ภั ณ ฑ์ป ระหยั ด พลั ง งำน ( Design for
Environmental)
3. กำรเปลีย่ นวิธ ี
− เปลีย ิ ใช ้วัตถุดบ
่ นวัตถุดบ ิ ทีม ี ลพิษน ้อย หรือใช ้วัสดุอน
่ ม ื่ ทดแทน หรือ หำทำงประหยัดวัสดุ
− เปลีย ่ นเทคโนโลยี เปลีย ่ นแปลงกระบวนกำรผลิต เปลีย ่ นรูปแบบกำรติดตัง้ และท่อทำง ใช ้ระบบอัตโนมัต ิ
เปลีย ่ นแปลงค่ำปั จจัยกำรผลิต
− ปรับปรุงกำรจัดกำร เพือ ่ เพิม่ ประสิทธิภำพและลดปริมำณของเสีย loss control กำรแยกประเภทของเสีย
ปรับปรุงระบบขนย ้ำยวัสดุ ปรับกำรวำงแผนกำรผลิต กำรวำงแผนวัสดุและทรัพยำกร
4. กำรป้ องกันมลพิษ เป็ นกำรนำกลับมำใช ้ใหม่ ไม่วำ่ กำรนำมำใช ้ใหม่ในโรงงำนหรือนอกโรงงำน
− กำร reuse คือ กำรนำกลับไปใช ้ใหม่ในกระบวนกำรเดิม หรือ กำรนำไปใช่ทดแทนในกระบวนกำรอืน ่
− กำร reclaim กำรสกัดเอำทรัพยำกรคืน หรือ กำรผลิตผลพลอยได ้

ตารางที่ 1 จุดแข็งและจุดอ่อนของระบบกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อม ISO 14001


จุดแข็ง จุดอ่อน
ISO 14001 เพิม ่ กำรสนับสนุนจำกผู ้บริหำรระดับสูง ISO 14001 เป็ นมำตรฐำนของระบบกำรจัดกำร
เพรำะ ISO 14001 สร ้ำงควำมสำมำรถในกำร สิง่ แวดล ้อม ซึง่ ยังไม่ใช่มำตรฐำนคุณภำพ
แข่งขันไม่ใช่ทำเพรำะกฎหมำยบังคับ สิง่ แวดล ้อมตำมกฎหมำย และไม่ได ้มุง่ ทีจ ่ ะยกระดับ
มำตรฐำนคุณภำพสิง่ แวดล ้อมให ้สูงขึน ้
ISO 14001 เป็ นกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อมอย่ำงมี ISO 14001 ไม่บังคับให ้ทำตำมกฎหมำย
ระบบเป็ นองค์รวมซึง่ ธุรกิจควรมองเรือ ่ งสิง่ แวดล ้อม สิง่ แวดล ้อม จึงไม่ชว่ ยผลักดันให ้องค์กรรับ
อย่ำงเป็ นองค์รวม มำตรฐำนคุณภำพสิง่ แวดล ้อมของท ้องถิน ่ หรือของ
ประเทศ ISO 14001 ต ้องกำรให ้องค์กรมีพันธกิจที่
จะปฏิบต ั ต
ิ ำมกฎหมำยแต่ไม่ชด ั เจนว่ำพันธกิจนัน ้ คือ
อะไร
ISO 14001 สร ้ำงแนวทำงสำหรับให ้องค์กรได ้ ISO 14001 ต ้องกำรให ้ประชำชนมีสว่ นร่วม แต่
ปรับปรุงระบบกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อมของตนอย่ำง กลับให ้องค์กรเป็ นผู ้เลือกเองว่ำจะให ้ประชำชนมำ
ต่อเนือ
่ ง และมีกำรตรวจสอบเป็ นระยะเพือ ่ ประเมิน เกีย ่ วข ้องด ้วยในระดับใด
ควำมก ้ำวหน ้ำและบอกถึงสิง่ ทีอ ่ งค์กรควรต ้องแก ้ไข
ระบบกำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อม
ISO 14001 ช่วยให ้เกิดนวัตกรรมของอุปกรณ์ ISO 14001 ไม่บังคับให ้ต ้องมีเทคโนโลยีสำหรับ
อำนวยควำมสะดวกโดยพนักงำน ถ ้ำพนักงำนมี ป้ องกันภำวะมลพิษ กำรใช ้ระบบกำรจัดกำร
ควำมตืน ่ ตัวด ้ำนสิง่ แวดล ้อมก็จะช่วยให ้องค์กรได ้ใช ้ สิง่ แวดล ้อมให ้เป็ นไปตำมมำตรฐำนเกีย ่ วกับภำวะ
ทักษะทำงเทคโนโลยีของพนักงำน เพือ ่ คิดวิธก
ี ำร มลพิษนับเป็ นก ้ำวแรกทีด ่ ม
ี ำก แต่จะดีกว่ำมำกถ ้ำมี
ลดผลกระทบสิง่ แวดล ้อม กำรใช ้เทคโนโลยีทข ี่ จัดหรือลดภำวะมลพิษ

ปรับปรุงครัง้ สุดท้าย 23 มิถนุ ายน 2564


ระบบบริหารอาชวี อนาม ัยและความปลอดภ ัย

ISO 14001 ช่วยให ้นำนำชำติตน ื่ ตัวกับกำรอนุรักษ์


สิง่ แวดล ้อม โดยทำให ้ทั่วโลกหันมำดูสงิ่ ทีต่ นทำ
กับสิง่ แวดล ้อม และ ISO 14001 อำจจะกลำยเป็ น
สิง่ ต ้องมีตำมควำมต ้องกำรของลูกค ้ำ / ผู ้ผลิต

การตรวจประเมินด้านสงิ่ แวดล้อม
กำรตรวจสอบด ้ำนสิง่ แวดล ้อมนี้แบ่งเป็ น 2 แบบใหญ่ ๆ แบบแรกเป็ นกำรรวบรวมข ้อมูลหรือทีเ่ รียกว่ำกำรทบทวน
ด ้ำนสิง่ แวดล ้อม หรือกำรตรวจสอบเรื่องทำงสิง่ แวดล ้อมและตรวจสอบสถำนที่ ใช ้ในกรณีทฝ ี่ ่ ำยบริห ำรต ้องกำร
ข ้อมูลเพือ่ กำรตัดสินใจ แบบทีส ่ อง เป็ นกำรตรวจสอบเพือ ่ ยืนยืนว่ำมีกำรปฏิบัตต
ิ ำมข ้อบังคับและเงือ ่ นไขทีก่ ำหนด
ไว ้เช่นกำรตรวจสอบว่ำเป็ นไปตำมข ้อกำหนด และกำรตรวจสอบแบบ due-diligence audits
กำรจัดกำรสิง่ แวดล ้อมจะทำได ้ดีต่อเมือ ่ เรำเข ้ำใจเทคโนโลยีและกระบวนกำรต่ำง ๆ แม ้ว่ำกำรตรวจสอบและกำร
ประเมินผลกระทบสิง่ แวดล ้อมจะเป็ นเครื่องมือ ทีร่ ะบุปัญหำสิง่ แวดล ้อมอย่ำงได ้ผล แต่ใ นกำรแก ้ปั ญหำคุณภำพ
อำกำศหรือน้ ำก็ยังจำเป็ นต ้องมีเทคโนโลยี
กำรผลิตทำงอุตสำหกรรมหรือกิจกรรมอืน ่ เช่น กำรสร ้ำงทำงหลวงมักทำให ้เกิดของเสียทีเ่ ป็ นของเหลว ของแข็ง
และก๊ำซ นอกจำกจะสร ้ำงปั ญหำสิง่ แวดล ้อมแล ้ว ของเสียยังแสดงถึงกำรสูญเสียวัตถุดบ ิ ทีม
่ ค
ี ำ่ ระหว่ำงกำรผลิตหรือ
กำรก่อสร ้ำง และทำให ้ต ้องเสียค่ำใช ้จ่ำยอย่ำงมำกเพือ ่ ควบคุมภำวะมลพิษ
ในที่นี้ ไ ม่ อ ำจกล่ ำ วถึง เทคโนโลยีต่ ำ ง ๆ ที่มี อ ยู่ ส ำหรั บ กำรจั ด กำรผลกระทบสิ่ง แวดล อ้ มจำกกิจ กรรมทำง
อุตสำหกรรมและทำงกำรพัฒนำได ้หมด อย่ำงไรก็ตำม เรำอำจดูถงึ กรอบกำรเลือกวิธก ี ำรและเทคโนโลยีในกำรผลิต
ทีม่ ข
ี องเสียเกิดขึน้ ดังต่อไปนี้ :
• กำรทำให ้เกิดของเสียน ้อยทีส ่ ดุ
• กำรลดของเสีย
• เทคโนโลยีสะอำด/ วิศวกรรมสะอำด/ กระบวนกำรสะอำด
• กำรป้ องกัน/ ลดภำวะมลพิษ
• เทคโนโลยีควบคุมภำวะมลพิษ
• เทคโนโลยีของเสียตำ่ และไร ้ของเสีย

เทคโนโลยีทัง้ หลำยไม่วำ่ จะเป็ นแบบดัง้ เดิมหรือสมัยใหม่ อำจจัดให ้เป็ นกลุม


่ ตำมกำรจัดลำดับของกำรจัดกำรของ
เสียดังแสดงใน ตำรำงที่ 2

ตารางที่ 2 ลำดับควำมสำคัญของกำรจัดกำรของเสีย (จำกควำมสำคัญมำกไปหำน ้อย)

ปฏิบ ัติการ ผลล ัพธ์


ลดต ้นกำเนิด มีก ำรเปลี่ย นกระบวนกำรหรือ ขั น ้ ตอนกำรผลิต ทำงอุ ต สำหกรรมท ำให ้
สำมำรถหลีกเลีย ่ ง ลด หรือขจัดของเสียภำยในสถำนประกอบกำร
กำรนำกลับมำใช ้ มีกำรใช ้ ใช ้ซ้ำ และกำรนำของเสียกลับมำใช ้เพือ ่ กำรใช ้ประโยชน์เดิมหรือ
้ท
ใช ำอย่ำงอืน ่ เช่นใช นปั จ จัย กำรผลิต นำกลับคืนมำเป็ นวัส ดุ หรือใช ้
้เป็
ผลิตพลังงำน
กำรบำบัด มีก ำรท ำลำย กำรลดควำมเป็ นพิษ กำรสะเทิน ของเสีย ให ้เป็ นสำรที่มี
อันตรำยน ้อยลง
กำรกำจัด มีก ำรปล่อ ยของเสีย สู่อ ำกำศ น้ ำ หรือ พื้น ดินโดยควบคุม อย่ำงเหมำะสม
ปลอดภัยตำมทีก ่ ฎหมำยกำหนด กำรกำจัดของเสียบนดิน อำจต ้องมีกำร
ลดปริมำตร กำรหุ ้มด ้วยแคปซูล กำรป้ องกันน้ ำซึมจำกขยะและกำรติดตำม
ผล

END

ปรับปรุงครัง้ สุดท้าย 23 มิถนุ ายน 2564


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

ISO 14001:2015
: ISO14001 Guide Book
CL 4.0

Just for Customer


Guide Series

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 1 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

Contents
4.1 ความเข ้าใจองค์กรและบริบทขององค์กร ........................................................................................3
4.1 ความเข ้าใจองค์กรและบริบทขององค์กร .................................................................................... 3
องค์กรต ้องพิจารณาประเด็นภายนอกและภายในทีเกียวข ้องกับจุดประสงค์ขององค์กรและผลกระทบต่อ
ความสามารถขององค์กรในการบรรลุผลตามทีมุง่ หวังจากระบบการจัดการสิงแวดล ้อม. ............................... 3
ประเด็นเหล่านีต ้องรวมถึงสภาพแวดล ้อมทีกําลังได ้รับผลจากองค์กร หรือ มีความสามารถในการส่งผลกระทบต่อ
องค์กร .................................................................................................................................... 3
เพิมเติม ................................................................................................................................... 6
ขันตอน ................................................................................................................................... 7
ตัวอย่างปั จจัยภายนอกเพิมเติม : ................................................................................................... 8
SWOT analysis สําหรับการจัดการสงแวดล ิ ้อม ................................................................................. 9
4.2 ความเข ้าใจถึงความต ้องการและความคาดหวังของผู ้มีสว่ นได ้เสย ี ...................................................... 11
4.3 การพิจารณาขอบข่ายระบบการบริหารสิงแวดล ้อม .......................................................................... 13

4.4 ระบบการบริหารสงแวดล ้อม ...................................................................................................... 14

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 2 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

4.1 ความเข้าใจองค์กรและบริบทขององค์กร

4.1 ความเข้าใจองค์กรและบริบทขององค์กร

องค์กรต ้องพิจารณาประเด็นภายนอกและภายในทีเกียวข ้องกับจุดประสงค์ขององค์กรและผลกระทบต่อ



ความสามารถขององค์กรในการบรรลุผลตามทีมุง่ หวังจากระบบการจัดการสงแวดล ้อม.

ประเด็นเหล่านีต ้องรวมถึงสภาพแวดล ้อมทีกําลังได ้รับผลจากองค์กร หรือ มีความสามารถในการส่งผล


กระทบต่อองค์กร

เพือให ้องค์กรสามารถจัดทํา ดําเนินการ รักษาและทําการปรับปรุง


อย่างต่อเนืองสําหรับระบบบริหารสิงแวดล ้อมได ้อย่างเหมาะสม ระบบบริหารจัดการ ในปั จจุบน
ั มีหน ้าที
องค์กรจึงต ้องทําการกําหนดบริบท บริบทจะรวมถึงประเด็น ตอบสนองเป้ าหมายธุรกิจ รวมถึงมีการ
ภายนอกและภายใน ทีมีเงือนไขทางสิงแวดล ้อมเกียวข ้องกับ บรรลุผลทีองค์กรกําหนดไว ้สําหรับระบบ
วัตถุประสงค์และส่งผลต่อความสามารถในการบรรลุผลลัพธ์ของ การจัดการนันๆ
ระบบบริหารสิงแวดล ้อมทีตังใจไว ้ โดยสะท ้อนวัตถุประสงค์ของ
ั ทัศน์และพันธกิจเชน
องค์กรอยูใ่ นวิสย ่ การทํามากกว่าข ้อกําหนด
ของระบบบริหารสงแวดลิ ่ องค์กรสามารถได ้ประโยชน์จากการนํ าหลักการทางสงั คมและสงแวดล
้อม เชน ิ ้อมมาใช ้
เพือสนับสนุนการพัฒนาอย่างยังยืนได ้มากขึน

ิ องค์กรมีความตังใจจะทําให ้บรรลุด ้วยการดําเนินระบบบริหารสงแวดล


ี งใจไว ้” หมายถึงสงที
คําว่า “ผลลัพธ์ทตั ิ ้อม
ทังนี ผลลัพธ์ทตั
ี งไว ้จะรวมถึงการยกระดับประสิทธิผลการทํางานเชิงสิงแวดล ้อม การบรรลุพันธกรณีทต ี ้องปฏิบตั ิ
ให ้สอดคล ้องและการบรรลุวต ั ถุประสงค์ทางสิงแวดล ้อมซึงเรืองเหล่านีถือเป็ นผลลัพธ์แก่นสําคัญขันตํา อย่างไรก็
ตาม องค์กรสามารถตังผลลัพธ์ทตั ี งใจไว ้เพิมเติมได ้

ความเข ้าใจบริบทเป็ นเรืองทีสําคัญ เมือองค์กรมิได ้ดําเนินงานโดยลําพังแต่ได ้รับอิทธิพลจากปั ญหาภายนอกและ


ภายใน อาทิเชน ่ การมีหรือไม่มท ้
ี รัพยากรพร ้อมใชและการมี ี ว่ นร่วมของพนั กงาน บริบทขององค์กร
หรือไม่มส
สามารถรวมถึงความซบ ั ซอน
้ โครงสร ้าง กิจกรรมขององค์กร และรวมถึง ทําเล สถานทีตังหน่วยงาน ไม่วา่ มีสาขา
เดียวหรือหลายสาขา ประเทศเดียวหรือหลายประเทศ

บริบทขององค์กรจะรวมสภาพแวดล ้อมทางธรรมชาติทองค์ ี กรดําเนินการอยู่ สภาพแวดล ้อมทางธรรมชาติจะ


สามารถสร ้างเงือนไขและเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ซึงส่งผลต่อกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการขององค์กร เงือนไขต่าง ๆ
สามารถเป็ นหรือขึนอยูก
่ บ
ั การเปลียนแปลงทีละเล็กทีละน ้อย ในขณะทีเหตุการณ์จะเกียวข ้องกับการเปลียนแปลง
ในทันทีทน ึ
ั ใดซงสามารถอธิ บายเป็ นตัวอย่างด ้วยสถานการณ์สดุ ขีด การตระเตรียมเงือนไขและเหตุการณ์ดังกล่าว
รวมถึงการบริหารจัดการผลทีตามมาจะชว่ ยสง่ เสริมให ้ธุรกิจสามารถดําเนินต่อไปได ้

ประเด็นต่างๆเป็ นหัวข ้อสําคัญสําหรับองค์กรเอง ซงมาจากการอภิ


ึ ปรายและถกกันภายในองค์กร หรือเป็ น
สถานการณ์การเปลียนแปลงทีส่งผลต่อความสามารถขององค์กรในการบรรลุผลลัพธ์ทตั ี งใจไว ้ทีซึงองค์กรได ้
กําหนดเพือระบบบริหารสิงแวดล ้อม

เพือทําให ้เข ้าใจว่าประเด็นใดเป็ นเรืองสําคัญเรืองใดไม่ องค์กรจึงต ้องสืบหาข ้อมูลเพือทําการศึกษาดังนี:

ิ นตัวขับเคลือนและแนวโน ้มสําคัญ ตัวอย่างเชน


— สงเป็ ่ ทีเกียวข ้องกับสภาพสงแวดล
ิ ้อม หรือความกังวล
ทีมาจากผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย
— ประเด็นต่าง ๆ ในด ้านสิงแวดล ้อมหรือองค์กร

— สามารถนํ ามาใชประโยชน์ ่ ระสท
ในเรืองผลกระทบทีเป็ นประโยชน์โดยมีนวัตกรรมทีนํ าไปสูป ิ ธิผลการ
ทํางานด ้านสิงแวดล ้อมทีมีการปรับปรุงให ้ดีขน

— ให ้ประโยชน์ทางการแข่งขันโดยรวมถึงการลดต ้นทุน มูลค่าเพือลูกค ้า หรือการปรับปรุงชือเสียงและ
ภาพลักษณ์ขององค์กร

องค์กรทีดําเนินการหรือปรับปรุงระบบบริหารสิงแวดล ้อมของตนเองหรือบูรณาการระบบบริหารสิงแวดล ้อมของ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 3 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0


ตนเองกับการดําเนินธุรกิจทีมีอยู่ ควรทบทวนบริบทเพือรับทราบปั ญหาทีเกียวข ้องซงกระทบต่ อระบบบริหาร

สงแวดล ้อม การทบทวนดังกล่าวจะได ้ประโยชน์จากมุมมองในการประเมินวัฏจักรชวี ต ิ ผลิตภัณฑ์และการมีสว่ นร่วม
แบบข ้ามสายงานโดยรวมถึงการจัดซอจั ื ดจ ้าง การเงิน ทรัพยากรบุคคล วิศวกรรม การออกแบบและการขายและ
การตลาด การทบทวนจะรวมด ้านสาํ หคัญดังต่อไปนี

a) การบ่งชีประเด็นภายนอกและภายในทีเกียวข ้องโดยรวมถึงเงือนไขทางสิงแวดล ้อมและเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ที


เกียวข ้องกับกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ขององค์กร
b) การพิจารณาว่าประเด็นเหล่านีสามารถส่งผลต่อวัตถุประสงค์ขององค์กรและความสามารถในการบรรลุผลลัพธ์
ของระบบบริหารสงแวดลิ ้อมทีตังใจไว ้ได ้อย่างไร
c) ความเข ้าใจวิธที จะสามารถกล่
ี าวถึงข ้อ a) และ b) ในการวางแผน (ดูทข ี ้อ 6.1.1);
d) การหาโอกาสในการปรับปรุงประสท ิ ธิผลการทํางานด ้านสงแวดล
ิ ้อม (ดูทขี ้อ 10.3).

มุมมองจากการประเมินวัฏจักรชวี ต ิ ผลิตภัณฑ์จะเกียวข ้องกับการพิจารณา


ในด ้านการควบคุมและการมีอท ิ ธิพลต่อ จากการประเมินวัฏจักรชวี ต
ิ เพราะองค์กรตังมาเพือบรรลุเป้ าหมาย
ผลิตภัณฑ์ วิธก ี ารนีจะทําให ้องค์กรสามารถกําหนดด ้านต่าง ๆ เหล่านัน จึงต ้องมองหาสิงทีต ้องจัดการ ให ้บรรลุ
เมือพิจารณาในเรืองขอบเขตโดยจะสามารถลดผลกระทบต่อสิงแวดล ้อม
เป้ าหมายดังกล่าว
พร ้อมสร ้างมูลค่าเพิมให ้กับองค์กร

ขันตอนทีองค์กรพัฒนาความเข ้าใจบริบทจะมีผลต่อความรู ้ทีองค์กร


้ อ กําหนดทิศทาง กําหนดแนวทางใน การวางแผน ปฏิบต
สามารถนํ ามาใชเพื ั แ ิ
ิ ละดําเนินระบบบริหารสงแวดล ้อม
ึ มคุณค่าให ้กับองค์กรและสง่ ผลในเรืองความเข ้าใจกับแนวคิดของประเด็นทีสําคัญ การทําเป็ นเอกสารและการ
ซงเพิ
อัพเดตขันตอนและผลลัพธ์เป็ นระยะๆ จะก่อให ้เกิดประโยชน์ตอ่ องค์กรได ้

ผลลัพธ์จากขันตอนนีจะช่วยให ้ความรู ้องค์กรในเรือง:

— การกําหนดขอบเขตของระบบบริหารสิงแวดล ้อม
— การกําหนดความเสียงและโอกาสทีต ้องพิจารณา
— การพัฒนาหรือยกระดับนโยบายสงแวดล ิ ้อม
— ิ
การตังวัตถุประสงค์ด ้านสงแวดล ้อม
— การตัดสน ิ ประสท
ิ ธิผลของวิธก
ี ารในการบรรลุพันธกรณีทต
ี ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง

………………………….

ปัญหาภายนอก

การพิจารณาต่าง ๆ จะรวมด ้าน


— การเมือง – ประเภทของระบบการเมืองทีมี อาทิเช่น ระบอบประชาธิปไตย ระบอบเผด็จการ ระดับการ
แทรกแซงทางการเมืองในการพัฒนาธุรกิจ และความตังใจของนั กการเมืองในการใช ้อํานาจอย่างมี
ประสิทธิผล
— เศรษฐกิจ – การมีสาธารณูปโภคต่าง ๆ พร ้อมใช ้ อาทิเช่น เชือเพลิง แก๊สและนํ า โครงสร ้างพืนฐาน
และการขนส่ง โดยรวมถึงการสร ้างบ ้านเรือน ถนน ทางรถไฟ ท่าเรือและสนามบิน

— การเงิน – ระบบการเงินทีเป็ นทียอมรับ รวมถึงการมีพร ้อมใชและการเข ้าถึงทรัพยากรทางการเงิน
— การแข่งขัน – องค์กรท ้องถินอืน ๆ ทีมีวต ึ
ั ถุประสงค์และแนวคิดเหมือนกันซงสามารถนํ ้
ามาปรับใชใน
การครองตําแหน่งทางการแข่งขันเมือจําเป็ น อาทิเชน ่ การพัฒนาอย่างยังยืน การออกแบบเชงิ นิเวศ
เศรษฐกิจและฉลากสงแวดลิ ้อม
— การบริหารห่วงโซ่อป ุ ทาน – การมีผู ้จัดหา (ซัพพลายเออร์)พร ้อม สมรรถนะและความสามารถ ระดับ
เทคโนโลยีและข ้อกําหนดของลูกค ้า
— สังคม – ค่านิยมทางเชือชาติ ปั ญหาด ้านเพศ การติดสินบนและการคอรัปชัน การกําลังคนพร ้อม การ
เข ้าถึงสิงอํานวยความสะดวกทางการศึกษาและการแพทย์ ระดับการศึกษาของกําลังคนและระดับการก่อ
อาชญากรรม
— วัฒนธรรม – สถานทีฝั งศพของชาวพืนเมืองหรือสถานทีศักดิสิทธิ มรดกสถาน/ทรัพย์สน ิ การมี
ทรัพยากรเฉพาะพร ้อม อาทิเช่น พืชสมุนไพร/รักษาโรค ของหัตถกรรม อาหารทีใช ้ในบริบททาง
วัฒนธรรมสําหรับวัตถุประสงค์ในการประกอบพิธ ี ระบบศาสนาและค่านิยมด ้านความสวยงาม
— ความต ้องการของตลาดและโดยรวม – แนวโน ้มตลาดในปั จจุบน ั และในอนาคตสําหรับผลิตภัณฑ์และ
บริการโดยรวมถึงทีเป็ นพลังงานและทรัพยากรทีมีประสท ิ ธิผล

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 4 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

— เทคโนโลยี – การมีพร ้อมใช ้และการเข ้าถึงเทคโนโลยีทเกี


ี ยวข ้องกับองค์กร
— กฎหมาย – กรอบกฎหมายทีองค์กรปฏิบต ั ิ
หมายเหตุ กรอบกฎหมายจะรวมถึงกฎหมาย ระเบียบและข ้อกําหนดทางกฎหมายในรูปแบบอืน ๆ
— ธรรมชาติ – สภาพภูมอ ิ ากาศในปั จจุบนั และในอนาคตรวมถึงอืน ๆ ความหลากหลายทางชีวภาพ สาย
พันธุห์ ายากและใกล ้สูญพันธุ์ ระบบนิเวศ ความมีทรัพยากรพร ้อมใช ้ โดยรวมถึงปริมาณ คุณภาพและการ
เข ้าถึง พลังงานทดแทนและพลังงานสินเปลือง และภาวการณ์ด ้านสิงแวดล ้อมพิเศษ/อุตสาหกรรม

ข ้อมูลทรัพยากรภายนอกทีสามารถสง่ เสริมความรู ้ในด ้านประเด็นภายนอกขององค์กรจะมี


ั พลายเออร์)และคูค
— ลูกค ้า ผู ้จัดหา (ซพ ่ ้า
— สภาธุรกิจ
— องค์กรภาคสว่ น
— หอการค ้า
— หน่วยงานราชการ
— หน่วยงานสากล
— ทีปรึกษา
— การวิจย ั ทางวิชาการ
— สือข่าวท ้องถิน
— กลุม
่ ชุมชนท ้องถิน


สภาพสงแวดล้
อม โดยรวมถึงเหตุการณ์ตา่ ง ๆ

สภาพสิงแวดล ้อมทีสามารถกระทบต่อกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ขององค์กร อาทิเช่น การเปลียนแปลง


สภาพภูมอ ิ ากาศทีทําให ้องค์กรไม่สามารถปลูกผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรบางประเภทจากเหตุการณ์ ทาง
สิงแวดล ้อมคืออุทกภัย หรือจากผลของการเปลียนแปลงอากาศทีรุนแรง ซึงส่งผลกระทบต่อกิจกรรมต่าง ๆ ของ
องค์กร อาทิเชน่ การจัดเก็บสารอันตรายเพือป้ องกันมลภาวะ

การพิจารณาแหล่งข ้อมูลบางแหล่งจะชว่ ยองค์กรในการกําหนดสภาพสงแวดล


ิ ้อมโดยรวมเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ต่อไปนี

a) ข ้อมูลอุตน
ุ ย
ิ มวิทยา ธรณีวท ิ ยา อุทกวิทยาและระบบนิเวศ
b) ข ้อมูลภัยพิบตั ใิ นอดีตทีเกียวข ้องกับทีตังขององค์กร
c) รายงานการตรวจติดตาม การประเมินหรือการทบทวนครังก่อน อาทิเช่น การทบทวนสิงแวดล ้อมแรกเริม
หรือการประเมินวัฏจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์เมือมีพร ้อมใช ้
d) ข ้อมูลการสังเกตการณ์สงแวดลิ ้อม
e) การให ้ใบอนุญาตหรืออนุมต ั ด ิ
ิ ้านสงแวดล ้อม
f) รายงานสถานการณ์ฉุกเฉินและอุบต ั ก ิ
ิ ารณ์เกียวกับผลทีตามมาด ้านสงแวดล ้อม

ปัญหาภายใน

การพิจารณาต่าง ๆ จะรวมถึง

 การกํากับดูแลและโครงสร ้าง ประเภทของโครงสร ้างตามโครงการเชงิ ลําดับชน ั เชงิ แมทริกซ ์ เชงิ ราบ


กิจการค ้าร่วมและการบริการตามสญ ั ญาและความสม ั พันธ์ของบริษัทแม่ บทบาทและความรับผิดชอบ
รวมถึงอํานาจหน ้าทีต่าง ๆ
 ความสอดคล ้องตามกฎหมายสถานะและแนวโน ้มต่าง ๆ
 นโยบาย วัตถุประสงค์และกลยุทธ์: วัตถุประสงค์ วิสย ั ทัศน์ ธุรกิจ วัตถุประสงค์และกลยุทธ์อน ื ๆ รวมถึง
ทรัพยากรทีจําเป็ นในการบรรลุเรืองเหล่านี
 สมรรถนะและความสามารถ สมรรถนะขององค์กร –ความสามารถและความรู ้ในด ้านทรัพยากรและความ
รอบรู ้ (อาทิเช่น เงินทุน เวลา บุคลากร ภาษา กระบวนการ ระบบและเทคโนโลยีรวมถึงการบํารุงรักษา)
 ระบบข ้อมูล: การไหลของข ้อมูลและกระบวนการตัดสินใจ (รวมถึง (ทังเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ
เวลาทีต ้องใช ้เพือทําให ้เสร็จสมบูรณ์
 ความสัมพันธ์และมุมมองรวมถึงค่านิยมของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียภายใน
ระบบและมาตรฐานการบริหาร จุดแข็งและจุดอ่อนของระบบการบริหารทีมีอยูข ่ ององค์กร และแนวทาง –
รวมถึงต ้นแบบทีองค์กรนํ าปรับใช ้ อาทิเช่น สําหรับบัญชีและการเงิน คุณภาพ สุขอนามัยและความ
ปลอดภัย
 รูปแบบและวัฒนธรรมองค์กร ธุรกิจครอบครัว ธุรกิจมหาชนหรือเอกชน รูปแบบการบริหารและความเป็ น –
ิ ใจ
ผู ้นํ า วัฒนธรรมเปิ ดหรือปิ ด และกระบวนการตัดสน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 5 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

 ั ญา – รูปแบบ เนือหา และ บริบทความสม


สญ ั พันธ์ตามสญ
ั ญา

เพิมเติม
ทําไมต้องทําความเข้าใจ

มาตรฐานต ้องการให ้มีกระบวนการนี เพือสร ้างความเข ้าใจเกียวกับบริบทขององค์กร ซึงทําให ้คนในองค์กร



มีความรู ้ ทีซงสามารถใช ้
โดยองค์
กรในการวางแผน ดําเนินการ ระบบการบริหารสงแวดล ิ ้อม
กระบวนการนีควรทําให้งา่ ยต่อการปฏิบต ั เิ พือสร ้างมูลค่าให ้กับองค์กร และก่อให ้เกิดความเข ้าใจทัวไป
ว่าอะไรเป็ นปั ญหาทีสําคัญ กระบวนการสามารถทําได ้อย่างง่ายหรือซบ ั ซอนแล
้ ้วแต่ความต ้องการของ
องค์กร และจะดีมากในการจัดทําเอกสารขันตอนและผลทีได ้ให ้เป็ นเอกสาร

เจตจารมณ์ของข ้อกําหนดข ้อ 4.1 คือต ้องการให ้องค์กรมีระบบการจัดบริหารสิงแวดล ้อมทีสนองต่อความ


ต้องการขององค์กร สนองต่อวิสยท ั ัศน์ พ ันธกิจ ขององค์กรเอง

ด ้วยเจตนารมณ์นจึี งมีข ้อกําหนดทีต ้องการให ้มีการสร ้างความเข ้าใจในระดับการบริหารองค์กรระดับสูง ,


คิดถึงประเด็น (issue) สําคัญทีสามารถส่งผลต่อไม่วา่ ด ้านบวกหรือลบ ตามวิถท ี างทีองค์กรต ้องจัดการ

ความรับผิดชอบด ้านสงแวดล ้อมของตน

ประเด็น (issues) เป็ นหัวข ้อสําคัญสาํ หรับองค์กร เพือทําการศกึ ษาเพือหาวิธก ี ารในการเปลียนแปลงเพือ


สร ้างความสามารถขององค์กร ให ้บรรลุผลระบบการจัดการสงแวดล ิ ้อมทีตังใจไว ้

คําว่า บรรลุผล"ทีมุง่ หวัง - intended outcome " หมายถึงสิงทีองค์กรต ้องการจากระบบการจัดการ


สิงแวดล ้อม ซึงรวมถึงการปรับปรุงสมรรถนะด ้านสิงแวดล ้อม การสอดคล ้องกับข ้อผูกพันทีมี และการบรรลุ
วัตถุประสงค์ด ้านสิงแวดล ้อม เป็ นอย่างน ้อย ซึงองค์กรสามารถกําหนดทําการกําหนดนอกกรอบนีได ้

องค์กรแต่ละองค์กรแตกต่างกัน ซึงเป็ นผลมาจากปั ญหาภายนอก และภายใน ทีแตกต่างกัน เช่นความ


พร ้อมของทางการเงิน จุดยืนขององค์กร จุดยืนตลาดทีอยู่ ความแตกต่างของประเภทธุรกิจ การได ้รับการ
สนับสนุนและการมีสว่ นร่วมของพนั กงาน นอกจากนีบริบทขององค์กรยังมีผลมาจาก ความซบ ั ซอน

โครงสร ้าง กิจกรรม และสถานทีของหน่วยงานของทังองค์กร ทังโดยรวมและท ้องที

ข้อกําหนดนีมีความต่อเนืองก ับข้อกําหนดไหนบ้าง

ความเข ้าใจเกียวกับบริบทขององค์กรนีทําเพือจัดทํา นํ าระบบไปปฏิบต ั ิ ธํารงรักษา และปรับปรุงระบบการบริหาร


สิงแวดล ้อมอย่างต่อเนือง ( ดู4.4)
ประเด็นภายใน และภายนอกทีถูกพิจารณาใน 4.1 นี อาจสง่ ผลต่อความเสยงและโอกาสองค์ี กร หรือต่อระบบการ

จัดการสงแวดล ้อม ( ดู6.1.1-6.1.3)
องค์กรพิจารณา สงทีิ จําเป็ นต ้องได ้รับการระบุและจัดการ ( ให ้ดูท6.1.4,
ี 6.2, ข ้อ 7 ,ข ้อ 8 สว่ นและ ข ้อ 9.1)

เอาข้อมูลทีได้ไปทําอะไรได้บา้ ง

ผลการทบทวนบริบทนีสามารถใชเพื ้ อชว่ ยองค์กรทําความเข ้าใจและกําหนดขอบเขตของระบบการจัดการ



สงแวดล ้อม กําหนดความเสยงทีี เกียวข ้องกับความอ่อนไหวและโอกาส พัฒนาหรือการทําให ้บรรลุนโยบาย

สงแวดล ิ
้อม จัดทําวัตถุประสงค์ด ้านสงแวดล ้อม และพิจารณากําหนดประสท ิ ธิผลในการสอดคล ้องกับภาระหน ้าที
ปฏิบตั ต
ิ ามกฎหมายกฏระเบียบทีเกียวข ้อง

หล ักการในการค ัดกรองประเด็นไปจ ัดการ

ิ องค์กรควรคํานึงถึง
เพือเข ้าใจว่าอะไรคือประเด็นทีสําคัญ มีสงที
 อะไรคือตัวผลักดันหลักและแนวโน ้ม
 อะไรทีเป็ นปั ญหาในปั จจุบน ั
 อะไรทีควรเปลียนแปลง
 อะไรทีสามารถเพิมประโยชน์ทได ิ
ี ้ รวมถึงการปรับปรุงสมรรถนะสงแวดล ้อม
 เห็นโอกาสในการสร ้างความสามารถในการแข่งขัน รวมถึงการลดต ้นทุน การสร ้างมูลค่าเพิมให ้ลูกค ้า หรือ
ปรับปรุงภาพลักษณ์องค์กร หรือตราสน ิ ค ้า

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 6 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

ขนตอน


การจัดทําหรือปรับปรุงระบบการจัดการสงแวดล ิ
้อม หรือการรวมระบบการจัดการสงแวดล ้อมภายในเข ้ากับทางธุรกิจ
ทีมีอยู่ ควรทําการทบทวนบริบทโดย;
a ระบุ ประเด็นภายในและภายนอกทีเกียวข ้อง รวมทังสภาพสิงแวดล ้อม และเหตุการณ์ ทีซึงเกียวข ้องกับ
กิจกรรมผลิตภัณฑ์และบริการ
b พิจารณาว่าประเด็นเหล่านีจะสามารถกระทบต่อวัตถุประสงค์ขององค์กรและความสามารถเพือให ้
บรรลุผลวัตถุประสงค์ของระบบการจัดการสิงแวดล ้อมขององค์กรอย่างไร
c ระบุโอกาสในการปรับปรุงสมรรถนะด ้านสิงแวดล ้อม

ในการทบทวน อาจมีข ้อควรพิจารณาเพิมเติมเข่น



a การรักษาความยังยืนด ้านสงแวดล ื
้อมผ่านการจัดซอ
b โอกาสในการสร ้างความได ้เปรียบทางการแข่งขันจากการลดต ้นทุน และสร ้างมูลค่าเพิมสําหรับลูกค ้า
และ
c ความคิดเชงิ วัฏจักรชวี ต

ตัวอย่างของประเด็นภายใน ภายนอก ทีซึงเกียวข ้องกับบริบทองค์กร ประกอบด ้วย


a) สภาพสิงแวดล ้อมเกียวข ้องกับ สภาพภูมอิ ากาศ, คุณภาพอากาศ, คุณภาพนํ า, ดินทีใช ้, การปนเปื อนที
มีอยู,่ ทรัพยากรธรรมชาติ, และความหลากหลายทางชีวภาพ ทีสามารถส่งผลกระทบต่อทังวัตถุประสงค์
ขององค์กร หรือได ้รับผลจากประเด็นสิงแวดล ้อมกระทบตามแง่มม ุ ของสิงแวดล ้อม
b) วัฒนธรรมภายนอก สังคม การเมือง กฎหมาย ข ้อบังคับ การเงิน เทคโนโลยี เศรษฐกิจ ธรรมชาติ และ
สถานการณ์การแข่งขัน ไม่วา่ ระดับนานาชาติ, ประเทศ, ภูมภ ิ าค หรือท ้องถิน
c) ลักษณะภายในหรือเงือนไขขององค์กร เชน ่ กิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการ ทิศทางเชงิ กลยุทธ์
วัฒนธรรม และกําลังความสามารถ (เชน ่ คน ความรู ้ กระบวนการ ระบบ)

พิจารณาปัจจ ัยภายนอกภายในแค่ไหนพอ

จะทําการระบุพจ
ิ ารณาให ้ครบ มาตรฐานให ้มา 2 เกณฑ์ทเป็
ี นปั จจัยทีเกียวข ้องทีองค์กรต ้องระบุปัจจัยภายนอก
และภายใน

มาตรฐานต ้องการให ้ “องค์กรต ้องพิจารณาประเด็นภายนอกและภายในทีเกียวข ้องกับจุดประสงค์ของ


องค์กร” และ
มาตรฐานต ้องการให ้ “องค์กรต ้องพิจารณาประเด็นภายนอกและภายในทีเกียวข ้องกับผลกระทบต่อความสามารถ
ขององค์กรในการบรรลุผลตามทีมุง ่ หว ังจากระบบการจัดการสิงแวดล ้อม.

จุดประสงค์ (purpose) องค์กร ก็คอ ั ทัศน์ พันธกิจ หรือในคําทัวๆไปก็คอ


ื วิสย ื แผนระยะยาวขององค์กรขององค์กร
นันเอง ซึงองค์กรท่านน่าจะมีการกําหนดไว ้อยูแ
่ ล ้ว

ผลตามทีมุง่ หวังจากระบบการบริหารสิงแวดล ้อม ท่านอาจจัดทําระบบการบริหารสิงแวดล ้อมและได ้รับการรับรองมา



นานหลายปี แต่ทา่ นไม่ทราบเหตุแห่งการจัดทําและผลทีต ้องการจากระบบการบริหาร ซงอาจหมายรวมถึ ง

• สร ้างทัศนคติทดีี และการยอมรับของชุมชนโดยรอบ
• ลดผลกระทบต่อสงแวดล ิ ้อม สําหรับการนํ าไปใชในการผลิ
้ ต
• ลดความเสียงทีเกิดจากความผิดพลาดในการกําจัดขยะมีพษ ิ
• สนองความต ้องการของลูกค ้า เนืองจากในปั จจุบน ิ
ั ลูกค ้าต ้องการสินค ้าทีช่วยอนุรักษ์ สงแวดล ้อม
• ลดต ้นทุนและใช ้ประโยชน์จากทรัพยากรได ้อย่างคุ ้มค่า
• สร ้างภาพลักษณ์ทดี ี ในสายตาภาครัฐ
• สร ้างภาพลักษณ์และความรู ้สึกทีดีให ้แก่ลก ู ค ้า
• เกิดภาพลักษณ์ทดี ี ตอ ่ สิงแวดล ้อมและต่อชุมชนรอบข ้าง
• สะดวกในการทําการค ้าทังในประเทศและต่างประเทศ ลดปั ญหาในการเจรจาและการทํา
ข ้อตกลงทางการค ้า
• ลดค่าปรับทีเสยี
• ลดต ้นทุนในระยะยาวจากการพิจารณาถึงทรัพยากรทีใชและมลพิ ้ ษทีก่อกําเนิด โดยองค์กร

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 7 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

• เกิดความได ้เปรียบในการแข่งขันเมือเปรียบเทียบกับคูแ ่ ข่งด ้วยผลิตภัณฑ์ บริการทีเป็ นมิตรกับ


สิงแวดล ้อม
• เพิมโอกาสในด ้านการค ้าและการเจรจาต่อรองกับคูค ่ ้าทีต ้องการทําธุรกิจกับองค์กร ทีคํานึง ถึง
สิงแวดล ้อม
• สร ้างขวัญและกําลังใจ ความมุง่ มัน และความเข ้าใจในหน ้าทีความรับผิดชอบให ้กับ บุคลากร
• ต ้นทุนการผลิตตําลง
• เพิมโอกาสในการแข่งขันทางธุรกิจ
• ลดผลกระทบต่อสงแวดล ิ ้อมและชุมชน
• สร ้างทัศนคติทดีี และการยอมรับระหว่างโรงงานและชุมชน
• จัดการของเสย ี ทีดี และลดผลกระทบต่อสงแวดล ิ ้อมและชุมชนโดยรอบ
• ทําให ้การปฏิบตั งิ านมีประสทิ ธิผลมากขึน ลดต ้นทุนการผลิตได ้

ต ัวอย่างปัจจ ัยภายนอกเพิมเติม :
 การเมือง เศรษฐกิจ สงั คม เทคโนโลยี กฎหมาย และข ้อบังคับ
 ความยืดหยุน
่ ของห่วงโซ่อป
ุ ทาน (Supply chain resilience)
 ความอ่อนไหวของตลาด ปั ญหาทีอยูอ
่ าศัยและความหลากหลายทางชีวภาพ
 ประสิทธิผลทางเศรษฐกิจโดยรวมในประเทศ
 แผนเศรษฐกิจในอนาคต
 เงือนไขทางการค ้า (ความเชือมันของประชากร ตลาด/etc.)
 ความคาดหวังของลูกค ้า
 มาตรฐานและการรับรองภายในอุตสาหกรรม
 ผลกระทบของความผันผวนของสภาพภูมอ ิ ากาศ
 เปลียนแปลงตามสงแวดลิ ้อมในท ้องถิน (การพัฒนากําหนดพ/◌ื◌ ้นทีอนุรักษ์พัฒนา/พืนทีป้ องกันนํ า
ท่วม เป็ นต ้น )
 ราคาวัตถุดบ ื
ิ เชอเพลิ ง/– แรงกดดันจากนานาชาติ ความดันของตลาดภายในประเทศ การ,รัฐบาล ,
จัดเก็บภาษี ต ้น
 ระเบียบ ข ้อบังคับทัวไปทีเกียวกับอุตสาหกรรม
 สมาคมการค ้า และอํานาจการต่อรอง/การล็อบบี( lobbying powers)
ผลกระทบต่อเพือนบ ้าน

ประเด็นภายในทีอาจคํานีงถึงเพิมเติม

 การกํากับดูแลองค์กรและโครงสร ้างการกํากับดูแล ตามสญ ั ญา และชาติกรอบ รวมทังลงทะเบียน และ


รายงาน ชนิดของโครงสร ้าง รวมทังลําดับชัน เมตริกซ์ โครงการ กิจการร่วมค ้าและบริการสัญญา และ
ความสัมพันธ์ของบริษัทแม่ บทบาท และความรับผิดชอบ และ อํานาจหน ้าที
 การปฏิบต ั ต
ิ ามกฎหมาย การบ่งชีและภาระผูกพันตามกฎหมาย
 นโยบาย วัตถุประสงค์ และ กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ วิสย ั ทัศน์ กลยุทธ์ และทรัพยากรทีจําเป็ นเพือให ้บรรลุ
 กําลังความสามารถและกําลังการผลิต – ความสามารถในองค์กร และความรู ้ทรัพยากรและความสามารถ
(เช่นเงินทุน เวลา คน ภาษา กระบวนการ ระบบเทคโนโลยี และการบํารุงรักษา);
 ระบบสารสนเทศ การไหลของสารสนเทศและกระบวนการตัดสินใจ (อย่างเป็ นทางการ และไม่เป็ น
และเวลาทีใช ้ (ทางการ
 ความสม ั พันธ์ภายในกับ และภาพลักษณ์ และคุณค่าต่อผู ้มีสว่ นได ้เสย
ี ภายใน
 ระบบการบริหารและมาตรฐาน – จุดแข็งและจุดอ่อนของระบบการจัดบริหารทีมีอยูข ่ ององค์กร แนวทาง
และรรูปแบบทีใชโดยองค์้ กร เชน่ งานการบัญช ี และการเงิน คุณภาพ ความปลอดภัย และ สุขภาพ
 ลักษณะรูปแบบองค์กรและวัฒนธรรม – ธุรกิจครอบครัว บริษัทสว่ นตัว หรือสาธารณะ จัดการ และลักษณะ
ความเป็ นผู ้นํ า วัฒนธรรมเปิ ดเผย วัฒนธรรมแบบปิ ด และรวมถึงกระบวนการตัดสน ิ ใจ
 สญั ญา – รูปแบบ เนือหา และขอบเขตของความสม ั พันธ์ตามสญั ญา

ต ัวอย่างประเด็นภายในเพิมเติม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 8 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

 การขนสง่ และการเลือกไซต์งาน ต ้นทุน/บริการ


 วัฒนธรรมภายในองค์กร การกํากับดูแลและปั ญหา /อย่างต่อเนือง
 โอกาสทีจะเปลียนจากผลิตภัณฑ์ เป็ นการให ้บริการเช่น ลีสซิงและการบํารุงรักษาอาคาร
 ความสัมพันธ์ระหว่าง supply chain (การสอบกลับทีมาของท่อนไม ้ เป็ นต ้น )
 มีโอกาสในการวางแผนการเปลียนมาใช ้วัตถุดบิ ทีมีความยังยืน (ผลิตภัณฑ์/บรรจุภัณฑ์)
 การใช ้วัสดุต่างๆ (recycled, durable, reusable, recyclable, biodegradable)
 การจัดการพลังงาน (Energy management )
 ของเสยี จากวัตถุดบ
ิ การกําจัดขยะ การพัฒนาตลาดจากวัสดุพลอยได ้( by-products)
 โครงสร ้างขององค์กร (Structure of the organization)
 บทบาท หน ้าที ภายในองค์กร (Roles within the organization)
 กลยุทธ์การเติบโตทางธุรกิจ (Business growth strategy)
 ผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on investment)
 คุณภาพของผลิตภัณฑ์/บริการ (Product/service )
 เงินทุน (Capital expenditure)
 สภาพคล่อง (Solvency)
 หนีและดอกเบีย (Debt and interest)
 หนีสิน Liabilities (e.g. Public)
 การค ้า ซือขายอย่างยุตธิ รรม
 ื อ คุณภาพ และความสามารถในการทํางาน
ความน่าเชอถื
 ความมันคงของการปฏิบต
ั งิ าน /ทรัพยากรบุคคล
 ผลกระทบของการไม่เป็ นองค์กร (Impact of unionization)
 ระดับการฝึ กอบรมเจ ้าหน ้าที ( Staff training levels)
 ั ญา ข ้อตกลงกับลูกค ้า
สญ
 เงือนไขการชําระเงินจากลูกค ้า
 สภาพคล่องของลูกค ้า
 ขยายฐานลูกค ้า
 เงินหมุนเวียน
 ความแข็งแรงของธุรกิจเพือรองรับความต ้องการเงินทุน
 ความยืดหยุน่ ของโครงสร ้างพืนฐาน (Resilience of infrastructure)
 ความสมั พันธ์ระหว่างผู ้ลงทุน (รวมไปถึงสถาบันทางการเงิน)
 อันดับเครดิตและความพร ้อม
 สุขภาพและความปลอดภัย ทีไซต์งาน และไซต์ลก
ู ค ้า
 ิ
ออกแบบเพือสงแวดล ้อม

ํ หร ับการจ ัดการสงแวดล้
SWOT analysis สา ิ อม

การทํา SWOT analysis นิยมใชกั้ นในการบริหารจัดการองค์กร ซงสามารถปรั


ึ บใชกั้ บการบริหารงานโดยมองในมุม

สงแวดล ่ กัน
้อมได ้เชน


จุดแข็งขององค์กรในการจัดการสงแวดล ้อม ิ
จุดอ่อนขององค์กรในการจัดการสงแวดล ้อม

ผลิตภัณฑ์รักษาสงแวดล ้อม
 ้
ผลิตภัณฑ์ไม่สามารถนํ ามาใชใหม่ ได ้
 มีกระบวนการผลิตทีใช ้ทรัพยากรอย่างมี  กระดาษทีใช ้ในการบรรจุหบี ห่อ ขวด ไม่
ประสท ิ ธิผลและไม่มข
ี องเสย ี อันตราย สามารถใชได ้ ้อีก
 ภาพพจน์ของบริษัทคือ โรงงานสเี ขียว  กระบวนการผลิตมีมลพิษเกิดขึน
 พนั กงานทุกระดับมีความมุง่ มันในการรักษา  มีของเสียอันตรายเกิดขึน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 9 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

สิงแวดล ้อม  มีภาพพจน์ทเป็


ี นโรงงานสกปรกหรือมีมลพิษ
 มีหน่วยงานวิจัยและพัฒนาสาํ หรับผลิตภัณฑ์ส ี  พนักงานและผู ้บริหารไม่สนใจในการรักษา
เขียว สิงแวดล ้อม

โอกาสขององค์กรในการดําเนินการด ้านสิงแวดล ้อม อุปสรรคขององค์กรในการดําเนินการด ้าน


สิงแวดล ้อม
 ่ ลาดใหม่ ๆ
มีโอกาสในการเข ้าสูต
 โอกาสการเป็ นรายแรกทีผลิตผลิตภัณฑ์สเี ขียว  ิ
การดําเนินการด ้านสงแวดล ้อมตามกฎหมาย
 สามารถสร ้างภาพพจน์ทดี ี ในการจัดการ จะต ้องลงทุนและเป็ นการลงทุนทีไม่สามารถ
สิงแวดล ้อม และมีโอกาสในการกําหนด คืน ทุนได ้
วัตถุประสงค์  การเพิมขึนของการตรวจสอบจากทางราชการ
 และเป้ าหมายใหม่  มีกลุม ิ
่ อิสระด ้านสงแวดล ้อมคอยตรวจสอบการ
 โอกาสในการใช ้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล ทํางานของบริษัท
และสามารถลดต ้นทุนการผลิต  คูแ
่ ข่งมีสดั ส่วนของตลาดใหม่จากผลิตภัณฑ์ส ี
เขียวเชน ่ กัน
 จํานวนพนักงานลดลง และการรับสมัครเพิมทํา
ได ้ด ้วยความยากลําบากมากขึน
 การอยูร่ อดของบริษัทมีความยากลําบากมาก
ขึน

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 10 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

4.2 ความเข้าใจถึงความต้องการและความคาดหว ังของผู ้


มีสว่ นได้เสย

4.2 ความเข้าใจถึงความต้องการและความคาดหว ังของผูม ี ว่ นได้เสีย


้ ส
องค์กรต ้องทําการพิจารณา:
a) ผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียทีเกียวข ้องกับระบบการบริหารสิงแวดล ้อม
b) ความจําเป็ นและความคาดหวังทีเกียวข ้อง (เชน ่ ข ้อกําหนด) ของผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย

c) โดยความจําเป็ นและความคาดหวังนัน จะแปลเปลียนเป็ นข ้อผูกพันทีต ้องทําให ้สอดคล ้อง

ทวไป

ผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียเป็ นส่วนหนึงของบริบททีองค์กรควรมีการพิจารณา การกําหนดผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียและการพัฒนา


ความสม ั พันธ์กบ
ั ผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย
ี จะทําให ้การสอสารสามารถนํ
ื ่ วามเป็ นไปได ้ในการสร ้างความเข ้าใจซงกั
าไปสูค ึ น
และกันก่อให ้เกิดความเชือมันและความเคารพ ความสัมพันธ์ดังกล่าวไม่จําเป็ นต ้องเป็ นลักษณะแบบทางการ

องค์กรควรมีการกําหนดผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียและความต ้องการรวมถึงความคาดหวังของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียเกียวกับ


ระบบบริหารสงแวดล ิ ี
้อม องค์กรสามารถได ้ประโยชน์จากขันตอนทีบ่งชความต ้องการและความคาดหวังของผู ้มีสว่ น
ได ้ส่วนเสียทีเกียวข ้องเพือกําหนดงทีจะต ้องสอดคล ้องและสิงทีต ้องเลือกให ้สอดคล ้อง (อาทิเช่น พันธกรณีทต ี ้อง
ปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง) วิธท
ี ใชี ้และทรัพยากรทีใช ้สามารถแตกต่างได ้ตามขนาดและหลักธรรมชาติขององค์กร ความ

พร ้อมทางการเงิน ความเสยงและโอกาสที ิ
ต ้องกล่าวถึงและประสบการณ์ด ้านการบริหารสงแวดล ้อมขององค์กร

องค์กรถูกคาดหวังให ้มีความเข ้าใจทัวไป ในด ้านความต ้องการและความคาดหวังทีผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียภายนอกและ


ภายในทีเกียวข ้องแสดงออกมาเพือให ้เกิดการพิจารณาความรู ้ทีได ้รับเมือมีการตัดสินพันธกรณีทต ี ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้
สอดคล ้อง

การกําหนดผูม ี ว่ นได้สว่ นเสียทีเกียวข้อง


้ ส

ผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย


ี สามารถเป็ นฝ่ ายภายในหรือภายนอกขององค์กร โดยองค์กรควรมีการกําหนดว่าผู ้มีสว่ นได ้สว่ น
เสียคนใดทีเกียวข ้องกับระบบบริหารสิงแวดล ้อมขององค์กรตามความสําคัญและนัยยะ ผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียสามารถ
เปลียนไปตามเวลาและจะขึนอยูก ่ บ
ั ภาคหรืออุตสาหกรรมหรือทีตังทางภูมศ
ิ าสตร์ทองค์
ี กรดําเนินการอยู่ การ
เปลียนแปลงต่าง ๆ ของปั ญหาภายในและภายนอกทีเป็ นสว่ นหนึงของบริบทองค์กรสามารถสง่ ผลต่อการ
เปลียนแปลงของผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย ี

การกําหนดความต้องการและความคาดหว ังของผูท ี สว่ นได้สว


้ มี ่ นเสียทีเกียวข้อง

องค์กรควรตัดสน ี ขององค์กรในฐานะปัจจ ัยนําเข้าสําหร ับ


ิ ความต ้องการและความคาดหวังของผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย

การออกแบบระบบบริหารสิงแวดล ้อม ตัวอย่างของผู ้มีสวนได ้ส่วนเสียรวมถึงความต ้องการและความคาดหวัง ไม่
เพียงแต่จะมีความสําคัญในการกําหนดความต ้องการและความคาดหวังทีเป็ นพันธะและได ้แถลงไว ้เท่านัน แต่ยังคง
รวมถึงการกําหนดความต ้องการและความคาดหวังทีบอกเป็ นนัยโดยทัวไปด ้วย (อาทิเชน ่ ทีคาดการณ์ไว ้ตามปกติ)
ผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียทีเกียวข ้องซึงกําหนดว่ามีบทบาทในบริบทอาจมีความต ้องการบางอย่างทีไม่เกียวข ้องกับระบบ
บริหารสิงแวดล ้อมขององค์กร ดังนัน จึงไม่จําเป็ นต ้องพิจารณาความต ้องการของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียทังหมด

่ นได้สว่ นเสียรวมถึงความต้องการและความคาดหว ัง
ต ัวอย่างของมีสว

ั ันธ์
ความสมพ ต ัวอย่างผูม
้ ส ่ นได้สว่ นเสย
ี ว ี ต ัวอย่างความต้องการและความคาดหว ัง

โดยความรับผิดชอบ นักลงทุน คาดหวังให ้องค์กรบริหารความเสียงและโอกาสทีสามารถ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 11 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0

ส่งผลต่อการลงทุน

โดยอิทธิพล องค์กรนอกภาครัฐ (NGOs) ต ้องการความร่วมมือขององค์กรในการบรรลุเป้ าหมาย


สิงแวดล ้อมขององค์กรนอกภาครัฐ

โดยความใกล ้ชิด เพือนบ ้าน ชุมชน คาดหวังประสิทธิผลการทํางานทีการยอมรับได ้ทางสังคม


ความซือสัตย์และบูรณาการ

โดยภาวะพึงพิง พนักงาน คาดหวังการทํางานในสิงแวดล ้อมทีปลอดภัยและมีสข


ุ อนามัย

โดยการเป็ นตัวแทน องค์กรสมาชิกทางอุตสาหกรรม ต ้องการความร่วมมือในด ้านปั ญหาสิงแวดล ้อม

โดยอํานาจ ตัวแทนตามระเบียบและกฎหมาย คาดหวังการแสดงความสอดคล ้องทางกฎหมาย

การต ัดสินพ ันธกรณีทต้


ี องปฏิบ ัติให้สอดคล้อง

องค์กรต ้องตัดสนิ ว่าจะต ้องสอดคล ้องกับสงที ิ เป็ นความต ้องการและความคาดหวังของผู ้มีสว่ นได ้สว่ นเสย ี ใด ซงเมื
ึ อ
ตัดสินใจแล ้วจะกลายเป็ นพันธกรณีทต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง ความรู ้ในสิงนีจะช่วยส่งเสริมให ้เกิดความเข ้าใจ
ี ้องปฏิบต
พันธกรณีทต ี ้องปฏิบตั ใิ ห ้สอดคล ้องดังรายละเอียดเพิมเติมในข ้อ 6.1.3 ได ้

ทังนี วิธก ิ ความต ้องการและความคาดหวังใดจะนํ ามาปฏิบต


ี ารการตัดสน ั ม
ิ ห
ี ลายวิธแ ้
ี ละสามารถใชหลายวิ ธไี ด ้ ตราบ
ใดทีเหมาะสมกับขอบเขต ธรรมชาติและขนาดขององค์กรรวมถึงเหมาะสมในด ้านรายละเอียด ความซับซ ้อน เวลา
ต ้นทุนและความมีข ้อมูลทีน่าเชือถือ และทีสําคัญทีสุดควรมีการตัดสินใจโดยผู ้บริหารระดับสูงมีสว่ นร่วม

ข ้อกําหนดทีเกียวข ้องกับหน่วยงานด ้านกฎระเบียบ องค์กรควรต ้องมีความรู ้ในสาขากฎหมายโดยรวมทีบังคับใช ้


อาทิเช่น มาตรฐานคุณภาพอากาศ ข ้อจํากัดในการปล่อย ระเบียบในการกําจัดของเสียทิง ข ้อกําหนดในการขอ
ใบอนุญาตเพือสิงอํานวยความสะดวก ฯลฯ

ในกรณีทมี ี คํามันสญั ญาด ้วยความสมัครใจ องค์กรควรมีความรู ้เชงิ กว ้างในด ้านความต ้องการและความคาดหวังที


เกียวข ้อง อาทิเช่น ข ้อกําหนดของลูกค ้า แนวทางการปฏิบต ั ท
ิ ดี
ี หรือข ้อตกลงโดยสมัครใจกับกลุม่ ชุมชนหรือ
เจ ้าหน ้าทีภาครัฐ ความรู ้นีจะทําให ้องค์กรสามารถเข ้าใจนัยยะเหล่านีโดยสามารถบรรลุผลลัพธ์ทตั ี งใจไว ้ในระบบ

บริหารสงแวดล ้อม

้ ละการประยุกต์ความต้องการและความคาดหว ังของผูม
การใชแ ้ ส ่ นได้สว่ นเสีย
ี ว

ผลลัพธ์จากข ้อ 4.1 ถึง 4.2 จะชว่ ยในการกําหนดขอบเขตของระบบบริหารสงแวดล ิ ้อมขององค์กรโดยตังนโยบาย


สิงแวดล ้อม กําหนดประเด็นสิงแวดล ้อม พันธกรณีทตี ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง รวมถึงความเสียงและโอกาสทีองค์กร
ต ้องดําเนินการ รวมถึงการออกแบบการจัดการ ซึงรวมถึงการพิจารณาเพือจัดตังผลลัพธ์ทต ี ้องการด ้านสิงแวดล ้อม
องค์กรจะพบว่าการทําเอกสารในเรืองนีจะมีประโยชน์ในการทําให ้หาสว่ นประกอบอืนๆได ้ง่ายขึน

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 12 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0


4.3 การพิจารณาขอบข่ายระบบการบริหารสงแวดล้
อม
4.3 การพิจารณาขอบข่ายระบบการบริหารสิงแวดล้อม
องค์กรต ้องพิจารณาขอบเขตและการประยุกต์ใช ้ระบบการบริหารสิงแวดล ้อมเพือจัดตังขอบข่าย ในการ
กําหนดขอบข่าย องค์กรต ้องคํานึงถึง:
a) ปั จจัยภายนอกและภายใน ตามข ้อ 4.1
b) ข ้อผูกพันทีต ้องทําให ้สอดคล ้อง ตามข ้อ 4.2
c) หน่วยงานขององค์กร, ฟั งชน, ั ขอบเขตทางกายภาพ
d) กิจกรรม, ผลิตภัณฑ์และบริการ
e) อํานาจตามหน ้าที และความสามารถในการควบคุมและการมีสว่ นผลักดัน

เมือได ้มีการกําหนดขอบข่าย,กิจกรรมทังหมด, ผลิตภัณฑ์และบริการ ขององค์กรภายใน


ขอบข่าย จําเป็ นต ้องรวมอยูภ
่ ายในระบบการบริหารสิงแวดล ้อม

ขอบข่ายต ้องได ้รับการธํารงรักษาในรูปแบบสารสนเทศทีเป็ นเอกสาร และพร ้อมจะมีให ้ผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย

การกําหนดขอบเขตและการบังคับใช ้ระบบบริหารสิงแวดล ้อมว่าจะครอบคลุมอะไร มากน ้อยขนาดไหนเป็นความ


ร ับผิดชอบของแต่ละองค์กร ผ่านการบ่งชีปั จจัยนํ าเข ้าทีได ้มาจากความเข ้าใจปั ญหาภายในและภายนอกที
กําหนดอยูใ่ นข ้อ 4.1 และ 4.2 การกําหนดขอบเขตจะรวมถึงขอบเขตสาํ หรับหนึงหรือหลายทีตัง และข่ายการ
ควบคุมและอิทธิพลขององค์กรทีพิจารณาจากมุมมองในการประเมินวัฏจักรชวี ต ิ ผลิตภัณฑ์โดยมุง่ ให ้ขอบเขตเป็ น
การแจกแจงขอบเขตทางกายภาพ ทางหน ้าทีและทางองค์กรทีระบบบริหารสงแวดล ิ ้อมประยุกต์ใช ้

ฝ่ ายบริหารสูงสุดขององค์กรจะรักษาความยืดหยุน ิ
่ และอิสระ ในการกําหนดขอบเขตของระบบบริหารสงแวดล ้อม
โดยอาจจะรวมองค์กรทังหมดหรือหน่วยปฏิบัตก ิ ารเฉพาะขององค์กร

องค์กรควรเข ้าใจขอบเขตการควบคุมและอิทธิพลทีส่งผลต่อกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ซึงจําเป็ นต่อ


ความสําเร็จของระบบบริหารสิงแวดล ้อมและต่อความน่าเชือถือของชือเสียงองค์กรเพือทําให ้มันใจว่ามิได ้มีการ
กําหนดขอบเขตในทางทีหลบเลียงพันธกรณีทต ั ใิ ห ้สอดคล ้องหรือทําให ้ผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียเข ้าใจผิด
ี ้องปฏิบต
ขอบเขตทีเล็กไปหรือแคบไปไม่เหมาะสม เพราะทําลายความน่าเชือถือของระบบบริหารสิงแวดล ้อมโดยผู ้มีสว่ นได ้
สว่ นเสย
ี และลดความสามารถขององค์กรในการบรรลุผลลัพธ์ด ้านระบบบริหารสงแวดล ิ ้อมทีตังใจไว ้

ิ มากขึน หรือ
หากองค์กรเปลียนแปลงข่ายการควบคุมหรืออิทธิพล ทําการขยายการดําเนินงาน ครอบครองทรัพย์สน
เบียงเบนสายหรือคุณลักษณะทางธุรกิจ ควรมีการพิจารณาขอบเขตไปพร ้อมกับการเปลียนแปลงอืน ๆ ทีอาจสง่ ผล
ต่อระบบบริหารสิงแวดล ้อม.

องค์กรควรพิจารณากิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการทีได ้รับจากภายนอกเมือมีการกําหนดขอบเขตของระบบบริหาร


สิงแวดล ้อม องค์กรสามารถควบคุมกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการทีได ้รับจากภายนอกซึงมีหรือสามารถมีผลกระทบ
ต่อสิงแวดล ้อมทีมีนัยสําคัญผ่านความเป็ นผู ้นํ าขององค์กร หรือองค์กรต่าง ๆ สามารถมีอท
ิ ธิพลเหนือผลกระทบ
ั ญาหรือการตกลงอืน ๆ
เหล่านีด ้วยการจัดการด ้านสญ

องค์กรควรเก็บรักษาขอบเขตเป็ นข ้อมูลทีเป็ นเอกสารและทําให ้มีพร ้อมใชส้ ําหรับผู ้ทีมีสว่ นได ้สว่ นเสย
ี ทังนี มี
วิธก
ี ารทําหลายวิธเี ชน่ การใชรายละเอี
้ ยดทีเป็ นลายลักษณ์อก ั ษร การรวมแผนทีของสถานประกอบการ ผังองค์กร
เว็บเพจ หรือการติดประกาศความสอดคล ้องต่อสาธารณชน เมือมีการทําเอกสารในด ้านขอบเขต องค์กรสามารถ
พิจารณาการใช ้วิธท ี าหนดกิจกรรมต่าง ๆ ทีเกียวข ้อง ผลิตภัณฑ์และบริการทีส่งผล รวมถึงการประยุกต์ใช ้และ/
ี กํ
หรือสถานทีทีเกิดกิจกรรมขึน ตัวอย่างการใช ้วิธนี ในการทํ
ี าเอกสารขอบเขต เช่น

— เครืองผลิตและอะไหล่สําหรับเครืองยนต์สนั ดาปทีสถานประกอบการ A (ขอบเขตทางภูมศ ิ าสตร์) หรือ


— การตลาด การออกแบบและการปฏิบต ิ ารอบรมออนไลน์สําหรับบุคคลและองค์กร (ขอบเขตหน ้าที)
ั ก

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 13 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกําหนด ISO 14001 Cl4.0


4.4 ระบบการบริหารสงแวดล้
อม

4.4 ระบบการบริหารสิงแวดล้อม
เพือให้บรรลุผลล ัพธ์ตามทีมุง ่ หว ัง,รวมถึงการทําให้ได้มาซึงสมรรถนะสิงแวดล้อม,องค์กรต ้องจัดทํา
นํ าไปปฏิบต ึ
ั ิ ธํารงรักษา และปรับปรุงอย่างต่อเนือง ซงระบบการบริ ิ
หารสงแวดล ้อม,รวมถึงกระบวนการ
จําเป็ นและปฏิสม ั พันธ์ของกระบวนการนัน, ให ้เป็ นไปตามข ้อกําหนดของมาตรฐานสากลฉบับนี


องค์กรต ้องคํานึงถึง ความรู ้ทีได ้จาก4.1และ 4.2เมือจัดทําและธํารงรักษา ระบบการบริหารสงแวดล ้อม

มาตรฐาน ISO14001 เป็ นมาตรฐานทีกําหนดไว ้ชด ั เป็ นอย่างมากว่า "ระบบบริหารมีไว ้เพือให ้ องค์กร บรรลุผลลัพธ์
ตามทีมุง่ หวัง และ สมรรถนะสิงแวดล ้อมของตน" มาตรฐานอืนต ้องการบอกผู ้ใช ้มาตรฐานเฉกเช่นเดียวกันกับ
ISO14001 แต่ต ้องคิดนิดหน่อย หาโฉ่งฉ่างเท่านีไม่ !

ในทางปฏิบต
ั ท ิ
ิ า่ นจึงต ้องระบุ ผลลัพธ์ตามทีมุง่ หวังและสมรรถนะสงแวดล ้อม ก่อนจึงค่อยคิดหาทางวางระบบ

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 14 of 14 29-Aug-20


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

ISO 14001:2015
: ISO14001 Guide Book
Cl5.0

Just for Customer


Guide Series

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 1 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

Contents
5 ความเป็ นผู ้นา ............................................................................................................................3

5.1 ความเป็ นผู ้นาและความมุง่ มั่น .....................................................................................................3


การบูรณาการระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมเข ้าสูก
่ ระบวนการทางธุรกิจ........................................................... 4

5.2 นโยบายสิง่ แวดล ้อม .................................................................................................................6


การปกป้ องสิง่ แวดล ้อมและการป้ องกันมลพิษ ................................................................................... 8

5.3 บทบาทหน ้าที,่ ความรับผิดชอบและอานาจหน ้าทีใ่ นองค์กร ............................................................. 11


โครงสร ้างองค์กรและหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบ ................................................................................... 11
นิยาม .................................................................................................................................... 11
แสดงตัวอย่างของบทบาทและความรับผิดชอบในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม ............................................. 13
เพิม
่ เติม ................................................................................................................................. 14

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 2 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

5 ความเป็นผูน
้ า

5.1 ความเป็นผูน
้ าและความมุง
่ มน
่ั

5.1 ความเป็นผูน
้ าและความมุง
่ มน
่ั

ผู ้บริหารสูงสุดต ้องแสดงให ้เห็นถึงความเป็ นผู ้นาและความมุง่ มั่นทีเ่ กีย ่ วข ้องกับระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมโดย
:
a) เป็ นผู ้มีภาระรับผิดชอบต่อประสิทธิผลของระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม
b) มั่นใจว่านโยบายและวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมได ้มีกาหนดขึน ้ และ สอดรับ (compatible) กันกับทิศทาง
กลยุทธ์และ บริบทขององค์กร
c) มั่นใจว่ามีการบูรณาการข ้อกาหนดของระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมกับกระบวนการทางธุรกิจขององค์กร
d) มั่นใจว่ามีการจัดสรรทรัพยากรทีจ ่ าเป็ นสาหรับระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมอย่างเพียงพอ
e) สือ ่ สารให ้เข ้าใจถึงความสาคัญของระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมทีม ่ ปี ระสิทธิผลและการสอดคล ้องตาม
ข ้อกาหนดของระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม
f) มั่นใจว่าระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมบรรลุผลลัพธ์ตามทีม ่ งุ่ หวัง
g) กากับและสนับสนุนบุคลากร เพือ ่ ให ้มีสว่ นสร ้างระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมให ้เกิดประสิทธิผล
h) ส่งเสริมให ้มีการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง
i) สนับสนุนบทบาทหน ้าทีข ่ องผู ้บริหารทีเ่ กีย่ วข ้อง ให ้ได ้แสดงความเป็ นผู ้นาและความมุง่ มัน ่ ในการประยุกต์ใช ้
มาตรฐานดังกล่าวในงานทีร่ ับผิดชอบ

คาว่า “ธุรกิจ” ในมาตรฐานนีใ้ ห ้มีความหมายกว ้างๆว่าหมายถึงกิจกรรมหลักต่างๆทีท


่ าให ้องค์กรสามารถบรรลุ
วัตถุประสงค์.

เจตนารมณ์
ข ้อกาหนดนีต ้ ้องการความเป็นผูน
้ าและความมุง ่ มน่ ั จากใครบางคนสาหรับระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม เบือ
้ งต ้น
จึงต ้องเข ้าใจความหมายของคาว่าผู ้นาง่ายๆ ว่าผูน
้ าย่อมไม่ใชผ่ ต
ู ้ าม

ฝ่ ายบริหารสูงสุดจะเป็ นผู ้กาหนดพันธกิจ วิสย ั ทัศน์และค่านิยม


ขององค์กร โดยทาการพิจารณาบริบท ความต ้องการและความ
ผูน ่ ต
้ าย่อมไม่ใชผ ู ้ าม
คาดหวังของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียและวัตถุประสงค์ทางธุรกิจของ
ี้ า ชกน
ผู ้นามีหน ้าที่ ชน ั า ผล ักด ัน สร้าง
องค์กร ทีซ่ งึ่ สะท ้อนอยูใ่ นแผนเชิงกลยุทธ์ คามั่นสัญญา ภาระ
แรงบ ันดาลใจ ทาการกระตุน ้ ให้
ความรับผิดชอบ
แรงจูงใจ ในเรือ ่ งของระบบ EMS

ความเป็ นผู ้นาของฝ่ ายบริหารสูงสุด เป็ นสิง่ สาคัญยิง่ สาหรับการ


ดาเนินระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมให้ประสบความสาเร็จสามารถบรรลุผลล ัพธ์ทต ี่ งใจ
ั้ ดังนัน
้ ฝ่ ายบริหารสูงสุดจึง
ควรรับภาระความรับผิดชอบเพือ ่
่ ประสิทธิผลของระบบบริหารสิงแวดล ้อมขององค์กรและทาให ้มั่นใจว่าจะบรรลุ
ผลลัพธ์ทตี่ งั ้ ใจไว ้

คามั่นสัญญาของฝ่ ายบริหารสูงสุดจะหมายถึงการมอบทรัพยากรทางกายภาพและทางการเงินรวมถึงทิศทางโดยมี
่ ง่ เสริมระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมและสือ
ส่วนร่วมเชิงรุกทีส ่ สารความสาคัญของการบริหารสิง่ แวดล ้อมทีม
่ ป
ี ระสิทธิผล

คามั่นสัญญาของฝ่ ายบริหารสูงสุด ควรทาให ้มั่นใจว่าระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม:

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 3 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

— มิได ้มีการจัดการโดยลาพังหรือแยกจากกลยุทธ์แกนหลักทางธุรกิจ
— มีการพิจารณาเมือ ่ ทาการตัดสินใจด ้านธุรกิจเชิงกลยุทธ์
— เป็ นแนวร่วมกับวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ
— ได ้ประโยชน์จากระดับทรัพยากรทีเ่ หมาะสม (ดูทข ี่ ้อ 7.1) ซึง่ ได ้รับในลักษณะทีท
่ ันเวลาและมี
ประสิทธิผล
— มอบมูลค่าทีแ ่ ท ้จริงให ้กับองค์กร
— ปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ งและยังคงประสบความสาเร็จในระยะยาว

นโยบายสิง่ แวดล ้อมและวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมควรมีการตัง้ เป้ าหมายให ้บรรจบกับองค์ประกอบทาง


สิง่ แวดล ้อมของแผนกลยุทธ์ขององค์กรและก่อรากฐานของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม

ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรเป็ นผู ้ตระหนักดีถงึ ถึงมูลค่าทีส


่ าคัญกว่าโดยพิจารณาประสิทธิผล ประสิทธิภาพการทางานด ้าน
สิง่ แวดล ้อมของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการจากการประเมินวัฎจักรผลิตภัณฑ์เมือ ่ มีการวางแผนและทบทวนกล
ยุทธ์ขององค์กร ตัวอย่างเช่น โอกาสเพือ ่ การปรับปรุงการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมของอาคารหรือการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์จะมีประสิทธิภาพมากขึน ้ หากมีการพิจารณาเกณฑ์สงิ่ แวดล ้อมในขัน ้ ตอนการออกแบบมากกว่ารัง้ รอไป
จนถึงขัน้ ตอนการก่อสร ้างหรือผลิต

ในทางกลับกัน ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรส่งเสริมบุคคลอืน ่ ๆ ในองค์กรทีม ่ บ


ี ทบาทบริหารทีเ่ กีย
่ วข ้องเพือ
่ ให ้สามารถ
ประยุกต์ใช ้ความเป็ นผู ้นากับพืน
้ ทีร่ ับผิดชอบของตนเองทีเ่ กีย ่ วข ้องกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมโดยสามารถทาให ้
คุณค่าความเป็ นผู ้นาและคามัน ่ สัญญาของฝ่ ายบริหารสูงสุดสามารถกระจายลงสูอ ่ งค์กร ทัง้ นี้ ด ้วยการแสดงความ
เป็ นผู ้นาและคามั่นสัญญา ฝ่ ายบริหารสูงสุดสามารถเป็ นผู ้นาและส่งเสริมพนักงานขององค์กรและบุคลากรอืน ่ ๆ ที่
ทางานภายใต ้การควบคุมขององค์กรเพือ ี่ งั ้ ใจไว ้ในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมขององค์กร
่ บรรลุผลลัพธ์ทต

องค์กรทีม ่ ภ
ี าพทีด
่ ใี นการบรรลุวตั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมและสามารถทาการบ่งชีโ้ อกาสสาหรับการปรับปรุงก็
ต่อเมือ
่ ฝ่ ายบริหารสูงสุดได ้สร ้างวัฒนธรรมทีก ้ ให ้เข ้าร่วมในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมอย่าง
่ ระตุ ้นบุคลากรทุกระดับชัน
แข็งขัน

การบูรณาการระบบบริหารสงิ่ แวดล้อมเข้าสูก
่ ระบวนการทางธุรกิจ

ความเป็ นผู ้นาและคามั่นสัญญาของฝ่ ายบริหารสูงสุดเป็ นสิง่ จาเป็ นต่อการบูรณาการของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมเข ้า


่ ระบวนการทางธุรกิจ โดยขึน
สูก ้ อยูก
่ บั องค์กรในการตัดสินระดับรายละเอียดและบริบททีจ
่ ะบูรณาการข ้อกาหนดของ
ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมเข ้าสูห
่ น ้าทีท่ างธุรกิจทีห
่ ลากหลาย การบูรณาการเป็ นกระบวนการต่อเนือ
่ งและสามารถ
เพิม่ ประโยชน์ตามสภาวะทีส ่ อดคล ้องกับการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง

การบูรณาการของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมเข ้าสูก่ ระบวนการทางธุรกิจขององค์กรสามารถยกระดับความสามารถของ


องค์กรในการ
o การดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึน ้ ผ่านการแบ่งปั นกระบวนการและทรัพยากร
ต่าง ๆ
o การส่งมอบมูลค่าทีเ่ พิม
่ ขึน
้ ด ้วยการเกีย
่ วข ้องอย่างใกล ้ชิดมากขึน้ กับกระบวนการทีอ
่ งค์กรดาเนินการ

องค์กรสามารถพิจารณาโอกาสสาหรับการบูรณาการกิจกรรมบริหารสิง่ แวดล ้อมเข ้าสูก ่ ระบวนการทางธุรกิจของ


ตนเองด ้วยการควบรวมของ
o ผลลัพธ์ทต ี่ งั ้ ใจไว ้หรือวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมในวิสย
ั ทัศน์หรือกล
ยุทธ์ขององค์กร (โดยชัดแจ ้งหรือโดยปริยาย) ตัวอย่างเช่น ทีเ่ กีย ่ วกับนวัตกรรมและความสามารถใน
การแข่งขัน
o คามั่นสัญญาด ้านโยบายสิง่ แวดล ้อมในการกากับดูแลองค์กร
o ความรับผิดชอบในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมตามหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบงาน
้ ง่ สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อมด ้านสิง่ แวดล ้อมในการจัดการธุรกิจตามปกติ มัดรวมกับการ
o ตัวชีบ
ประเมินผลแผนกหรือพนักงาน อาทิ เช่น KPIs

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 4 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

o ประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมจากรายงานภายนอก ตัวอย่างเช่น รายงานทางการเงินหรือ


การพัฒนาอย่างยั่งยืน
o กระบวนการในการกาหนดแง่มม ุ ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีส
่ าคัญรวมถึงความเสีย ่ งและโอกาสทีก
่ ระทบต่อ
ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมเข ้าสูก
่ ระบวนการบริหารความเสีย ่ งทางธุรกิจทีเ่ ป็ นมาตรฐาน
o เกณฑ์สงิ่ แวดล ้อมต่อการวางแผนกระบวนการทางธุรกิจ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ รวมถึง
กระบวนการจัดซือ ้ จัดจ ้าง
o ่ สารด ้านสิง่ แวดล ้อมเข ้าสูก
การสือ ่ ารสือ
่ สารทางธุรกิจ ช่องทางและกระบวนการเข ้าร่วม อาทิเช่น
ประชาสัมพันธ์

่ สารความสาคัญของการบริหารสิง่ แวดล ้อมทีม


ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรสือ ่ ป
ี ระสิทธิผลและความสอดคล ้องกับ
ข ้อกาหนดของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมผ่านการมีสว่ นร่วมโดยตรงหรือการมอบหมายอานาจตามความเหมาะสม
การสือ่ สารนีส
้ ามารถเป็ นแบบทางการหรือไม่เป็ นทางการ และสามารถใช ้รูปแบบต่าง ๆ รวมถึงภาพและคาพูด

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 5 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

5.2 นโยบายสงิ่ แวดล้อม

5.2 นโยบายสงิ่ แวดล้อม

ผู ้บริหารสูงสุดต ้องจัดทา นาไปปฏิบต ั ใิ ช ้ และธารงรักษานโยบายสิง่ แวดล ้อม ทีซ่ งึ่ อยูใ่ นขอบข่ายทีก ่ าหนดใน
ระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม
a) เหมาะสมกับจุดประสงค์ขององค์กรและบริบทขององค์กร ,รวมถึง ลักษณะ, ขนาดและ ผลกระทบด ้าน
สิง่ แวดล ้อม ของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการ
b) ให ้กรอบสาหรับการกาหนดและทบทวนวัตถุประสงค์สงิ่ แวดล ้อม
c) รวมถึงความมุง่ มั่นในการปกป้ องสิง่ แวดล ้อม, รวมถึงการป้ องกันมลพิษ และ ความมุง่ มั่นเฉพาะอืน ่ ๆที่
เกีย ่ วข ้องในบริบทองค์กร
หมายเหตุ ความมุง่ มั่นเฉพาะอืน ่ ปกป้ องสิง่ แวดล ้อม สามารถรวมถึงการใช ้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน,การ
่ ๆเพือ
บรรเทาและปรับตัวกับการเปลีย ่ นแปลงของสภาพภูมอ ิ ากาศ, และการปกป้ องรักษาความหลากหลายทาง
ชีวภาพ และระบบนิเวศ
d) รวมถึงความมุง่ มั่นใน
e) รวมถึงความมุง่ มั่นในการปรับปรุงระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ให ้ได ้มาซึง่ สมรรถนะ
สิง่ แวดล ้อม

นโยบายสิง่ แวดล ้อมต ้อง


ได ้รับการธารงรักษาเป็ นเอกสารสารสนเทศ
ได ้รับการสือ่ สารในองค์กร
พร ้อมเปิ ดเผยต่อผู ้มีสว่ นได ้เสีย

ว ัตถุประสงค์และล ักษณะของนโยบายด้านสงิ่ แวดล้อม


• นโยบายด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กรจะเป็นพืน ้ ฐานหลักของการออกแบบและจัดทาระบบการจัดการ
สิง่ แวดล ้อม
• ตราบใดทีอ ่ ยูภ
่ ายใต ้กรอบของมาตรฐาน ISO 14001 การต ัดสน ิ ใจและการดาเนินการทีเ่ กีย
่ วข ้องกับ
สิง่ แวดล ้อมต ้องสอดคล ้อง กับถ ้อยแถลงความมุง่ มั่นทีร่ ะบุไว ้ในนโยบายด ้านสิง่ แวดล ้อม
• ผูต ้ รวจประเมินจะทาการสรุปผลการตรวจประเมินระบบการจัดการด ้านสิง่ แวดล ้อมโดยเปรียบเทียบ
กับสิง่ ทีอ
่ งค์กรได้มก ี ารระบุไว้ในนโยบายสงิ่ แวดล้อมด้วย ดังนัน ้ จาเป็ นต ้องทาการกาหนดนโยบาย
สิง่ แวดล ้อมขององค์กรให ้เหมาะสม

นโยบายด ้านสิง่ แวดล ้อมควรสะท ้อนวิสัย ทั ศ น์ เจตนารมณ์ ปรั ช ญา ค่า นิย ม และศรั ท ธา ขององค์ก รในส่ว นที่
เกีย ่ งของสิง่ แวดล ้อม ผู ้บริห ารระดับสูงควรใช ้ความคิดและวิสัยทัศน์เพือ
่ วกับเรือ ่ กาหนดนโยบายขึน
้ เป็ นอย่างดี
เพราะนโยบายจะกลายเป็ นบทบัญญัตท ิ อ
ี่ งค์กรจะยึดถือต่อไป

่ ามารถปฏิบัตไิ ด ้จริง และบอกทิศทางสาหรับใช ้ในการตัดสินใจทางธุรกิจและ


นโยบายควรต ้องเป็ นแรงบันดาลใจทีส
ทางเทคนิค ขณะเดียวกันก็ควรจูงใจและกระตุ ้นให ้พนักงานทุกคนสร ้างความเป็ นเลิศทางด ้านสมรรถนะสิง่ แวดล ้อม

นโยบายสงิ่ แวดล้อมของ ISO 14001


ข ้อกาหนดของมาตรฐาน ISO 14001 มีดงั นี้
1. ผู ้บริหารสูงสุดเป็ นผู ้รับผิดชอบในการกาหนดนโยบายด ้านสิง่ แวดล ้อม โดยจะต ้องทบทวนและอนุมัต ิ
นโยบายด ้วยความรอบคอบ อีกทัง้ ต ้องรับนโยบายเป็ นพันธะผูกพัน แม ้ว่าโดยปกติแล ้วนโยบายจะร่าง
ขึน
้ โดยผู ้จัดการฝ่ ายแล ้วส่งให ้ผู ้จัดการอาวุโสตามสายงานให ้ความเห็นและแก ้ไข แต่ไม่ว่าอย่างไรก็
ตาม ผู ้บริหารสูงสุดเป็ นผู ้รับผิดชอบนโยบายทีก ่ าหนดขึน

2. นโยบายต ้องครอบคลุมการดาเนินงานทุกด ้านขององค์กร การจัดการวัตถุดบ ิ การขนส่ง การบรรจุหบ ี ห่อ
การส่งผลิตภัณฑ์ ทีอ ่ าจมีผลต่อสงิ่ แวดล้อม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 6 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

3. นโยบายต ้องมีพัน ธกิจ ตามข ้อก าหนดของ ISO 14001 ทั ง้ นี้เ พื่อ เป็ นพั นธะผูก พันส าหรั บทุกคนใน
องค์กร กล่าวคือ การปกป้ องสิง่ แวดล ้อม, รวมถึงการป้ องกันมลพิษ และ ความมุ่งมั่นเฉพาะอืน ่ ๆที่
เกีย ่ วข ้องในบริบทองค์กร การบรรลุผลต่อข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต ั ต
ิ าม
1) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง( การปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม และผลการดาเนินงานด ้าน
สิง่ แวดล ้อมอย่างต่อเนือ ่ ง)
2) การป้ องกันมลพิษ (หาทางจั ด การภาวะมลพิษให ้หมดไป หรืออย่างน ้อยก็พยายามให ้เกิด
ภาวะมลพิษน ้อยทีส ่ ดุ )
3) พันธกิจทีจ ่ ะปฏิบัตต ิ ามกฎหมายข ้อบังคับต่างๆด ้านสิง่ แวดล ้อม ทัง้ ในระดับท ้องถิน ่ ภาค และ
ระดับชาติ และจะต ้องปฏิบัตต ่ รักษาสิง่ แวดล ้อมแม ้จะไม่ได ้เป็ นกฎหมาย รวมทัง้
ิ ามข ้อตกลงเพือ
การทาตามนโยบายสิง่ แวดล ้อมขององค์กรเอง
4. นโยบายต ้องกาหนดทิศทางและกรอบการเดินไปสูว่ ต ั ถุประสงค์และเป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อม
5. ต ้องมีก ารจั ด ท าเอกสารนโยบาย และน าไปปฏิบัต ใิ นการท างานประจ าวัน ภายใต ้ระบบการจั ด การ
สิง่ แวดล ้อม
6. นโยบายจะต ้องทันต่อเหตุการณ์และเหมาะสมกับการปฏิบต ั งิ านและสภาพแวดล ้อมทีเ่ ป็ นจริง
7. ฝ่ ายบริหารสูงสุดจะต ้องสือ ่ สารให ้พนักงานทุกคน และผู ้รับเหมาช่วง
8. นโยบายต ้องพร ้อมทีจ ่ ะนามาเปิ ดเผยต่อสาธารณะได ้

นอกจากข ้อกาหนดดังกล่าว ยังคงมีหลักการต่างๆทีอ่ าจนามารวมไว ้ในนโยบายด ้วย เช่น


• หลักการของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทรัพยากรหมุนเวียน และความหลากหลายทางชีวภาพ
• การรั บเป็ นพั นธะกิจว่าจะน าเทคโนโลยีท ี่ลดผลกระทบสิง่ แวดล ้อมได ้ดีท ี่สุดมาใช ้โดยมีค วาม
เป็ นไปได ้ทางธุรกิจ
• การใช ้ตัวชีว้ ด
ั แบบเชิงปริมาณเพือ่ ติดตามความก ้าวหน ้าการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อม
• การคิด แบบครบวงจรว่า มีผ ลกระทบสะสมอย่า งไร เริม ่ ต ้นจากขัน
้ ตอน การออกแบบผลิตภัณฑ์
การหาวัตถุดบ ิ การผลิต การบรรจุผลิตภัณฑ์ การขนส่ง จนถึงการใช ้ผลิตภัณฑ์และการใช ้ซ้า การ
เวียนใช ้ หรือการกาจัดขยะ

การนามาตรฐานนีม ้ าใช ้ให ้ได ้ผลจะต ้องมีการกาหนดหน ้าทีร่ ับผิดชอบในการพัฒนา การพิจารณาให ้ความเห็นชอบ
การสือ ่ สาร การเผยแพร่ การนาไปปฏิบต ั ิ การรักษานโยบาย และการทบทวนนโยบายเมือ ่ จาเป็ น นโยบายสิง่ แวดล ้อม
เป็ นส่วนทีม ่ าก่อนส่วนอืน ่ ใน ISO 14001 แต่เพือ ่ ความรอบคอบ องค์กรอาจรอไว ้ก่อนจนกว่าจะกาหนดผลกระทบ
สิง่ แวดล ้อมจากการดาเนินงานและการวางแผนตลอดจนการเตรียมการเบือ ้ งต ้นสาหรับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
แล ้วจึงค่อยเลือกถ ้อยคาทีจ ่ ะใช ้ในการเขียนตัวนโยบายให ้เหมาะสมตรงกับวัตถุประสงค์ขององค์กร

นโยบายสิง่ แวดล ้อมจะกาหนดทิศทางเชิงกลยุทธ์ขององค์กรในด ้านสิง่ แวดล ้อมภายในขอบเขตของระบบบริหาร


สิง่ แวดล ้อมทีก่ าหนดไว ้ นโยบายสิง่ แวดล ้อมควรมีกรอบการทางานในการกาหนดวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมและ
ตัง้ ระดับความรับผิดชอบและประสิทธิภาพการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมทีจ ่ าเป็ นขององค์กรต่อการตัดสินการ
ปฏิบต ิ ารถัดไปโดยนโยบายสิง่ แวดล ้อมจะกาหนดหลักการปฏิบต
ั ก ั ก
ิ ารสาหรับองค์กร

นโยบายสิง่ แวดล ้อมควรเฉพาะเจาะจงต่อองค์กรและเหมาะสมกับวัตถุประสงค์และบริบทขององค์กรทีด ่ าเนินการ


โดยมีหลักธรรมชาติและขนาดของผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กรทีเ่ ป็ นผลมาจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และ
บริการต่าง ๆ นโยบายสิง่ แวดล ้อมจึงควรมีคามั่นสัญญาขององค์กรในการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
และคามั่นสัญญาเกีย ่ วกับการปกป้ องสิง่ แวดล ้อม การป้ องกันมลภาวะและการปรับปรุงอย่างต่อเนือ
่ ง กรอบ 7 และ
8 จะมีข ้อมูลเพิม ่ วกับคามั่นสัญญาในนโยบายสิง่ แวดล ้อม
่ เติมเกีย

่ มีการพัฒนานโยบายสิง่ แวดล ้อม องค์กรควรพิจารณา


เมือ

• วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมหลักและประโยชน์


• ความต ้องการและความคาดหวังของและการสือ ่ สารกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย;
• ปั ญหาภายในและภายนอกทีเ่ กีย ่ วกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมโดยมีเงือ ่ นไขเฉพาะสาหรับท ้องถิน
่ และ
ภูมภ ิ าค
• การประสานงานกับนโยบายองค์กรอืน ่ ๆ (อาทิเช่น คุณภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย)
• ผลกระทบจริงและทีเ่ ป็ นไปได ้ต่อกิจกรรมขององค์กรจากเงือ ่ นไขสิง่ แวดล ้อมภายนอกซึง่ รวมเหตุการณ์
ต่าง ๆ ด ้วย

ความรับผิดชอบในการกาหนดนโยบายสิง่ แวดล ้อมจะอยูท ี่ ่ ายบริหารสูงสุดขององค์กร นโยบายสิง่ แวดล ้อมควรมี


่ ฝ
การเก็บเป็ นเอกสารข ้อมูลและสอดคล ้องกับเอกสารนโยบายอืน ่ มโยงกันได ้ อาทิ
่ ๆ ขององค์กรโดยจะรวมหรือเชือ
เช่น เอกสารทีเ่ กีย
่ วกับคุณภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยรวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 7 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

ฝ่ ายบริหารสูงสุดมีหน ้าทีร่ ับผิดชอบในการดาเนินการนโยบายสิง่ แวดล ้อมและในการมอบปั จจัยนาเข ้าสาหรับการ


สร ้างและปรับเปลีย ่ นแก ้ไขนโยบายสิง่ แวดล ้อม ทัง้ นี้ ควรมีการสือ ่ สารนโยบายสิง่ แวดล ้อมให ้กับบุคลากรทัง้ หมดที่
ทางานภายใต ้การควบคุมขององค์กรและควรสือ ่ สารถึงผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียด ้วย องค์กรสามารถกาหนดให ้นโยบาย
สิง่ แวดล ้อมมีพร ้อมใช ้ในลักษณะทีไ่ ม่จากัด อาทิเช่น การลงบนเว็บไซต์ หรือทาให ้สามารถมีพร ้อมใช ้อย่าง
เหมาะสมหลังจากทีม ่ ก
ี ารให ้ข ้อมูลเกีย
่ วกับลักษณะ ความต ้องการและความคาดหวังของผู ้ทีม ี ว่ นได ้ส่วนเสีย หรือ
่ ส
ตามการร ้องขอ

การปกป้องสงิ่ แวดล้อมและการป้องก ันมลพิษ

องค์กรต่าง ๆ เริม่ ตระหนักถึงสิง่ แวดล ้อมทีด


่ าเนินการอยูม ้ ตัวอย่างเช่น โดยมีทรัพยากรต่าง ๆ พร ้อมใช ้
่ ากขึน
คุณภาพของอากาศและน้ ารวมถึงอิทธิพลและผลกระทบทีเ่ กีย ่ นแปลงของสภาพอากาศซึง่
่ วข ้องกับการเปลีย
เกีย
่ วข ้องกับองค์กรต่าง ๆ
ดังนัน้ ด ้วยการให ้คามั่นสัญญาในการปกป้ องสิง่ แวดล ้อมรวมถึงป้ องกันมลภาวะ องค์กรจึงสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจ
และสังคมขององค์กรอย่างยั่งยืน

การปกป้องสงิ่ แวดล้อม

คามั่นสัญญาขององค์กรในการปกป้ องสิง่ แวดล ้อมมีความเกีย ่ วโยงกับกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ รวมถึง


สถานทีต ุ ทาน การใช ้หรือการ
่ งั ้ ขององค์กรโดยสามารถทาให ้บรรลุได ้ภายในองค์กรหรือผ่านการบริหารห่วงโซ่อป
กาจัดผลิตภัณฑ์ทงิ้

องค์กรควรให ้คามั่นสัญญาอย่างเหมาะสมในการปกป้ องสิง่ แวดล ้อมอันสืบเนือ


่ งมาจากผลกระทบทางธรรมชาติ
ขนาดและสิง่ แวดล ้อมของกิจกรรมต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น หากกิจกรรมต่าง ๆ เกีย่ วพันกับการตัดไม ้ทาลายป่ า ควร
พิจารณาในด ้านคามั่นสัญญาทีจ่ ะปกป้ องความหลากหลายทางชีวภาพ หรือการให ้บริการเชิงระบบนิเวศ

ั ใิ นการปกป้ องสิง่ แวดล ้อมสามารถรวมถึง


มาตรการเชิงปฏิบต
• ประสิทธิผลทีป ่ รับปรุงแล ้วในการใช ้ทรัพยากรทางธรรมชาติ อาทิเช่น น้ าและเชือ ้ เพลิงฟอสซิล
ตัวอย่างเช่น ด ้วยการลดใช ้หรือใช ้ใหม่อก ี ครัง้ หรือรีไซเคิลทรัพยากรธรรมชาติเกีย ่ วกับการผลิต
• การปกป้ องความหลากหลายทางชีวภาพ ถิน ่ ทีอ ่ ยูข
่ องพืชหรือสัตว์รวมถึงระบบนิเวศผ่านการรักษา
สถานทีโ่ ดยตรง หรือโดยอ ้อมด ้วยการตัดสินใจในการจัดซือ ้ จัดจ ้าง อาทิเช่น การซือ ้ วัสดุจากแหล่ง
ทรัพยากรทีย ่ ั่งยืนซึง่ ตรวจพิสจ
ู น์แล ้ว
• การบรรเทาการเปลีย ่ นแปลงของสภาพอากาศด ้วยการหลีกเลีย ่ งหรือลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
หรือการปรับเปลีย ่ นนโยบายชดเชยคาร์บอนเพือ ่ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สท ู่ าร
ุ ธิสก
เปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศ
• การปรับปรุงคุณภาพอากาศและน้ าด ้วยการหลีกเลีย ่ ง การทดแทนหรือการลด

การป้องก ันมลภาวะ

การป้ องกันมลภาวะสามารถนาไปรวมเข ้าสูว่ ฏ ั จักรชีวต


ิ ของผลิตภัณฑ์หรือบริการโดยมีการออกแบบและพัฒนา การ
ผลิต การกระจาย การใช ้และตลอดอายุการใช ้งาน กลยุทธ์ดงั กล่าวสามารถช่วยให ้องค์กรไม่เพียงแต่รักษา
ทรัพยากรและลดของเสียรวมถึงการปล่อยก๊าซแต่ยังช่วยในการลดต ้นทุนและสร ้างผลิตภัณฑ์และบริการทีส ่ ามารถ
แข่งขันได ้มากขึน ุ ด ้านสิง่ แวดล ้อมเชิงบูรณาการเข ้าสูก
้ คาแนะนาแง่มม ่ ารออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์มอ
ี ยูใ่ น
ISO/TR 14062 และ ISO 14006.

การลดทีแ
่ หล่งกาเนิดมักเป็ นการปฏิบต
ั อิ ย่างมีประสิทธิภาพทีส
่ ด
ุ เนือ
่ งจากสามารถหลีกเลีย
่ งการก่อให ้เกิดของเสีย
และการปล่อยก๊าซรวมถึงช่วยประหยัดทรัพยากรไปพร ้อมกัน อย่างไรก็ตาม การป้ องกันมลพิษด ้วยการลดทรัพยากร
ไม่สามารถปฏิบตั ไิ ด ้ในบางสถานการณ์

องค์กรสามารถพิจารณาการใช ้วิธต ้ สาหรับการป้ องกันมลพิษทีโ่ น ้มเอียงไปทีก


ี ามลาดับชัน ่ ารป้ องกันมลพิษทีแ ่ หล่ง
ดังต่อไปนี้
a) การลดหรือกาจ ัดแหล่ง (โดยมีการออกแบบและพัฒนาทีม ่ จ ิ สานึกด ้านสิง่ แวดล ้อม การ
ี ต
ทดแทนวัสดุ การเปลีย ่ นแปลงกระบวนการ ผลิตภัณฑ์หรือเทคโนโลยี รวมถึงการรักษาพลังงาน
และทรัพยากรวัสดุ)
b) การใชอ ้ ก
ี ครงหรื
ั้ อการรีไซเคิลวัสดุภายในกระบวนการหรือสิง่ อานวยความสะดวก
c) การฟื้ นฟูและการร ักษา (การฟื้ นฟูจากการไหลของของเสียทัง้ ในและนอกสถานทีเ่ พือ ่ ลด
ผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม)

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 8 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

d) กลไกการควบคุม อาทิเช่น การเผาหรือการกาจัดทิง้ ทีม ่ ก


ี ารควบคุมโดยได ้รับอนุญาต อย่างไรก็
ตามองค์กรควรใช ้วิธเี หล่านีห
้ ลังจากทีม
่ ก
ี ารพิจารณาทางเลือกอืน
่ แล ้วเท่านัน

นโยบายสงิ่ แวดล้อมและการพ ัฒนาอย่างยงยื


่ั น

จานวนองค์กรระหว่างประเทศ ภาครัฐและสมาคมอาชีพรวมถึงกลุม ่ ประชากรทีเ่ ติบโตขึน ้ าที่


้ ได ้พัฒนาหลักการชีน
่ ส่งเสริมการพัฒนาด ้านสิง่ แวดล ้อมอย่างยั่งยืนโดยจะช่วยองค์กรให ้สามารถกาหนดขอบเขตคามั่นสัญญา
มุง่ มั่นเพือ
โดยรวมด ้านสิง่ แวดล ้อมในฐานะหนึง่ ในสามเสาหลักของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนและให ้ค่านิยมโดยทั่วไป หลักการ
ชีน ้ าสามารถช่วยองค์กรในการพัฒนานโยบายสิง่ แวดล ้อมทีค ่ วรเป็ นเอกลักษณ์สาหรับองค์กรในการพัฒนา

นโยบายสิง่ แวดล ้อมสามารถรวมคามั่นสัญญาอืน่ ๆ อาทิเช่น


a) การพัฒนาอย่างยั่งยืนและหลักการชีน ้ าทีเ่ กีย
่ วข ้อง (อาทิเช่น UN Agenda 21/Global Compact,
Equator Principles)
b) การลดผลกระทบทางสิง่ แวดล ้อมย ้อนกลับทีม ี ัยสาคัญในการพัฒนาใหม่ ๆ ด ้วยการใช ้กระบวนการ
่ น
และการวางแผนด ้านการบริหารสิง่ แวดล ้อมเชิงบูรณาการ
c) การออกแบบผลิตภัณฑ์โดยคานึงถึงแง่มม ุ และหลักการในการพัฒนาอย่างยั่งยืน

สรุปประเด็นสาค ัญ

• นโยบายสิง่ แวดล ้อมเป็ นมาตรการในการผล ักด ันในการปฏิบต ั แิ ละการปรับปรุงระบบการจัดการ


สิง่ แวดล ้อมในองค์กรเพือ ่ การรักษาไว ้และการพัฒนาการดาเนินงานในระบบให ้ดีขน ึ้
• นโยบายจะต ้องแสดงถึงความมุ่งมั่นของผู ้บริหารสูงสุดในการปฏิบัตก ิ ฎหมายและข ้อกาหนดต่างๆ ที่
เกีย ่ วข ้อง การป้ องกันมลพิษและการปรับปรุงให ้ดีขน ึ้ อย่างต่ อเนื่อง นโยบายสิง่ แวดล ้อมต ้องแสดงถึง
ค่านิยมและพันธะกิจของบริษัทในส่วนทีเ่ กีย ่ วกับการดาเนินงานทางสิง่ แวดล ้อม
• นโยบายควรชัดเจน กระชับ สามารถปฏิบัตไิ ด ้ และมีแรงบันดาลใจ สะท ้อนถึงหลักการ ค่านิยม และ
เจตนารมณ์ขององค์กรต่อสิง่ แวดล ้อม
• นโยบายจะต ้องได ้รับความเห็นชอบและสนั บสนุนโดยฝ่ ายบริหารสูงสุด ซึง่ จะเป็ นผู ้นาด ้านสิง่ แวดล ้อม
โดยการกระทาเป็ นตัวอย่าง
• นโยบายสิง่ แวดล ้อมควรเสริมกับนโยบายอืน ่ ขององค์กร เช่น นโยบายด ้านคุณภาพ สุข ภาพและความ
ปลอดภัย และความสาคัญทางธุรกิจ
• นโยบายจะต ้องแสดงถึง แนวทางในการก าหนดวัต ถุป ระสงค์แ ละเป้ าหมาย นโยบายจะต ้องมีค วาม
ชัดเจนและเข ้าใจต่อผู ้ทีเ่ กีย ่ วข ้องทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร
• นโยบายจะต ้องได ้รับการทบทวนและแก ้ไขตามรอบระยะเวลาทีเ่ หมาะสมตามสถานการณ์และข ้อมูลที่
ได ้รับมา สาหรับพืน ้ ทีท
่ ม
ี่ กี ารประยุกต์ระบบฯ หรือขอบเขตจะต ้องระบุให ้ชัดเจนและแสดงถึงธรรมชาติ
ของกิจ การอย่างเด่นชัด รวมไปถึง ขนาดและผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมของกิจ กรรม ผลิต ภัณฑ์แ ละ
บริการภายใต ้ขอบเขตทีร่ ะบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมได ้กาหนดไว ้
• นโยบายสิง่ แวดล ้อมจะต ้องสือ ่ สารไปสูบ ่ ุคลากรทีท ่ างานหรือผู ้ทางานแทนในองค์กร นโยบายจะต ้อง
สือ่ สารไปสู่ผู ้รั บจ ้างช่วงทีม ่ าท างานในขอบเขตขององค์กรที่ได ้ระบุไว ้ การสือ ่ สารไปสู่ผู ้รั บจ ้างช่ว ง
สามารถเลือกรูปแบบได ้หลากหลาย เช่น กฎระเบียบ ข ้อกาหนดในการทางาน ระเบียบปฏิบัตแ ิ ละ/หรือ
วิธก ี ารทางาน สาหรับหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องโดยตรงตามนโยบาย ผู ้บริหารสูงสุดจะต ้องระบุและจัดทา
เป็ นรูปแบบของเอกสารในเรื่องของนโยบายสิง่ แวดล ้อมขององค์กรทีเ่ กีย ่ วข ้องทีเ่ ป็ นส่วนหนึง่ หรือของ
องค์กรภายใต ้กากับ
• ควรมีก ารติด ประกาศแสดงนโยบายให ้พนั ก งานได ้เห็ น โดยทั่ ว กัน และเปิ ดเผยต่อ สาธารณะเมือ ่ มีผู ้
ต ้องการทราบและจะเป็ นการดี หากจะเป็ นฝ่ ายแสดงนโยบายต่อสาธารณะเสียเอง
• พนั ก งานทุก คนจะต ้องมีจ ต ิ ส านึก และความเข ้าใจอย่างชัด เจนในสาระและเจตนารมณ์ข องนโยบาย
สิง่ แวดล ้อม
หมายเหตุ: ผู ้บริหารสูงสุดอาจเป็ นบุคคลหรือกลุม ่ บุคคลในระดับบริหารซึง่ มีรับผิดชอบในการดาเนินกิจการ
ขององค์กรในส่วนนัน ้ ๆ

ประเด็นในการปฏิบ ัติและการตรวจประเมิน

1. ตรวจสอบว่านโยบายได ้ถูกใช ้ในการขับเคลือ ่ นระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมในภาพรวมหรือไม่ และได ้


ดีเพียงใด
2. ตรวจสอบความมุง่ มั่นของผู ้บริหารระดับสูงโดยทาการสัมภาษณ์ผู ้บริหารสูงสุดเกีย ่ วกับทีม
่ าของ
นโยบายสิง่ แวดล ้อมว่าพิจารณาจากอะไรบ ้าง เช่น มุง่ เน ้นแก ้ไขปั ญหาสิง่ แวดล ้อมเรือ
่ งอะไร เพือ


ตรวจสอบว่าผู ้บริหารสูงสุดเป็ นผู ้กาหนดนโยบายสิงแวดล ้อมหรือไม่

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 9 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

3. ทาการตรวจสอบเนือ ้ หาสาระของนโยบาย ว่าสะท ้อนถึงลักษณะปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กิดจากกิจกรรม


ผลิตภัณฑ์ และบริการในขอบเขตของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม หรือไม่
4. ทาการตรวจสอบเนือ ้ หาสาระนโยบาย การกาหนดกรอบกิจกรรม สิง่ ทีจ ่ ะทา สิง่ ทีอ ่ งค์กรจะไม่ทาว่ามี
ความเหมาะสมกับธุรกิจ ขนาดขององค์กร และผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กิดจากกิจกรรม
ผลิตภัณฑ์ และบริการหรือไม่
5. ทาการตรวจสอบว่ามีข ้อความแสดงความมุง่ มั่นทีจ ่ ะปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง และป้ องกันมลพิษหรือไม่
6. ทาการตรวจสอบว่ามีข ้อความแสดงความมุง่ มั่นทีจ ่ ะปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎหมาย และข ้อกาหนดอืน ่ ๆ หรือไม่
7. ทาการตรวจสอบว่า นโยบายได ้ถูกนาไปจัดตัง้ จัดทาวัตถุประสงค์เป้ าหมาย ตัวเนือ ้ หาสาระนโยบาย
ต ้องมีกรอบ (Framework) เพือ ่ เป็ นแนวทางในการกาหนด และทบทวนวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย
หรือไม่
8. มีการจัดทานโยบายสิง่ แวดล ้อมเป็ นเอกสาร และมีการปฏิบต ั ต
ิ ามนโยบายอย่างต่อเนือ ่ ง หรือไม่
ตรวจสอบการนานโยบายไปสูภ ่ าคปฏิบต ั ท
ิ ห
ี่ น่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร
9. ตรวจสอบความตระหนักของพนักงานและผู ้รับเหมาช่วง ในเรือ ่ งนโยบายสิงแวดล ้อม
10. ตรวจสอบว่า นโยบายได ้มีสอ ื่ สารไปยังพนักงานทุกคน และบุคคลอืน ่ ๆ ทีป่ ฏิบตั งิ านให ้กับองค์กร
หรือในนามองค์กร หรือไม่ (ตัวอย่างเช่น ผู ้ส่งมอบ ผู ้รับเหมา ผู ้รับเหมาช่วง ลูกจ ้างชัว่ คราวและ
นักศึกษาฝึ กงาน เป็ นต ้น)
11. ตรวจสอบการรับรู ้ของสาธารณะทีม ่ ต
ี อ่ นโยบายสิง่ แวดล ้อมและนโยบายมีพร ้อมไว ้เพือ ่ เผยแพร่สู่
สาธารณะหรือไม่ เช่น ป้ ายประกาศ แผ่นพับ หรือวารสารของบริษัท และเว็บไซต์ เป็ นต ้น
12. ตรวจสอบว่านโยบายได ้รับการทบทวนหรือไม่ ใช ้หลักเกณฑ์อะไรในการทบทวน ใช ้เหตุผลอะไรใน
การปรับหรือไม่ปรับนโยบาย
END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 10 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

5.3 บทบาทหน้าที,่ ความร ับผิดชอบและอานาจหน้าทีใ่ น


องค์กร
5.3 บทบาทหน้าที,่ ความร ับผิดชอบและอานาจหน้าทีใ่ นองค์กร
ผู ้บริหารสูงสุดต ้องมั่นใจว่า ความรับผิดชอบและอานาจหน ้าทีส
่ าหรับบทบาทหน ้าทีต
่ า่ งๆ ได ้มีการมอบหมาย
และสือ ่ สารเป็ นทีเ่ ข ้าใจในองค์กร
ผู ้บริหารสูงสุดต ้องมอบหมายความรับผิดชอบและอานาจหน ้าทีเ่ พือ ่ :
a) มั่นใจว่าระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมเป็ นไปตามข ้อกาหนดของมาตรฐานสากลนี้
b) รายงานสมรรถนะของระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม,รวมถึงสมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อม ต่อผู ้บริหารสูงสูด

โครงสร้างองค์กรและหน้าทีค
่ วามร ับผิดชอบ

โครงสร ้างขององค์กรเป็ นการอธิบายโดยสังเขปถึงลาดับชัน ้ ของการปกครองและความสัมพันธ์ของการรายงานผล


ระหว่า งหน า้ ที่แ ละระดับ ต่า งๆในองค์ก ร หน า้ ที่ใ นแต่ล ะระดับ ความรั บ ผิด ชอบของแต่ล ะแผนกอาจสรุป ให ้เห็ น
รายละเอียดมากขึน ้ ในแผนภูมอ ิ งค์กร

ความสาเร็จในการประยุกต์ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมนัน ้ ขึน


้ อยูก
่ บ
ั ความมุง่ มั่นของพนักงานทุกคนในองค์กร
บทบาทและความรับผิดชอบทางด ้านสิง่ แวดล ้อมของพนักงานอาจมีการระบุไว ้น ้อยมาก แต่อาจระบุแทรกอยูใ่ น
หน ้าทีห
่ รือกิจกรรมอืน
่ ๆ ในองค์กรก็ได ้ เช่น ฝ่ ายปฏิบต
ั ก
ิ าร หน ้าทีข ่ องพนักงานมากกว่าในงานสิง่ แวดล ้อมโดยตรง
ความมุง่ มั่นของการจัดการสิง่ แวดล ้อมจะต ้องเริม
่ จากผู ้บริหารระดับสูงสุด ซึง่ ผู ้บริหารจะต ้องจัดทานโยบาย
สิง่ แวดล ้อมขององค์กรและต ้องแน่ใจว่าระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมได ้ถูกนาไปใช ้อย่างถูกต ้อง
้ ารแต่งตัง้ ผู ้แทนฝ่ ายบริหารด ้านการจัดการสิง่ แวดล ้อมจะต ้องถูกจัดทาขึน
ส่วนหนึง่ ของความมุง่ มั่นนีก ้ ซึง่ มีการระบุ
่ วามรับผิดชอบ อานาจการสัง่ การในการประยุกต์ใช ้ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ในองค์กรขนาดใหญ่และที่
หน ้าทีค
มีความซับซ ้อนอาจมีการแต่งตัง้ ผู ้แทนฝ่ ายบริหารด ้านการจัดการสิง่ แวดล ้อมมากกว่า 1 คนก็ได ้ สาหรับองค์กร
ขนาดกลางและเล็กก็อาจมีผู ้รับผิดชอบคนเดียวก็ได ้
ผู ้บริหารสูงสุดจะต ้องแน่ใจว่าทรัพยากรทีจ ่ าเป็ นในการขับเคลือ ่ นและรักษาระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมนัน
้ จะต ้อง
เพียงพอและเหมาะสม ดังนัน ้ สิง่ สาคัญในการจัดการสิง่ แวดล ้อมนัน ้ คือบทบาทและความรับผิดชอบได ้ถูกระบุไว ้
อย่างชัดเจนและสือ ่ สารให ้กับพนักงานทุกระดับหรือผู ้ทีเ่ ป็ นตัวแทนขององค์กรได ้รับทราบ

นิยาม
หน้าทีค ่ วามร ับผิดชอบ คือ แผนกหรือพืน ่ วามรับผิดชอบ ตัวอย่าง : การเงิน สิง่ แวดล ้อม การตลาด การซ่อม
้ ทีค
บารุง
บทบาท คือ ต าแหน่ ง ที่บุค คลครองอยู่แ ละมีค วามสัม พั น ธ์กับ ต าแหน่ ง อื่น ๆในองค์ก ร ตั ว อย่า งเช่น : ประธาน
หัวหน ้าแผนก ตัวแทนด ้านการจัดการสิง่ แวดล ้อม ผู ้จัดการฝ่ ายจัดซือ ้ หัวหน ้าควบคุมคนงานซ่อมบารุง
หน้าทีค ่ วามร ับผิดชอบ คือ หน ้าทีท
่ ไี่ ด ้รับมอบหมายและหน ้าทีโ่ ดยตาแหน่ง ตัวอย่างเช่น : การตรวจประเมินด ้าน
สิง่ แวดล ้อมตามกาหนดการ การรายงานผลการตรวจสอบการดาเนินงานตามข ้อกาหนดกฎหมายให ้กับรัฐบาล ให ้คา
ชีแ ้ นะกับทีมงานแก ้ปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน การดูแลรักษาอุปกรณ์เครือ ่ งมืออย่างสม่าเสมอ
อานาจ คือ อานาจและอิทธิพลของบุคคลทีเ่ กิดจากตาแหน่งหน ้าทีร่ วมทัง้ เกิดจากบุคลิกลักษณะนิสัยส่วนบุคคล
ตัวอย่างเช่น : อานาจในการขอรายงานการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อม อานาจในการสั่งการให ้บุคคลเก็บตัวอย่าง
หรือทาการวิเคราะห์ และการลงโทษทางวินัยลูกจ ้างทีม ่ พ
ี ฤติกรรมไม่เหมาะสม

คาอธิบาย ISO 14001

ISO 14001 ระบุวา่ องค์กรต ้อง “บทบาท ความรับผิดชอบ และอานาจหน ้าทีต ่ ้องถูกกาหนด จัดทาเป็ นเอกสาร และ
่ สารเพือ
สือ ่ ให ้เกิดประสิทธิผลในการจัดการสิง่ แวดล ้อม” บทบาทความร ับผิดชอบและอานาจหน้าทีใ่ นระบบการ
จัดการสิง่ แวดล ้อม ความหมายของคากล่าวนีค ้ อ
ื อะไร

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 11 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

ก าหนดบทบาท คือ องค์กรได ้ระบุต าแหน่ งและอธิบายหน ้าทีค ่ วามรั บผิดชอบทีจ


่ าเป็ นต่อการกาหนดแผนการ
นาไปปฏิบต ิ ละคงไว ้ซึง่ ทุกๆส่วนของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมอย่างมีประสิทธิผล
ั แ

การจ ัดทาเป็นเอกสาร คือ การกาหนดรายละเอียดของบทบาท อานาจหน ้าทีเ่ ป็ นลายลักษณ์อักษร จัดทาเป็ นแผนภูม ิ


องค์กร ขัน
้ ตอนการปฏิบต
ั ก
ิ าร บันทึกเตือนความจา ข ้อสังเกต

การส อ ื่ สาร คือ การทาให ้ทุก คนทีเ่ กีย ่ วข ้องและคนทีจ ่ องระบบการจั ด การ สิง่ แวดล ้อมซึง่
่ าเป็ นต ้องรู ้หน ้าทีข
ได ้แก่ทก ุ คนในองค์กรนัน
้ ได ้รับทราบถึงบทบาท และอานาจหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบ

ISO 14001 จึงมีความสาคัญเนื่องจากระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมเกีย ่ วข ้องกับคนและบทบาทหน ้าทีค่ วามรับผิด ชอบ


ของแต่ละคนซึง่ ทางานเป็ นส่วนหนึง่ ของทีมทีจ
่ ะทาให ้ระบบ การจัดการสิง่ แวดล ้อมทางานได ้ผล ทุกๆคนจะทางาน
ได ้ดีทส
ี่ ด
ุ เมือ
่ พวกเขามี:
• เป้ าหมายและหน ้าทีค
่ วามรับผิดชอบทีร่ ะบุไว ้อย่างชัดเจน
• ช่องทางการรายงานและการสือ ่ สารทีช ั เจนทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอนของแผนผังองค์กร
่ ด
• การจัดสรรทรัพยากรต่างๆทีเ่ หมาะสมและการสนับสนุนด ้านเวลา เครือ ่ งมือ งบประมาณและผู ้ร่วมงาน

ความร ับผิดชอบของการจ ัดการ

ผู ้บริหารระดับสูงมีความรับผิดชอบต่อ :
• กาหนดนโยบายสิง่ แวดล ้อมขององค์กร
• เป็ นผู ้นาโดยการปฏิบัตเิ ป็ นตัวอย่างในข ้อตกลงเรือ ่ งการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การ
ป้ องกันมลพิษและการปฏิบต ั ต
ิ ามข ้อกาหนดกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง โครงสร ้างองค์กรควร
• จัดสรรทรัพยากรอย่างพอเพียงเพือ ่ การนาระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมไปปฏิบัตแ ิ ละ ยืดหยุน
่ เนือ ่ งจากการ
คงไว ้ จัดการสิง่ แวดล ้อมมี
• ให ้รางวัลสาหรับผลการดาเนินงานระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมทีด ่ ี การปรับเปลีย ่ น
• เป็ นผู ้นาในการจัดการทบทวนระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมอย่างสม่าเสมอ ตลอดเวลา
• รวมหลักการจัดการสิง่ แวดล ้อมและวิธป ี ฏิบต
ั ใิ ห ้เข ้ากันกับวัฒนธรรมขององค์กร

ทร ัพยากร

ถ ้อยคาทีด่ แ
ี ละความตัง้ ใจทีด่ น
ี ัน
้ ยังไม่เพียงพอต่อการประสบความสาเร็จในระบบ การจัดการสิง่ แวดล ้อม การ
จัดการต ้องให ้อานาจและทาให ้มั่นใจว่าสามารถจัดหาทรัพยากรได ้อย่างพอเพียงเพือ ่ ทาให ้การปฏิบต ั งิ านของ
บุคคลเป็ นไปตามหน ้าทีแ ่ ละตามขัน ้ ตอนการปฏิบตั งิ านทีจ
่ าเป็ น

ทรัพยากรประกอบไปด ้วย :
• บุคคลทีไ่ ด ้รับการฝึ กอบรมมาอย่างดี มีประสบการณ์ ทักษะและความสามารถในการปฏิบต ั งิ านและปฏิบต
ั ิ
ตามหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบได ้อย่างมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ
• เวลาในการวางแผนงาน การนาไปปฏิบต ั แิ ละการปฏิบต
ั ติ ามระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม รวมถึงเวลาสาหรับ
การปฏิบต ั ต
ิ ามหน ้าทีค
่ วามรับผิดชอบตามปกติด ้วยถ ้าจาเป็ น
• การสนับสนุนด ้านการเงินอย่างพอเพียง (การจัดสรรงบประมาณ) เพือ ่ ให ้โครงการดาเนินไปได ้ การปรับปรุง
ขัน
้ ตอนการทางาน การฝึ กอบรม ฯลฯ เป็ นไปตามแผนทีก ่ าหนดไว ้
• เครือ ่ งมือ ได ้แก่ อุปกรณ์ เครือ่ งมือและสิง่ อานวยความสะดวกต่างๆทีจ ่ ะทาให ้บรรลุวต
ั ถุประสงค์และ
เป้ าหมายและคงไว ้ซึง่ ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

ความร ับผิดชอบของต ัวแทนระบบ

แต่ละองค์กรทีป่ ฏิบต ิ ามข ้อกาหนดของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ISO 14001 ต ้องแต่งตัง้ ตัวแทนฝ่ าย
ั ต
ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมหนึง่ คนหรือมากกว่าซึง่ มีหน ้าที:่
้ นะและแนวทางในการบริหารงานบริษัทตามแผนงาน การนาไปปฏิบัต ิ การคงไว ้และการปรับปรุง
• ให ้คาชีแ
ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• ติดตามตรวจสอบการดาเนินงานและความก ้าวหน ้าของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• ระบุปัญหาของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมและกาหนดวิธก ี ารแก ้ไขและป้ องกันถ ้าจาเป็ น
• รายงานความก ้าวหน ้าและปั ญหาของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมต่อผู ้บริหารระดับสูงอย่างสม่าเสมอ
• ให ้คาแนะนาในการเปลีย ่ นแปลงระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมต่อผู ้บริหารระดับสูง

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 12 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

ความสามารถ ท ักษะ และบุคลิกล ักษณะของต ัวแทนฝ่ายบริหารการจ ัดการสงิ่ แวดล้อม

ตั วแทนฝ่ ายจั ดการสิง่ แวดล ้อมที่ม ีประสิทธิผลควรมีคุณสมบั ต ท ิ ี่ผสมผสานระหว่างความถนั ด ความรู ้ใน


เทคโนโลยีและบุคลิกภาพ บุคคลทีไ่ ด ้รับการคัดเลือกจะต ้อง :
• มีความรู ้เกีย ่ วกับประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมโดยทั่วไปและประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมเฉพาะภายในองค์กร
• มีความมุง่ มั่นในการปรับปรุงสิง่ แวดล ้อม
่ ถือและได ้รับความไว ้วางใจทัง้ จากภายในและภายนอกองค์กร
• เป็ นผู ้ทีไ่ ด ้รับความน่าเชือ
• มีวส ิ ัยทัศน์ ความสามารถในเชิงการทูต ไม่ย่อท ้อต่ออุปสรรค อดทน มีอานาจ มีความสามารถในการจัดองค์กร
และการกระตุ ้นจิตใจทัง้ ของตนเองและผู ้อืน ่

การกาหนด ดาเนินการและรักษาระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมทีป ่ ระสบผลสาเร็จรวมถึงการปรับปรุงประสิทธิผลการ


ทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมจะขึน
้ อยูก
่ บ
ั วิธท
ี ฝ
ี่ ่ ายบริหารสูงสุดกาหนดและมอบหมายความรับผิดชอบและอานาจภายใน
องค์กร

ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรมอบหมายตัวแทน หรือหน ้าที่ พร ้อมอานาจ การตระหนักถึง ความชานาญและทรัพยากรที่


เพียงพอเพือ่

a) ทาให ้มั่นใจในการกาหนด ดาเนินการและรักษาระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมในระดับทีบ ่ งั คับใช ้ทัง้ หมด


ขององค์กร
b) รายงานกลับไปยังฝ่ ายบริหารสูงสุดในด ้านระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม โดยรวมประสิทธิภาพการทางาน
ด ้านสิง่ แวดล ้อมและโอกาสในการพัฒนา

โดยความรับผิดชอบและอานาจเหล่านีส
้ ามารถนาไปรวมกับหน ้าทีแ
่ ละความรับผิดชอบอืน
่ ๆ

ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรทาให ้มั่นใจในความรับผิดชอบและกาหนดอานาจของบุคลากรทีท ่ างานภายใต ้การควบคุมของ


องค์กรซึง่ มีงานส่งผลต่อระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมและมีการสือ ่ สารภายในองค์กรตามความเหมาะสมเพือ ่ ทาให ้มั่นใจ
ในการดาเนินระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมอย่างมีประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมไม่ควรมอง
จากัดอยูท ่ ห ่ ้านสิง่ แวดล ้อมโดยสามารถรวมหน ้าทีอ
ี่ น ้าทีด ่ น
ื่ ๆ ภายในองค์กร อาทิเช่น การออกแบบ การจัดซือ ้ จัด
จ ้าง วิศวกรรมหรือคุณภาพ ทรัพยากรทีฝ ่ ่ ายบริหารสูงสุดมอบให ้ควรสามารถบรรลุความรับผิดชอบทีไ่ ด ้รับ
มอบหมาย ทัง้ นี้ ควรมีการทบทวนความรับผิดชอบและอานาจหน ้าทีเ่ มือ ่ โครงสร ้างองค์กรมีการเปลีย
่ นแปลง

แสดงต ัวอย่างของบทบาทและความร ับผิดชอบในระบบบริหารสงิ่ แวดล้อม

ความร ับผิดชอบในระบบบริหารสงิ่ แวดล้อม ผูร้ ับผิดชอบโดยรวม

กาหนดทิศทางโดยรวม (ผลลัพธ์ทต
ี่ งั ้ ใจไว ้) ประธาน ประธานเจ ้าหน ้าทีบ
่ ริหาร (CEO)
คณะกรรมการ

พัฒนานโยบายสิง่ แวดล ้อม ประธาน ประธานเจ ้าหน ้าทีบ


่ ริหาร (CEO) และอืน
่ ๆ
ตามความเหมาะสม

พัฒนาวัตถุประสงค์และกระบวนการด ้านสิง่ แวดล ้อม ผู ้จัดการทีเ่ กีย


่ วข ้องและอืน
่ ๆ ตามความเหมาะสม

ุ ด ้านสิง่ แวดล ้อมระหว่างกระบวนการ


พิจารณาแง่มม นักออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ สถาปนิกและ
ออกแบบ วิศวกร

สังเกตการณ์ประสิทธิภาพการทงานของระบบ ผู ้จัดการด ้านสิง่ แวดล ้อม


บริหารสิง่ แวดล ้อมโดยรวม

รับประกันการบรรลุข ้อกาหนดความสอดคล ้อง ผู ้จัดการทุกคน

ส่งเสริมการปรับปรุงอย่างต่อเนือ
่ ง ผู ้จัดการทุกคน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 13 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

้ วามคาดหวังของลูกค ้า
บ่งชีค พนักงานขายและการตลาด

้ ้อกาหนดสาหรับผู ้จัดหา (และ)ซัพพลายเออร์


บ่งชีข ้ ผู ้ซือ
ผู ้จัดซือ ้
เกณฑ์ในการจัดซือ้ จัดจ ้าง

ทาให ้สอดคล ้องกับข ้อกาหนดของระบบบริหาร บุคลากรทัง้ หมดทีท


่ างานภายใต ้การควบคุมของ
สิง่ แวดล ้อม องค์กร

ทบทวนการดาเนินระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม ฝ่ ายบริหารสูงสุด

หมายเหตุ บริษัทและสถาบันต่าง ๆ มีโครงสร ้างองค์กรทีแ ่ ตกต่างกันและต ้องนิยามความรับผิดชอบด ้าน



บริหารสิงแวดล ้อมบนพืน ้ ฐานของกระบวนการทางานของตนเอง ในกรณีองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง
ตัวอย่างเช่น เจ ้าของสามารถเป็ นผู ้ทีร่ ับผิดชอบในกิจกรรมเหล่านีท
้ งั ้ หมด

เพิม
่ เติม

Tip & Trick


ผู ้บริหารระดับสูงมีหน ้าทีห
่ ลักในการให ้ทรัพยากรทีจ ่ าเป็ น ซึง่ เป็ นหน ้าทีท
่ ส
ี่ าคัญของการเป็ น
ผู ้บริหารระดับสูง บางองค์กรผู ้บริหารระดับสูงเป็ นบุคลคนเดียวขณะทีบ ่ างองค์กรเป็ นองค์คณะ
ในการจัดทาโครงสร ้าง การระบุ อานาจ หน ้าที่ และต้องถ่ายทอดให ้พนักงานเข ้าใจ ไม่ใชแ ่ ค่
ร ับทราบ การแบ่งหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบ ในครัง้ แรกอาจกระทาไม่งา่ ยนัก

เราจะออกแบบ โครงสร้างองค์กรได้อย่างไร

สิง่ ทีต
่ ้องคิด ค านึงในการกาหนด ว่าคนทีเ่ กีย่ วข ้องกับระบบการจัด การสิง่ แวดล ้อมมีใ คร บ ้าง
มากน ้อย เพียงใด คาถามทีท ่ า่ นต ้องถามตัวท่านเองก่อนเริม
่ วางโครงสร ้างมีดงั นี้

.1อะไรคือขอบเขตของระบบ EMS

− ใครบ ้างทีจ
่ ะเป็ นผู ้ช่วยในการทาให ้ระบบ EMS มีประสิทธิผล ในขอบเขตของระบบ EMS
คิดถึงการควบรวมกับ − อะไรคือการอบรมและทรัพยากรอืน ่ ๆทีจ่ าเป็ น
ระบบปั จจุบน

− จัดซือ ้ 2. อะไรคือ Sign Aspect และการทาให ้สอดคล ้องทีจ


่ าเป็ น
− ระเบียบปฏิบัต ิ
ขัน
้ ตอนการ
− อะไรคือ กิจกรรม การปฏิบต ั งิ านทีต ่ ้องควบคุม
ทางาน
− แผนงานอบรม − ใครบ ้างจาเป็ นต ้องมีสว่ นร่วมในการทาให ้มั่นใจว่า กิจกรรม การปฏิบต
ั งิ านข ้างต ้นได ้รับการ
− การสือ ่ สาร ควบคุม
− การรายงาน .3อะไรคือผลการตรวจประเมินอืน ่ ๆทีผ
่ า่ นมา
− การสรรหา
ว่าจ ้าง − โครงสร ้างปั จจุบน
ั มีข ้อดี ข ้อเสียอย่างไร และจะปรับปรุงอย่างไร
− etc

.4อะไรคือความรับผิดชอบปั จจุบันของการจัดการสิง่ แวดล ้อมทีม


่ อ
ี ยู่ (ตามกฎหมาย หรือตาม
ระบบปั จจุบน
ั ทีเ่ ป็ นอยู(่

− ทาอย่างไรถึงทาให ้เกิดความรับผิดชอบด ้านสิง่ แวดล ้อม เกิดถ ้วนทั่วทัง้ องค์กร


− ทาอย่างไรให ้หน่วยงานฝ่ ายงานทีม
่ อ
ี ยู่ สามารถใชก้ รอบงานหล ักปัจจุบ ันในการมีสว่ น
ร่วมในการออกแบบระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม เช่น

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 14 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

ื้
จ ัดซอ

− พัฒนาความสามารถผู ้ส่งมอบให ้สามารถตอบสนองต่อข ้อกาหนดสิง่ แวดล ้อม


− ประกันว่าผู ้รับเหมา ผู ้ส่งมอบปฏิบต ิ ามข ้อกาหนดกฎหมาย และข ้อกาหนดสิง่ แวดล ้อมที่
ั ต
องค์กรจัดทาขึน ้
− จัดทามาตรการและทาการควบคุมการใช ้สารเคมี/การซือ ้ วัสดุอน
ื่ ๆ
ข ้อดีขององค์กรขนาด
เล็ก ทร ัพยากร บุคคล
− กาหนดความสามารถและกาหนดใบพรรณนาลักษณะงานสาหรับ หน ้าที่ รับผิดชอบใน
− สายการบังคับ ระบบ EMS ต่างๆ
บัญชาสัน ้
− อบรมพนักงานชัว่ คราว และ และผู ้รับเหมาช่วง
− องค์กรไม่ซบ ั ซ ้อน
− คนไม่เรือ ่ งมาก ไม่ − จัดเก็บบันทึกการฝึ กอบรม
มีอาณาเขตส่วนตัว
แยะ ขาย ตลาด
− ไม่ต ้องมอบหมาย
งานยาวๆๆๆ − กาหนด บ่งบอก ความจาเป็ น คาดหวัง ด ้านสิง่ แวดล ้อม
− ง่ายต่อการ − ประเมินความเป็ นไปได ้ในการตอบสนองด ้านสิง่ แวดล ้อม
ตรวจสอบ เข ้าถึง
ล ้วงลูกของ
ผู ้บริหารระดับสูง ่ มบารุง
ซอ

— จัดทาโปรแกรมการบารุงรักษาสาหรับเครือ ่ งจักรทีส
่ าคัญ
— ช่วยในการระบุประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม

ฝ่ายการเงิน

− ทาการจัดเก็บค่าใช ้จ่ายทีเ่ กีย


่ วข ้องกับสิง่ แวดล ้อม เช่น ค่าวัตถุดบ
ิ ค่าพลังงาน ค่า
จัดการของเสีย
− เตรียมงบประมาณสาหรับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
− จัดทาการศึกษาความเป็ นไปได ้/คุ ้มทุนของโครงการสิง่ แวดล ้อม

วิศวกร

− ภาพรวม : แนะนาหนทางแก ้ไข คัดเลือก ติดตาม รายงาน สัง่ หยุดกระบวนการที่


เกีย
่ วข ้องกับ EMS
− ร่วมกาหนดวิธป ี ฏิบต
ั ต
ิ า่ งๆ การควบคุมการปฏิบต
ั ก
ิ าร การวัดติดตาม การปรับปรุง
− พิจารณาผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมสาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมถึงการปรับเปลียน
กระบวนการในการผลิต (DfE)
− ระบุ โอกาส ใน การ ป้ องกัน มลพิษ

Top Management

− อนุมัต ิ กาหนดนโยบาย ตัดสินใจ ทิศทางการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อม


− ่ สาร ความสาคัญของ EMS ทั่วทัง้ องค์กร
สือ
− ทบทวนประสิทธิผลของระบบ
− ให ้ทรัพยากร ที่ จาเป็ นz

ผูจ
้ ัดการทุกคน

− ภาพรวม : อนุมต ั ิ ตัดสินใจ กาหนดนโยบาย แนะนาหนทางแก ้ไข คัดเลือก ติดตาม


รายงาน สัง่ หยุดกระบวนการทีเ่ กีย ่ วข ้องกับ EMS
− ช่วยกาหนด กระจาย สือ ่ สาร นโยบายสิง่ แวดล ้อม
− ทาการชีบ ้ ง่ ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม
− ร่วมกาหนด เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ โครงการ
− ให ้ความรู ้พนักงาน ทาตัวเป็ นตัวอย่าง
− สร ้างค่านิยมด ้านสิง่ แวดล ้อม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 15 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL5.0

พน ักงานปฏิบ ัติการ

− ให ้ข ้อมูล ด ้านประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย


่ วข ้องกับการดาเนินงานของเขา
− ให ้การฝึ กอบรมกับพนักงานใหม่
− ภาพรวม ปฏิบต ั ต
ิ ามระบบ หยุดกระบวนการ ปฏิบต ั ก
ิ ารแก ้ไข รายงานต่อหัวหน ้า ..

เทคนิค การท า Flow chart จะช่วยในท่านเข ้าใจในกระบวนการและผลิตภัณฑ์ จะท าให ้ท่าน


ทราบว่า หน่วยงาน กิจกรรมไหนมีความสัมพันธ์กับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม มากกว่านั น ้ ยัง
ช่วยในการกาหนดพิจารณาว่ามี สารเคมี การจัดจ ้าง การกระจายสินค ้า ผู ้ส่งมอบ ใดทีเ่ กีย
่ วข ้อง
กับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

เป็ นสิง่ ดี ทีท


่ า่ นจะเริม
่ ระบุ กาหนดหน ้าทีง่ านโดยฝากฝั งให ้กับ ลาดับบังคับบัญชา สายงานทีม
่ ี
อยูโ่ ดยใช ้ Responsibility Matrix ตามทีแ ่ นบท ้ายมานี้

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 16 of 18
คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 Cl5.0

Responsibility Matrix

Legend: L = Lead Role S = Supporting Role

Plant EHS HR Maintenan Purchasing / Engineering Production Finance EMS Employe


Responsibility M’gr M’gr M’gr ce Materials Supervisor(s) Mg’t Rep. es

Communicate importance of L S S
environmental management

Coordinate auditing efforts L S S

Track / analyze new regulations L


(and maintain library)

Obtain permits and develop L S


compliance plans

Prepare reports required by L


regulations

Coordinate communications L
with interested parties

Train employees S L

Integrate environmental into L


recruiting practices

Integrate environmental into L


performance appraisal process

Communicate with contractors L


on environmental expectations

Comply with applicable L L S S S S S S S S


regulatory requirements

Conform with organization's L L S S S S S S S S


EMS requirements

Maintain equipment / tools to L


control environmental impact

Monitor key processes S L

Coordinate emergency response L S


efforts

Identify environmental aspects S L S S S S S S S


of products, activities, or
services

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 17 of 18 27 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 Cl5.0

Establish environmental L S S
objectives and targets

Develop budget for S L


environmental management

Maintain EMS records (training, L


etc.)

Coordinate EMS document S L


control efforts

สรุปประเด็นสาค ัญ

• ทุกคนในองค์กรมีบทบาททีส ่ าคัญต่อการปฏิบัตงิ านและความรับผิดชอบเพือ ่ ทาให ้การวางแผนงาน การ


นาไปปฏิบต ั ิ การคงไว ้และการปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมประสบความสาเร็จ
• ต ้องมีการกาหนดนิยามการสือ ่ สารและการทาความเข ้าใจอย่างชัดเจนเกีย ่ วกับบทบาท ความรับผิดชอบ
อานาจ และรูปแบบการรายงานผล
• การบริหารต ้องนาโดยการทาเป็ นตัวอย่างและจัดหาทรัพยากรมาให ้พอเพียงทัง้ คนทีม ่ ค
ี ณ
ุ ภาพ เวลา เงิน
และเครือ ่ งมือ
• ตัวแทนฝ่ ายจัดการสิง่ แวดล ้อมมีความสาคัญมาก ต ้องมีอานาจ ประสบการณ์ ความรู ้ น่าเคารพน่าเชือ ่ ถือ
มีทักษะการบริหารงานและเวลา มีความสามารถในการสือ ่ สารและมีบค ้ นะและจูงใจ
ุ ลิกความเป็ นผู ้นา ชีแ
ผู ้อืน
่ ในองค์กร
• ตัว แทนฝ่ ายจั ด การสิง่ แวดล ้อมเป็ นตัว แทนด ้านการจั ด การระดับ สูง ในการด าเนิน งานระบบการจั ด การ
สิง่ แวดล ้อมวันต่อวันและเป็ นตัวแทนของผู ้จัดการฝ่ ายปฏิบัตก ิ ารทุกฝ่ าย หัวหน ้างานและพนั กงานทุกคน
จนถึงผู ้บริหารระดับสูง

การตรวจประเมิน

• ระหว่างการตรวจประเมิน ต ้องไม่พบเห็นประเด็นของการขาดทรัพยากรใดๆ ไม่วา่ ในเรือ ่ งการนาระบบไป


ปฏิบัต ิ การติดตาม การกระทาตามโครงการสิง่ แวดล ้อม หลักฐานการอนุมัตห ิ รือไม่อนุมัตงิ บประมาณต่างๆ
อาจใช ้เป็ นหลักฐานได ้
• มีหลักฐานการกาหนดบทบาท ความรับผิดชอบ และอานาจหน ้าทีข ่ องบุคลากรต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข ้องในการนา
ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมไปปฏิบต ั เิ ป็ นเอกสาร
• ระหว่างการตรวจประเมิน ไม่พบว่ามีงานด ้านสิง่ แวดล ้อมมีผู ้รับผิดชอบ การกาหนดอานาจหน ้าที่ ชัดเจน
โดยการตรวจประเมินตามฝ่ ายงานต่างๆ
• สัมภาษณ์ ตรวจสอบหลักฐานว่าผู ้แทนฝ่ ายบริหาร หรือทีเ่ รียกว่า EMR (Environmental Management
Representative) ว่าตระหนักรับทราบ มีหลักฐานทีแ ่ สดงให ้เห็นถึงการแสดงบทบาท หน ้าที่ อานาจ ของ
ตนเป็ นอย่างดี (หลักฐานว่าได ้มีการกระทาตามหน ้าที)่

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 18 of 18 27 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ISO 14001:2015
: ISO14001 Guide Book
CL 6.0

Just for Customer


Guide Series

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 1 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

Contents
6.1 การปฏิบต
ั ก
ิ ารเพือ ่ งและโอกาส ......................................................................3
่ ดาเนินการกับความเสีย

6.1.1 ทั่วไป .................................................................................................................................3

ตัวอย่างความเสีย ่ งและโอกาสทีส ่ ง่ ผลต่อองค์กรซึง่ ต ้องค ้นหา .............................................................. 4


ตัวอย่างวิธก
ี ารในการกาหนดความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องค ้นหา............................................................. 5
6.1.2 ประเด็นสิง่ แวดล ้อม................................................................................................................7

ภาพรวม .................................................................................................................................. 7
ความเข ้าใจกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ................................................................................ 8
การกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อม ...................................................................................................... 8
ความเข ้าใจประเด็นสิง่ แวดล ้อม ..................................................................................................... 9
เพิม
่ เติม ................................................................................................................................. 10
ทาไมต ้องระบุประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม ........................................................................................ 13
การแปลความหมายของข ้อกาหนด ISO 14001 .............................................................................. 13
การประเมินความเสีย ่ งหรือนัยสาคัญ (Assessment of Risk or Significant) .......................................... 14
สรุปประเด็นสาคัญ.................................................................................................................... 14
6.1.3 ข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต ั ต
ิ าม ..................................................................................................... 16

ทั่วไป .................................................................................................................................... 16
ข ้อกาหนดทางกฎหมาย............................................................................................................. 16
ข ้อกาหนดอืน ่ ๆ ....................................................................................................................... 17
พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบตั ใิ ห ้สอดคล ้อง .............................................................................................. 18
เพิม่ เติม ..................................................................................... Error! Bookmark not defined.
6.1.4 การวางแผนปฏิบต ั กิ าร .......................................................................................................... 20

6.2 วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม และการวางแผนเพือ


่ ให ้บรรลุ ............................................................... 28

ทั่วไป .................................................................................................................................... 28
การตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม .............................................................................................. 28
้ ง่ สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อม ................................................................................................. 29
ตัวชีบ
ตัวชีบ้ ง่ สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อม ................................................................................................. 30
อธิบายเพิม ่ เติม ........................................................................................................................ 30
ตัวอย่าง การจัดทา EPI มีดงั นี้..................................................................................................... 33
การปฏิบต ั กิ ารวางแผนเพือ ่ บรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม .............................................................. 35

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 2 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

6.1 การปฏิบ ัติการเพือ ี่ งและ


่ ดาเนินการก ับความเสย
โอกาส

6.1.1 ทว่ ั ไป
6.1.1 ทว่ ั ไป
องค์กรต ้องจัดทา, นาไปปฏิบต ั ิ และธารงรักษา ซึง่ กระบวนการทีจ
่ าเป็ นเพือ
่ ให ้สอดคล ้องกับข ้อกาหนดใน 6.1.1
ถึง 6.1.4
่ ทาการวางแผนสาหรับระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม, องค์กรต ้องคานึงถึง:
เมือ
a) ประเด็นทีอ
่ ้างอิงจากข ้อ 4.1
b) ข ้อกาหนดอ ้างอิงจากข ้อ 4.2
c) ขอบข่ายระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม

และพิจารณาความเสีย ่ งและโอกาส,ทีเ่ กีย


่ วข ้องกับประเด็นสิง่ แวดล ้อม(ดู 6.1.2), ข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต
ั ต
ิ าม(ดู
6.1.3), ประเด็นและข ้อกาหนดอืน ่ ๆ, ทีร่ ะบุจาก 4.1 และ 4.2 ทีจ ่ าเป็ นต ้องระบุเพือ ่ :
— รับประกันว่าระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม สามารถบรรลุผลลัพธ์ตามทีม ่ งุ่ หวัง
— ป้ องกัน, หรือ ลด , ผลกระทบด ้านลบ,รวมถึงสภาวะสิง่ แวดล ้อมภายนอกทีอ ่ าจเกิดมีผลกับองค์กร
— บรรลุผลการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง

ภายในขอบข่ายระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม , องค์กรต ้องพิจารณาสถานการณ์ฉุกเฉินทีท


่ อ ่ งึ่
ี่ าจเกิด, รวมถึงทีซ

สามารถเกิดผลกระทบต่อสิงแวดล ้อม

องค์กรต ้องธารงรักษาเอกสารสารสนเทศ สาหรับ


— ่ งและโอกาสทีจ
ความเสีย ่ าเป็ นต ้องได ้รับการดาเนินการ
— กระบวนการทีจ่ าเป็ นตาม 6.1.1 ถึง 6.1.4, ด ้วยขอบเขตทีจ่ าเป็ นเพือ ่ มั่นว่าจะได ้มีการ
่ สร ้างความเชือ
กระทาตามทีได ้วางแผน

การวางแผนสาหร ับระบบการบริหารเป็นสงิ่ สาค ัญเพือ ่ ทาให้มน ่ ั ใจในระบบบริหารสงิ่ แวดล้อมจะสามารถ


บรรลุผลล ัพธ์ทต ี่ งใจไว้
ั้ ่ งทีใ่ ช ้ทัง้ กาหนดและดาเนินส่วนประกอบของระบบ
การวางแผนเป็ นกระบวนการต่อเนือ
บริหารสิง่ แวดล ้อม รวมถึงรักษาและปรับปรุงบนพืน้ ฐานของสถานการณ์ทเี่ ปลีย ่ นแปลง และปั จจัยนาเข ้าและ
ผลลัพธ์ของตัวระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม

กระบวนการวางแผนช่วยองค์กรในการบ่งชีแ ้ ละมุง่ เน ้นทรัพยากรในการปกป้ องสิง่ แวดล ้อม อีกทัง้ ยังสามารถช่วย


องค์กรในการบรรลุพันธกรณีทตี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องและคามั่นสัญญาด ้านนโยบายสิง่ แวดล ้อมอืน ่ ๆ รวมถึง
กาหนดและบรรลุวตั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม

องค์กรควรมีกระบวนการในการกาหนดความเสีย ่ งและโอกาสที่ การวางแผนเป็ นสิง่ สาคัญในการตัดสิน


จาเป็ นต ้องระบุ โดยกระบวนการจะเริม ่ ด้วยการประยุกต์ใช ้ความ
และดาเนินปฏิบต ั ก
ิ ารทีจ ่ าเป็ นเพือ ่ ทาให ้
เข ้าใจบริบททีห ่ น่วยงานดาเนินการอยูโ่ ดยมีปัญหาทีส ่ ามารถส่งผล
ต่อผลลัพธ์ของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมทีต ่ งั ้ ใจไว ้ (ดูทข
ี่ ้อ 4.1) มั น
่ ใจในระบบบริห ารสิ
ง ่ แวดล ้อมจะ
รวมถึงความต ้องการและความคาดหวังทีเ่ กีย ่ วข ้องกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วน สามารถบรรลุผลลัพธ์ทต ี่ งั ้ ใจไว ้
เสียซึง่ รวมสิง่ เหล่านัน ่ งค์กรปรับใช ้ในฐานะพันธกรณีทต
้ ทีอ ี่ ้องปฏิบตั ิ
ให ้สอดคล ้อง (ดูทข ี่ ้อ 4.2) ขนานไปกับขอบเขตของระบบบริหาร
สิง่ แวดล ้อม สิง่ เหล่านีก ้ ลายเป็ นปั จจัยนาเข ้าทีค ่ วรมีการพิจารณาเพือ ่ กาหนดความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องหา
ส่วนข ้อมูลทีเ่ กิดในกระบวนการวางแผนจะเป็ นปั จจัยนาเข ้าทีส ่ าคัญในการกาหนดการดาเนินงานทีต ่ ้องควบคุม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 3 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

้ ังสามารถนาไปใช ้ในการกาหนดและปรับปรุงส่วนอืน
ข ้อมูลนีย ่ ๆ ของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม อาทิเช่น การ
กาหนดการฝึ กอบรม ความชานาญ การสังเกตการณ์และความต ้องการในการวัดผล

ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมจะสร ้างมูลค่าให ้องค์กร ผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย และสิง่ แวดล ้อม ด ้วยการหาความเสีย ่ งและ
โอกาส ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมทีม ่ งุ่ มั่น น่าเชือ่ ถือและน่าไว ้วางใจสามารถสนับสนุนความอยูร่ อดขององค์กรได ้
ั้ ้ การปราศจากการบริหารความเสย
ทงนี ี่ งและโอกาสทีต ่ อ ้ งหา องค์กรอาจไม่สามารถบรรลุผลล ัพธ์ทต ี่ งใจ
ั้
ไว้หรือตอบสนองเงือ ่ นไขด้านสงิ่ แวดล้อมโดยมีเหตุการณ์ตา่ ง ๆทีไ่ ม่ประสงค์ ตัวอย่างความเสีย ่ งและโอกาส
ทีต
่ ้องหาจะอยูใ่ นพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง มุมมองของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียและแหล่งความเสีย่ งและ
โอกาสอืน ่ ๆ ทีต
่ ้องค ้นหา อาทิเช่น ควรมีการคานึงถึงเงือ ่ นไขด ้านสิง่ แวดล ้อมโดยรวมเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ด ้วย

มีสามแหล่งความเสีย ่ งและโอกาสทีเ่ ป็ นไปได ้ซึง่ ต ้องค ้นหาเพือ


่ รับประกันว่าระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมจะสามารถ
บรรลุผลลัพธ์ทต
ี่ งั ้ ใจไว ้ ป้ องกันหรือลดผลกระทบไม่พงึ ประสงค์ และบรรลุการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง

a) ด ้านสิง่ แวดล ้อม (ดูทข ี่ ้อ 6.1.2);


b) พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง (ดูทข ี่ ้อ 6.1.3);
c) ปั ญหาและข ้อกาหนดอืน ่ ๆ ทีร่ ะบุในข ้อ 4.1 และ 4.2.

องค์กรมีอสิ ระในการเลือกวิธก ี ารของตนเองเมือ ่ มีการกาหนดความ ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมจะสร ้างมูลค่าให ้


่ งและโอกาสทีต
เสีย ่ ้องค ้นหา ตัวอย่างเช่น องค์กรสามารถ
องค์กร ผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียและ
• กาหนดแง่มม ุ ด ้านสิง่ แวดล ้อม พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบตั ใิ ห ้
สอดคล ้องรวมถึงปั ญหาและข ้อกาหนดอืน ่ ๆ และ สิง่ แวดล ้อมด ้วยการหาความเสีย ่ งและ
กาหนดความเสีย ่ งและโอกาสทีเ่ กีย ่ วข ้องซึง่ ต ้องหา ่
โอกาส ระบบบริหารสิงแวดล ้อมทีม ่ งุ่ มั่น
สาหรับแต่ละเรือ ่ งเหล่านี้ หรือ น่าเชือ่ ถือและน่าไว ้วางใจสามารถ
• บูรณาการการกาหนดความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องหาเข ้า สนับสนุนความอยูร่ อดขององค์กรได ้
่ ารกาหนดแง่มม
สูก ุ ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญและการ
ประยุกต์ใช ้วิธก ี ารทีเ่ หมือนกันสาหรับแหล่งความเสีย ่ ง
และโอกาสอืน ่ ๆ ทีต ่ ้องค ้นหา หรือ
• ทาตามวิธก ี ารทางเลือกทีพ ่ จ
ิ ารณาให ้รวมแหล่งสองแหล่งหรือมากกว่านัน ้ ในด ้านความเสีย ่ งและ
โอกาสทีต ่ ้องค ้นหา

องค์กรสามารถใช ้กระบวนการทางธุรกิจทีม ่ อ ี ยูใ่ นการกาหนดความเสีย ่ งและโอกาสทีต


่ ้องค ้นหา วิธก
ี ารทีเ่ ลือกอาจ
่ วข ้องกับกระบวนการเชิงคุณภาพแบบง่าย ๆ หรือการประเมินเชิงคุณภาพแบบเต็ม (ตัวอย่างเช่น การประยุกต์ใช ้
เกีย
เกณฑ์ในแมทริกซ์การกาหนด) โดยขึน ้ อยูก่ บั บริบททีอ ่ งค์กรดาเนินการ

ความเสีย่ งและโอกาสทีต ่ ้องค ้นหาซึง่ ส่งผลจะเป็ นปั จจัยนาเข ้าสาหรับการปฏิบตั ก


ิ ารวางแผน (ดูทข ี่ ้อ 6.1.4) ในการ
กาหนดวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม (ดูทข ี่ ้อ 6.2) และควบคุมการดาเนินงานทีเ่ กีย่ วข ้องเพือ
่ ป้ องกันผลกระทบ
ย ้อนกลับด ้านสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบไม่พงึ ประสงค์อน ื่ ๆ (ดูทข
ี่ ้อ 8.1).

่ ๆ ในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม ตัวอย่างเช่น การกาหนดความต ้องการด ้านชานาญและ


ผลลัพธ์ยังมีนัยยะถึงด ้านอืน
่ สารเกีย
การสือ ่ วกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม การกาหนดการสังเกตการณ์และความต ้องการวัดผล การจัดทา
โปรแกรมตรวจติดตามภายใน และการพัฒนาการเตรียมพร ้อมกรณีฉุกเฉินพร ้อมทัง้ กระบวนการตอบสนอง

สถานการณ์ฉุกเฉินเป็นเหตุการณ์ทไี่ ม่มก ี ารวางแผนหรือคาดการณ์มาก่อนซึง่ จาเป็ นต ้องมีการตอบสนอง


ทันทีเพือ
่ บรรเทาผลทีต่ ามมาทีเ่ กิดขึน
้ จริงหรือเป็ นไปได ้ สถานการณ์ฉุกเฉินอาจก่อให ้เกิดผลกระทบย ้อนกลับต่อ
องค์กร ตัวอย่างเช่น จากเพลิงไหม ้ ระเบิดสารอันตรายหกหรือไหลออกมาหรือเหตุการณ์ทางธรรมชาติ อาทิเช่น
ประกายไฟ น้ าท่วม พายุ ไต ้ฝุ่ น สึนามิ ฯลฯ โดยอาจสร ้างผลกระทบขัน ่ องต่อสิง่ แวดล ้อมหรือผลกระทบต่อ
้ ทีส
องค์กร อาทิเช่น น้ าปนเปื้ อนจากเพิลงไหม ้ไหลออกไปนอกสถานทีร่ ะหว่างกระบวนการควบคุมเพลิงและความ
ต ้องการในการกาจัดวัสดุเสียหายจากเพลิงไหม ้ทิง้ ซึง่ อาจเป็ นอันตรายอันเนือ ่ งมาจากผลของเพลิงไหม ้
องค์กรควรกาหนดสถานการณ์ฉุกเฉินทีอ ่ าจเกิดขึน้ ได ้ภายในขอบเขตของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมโดยรวมเรือ่ งที่
สามารถส่งผลทีต ่
่ ามมาต่อสิงแวดล ้อมด ้วย

ี่ งและโอกาสทีส
ต ัวอย่างความเสย ่ ผลต่อองค์กรซงึ่ ต้องค้นหา
่ ง

่ งและโอกาสสามารถส่งผลต่อองค์กรและความสามารถขององค์กรในการบรรลุผลลัพธ์ทต
ความเสีย ี่ งั ้ ใจไว ้ในระบบ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 4 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

บริหารสิง่ แวดล ้อม ผลกระทบย ้อนกลับต่อองค์กรสามารถเกิดได ้จาก (ตัวอย่างเช่น


a) ด ้านสิง่ แวดล ้อม ตัวอย่างเช่น มีหกของสารเคมีจานวนเล็กน ้อยทีแ ่ ทบจะไม่ปนเปื้ อนดินหรือน้ าบนพืน

และไม่สามารถกาหนดเป็ นสิง่ สาคัญจากมุมมองด ้านสิง่ แวดล ้อม แต่อย่างไรก็ตามก็สามารถเป็ น
อันตรายต่อภาพลักษณ์ขององค์กรในฐานะองค์กรทีม ่ จ ิ สานึกด ้านสิง่ แวดล ้อม
ี ต
b) ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีม ่ นี ัยสาคัญ อาทิเช่น เมือ ่ อุบต ั กิ ารณ์ด ้านมลภาวะสร ้างความสงสัยด ้านความสามารถ
ขององค์กรในการบริหารด ้านสิง่ แวดล ้อมอย่างมีนัยสาคัญและส่งผลให ้ความน่าเชือ ่ ถือเสือ
่ มลง
c) การไม่สามารถบรรลุพันธกรณีทต ั ใิ ห ้สอดคล ้องซึง่ สามารถส่งผลต่อค่าปรับ ต ้นทุนสาหรับ
ี่ ้องปฏิบต
ปฏิบต ั กิ ารแก ้ไขและการสูญเสียใบอนุญาตทางสังคมในการดาเนินงานทีอ ่ าจเกิดขึน
้ ได ้
่ นไขทางสิง่ แวดล ้อมโดยรวมเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ทีส
d) เงือ ่ ง่ ผลต่อสิง่ แวดล ้อม อาทิเช่น เมือ ่ การ
เปลีย่ นแปลงด ้านภูมอ ิ ากาศทาให ้มีน้ าใช ้ลดลงซึง่ ส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของโรงงานบาบัดน้ า
เสียขององค์กร
e) ความต ้องการของลูกค ้าทีจ ่ าเป็ นในการขยายสมรรถนะขององค์กรอย่างรวดเร็วโดยปราศจากการเพิม ่
สัดส่วนพนักงานทีม ่ ที ักษะซึง่ อาจทาให ้เกิดข ้อผิดพลาดโดยส่งผลต่ออันตรายด ้านสิง่ แวดล ้อมได ้
f) มุมมองของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียในด ้านประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กรซึง่ สามารถ
ระดมการคัดค ้านให ้กว ้างขึน ้
g) การปฏิบต ั ก
ิ ารทีด
่ าเนินเพือ ่ หาความเสีย ่ งและโอกาสโดยไม่ได ้พิจารณาผลลัพธ์ทไี่ ม่ตงั ้ ใจใด ๆ ซึง่
สามารถก่อให ้เกิด (อาทิเช่น) โอกาสในการใช ้น้ าเสียเพือ ่ ชะล ้างพืน
้ ทีส ั ทนาการขององค์กรสามารถ
่ น
สร ้างปั ญหาสุขภาพให ้บุคคลทีใ่ ช ้บริเวณเหล่านัน ้ ได ้

้ นะสถานการณ์ฉุกเฉินทีอ
หมายเหตุ การชีแ ่ าจเป็ นไปได ้จะอยูใ่ นข ้อ 8.2.

ผลกระทบทีเ่ ป็ นประโยชน์ซงึ่ อาจเกิดขึน


้ ได ้สาหรับองค์กรจะมี
a) การกาหนดเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น อุปกรณ์ควบคุมทีส ่ ามารถลดการปล่อยมลพิษ
b) การรักษาทรัพยากรให ้เหมาะสมทีส ่ ด
ุ อาทิเช่น น้ ารีไซเคิลหรือ
c) การทางานกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียในการลดการคัดค ้านวิธท ี น
ี่ าเสนอในการกาจัดน้ าเสียทิง้ ให ้น ้อยลง

ต ัวอย่างวิธก ี่ งและโอกาสทีต
ี ารในการกาหนดความเสย ่ อ
้ งค้นหา

ต ัวอย่างปัจจ ัยนาเข้า ต ัวอย่างกระบวนการ ต ัวอย่างผลล ัพธ์

ด้านสงิ่ แวดล้อม

— ประเด็นสิง่ แวดล ้อมและ การประเมินความสาคัญในการ — ประเด็นสิง่ แวดล ้อมที่


ผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม ใช ้เกณฑ์ สาคัญ

— เกณฑ์ในการกาหนดแง่มมุ ด ้าน — ความเสีย ่ งและโอกาสที่


สิง่ แวดล ้อมทีส
่ าคัญ ต ้องค ้นหาเกีย่ วกับประเด็น
สิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญ(ดูทห
ี่ มาย
เหตุด ้านล่าง)

พ ันธกรณีทต
ี่ อ
้ งปฏิบ ัติให้สอดคล้อง

— การกาหนดความต ้องการและ การประเมินผลลัพธ์เพือ


่ ตัดสิน ความเสีย ่ งและโอกาสต ้องมีการ
ความคาดหวังทีเ่ กีย ่ วข ้องกับผู ้มีสว่ น ่ งและโอกาสที่
ว่ามีความเสีย กล่าวถึงเกีย ่ วกับพันธกรณีทต
ี่ ้อง
ได ้ส่วนเสียซึง่ จะกลายเป็ นพันธกรณี
ทีต
่ ้องปฏิบตั ใิ ห ้สอดคล ้อง (ดูทข ี่ ้อ ต ้องค ้นหาหรือไม่ ปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
4.2)

— การสือ่ สารกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วน


เสีย รวมถึงข ้อร ้องเรียน รางวัล
และการรับรอง

— การตรวจติดตามภายในและ
ภายนอกด ้านพันธกรณีทต
ี่ ้องปฏิบต
ั ิ
ให ้สอดคล ้อง

— การทบทวนแนวโน ้มของ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 5 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

กฎระเบียบเกิดใหม่

ปัญหาภายในและภายนอก

— ผลลัพธ์ในการทบทวนบริบท การประเมินผลเพือ ่ ตัดสินว่ามี ความเสีย่ งและโอกาสทีต ่ ้องมีการ


โดยรวมปั ญหาภายในและภายนอก ความเสีย่ งและโอกาสสาหรับ กล่าวถึงโดยเกีย่ วข ้องกับปั ญหา
องค์กรทีต ่ ้องมีการกล่าวถึง อืน
่ ๆ ในข ้อ 4.1
— ผลการทบทวนของฝ่ ายบริหาร หรือไม่

— ปั จจัยนาเข ้าการบริหารข ้าม


หน ้าทีง่ านของฝ่ ายบริหารสูงสุด
และอืน่ ๆ

่ นไขด ้านสิง่ แวดล ้อมทีส


เงือ ่ ง่ ผลต่อ ความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องมีการ
องค์กร กล่าวถึงโดยเกีย ่ วข ้องกับเงือ
่ นไข
ด ้านสิง่ แวดล ้อม

แง่มมุ สิง่ แวดล ้อมทีก


่ าหนดไว ้ ความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องมีการ
(นอกเหนือจากประเด็นสิง่ แวดล ้อม กล่าวถึงโดยเกีย ่ วข ้องกับเงือ
่ นไข
ทีส
่ าคัญ) ด ้านสิง่ แวดล ้อม

ข้อกาหนดอืน
่ ๆ (ดูทข
ี่ อ
้ 4.2) ข้อกาหนดนอกเหนือจากข้อกาหนดทางกฎหมายและทีอ
่ งค์กร
เลือกใช ้

— ผลการทบทวนของฝ่ ายบริหาร ความเสีย่ งและโอกาสทีต ่ ้องมีการ


กล่าวถึงโดยเกีย
่ วข ้องกับ
— สถานการณ์ใหม่หรือที่ การประเมินผลเพือ ่ ตัดสินว่ามี ข ้อกาหนดอืน่
เปลีย
่ นแปลง ความเสีย่ งและโอกาสสาหรับ
องค์กรทีต ่ ้องมีการกล่าวถึง
— ข ้อมูลใหม่ หรือไม่

่ สารกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย


— การสือ

หมายเหตุ มีความเป็ นไปได ้ว่าจะไม่มค ่ งและโอกาสทีต


ี วามเสีย ่ ้องมีการกล่าวถึงโดยองค์กรซึง่ มีผลมาจาก
ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีส
่ าคัญหรือจากปั ญหาและข ้อกาหนดอืน
่ ๆ ทีร่ ะบุไว ้ในข ้อ 4.1 และ 4.2

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 6 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

6.1.2 ประเด็นสงิ่ แวดล้อม


6.1.2 ประเด็นสงิ่ แวดล้อม

ภายในขอบข่ายทีร่ ะบุไว ้ในระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม, องค์กรต ้องพิจารณาประเด็นด ้านสิง่ แวดล ้อม ที่
เกีย ่ วข ้องกับกิจกรรม, ผลิตภัณฑ์และบริการทีส ่ ามารถควบคุม และสามารถมีอท
ิ ธิพล, และผลกระทบด ้าน
สิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ วข ้อง, โดยคานึงถึงมุมมองวัฎจักรชีวต
ิ .
เมือ ่ ทาการพิจารณาประเด็นสิง่ แวดล ้อม, องค์กรต ้องคานึงถึง

a) การเปลีย
่ นแปลง, รวมถึงแผน หรือ การพัฒนาใหม่, และใหม่ หรือปรับเปลีย่ นกิจกรรม, ผลิตภัณฑ์
และ บริการ
b) สภาวะผิดปกติ และสถานการณ์ฉุกเฉินทีแ่ ลเห็นล่วงหน ้าอย่างสมเหตุสมผล

องค์กรต ้องพิจารณาประเด็นทีม ี รือสามารถมีผลกระทบสาคัญต่อสิง่ แวดล ้อมทีม


่ ห ่ น
ี ัยสาคัญ, เช่น ประเด็น
สิง่ แวดล ้อมทีม ี ัยสาคัญ, โดยใช ้เกณฑ์ทจ
่ น ี่ ัดทา

่ สารประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม


องค์กรต ้องสือ ่ น
ี ัยสาคัญระหว่างระดับและฟั งชัน ่ ขององค์กร, ตามความเหมาะสม
องค์กรต ้องธารงรักษาเอกสารสารสนเทศสาหรับ
• ประเด็นสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วข ้อง
• เกณฑ์ทใี่ ช ้เพือ
่ การพิจารณาประเด็นด ้านสิง่ แวดล ้อมทีม่ นี ัยสาคัญ
• ประเด็นด ้านสิง่ แวดล ้อมทีม
่ น
ี ัยสาคัญ

หมายเหตุ ประเด็นด ้านสิง่ แวดล ้อมทีม


่ น ่ งและโอกาสทีเ่ กีย
ี ัยสาคัญอาจส่งผลต่อความเสีย ่ วข ้องไม่วา่ มี
ผลกระทบด ้านลบต่อสิง่ แวดล ้อม (ภัยคุกคาม) หรือผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมเป็ นประโยชน์ (โอกาส).

ภาพรวม

่ จัดตัง้ ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมทีม


เพือ ่ ป
ี ระสิทธิผล องค์กรควรพัฒนาความเข ้าใจส่วนประกอบของกิจกรรม
ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ทีส ่ ามารถส่งผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม ส่วนประกอบของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และ
บริการต่าง ๆ ขององค์กรทีส ิ าต่อสิง่ แวดล ้อมจะเรียกว่าประเด็นสิง่ แวดล ้อม ตัวอย่างได ้แก่ การ
่ ามารถมีปฏิกริ ย
ระบายออก การปล่อยออก การใช ้หรือการใช ้วัสดุใหม่อก ี ครัง้ หรือการก่อให ้เกิดเสียง

่ าเนินระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมควรกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีส


องค์กรทีด ่ ามารถควบคุมและทีส
่ ามารถมีอท
ิ ธิพล
โดยพิจารณามุมมองจากการประเมินวัฏจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์ จะมีข ้อมูลแนวคิดนีเ้ พิม
่ เติม

การเปลีย่ นแปลงต่อสิง่ แวดล ้อมจะเรียกว่าผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม องค์กรควรมีความเข ้าใจในแง่มม ุ เหล่านัน
้ ทีม
่ ี
หรือสามารถมีผลกระทบทีม ี ัยสาคัญต่อสิง่ แวดล ้อม อาทิเช่น ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม
่ น ่ น
ี ัยสาคัญ ทีอ
่ าจพบว่าต ้อง
่ ปกป้ องสิง่ แวดล ้อม
กล่าวถึงเพือ

การกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ี ัยสาคัญและผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย


่ น ่ วข ้องมีความจาเป็ นต ้องกาหนด
เมือ ่ ต ้องการการควบคุมหรือการปรับปรุงรวมถึงเพือ ่ จัดลาดับความสาคัญสาหรับปฏิบต ั ก
ิ ารด ้านบริหาร อยูบ ่ นพืน
้ ฐาน
ของปั จจัยทางสิง่ แวดล ้อม ทัง้ นี้ ควรมีการพัฒนาเบือ ้ งต ้นในด ้านนโยบายสิง่ แวดล ้อมขององค์กร วัตถุประสงค์ด ้าน
สิง่ แวดล ้อม การอบรม การสือ ่ สาร การควบคุมการปฏิบต ั งิ านและกระบวนการสังเกตการณ์บนพืน ้ ฐานความรู ้ใน

ประเด็นสิงแวดล ้อมทีม ี ัยสาคัญ การกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม
่ น ่ น
ี ัยสาคัญเป็ นกระบวนการทีต ่ อ
่ เนือ
่ งโดยจะ
ยกระดับความเข ้าใจขององค์กรในด ้านความสัมพันธ์กบ ั สิง่ แวดล ้อมและส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิผลการทางาน
ด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กรอย่างต่อเนือ ่ งผ่านการยกระดับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม

เมือ่ การกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมรวมถึงการกาหนดนัยยะสาคัญทีเ่ หมาะกับองค์กร


ต่าง ๆ ทัง้ หมดไม่ได ้มีเพียงวิธก ี ารเดียว มีวธิ ก
ี ารอีกมากทีจ ่ ะใช ้ในการค ้นหาการดาเนินการหรือการปรับปรุงระบบ
บริหารสิง่ แวดล ้อม แต่ละองค์กรควรเลือกวิธก ี ารทีเ่ หมาะสมกับขอบเขตของตนเอง หลักธรรมชาติและขนาดของ
ผลกระทบทางสิง่ แวดล ้อมและทีบ ่ รรลุความต ้องการในด ้านรายละเอียด ความซับซ ้อน เวลา ต ้นทุนและความมี
ข ้อมูลทีน ่ ถือพร ้อมใช ้ การดาเนินกระบวนการเพือ
่ ่าเชือ ่ ประยุกต์ใช ้วิธก
ี ารทีเ่ ลือกสามารถช่วยให ้บรรลุผลลัพธ์ท ี่

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 7 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ตรงกัน

องค์กรสามารถพิจารณาขัน ้ ตอนเหล่านัน
้ ในวัฏจักรชีวต
ิ ผลิตภัณฑ์ทม
ี่ ก
ี ารควบคุมหรือมีอท
ิ ธิพลมากทีส
่ ด
ุ โดยอาจมี
โอกาสทีใ่ หญ่ทส ุ ในการลดการใช ้ทรัพยากรและลดมลพิษหรือของเสีย
ี่ ด

ความเข้าใจกิจกรรม ผลิตภ ัณฑ์และบริการต่าง ๆ

กิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ทัง้ หมดมีผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมบางอย่างซึง่ สามารถเกิดได ้ทีข


่ น
ั ้ ตอนใด
ขัน
้ ตอนหนึง่ หรือในขัน้ ตอนทัง้ หมดของการประเมินวัฏจักรชีวต
ิ ผลิตภัณฑ์ อาทิเช่น จากการครอบครองหรือกระจาย
ิ การใช ้และทิง้
วัตถุดบ

องค์กรควรมีวธิ ก ี ารในการทาความเข ้าใจกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ทีอ ่ ยูใ่ นขอบเขตของระบบบริหาร


สิง่ แวดล ้อมเพือ ้ ระเด็นสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ จะสามารถบ่งชีป ่ วข ้องและผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมโดยมีประโยชน์ในการ
จัดกลุม่ กิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ เพือ ่ ช่วยในการกาหนดและประเมินประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ วข ้องและ

ผลกระทบด ้านสิงแวดล ้อม การจัดกลุม ่ หรือประเภทสามารถทาได ้บนพืน ้ ฐานคุณลักษณะทัว่ ไป อาทิเช่น หน่วยงาน
ในองค์กร ภูมป ิ ระเทศของสถานทีต ่ งั ้ และการไหลของการดาเนินงาน

การกาหนดประเด็นสงิ่ แวดล้อม

่ มีการกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมภายในขอบเขตของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม องค์กรควรพิจารณามุมมองจาก


เมือ
การประเมินวัฏจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์และแง่มม
ุ เหล่านัน
้ ทีเ่ กีย
่ วกับกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการในอดีต ปั จจุบน
ั และ
อนาคต ทัง้ นี้ ในทุก ๆ กรณี องค์กรควรพิจารณาเงือ ่ นไขการดาเนินการแบบปกติและแบบไม่ปกติโดยรวมการเปิ ด
เครือ่ งและปิ ดเครือ
่ ง การบารุงรักษาและสถานการณ์ฉุกเฉินทีเ่ ห็นล่วงหน ้าอย่างสมเหตุสมผล

นอกเหนือจากประเด็นสิง่ แวดล ้อมเหล่านัน ้ ทีอ


่ งค์กรสามารถควบคุมได ้โดยตรง ก็ควรพิจารณาแง่มม ุ ทีม
่ อ
ี ทิ ธิพลด ้วย
ตัวอย่างเช่น ทีเ่ กีย
่ วกับผลิตภัณฑ์และบริการทีอ ่ งค์กรใช ้และทีเ่ กีย
่ วข ้องกับผลิตภัณฑ์และบริการทีใ่ ห ้ เมือ่ มีการ
ประเมินความสามารถในการมีอท ิ ธิพลต่อประเด็นสิง่ แวดล ้อม องค์กรควรพิจารณาถึงพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้
สอดคล ้อง นโยบายและปั ญหาท ้องถิน ่ และภูมภ ิ าพ องค์กรควรพิจารณานัยยะของประสิทธิผลการทางานด ้าน
สิง่ แวดล ้อม ตัวอย่างเช่น ด ้วยการจัดซือ้ ผลิตภัณฑ์ทบ ี่ รรจุวส
ั ดุอน
ั ตราย กิจกรรมทีด ่ าเนินการโดยผู ้ให ้บริการจาก
ภายนอก รวมถึงผู ้รับจ ้างเหมาหรือผู ้รับจ ้างช่วง การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ วัสดุ สินค ้าและบริการทีจ ่ ัดหา
และใช ้ รวมถึงการขนส่ง การใช ้ การใช ้อีกครัง้ หรือการรีไซเคิลผลิตภัณฑ์ทวี่ างขายในตลาด

่ กาหนดและเข ้าใจประเด็นสิง่ แวดล ้อม องค์กรสามารถเก็บข ้อมูลเชิงปริมาณและ/หรือเชิงคุณภาพของ


เพือ
คุณลักษณะของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ อาทิเช่นปั จจัยนาเข ้าและผลลัพธ์ของวัสดุหรือพลังงาน
กระบวนการและเทคโนโลยีทใี่ ช ้ สิง่ อานวยความสะดวกและสถานทีต ่ งั ้ และวิธก
ี ารขนส่ง นอกจากนี้ ยังสามารถ
ได ้รับประโยชน์ในการเก็บข ้อมูลเกีย
่ วกับ

a) ความสัมพันธ์ของเหตุและผลระหว่างส่วนประกอบของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ กับการ


เปลีย
่ นแปลงทีเ่ ป็ นไปได ้และทีเ่ กิดขึน ้ จริงต่อสิง่ แวดล ้อม
b) ความกังวลด ้านสิงแวดล ้อมของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย

c) ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีเ่ ป็ นไปได ้ซึง่ กาหนดในระเบียบและใบอนุญาตของราชการ ในมาตรฐานอืน
่ ๆ หรือ
โดยสมาคมทางอุตสาหกรรม สถาบันการศึกษา ฯลฯ

กระบวนการในการกาหนดประโยชน์ของประเด็นสิง่ แวดล ้อมจากการเข ้าร่วมของบุคคลเหล่านัน ้ ทีค


่ ุ ้นเคยกับกิจกรรม
ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ขององค์กร แม ้ว่าการกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมจะไม่มเี พียงวิธกี ารเดียว วิธก ี ารที่
เลือกสามารถพิจารณาถึง
— การปล่อยก๊าซสูอ ่ ากาศ
— การปล่อยไหลลงน้ า
— การปล่อยไหลลงพืน ้
— การใช ้วัตถุดบ ิ และทรัพยากรธรรมชาติ
— การใช ้พลังงาน
— พลังงานทีป ่ สะเทือน (เสียง) และแสง)
่ ล่อย (ตัวอย่างเช่น ความร ้อน รังสี การสัน
— การก่อของเสียและ/โดยผลิตภัณฑ์
— การใช ้พืน
้ ที่

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 8 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

้ การพิจารณาจึงควรมีการให ้ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย


ดังนัน ่ วข ้องกับกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ของ
องค์กรโดยอาจรวมถึง
— การออกแบบและพัฒนาสิง่ อานวยความสะดวก กระบวนการ ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ
— การครอบครองวัตถุดบ ิ โดยรวมถึงการสกัด
— กระบวนการดาเนินงานหรือผลิตโดยรวมคลังสินค ้าด ้วย
— สิง่ อานวยความสะดวกในการดาเนินงานและบารุงรักษา ทรัพย์สน ิ และโครงสร ้างพืน ้ ฐานขององค์กร
— ประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมและแนวทางปฏิบต ั ส
ิ าหรับผู ้ให ้บริการจากภายนอก
— การขนส่งผลิตภัณฑ์และการส่งมอบบริการโดยรวมถึงบรรจุภณ ั ฑ์
— การจัดเก็บ การใช ้และการดูแลรักษาตลอดอายุการใช ้งานผลิตภัณฑ์
— การบริหารจัดการของเสียโดยรวมการใช ้อีกครัง้ การปรับแต่ง การรีไซเคิลและการกาจัดทิง้

้ นะเกีย
หมายเหตุ คาชีแ ่ วกับประเด็นสิง่ แวดล ้อมในการออกแบบผลิตภัณฑ์ทอ ้ นะ
ี่ ยูใ่ น ISO/TR 14062 และคาชีแ
ด ้านการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจทีอ ่ ยูใ่ น ISO 14006.

ความเข้าใจประเด็นสงิ่ แวดล้อม

ความทาความเข ้าใจผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กร เกีย ่ วกับประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม


่ ก
ี ารกาหนดให ้เป็ นเรือ
่ ง
จาเป็ นเมือ
่ มีการตัดสินนัยสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิง่ แง่มม
ุ เหล่านัน้ ทีส
่ ามารถนาไปสูส่ ถานการณ์ฉุกเฉิน

่ ให ้มีพร ้อมต่อแต่ละประเภทของผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย


ข ้อมูลต ้องหามาเพือ ่ วข ้องกับประเด็นสิง่ แวดล ้อม
ขององค์กร องค์กรสามารถเลือกใช ้ผังเหตุและผลหรือแผนผังการไหลทีแ ่ สดงปั จจัยนาเข ้า ผลลัพธ์หรือสมดุลเชิง
มวล/พลังงานหรือวิธก ่ ๆ อาทิเช่น การประเมินผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมหรือการประเมินวัฎจักรชีวต
ี ารอืน ิ
ผลิตภัณฑ์ ในการทาความเข ้าใจประเด็นตามความต ้องการ

ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีเ่ ป็ นผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมมีความมากน ้อยแตกต่างกันตามปั จจัย:


• ผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กิดขึน ้ จริงและทีอ
่ าจเป็ นไปได ้
• สัดส่วนของสิง่ แวดล ้อมทีส ่ ามารถได ้รับผลกระทบ อาทิเช่น อากาศ น้ า ดิน ดอกไม ้ สัตว์หรือมรดกทาง
วัฒนธรรม
• ลักษณะของสถานทีต ่ งั ้ ทีส
่ ามารถส่งผลต่อมิตข ิ องผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม อาทิเช่น สภาพภูมอ ิ ากาศ
ท ้องถิน
่ ความสูงของพืน ้ ผิวน้ า ประเภทของดิน ฯลฯ
• ธรรมชาติของการเปลีย ่ นแปลงต่อสิง่ แวดล ้อม (อาทิเช่น ปั ญหาระดับโลกกับปั ญหาพืน ้ ที่ ระยะเวลาที่
เกิดผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม หรือศักยภาพสาหรับผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมในการสะสมความเสียหาย
ตามเวลา)

่ วกับองค์กรและบริบทขององค์กร สิง่ ทีเ่ ป็ นนัยสาคัญสาคัญสาหรับองค์กรหนึง่ ไม่


นัยสาคัญเป็ นแนวคิดทีเ่ กีย
จาเป็ นต ้องเป็ นนัยสาคัญของอีกองค์กรหนึง่ การประเมินนัยสาคัญจะเกีย ่ วข ้องกับทัง้ การวิเคราะห์และการตัดสินด ้าน
เทคนิคตามทีอ ่ งค์กรกาหนด
การใช ้เกณฑ์สามารถช่วยองค์กรกาหนดว่าประเด็นสิง่ แวดล ้อมใดและผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วข ้องใดซึง่
พิจารณาว่ามีนัยสาคัญ การตัง้ กฏและประยุกต์ใช ้เกณฑ์ดงั กล่าวควรต ้องมีความสมา่ เสมอในการประเมินนัยสาคัญ

เนือ่ งจากองค์กรสามารถมีประเด็นสิง่ แวดล ้อมหลายแง่และผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมหลายอย่าง จึงควรกาหนด


เกณฑ์และวิธท ี่ ะกาหนดสิง่ เหล่านัน
ี จ ้ ซึง่ พิจารณาว่ามีนัยสาคัญ เกณฑ์สามารถเกีย ่ วข ้องกับประเด็นสิง่ แวดล ้อม
(ตัวอย่างเช่น ชนิด ขนาด ความถี)่ หรือผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม (ตัวอย่างเช่น ขนาด ความรุนแรง ระยะเวลา การ
เปิ ดเผย) อีกทัง้ ยังสามารถพิจารณาปั จจัยนาเข ้าอืน ่ ๆ เมือ
่ มีการกาหนดเกณฑ์ทม ี่ น ี ัยสาคัญโดยรวมข ้อมูลเกีย ่ วกับ
พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง และความกังวลของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียภายในและภายนอก

องค์กรสามารถตัง้ ระดับ (หรือมูลค่า) ของนัยสาคัญซึง่ เกีย


่ วข ้องกับเกณฑ์แต่ละเกณฑ์ ตัวอย่างเช่น การประเมิน
นัยสาคัญสามารถอยูบ ่ นพืน
้ ฐานของการผสมผสานความเป็ นไปได ้ (ความน่าจะเป็ น/ความถี)่ ของการเกิดและผลที่
ตามมา (ความรุนแรง / ความเข ้มข ้น) ขนาดหรือการจัดลาดับบางประเภทจะมีสว่ นช่วยในการกาหนดนัยสาคัญ
ตัวอย่างเช่น เชิงปริมาณในแง่มล ู ค่าทางตัวเลข หรือเชิงปริมาณในแง่ของระดับต่าง ๆ อาทิเช่น สูง กลาง ตา่ หรือ
เล็กน ้อย

่ อานวยความสะดวกในการวางแผน องค์กรควรเก็บรักษาเอกสารข ้อมูลทีเ่ หมาะสมในประเด็นสิง่ แวดล ้อมและ


เพือ
ผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ วข ้องซึง่ กาหนดเกณฑ์ทใี่ ช ้ในการกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม
่ น
ี ัยสาคัญและที่

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 9 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

กาหนดว่าสาคัญ โดยรวมสิง่ เหล่านัน ้ ทีส่ ามารถเกิดในสถานการณ์ฉุกเฉินทีอ ่ าจเป็ นไปได ้องค์กรควรใช ้ข ้อมูลเหล่านี้


ในการเข ้าใจความต ้องการและในการกาหนดการควบคุมการดาเนินงานรวมถึงทีจ ่ าเป็ นในการบรรเทาหรือ
ตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน ้ จริง ข ้อมูลผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีถ
่ ก
ู กาหนดควรมีการรวมเข ้าไปตาม
ความเหมาะสม ข ้อมูลเหล่านีค ้ วรมีการทบทวนและอัพเดตเป็ นระยะ ๆ รวมถึงเมือ ่ สถานการณ์เปลีย่ นแปลง ก็ควรทา
ให ้มั่นใจว่าข ้อมูลมีการทาให ้เป็ นปั จจุบนั ซึง่ จะช่วยในการเก็บรักษาข ้อมูลในรายการ ทะเบียน ฐานข ้อมูลหรือรูปแบบ
อืน
่ ๆ

หมายเหตุ การกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ี ัยสาคัญไม่จาเป็ นต ้องมีการประเมินผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม


่ น

มุมมองจากการประเมินว ัฏจ ักรชวี ต


ิ ผลิตภ ัณฑ์

มุมมองจากการประเมินวัฏจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์จะมีการพิจารณาประเด็นสิง่ แวดล ้อมของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และ


บริการต่าง ๆ ขององค์กรทีอ ่ งค์กรสามารถควบคุมหรือมีอท ิ ธิพล ขัน
้ ตอนในวัฎจักรชีวต
ิ ผลิตภัณฑ์จะรวมถึงการ
ครอบครองวัตถุดบ ิ การออกแบบ การผลิต การขนส่ง/ส่งมอบ การใช การดูแลรักษาตลอดอายุการใช ้งานและการ

กาจัดทิง้ ขัน
้ สุดท ้าย

่ มีการใช ้มุมมองจากการประเมินวัฏจักรชีวต
เมือ ิ ผลิตภัณฑ์สาหรับผลิตภัณฑ์และบริการขององค์กร องค์กรควร
พิจารณาดังต่อไปนี้
— ขัน
้ ตอนในการประเมินวัฏจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์และบริการ
— ระด ับการควบคุมขัน ้ ตอนการประเมินวัฏจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์ ตัวอย่างเช่น นักออกแบบผลิตภัณฑ์อาจ
มีหน ้าทีร่ ับผิดชอบในการคัดเลือกวัตถุดบ ิ ในขณะทีผ ่ ู ้ผลิตอาจรับผิดชอบแค่การลดใช ้วัตถุดบิ และลด
ของเสียในกระบวนการรวมถึงผู ้ใช ้อาจรับผิดชอบเพียงใช ้และทิง้ ผลิตภัณฑ์
— ระด ับอิทธิพลเหนือการประเมินวัฏจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์ ตัวอย่างเช่น นักออกแบบอาจมีอท ิ ธิพลต่อ
วิธกี ารผลิตของผู ้ผลิตเท่านัน ้ ในขณะทีผ ่ ู ้ผลิตอาจมีอทิ ธิพลต่อการออกแบบและแนวทางการใช ้
ผลิตภัณฑ์หรือวิธก ี ารทิง้ ด ้วย
— อายุของผลิตภัณฑ์
— อิทธิพลขององค์กรต่อห่วงโซ่อป ุ ทาน
— ความยาวของห่วงโซ่อป ุ ทาน
— ความซับซ ้อนทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์

แหล่งข ้อมูลทีเ่ ป็ นไปได ้ในการกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม แหล่งข ้อมูลทีเ่ ป็ นไปได ้
ควรรวมถึง
— เอกสารข ้อมูลทั่วไป อาทิเช่น ใบปลิว แคตตาล็อกและรายงานประจาปี
— คูม ่ อื ปฏิบต
ั งิ าน ผังการไหลของกระบวนการหรือแผนคุณภาพและผลิตภัณฑ์
— รายงานการตรวจติดตาม การประเมินหรือการทบทวนครัง้ ก่อน อาทิเช่น การทบทวนสิง่ แวดล ้อม
แรกเริม ่ หรือ การประเมินวัฎจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์;
— ข ้อมูลจากระบบบริหารอืน ่ ๆ อาทิเช่น คุณภาพหรืออาชีวอนามัยและสุขภาพ
— รายงานข ้อมูลทางเทคนิค การวิเคราะห์หรือการศึกษาทีต ่ พ
ี ม
ิ พ์ หรือรายการสารพิษต่าง ๆ
— ข ้อกาหนดกฏหมายและพันธกรณีทต ี่ ้องทาให ้สอดคล ้อง
— แนวทางปฏิบต ั ิ นโยบาย แนวทางและโปรแกรมระดับชาติและสากล ต่างๆ
— ข ้อมูลการจัดซือ ้ จัดจ ้าง
— รายละเอียดผลิตภัณฑ์ (สเปค) ข ้อมูลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เอกสารข ้อมูลความปลอดภัยสารเคมี
(SDS/MSDS/CSDS) หรือข ้อมูลยอดคงเหลือพลังงานและวัสดุ
— ยอดของเสีย
— ข ้อมูลการเฝ้ าระวังติดตาม
— ใบอนุญาตสิง่ แวดล ้อมหรือการสมัครขอใบอนุญาต
— มุมมองการร ้องขอหรือข ้อตกลงกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย
— รายงานสถานการณ์ฉุกเฉิน

เพิม
่ เติม
ข ้อกาหนด ต้องการให้องค์กรมีกระบวนการ ในการระบุปญ ั หาสงิ่ แวดล้อมในขอบเขตทีอ
่ งค์กรได ้ระบุไว ้และที่
มีนัยสาคัญ ซึง่ ปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีไ่ ด ้ถูกระบุวา่ เป็ นสิง่ ทีจ ่ ใช ้ในการ
่ ะต ้องมีการจัดลาดับความสาคัญก่อนหลังเพือ
วางระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 10 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

มาตรการวิเคราะห์ปัญหาสิง่ แวดล ้อมจากกระบวนการจะต ้องนามาพิจารณาทัง้ ปั จจัยนาเข ้าและปั จจัยส่งออก


(input-output) ทัง้ ทีต
่ งั ้ ใจและไม่ตงั ้ ใจทีจ
่ ะเกิด และรวมถึงเหตุการณ์หรือกิจกรรมทีเ่ คยเกิดขึน
้ ในอดีต ผลิตภัณฑ์
และบริการ หรือปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีว่ างแผนสาหรับการพัฒนาใหม่ หรือกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการ ใน
กระบวนการจะต ้องพิจารณาถึงสภาวะปกติซงึ่ รวมถึง การเปิ ด-ปิ ดเครือ ่ งจักร พร ้อมทัง้ สถานการณ์ทอ ี่ าจไม่คาดฝั น

องค์กรไม่จาเป็ นต ้องพิจารณาผลิตภัณฑ์แต่ละตัวหรือองค์ประกอบหรือวัตถุดบ ิ แต่ละอย่าง แต่องค์กรอาจจัดเป็ น


กลุม
่ ของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการเพือ่ การระบุปัญหาสิง่ แวดล ้อม อย่างไรก็ตามไม่มมี าตรการอย่างใดอย่าง
หนึง่ ทีส
่ ามารถระบุ

การพิจารณาปั ญหาสิง่ แวดล ้อมได ้อย่างครบถ ้วนต ้องพิจารณาสิง่ ต่างๆ ดังต่อไปนี้


— การปล่อยมลภาวะทางอากาศ
— การปล่อยมลภาวะทางน้ า
— การปล่อยมลภาวะทางพืน ้ ดิน
— การใช ้วัตถุดบ ิ และทรัพยากรธรรมชาติ
— สถานทีต ่ งั ้ และสภาพแวดล ้อมของชุมชนใกล ้เคียง
— การใช ้พลังงาน
— การปลดปล่อยพลังงาน
— ของเสียและผลิตภัณฑ์ข ้างเคียง
— คุณสมบัตท ิ างกายภาพอืน ่ าจมีผลต่อสิง่ แวดล ้อม
่ ๆ ทีอ

่ ายใต ้ปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กิดขึน


การพิจารณาจะต ้องอยูภ ้ โดยตรงและโดยอ ้อมซึง่ เกิดจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และ
บริการขององค์กร ยกตัวอย่างเช่น
— การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์
— การบรรจุรวมทัง้ การขนส่งผลิตภัณฑ์และสินค ้า
— เอกสารกากับของผลิตภัณฑ์และบริการ
— ผลการดาเนินการด ้านสิง่ แวดล ้อมและการปฏิบต ั ข
ิ องผู ้รับจ ้างช่วง ผู ้ส่งมอบ
— การจัดการของเสีย
— การคัดสรร การกระจายวัตถุดบ ิ และทรัพยากรธรรมชาติ
— การกระจาย การใช ้และการกาจัดผลิตภัณฑ์และ
— ผลกระทบทีเ่ กีย ่ วข ้องกับสัตว์ป่าและความหลากหลายทางชีวภาพ

การควบคุมและการกากับทางอ ้อมในปั ญหาสิง่ แวดล ้อมของผลิตภัณฑ์หรือวัตถุดบ ่ ง่ มอบให ้องค์กรมักมีความ


ิ ทีส
หลากหลายของปั ญหา และผลกระทบสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กิดขึน ้ ซึง่ ขึน
้ อยูก
่ บ
ั สถานการณ์ของการตลาดและผู ้ส่งมอบ
องค์กรทีม ่ ค
ี วามรับผิดชอบต่อการออกผลิตภัณฑ์เอง ก็จะมีอท ิ ธิพลต่อการเปลีย ่ นแปลงปั ญหาและผลกระทบ
สิง่ แวดล ้อมได ้โดยตรง ยกตัวอย่างเช่นถ ้ามีวต
ั ถุดบ
ิ ประเภทเดียวทีส ่ ามารถส่งมอบได ้ด ้วยองค์กรเดียวเท่านัน้ การ
เปลีย ่ นแปลงก็จะสามารถทาได ้น ้อยมาก

ถ ้าเป็ นการกล่าวถึงการจัดเตรียมวัตถุดบ
ิ หรือผลิตภัณฑ์ในการผลิตเป็ นทีแ ่ น่นอนว่าบางองค์กรจะต ้องมีข ้อจากัดใน
การควบคุมการใช ้และการกาจัดผลิตภัณฑ์หรือวัตถุดบ ิ เหลือใช ้ เช่นอาจมีการกาจัดโดยผู ้ใช ้เองแต่อย่างไรก็ตาม
ในทางปฏิบต ั อ
ิ งค์กรสามารถติดต่อองค์กรหรือผู ้ทีม
่ ก
ี ระบวนการวิธก ี ารในการกาจัดของเสียเหล่านัน ้ ทีไ่ ด ้รับอนุญาต
และทีอ ่ งค์กรก็มคี วามสามารถในการควบคุมในทางอ ้อม ซึง่ วิธก ี ารนีไ้ ม่มค
ี วามตัง้ ใจทีจ
่ ะเพิม
่ ภาระเรือ
่ งการปฏิบต ั ิ
ตามกฎหมายให ้แก่องค์กร

่ นแปลงทางด ้านสิง่ แวดล ้อมไม่วา่ จะเป็ นส่วนดีและส่วนทีไ่ ม่ดท


การเปลีย ้ ทัง้ หมดหรือบางส่วนซึง่ เกิดจาก
ี งั ้ ทีเ่ กิดขึน
สาเหตุของปั ญหาสิง่ แวดล ้อมตามทีอ่ งค์กรกาหนดนัน ้ ก่อให ้เกิดผลกระทบสิง่ แวดล ้อม ซึง่ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ปั ญหาสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบทีเ่ กิดขึน
้ นัน
้ สามารถเรียกได ้ว่าเป็ นเรือ
่ งของ “สาเหตุและผลทีเ่ กิดขึน ้ ”

องค์กรบางองค์กรอาจมีปัญหาสิง่ แวดล ้อมเป็ นจานวนมากซึง่ ก่อให ้เกิดผลกระทบสิง่ แวดล ้อมทีซ ่ บ ั ซ ้อน องค์กร
ี ารในการระบุและพิจารณาปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส
จะต ้องสร ้างเกณฑ์และวิธก ่ าคัญเหล่านัน ้ ไม่มวี ธิ ก
ี ารใดวิธกี ารหนึง่

ในการพิจารณาปั ญหาสิงแวดล ้อมให ้ครอบคลุมได ้ทัง้ หมด อย่างไรก็ตามวิธก ี ารทีใ่ ช ้ในการพิจารณาจะต ้อง
่ วข ้องกับสิง่ แวดล ้อม กฎหมายและความ
สอดคล ้องกับเกณฑ์และผลของการประเมินทีไ่ ด ้รับ เช่น ประเด็นทีเ่ กีย
สนใจขององค์กรทีส ่ ามหรือผู ้ทีเ่ กีย
่ วข ้อง

ขณะทีอ ่ วข ้องกับปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม


่ งค์กรมีการพัฒนาข ้อมูลทีเ่ กีย ่ น
ี ัยสาคัญ องค์กรจะต ้องพิจารณาความต ้องการ
ในการจัดเก็บข ้อมูลสาหรับอ ้างอิงพร ้อมกันกับออกแบบและการนาไปปฏิบต ิ องระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
ั ข

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 11 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

กระบวนการในการระบุและประเมินปั ญหาสิง่ แวดล ้อมจะต ้องนาค่าใช ้จ่ายและเวลามาใช ้ในการพิจารณาและ


วิเคราะห์ความพร ้อมทัง้ ปริมาณข ้อมูลทีม ี ยู่ การระบุประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม ยังไม่ต ้องมีการวิเคราะห์วงจรชีวต
่ อ ิ
เข ้ามาเกีย
่ วข ้องก็ได ้ (life cycle) ข ้อมูลทางด ้านกฎหมาย ค่ามาตรฐานและอืน ่ ๆ ก็สามารถนามาใช ้ในกระบวนการ
พิจารณานีไ้ ด ้เช่นกัน

นิยาม ประเด็นสงิ่ แวดล้อม


องค์ประกอบของกิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์หรือบริการขององค์กรทีส ่ ามารถมีผลต่อสิง่ แวดล ้อม
หมายเหตุ 1 : ประเด็นสิง่ แวดล ้อมสามารถเป็ นสาเหตุตอ ่ ผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม ประเด็นส่งแวดล ้อมที่
มีนัยยะ เป็ นหนึง่ ทีม
่ ห
ี รือสามารถมีผลกระทบต่อหนึง่ ผลกระทบทีม ี ัยสาคัญต่อสิง่ แวดล ้อมหรือมากกว่า
่ น
หมายเหตุ 2 ; ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ี ัยยะ องค์กรพิจารณาโดยใช ้เกณฑ์โดยเกณฑ์หนึง่ หรือหลาย
่ น
เกณฑ์ก็ได ้

นิยามของประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบตามข ้อกาหนด ISO 14001


ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม
• ่ หมายถึงสงิ่ ใดก็ตามที่
ISO 14001 ใช ้คาว่าประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม (environmental aspect) เมือ
เกิดจากกิจกรรมและผลผลิตหรือบริการขององค์กรทีอ ่
่ าจมีผลกระทบต่อสิงแวดล ้อมได ้
• กิจกรรมหมายถึงอะไรก็ตามทีอ ่ งค์กรนัน
้ กระทาในการประกอบการ ผลิตภัณฑ์คอ ื สิง่ ทีไ่ ด ้จากกระบวนการ
ผลิต บริการคือกิจกรรมทีท
่ าเพือ่ สนับสนุนการผลิต
• ผลกระทบสิง่ แวดล ้อมอาจเป็ นด ้านบวกหรือด ้านลบก็ได ้

ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส ่ ง่ ผลกระทบ


่ าคัญ(Significant environmental aspects) หมายถึงประเด็นปั ญหาทีส
ต่อสิง่ แวดล ้อมอย่างมากหรือมีศกั ยภาพทีจ่ ะส่งผลกระทบรุนแรง

่ งสัมพัทธ์ของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์หรือบริการ
คาว่าสาคัญนี้ เป็ นการจัดลาดับ ความสาคัญ โดยการประเมินความเสีย
ต่างๆ ดังตัวอย่างทีแ่ สดงในตาราง

Environmental Aspect Environmental Impact

การตัดไม ้ทาลายป่ า - สูญเสียทีอ


่ ยูอ
่ าศัยของสัตว์ป่าและความหลากหลายทาง
ชีวภาพ
- สูญเสียความสามารถการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
- เพิม
่ การพังทลายของหน ้าดินและโคลนถล่ม
- ทาลายแหล่งต ้นน้ าลาธาร
- สูญเสียชุมชนหรือพืน ้ ทีเ่ ดิม
- ผลกระทบต่อความงดงามตามธรรมชาติ

การปล่อยน้ าเสียจากโรงงานเยือ
่ กระดาษ - ผลกระทบต่อคุณภาพน้ าในด ้านค่าของแข็งแขวนลอย ค่าบี
โอดี และสารพิษ และผลกระทบต่อการใช ้น้ า
- ทาให ้คุณภาพอากาศลดลงเนือ ่ งจาก ก๊าซ
การปล่อยไอเสียจากยานพาหนะ คาร์บอนมอนอกไซด์ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ฝุ่ นละออง

การรั่วไหลของน้ ามันจากถังเก็บหรือท่อ - การปนเปื้ อนของดิน


ส่ง - การปนเปื้ อนของน้ าผิวดินและน้ าใต ้ดิน
- อันตรายต่อสัตว์ป่า

ผลกระทบสิง่ แวดล ้อมหมายรวมถึงผลกระทบต่ออากาศ น้ า (น้ าใต ้ดินและน้ าผิวดิน) ทีด


่ นิ พืช สัตว์ป่า ชุมชน
วัฒนธรรมประเพณี ความงดงามทางธรรมชาติ การนันทนาการและปฏิสม ั พันธ์ระหว่างสิง่ เหล่านี้
ผลกระทบอาจเกิดเป็ นฤดูกาล เกิดในระดับท ้องถิน
่ ระดับภาคหรือระดับทั่วโลกก็ได ้ (เช่น ฝนกรด สารทาลาย
โอโซน ผลกระทบต่อบริเวณท ้ายน้ าของแม่น้ าโขง)

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 12 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

การระบุประเด็นปัญหาสงิ่ แวดล้อมและผลกระทบ
เมือ่ จะทาการระบุและประเมินความสาคัญของปั ญหาสิง่ แวดล ้อม ต ้องพิจารณาองค์ประกอบทัง้ หมดในการ
ปฏิบต ั งิ านของบริษัท มิใช่พจ ิ ารณาแต่กจิ กรรมการผลิตเท่านัน ้ ตัวอย่างเช่น บริษัทส่วนใหญ่จะมีสานักงาน โรง
อาหาร และลานจอดรถซึง่ ทัง้ หมดนีอ ้ าจสร ้างผลกระทบสิง่ แวดล ้อมจากการทิง้ หรือปล่อยของเสีย ในการระบุ
ประเด็นปั ญหาและผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมให ้นับรวมการขนส่งวัตถุดบ ิ ไปยังหน่วยการผลิตและการขนส่ง
ผลิตภัณฑ์และกากของเสียจากหน่วยการผลิตด ้วยเสมอ ถังเก็บสารเคมีและเชือ ้ เพลิง กิจกรรมของห ้องปฏิบต ั ก
ิ าร
การจัดซือ ้ และคลังสินค ้า การซ่อมบารุง (เช่น การเชือ ่ ม การซ่อมยานพาหนะ การก่อสร ้าง การทาสี เป็ นต ้น) การ
ออกแบบวิจัยและวิศวกรรม งานบริการรักษาความปลอดภัย การตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉิน (เช่น ไฟไหม ้ สารเคมี
รั่วไหล ก๊าซรั่ว ภัยธรรมชาติ) สภาพการณ์อน ื่ ทีไ่ ม่ปกติ เช่น ในระหว่างการเริม ่ และการหยุดกระบวนการผลิต และ
กิจกรรมต่างๆจากผู ้รับเหมาและผู ้ขายสินค ้าล ้วนแล ้วแต่มป ี ระเด็นปั ญหาด ้านสิง่ แวดล ้อมทัง้ ทีก
่ อ
่ ให ้เกิดผลกระทบ
โดยตรงและมีศก ั ยภาพทีก ่ อ
่ ให ้เกิดผลกระทบได ้

มีหลายเทคนิคทีส ่ ามารถนามาใช ้ในการรวบรวมประเด็นปั ญหาและผลกระทบสิง่ แวดล ้อมของบริษัท โดยปกติแล ้ว


วิธที ด ี่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ คือการระดมความคิดของบุคลากรจากหลายๆหน่วยงาน แม ้แต่บค ุ คลทีอ
่ ยูใ่ นหน่วยงานหรือปฏิบต
ั งิ านใน
ทีท่ ไี่ ม่มใี ครสนใจก็สามารถให ้ข ้อเสนอแนะทีเ่ ป็ นประโยชน์ได ้ ซึง่ ผู ้เชีย
่ วชาญอาจจะมองข ้ามไป ประเด็นปั ญหาและ
ผลกระทบสิง่ แวดล ้อมควรครอบคลุมทุกกิจกรรม สินค ้าและบริการของบริษัท

ทาไมต้องระบุประเด็นปัญหาสงิ่ แวดล้อม

การระบุประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมเป็ นงานแรกทีต ่ ้องทาในขัน ้ ตอนการวางแผนงานของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม


เนือ ่ งจากการตัดสินใจว่าจะควบคุมประเด็นปั ญหาทีส ่ าคัญทีส่ ด ุ อย่างไรนัน ้ เป็ นสิง่ สาคัญลาดับแรกในช่วงเริม ่ ต ้นของ
งานระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ระบบ ISO 14001 ต ้องการให ้องค์กรจัดทาวัตถุประสงค์และเป้ าหมายทาง
สิง่ แวดล ้อมเพือ่ ให ้แก ้ไขปั ญหาทีส ่ าคัญ ดังนัน้ การรวบรวมประเด็นปั ญหาอย่างครอบคลุมและเป็ นระบบ และวิธก ี าร
กาหนดลาดับความสาคัญเป็ นขัน ้ ตอนแรกทีจ ่ าเป็ นเพือ
่ บรรลุเป้ าหมายนี้ การควบคุมการปฏิบต ั งิ าน เช่น เครือ่ งมือ
การซ่อมบารุง ขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน เทคนิคและเทคโนโลยีการลดมลพิษต ้องมุง่ เน ้นไปทีป ่ ั ญหาทีม ่ ค
ี วามเสีย่ งสูง
ทีส ่ ดุ (ปั ญหาทีส่ าคัญทีส ่ ดุ ) และการฝึ กอบรมบุคคลเพือ ่ เพิม
่ พูนความรู ้และทักษะทีจ ่ าเป็ นในการควบคุม
กระบวนการและการตัดสินใจในเรือ ่ งทีส
่ าคัญอย่างมีประสิทธิผล ขึน ้ อยูก
่ บั การกาหนดความสาคัญของประเด็น
ปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีถ ่ ก
ู ต ้อง

การแปลความหมายของข้อกาหนด ISO 14001

ในข ้อกาหนดของ ISO14001 มีคาทีใ่ ช ้อยูเ่ สมอดังนี้


• การจัดทา (Establish) ใน ISO หมายถึง การพัฒนา การดาเนินการ การจัดทาขึน ้
• การคงไว ้ (Maintain) หมายถึง ทาให ้ทันสมัย ตรงประเด็น และถูกต ้อง
• ขัน้ ตอนการปฏิบต
ั งิ าน (Procedure) หมายถึง ลาดับของการกระทาทีต ่ ้องการเพือ่ ทาให ้งานสาเร็จ
อย่างได ้ผลและสม่าเสมอ (ขัน ้ ตอนการปฏิบต
ั งิ านบางขัน
้ ตอนของ ISO14001 ต ้องจัดทาเป็ น
เอกสาร)
• การจัดทาเป็ นเอกสาร (Documented) หมายถึง การเขียนลงบนกระดาษหรือลงในสือ ่ อิเล็กทรอนิกส์

นอกจากนีอ้ งค์กรยังต ้องให ้ความสนใจเป็ นพิเศษกับประเด็นปั ญหาด ้านสิง่ แวดล ้อมทีอ


่ งค์กรควบคุมได ้ ซึง่ หมายถึง
การดาเนินงานทีก ่ ารจัดการของบริษัทจะส่งผลในทางใดทางหนึง่ ตัวอย่างเช่น การจัดการมีการควบคุมในเรือ ่ ง:
• การออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต
• การเลือกเครือ ่ งมือและสถานทีต ่ ด
ิ ตัง้
• แหล่งวัตถุดบ ิ
• การปล่อยของเสียสูส ่ งิ่ แวดล ้อม
• การเลือกผู ้รับเหมาและผู ้ขายสินค ้า
• วิธก ี ารลดของเสียทีเ่ กิดขึน ้ หรือของเสียทีต่ ้องนาไปกาจัด
• ใช ้วัสดุและสิง่ ของทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล ้อมมากขึน ้

การจัดการอาจจะไม่สามารถควบคุมได ้โดยตรง แต่สามารถผลักดันได ้โดย :


• ให ้ผู ้รับเหมาช่วงหรือ ซัพพลายเออร์ มีระบบจัดการสิง่ แวดล ้อม
• กาหนดข ้อกาหนดด ้านสิง่ แวดล ้อมให ้ผู ้รับเหมาช่วงหรือ ซัพพลายเออร์ ปฏิบต
ั ิ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 13 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ี่ งหรือน ัยสาค ัญ (Assessment of Risk or Significant)


การประเมินความเสย

มีเทคนิคจานวนมากสาหรับนามาใช ้ในการประเมินความเสีย
่ งเพือ
่ หานัยสาคัญของปั ญหาสิง่ แวดล ้อม โดยทั่วไปวิธ ี
ทีง่ า่ ยคือวิธท
ี ด
ี่ ท
ี ส
ี่ ด

นิยามพืน
้ ฐานของความเสีย ่ งคือ
่ ง = ความน่าจะเป็ น x ผลทีเ่ กิดขึน
ความเสีย ้
หรืออีกนัยหนึง่
นัยสาคัญ = ความถี่ x ขนาดของผลกระทบ

ผลของเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน
้ (ขนาด/ความรุนแรง) (consequence (Magnitude/ Severity) of Occurrence)

ใช ้คะแนน 1 ถึง 5 เป็ นค่าประเมินขนาดหรือความรุนแรงของผลกระทบสิง่ แวดล ้อมและสุขภาพอนามัยจากแต่ละ


ประเด็นปั ญหา ( 1 เป็ นระดับทีม ่ ผ
ี ลกระทบตา่ 5 เป็ นระดับทีม ี ลกระทบรุนแรง) การให ้คะแนนอาจใช ้ความเห็นส่วน
่ ผ
บุคคลซึง่ จะขึน
้ อยูก ั ความรู ้หรือวิจารณญาณของผู ้ให ้คะแนนซึง่ เป็ นตัวแทนจากแผนกต่างๆทีเ่ กีย
่ บ ่ วข ้อง นอกจากนี้
ยังประเมินผลกระทบในด ้านกฎหมาย ธุรกิจ และการเงินด ้วยโดยใช ้ระดับคะแนนทานองเดียวกัน (กล่าวคือ 1 เป็ น
ความเสียหายจากการละเมิดข ้อกฎหมายและเสียค่าใช ้จ่ายในระดับตา่ 5 เป็ นระดับทีเ่ กิดความเสียหายรุนแรงจาก
การฝ่ าฝื นกฎหมายและองค์กรต ้องเสียค่าใช ้จ่ายสูง) และตัวทีส ี่ ต
่ ท ี่ ้องประเมินคือผลกระทบต่อภาพลักษณ์และ
่ เสียงขององค์กร นาคะแนนทัง้ สีส
ชือ ่ ว่ นมาบวกกันจะได ้คะแนนรวมสาหรับผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมของแต่ละ
ประเด็น

ความน่าจะเป็ น (ความถี/่ ความเป็ นไปได ้) ของการเกิดเหตุการณ์ (Probability (Frequency/Likelihood) of


Occurrence)

ความน่าจะเป็ นของการเกิดผลกระทบสิง่ แวดล ้อมจากแต่ละประเด็นปั ญหาจะใช ้ระดับคะแนน 1 ถึง 5 เช่นกัน


(กล่าวคือ 1 โอกาสเกิดขึน ้ ตา่ มากหรือยากทีจ่ ะเกิดขึน
้ ; 5 โอกาสเกิดขึน้ สูงมากหรือเกิดขึน
้ ทุกวัน) การประเมินผล
กระทบจะพิจารณารวมกับมาตรการลดผลกระทบของกระบวนการ เช่นการควบคุมการปล่อยของเสีย จะใช ้ระดับ
คะแนน 1 ถึง 5 เช่นกัน แต่มค ี วามหมายตรงกันข ้ามโดยที่ 1 เป็ นระดับความสามารถในการควบคุมสูง; 5 เป็ นระดับ
ทีค
่ วบคุมได ้ตา่ หรือควบคุมไม่ได ้ เมือ
่ นาคะแนนโอกาสทีจ ่ ะเกิดรวมกับคะแนนมาตรการลดผลกระทบ ผลรวมทีไ่ ด ้จะ
เป็ นระดับของความน่าจะเป็ นของการเกิดเหตุการณ์ของผลกระทบ

การกาหนดประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส


่ าคัญ (Designation of Significant Environmental Aspects)

นาคะแนนผลทีเ่ กิดมาคูณกับคะแนนความน่าจะเป็ นทีจ ่ ะเกิดของแต่ละประเด็นปั ญหา จะได ้ค่าระดับความเสีย่ ง


สัมพัทธ์ ISO 14001 ไม่ได ้กาหนดระดับความเสีย ่ งทีอ่ งค์กรต ้องมีมาตรการป้ องกันหรือกาหนด วัตถุประสงค์และ
เป้ าหมายเพือ ่ การปรับปรุง การตัดสินใจขึน ้ อยูก
่ บ
ั การบริหารจัดการของบริษัท แต่ละองค์กรต ้องกาหนดเกณฑ์
สาหรับความมีนัยสาคัญของผลกระทบเอง โดยการพิจารณาทบทวนอย่างเป็ นระบบถึงประเด็นปั ญหาด ้าน
สิง่ แวดล ้อมรวมทัง้ ผลกระทบทีเ่ กิดขึน
้ จริงและทีค ่ าดว่าจะเกิดขึน ้ ได ้

สรุปประเด็นสาค ัญ
— องค์กรควรมีขน ั ้ ตอนในการระบุประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมรวมทัง้ ผลกระทบจากทุกกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และ
บริการอย่างเป็ นระบบ และปรับปรุงข ้อมูลเหล่านีใ้ ห ้ทันสมัยอยูเ่ สมอ
— ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมต ้องครอบคลุมถึงการปฏิบต ั งิ านทัง้ ในสภาพทีเ่ ป็ นปกติและผิดปกติของการ
ดาเนินงาน เช่น กระบวนการเริม ่ การผลิตและหยุดการผลิต สถานการณ์ฉุกเฉิน องค์ประกอบทัง้ หมดซึง่
รวมถึงการสนับสนุนการบริการ การซ่อมบารุง การเก็บรักษา การขนย ้ายและการขนส่งวัสดุอป ุ กรณ์ และผล
ตกค ้างจากการดาเนินการก่อนหน ้า
— ผลกระทบสิง่ แวดล ้อม (environmental impacts ) อาจหมายรวมถึงผลกระทบต่ออากาศ น้ า ดิน มนุษย์
พืชป่ าสัตว์ป่า คุณค่าทางประเพณีและวัฒนธรรม และความงดงามตามธรรมชาติ
— ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยสาคัญ(Significant environmental aspects) คือปั ญหาทีท ่ าให ้เกิดผล
กระทบต่อสิง่ แวดล ้อมได ้อย่างมีนัยสาคัญ(Significant environmental impacts)
— องค์กรต ้องกาหนดประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม ่ นี ัยสาคัญ(Significant environmental aspects) โดย
กระบวนการทีเ่ ป็ นระบบและสมเหตุสมผล
— สูตรอย่างง่ายสาหรับการหาความมีนัยสาคัญขึน ้ อยูก ่ บ
ั ค่าความเสีย ่ งทางสิง่ แวดล ้อมคือ
— ความเสีย ่ ง = ความน่าจะเป็ น x ผลทีเ่ กิดขึน

— ต ้องทาการประเมินประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมเมือ ่ มีการเปลีย ่ นแปลงกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ การ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 14 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ติดตัง้ วัตถุดบ
ิ หรือกากของเสีย
่ วกับประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม ผลกระทบและ
— แม ้ว่าจะไม่ได ้กาหนดมาตรฐานไว ้ แต่ข ้อมูลทัง้ หมดเกีย
นัยสาคัญของผลกระทบควรจัดทาเป็ นเอกสารในรูปแบบของตารางข ้อมูล

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 15 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

6.1.3 ข้อผูกพ ันทีต


่ อ
้ งปฏิบ ัติตาม
6.1.3 ข้อผูกพ ันทีต ่ อ ้ งปฏิบ ัติตาม
องค์กรต ้อง
a) พิจารณาและเข ้าถึงข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต
ั ต ่ วข ้องกับประเด็นด ้านสิง่ แวดล ้อม
ิ ามทีเ่ กีย
b) พิจารณาวิธก ี ารในการประยุกต์ใช ้ข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต ั ต ิ ามกับองค์กร
c) นาเอาข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต
ั ต
ิ ามไปเมือ่ จัดทา นาไปปฏิบต ั ิ ธารงรักษา และ ปรับปรุงระบบการบริหาร
สิง่ แวดล ้อมอย่างต่อเนือ ่ ง

องค์กรต ้องธารงรักษาเอกสารสารสนเทศซึง่ ข ้อผูกพันทีต


่ ้องปฏิบต
ั ต
ิ าม
หมายเหตุ ข ้อผูกพันทีต
่ ้องปฏิบต
ั ต
ิ ามสามารถส่งผลต่อความเสีย่ งและโอกาสขององค์กร

ทว่ ั ไป

พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องสามารถส่งผลต่อความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องค ้นหา ทัง้ นีก ้ ละการ
้ ารบ่งชีแ
เข ้าถึงพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ี ารประยุกต์ใช ้กับองค์กรเป็ นขัน
ั ใิ ห ้สอดคล ้องรวมถึงความเข ้าใจวิธก ้ แรกในการทาให ้
มั่นใจในการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง

กระบวนการนีค
้ วรทาให ้องค์กรสามารถพิจารณาและตระเตรียมความต ้องการรวมถึงความคาดหวังใหม่หรือที่
่ นแปลงจากผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย เพือ
เปลีย ่ จะสามารถดาเนินการปฏิบต
ั ก
ิ ารตระเตรียมตามความเหมาะสมเพือ
่ รักษา
ความสอดคล ้อง

องค์กรควรทาให ้มั่นใจว่าข ้อมูลเกีย่ วกับพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ่ สารถึงบุคลากรทีท


ั ใิ ห ้สอดคล ้องมีการสือ ่ างานภายใต ้
การควบคุมขององค์กร (โดยรวมถึงผู ้ให ้บริการจากภายนอก อาทิเช่น ผู ้รับเหมาหรือผู ้จัดหา (ซัพพลายเออร์)) ทีม ่ ี
ความรับผิดชอบเกีย ่ วกับหรือทีม่ ป
ี ฏิบต
ั กิ ารทีส
่ ามารถส่งผลต่อการบรรลุพน ั ธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง

ข้อกาหนดทางกฎหมาย

ทาไมข้อกาหนดกฎหมายจึงเป็นสงิ่ สาค ัญ

ตามนโยบายด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กรมีข ้อผูกพันทีส ่ าคัญอย่างหนึง่ ทีต


่ ้องทา คือการปฏิบัตติ ามกฎหมายและ
กฎระเบียบทีเ่ กีย ่ วข ้อง ซึง่ สิง่ ทีส
่ าคัญคือความตระหนั กในข ้อผูกมัดของกฎหมายและกฎระเบียบ นอกจากนี้เมือ ่

องค์กรจะกาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมายทางสิงแวดล ้อมต ้องมีการพิจารณากฎหมายและข ้อกาหนดทีเ่ กีย ่ วข ้อง
นอกเหนือไปจากข ้อกาหนดของ ISO 14001 แล ้ว การไม่ปฏิบต ั ต
ิ ามกฎหมายสามารถทาให ้เกิดความเสียหายอย่าง
ใหญ่ห ลวงต่อ องค์ก รได ้ทัง้ ในเรื่อ งการเงิน เวลา การสูญ เสีย ผลผลิต ลูก ค ้าขาดความเชือ ่ มั่น เสีย ชือ
่ เสีย งและ
ความสัมพันธ์ต่อสาธารณชน กล่าวอีกนั ยหนึง่ การปฏิบัตต ิ ามกฎหมายและกฎระเบียบด ้านสิง่ แวดล ้อมเป็ นสิง่ สมควรที่
ต ้องปฏิบต
ั เิ ป็ นอย่างยิง่

ความหมายของกฎหมายและข้อกาหนดอืน
่ ๆคืออะไร

ข้อกาหนดด้านกฎหมาย
ครอบคลุมถึงสิง่ เหล่านี้ :

• กฎหมายและกฎระเบียบระดับประเทศ ระดับภาค/จังหวัดและระดับท ้องถิน ่ วข ้องกับสิง่ แวดล ้อมและ


่ ทีเ่ กีย
ระบบนิเวศ
• ใบอนุญาตการประกอบการทีอ ่ นุมัตโิ ดยรัฐบาล
• มาตรฐานและสนธิสัญญาระหว่างประเทศ (เช่น สนธิสัญญาเกียวโตเรือ ่ งก๊าซเรือนกระจก พิธส ี ารมอนตรี
้ โอโซน อนุ สั ญ ญาบาเซลเรื่อ งการค ้ากากของเสีย อั น ตรายระหว่า งประเทศ
ออล เรื่อ งสารท าลายชัน
ั ญาความหลากหลายทางชีวภาพ ข ้อตกลงการค ้าสัตว์ใกล ้สูญพันธุ)์
อนุสญ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 16 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

• ข ้อผูกพันทางกฎหมายทีเ่ กิดจากสัญญาการเป็ นหุ ้นส่วนขององค์กร

องค์กรสามารถเข ้าถึงแหล่งข ้อมูลหนึง่ แหล่งหรือมากกว่านัน ้ ในฐานะวิธก ้ ้อกาหนดทางกฎหมาย


ี ารในการบ่งชีข
่ วกับประเด็นสิง่ แวดล ้อมขององค์กร แหล่งดังกล่าวจะมีหน่วยงานราชการด ้านระเบียบ สมาคมอุตสาหกรรมหรือ
เกีย
กลุม่ การค ้า ฐานข ้อมูลและการตีพม
ิ พ์ด ้านการค ้ารวมถึงทีป
่ รึกษาและบริการมืออาชีพ กระบวนการควรทาให ้องค์กร
สามารถคาดหวังและตระเตรียมข ้อกาหนดทางกฎหมายทีใ่ หม่หรือมีการเปลีย ่ นแปลงเพือ่ ว่าจะสามารถรักษาความ
สอดคล ้องไว ้ได ้

แนวทางและการดารงไว้ซงึ่ ความตระหน ักในด้านกฎหมาย


แนวทางข้อกาหนดด้านกฎหมาย

มีหลายทางทีจ ่ ะปฏิบัตใิ ห ้ได ้ตามข ้อกาหนดของกฎหมาย บุคลากรในแผนกกฎหมายของบริษัทอาจช่วยงานนี้ได ้


โดยการค ้นหาจากวารสารด ้านกฎหมายเพือ ่ ให ้ได ้ข ้อมูลล่าสุด รวมทัง้ ทบทวนและวิจารณ์กฎหมายทีจ
่ ะนามาบังคับ
ใช ้ และอาจใช ้บริการจากบริษัททีป ่ รึกษาด ้านกฎหมายเมือ ่ ต ้องการทราบกฎหมายเฉพาะด ้านก็ได ้

สมาคมอุตสาหกรรมทีอ ่ งค์กรเป็ นสมาชิกอยู่นัน้ อาจเป็ นแหล่งข ้อมูลทีม


่ ป
ี ระโยชน์ด ้านกฎหมายและกฎระเบียบที่
เกีย่ วข ้องกับ กิจ กรรมเฉพาะของบริษัท กฎหมายทีเ่ สนอให ้มีก ารเปลีย ่ นแปลงและทีก ่ าลัง จะก าหนดขึน
้ มาใหม่
หน่วยงานรัฐบาลอาจพิมพ์เผยแพร่กฎหมายทีอ ่ อกใหม่หรือทีเ่ ตรียมจะออกใหม่ การตีความกฎหมายและกฎระเบียบ
ปั จ จุบัน และการติดต่อกับบุค คลทีท ่ างานด ้านกฎหมายในหน่ วยงานรัฐ ทีเ่ กีย ่ วข ้องจะช่วยให ้องค์กรทราบข ้อมูล
ล่วงหน ้าว่าจะมีกฎหมายใดกาลังจะประกาศออกมาใหม่

การสร้างและการคงไว้ซงึ่ ความตระหน ักด้านกฎหมายภายในองค์กร

เมือ่ องค์กรได ้ติดตัง้ ระบบเพือ่ เป็ นแหล่งข ้อมูลด ้านกฎหมายและข ้อกาหนดทีเ่ กีย ่ วข ้องกับสิง่ แวดล ้อมแล ้ว ต ้องมีการ
กาหนดขัน ้ ตอนการทางานขึน ้ เพือ
่ เก็บรวบรวมเอกสารลงในแฟ้ มเอกสาร มีการสรุปในส่วนทีส ่ าคัญทุกวันและให ้ทุก
คนในองค์กรสามารถเข ้าถึงข ้อมูลกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้องกับหน ้าทีค
่ วามรับผิดชอบของตนได ้ บุคคลเหล่านีจ ้ ะหมายถึง
ผู ้บริหารอาวุโส หัวหน ้าแผนกปฏิบัตก ิ าร บุคลากรในแผนกจัดการของเสียและสิง่ แวดล ้อม และรวมถึงทีมงานการ
รับ/ส่งสินค ้า การจัดซือ ้ จัดหา การซ่อมบารุง การฝึ กอบรมและทรัพยากรมนุษย์

ควรทาการลงทะเบียนหรือบันทึกข ้อกฎหมายทีเ่ ชือ ่ มโยงกับการปฏิบัตงิ านทีเ่ กีย


่ วข ้อง รวมทัง้ ประเด็นปั ญหาด ้าน
สิง่ แวดล ้อมและผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อม ดังนัน ่ มีการกาหนดเป็ นวัตถุประสงค์และเป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อมแล ้ว
้ เมือ
จึงควรมีแนวทางปฏิบตั ใิ ห ้ถูกต ้องตามกฎหมายด ้วย

ข้อกาหนดอืน
่ ๆ

องค์กรยังควรกาหนดวิธท ี พ
ี่ ันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้องอืน ่ ะนาไปปรับใช ้โดยริเริม
่ ๆ ทีจ ่ จากผู ้มีสว่ นได ้ส่วน
เสียอืน ่ วกับประเด็นสิง่ แวดล ้อมขององค์กร
่ ๆ ตามทีร่ ะบุไว ้ในข ้อ 4.2 เกีย

รวมถึงสิง่ เหล่านี้ :

• ข ้อตกลงและนโยบายด ้านสิง่ แวดล ้อมทีจ ่ ัดทาขึน


้ โดยสมาคมอุตสาหกรรมทีอ ่ งค์กรเป็ นสมาชิก
• ระเบียบการปฏิบัตใิ นอุตสาหกรรมทีเ่ กีย
่ วข ้องกับองค์กร (เช่น เยือ
่ และกระดาษ เหมืองแร่ น้ ามันและก๊าซ
การผลิตสารเคมีและยา)
• ข ้อตกลงขององค์กรกับรัฐบาลและชุมชน
• ข ้อตกลงการปฏิบต
ั ต
ิ ามโดยสมัครใจกับชุมชนหรือองค์กรพัฒนาเอกชน
• นโยบายและขัน้ ตอนการทางานของบริษัทรวมถึงขององค์กรแม่

เอกสารข ้อมูล

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 17 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

องค์กรควรเก็บรักษาเอกสารข ้อมูลของพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องซึง่ สามารถอยูใ่ นรูปแบบของทะเบียน


หรือรายการซึง่ จะช่วยในการเก็บรักษาการตระหนักถึงและความโปร่งใสในด ้าน ข ้อกาหนดทีบ ่ งั คับใช ้ ทะเบียนนีค
้ วร
มีการทบทวนเป็ นระยะเพือ ่ ทาให ้มั่นใจว่ายังคงมีการอัพเดต
ทะเบียนหรือรายการนีจ ้ ะรวม
— ทีม ่ าของพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องโดยรวมผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียทีเ่ กีย ่ วข ้อง
— ภาพรวมของพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
— วิธท ี พ
ี่ ันธกรณีทตี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องเกีย ่ วข ้องกับแง่มม ุ และ/หรือข ้อกาหนดของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย
ขององค์กร

พ ันธกรณีทต
ี่ อ
้ งปฏิบ ัติให้สอดคล้อง

สรุปส่วนประกอบของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย


่ วข ้องกับพันธกรณีทต
ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้องไว ้ในรายการ
ต่อไปนี้

องค์กรควรกาหนด ดาเนินการและรักษากระบวนการทีจ ่ าเป็ นและมีทรัพยากรทีเ่ พียงพอต่อ


— ่
การตัง้ นโยบายสิงแวดล ้อมทีร่ วมคามั่นสัญญาในการบรรลุพน ั ธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง(ดูทข ี่ ้อ
5.2)
— การกาหนด การเข ้าถึงและการเข ้าใจวิธท ี จ ี่ ะประยุกต์ใช ้พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องเหล่านีก ้ บ ั
องค์กร (ดูทข ี่ ้อ 4.2 และ 6.1.3)
— การกาหนดวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมด ้วยการพิจารณาพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง(ดูทข ี่ ้อ
6.2)
— การบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเกีย ่ วกับข ้อกาหนดความสอดคล ้องด ้วย
o บทบาท ความรับผิดชอบ กระบวนการ วิธก ี ารและกรอบเวลาทีก ่ าหนดไว ้เพือ ่ บรรลุวต ั ถุประสงค์
ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วกับการบรรลุ พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง(ดูทข ี่ ้อ 6.1.4)
o การควบคุมการดาเนินงาน (โดยรวมกระบวนการตามความจาเป็ น) เพือ ่ ดาเนินคามั่นสัญญาใน
ด ้านความสอดคล ้อง และวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเกีย ่ วกับพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้
สอดคล ้อง(ดูทข ี่ ้อ 8.1)
— การทาให ้มั่นใจว่าบุคลากรทัง้ หมดทีท ่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กรมีความตระหนักถึง
กระบวนการทีเ่ กีย ่ วข ้องทีจ ่ ะประยุกต์ใช ้กับบุคลากรและผลทีต ่ ามมาสาหรับการล ้มเหลวในการบรรลุ
พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง(ดูทข ี่ ้อ 7.3)
— การทาให ้มั่นใจว่าบุคลากรทัง้ หมดทีท ่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กรมีความชานาญทีจ ่ าเป็ นใน
ด ้านพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องซึง่ เกีย ่ วกับกระบวนการทีป ่ ระยุกต์ใช ้กับบุคลากรรวมถึง
ความสาคัญของการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องบนพืน ้ ฐานการศึกษา การอบรมหรือ
ประสบการณ์ทเี่ หมาะสม (ดูทข ี่ ้อ 7.2)
— การกาหนดกระบวนการในการสือ ่ สารเกีย ่ วกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมโดยคานึงถึงพันธกรณีทต ี่ ้อง
ปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องขององค์กร (ดูทข ี่ ้อ 7.4)
— การประเมินการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องเป็ นระยะ ๆ (ดูทข ี่ ้อ 9.1.2);
— การบ่งชีต ้ วั อย่างความข ้อบกพร่องหรือความสอดคล ้อง และข ้อบกพร่องหรือความสอดคล ้องซึงอาจ
เกิดขึน ้ ได ้ทีเ่ ห็นล่วงหน ้ารวมถึงการปฏิบต ั ท ิ ันทีในการบ่งชี้ ดาเนินการและติดตามการปฏิบต ั กิ ารแก ้ไข
(ดูทขี่ ้อ 10.1)
— การเก็บรักษาเอกสารข ้อมูลในฐานะหลักฐานสาหรับผลการประเมินความสอดคล ้อง (ดูทข ี่ ้อ 9.1.2)
— การกล่าวถึงลักษณะเกีย ่ วกับการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องเมือ ่ มีการดาเนินการตรวจ
ติดตามระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมเป็ นระยะ ๆ (ดูทข ี่ ้อ 9.2)
— การพิจารณาการเปลีย ่ นแปลงในพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องเมือ ่ มีการดาเนินการทบทวนของ
ฝ่ ายบริหาร (ดูทข ี่ ้อ 9.3)

คามั่นสัญญาในด ้านพันธกรณีทต
ี่ ้องปฏิบต ่ งค์กรใช ้กับวิธก
ั ใิ ห ้สอดคล ้องสะท ้อนให ้เห็นถึงความคาดหวังทีอ ี ารเชิง
ระบบในการบรรลุและรักษาการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง

สรุปประเด็นสาค ัญ

• นโยบายสิ่ง แวดล อ้ มเป็ นภาระผู ก พั น ที่ อ งค์ก รก าหนดขึ้น เพื่ อ ปฏิบั ต ิต ามข ้อก าหนดกฎหมายด ้าน
สิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ วข ้อง

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 18 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

• เมื่อ ก าหนดวัต ถุป ระสงค์แ ละเป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อม องค์ก รต ้องค านึง ถึง กฎหมาย กฎระเบีย บและ
ข ้อกาหนดอืน ่ วข ้องกับสิง่ แวดล ้อม
่ ๆทีเ่ กีย
• องค์กรต ้องกาหนดขัน ้ ตอนการทางานทีจ ่ ะสามารถระบุ เข ้าถึง และตามทัน ข ้อกาหนดกฎหมายทีเ่ กีย
่ วข ้อง
กับสิง่ แวดล ้อม ข ้อตกลงอืน ่ ๆของสมาคมอุตสาหกรรมทีอ ่ งค์กรเป็ นสมาชิก ข ้อตกลงกับองค์กรต่างๆ และ
สัญญาทีม ี ้อผูกมัดด ้านสิง่ แวดล ้อม
่ ข
• ต ้องมีการมอบหมายความรับผิดชอบเกีย ่ วกับการลงทะเบียนด ้านกฎหมายและข ้อกาหนดอืน ่ ๆ
• ควรสรุปเนื้อหากฎหมายเพือ ่ แจกจ่ายให ้บุคลากรในองค์กรทีก ่ ารทางานอาจจะมีผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อม
หรืออาจทาผิดกฎหมายหรือละเลยการปฏิบต ั ต
ิ ามกฎหมาย

ประเด็นในการปฏิบ ัติและการตรวจประเมิน

1. ตรวจสอบการมีอยู่ หรือสามารถเข ้าถึงกฎหมายและข้อกาหนดอืน ่ ๆทีจ ่ าเป็นสาหรับกิจกรรมองค์กร


องค์กรสามารถระบุได ้ว่าองค์กรของตนนั น ้ มีกฎหมายหรือข ้อกาหนดอะไรบ ้างทีเ่ กีย ่ วข ้อง โดยการ
ตรวจสอบจากรายการกฎหมาย ข ้อกาหนด
2. ตรวจสอบว่า กฎหมายและข้อกาหนดอืน ่ ๆทีจ ่ าเป็น นัน ้ เป็ นฉบับทีท่ ันสมัย
3. ตรวจสอบว่ามีการจัดทาขัน ้ ตอนการปฏิบต ั ิ ในการชีบ ้ ง่ และรวบรวมกฎหมายและข ้อกาหนดอืน ่ ๆ ด ้าน
สิง่ แวดล ้อม หรือ ไม่ และมีร ายละเอีย ดครอบคลุม ประเด็ นต่าง ๆ เช่น วิธ ก ี ารติด ตามกฎหมายและ
ข ้อก าหนดอื่น ๆ การจั ด ท าระเบีย บกฎหมาย และการแจกจ่ า ยกฎหมายและข ้อก าหนดอื่น ๆ ให ้
ผู ้เกีย
่ วข ้อง เป็ นต ้น รวมถึงมีการปฏิบตั ต
ิ าม
4. ท าการตรวจสอบว่ า มีก ารใช ้ข ้อก าหนดกฎหมายที่เ กี่ย วข ้อง กั บ การประเมิน ประเด็ น ปัญ หา
สงิ่ แวดล้อมทีส ่ าค ัญอย่างไร
5. ทาการตรวจสอบ รายการประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม Environmental Aspects และ ตรวจสอบสถานที่
เพือ ่ ตรวจทานองค์กรมีกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้องครบถ ้วน

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 19 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

6.1.4 การวางแผนปฏิบ ัติการ

6.1.4 การวางแผนปฏิบ ัติการ


องค์กรต ้องวางแผน
a) เพือ ่ ดาเนินการกับ
1) ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น ี ัยสาคัญ
2) ข ้อผูกพันทีต่ ้องปฏิบต
ั ต ิ าม
3) ความเสีย ่ งและโอกาสทีไ่ ด ้ระบุใน 6.1.1
b) วิธกี าร
1) บูรณาการและนาไปปฏิบต ั ใิ นกระบวนการของระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม (ดูข ้อ 6.2, ข ้อ 7,
ข ้อ 8 และ 9.1)หรือ กระบวนการทางธุรกิจอืน ่ ๆ
2) ประเมินประสิทธิผลของกิจกรรมทีไ่ ด ้กระทา (ดู 9.1)

เมือ
่ ทาการวางแผนปฏิบต ั ก
ิ าร, องค์กรต ้องคานึงถึง ทางเลือกของเทคโนโลยีและการเงิน, ข ้อกาหนดในการ
ปฏิบต ั งิ าน และ ข ้อกาหนดทางด ้านธุรกิจ

ข ้อกาหนดนี้ ห ้ามไม่ให ้องค์กรองค์กรวางระบบตามข ้อกาหนดISO14001 ทีล


่ ะข ้อเหมือนในสมัยเดิมๆทีท
่ า หรือทา
การลอกเลียนแบบจากองค์กรอืน ่ โดยไม่ปรับปรุงให ้เหมาะสม

ในการการวางระบบ องค์กรต ้องพิจารณาและวางแผนวิธป


ี ฏิบต
ั โิ ดยขึน
้ อยูก ั ประเด็นสิง่ แวดล ้อมเฉพาะขององค์กร
่ บ
ตนตาม 6.1.1 – 6.1.3

องค์กรสามารถวางแผนในการปฏิบต ิ ารได ้หลายแนวทาง โดยใช ้กระบวนการของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมหรือควบ


ั ก
รวมกับกระบวนการทางธุรกิจอืน
่ ๆ รวมถึงการกาหนดประสิทธิผลในการปฏิบต ั ก
ิ ารทีด
่ าเนินการอีกด ้วย

การวางแผนปฏิบต ั ก ิ ารจะรวมถึงปฏิบต ั ก ่ ว เช่น การจัดตัง้ วัตถุประสงค์สงิ่ แวดล ้อม การกาจัดฝุ่ น การนา


ิ ารแบบเดีย
ขยะอันตรายออกนอกสถานประกอบการ การเตรียมพร ้อมกรณีฉุกเฉิน หรือกระบวนการทางธุรกิจอืน ่ ๆ ตัวอย่างเช่น
การประเมินผู ้จัดหา (ซัพพลายเออร์)
หรืออีกทางเลือกหนึง่ องค์กรสามารถผสมผสานปฏิบต ั ก
ิ ารต่างๆเข ้ากับการทางานรายวัน เช่น การล ้าง การพ่นสี
การผสมสี โดยมีวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมและการควบคุมการดาเนินงานทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการผสมผสานกับ
กิจกรรมกระบวนการตามโครงสร ้างองค์กร

ในการวางแผนปฏิบต ิ าร จะจัดหนักจัดเบา จะใช ้วิธใี ด องค์กรควรพิจารณาทางเลือกและความเป็ นไปได ้ด ้าน


ั ก
เทคโนโลยี รวมถึงข ้อกาหนดทางการเงิน การปฏิบต ั งิ านและทางธุรกิจ ด ้วยการปฏิบต
ั ก
ิ ารใด ๆ ตามทีว่ างแผนไว ้
รวมถึง พิจารณาความเป็ นไปได ้ทีจ ่ ะเกิดผลตามมาโดยไม่ตงั ้ ใจ ตัวอย่างเช่น ผลกระทบย ้อนกลับระยะสัน ้ หรือระยะ
ยาวด ้านสิง่ แวดล ้อมภายในวัฎจักรชีวต ิ ของผลิตภัณฑ์หรือบริการ

ในบางกรณี องค์กรสามารถเลือกทีจ
่ ะประเมินประสิทธิผลของปฏิบต ิ ารระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม เช่น ผ่านระบบ
ั ก
บริหารอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหรือกระบวนการทางวิศวกรรมหรือธุรกิจ จะสามารถนามาอ ้างอิงภายในระบบ
บริหารสิง่ แวดล ้อมได ้

ตาราง A.1 แสดงให ้เห็นตัวอย่างต่าง ๆ ของประเด็นสิง่ แวดล ้อม ผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมรวมถึงความเสีย
่ งและ
โอกาสทีต
่ ้องค ้นหา อีกทัง้ มีปฏิบต
ั ก
ิ ารทีว่ างแผนไว ้ในการกล่าวถึงเรือ
่ งเหล่านีส
้ าหรับบางกิจกรรม

ตาราง A.3 แสดงให ้เห็นตัวอย่างต่าง ๆ ในด ้านความเสีย ่ งและโอกาสทีต


่ ้องมีการกล่าวถึง รวมถึงปฏิบต
ั ก
ิ ารทีจ
่ ะ
กล่าวถึงโดยเกีย
่ วข ้องกับพันธกรณีทต
ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง

่ งและโอกาสทีต
ตาราง A.4 แสดงให ้เห็นตัวอย่างต่าง ๆ ด ้านความเสีย ่ ้องค ้นหา รวมถึงปฏิบต
ั ก
ิ ารทีจ
่ ะกล่าวถึงโดย
เกีย
่ วข ้องกับปั ญหาและข ้อกาหนดอืน
่ ๆ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 20 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ตาราง A.1 — ตัวอย่างกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ และประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย


่ วข ้องกันรวมถึง
ผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม ความเสีย
่ งและโอกาสและปฏิบต
ั ก
ิ าร

กิจกรรม/ ประเด็น ประเด็น ่ งและความเสีย


ความเสีย ่ ง การวางแผนเพือ
่ ลงมือปฏิบ ัติ
ผลิตภ ัณฑ์ / สิง่ แวดล้อม สิง่ แวดล้อมจริง ทีต่ อ
้ งค้นหา
บริการ และทีเ่ ป็นไปได้
กิจกรรม – การดาเนินงานของหม้อต้มทีใ่ ช้นา้ ม ันเผา
การดาเนินงาน การใช ้น้ ามัน การพร่องของ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ แผนกการเงินสอบถามเพือ ่
ของหม ้อต ้ม ้ เพลิง
เชือ ทรัพยากรธรรมชาติ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) ้ เพลิงโดย
สังเกตการณ์ราคาเชือ
แบบสิน ้ เปลือง - ไม่มน ้ เพลิงใช ้
ี ้ ามันเชือ เปรียบเทียบกับสถานการณ์
- ต ้นทุนน้ ามันเชือ ้ เพลิง ต ้นทุนและดาเนินการวิเคราะห์
เพิม่ ขึน้ ประโยชน์ของต ้นทุน

โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น ตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม


ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้) เพือ ่ แทนแหล่งความร ้อนของ
- แทนแหล่งพลังงาน หม ้อต ้มโดยพลังงาน
ความร ้อนของหม ้อต ้ม แสงอาทิตย์
ด ้วยพลังงานแสงอาทิตย์
- ลดต ้นทุนดาเนินงาน
การปล่อยซัลเฟอร์ ผลกระทบด ้านการ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ ให ้มีการควบคุมการปฏิบัตงิ าน
ไดอ๊อกไซด์ หายใจของคน ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) เพือ
่ ทาให ้แน่ใจว่าจะสามารถ
ไนโตรเจนไดอ็อก ท ้องถิน
่ - ความล ้มเหลวในการ บรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบัตใิ ห ้
ไซด์และ CO2 บรรลุพันธกรณีทต ี่ ้อง สอดคล ้อง
อาทิเช่น ก๊าซ( ผลกระทบด ้านฝนที่ ปฏิบัตใิ ห ้สอดคล ้อง
เรือนกระจก) เป็ นกรดบนพืน
้ ผิว - ค่าปรับทีเ่ ป็ นไปได ้ ตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม
น้ า - ได ้รับชือ่ เสียงในทางลบ เพือ ่ ติดตัง้ เครือ
่ งมือการลดการ
โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น ปล่อยก๊าซทีเ่ หมาะสม
ภาวะโลกร ้อนและ ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้)
การเปลีย
่ นแปลง - ลดการปล่อยก๊าซ –
ของภูมอ
ิ ากาศ ติดตัง้ เครือ่ งกาจัดก๊าซ
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
การปล่อยน้ าทีผ
่ า่ น การเปลีย่ นแปลง โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น ตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม
ความร ้อน คุณภาพน้ า (อาทิ ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้) เพือ ่ ติดตัง้ ระบบการกู ้ความร ้อน
เช่น อุณหภูม)ิ - กู ้ความร ้อนจากน้ าเสีย
- ลดต ้นทุนการดาเนินงาน
การจัดเก็บ การปล่อยน้ ามันสู่ มลภาวะของดิน ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ พัฒนาแผนฉุกเฉินในการจัดการ
้ เพลิงของ
เชือ พืน
้ ดิน มลภาวะของน้ าที่ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) กับการรั่วไหลของถังและการ
หม ้อต ้มในถังใต ้ (สถานการณ์ พืน
้ - ต ้นทุนการทาความ ตอบสนองในการทาความ
ดิน ฉุกเฉิน) สะอาด สะอาด
- ค่าปรับ
โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น ให ้มีการควบคุมการปฏิบัตงิ าน
ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้) เพือ
่ ทดสอบการรั่วของถังเป็ น
แทนพลังงานความร ้อน- ระยะ ๆ
ของหม ้อต ้มด ้วย
พลังงานแสงอาทิตย์ ตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม
เพือ ่ แทนพลังงานความร ้อนของ
หม ้อต ้มด ้วยพลังงาน
แสงอาทิตย์

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 21 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ตาราง A.1 (ต่อ)


กิจกรรม/ ประเด็น ประเด็นสิง่ แวดล้อม ่ งและความเสีย
ความเสีย ่ งที่ การวางแผนเพือ
่ ลงมือปฏิบ ัติ
ผลิตภ ัณฑ์ / สิง่ แวดล้อม จริงและทีเ่ ป็นไปได้ ต้องค้นหา
บริการ
การจัดส่งและ การปล่อยน้ ามัน มลภาวะบนพืน
้ ผิวน้ า ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ พัฒนากระบวนการจัดส่ง
การโอนถ่าย ้ เพลิงลงท่อ
เชือ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้)
้ เพลิง
น้ ามันเชือ ระบายน้ าโดยไม่ม ี การสะสมทางชีวภาพ - ต ้นทุนการทาความสะอาด พัฒนาแผนฉุกเฉินเพือ ่ จัดการกับ
การควบคุม ของสารพิษในสัตว์ - ค่าปรับ การปล่อยทีไ่ ม่ได ้ควบคุมและการ
(สถานการณ์ ่ เสียงเชิงลบนาไปสู่
- ชือ ตอบสนองในการทาความสะอาด
ฉุกเฉิน) มูลค่าของบริษัทลดลง
กิจกรรม – การสร้างถนน
การก่อสร ้าง ของเหลวทีอ ่ อกมา การชะล ้างดิน ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ ดาเนินการการควบคุมการ
ระหว่างฝนตก จากพายุ (สภาพที่ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) ปฏิบัตงิ านเพือ
่ รักษาการไหลออก
หนัก ผิดปกติ) มลภาวะบนผิวน้ า - ต ้นทุนการทาความสะอาด ของตะกอน
- ค่าปรับ
การเสือ่ มสภาพของ ่ เสียงเชิงลบ (เนือ
- ชือ ่ งจาก พัฒนาแผนฉุกเฉินเพือ ่ บรรเทา
พืน
้ ดินทีช ุ่ น้ า
่ ม การเสือ ่ มสภาพของ การไหลออกทีไ่ ม่ได ้ควบคุม
)พืน ่ ารสูญเสีย
้ ดินนาไปสูก
โครงการก่อสร ้างในอนาคต พัฒนาการตอบสนองในการทา
ความสะอาด
กิจกรรม – เกษตรกรรม การปลูกข้าว –
อุทกภัยและการ การใช ้น้ า การพร่องของน้ า ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ พยายามสร ้างต ้นแบบการมีน้ าใช ้
เตรียมการนาข ้าว บาดาล ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) บนพืน ้ ฐานของสถานการณ์การ
- การเปลีย ่ นแปลงของ เปลีย
่ นแปลงของภูมอิ ากาศใน
ภูมอ ิ ากาศ อนาคต
- การพึง่ พาอาศัยบาดาลและ
ชัน้ หินอุ ้มน้ าทีล ่ กึ มากขึน ้ ลงทุนในโอกาสการทาวิจัย
ต ้นทุนน้ าสูงขึน ้ -
โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น
ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้)
หาพันธุข ์ ้าวทีท ่ นต่อการให-้
อาทิเช่น ต ้านการ( น้ าน ้อย
ขาดแคลนน้ ามากขึน ้ )
-ปลูกพืชทางเลือก
การใช ้สารกาจัด มลภาวะของดิน ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ สารวจศักยภาพในการลด/
ศัตรูพช
ื ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) ทดแทนการใช ้สารกาจัดศัตรูพช

การสะสมทางชีวภาพ - มลภาวะของน้ าบาดาล
ของสารพิษในสัตว์ - กลไกการดือ ้ สารกาจัด การควบคุมการปฏิบัตงิ านในการ
ส่งผลต่อผลกระทบ ศัตรูพช ื ใช ้งานสารกาจัดศัตรูพช

ด ้านสุขภาพย ้อนกลับ - การใช ้สารกาจัดศัตรูพช ื
เรือ
้ รังหรือการสูญเสีย เพิม่ ขึน ้ วิจัยวิธก
ี ารทานาแบบออร์แกนิค
สายพันธุส ั ว์
์ ต - ต ้นทุนเพิม ่ ขึน ้ ในปั จจุบัน
โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น
ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้)
ใช ้วิธกี ารทานาแบบออร์แก-
นิค
บริหารจัดการศัตรูพช ื แบบ-
บูรณาการ
ลดต ้นทุนค่าสารกาจัด
ศัตรูพช ื
การปล่อยก๊าซ CO2 ภาวะโลกร ้อนและการ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ วิจัยศักยภาพในการชดเชย
และมีเทน (อาทิ เปลีย่ นแปลงของ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) คาร์บอน
เช่น ก๊าซเรือน ภูมอ
ิ ากาศ - เป็ นผลร ้ายต่อภาพลักษณ์
กระจก) ขององค์กรและ
อุตสาหกรรม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 22 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ตาราง A.1 (ต่อ)


กิจกรรม/ ประเด็น ประเด็นสิง่ แวดล้อม ่ งและความเสีย
ความเสีย ่ งที่ การวางแผน
ผลิตภ ัณฑ์ / สิง่ แวดล้อม จริงและทีเ่ ป็นไปได้ ต้องค้นหา เพือ
่ ลงมือ
บริการ ปฏิบ ัติ
ผลิตภ ัณฑ์ –หม้อต้ม
การออกแบบ การลดการใช ้ การอนุรักษ์แหล่งพลังงาน โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น แคมเปญการตลาด
หม ้อต ้มทีม
่ ี ้ เพลิง
เชือ ทดแทน (ผลกระทบทีเ่ ป็ น ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้) เกีย่ วกับการลด
ประสิทธิผลสูง ประโยชน์) ยอดขายเพิม ่ ขึน้ - ต ้นทุนและคาร์บอน
่ เสียงดีขน
ชือ ึ้ เนือ ่ งจากการ-
ออกแบบทีม ่ น ี วัตกรรม
การแทนด ้วยวัสดุ การลดการสร ้าง การลดของเสียทีเ่ ป็ น โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น ให ้ข ้อมูลพร ้อม
ทีไ่ ม่มอ
ี น
ั ตรายใน ของเสียทีเ่ ป็ น อันตรายด ้วยการฝั งกลบ ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้) สินค ้าในด ้านการกู ้
ระยะ (phase) อันตรายเมือ ่ (ผลกระทบทีเ่ ป็ น ยอดขายเพิม ่ ขึน้ - คืนอย่างเหมาะสม
การออกแบบ หมดอายุการใช ้งาน ประโยชน์) ค่าปรับลดลงตามกฎหมายความ-
รับผิดชอบของผู ้ผลิต
ผลิตภ ัณฑ์ –กล่องหมึกพิมพ์
กล่องหมึกที่ ลดการใช ้วัสดุและ การอนุรักษ์แหล่งพลังงาน โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น ให ้ข ้อมูล ณ จุด
ออกแบบให ้ใช ้ พลังงาน ทดแทน (ผลกระทบทีเ่ ป็ น ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้) ขายผลิตภัณฑ์ใน
ใหม่ได ้ ประโยชน์) มอบกิจกรรมการให ้บริการต่าง ๆ- ด ้านวิธกี ารรีไซเคิล
ลดการสร ้างขยะมูล - ความสัมพันธ์กบั ลูกค ้าระยะ- กล่องหมึก
ฝอยเมือ่ หมดอายุ การลดของเสียงทีเ่ ป็ น ยาวขึน

การใช ้งาน อันตรายด ้วยการฝั งกลบ
(ผลกระทบทีเ่ ป็ น
ประโยชน์)
ผลิตภ ัณฑ์ –เครือ
่ งปร ับอากาศ
หน่วยปฏิบัตก ิ าร การใช ้ไฟฟ้ า การพร่องของ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ ประสิทธิผลของ
สาหรับผู ้บริโภค (องค์กรอาจ ทรัพยากรธรรมชาติแบบ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) มาตรฐานเหนือ
”โน ้มน ้าว“ สามารถ ้ เปลือง
สิน - สูญเสียยอดขายให ้กับผู ้ผลิต คูแ
่ ข่งอืน

ด ้านต่าง ๆ) ทีม
่ ค
ี วามสามารถในการ
แข่งขันเหนือกว่า ลงทุนในการวิจัย
และพัฒนาเกีย ่ วกับ
ประสิทธิผลของ
พลังงานมากขึน ้
การใช ้สารทาความ ภาวะโลกร ้อนและการพร่อง ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ สร ้างความเป็ น
เย็น ของโอโซนทีเ่ ป็ นไปได ้เมือ
่ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) หุ ้นส่วนกับ
ระบบเครือ
่ งปรับอากาศเกิด ่ เสียในเชิงลบจากการใช ้
- ชือ สถาบันวิจัยเพือ ่ เป็ น
การรั่ว สารทาความเย็นทีส ่ ร ้างภาวะ ทางเลือกสาหรับ
โลกร ้อนและการพร่องของ สารทาความเย็น
โอโซนทีเ่ ป็ นไปได ้มากขึน ้
โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น
ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้)
- บริการใหม่ทใี่ ห ้บริการโดย
วิศวกรทีเ่ หมาะสม
การก่อขยะมูลฝอย ขยะฝั งกลบมากขึน
้ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ วิจัยทางเลือกใน
(องค์กรอาจ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) การรีไซเคิลหรือ
”โน ้มน ้าว“ สามารถ - ต ้นทุนค่าบริการมากขึน ้ การใช ้ใหม่อก
ี ครัง้
ด ้านต่าง ๆ) - การฝั งกลบถูกห ้าม
บริการ –บริการการบารุงร ักษาและการซ่อมแซม
การเคลือ่ นย ้าย การปล่อยโดยไม่ม ี มลภาวะทางอากาศ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ ตัง้ วัตถุประสงค์ด ้าน
และการใช ้ การควบคุมระหว่าง มลภาวะของดิน ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) สิง่ แวดล ้อมเพือ

สารเคมี เพลิงไหม ้หรือการ คนบาดเจ็บ - ต ้นทุนการทาความสะอาด ขจัดการใช ้สารเคมี
ระเบิด - ค่าปรับ
- ชือ่ เสียงในแง่ร ้าย
การซ่อมแซม การปล่อยสารทีท ่ า การพร่องของโอโซน ความเสีย ่ ง (ผลกระทบ สัญญาล่วงหน ้าเพือ่
เครือ ่ งปรับอากาศ ให ้โอโวนพร่อง ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) ทาให ้มั่นใจในการ
ด ้วยการจ ้าง (อาทิเช่น สารทา - ค่าปรับ ปรับปรุงด ้านการ
ผู ้รับเหมา สภาพ( )ความเย็น ่ เสียงในแง่ร ้าย
- ชือ บารุงรักษา
ทีผ
่ ดิ ปกติ)

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 23 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ตาราง A.1 (ต่อ)


กิจกรรม/ ประเด็น ประเด็น ่ งและความเสีย
ความเสีย ่ งที่ การวางแผนเพือ ่
ผลิตภ ัณฑ์ / สิง่ แวดล้อม สิง่ แวดล้อมจริง ต้องค้นหา ลงมือปฏิบ ัติ
บริการ และทีเ่ ป็นไปได้
บริการ การบริการสน ับสนุนสาน ักงาน –
การพิมพ์เอกสาร การใช ้ไฟฟ้ า การพร่องของ ความเสีย่ ง (ผลกระทบ วิจัยโอกาสในการ
ทรัพยากรธรรมชาติ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) มอบเทคโนโลยีด ้าน
การใช ้กระดาษ - การสูญเสียธุรกิจให ้กับ สานั กงานทีไ่ ม่ใช ้
เทคโนโลยีด ้านสานักงานที่ กระดาษ
ไม่ใช ้กระดาษซึง่ มี
ความสามารถในการแข่งขัน
เหนือกว่า
การถ่ายสาเนาสอง การลดการใช ้ การอนุรักษ์ โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น พัฒนาข ้อความทาง
ด ้าน ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้) การตลาดเพือ ่ ส่งเสริม
(องค์กรอาจ (ผลกระทบเชิงมี - ต ้นทุนลดลง ประโยชน์ในด ้าน
”โน ้มน ้าว“ สามารถ ประโยชน์) สิง่ แวดล ้อมและ
ด ้านต่าง ๆ) ต ้นทุนให ้กับลูกค ้าทีม
่ ี
การรีไซเคิล การลดการก่อขยะ การลดขยะฝั งกลบ โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น ศักยภาพ
กระดาษทีใ่ ช ้แล ้ว มูลฝอย (องค์กร (ผลกระทบเชิงมี ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้)
โน ้ม“ อาจสามารถ ประโยชน์) - ต ้นทุนลดลง
ด ้านต่าง ๆ ”น ้าว) - ่ เสียงในเชิงบวก
ชือ

บริการ การขนส่งและการกระจายผลิตภ ัณฑ์และบริการ –


การบารุงรักษากลุม
่ การปล่อยก๊าซ มลภาวะทางอากาศ ความเสีย่ ง (ผลกระทบ สือ่ สารประโยชน์ด ้าน
ยานพาหนะเป็ น ไนโตรเจนไดอ๊อก น ้อยลง (ผลกระทบ ย้อนกล ับทีเป็นไปได้) สิง่ แวดล ้อมกับผู ้ที่
ประจา (รวมถึงการ ไซด์น ้อยลง เชิงมีประโยชน์) - ค่าปรับ ดาเนินการบารุงรักษา
เปลีย
่ นน้ ามัน) - ต ้นทุนการทาความ
การปล่อยของเสีย มลภาวะทางดิน สะอาด พัฒนากระบวนการ
น้ ามัน โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็น ควบคุมการปฏิบัตงิ าน
ประโยชน์ซงึ่ เป็นไปได้) ในการบริหารของเสีย
- การรีไซเคิลของเสีย
น้ ามัน พิจารณาเปลีย ่ นมาใช ้
- ค่าดาเนินการลดลง พาหนะทีใ่ ช ้พลังงาน
ไฟฟ้ าในช่วงลงทุน
ใหม่อกี ครัง้
การปฏิบตั งิ านของ การใช ้เชือ
้ เพลิง การพร่องลงของ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบย้อนกล ับที ตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง
กลุม
่ ยานพาหนะ พลังงานฟอสซิลแบบ เป็นไปได้) แวดล ้อมเพือ ่ ลดการใช ้
้ เปลือง
สิน - การมีเชือ ้ เพลิงใช ้ เชือ ้ เพลิง
- ต ้นทุนเชือ ้ เพลิงสูงขึน

โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็นประโยชน์
ซึง่ เป็นไปได้)
- ใช ้เชือ
้ เพลิงทางเลือก
(CNG/LNG)
- ลดต ้นทุนเชือ ้ เพลิง
การปล่อยก๊าซ มลภาวะทางอากาศ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบย้อนกล ับที วิจัยวิธก
ี ารลดการปล่อย
ไนโตรเจนไดอ๊อก เป็นไปได้) ก๊าซ
ไซด์ ภาวะโลกร ้อนและการ - ริเริม ่ มาตรฐานการปล่อย
เปลีย่ นแปลงของ เชือ้ เพลิงทีเ่ ข ้มงวดขึน ้
ภูมอ
ิ ากาศ
การก่อเสียงรบกวน คนท ้องถิน่ เกิดความไม่ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบย้อนกล ับที อบรมพนักงานขับรถ
สะดวกสบาย เป็นไปได้)
-ผลร ้ายต่อภาพลักษณ์ขององค์กร กาหนดชัว่ โมงปฏิบต ั งิ าน
ทีเ่ ข ้มงวด
การบรรจุ การนาบรรจุภณ
ั ฑ์กลับ ขยะฝั งกลบน ้อยลง โอกาส (ผลกระทบทีเ่ ป็นประโยชน์ ส่งเสริมการให ้บริการให ้
ซึง่ เป็นไปได้) เป็ นส่วนหนึง่ ของการ
- ความสัมพันธ์กบ
ั ลูกค ้าดี เจรจาด ้านสัญญา
ขึน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 24 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ตาราง A.2 — ตัวอย่างกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ และประเด็นด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วข ้อง วัตถุประสงค์
ด ้านสิง่ แวดล ้อม เป้ าหมาย โปรแกรม ตัวบ่งชี้ การควบคุมการปฏิบต
ั งิ านรวมถึงการเฝ้ าระวังติดตามและการวัดผล

แง่มม
ุ ว ัตถุประสงค์ เป้าหมาย โปรแกรม ต ัวบ่งชี้ การควบคุมการ การ
ปฏิบ ัติงาน ส ังเกตการณ์
และการ
ว ัดผล
กิจกรรม – การดาเนินงานของหม้อต้มทีใ่ ช้นา้ ม ันเผา
การใช ้น้ ามัน ลดการใช ้ การลดใช ้ การติดตัง้ เครือ่ งเผา ขัน
้ ตอน กระบวนการใน การประเมิน
้ เพลิง
เชือ ทรัพยากรแบบ น้ ามัน ้ เพลิงทีม
เชือ ่ ี วางแผน การติดตัง้ เครือ
่ ง ความก ้าวหน ้า
้ เปลือง
สิน เชือ้ เพลิง ประสิทธิผลมากขึน ้ โครงการ เผาทีด
่ ัดแปลง ของแผน
(ขึน ้ อยูก
่ บ
ั การ โครงการราย
ใช ้ของปี การใช ้น้ ามัน สามเดือน
)ปั จจุบัน เชือ ้ เพลิงต่อ
ประมาณ20% ชัว่ โมงทางาน การตรวจสอบ
ภายใน 1 ปี ของหม ้อต ้ม ย ้อนกลังอัตรา
การใช ้น้ ามัน
รายเดือน
การปล่อยน้ าที่ ลดผลกระทบ ลดอุณหภูม ิ สิง่ อานวยความ อุณหภูมเิ ฉลีย
่ การสุม่ ตัวอย่าง การ
ผ่านความร ้อน ทาง เฉลีย
่ รายวันใน สะดวกและการ รายวันของน้ า คุณภาพน้ าและ สังเกตการณ์
สิง่ แวดล ้อม การปล่อยน้ า ปฏิบัตงิ านของ ทีป
่ ล่อย กระบวนการ อย่างต่อเนือ ่ ง
เชิงลบสาหรับ ประมาณ 5% วิศวกรออกแบบให ้ ออกไป วิเคราะห์ ในด ้าน
คุณภาพของ ในปี พ .ศ. แยกและนาความ อุณหภูมข ิ อง
ต ้นน้ าจาก 2561 ร ้อนจากน้ าเสียมา พารามิเตอร์วด ั แผนการสุม ่ การปล่อย
อุณหภูมข ิ อง ใช ้ใหม่ ( อาทิเช่น คุณภาพของ ตัวอย่างปลา/
เสียทีป ่ ล่อย ระบบพลังงานความ น้ าทีต่ ้นน้ า สัตว์น้ า การ
ออกมาเพิม ่ ขึน
้ ร ้อนร่วม) จานวนและ สังเกตการณ์
ความ กระบวนการ คุณภาพน้ าที่
หลากหลาย ปฏิบัตงิ านระบบ ต ้นน้ ารายสาม
ของปลาสาย/ พลังงานความ เดือน
พันธุส ั ว์น้ าที่
์ ต ร ้อนร่วม
ต ้นน้ า
ผลิตภ ัณฑ์ เครือ
่ งปร ับอากาศ –
การใช ้ไฟฟ้ า กระตุ ้น ลดอุณหภูม ิ ให ้ความรู ้แก่ ความสนใจใน การออกแบบ การสารวจ
ผู ้บริโภคให ้ การปฏิบัตงิ าน ผู ้บริโภคในด ้าน การอนุรักษ์ วัสดุผลิตภัณฑ์ท ี่ ผู ้ใช ้งาน
อนุรักษ์ ประมาณ 5% ผลกระทบทาง พลังงานของ มีประสิทธิผล
พลังงาน บนพืน ้ ฐานจาก สิง่ แวดล ้อมในการ ลูกค ้าเพิม
่ ขึน

อุณหภูมก ิ าร ใช ้พลังงานมาก การใช ้พลังงาน
ปฏิบัตงิ านของ เกินไปโดยผ่านการ ความสนใจใน ไฟฟ้ า
ปี ทแ
ี่ ล ้วให ้ได ้ กระจายวัสดุของ ผลิตภัณฑ์ทใี่ ช ้
ในสิน ้ ปี นี้ ผลิตภัณฑ์ทม ี่ ก
ี าร พลังงานใหม่ท ี่ การพิจารณาการ
ใช ้พลังงานอย่างมี มีประสิทธิผล ร ้องของใน
ประสิทธิผล (อาทิ ของลูกค ้า ประสิทธิผลของ
เช่น การลดต ้นทุน เพิม
่ ขึน
้ พลังงานของ
ผลกระทบย ้อนกลับ ลูกค ้าในการ
ทางสิง่ แวดล ้อมที่ ออกแบบ
ลดลง) ผลิตภัณฑ์ใหม่
การก่อขยะมูล ลดการก่อขยะ บรรลุการลด การออกแบบใหม่ ปริมาณวัสดุ กระบวนการ การ
ฝอย มูลฝอยของ วัสดุทผ ี่ ลิต สาหรับบรรจุภัณฑ์ ผลิตบรรจุ ควบคุมการ สังเกตการณ์
ผู ้บริโภคจาก บรรจุภัณฑ์ ของสินค ้า (แผนก ภัณฑ์ตอ
่ หน่วย ออกแบบ ปริมาณการใช ้
การทิง้ บรรจุ 5% สาหรับ วิศวกรรม6 เดือน) วัสดุผลิตบรรจุ
ภัณฑ์ด ้วยการ สินค ้าใน % ของการ กระบวนการ ภัณฑ์ราย
ลดปริมาณวัสดุ ปั จจุบันให ้ได ้ ดาเนินการการ ลดวัสดุผลิต บรรจุผลิตภัณฑ์ เดือน ตที่ .ย.
ทีใ่ ช ้ผลิตบรรจุ ในปี พ .ศ. เปลีย
่ นแปลงการ บรรจุภัณฑ์ท ี่ ้ ลบด ้วย
ซือ
ภัณฑ์ 2561 ผลิต (6 เดือน) ใช ้ใน
สายการผลิต
ทดสอบการ หน่วยสินค ้าที่
เดินเครือ
่ งและการ การลดการก่อ จัดส่งเข ้า
ผลิตเต็มกาลัง ขยะมูลฝอย สายการผลิต
ของผู ้บริโภค
ประมาณการณ์
ปริมาณหน่วย/

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 25 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ตาราง A.2 (ต่อ)


แง่มม
ุ ว ัตถุประสงค์ เป้าหมาย โปรแกรม ต ัวบ่งชี้ การควบคุม การ
การ ส ังเกตการณ์
ปฏิบ ัติงาน และการว ัดผล
บริการ – การขนส่งและการกระจายผลิตภ ัณฑ์และบริการ (การบารุงร ักษากลุม
่ ยานพาหนะ)
การปล่อยก๊าซ เพิม ่ ผลกระทบ บรรลุการลด กาหนด % ของการ กระบวนการ การตรวจสอบ
ไนโตรเจนอ๊อก ทาง ไนโตรเจนอ๊ พารามิเตอร์ บารุงรักษา บารุงรักษา ย ้อนกลับ
ไซด์ (NOx) สิง่ แวดล ้อมเชิง อกไซด์ให ้ได ้ การบารุงรักษา ตามเวลา ความถีใ่ นการ
บวกต่อ 25% ในปี ทีส่ าคัญ การอบรมช่าง บารุงรักษากับ
คุณภาพอากาศ พ .ศ.2561 สาหรับการลด การปล่อย เทคนิค ตาราง
ด ้วยการ ไนโตรเจนอ๊อก ไนโตรเจนอ๊ บารุงรักษา
ปรับปรุง ไซด์ อกไซด์ .กก / การ
ประสิทธิผล การแจ ้งเตอน สังเกตการณ์
ของการ แก ้ไข การบารุงรักษา ประสิทธิผล
บารุงรักษา โปรแกรมการ ตามตารางด ้วย ของ
ยานพาหนะ บารุงรักษา คอมพิวเตอร์ ไนโตรเจนอ๊อก
โดยรวมงาน ไซด์ใน
ลดไนโตรเจนอ๊ ้ เพลิง
เชือ
อกไซด์หลัก ยานพาหนะ
ด ้วย
การประเมินการ
เพิม
่ บรรลุการลด
ประสิทธิผล ไนโตรเจนอ๊อก
ตารางการ ไซด์รายปี
บารุงรักษาของ
ยานพาหนะ
ผ่านโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
การทาให ้เกิด จัดการน ้ามัน บรรลุการ พัฒนาและ % ของ กระบวนการ การ
น้ ามันเสีย เสียให ้ สอดคล ้องกับ ดาเนินการ พนักงาน บริหารจัดการ สังเกตการณ์
สอดคล ้องกับ ข ้อกาหนดการ โปรแกรม ศูนย์บริการที่ ของเสีย การดาเนินการ
ข ้อกาหนด ทิง้ ของเสีย อบรมการ ได ้รับการ ฝึ กอบรม
น้ ามันที่ บริหารจัดการ อบรม โปรแกรมการ พนักงาน
ศูนย์บริการ ของเสียที่ อบรมสาหรับ ศูนย์บริการ
ภายในหนึง่ ปี ศูนย์บริการ จานวน พนักงาน
ข ้อบกพร่อง ศูนย์บริการ การตรวจสอบ
ของการทิง้ ย ้อนกลับ
ของเสีย จานวนการทิง้
ของเสียน้ ามัน
% ของของ และวิธกี ารทิง้
เสียน้ ามันที่
ทิง้ ต่อ
ข ้อกาหนด

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 26 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ตาราง A.3 — ตัวอย่างความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องมีการกล่าวถึง รวมถึงปฏิบต ิ ารในการกล่าวถึงสิง่ เหล่านีซ


ั ก ้ งึ่
เกีย
่ วข ้องกับพันธกรณีทต
ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง

พ ันธกรณีทต
ี่ อ
้ งปฏิบ ัติให้ ่ งและโอกาสทีต
ความเสีย ่ อ
้ งค้นหา การวางแผนเพือ ่ ลงมือ
สอดคล้อง ปฏิบ ัติการ
ข ้อกาหนดทางกฎหมายที่ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบย้อนกล ับทีเ่ ป็นไปได้) พัฒนากระบวนการควบคุมเพือ ่ ทาให ้
เกิดขึน
้ ใหม่ ความล ้มเหลวในการกาหนดและปฏิบัตต ิ าม มั่นใจว่าการสังเกตการณ์แนวทาง
พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบัตใิ ห ้สอดคล ้องใหม่หรือทีม ่ ี กฎหมายจะมีประสิทธิผลในการ
เปลีย่ นแปลงสามารถสร ้างความเสียหายให ้ชือ ่ เสียง ปรับปรุงการบ่งชีข้ ้อกาหนดทีเ่ กิดขึน

ขององค์กรและสามารถนาไปสูก ่ ารเสียค่าปรับ ใหม่
คาร ้องขอข ้อมูลจากผู ้ตัง้ กฎ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบย้อนกล ับทีเ่ ป็นไปได้) พัฒนากระบวนการสือ ่ สารทีม
่ ี
ความล ้มเหลวในการตอบสนอง การตอบสนองล่าช ้า ประสิทธิผลมากขึน ้ ในการรับและ
หรือการตอบสนองอย่างไม่ถก ู ต ้องแม่นยาสามารถ ตอบสนองการสือ ่ สารจากเจ ้าหน ้าที่
นาไปสูก ่ ารพิจารณาโดยละเอียดจากหน่วยงานด ้าน กฎหมายรวมถึงตารางการรายงานด ้วย
กฎหมาย
โอกาส (ผลกระทบเชิงเป็นประโยชน์ทเี่ ป็นไป ประยุกต์ใช ้โปรแกรมการตรวจติดตาม
ได้) ภายในในการทาข ้อเสนอแนะในการ
การสือ ่ สารทีโ่ ปร่งใสทันเวลาในเชิงรุกสามารถสร ้าง ปรับปรุงการทันเวลาและความโปร่งใส
ความเข ้มแข็งให ้กับความสัมพันธ์ขององค์กรกับผู ้ตัง้ ในการสือ ่ สาร รวมถึงลงมือปฏิบัตก ิ าร
กฎ ในการปรับปรุงกระบวนการสือ ่ สาร
อย่างต่อเนือ ่ งหากจาเป็ น
ข ้อกาหนดของลูกค ้าภูมภ
ิ าพ ความเสีย ่ ง (ผลกระทบย้อนกล ับทีเ่ ป็นไปได้) ตัง้ วัตถุประสงค์ในการพัฒนาและ
สาหรับการนาผลิตภัณฑ์ท ี่ การเพิม ่ ทรัพยากรทีจ่ าเป็ นและโลจิสติกส์เพือ ่ ดาเนินการออกแบบสาหรับการผลิต
หมดอายุการใช ้งานคืนกลับมา สนับสนุนการนาสินค ้าภูมภ ิ าพคืนจะทาให ้ต ้นทุนต่อ สินค ้าใหม่อก ี ครัง้ ในโปรแกรม
หน่วยการผลิตเพิม ่ ขึน
้ อย่างมีนัยสาคัญ สนับสนุนการนากลับเพือ ่ อนุรักษ์
โอกาส (ผลกระทบเชิงเป็นประโยชน์ทเี่ ป็นไป ทรัพยากรและลดต ้นทุนวัตถุดบ ิ
ได้)
การดาเนินการนาสินค ้ากลับคืนสาหรับลุกค ้าทั่วโลก
จะช่วยยกระดับชือ ่ เสียงขององค์กรในฐานะผู ้ดูแล
สิง่ แวดล ้อมและจะสามารถนาไปสูโ่ อกาสในธุรกิจ
ใหม่ๆ

ตาราง A.4 — ตัวอย่างความเสีย ่ งและโอกาสทีต


่ ้องค ้นหารวมถึงปฏิบต
ั ก ่ ง และ โอกาสที่
ิ ารในการค ้นหาความเสีย
เกีย
่ วข ้องกับปั ญหาและข ้อกาหนดอืน
่ ๆ

ปัญหาและข้อกาหนด ี่ งและโอกาสทีต
ความเสย ่ อ
้ งกล่าวถึง ี่ ง
ปฏิบ ัติการค้นหาความเสย
อืน
่ ๆ และ โอกาส
ภาษีตา่ ง ๆ ด ้านคาร์บอน ความเสีย ่ ง (ผลกระทบย้อนกล ับทีเ่ ป็นไปได้) กาหนดวัตถุประสงค์ในการเปลีย ่ น
(องค์กรบริหารทรัพย์สน ิ บริการ/ สินทรัพย์ทถ ี่ ก
ู ทิง้ อาทิเช่น ถ่านหินสารองทีอ ่ าจยัง พอร์ตโฟลิโอด ้วยการเพิม
่ การลงทุนใน
ทางการเงิน) ไม่ได ้เผาไหม ้ เนือ ่ งจากการเปลีย ่ นแปลงสูส่ ังคม พลังงานใหม่และลงดารลงทุนใน
คาร์บอนตา่ ภาคอุตสาหกรรมทีป ่ ล่อยก๊าซรุนแรง
โอกาส (ผลกระทบเชิงเป็นประโยชน์ทเี่ ป็นไป
ได้)
ผลตอบแทนทางการเงินทีส ่ งู กว่าด ้วยการลงทุนใน
เทคโนโลยีพลังงานทดแทน/สะอาด

การขาดแคลนน้ า (องค์กรภาค ความเสีย่ ง (ผลกระทบย้อนกล ับทีเ่ ป็นไปได้) ประยุกต์ใช ้การควบคุมทางวิศวกรรม


ธุรกิจอาหารและเครือ
่ งดืม
่ ) การจากัดการผลิตเนือ ่ งจากการมีน้ าใช ้จากัด เพือ
่ ลดการสูญเสียน้ าในกระบวนการ
โอกาส (ผลกระทบเชิงเป็นประโยชน์ทเี่ ป็นไป ผลิต
ได้)
ประสิทธิผลทีเ่ พิม
่ ขึน
้ โดยผ่านประสิทธิภาพของ กาหนดตัวชีบ ้ ง่ สมรรถนะด ้าน
กระบวนการ สิง่ แวดล ้อมและสังเกตการณ์วัดผล/
การใช ้น้ าต่อหน่วยการผลิต

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 27 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

6.2 ว ัตถุประสงค์ดา้ นสงิ่ แวดล้อม และการวางแผนเพือ


่ ให้
บรรลุ
6.2 ว ัตถุประสงค์ดา้ นสงิ่ แวดล้อม และการวางแผนเพือ
่ ให้บรรลุ

6.2.1 ว ัตถุประสงค์ดา้ นสงิ่ แวดล้อม


องค์กรต ้องจัดทาวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมตามสายงานและระดับ,โดยคานึงถึงประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม
่ ี
นัยสาคัญขององค์กรและข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต
ั ต ่ งและโอกาส
ิ าม, และการคานึงถึงความเสีย
วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมต ้อง
a) สอดคล ้องกับนโยบายสิง่ แวดล ้อม
b) สามารถวัดได ้ (หากเป็ นไปได ้)
c) ได ้รับการเฝ้ าระวัง
d) ได ้รับการสือ่ สาร
e) ได ้รับการปรับปรุงตามความเหมาะสม

่ วกับวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม


องค์กรต ้องธารงรักษาเอกสารสารสนเทศทีเ่ กีย

6.2.2 การวางแผนกิจกรรมเพือ ่ ให้บรรลุว ัตถุประสงค์ดา้ นสงิ่ แวดล้อม


เมือ ่ วางแผนวิธก ี ารเพือ
่ บรรลุวตั ถุประสงค์ดานสิง่ แวดล ้อม, องค์กรต ้องกาหนด
a) อะไรทีจ ่ ะทา
b) ทรัพยากรอะไรทีต ่ ้องการ
c) ใครเป็ นคนรับผิดชอบ
d) กาหนดระยะเวลาแล ้วเสร็จ
e) ี ารประเมินผล, รวมถึงดัชนีชวี้ ด
วิธก ั สาหรับการเฝ้ าระวัง ความคืบหน ้าในการบรรลุวต
ั ถุประสงค์ด ้าน
สิง่ แวดล ้อมทีว่ ด
ั ได ้ (ดู9.1.1)

องค์กรต ้องคานึงถึงวิธก
ี ารในการทาให ้กิจกรรมเพือ ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมให ้สามารถควบ
่ ให ้บรรลุวต
รวมในกระบวนการทางธุรกิจขององค์กร

ทว่ ั ไป

ในกระบวนการวางแผน องค์กรต ้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมเพือ ่ บรรลุคามัน


่ สัญญาทีก
่ าหนดไว ้ใน
นโยบายสิง่ แวดล ้อมรวมถึงบรรลุเป้ าหมายอืน ่ ๆ ขององค์กร ซึง่ รวมถึงกระบวนการในการกาหนดและทบทวน
วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมรวมถึงการดาเนินกระบวนการต่าง ๆ

การบรรลุสงิ่ นีจ
้ ะเป็ นพืน ่ การปรับปรุงประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อม
้ ฐานทีเ่ ป็ นระบบสาหรับองค์กรเพือ
ในขณะทีร่ ักษาระดับประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมในบางด ้าน

ั้ ัตถุประสงค์ดา้ นสงิ่ แวดล้อม


การตงว

การตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม องค์กรควรพิจารณาปั จจัยในการตัง้ วัตถุประสงค์ดงั นี้

— หลักการและคามั่นสัญญาในด ้านนโยบายสิง่ แวดล ้อม


— ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ่ นี ัยสาคัญ (และข ้อมูลทีพ
่ ัฒนาเพือ่ กาหนดแง่มม ุ ต่าง ๆ)
— พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
— ่ งและโอกาสตามทีร่ ะบุในข ้อ 6.1.1 เกีย
ความเสีย ่ วกับประเด็นสิง่ แวดล ้อมและข ้อกาหนดอืน
่ ๆ ที่
กระทบต่อระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 28 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

องค์กรยังสามารถพิจารณาถึง
— ผลกระทบต่าง ๆ ในการบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมในกิจกรรมและกระบวนการอืน
่ ๆ
— ผลกระทบทีเ่ ป็ นไปได ้ต่อภาพลักษณ์สาธารณะขององค์กร
— ผลการสืบค ้นจากการทบทวนสิง่ แวดล ้อม
— เป้ าหมายอืน
่ ๆ ขององค์กร

การตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมควรกาหนดทีร่ ะดับสูงสุดขององค์กร และถ่ายทอดมาในระดับอืน ่ ๆลงมา รวมถึง


การทางานตามหน ้าทีท ี่ าเนินกิจกรรมสาคัญ ต่อการบรรลุคามั่นสัญญาด ้านนโยบายสิง่ แวดล ้อมและเป้ าหมาย
่ ด
ทัง้ หมดขององค์กร

วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมควรมีความสอดคล ้องกับนโยบายสิง่ แวดล ้อมและคามั่นสัญญา ในการปกป้ อง


สิง่ แวดล ้อมโดยรวมการป้ องกันมลภาวะ การบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง และการปรับปรุงอย่าง
ต่อเนือ่ ง

วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมสามารถแสดงออกมาโดยสะท ้อนตรงตามระดับประสิทธิผลการทางานทีเ่ ฉพาะเจาะจง


หรือสามารถแสดงออกมาได ้ในลักษณะทั่วไป และอาจกาหนดด ้วยหนึง่ เป้ าหมายหรือมากกว่านั น ้ ต่อไป อาทิเช่น
ข ้อกาหนดในประสิทธิผลการทางานโดยละเอียดทีค ่ วรทาให ้ได ้เพือ ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม เมือ
่ บรรลุวต ่ มีการ
ตัง้ เป้ าหมาย ก็ควรจะสามารถวัดผลได ้ ทัง้ นี้ เป้ าหมายต่าง ๆ อาจต ้องมีกรอบเวลาเฉพาะด ้วย

ควรมีการพิจารณาวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีอ่ งค์กรตัง้ ให ้เป็ นส่วนหนึง่ ของวัตถุประสงค์การบริหารโดยรวมใน


ปั จจุบน
ั เช่น วัตถุประสงค์เรือ
่ งการลดต ้นทุน ลดปริมาณเศษ เป็ นต ้น

การทาเอกสารและการสือ ่ สารวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมจะช่วยปรับปรุงความสามารถขององค์กรในการบรรลุ


วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม

องค์กรควรเก็บรักษาเอกสารข ้อมูลด ้านวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม และควรมีการให ้ข ้อมูลเกีย ่ วกับวัตถุประสงค์


ด ้านสิง่ แวดล ้อมแก่ผู ้ทีร่ ับผิดชอบเพือ ่ ให ้สามารถทาให ้บรรลุและแก่บค
ุ ลากรอืน
่ ๆ ทีต
่ ้องการข ้อมูลดังกล่าวเพือ

ปฏิบตั ห ิ น ้าทีท
่ เี่ กีย
่ วข ้อง อาทิเช่น การควบคุมการปฏิบตั งิ าน

ี้ ง
ต ัวชบ ่ สมรรถนะด้านสงิ่ แวดล้อม

ตัวชีบ้ ง่ สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อมด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กรเป็ นเครือ ่ งมือสาคัญในการเฝ้ าระวังติดตาม
ความก ้าวหน ้าในการบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมและการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง องค์กรควรกาหนดตัวชีบ ้ ง่
สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อมด ้านสิง่ แวดล ้อมทีส ่ ามารถใช ้เป็ นวัตถุประสงค์ ใช ้ทวนสอบ ติดตามวัตถุประสงค์ได ้ ตัว
บ่งชีต ้ า่ ง ๆ ควรมีความเหมาะสมกับกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ขององค์กรโดยสอดคล ้องกับนโยบาย
สิง่ แวดล ้อม รวมถึงความเป็ นไปได ้เชิงปฏิบต ั ิ ความคุ ้นทุนและเป็ นไปได ้ทางเทคโนโลยี

ตัวบ่งชีเ้ หล่านีส ้ ามารถนาไปใช ้กับการตรวจสอบย ้อนกลับความคืบหน ้าขององค์กรในการบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้าน


สิง่ แวดล ้อมของตนเองโดยยังสามารถนาไปใช ้สาหรับวัตถุประสงค์อน ื่ ๆ ได ้อีกด ้วย อาทิเช่น ส่วนหนึง่ ของ
กระบวนการทัง้ หมดในการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อม องค์กรสามารถพิจารณาการ
ใช ้ตัวบ่งชีส
้ ภาพสิง่ แวดล ้อม (environmental condition indicators (ECIs)) ตัวชีบ ้ ง่ สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อม
ด ้านบริหาร (management performance indicators (MPIs)) และตัวชีบ ้ ง่ สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อมด ้านการ
ดาเนินงาน (operational performance indicators (OPIs)) ทีเ่ หมาะสมกับประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยสาคัญ ทัง้ นี้
ข ้อมูลตัวชีบ้ ง่ สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อมเพิม
่ เติมตามข ้างล่างนี้

้ นะในการเลือกและใช ้ตัวชีบ
หมายเหตุ คาชีแ ้ ง่ สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อมด ้านสิง่ แวดล ้อมมีอยูใ่ น ISO 14031 และ
ISO/TS 14033

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 29 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ี้ ง
ต ัวชบ ่ สมรรถนะด้านสงิ่ แวดล้อม

ความคืบหน ้าของวัตถุประสงค์สงิ่ แวดล ้อมสามารถวัดผลได ้โดยทั่วไป ด ้วยการใช ้ตัวชีบ


้ ง่ สมรรถนะด ้าน
สิง่ แวดล ้อมด ้านสิง่ แวดล ้อม อาทิเช่น:

— ปริมาณวัตถุดบ ิ และพลังงานทีใ่ ช ้
— ปริมาณการปล่อยก๊าซ อาทิเช่น CO2
— ของเสียทีถ ่ ก ู ผลิตต่อปริมาณของสินค ้าสาเร็จรูป
— ประสิทธิผลของวัสดุและพลังงานทีใ่ ช ้
— จานวนอุบต ั ก ิ ารณ์ด ้านสิง่ แวดล ้อม (ตัวอย่างเช่น การเกิดการเบีย
่ งเบนเกินขีดจากัด)
— จานวนอุบต ั เิ หตุด ้านสิง่ แวดล ้อม (ตัวอย่างเช่น การปล่อยมลพิษทีไ่ ม่ได ้วางแผนไว ้)
— เปอร์เซ็นต์ของเสียทีร่ ไี ซเคิล
— เปอร์เซ็นต์วส ั ดุรไี ซเคิลทีใ่ ช ้ในบรรจุภณ
ั ฑ์
— จานวนกิโลเมตรของพาหนะทีใ่ ห ้บริการต่อหน่วยการผลิต
— ปริมาณมลพิษเฉพาะทีป ่ ล่อยออกมา ตัวอย่างเช่น NOx, SOx, CO, VOCs, Pb และ CFCs
— การลงทุนสาหรับการปกป้ องสิง่ แวดล ้อม
— จานวนการฟ้ องร ้อง
— พืน
้ ทีท
่ ด
ี่ น
ิ ทีส ่ งวนเป็ นทีอ่ าศัยของสัตว์ป่า
— จานวนบุคลากรทีไ่ ด ้รับการอบรมในด ้านการกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อม
— เปอร์เซ็นต์งบประมาณทีใ่ ช ้สาหรับเทคโนโลยีการปล่อยก๊าซระดับตา่

อธิบายเพิม
่ เติม

นิยามว ัตถุประสงค์และเป้าหมาย (Environmental Objectives)

วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมเป็ นจุดมุง่ หมายในเชิงปริมาณทีอ


่ งค์กรกาหนดขึน ้ เพือ
่ ช่วยให ้ประสบความสาเร็จในการ
ปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ งและการป้ องกันภาวะมลพิษตามข ้อตกลงทีจ ่ ัดทาขึน ้ ในนโยบายด ้านสิง่ แวดล ้อม เพือ่ ความ
เหมาะสม ควรแบ่งวัตถุประสงค์ออกเป็ นส่วนย่อยสาหรับแผนกหรือพืน ้ ทีต
่ า่ งๆเพือ
่ ช่วยให ้องค์กรบรรลุตาม
วัตถุประสงค์รวม ตัวอย่างของวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมมีดงั ต่อไปนี้ :

• ลดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์จากกระบวนการผลิตลง 20% ภายในปี 2003


• ลดปริมาณกากของเสียทีส ่ ง่ ไปกาจัดลง 25% ภายใน 2 ปี
• ลดการใช ้พลังงาน 5 (เช่น ไฟฟ้ า น้ ามัน ถ่านหิน ก๊าซ)% ต่อปี สาหรับช่วง ปี ข ้างหน ้า 5
• ลดปริมาณน้ าสาหรับกระบวนการผลิตหรือน้ าหล่อเย็นลง 20 % ภายใน 2 ปี โดยการใช ้ระบบหมุนเวียน
หรือวิธก ี ารประหยัดน้ าอืน ่ ๆ
• ลดบีโอดี ของแข็งแขวนลอย โลหะหนั ก หรือสารอินทรียท ์ สี่ ลายตัวยากในน้ าเสียทีผ ่ ่านการบาบัดแล ้วลง
5 % สาหรับช่วง 5 ปี ข ้างหน ้า
• ลดปริมาณกากของเสียจากอาหารเลีย ้ งปลาในฟาร์มปลาลง 10 % ต่อปี
• ลดการใช ้สารเคมีกาจัดแมลงและวัชพืชทีส ่ ลายตัวยากในพืน ้ ทีเ่ กษตรกรรมลง 5% ต่อปี จนกว่าสารเคมี
เหล่านีจ ้ ะหมดไป
• เลิกใช ้สารทาลายชัน ้ โอโซนในทุกการปฏิบต ั งิ านของบริษัทภายในปี 2005
• เปลีย่ นไปใช ้สีทาผนังทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล ้อมมากขึน ้ ในปี ถัดไป
• ใช ้วั ต ถุ ด ิบ ในการผลิต ที่ไ ม่ เ ป็ นพิษ แทนของเดิม ที่เ ป็ นพิษ อย่ า งเฉี ย บพลั น ต่ อ ปลาภายในปลายปี
งบประมาณหน ้า
• จัดฝึ กอบรมเกีย ่ วกับความตระหนั กด ้านกฎหมายให ้กับผู ้จัดการอาวุโส หัวหน ้าแผนก หัวหน ้างานและผู ้
ควบคุมงานทุกคนภายในปลายปี มีการประเมินความรู ้ความเข ้าใจและถ ้าจาเป็ นอาจมีการปรับปรุงหน ้าที่
ความรับผิดชอบใหม่
• ลดการปล่อยฝุ่ นละอองจากโรงไฟฟ้ าลง 20% ภายในปี 2003 และลดลงอีก 10 % ภายในปลายปี 2005
• ออกแบบและทดลองตลาดผลิตภัณฑ์ทบ ี่ รรจุภณ ั ฑ์นากลับมาใช ้ใหม่ได ้ภายในปลายปี งบประมาณหน ้า
• ปลูก ต ้นไม ้ในพื้น ที่ป่ าที่ส ามารถเก็ บ เกีย ่ วผลได ้ภายใน 1 ปี โดยใช ้พั น ธุพ ์ ืช ทีใ่ ห ้ความหลากหลาย ให ้
ประโยชน์แก่สต ั ว์ป่าและให ้ประโยชน์ทางการค ้า
• ตัดฟั นไม ้เฉพาะแต่ในพืน ้ ทีท ่ ไี่ ม่กอ
่ ให ้เกิดความเสีย ่ งกับสายพันธุข ์ องพืชป่ าสัตว์ป่า

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 30 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

• ้ เพลิงจากการหกหล่นรั่วไหลจากถังเก็บและท่อส่งให ้น ้อยกว่า 50 แกลลอนต่อปี


ลดการสูญเสียน้ ามันเชือ
• ขจัดเขม่าควันจากยานพาหนะและลดการรั่วไหลของน้ ามันเครือ ่ งให ้น ้อยลง ระบุปริมาณทีร่ ั่วไหล ต่อคัน)
(ต่อปี

เป้าหมายด้านสงิ่ แวดล้อม

เป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อมเป็ นข ้อกาหนดการด าเนินงานทีเ่ จาะจงและวัด ได ้ ทีจ


่ ะช่วยให ้บรรลุวัต ถุประสงค์ด ้าน
สิง่ แวดล ้อม ว ต
ั ถุ ป ระสงค์อ าจเป็ นเรือ ั องค์ก รหรือ แผนก ส่ ว นเป้ าหมายซึง่ สอดคล ้องกั บ
่ งกว้า งๆระด บ
วัตถุประสงค์ จะกาหนดสาหรับระดับองค์กรหรือแผนกเช่นกัน แต่อาจแบ่งออกเป็นเป้าหมายสาหร ับกลุม ่ ย่อยๆ
หรือเฉพาะบุคคล การบรรลุเป้ าหมายระดับต่างๆจะเป็ นการทาให ้วัตถุประสงค์มค ี วามสมบูรณ์ดงั ตัวอย่าง

ว ัตถุประสงค์ดา้ นสงิ่ แวดล้อม


− ลดกากของเสียทีจ ้ ปี 2003
่ ะนาไปฝั งกลบลง 25 % ภายในสิน

เป้าหมายด้านสงิ่ แวดล้อม
− ติดตามตรวจสอบชนิด ปริมาณ และแหล่งกากของเสียจากทุกพืน ้ ทีข
่ ององค์กรทีจ ่ ะนาไปฝั งกลบเป็ น
เวลา 6 เดือน
− ระบุวธิ ท
ี ด
ี่ ท
ี ส ี่ ด
ุ ในการลดกากของเสียภายในสิน ้ ไตรมาสแรกของปี 2002
− กาหนดวัตถุประสงค์ เป้ าหมายและแผนงานการลดปริมาณกากของเสียสาหรับทุกพืน ้ ทีภ ้
่ ายในสิน
ไตรมาสทีส ่ อง ของปี 2002 เพือ ่ บรรลุการลดปริมาณกากของเสียโดยรวม 25 % ภายในสิน ้ ปี 2003
− นาแผนงานไปปฏิบต ั ภ
ิ ายในสิน้ ไตรมาสที่ 3 ของปี 2002
− ติดตามตรวจสอบชนิด ปริมาณและแหล่งของกากของเสียจากทุกพืน ้ ทีท
่ จ
ี่ ะนาไปฝั งกลบสาหรับปี
ถัดไป เปลีย ่ นแปลงวิธก ี ารปฏิบตั งิ านหากจาเป็ นเพือ
่ บรรลุเป้ าหมายการลดกากของเสียทีต ่ ้องการ
− ทบทวนความก ้าวหน ้าและกาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมายใหม่สาหรับปี 2004 ถึง 2005 ภายใน
้ ไตรมาสทีส
สิน ่ ามของปี 2003

ขนตอนการก
ั้ าหนดว ัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านสงิ่ แวดล้อม

ปรั ช ญาทีด
่ ที ส
ี่ ุดในการกาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย คือ การให้บุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องมีสว่ นร่วมอย่างเต็ มที่
กล่าวอีกนั ยหนึง่ บุคคลทีจ ่ ะต ้องรับผิดชอบในการดาเนินงานให ้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้ าหมายต ้องมีสว่ นร่วมใน
การกาหนด วิธน ี้ ว่ ยให ้เกิด ”ความเป็นเจ้าของ”วัตถุประสงค์ โดยแผนกหรือบุคคลทีต
ี ช ่ ้องการทางานให ้สาเร็จมีความ
กระตือรือร ้นในการทางานมากขึน ้

เมื่อ ก าหนดวัต ถุป ระสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมแล ้ว ระบบมาตรฐาน ISO 14001 ก าหนดหลัก เกณฑ์ห ลายประการที่
จะต ้องพิจารณา โดยเฉพาะอย่างยิง่ :

• ข้อ ผูก พ ันด้า นนโยบายสงิ่ แวดล้อ ม คือการปรั บปรุงอย่างต่อเนื่อง การป้ องกันภาวะมลพิษ และการ
ปฏิบตั ต ิ ามข ้อกาหนดกฎหมาย
• การควบคุมอย่างเข้มงวดต่อประเด็ นปัญหาสงิ่ แวดล้อมทีส ่ าค ัญ (กิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการที่
ก่อให ้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมสูง) เนื่องจากการลดความสาคัญ (เช่นการลดความเสีย ่ ง) จะเป็ นการ
ลดผลกระทบโดยอัตโนมัต ิ
• การพิจารณาทางเลือกด้านเทคโนโลยี และข้อกาหนดด้านการเงิน การปฏิบต ั ก ิ าร และด ้านทางธุรกิจ
มีความหมายว่าวัตถุประสงค์และเป้ าหมายทางสิง่ แวดล ้อมต ้องสามารถปฏิบต ั ไิ ด ้ในทางเทคนิค ด ้วย
งบประมาณทีม ่ อ
ี ยูอ
่ ย่างจากัด สอดคล ้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจและการปฏิบต ั ก ิ าร หรืออีกนัยหนึง่
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายต ้องสามารถเป็ นจริงได ้ บรรลุผลได ้ มิใช่เป็ นเพียงแค่สงิ่ เพ ้อฝั น เมือ ่ พิจารณา
ประเด็นทางด ้านเทคโนโลยี ซึง่ องค์กรจะต ้องพิจารณาเทคโนโลยีทด ี่ ท
ี ส
ี่ ด
ุ ทีม ่ อ ่ งึ่ ต ้องสอดคล ้องกับ
ี ยูซ
สภาพทางเศรษฐกิจด ้วย (คือองค์กรต ้องอยูไ่ ด ้) พิจารณาประสิทธิผลของต ้นทุนและความเหมาะสมอืน ่ ๆ
กับองค์กร โดยองค์กรจะต ้องไม่มก ี ารอ ้างอิงถึงข ้อจากัดทางด ้านการเงิน เพือ ่ เพียงให ้องค์กรสามารถ
ดาเนินการยกเว ้นหรือหลีกเลีย ่ งเรือ
่ งสาคัญในการลงทุนในเรือ ่ งการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• มุมมองของฝ่ายทีส ่ นใจ ได ้แก่ บุคคลทั่วไป กลุ่มคน หน่วยงานหรือชุมชนทีอ ่ าจได ้รับผลกระทบหรือมี
ส่วนเกีย่ วข ้องกับการปฏิบต ั งิ านของบริษัทตามระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมกลุม ่ คนเหล่านีร้ วมถึง :

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 31 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

เจ ้าหน ้าทีร่ ัฐทัง้ ระดับชาติ ระดับภาค จังหวัดและ -


ระดับท ้องถิน ่
มุมมองของฝ่ ายต่างๆทีส ่ นใจจะมี
ตัวแทนชุมชนท ้องถิน ่ -
กลุม ่ สาธารณชนทีส ่ นใจและผู ้เกีย
่ วข ้องอืน
่ ๆ- ประโยชน์อย่างมากเมือ ่ องค์กรทาการ
่ สารด ้านประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม
สือ
ขององค์กร
การร ับฟังความเห็นจากฝ่ายต่างๆ

บางองค์กรได ้รับหลักการ “ลักษณะตัง้ รับ” เพือ


่ ให ้ได ้ความเห็นของฝ่ ายต่างๆทีเ่ กีย
่ วข ้องโดยการอ ้างว่า ถ ้าหากพวก
เขาไม่ได ้รับข ้อร ้องเรียนจากสาธารณชนก็หมายความว่าไม่มป ี ั ญหา ISO 14001 คาดหวังให ้องค์กรเป็ นฝ่ ายริเริม ่
และร ้องขอความคิดเห็นและข ้อเสนอแนะจากผู ้ทีเ่ กีย ่ วข ้อง สาหรับหลายๆบริษัทแล ้ว วิธก ี ารนีเ้ ป็ นการเปลีย
่ นแปลง
ปรัชญาแนวความคิดจากการตอบสนองไปเป็ นการมีปฏิสม ั พันธ์ระหว่างกันมากขึน้

มีหลายเทคนิคทีส ่ ามารถนามาใช ้เพือ


่ ให ้ได ้ทัศนะของฝ่ ายต่างๆทีส ่ นใจ แต่โดย
ปกติแ ล ้วการประชุม ร่วมกัน จะท าให ้ได ้ข ้อมูล ทีน ่ ถือ ได ้และเป็ นจริงมาก
่ ่ า เชือ อาจง่ายในการทาให ้ทุกคน
ที่สุด การประชุมสามารถท าได ้ทัง้ ในรูปแบบของการสัมภาษณ์ การอภิปราย ให ้มีสว่ นร่วมในระบบ แต่
ยากทีจ ่ ะไม่ให ้พนักงานใน
การประชุมในทีส ่ าธารณะหรืออะไรก็แล ้วแต่ทเี่ หมาะสมกับองค์กรและวัฒนธรรม
องค์กรต่อต ้านการปรับปรุง
่ การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์และการใช ้แบบสอบถามนั น
ท ้องถิน ้ ได ้ผลน ้อยกว่า เปลีย่ นแปลง
แต่ก็ยังดีกว่าไม่ได ้ทาอะไรเลย ดังนั น
้ จึงจาเป็ นทีบ ่ คุ ลากรของบริษัทควรมีสว่ น
ร่ว มในการรวบรวมข ้อมูล ดัง กล่า วเพื่อ ที่จ ะไม่ต ้องอยู่ใ นสภาพตัง้ รั บ หรือ คอย หากมีการจัดตัง้ เป้ าหมาย
อธิบายแสดงเหตุผลเกีย ่ วกับ สถานภาพขององค์กร เพราะกลุม ่ บุคคลทีส ่ ามซึง่ วัตถุประสงค์ทเี่ หมาะสม ทุก
เป็ นกลางบางครัง้ สามารถหาข ้อมูลทีม ่ เี หตุผลและไม่ลาเอียงได ้ดีกว่าผู ้จัดการ อย่างจะช่วยเสริมกันระหว่าง
หรือลูกจ ้างขององค์กร เป้ าหมายส่วนตัว เป้ าหมาย
แผนก ผลการตรวจประเมิน
ประโยชน์ของการสารวจความคิดเห็นของฝ่ายต่างๆ ทุกคนช่วยกันปรับปรุง
องค์กรเพือ
่ ให ้บรรลุนโยบาย
การน าข ้อมู ล ที่ไ ด จ้ ากการส ารวจความคิด เห็ น จากผู ้ที่เ กี่ย วข ้องบรรจุ ล งใน
แผนการจัดการสิง่ แวดล ้อมนัน ้ เป็ นการแสดงให ้เห็นว่า องค์กรจะดาเนินการด ้าน
การจัดการสิง่ แวดล ้อมตามข ้อผูกพันและสนใจทีจ ่ ะให ้ความร่วมมืออย่างดี การสารวจความคิดเห็นจากฝ่ ายต่างๆที่
สนใจเป็ นระยะๆนั น ้ จะช่วยให ้องค์กรสามารถดารงอยู่กับชุมชนได ้กว ้างขวางขึน ้ สามารถเปลีย ่ นแปลงค่านิยม การ
รับรู ้และความคาดหวัง เมือ ่ ชุมชนมีการสือ ่ สารและแลกเปลีย ่ นความคิดเห็นอย่างสม่าเสมอกับองค์กรทีน ่ าระบบการ

จัดการสิงแวดล ้อมไปปฏิบัต ิ การชุมนุมประท ้วงของชุมชนกลุ่มหนึง่ หรือหลายกลุม ่ จึงเป็ นไปได ้ยาก ที่ สาคัญทีส
่ ด

่ วข ้องทัง้ หลายซาบซึง้ ใจทีม
ผู ้เกีย ่ ค
ี นรับฟั งความคิดเห็นของพวกเขา อาจจะเรียกได ้ว่าการสารวจความคิดเห็นของ
ฝ่ ายต่างๆทีส ่ นใจนัน ้ เป็ นสิง่ ทีส
่ มควรปฏิบต ั เิ ป็ นอย่างยิง่

ข้อเท็จจริงอืน
่ ๆเกีย
่ วก ับว ัตถุประสงค์และเป้าหมาย

มาตรฐาน ISO 14001 ได ้กาหนดว่าขัน ้ ตอนการทางานต ้องจัดทาเป็ นเอกสาร ซึง่


้ ตอนการทางานหรือผลจากขัน
่ อิเล็กทรอนิค
หมายถึงเขียนลงบนกระดาษหรือบันทึกลงในสือ

วัตถุประสงค์และเป้ าหมายควรทีจ
่ ะสามารถทาให ้บรรลุผลได ้ภายในกาหนดเวลา ในขณะเดียวกันก็เป็ นการปรับปรุง
เพือ
่ ยกระดับผลการดาเนินงานขององค์กรด ้วย ในการจัด การต ้องจัดสรรทรัพยากรอย่างเพียงพอเพือ ่ ให ้พนั กงาน
สามารถดาเนินการให ้บรรลุวัตถุประสงค์แต่ละอย่างได ้ ทัง้ นี้ควรจะมีการทบทวนอย่างสม่าเสมอเพือ
่ ทาให ้มั่นใจว่า
ความสาคัญของวัตถุประสงค์และสิง่ ทีเ่ กีย
่ วข ้องยังคงดาเนินต่อไป

อะไรบ้างทีเ่ ราควรนามาจ ัดทาเป็น สมรรถนะด้านสงิ่ แวดล้อม

ข ้อกาหนด ISO14031 “Environmental Management – Environmental performance evaluation


Guideline ได ้ให ้แนวทางในการจัดทาดัชนีในการประเมินผลงานด ้านสิง่ แวดล ้อม (Environmental
Performance) เป็ น ECI (environmental condition indicator) , EPI ( Environmental Performance
Indicator)

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 32 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ต ัวอย่าง การจ ัดทา EPI มีด ังนี้

MPI (Management Performance indicator) การปฏิบต ิ ามนโยบายและโครงการสิง่ แวดล ้อม เป็ นดัชนี
ั ต
ทีแ
่ สดงถึงความพยายามของผู ้บริหารทีม
่ อ ิ ธิพล ต่อผลงานสิง่ แวดล ้อมขององค์กร แยกตามประเภทของหน ้าทีท
ี ท ่ ี่
ควรคานึงถึง

จานวนวัตถุประสงค์กบ
ั เป้ าหมายทีป
่ ระสบความสาเร็จ

− จานวนแผนกในองค์กรทีป ่ ระสบความสาเร็จ
− ระดับของการปฏิบต ั ส
ิ าเร็จตามแผน 80%, 100%
− จานวนทางเลือกทีใ่ ช ้ในการป้ องกันมลพิษได ้สาเร็จ
− ระดับความรู ้ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีไ่ ด ้จากการอบรม
− จานวนข ้อเสนอแนะเพือ ่ ปรับปรุงสิง่ แวดล ้อมจากพนักงาน
− จานวนผลิตภัณฑ์ ชิน ้ ส่วนทีอ่ อกแบบเพือ ่ สิง่ แวดล ้อม เช่นการนากลับมาใช ้ใหม่
− จานวนผู ้รับเหมาช่วงทีไ่ ด ้รับการรับรองระบบสิง่ แวดล ้อม

ความสาเร็จตามทีค
่ าดหวัง

− ระดับทีป่ ฏิบต
ั ไิ ด ้ตามกฎหมาย
− ระดับความสามารถในการตอบสนองต่อความต ้องการด ้านสิง่ แวดล ้อมลูกค ้าตามสัญญา
− ระยะเวลาทีใ่ ช ้เพือ ่ แก ้ปั ญหาด ้านสิง่ แวดล ้อมเมือ
่ เกิดเหตุ
− จานวนครัง้ และค่าปรับทีต ่ ้องจ่ายให ้กับทางราชการ
− ความถีใ่ นการปรับปรุงคูม ่ อ
ื ปฏิบต ั ก
ิ าร
− ระดับความพร ้อมในการปฏิบต ั ก
ิ ารในกรณีเหตุฉุกเฉิน

ด ้านการเงิน

− ผลตอบแทนทางเงินจากโครงการด ้านสิง่ แวดล ้อม


− ค่าใช ้จ่ายทีป
่ ระหยัดได ้จากการใช ้วิธป
ี ้ องกันมลพิษ

ความสัมพันธ์กบ
ั ชุมชน

− ่ กเป็ นข่าวด ้านสิง่ แวดล ้อม


จานวนครัง้ ทีต
− จานวนครัง้ ทีจ่ ัดโครงการชุมชนด ้านสิง่ แวดล ้อม
− ทรัพยากรทีใ่ ห ้กับท ้องถิน ่ โครงการด ้านสิง่ แวดล ้อม
่ เพือ
− ค่าความนิยมจากการสารวจชุมชนรอบข ้างเกีย ่ วกับองค์กร

OPI (Operation Performance Indicator) ดัชนีวด ั ทีแ


่ สดงความสามารถองค์กรในการปฏิบต ั ก
ิ ารด ้าน
สิง่ แวดล ้อม เป็ นดัชนีทแี่ สดงถึงความสามารถขององค์กรในการปฏิบตั งิ านด ้านสิง่ แวดล ้อมอาจแบ่งประเภทได ้ตาม
สิง่ ทีเ่ ข ้าหรือออกจากระบบการทางานของโครงการ

วัตถุดบ

− ปริมาณวัตถุดบ
ิ ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์
− ปริมาณวัตถุดบ ่ ากลับมาใช ้ใหม่
ิ ทีน
− ปริมาณบรรจุภณ ั ฑ์ทที่ งิ้ หรือนากลับมาใช ้ใหม่ตอ
่ หน่วยผลิตภัณฑ์
− ปริมาณการใช ้น้ าต่อหน่วยผลิตภัณฑ์
− ปริมาณสารอันตรายต่อหน่วยผลิตภัณฑ์

พลังงาน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 33 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

− ปริมาณพลังงานทีใ่ ช ้ต่อปี หรือต่อหน่วยผลิตภัณฑ์


− ปริมาณพลังงานทีใ่ ช ้ต่อลูกค ้าหรือต่อหน่วยบริการ
− ปริมารของพลังงานแต่ละชนิด
− ปริมาณพลังงานทีป่ ระหยัดได ้จากโครงการประหยัดพลังงาน

งานบริการสนับสนุน

− ปริมาณสารอันตรายทีใ่ ช ้โดยผู ้รับเหมาช่วง


− ี่ ากลับมาใช ้โดยผู ้รับเหมาช่วง
ปริมาณวัสดุทน
− ปริมาณสารเคมี สารทาความสะอาด
− ปริมาณของเสียทีเ่ กิดขึน

กระบวนการ เครือ
่ งจักร

− จานวนชัว่ โมงทีเ่ ครือ่ งจักรแต่ละเครือ


่ งทางาน
− จานวนครัง้ การเกิดเหตุฉุกเฉิน
− พืน
้ ทีต
่ อ
่ หน่วยผลิต
− ปริมาณเชือ ้ เพลิงทีใ่ ช ้ในพาหนะต่อปี

ผลิตภัณฑ์

− จานวนผลิตภัณฑ์ใหม่ทม ี่ ส
ี ารอันตรายน ้อยลง
− จานวนผลิตภัณฑ์ทส ี่ ามารถนากลับมาใช ้ใหม่
− จานวนผลพลอยได ้ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์
− อายุการใช ้งานผลิตภัณฑ์
− ปริมาณพลังงานทีผ ่ ลิตภัณฑ์ใช ้ในขณะทางาน

ของเสีย

− ปริมาณของเสียต่อหน่วยผลิตภัณฑ์
− ปริมาณของเสียทีส ่ ามารถนากลับมาใช ้ใหม่
− ปริมาณของเสียทีต ่ ้องกาจัดต่อปี
− ปริมาณของเสียทีเ่ ก็บในโรงงาน

มลพิษทีป
่ ล่อย

− ปริมาณและชนิดของมลพิษทีป ่ งิ่ แวดล ้อมต่อหน่วยผลิตภัณฑ์


่ ล่อยสูส
− ปริมาณพลังงานสูญเสีย
− ปริมาณของเสียทีฝ ่ ั งกลบ
− ปริมาณน้ าเสียต่อหน่วยผลิตภัณฑ์

ในการจัดการโครงการชีว้ ด
ั Key Performance (KEPIs) ทีด
่ จ
ี ะทาให ้องค์กรสามารถติดตาม วัดผล หรือมี
โอกาสทีจ
่ ะ:

− ประหยัดเงินและทาให ้กาไรเพิม
่ ขึน

− ้ทรั
ใช พยากรอย่างมีประสิทธิผล
− ลดของเสีย วัตถุดบ
ิ )พลังงาน น้ า บรรจุภณ
ั ฑ์ ฯลฯ(
− ป้ องกันมลพิษ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 34 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

มากกว่านี้ KEPIs ยังสามารถช่วยให ้บริษัทแสดงหลักฐานการปฏิบต ิ ามกฎหมายสิง่ แวดล ้อม และความ


ั ต
มุง่ มั่นในการปรับปรุงประสิทธิผลการดาเนินงานได ้อย่างชัดเจน วัดผลได ้ รวมถึงการแสดงให ้เห็นถึงการ
ปรับปรุงได ้เป็ นอย่างดี.

สรุปประเด็นสาค ัญ

• การกาหนดและการปฏิบัตต ิ ามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อมเป็ นวิธท ี ส ี่ าคัญต่อการประสบ


ความสาเร็ จในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและป้ องกันภาวะมลพิษตามทีน ่ โยบายสิง่ แวดล ้อมขององค์กร
ต ้องการ
• เพือ่ ให ้ได ้ผล วัตถุประสงค์และเป้ าหมายต ้องจัดทาเป็ นเอกสาร มีความเฉพาะเจาะจง สามารถวัดผลได ้
สามารถบรรลุผลได ้ (แต่อย่ากาหนดเป้ าหมายง่ายจนเกินไป) และต ้องทาให ้ทันสมัยอยูเ่ สมอ
• เป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อมสนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค์ โดยการแบ่งวัตถุประสงค์ออกเป็ นจุดมุง่ หมายที่
เล็กลงสาหรับแต่ละแผนก กลุม ่ คนหรือแต่ละคน เมือ ่ นาเป้ าหมายทัง้ หมดมารวมกันจะทาให ้บรรลุวต ั ถุประสงค์
• ในการกาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย สิง่ ทีต ่ ้องพิจารณาตามมาคือกฎหมาย กฎระเบียบข ้อบังคับ ประเด็น
ปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญ ทางเลือกด ้านเทคโนโลยี ธุรกิจ การเงิน และข ้อกาหนดในการปฏิบัตก ิ าร และ
มุมมองของฝ่ ายต่างๆทีส ่ นใจ
• การสารวจความคิดเห็นของฝ่ ายต่างๆทีส ่ นใจนั น
้ เป็ นการดีสาหรับการได ้รับความคิดเห็นจากสาธารณชนทีจ ่ ะ
ช่วยในการวางแผนการจั ดการสิง่ แวดล ้อมและการกาหนดวัตถุประสงค์แ ละเป้ าหมาย นอกจากนี้ยั ง ช่วย
ปรับปรุงความสัมพันธ์กบ ั ชุมชนให ้กว ้างขวางขึน ้ ด ้วย

การตรวจประเมิน

1. ตรวจสอบว่า เป้ าหมายสามารถวัดได ้ และมีการกาหนดขีดจากัดทีย ่ อมรับได ้ไว ้ มีความต่อเนือ


่ ง
เชือ ่ มโยงกับนโยบาย และประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยยะสาคัญ, ข ้อกาหนดทางกฎหมาย และค่า
เป้ าหมายทีต ่ งั ้ เป็ นการตัง้ ค่าป้ าหมายเพือ ่ การปรับปรุง โดยทาการตรวจสอบทีม ่ าของทีม่ าของการ
กาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมายพิจารณาจากอะไรบ ้าง
2. ค่าเป้ าหมายทีต ่ งั ้ นี้ มีอก ่ หนึง่ ว่าสมรรถนะสิง่ แวดล ้อม ทาการตรวจสอบว่า วัตถุประสงค์เป้ าหมายนี้ มี
ี ชือ
โปรแกรมด ้านสิง่ แวดล ้อมสนับสนุนและ ได ้รับการติดตามตรวจวัดตามข ้อกาหนด 4.5.1 อย่างเหมาะสม
3. ตรวจสอบว่า การตัง้ วัตถุประสงค์และเป้ าหมายนัน ้ ได ้มีต ้นทางมาจาก 4 กรอบ คือ 1. นโยบาย
สิง่ แวดล ้อม .2ความมุง่ มั่นในการป้ องกันมลพิษ .3ความมุง่ มัน ่ ในการปฏิบตั ติ ามข ้อกฎหมายและ
ข ้อกาหนดอืน ่ ๆ และ .4 ความมุง่ มั่นในการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง และมีเหตุผลสนับสนุนในการตัง้
วัตถุประสงค์เป้ าหมายดังกล่าว

่ บรรลุว ัตถุประสงค์ดา้ นสงิ่ แวดล้อม


การปฏิบ ัติการวางแผนเพือ

โปรแกรมสาหรับการบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กร โปรแกรมควรกล่าวถึงบทบาท ความรับผิดชอบ


กระบวนการ ทรัพยากร กรอบเวลา ลาดับความสาคัญและปฏิบต ั ก
ิ ารทีจ
่ าเป็ นในการบรรลุ วัตถุประสงค์ด ้าน
สิง่ แวดล ้อม โดยปฏิบต
ั ก
ิ ารเหล่านีส
้ ามารถจัดการด ้วยกระบวนการรายบุคคล โครงการ ผลิตภัณฑ์ บริการ สถาน
ประกอบการหรือสิง่ อานวยความสะดวกภายในสถานประกอบการ

องค์กรสามารถบูรณาการโปรแกรมต่าง ๆ เพือ ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมด ้วยโปรแกรมอืน


่ บรรลุวต ่ ๆ ภายใน
กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์

โปรแกรมในการบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมจะช่วยองค์กรในการปรับปรุงประสิทธิผลการทางานด ้าน


สิง่ แวดล ้อมโดยควรมีความไวและสะท ้อนต่อการเปลีย ่ นแปลงในกระบวนการ กิจกรรม บริการและผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ
ภายในขอบเขตของ ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กิดขึน ้ ดังนัน
้ ควรมีระบบทีม ี ารแก ้ไขวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม
่ ก
และโปรแกรมทีเ่ กีย
่ วข ้องเมือ
่ จาเป็ น

่ งของแผนการจ ัดการสงิ่ แวดล้อม


เรือ

โดยสรุปแล ้วการวางแผนระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ISO 14001 มี 4 องค์ประกอบ การกาหนดแผนการจัดการ


สิง่ แวดล ้อม (หรือแผนปฏิบต
ั ก ่ ให ้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ซึง่ ได ้มาจากการพิจารณาถึงประเด็น
ิ าร) เพือ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 35 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

ปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส่ าคัญ กฎหมายและข ้อกาหนดอืน ่ ๆ และทัศนะจากฝ่ ายต่างๆทีส ่ นใจ รวมทัง้ ปั จจัยอืน ่ ๆ (เช่น
เทคโนโลยี ธุรกิจ การเงินและการปฏิบต ั ก ้ ทัง้ หมดนีเ้ ป็ นสิง่ ทีอ
ิ าร)นัน ่ งค์กรต ้องมุง่ เน ้นเพือ
่ ให ้การปฏิบต
ั งิ านเป็ นไป
ตามข ้อผูกพันทีไ่ ด ้กาหนดไว ้ในนโยบายสิง่ แวดล ้อม

ISO 14001 ใช ้คาว่าแผนการจัดการสิง่ แวดล ้อมเมือ ่ ต ้องการหมายถึงแผนปฏิบัตก


ิ ารทีจ
่ ะทาให ้บรรลุวัตถุประสงค์
และเป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อม แผนปฏิบต
ั ก
ิ ารอธิบายเกีย่ วกับ:

• จะบรรลุวต ั ถุประสงค์และเป้ าหมายได ้อย่างไร


• ใครคือผู ้รับผิดชอบทีจ ่ ะทาให ้บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมาย (ใครจะปฏิบต ั งิ าน)
• ใครคือผู ้มีอานาจในการจัดการและชีแ ้ นะการปฏิบต ั งิ าน และใครคือผู ้รับผิดชอบต่อการทาให ้บรรลุวต
ั ถุประสงค์
และเป้ าหมาย
• บุคคลเหล่านีจ ้ ะต ้องทาอะไร
• ทรัพยากรอะไรบ ้าง (เช่น เงิน เวลา บุคลากร เครือ ่ งมือ) ทีบ
่ ค
ุ คลเหล่านีต
้ ้องการ
• จะวัดความก ้าวหน ้าได ้อย่างไร (โดยใช ้ดัชนีชวี้ ด ั ผลการดาเนินงาน)
• งานต่างๆจะเสร็จเมือ ่ ใด (ตารางกาหนดวัน เวลา)

การนาแผนการจ ัดการสงิ่ แวดล้อมไปปฏิบ ัติ

ในทางสร ้างสรรค์นัน ้ การประยุกต์โครงการสิง่ แวดล ้อมจานวนมากเป็ นเรือ ่ งทีม


่ ค
ี วามสาคัญทีท่ าให ้องค์กรประสบ

ความสาเร็จในระบบการจัดการสิงแวดล ้อม โครงการแต่ละโครงการจะต ้องระบุถงึ วัตถุประสงค์และเป้ าหมายที่
องค์กรจะได ้รับ ซึง่ มีกรอบระยะเวลาทีร่ ะบุไว ้ ทรัพยากรทีจ
่ าเป็ น ความรับผิดชอบของบุคลากรสาหรับการประยุกต์
โครงการดังกล่าว โครงการเหล่านีส ่
้ ามารถแบ่งย่อยไปสูแต่ละเรือ ่ งของการปฏิบต ั ก
ิ ารในองค์กรได ้

ในการดาเนินโครงการต่างๆ ให ้มีประสิทธิผลและเหมาะสมจะต ้องพิจารณารวมไปถึงเรือ ่ ง การวางแผน การ


ออกแบบ การผลิต การตลาด การกาจัดของเสีย ซึง่ ต ้องครอบคลุมทัง้ ในเรือ ่ งทีเ่ กิดขึน
้ ในปั จจุบน
ั และกิจกรรมใหม่ๆ
ผลิตภัณฑ์และบริการ สาหรับผลิตภัณฑ์ครอบคลุมในเรือ ิ กระบวนการผลิต การใช ้ และการ
่ ง การออกแบบ วัตถุดบ
่ งการติดตัง้ หรือการขยาย ปรับปรุงกระบวนการผลิตซึง่ อาจครอบคลุมเรือ
กาจัดของเสีย สาหรับเรือ ่ ง การวางแผน
การออกแบบ การก่อสร ้าง การทดสอบ การปฏิบต ั ก
ิ าร ในระยะเวลาทีก
่ าหนดไว ้ตามองค์กร

แผนการจั ด การสิง่ แวดล ้อมเป็ นรายการและแผนผั ง ของงานที่ต ้องปฏิบั ต ิเ ป็ นเป็ นประจ าวั น ประจ าสั ป ดาห์
ประจ าเดือน ประจ าไตรมาส และบางครั ง้ แสดงรายละเอีย ดของงานทีต ่ ้องด าเนินการให ้บรรลุวัต ถุประสงค์แ ละ
เป้ าหมายเป็ นรายปี กล่าวคือ ใครจะเป็ นผู ้ดาเนินการระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ISO 14001 ดาเนินการอย่างไร มี
่ ใด แผนการจัดการสิง่ แวดล ้อมยังมีแบบฟอร์มรายการเพือ
อะไรบ ้าง ทีไ่ หนและเมือ ่ วัดความก ้าวหน ้าของงานอีกด ้วย

องค์กรควรให ้ผู ้ทีจ ่ ะมีสว่ นร่วมในการดาเนินงานตามแผนปฏิบัตก ิ ารนี้ได ้ช่วยพัฒนารายละเอียดของแผนปฏิบัตก ิ าร


ซึง่ จะทาให ้องค์กรได ้รับประโยชน์จากผู ้เชีย ่ วชาญทีม
่ อ
ี ยู่ทุกระดับ และเกิดข ้อผูกพันในการปฏิบัตงิ านจากผู ้ทีต
่ ้อง
ปฏิบต ั งิ านนัน
้ เอง

เพือ ่ ให ้เกิดประโยชน์ แผนการจัดการสิง่ แวดล ้อมควรมีความยืดหยุ่น ต ้องมีการทบทวนและทาให ้ทันสมัยอยู่เสมอ


เพือ ่ ตอบสนองต่อการเปลีย ่ นแปลงในเรือ ่ งบุคลากร ความสาคัญของประเด็นปั ญหา กาหนดการ งบประมาณ รวมทัง้ เมือ ่
จาเป็ นต ้องเปลีย ่ นแปลงวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย การปรับเปลีย ่
่ นแผนการจัดการสิงแวดล ้อมอาจจะจาเป็ นเมือ ่ เปลีย
่ น
วัตถุดบ ิ หรือกระบวนการผลิต หรือกระบวนการบาบัดกากของเสีย หรือมีการดัดแปลงอุปกรณ์เครือ ่ งมือ หรือเมือ
่ ใดก็
ตามทีม ่ กี ารเปลีย
่ นแปลงทีค ่ วข ้องกับประเด็นปั ญหาด ้านสิง่ แวดล ้อมเกิดขึน
่ วามเกีย ้ การติดตามตรวจสอบแผนการจัดการ
สิง่ แวดล ้อมอย่างสม่าเสมอเป็ นสิง่ จาเป็ นทีจ
่ ะทาให ้มั่นใจได ้ว่าแผนปฏิบตั ก
ิ ารนีย
้ ังคงดาเนินต่อไปอย่างต่อเนือ
่ ง

ดช ั นีช ี้ว ด
ั ผลการด าเนิน งานเป็ นการว ดั ความก้า วหน้า ของงานในเช ง ิ ปริม าณถึง การบรรลุ ผ ลตาม
ว ัตถุประสงค์และเป้าหมายและควรเป็ นส่วนหนึง่ ของแผนการจัดการสิง่ แวดล ้อม ตามหลักการของ ISO 14004
(แนวทางทั่วไปของหลักการ ระบบ และเทคนิคการสนับสนุนสาหรับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม) ดัชนีชวี้ ัดผลการ
ด าเนิน การควรหามาจากข ้อมูล ทีไ่ ด ้โดยใช ้เทคนิค ทีน ่ ถือ และได ้รั บ การตรวจสอบโดยขัน
่ ่ าเชือ ้ ตอนการควบคุม
คุณภาพและการประกันคุณภาพ

ดัชนีชวี้ ด
ั ผลการดาเนินงานมักรวมถึง:

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 36 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 6.0

• ปริมาณวัตถุดบ ิ ทีใ่ ช ้ต่อหน่วยการผลิต


• ปริมาณพลังงานต่อหน่วยการผลิต
• ระดับของการปล่อยสารมลพิษหรือกากของเสียทีแ ่ สดงในรูปของความเข ้มข ้น หรือปริมาณทัง้ หมดต่อวัน
หรือต่อหน่วยการผลิต
• ปริมาณกากของเสียทีต ่ ้องนาไปกาจัดต่อหน่วยวัตถุดบ ิ ทีป
่ ้ อนเข ้าไปในการผลิต
• ร ้อยละของการลดปริมาณของเสียทัง้ หมดหรือของเสียอย่างใดอย่างหนึง่ จากทุกพืน ้ ทีข่ องการปฏิบต ั งิ าน
• จานวนครัง้ ของการเกิดหรือเกือบเกิดอุบต ั เิ หตุในช่วงเวลาทีก ่ าหนด
• ขนาดพืน ้ ทีท
่ จ
ี่ ัดไว ้สาหรับเป็ นทีอ ่ ยูอ
่ าศัยของสัตว์ป่า สถานทีพ ่ กั ผ่อนหย่อนใจหรือพืน
้ ที่ ทีใ่ ห ้คุณค่าทาง
ชีวภาพอืน ่ ๆ
• จานวนต ้นไม ้สายพันธุต ์ า่ งๆทีป
่ ลูกขึน้ เพือ
่ ฟื้ นฟูป่า
• จานวนสายพันธุข ์ องสัตว์ป่าหรือปลาทีอ ่ นุรักษ์ไว ้ในเขตทีไ่ ด ้รับอิทธิพลจากการปล่อยของเสียของบริษัท
• จานวนครัง้ ต่อปี ทก ี่ ารดาเนินงานของบริษัทไม่เป็ นไปตามข ้อกาหนดกฎหมาย
• จานวนบุคลากรทีไ่ ด ้รับการฝึ กอบรมและมีความตระหนักด ้านสิง่ แวดล ้อม

สรุปประเด็นสาค ัญ

• แผนการจัดการสิง่ แวดล ้อมเป็ นแผนปฏิบต ั ก


ิ ารทีม
่ รี ายละเอียดการปฏิบต
ั เิ พือ
่ ให ้บรรลุตามวัตถุประสงค์และ
เป้ าหมาย
• แผนการจัดการสิง่ แวดล ้อมกาหนดความรับผิดชอบ กาหนดการ และทรัพยากรทีจ ่ าเป็ น (กล่าวคือ ใครทา
อะไร ทาอย่างไร ทาเมือ ่ ไร)
• ดัชนีชวี้ ด
ั ผลการดาเนินงานเป็ นตัวชีว้ ด
ั ในเชิงปริมาณและมีความเฉพาะเจาะจง ใช ้ติดตามความก ้าวหน ้า
ของแผนการจัดการสิง่ แวดล ้อมให ้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย
• แผนการจัดการสิง่ แวดล ้อมต ้องได ้รับการทบทวนและทาให ้ทันสมัยอยูเ่ สมอ เพือ ่ แสดงสภาวะทีเ่ ป็ น
ปั จจุบน

แนวทางตรวจประเมิน

1. ตรวจทานกิจกรรมทีร่ ะบุในแต่ละโครงการด ้านสิง่ แวดล ้อม (Environmental Management Program :


EMP) ว่ามีความเป็ นไปได ้ เพียงพอ เหมาะสมในการทาให ้องค์กรบรรลุคา่ เป้ าหมายทีร่ ะบุหรือไม่
2. ตรวจสอบในแต่ละโครงการด ้านสิง่ แวดล ้อม (Environmental Management Programโดยการ (
สัมภาษณ์ผู ้ทีร่ ับผิดชอบเกีย ่ พิจาณาว่ามีการกาหนดหน ้าทีร่ ับผิดชอบจัดเชน ซึง่ รวมถึงการ
่ วข ้อง เพือ
ตรวจสอบความคืบหน ้า ก ้าวหน ้า ของโครงการ

- END -

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 37 of 37 8 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

ISO 14001:2015
: ISO14001 Guide Book
CL 7.0

Just for Customer


Guide Series

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 1 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

Contents
7 การสนับสนุน .........................................................................................................................3
7.1 ทรัพยากร...............................................................................................................................3
ทรัพยากรทีจ่ าเป็ นมีอะไรบ ้าง ........................................................................................................ 3
แค่ไหนเรียกจาเป็ น ..................................................................................................................... 3
ทรัพยากรบุคคล ทางกายภาพและทางการเงิน สามารถหยิบยืมกันได .....................................................
้ 3

7.2 ความสามารถ .....................................................................................................................4


ทั่วไป ...................................................................................................................................... 4
ตัวอย่างเกีย ่ วกับความต ้องการด ้านความสามารถ ............................................................................... 4
ตัวอย่างความต ้องการด ้านความชานาญ .......................................................................................... 4
จุดประสงค์และประโยชน์ของการฝึ กอบรมทีม ่ ป
ี ระสิทธิผล .................................................................... 5
การระบุความจาเป็ นของการฝึ กอบรม .............................................................................................. 6
การวิเคราะห์การปฏิบต ั งิ าน ........................................................................................................... 7
การฝึ กอบรม ความตระหนักและความสามารถ ................................................................................... 7
การออกแบบแผนการฝึ กอบรมสาหรับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ISO 14001 ........................................ 7
หัวข ้อการอบรมทีม ่ ผ
ี ลกระทบต่อทุกคน............................................................................................ 8
หัวข ้อการอบรมสาหรับบทบาทและความรับผิดชอบเฉพาะ ................................................................... 8
การประเมินผลการฝึ กอบรม .......................................................................................................... 9
Tip & Trick สาหรับการอบรม ..................................................................................................... 10
เรือ
่ งของความสามารถ .............................................................................................................. 11
ตัวอย่างการกาหนดหัวข ้ออบรม ................................................................................................... 12

7.3 การตระหนักถึง ................................................................................................................. 13


7.4 ่ สาร ...................................................................................................................... 14
การสือ
ทั่วไป .................................................................................................................................... 14
วัตถุประสงค์และธรรมชาติของการสือ ่ สาร ...................................................................................... 15
ข ้อกาหนด ISO 14001 สาหรับการสือ ่ สารภายในและภายนอกองค์กร ................................................... 16
การสือ ่ สารภายในองค์กร ............................................................................................................ 16
การสือ ่ สารกับฝ่ ายต่างๆภายนอกองค์กร ......................................................................................... 17
องค์ประกอบหลักในการสือ ่ สาร ................................................................................................... 18
การสือ ่ สารภายใน..................................................................................................................... 18
การสือ ่ สารภายนอก .................................................................................................................. 18
เพิม่ เติม ..................................................................................... Error! Bookmark not defined.

7.5 เอกสารข ้อมูล .................................................................................................................. 20


เรือ
่ งของเอกสาร ...................................................................................................................... 20
นิยามการจัดทาเอกสาร ............................................................................................................. 20
แนวทางปฏิบต ั ก
ิ ารควบคุมเอกสาร ................................................................................................ 21
เอกสารข ้อมูล.......................................................................................................................... 23
การสร ้างและการอัพเดต ............................................................................................................ 23
การควบคุมเอกสารข ้อมูล ........................................................................................................... 23
เรือ
่ งของบันทึก ........................................................................................................................... 25

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 2 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

7 การสน ับสนุน

7.1 ทร ัพยากร

7.1 ทร ัพยากร

องค์กรต ้องพิจารณาและให ้ทรัพยากรทีจ ่ าเป็ นสาหรับการจัดทา, การนาไปปฏิบต


ั ,ิ ธารงรักษา และปรับปรุงอย่าง
่ งซึง่ ระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม
ต่อเนือ

ทร ัพยากรทีจ
่ าเป็นมีอะไรบ้าง
่ าเป็ น สาหรับ การกาหนด การดาเนินการ การรักษาและการปรับปรุงระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม อาจ
ทรัพยากรทีจ
ประกอบด ้วย:
— โครงสร ้างพืน ้ ฐาน
— ทรัพยากรทีไ่ ด ้จากภายนอก
— ระบบข ้อมูล
— ความสามารถ
— เทคโนโลยี
— ทรัพยากรทางการเงิน บุคคลและอืน ่ ๆ ทีเ่ ฉพาะสาหรับกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ทัง้ นี้ ควร
มีการให ้ทรัพยากรในลักษณะทีท ่ ันเวลาและมีประสิทธิผล

แค่ไหนเรียกจาเป็น
่ รือมีให ้พอต่อการบรรลุ ข ้อกาหนดผู ้มีสว่ นได ้เสีย นโยบาย พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย
จาเป็ นคือการมีอยูห

การจัดสรรทรัพยากรควรพิจารณาความต ้องการในปั จจุบน ั และในอนาคตขององค์กร ในการการจัดสรรทรัพยากร


องค์กรสามารถตรวจสอบย ้อนกลับประโยชน์และเงินทุนรวมถึงต ้นทุนการดาเนินงานของกิจกรรมด ้านสิง่ แวดล ้อม
่ วข ้อง ปั ญหาต่าง ๆ อาทิเช่น ต ้นทุนการควบคุมมลภาวะ (ค่าใช ้จ่ายเงินทุน) และรวมถึงเวลาทีใ่ ช ้ให ้
หรือทีเ่ กีย
บุคคลากรทางานภายใต ้การควบคุมขององค์กรในการทาให ้ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมมีประสิทธิผล (ค่าใช ้จ่ายการ
ดาเนินงาน) ได ้ด ้วย

ทรัพยากรและการจัดสรรควรมีการทบทวนเป็ นระยะ ๆ โดยเชือ ่ มต่อกับการทบทวนของฝ่ ายบริหารเพือ


่ ทาให ้มั่นใจ
ในความเพียงพอ ทัง้ นี้ ในการประเมินความเพียงพอของทรัพยากร ควรมีการพิจารณาการเปลีย
่ นแปลงทีว่ างแผนไว ้
และ/หรือโครงการหรือการดาเนินงานใหม่

ทร ัพยากรบุคคล ทางกายภาพและทางการเงิน สามารถหยิบยืมก ันได้


พืน
้ ฐานทรัพยากรและโครงสร ้างองค์กรขององค์กรทีม ่ ข
ี นาดเล็กอาจมีข ้อจากัดบางประการในการดาเนินระบบ
บริหารสิง่ แวดล ้อม เพือ
่ ให ้สามารถชนะข ้อจากัดเหล่านี้ องค์กรสามารถพิจารณากลยุทธ์ความร่วมมือต่าง ๆ โดย
สามารถเลือกจะมีความร่วมมือกับ
• องค์กรลูกค ้าหรือผู ้จัดหา (ซัพพลายเออร์)ทีม ่ ข
ี นาดใหญ่กว่าเพือ
่ แบ่งปั นเทคโนโลยีและความรู ้
• องค์กรอืน ่ ๆ ในห่วงโซ่อปุ ทานหรือรากฐานท ้องถิน ่ ในการกาหนดและระบุปัญหาทั่วไป การแบ่งปั น
ประสบการณ์ การอานวยความสะดวกให ้เกิดการพัฒนาด ้านเทคนิค การใช ้สิง่ อานวยความสะดวก
ร่วมกัน และการมีสว่ นร่วมในทรัพยากรจากภายนอก
• องค์กรการจัดมาตรฐานต่าง ๆ สมาคม หรือหอการค ้า สาหรับโปรแกรมการฝึ กอบรมและความรู ้
• มหาวิทยาลัยและศูนย์วจิ ัยอืน ่ ง่ เสริมการปรับปรุงประสิทธิผลการทางาน การประยุกต์ใช ้มุมมอง
่ ๆ ทีส
จากการประเมินวัฏจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรม

ความรู ้เป็ นทรัพยากรสาคัญสาหรับการจัดตัง้ และปรับปรุงระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม เมือ


่ กล่าวถึงความท ้าทายใน
อนาคต องค์กรควรคานึงถึงฐานความรู ้ในปั จจุบน ั และกาหนดวิธใี นการให ้ได ้มาและเข ้าถึงความรู ้เพิม
่ เติมทีจ
่ าเป็ น
เพิม
่ เติม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 3 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

7.2 ความสามารถ

7.2 ความสามารถ
องค์กรต ้อง
a) กาหนดความสามารถทีจ ่ าเป็ นสาหรับบุคลากรทีท ่ างานภายใต ้การควบคุมทีซ ่ งึ่ มีผลต่อสมรรถนะ
ด ้านสิง่ แวดล ้อมและความสามารถบรรลุ ข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต ั ติ ามโดยสมบูรณ์
b) ทาให ้มั่นใจว่าบุคลากรเหล่านีม ้ คี วามสามรถ บนพืน ้ ฐาน การศึกษา, การฝึ กอบรมหรือ
ประสบการณ์
c) กาหนดการอบรมทีจ ่ วข ้องกับประเด็นสิง่ แวดล ้อมและระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม
่ าเป็ นทีเ่ กีย
d) ่ สามารถประยุกต์ใช ้ได ้, ดาเนินกิจกรรมเพือ
เมือ ่ ให ้ได ้มาซึง่ ความสามารถทีจ
่ าเป็ น, และประเมิน
ประสิทธิผลของกิจกรรมทีไ่ ด ้กระทา

หมายเหตุ การดาเนินการทีส ่ ามารถประยุกต์ใช ้ตัวอย่างเช่น,การให ้ฝึ กอบรม,การเป็ นพีเ่ ลีย


้ ง, หรือ การมอบหมายงาน
กับพนั กงานปั จจุบน
ั ;หรือการว่าจ ้าง หรือทาสัญญากับผู ้ทีม
่ ค
ี วามสามารถ

องค์กรต ้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศทีเ่ หมาะสมเพือ


่ เป็ นหลักฐานของความสามารถ

ทว่ ั ไป
ความรู ้ ความเข ้าใจ ทักษะ ทาให ้บุคคลมีสามารถทีจ ่ าเป็ นในการทาให ้งานด ้านสิง่ แวดล ้อมมีประสิทธิผล บุคลากร
ทัง้ หมดทีท่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กรทีส ่ ง่ ผลหรือสามารถส่งผลต่อประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อม
รวมถึงในการทาให ้บรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้องควรมีความรอบรู ้บนพืน ้ ฐานการฝึ กอบรม การศึกษา
ประสบการณ์หรือการผสมผสานของสิง่ เหล่านีต ้ ามทีอ ่ งค์กรกาหนด บุคคลเหล่านีจ ้ ะรวมถึงพนักงานขององค์กรและ
ทีท่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กร อาทิเช่น ผู ้ให ้บริการจากภายนอก

ข ้อกาหนดด ้านความชานาญสาหรับบุคคลากรเหล่านีจ ้ ะไม่จากัดแค่บค ุ คลากรทีท


่ างานในงานทีม่ ห
ี รือสามารถมี
ผลกระทบสาคัญต่อสิง่ แวดล ้อมแต่ยังรวมบุคคลากรทีบ่ ริหารหน ้าทีห
่ รือแสดงบทบาททีส ่ าคัญในการบรรลุผลลัพธ์ท ี่
ตัง้ ใจไว ้ของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม

ต ัวอย่างเกีย
่ วก ับความต้องการด้านความสามารถ

หลาย ๆ องค์กรไม่สามารถเข ้าถึงความชานาญทัง้ หมดเหล่านีแ้ ละอาจจัดจ ้างผู ้ให ้บริการทีม


่ ค
ี วามสามารถเพือ ่ ทาให ้
มั่นใจในประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อม และการบรรลุผลลัพธ์ทต
ี่ งั ้ ใจไว ้ในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม

ต ัวอย่างความต้องการด้านความชานาญ
สาขาความ บทบาทขององค์กร ต ัวอย่างความชานาญ/ ต ัวอย่างการกาหนดความชานาญ
ชานาญทีม่ ี โดยรวม ความสามารถทีต้่ องการ

ศกยภาพ

— ความชานาญในการเลือก — การอบรมและการประเมินกลุม ่
ช่างเทคนิคด ้าน ตัวอย่างด ้านสิง่ แวดล ้อม ข ้อกาหนดและแนวทางปฏิบต ั ิ
เทคโนโลยีด ้าน สิง่ แวดล ้อม — ความสามารถในการดาเนินการ — การได ้รับการรับรองหรือ ใบอนุญาต
สิง่ แวดล ้อม ใช ้เครือ่ งมือสังเกตการณ์ สาหรับการใช ้เครือ ่ งมือ
ผู ้จัดการโปรแกรม — ความชานาญในกฎระเบียบด ้าน — วุฒก ิ ารศึกษาในสาขาสิง่ แวดล ้อม
ด ้านสิง่ แวดล ้อม สิง่ แวดล ้อมทีบ ่ งั คับใช ้ — การอบรมด ้านกฎระเบียบทีบ ่ งั คับใช ้
บุคคลทีม ่ ก
ี จิ กรรม — การตระหนั กถึงงานของตนเอง — การอบรมด ้านผลกระทบด ้าน
การทางานเกีย ่ วข ้อง ส่งผลต่อประสิทธิผลการทางาน สิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ วข ้องกับงานของ
การดาเนินการ กับประเด็น ด ้านสิง่ แวดล ้อมอย่างไร ตนเอง
ด ้านสิง่ แวดล ้อม สิง่ แวดล ้อมทีม ่ ี — ความรู ้ด ้านเกณฑ์การ — การอบรมด ้านเกณฑ์การดาเนินงาน
นั ยสาคัญ ดาเนินงานทีต ่ ้องทาให ้ได ้เพือ
่ ลด เพือ ่ ทาให ้มั่นใจในการควบคุม
ผลกระทบย ้อนกลับด ้านสิง่ แวดล ้อม กระบวนการ
ผู ้จัดการด ้าน — ความสามารถในการจัดตัง้ — ประสบการณ์ในการดาเนินระบบ
สิง่ แวดล ้อม ดาเนินการและปรับปรุงระบบบริหาร บริหารสิง่ แวดล ้อม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 4 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

สิง่ แวดล ้อม — การอบรมด ้านข ้อกาหนดของระบบ


— ความสามารถในการกาหนด บริหารสิง่ แวดล ้อม
ความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องมีการ
กล่าวถึงเพือ ่ ทาให ้มั่นใจในระบบ
บริหารสิง่ แวดล ้อมจะสามารถบรรลุ
ผลลัพธ์ทต ี่ งั ้ ใจไว ้และเพือ
่ วางแผน
ปฏิบต ั ก ิ ารทีเ่ หมาะสม
ระบบบริหาร — ความสามารถในการวิเคราะห์
สิง่ แวดล ้อม และปฏิบต ั ก ิ ารผลการทางานด ้าน
สิง่ แวดล ้อมและพันธกรณีทต ี่ ้อง
ปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องขององค์กร
ผู ้จัดการการตรวจ — ความสามารถในการพัฒนาและ — การอบรมการบริหารโปรแกรม
ติดตาม บริหารโปรแกรมตรวจติดตามเพือ ่ — ประสบการณ์ในการดาเนินโปรแกรม
ตัดสินประสิทธิผลของระบบบริหาร
สิง่ แวดล ้อมขององค์กร
ฝ่ ายบริหารสูงสุด — ความรู ้และความเข ้าใจถึงนั ยยะ — การอบรมด ้านระบบบริหาร
ของการตัง้ และดาเนินการนโยบาย สิง่ แวดล ้อมและการตัง้ นโยบาย
สิง่ แวดล ้อม สิง่ แวดล ้อม
— ความรู ้และความเข ้าใจความมี — ประสบการณ์ในการบริหารธุรกิจ
ทรัพยากรพร ้อมใช ้และการ
ประยุกต์ใช ้กับระบบบริหาร
สิง่ แวดล ้อมโดยรวมการมอบหมาย
ความรับผิดชอบและอานาจหน ้าที่

องค์กรควรกาหนดความสามารถทีจ ่ าเป็ นในการบรรลุผลล ัพธ์ทต ี่ งใจไว้


ั้ ของระบบบริหารสงิ่ แวดล้อม และ
ค ้นหาช่องว่างซึง่ ต ้องดาเนินการเมือ
่ จาเป็ นเพือ
่ ให ้มีความสามารถทีจ ่ าเป็ น

การจัดทาเอกสารสารสนเทศเรือ ่ งความสามารถนีจ
้ ะทาให ้มั่นใจว่า ได ้มีการกาหนดความต ้องการความสามารถที่
กาหนดไว ้ ทาการตรวจสอบย ้อนกลับความคืบหน ้าในการปิ ดช่องว่าง และทาให ้การสือ ่ สารข ้อมูลทีเ่ กีย
่ วข ้องถึงผู ้มี
ส่วนได ้ส่วนเสีย อย่างน ้อยทีส
่ ด
ุ ควรมีการรักษาเอกสารข ้อมูลทีเ่ หมาะสมในฐานะหลักฐานด ้านความชานาญ

เมือ
่ ได ้รับความชานาญผ่านการฝึ กอบรม กระบวนการฝึ กอบรมขององค์กรควรต ้อง
— การกาหนดความต ้องการในการอบรม
— การออกแบบและพัฒนาแผนหรือโปรแกรมการอบรมเพือ ่ ค ้นหาความต ้องการในการอบรมที่
กาหนดไว ้
— การทาการอบรม
— การประเมินผลการอบรม
— การทาเอกสารและการสังเกตการณ์ผลของการอบรมทีไ่ ด ้รับ

่ มีการนาไปใช ้ องค์กรควรประเมินประสิทธิผลของการอบรมและปฏิบต
เมือ ั ก
ิ ารอืน
่ ๆ ทีด
่ าเนินการในการให ้ได ้
ความสามารถทีจ ่ าเป็ นเพือ
่ ยืนยันการบรรลุผลลัพธ์ทต
ี่ งั ้ ใจไว ้

จุดประสงค์และประโยชน์ของการฝึ กอบรมทีม
่ ป ิ ธิผล
ี ระสท
่ สาร
ผู ้บริหารระดับสูงขององค์กรมีความรับผิดชอบหลักในการสร ้างความตระหนัก ให ้แรงกระตุ ้น จูงใจโดยการสือ

ตอกย้า อธิบาย ความสาคัญในการดูแลสิงแวดล ้อม นโยบาย และสนับสนุนให ้พนักงานและผู ้รับจ ้างช่วงยอมรับ
ความสาคัญในการบรรลุวต ั ถุประสงค์เป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ วข ้อง

พนักงานและผู ้รับจ ้างช่วงควรได ้รับการชักจูงให ้ข ้อเสนอแนะในการปรับปรุงสมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อม และมุง่ มั่นใน
การเปลีย
่ นระบบการจัดการแวดล ้อมในกระดาษสูก ่ ารปฏิบต
ั จ
ิ ริง

องค์กรจะต ้องระบุความรู ้ความสามารถ ความเข ้าใจและทักษะทีต่ ้องการของแต่ละบุคคลทีม ่ อ


ี านาจและรับผิดชอบ
ในการทางานหรือตัวแทน (ผู ้รับจ ้างช่วง) ซึง่ ในมาตรฐานสากลฉบับนีไ้ ด ้ระบุความต ้องการ 3 ระดับคือ

a) พนักงานทีท ่ าจก่อให้เกิดประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม


่ างานทีอ ่ น
ี ัยสาคัญ
b) พนักงานทีท่ างานและการควบคุมประเด็นสงิ่ แวดล้อมตามทีอ ่ งค์กรกาหนด

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 5 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

่ งปั ญหาสิง่ แวดล ้อมจากกิจกรรม


c) พนักงานทุกคนในองค์กรจะต ้องมีความตระหนักในเรือ ผลิตภัณฑ์และ
บริการขององค์กร

ความตระหนัก ความรู ้ความสามารถ ความเข ้าใจและทักษะจะสามารถกาหนดได ้จากการศึกษาและเพิม ่ เติมได ้จาก


การฝึ กอบรม การศึกษาเพิม ่ เติมและประสบการณ์ทไี่ ด ้รับ พนักงานของผู ้รับจ ้างช่วงทีม
่ าทางานเป็ นตัวแทนของ
องค์กร ต ้องได ้รับการกาหนดคุณสมบัต ิ และมีความรู ้ความสามารถในงานทีท ่ าหรือได ้รับการฝึ กอบรมทีเ่ หมาะสม

ผู ้บริหารจะต ้องกาหนดระดับของประสบการณ์ ความรู ้ความสามารถและประสบการณ์ทจ


ี่ าเป็ นเพือ
่ ให ้แน่ใจว่า
พนักงานหรือบุคคลมีความรู ้ความสามารถตามความเหมาะสมหรือความรู ้ความสามารถเฉพาะกรณีทต ี่ ้องควบคุม
สิง่ แวดล ้อมเป็ นพิเศษ

จุดประสงค์โดยรวมของการฝึ กอบรมใน ISO 14001 คือเพือ ่ พ ัฒนาความตระหน ักและความสามารถของ


บุคลากรให ้มีความรู ้และทักษะทีจ
่ าเป็ นสาหรับการจัดทาแผน การนาไปปฏิบต
ั ิ การคงไว ้ การดาเนินงานและการ
ปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

ผลลัพธ์จากแผนงานการฝึ กอบรมอาจล ้มเหลว เนือ


่ งจาก

• ผู ้สนับสนุนการฝึ กอบรมไม่ได ้กาหนดจุดประสงค์ของการฝึ กอบรมทีช ่ ดั เจน หรือแม ้แต่ตด


ั สินใจว่า
จาเป็ นต ้องทาการฝึ กอบรมหรือไม่
• ขาดการสนับสนุนทีพ ่ อเพียง หรือขาดการส่งเสริมจาก
หัวหน ้างาน ผู ้ร่วมงานหรือองค์กรในการนาความรู ้ ทักษะ สิง่ ทีม
่ คี วามสาคัญในการฝึ กอบรมนั่นคือ
หรือพฤติกรรมใหม่ๆไปปฏิบต ั ิ ซึง่ หากไม่นาความรู ้ใหม่ไป ประสิ ท ธิผลและผลกระทบย ้อนกลับใน
ปฏิบต ั เิ พือ
่ ทาให ้ผลการดาเนินงานส่วนบุคคลดีขน ึ้ และ การทางาน
ส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของแผนก ส่วนงาน และ
ขององค์กรให ้ดีขน ึ้ แล ้ว การฝึ กอบรมทัง้ หมดก็เป็ นการ
สูญเปล่า เป็ นสิง่ ทีน ่ ่าเสียดายทีท ่ ม ุ่ เทความพยายามฝึ กอบรมกลับให ้ผลลัพธ์คอ ื ความผิดหวัง การสูญเสีย
เวลา ความพยายามและเงิน

การระบุความจาเป็นของการฝึ กอบรม
ISO 14001 กล่าวว่าองค์กรต ้องระบุ:

• กิจกรรมทีอ
่ าจมีผลกระทบทีส่ าคัญต่อสิง่ แวดล ้อม
• ความตระหนัก ความรู ้ ทักษะและความสามารถทีจ ่ าเป็ นสาหรับการปฏิบต
ั ก
ิ จิ กรรมเหล่านี้
• ความจาเป็ นของการฝึ กอบรมเพือ่ เพิม
่ ความตระหนัก ความรู ้ ทักษะและความสามารถให ้ได ้ถึงระดับที่
ต ้องการ

ซึง่ แสดงให ้เห็นว่าต้องกาหนดผลล ัพธ์ทต ี่ อ ั


้ งการจากการฝึ กอบรมไว้ให้ชดเจน กล่าวอีกนั ยหนึง่ บุคคลทีเ่ ป็ นผู ้ให ้
จั ด การฝึ กอบรมต ้องเป็ นผู ้ก าหนดระดั บ ความรู ้ ทั ก ษะ ความสามารถ และ /หรือ การเปลี่ย นแปลงทั ศ นคติแ ละ
พฤติกรรมทีต ่ ้องการเพือ ่ ให ้สามารถปฏิบัตงิ านในระดับทีก ่ าหนดไว ้ กล่าวคือ ต ้องมีการออกแบบแผนการฝึ กอบรม
อย่างเหมาะสมเพือ ่ ให ้ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมมีความสามารถในระดับทีต ่ ้องการ

มีเทคนิคหลากหลายทีส ่ ามารถนามาใช ้ในการประเมินความจาเป็ นของการฝึ กอบรม เทคนิคทีด ่ ท


ี ส
ี่ ด
ุ จะเกีย
่ วข ้องกับ
ทั ง้ ผู ้สนั บ สนุ น การฝึ กอบรม(โดยปกติเ ป็ นตั ว แทนจากฝ่ ายบริห าร)และกลุ่ม ตั ว อย่า งของผู ้เข ้ารั บ การฝึ กอบรม
วิธน ี ี้สามารถหาความจาเป็ นของการฝึ กอบรมทีไ่ ด ้กาหนดมาแล ้ว (กลุม ่ เป้ าหมายสาหรับการฝึ กอบรม)(ซึง่ กาหนด
โดยผู ้สนั บสนุ นการฝึ กอบรม) และความต ้องการฝึ กอบรมโดยมีแรงจูงใจ (ความต ้องการของผู ้เข ้ารับการอบรม)
ดังนัน ้ สิง่ สาคัญสาหรับการกาหนดหลักสูตรการฝึ กอบรมอย่างหนึง่ ก็คอ ื ทาให ้ทัง้ สองกลุม่ นีพ
้ อใจ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 6 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

การวิเคราะห์การปฏิบ ัติงาน
บางครัง้ การแบ่งงานเป็ นส่วนประกอบย่อยๆของความรับผิดชอบ กิจกรรม ภาระหน ้าที่ ก็มป ี ระโยชน์ในการระบุถงึ
ความรู ้ ทั ก ษะ และความสามารถเฉพาะด ้านที่ต ้องการ การวิเ คราะห์ก ารปฏิบั ต งิ านซึง่ เรีย กได ้อีก อย่า งว่า การ
วิเคราะห์ภ าระหน ้าที่ คือวิธก ี ารแบ่งแยกการปฏิบัต งิ านออกเป็ นส่วนย่อยๆ เพือ ่ ให ้ได ้ผลลัพธ์ท ม
ี่ ค
ี ุณภาพในการ
วิเคราะห์นัน ้ จาเป็ นต ้องอาศัยการมีสว่ นร่วมของผู ้ทีป
่ ฏิบัตงิ านในงานทีจ ่ ะทาการวิเคราะห์ กระบวนการวิเคราะห์จะ
ประกอบด ้วยการวิเคราะห์ลาดับของงานซึง่ กระทาเป็ นหลายขัน ้ ตอนตามส่วนของงาน จากข ้อกาหนดของ ISO
14001 สงิ่ ทีเ่ น้นคืองานทีอ ่ าจสง่ ผลกระทบสงิ่ แวดล้อมทีส ่ าค ัญ ดังตัวอย่างซึง่ รวมถึงบุคลากรที:่

• อยูใ่ นแผนกทีร่ ับผิดชอบในการบาบัดกากของเสีย


• ผู ้รับผิดชอบโดยตรง เรือ ่ งการอนุรักษ์พลังงาน
• ผู ้สัง่ การ ควบคุม ทางานในกระบวนการทีไ่ ด ้รับการชีบ ้ ง่ ว่าเป็ นกระบวนการทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมที่
มีนัยยะ เช่น งานชุบผิว งานพ่นสี ผู ้ควบคุมหม ้อไอน้ า ผู ้ควบคุมระบบบาบัดน้ าเสีย และอืน ่ ๆ ระบบการ)
(ควบคุมมลพิษโดยตรง มลพิษน้ า อากาศ ของเสียขยะอันตราย
• ท าการดู แ ลรั ก ษาอุ ป กรณ์ เ ครื่อ งมือ ที่ห ากท างานผิด พลาดแล ้วจะเป็ นสาเหตุ ใ ห ้เกิด ผลกระทบต่ อ
สิง่ แวดล ้อม
• ท าตรวจตราเพือ ่ ป้ องกันการรั่ วไหลของถัง เก็บสารเคมีแ ละเชือ ้ เพลิง ท่อส่ง วาล์ว ปั๊ ม และหน ้าแปลน
(flanges)
• ทาการเก็บตัวอย่างทางสิง่ แวดล ้อมและการวิเคราะห์ในห ้องปฏิบต ั ก
ิ าร
• การตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉิน
• ทาการค ้นหาอุบต ิ ารณ์ทางสิง่ แวดล ้อม
ั ก
• นาการแก ้ไขและการป้ องกันไปปฏิบต ั ิ
• จัดการกับวัตถุอน ั ตราย

การฝึ กอบรม ความตระหน ักและความสามารถ


การฝึ กอบรมจะมีประโยชน์ ก็ต่อเมือ ่ ผู ้เข ้ารั บการฝึ กอบรมได ้ปรั บปรุงความตระหนั ก ความรู ้และความเข ้าใจด ้าน
สิง่ แวดล ้อม ตลอดจนความสามารถและนากลับไปใช ้ในการปฏิบัตงิ าน โดยทั่วไปแล ้ว เป็ นความจริงทีว่ ่าการเพิม ่
ความรู ้ทีเ่ หมาะสม และความเข ้าใจในการนาความรู ้ไปประยุกต์ใช บการปฏิบต ้กั ั งิ านนัน
้ จะเป็ นการเพิม
่ ความตระหนัก
จิตสานึกและความสามารถ บุคคลทีร่ ับรู ้ถึงผลจากวิธก ี ารปฏิบัตงิ านเท่านัน
้ ทีจ ่ ะช่วยปกป้ องสิง่ แวดล ้อม พวกเขาจะ
ปฏิบั ต งิ านอย่า งมีส ติแ ละสม่ า เสมอ เมื่อ บุค คลมีค วามเข ้าใจถึง ความส าคั ญ ของขั น ้ ตอนการปฏิบั ต งิ านที่ม ีต่อ
สิง่ แวดล ้อม พวกเขาก็จะปฏิบัตต ิ ามขัน
้ ตอนการปฏิบัตงิ านมากขึน ้ ความตระหนักเป็ นพืน ้ ฐานของการสร ้างแรงจูงใจ
ด ้วยตัวเอง เพราะว่าเมือ ่ พนักงานมีความตระหนักเกิดขึน ้ ความต ้องการการชีแ ้ นะและติดตามตรวจสอบก็จะน ้อยลง

นอกจากความรู ้ ความตระหนักและความเข ้าใจก็คอ ื ความสามารถซึง่ บุคคลแสดงความสามารถและมีวจิ ารณญาณที่


เหมาะสมในการประยุกต์ใช ้ความรู ้และทักษะทีไ่ ด ้เรียนรู ้มา และสามารถปฏิบัตงิ านให ้สาเร็จในระดับทีส
่ งู ขึน
้ อย่าง
ต่อเนื่อง ความมุ่งหมายของแผนการฝึ กอบรมทัง้ หมดของข ้อกาหนด ISO 14001 คือเพือ ่ ให ้มีความสามารถทีด ่ ข
ี น
ึ้
นั่นเอง

การออกแบบแผนการฝึ กอบรมสาหร ับระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อม ISO 14001


เมือ
่ ทราบความจาเป็ นของการฝึ กอบรมอย่างชัดเจนแล ้วก็สามารถออกแบบแผนการฝึ กอบรมได ้ แผนการฝึ กอบรม
แบบ “สาเร็จรูป” นัน
้ มักไม่คอ
่ ยเหมาะสมหากไม่ได ้ปรับเปลีย
่ นให ้ตรงตามความต ้องการของกลุม
่ เป้ าหมาย

ในขัน้ ตอนแรกของระบวนการพัฒนาหลักสูตรควรให ้ผู ้ทีจ่ ะเข ้ารับการฝึ กอบรมได ้เข ้ามามีสว่ นร่วมเพือ
่ ช่วยให ้แน่ใจ
ว่าเนือ
้ หาและวิธก
ี ารสอนตรงตามต ้องการ ต ้องกาหนดวัตถุประสงค์ของการฝึ กอบรมทีก ่ ระชับได ้ใจความ ชัดเจน ซึง่
รวมถึง :

• ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมแต่ละคนจะสามารถทาอะไรได ้บ ้างหลังเสร็จสิน ้ การฝึ กอบรม กล่าวคือ วัดความสาเร็จ


ของงานจากกิจกรรม
• ภายใต ้เงื่อ นไขใดที่พ วกเขาจะท างานได ้ส าเร็ จ (กล่ า วคือ ด ้วยข ้อมู ล ภู ม ิห ลั ง เครื่อ งมือ หรือ ความ
ช่วยเหลือเช่นใด)
• ระดับของผลการดาเนินงาน ความรู ้ ทักษะ หรือความสามารถทีต ่ ้องการ

ควรเลือกผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทุกๆโครงการฝึ กอบรมอย่างระมัดระวังโดยพิจารณาจากความรู ้พืน


้ ฐาน ประสบการณ์

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 7 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

และทักษะทีต ่ ้องการ เพือ


่ ให ้ได ้ประโยชน์จากข ้อมูลใหม่ทพ ี่ วกเขาจะได ้รับ และคานึงถึงโอกาสทีพ ่ วกเขาจะนา
ทักษะและความรู ้ใหม่ๆไปใช ้ในการปฏิบต ั งิ าน การฝึ กงานในโรงงาน การเข ้าร่วมสัมมนาหรือการฝึ กอบรมแบบใดก็
ตามทีผ ่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมไม่มค ี วามรู ้พืน
้ ฐานทีจ ่ าเป็ นหรือขาดแรงกระตุ ้นเพือ ่ การเรียนรู ้ หรือไม่มโี อกาสทีจ
่ ะนา
ข ้อมูลไปประยุกต์ใช ้ในการปฏิบต ั งิ านแล ้วก็จะเป็ นการถ่วงการฝึ กอบรมและการเรียนรู ้ของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมคน
อืน
่ ๆ

ห ัวข้อการอบรมทีม
่ ผ
ี ลกระทบต่อทุกคน
ทุกๆคนในองค์กรทีน ่ าระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ISO14001 ไปปฏิบต
ั ต
ิ ้องสร ้างความตระหนักและสามารถแสดง
ความเข ้าใจในเรือ
่ ง:

• นโยบายสิง่ แวดล ้อมและขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านด ้านสิง่ แวดล ้อมทุกอย่างทีเ่ กีย ่ วข ้องกับภาระหน ้าทีค ่ วาม
รับผิดชอบของพวกเขา
• ข ้อกาหนดของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วข ้องรวมถึงการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน
• ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญและผลกระทบในพืน ้ ทีก
่ ารปฏิบัตงิ านของพวกเขา รวมทัง้ วัตถุประสงค์
และเป้ าหมายทีก่ าหนดขึน ้ เพือ่ แก ้ปั ญหาเหล่านัน้
• บทบาทและความรับผิดชอบของพวกเขาใน :
ก) ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
ข) การบรรลุวต ั ถุประสงค์และเป้ าหมาย
ค) การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข ้อบังคับ
• ความจ าเป็ นที่ต ้องปฏิบั ต ติ ามขัน ้ ตอนการปฏิบั ต งิ านที่ก าหนดไว ้เสมอเมื่อ มีค วามเสีย ่ งที่จ ะก่อ ให ้เกิด
ผลกระทบสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญ
• ข ้อกาหนดด ้านความสามารถในการท ากิจ กรรมส าหรั บบุค คลทีม ี ่วนเกีย
่ ส ่ วข ้องกับกิจ กรรมทีอ ่ าจส่งผล
กระทบสิง่ แวดล ้อม

ห ัวข้อการอบรมสาหร ับบทบาทและความร ับผิดชอบเฉพาะ


การฝึ กอบรมเพือ
่ ตอบสนองความจาเป็ นเฉพาะด ้านจะจัดขึน
้ สาหรับ :
• ผู ้บริหารระดับสูงทีม ี ทบาทเป็ นผู ้ดารงรักษานโยบายสิง่ แวดล ้อม(รวมถึงการปฏิบต
่ บ ั ต
ิ ามกฎหมาย) เป็ นผู ้นา
ในการน าระบบการจั ดการสิง่ แวดล ้อมไปปฏิบั ต ิ เป็ นผู ้จั ดหา และจั ดสรรทรั พ ยากรที่จ าเป็ น และเป็ นผู ้
ประเมินผลความก ้าวหน ้าในส่วนการทบทวนการบริหาร
• บุคลากรทีร่ ับผิดชอบในการระบุประเด็นปั ญหาและผลกระทบและความสาคัญของผลกระทบ
• บุคลากรทีร่ ับผิดชอบในการทาให ้มั่นใจว่าการปฏิบต ั เิ ป็ นไปตามกฎหมาย
• พนักงานทีป ่ ฏิบต
ั กิ ารในกิจกรรมทีม ่ ศ ั ยภาพก่อให ้เกิดผลกระทบสิง่ แวดล ้อม
ี ก
• สมาชิกของทีมแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน
• บุคลากรทีใ่ ช ้หรือจัดการวัตถุอน ั ตรายทีร่ ับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบด ้านสิง่ แวดล ้อม
• บุคลากรในแผนกบาบัดกากของเสีย
• บุคลากรทีเ่ กีย่ วข ้องกับการเขียนขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ าน
• บุคลากรทีค ่ วามรับผิดชอบในการควบคุมเอกสารและการจดบันทึก
• สมาชิกทีมงานตรวจประเมินภายใน
• พนักงานและผู ้รับเหมารายใหม่

ผู ้ทีม
่ ห
ี น ้าทีค
่ วามรับผิดชอบในกระบวนการอบรม ไม่วา่ มอบหมาย จัดกาหนดการ หรือจัดการฝึ กอบรมต ้องมี
ขัน
้ ตอน ในการ :
• จัดทากาหนดการและแผนงานการฝึ กอบรมด ้านสิง่ แวดล ้อมให ้ทันสมัย
• จดบันทึกข ้อมูลการฝึ กอบรมของพนักงานแต่ละคน ผลการทดสอบการวัดความรู ้ ทักษะหรือความสามารถ
(เป็ นการพิสจู น์วา่ การฝึ กอบรมนัน
้ เป็ นทีพ ่ งึ พอใจ)
• ก าหนดความถี่ใ นการฝึ กอบรมซ้ า เพื่อ ทบทวนและรั บ ทราบข ้อมูล ใหม่ๆ และการฝึ กอบรมเพื่อ ยกระดั บ
ความรู ้
• ทาให ้มั่นใจว่าพนั กงานและผู ้รับเหมารายใหม่ได ้รับการฝึ กอบรมเพือ ่ ให ้มีความตระหนั กทางสิง่ แวดล ้อม
ทันทีและเหมาะสม
• กาหนดคุณวุฒแ ิ ละประสบการณ์ทจ ่ ามารถมีผลกระทบสิง่ แวดล ้อมได ้
ี่ าเป็ นของแต่ละตาแหน่งทีส

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 8 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

• ประเมินประสิทธิผลของการฝึ กอบรม

การประเมินผลการฝึ กอบรม
การประเมินประสิทธิผลของแผนการฝึ กอบรมเป็ นเรือ ่ งทีไ่ ม่ค่อยได ้กระทากัน ยิง่ ไปกว่านั น
้ คือไม่ค่อยได ้ทาอย่าง
เหมาะสม ในบทนีจ ้ ะไม่ได ้ให ้รายละเอียดถึงวิธก
ี ารประเมินผลแต่พอเพียงทีจ ่ ะกล่าวว่าถ ้าหากปราศจากการประเมิน
่ ้วนถึงคุณค่าของการฝึ กอบรมโดยใช ้หลายๆวิธก
อย่างละเอีย ดถีถ ี ารแล ้ว ก็อาจจะเป็ นการสูญ เสีย เปล่าทัง้ ความ
พยายาม เวลาและค่าใช ้จ่าย

การประเมินทีส่ ามารถทาได ้มีอย่างน ้อย 5 ระดับ เริม


่ จากวิธท
ี งี่ ่ายทีส
่ ด
ุ มีข ้อมูลน ้อยทีส
่ ด
ุ ไปจนถึงวิธท ี่ ลับซับซ ้อน
ี ส
ทีส
่ ด
ุ และสาคัญ วิธต
ี า่ งๆเหล่านัน
้ ได ้แก่:

1) การมีสว ่ นร่วม(Participation)-ระดับของการมาเข ้าฝึ กอบรมและความเกีย ่ วข ้องกับการฝึ กอบรม


ทัง้ ส่วนบุคคลและกลุม ่ บุคคล
2) ปฏิกริ ย ิ า(Reaction)-การตอบสนองของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมในทันทีระหว่างการฝึ กอบรม เช่น
การเสนอความคิดเห็นทีเ่ กีย ่ วกับเนือ
้ หา และรูปแบบของการฝึ กอบรมและคุณค่าทีม ่ ต
ี อ
่ พวกเขา
3) การเรีย นรู (้ Learning)-ผู ้เข ้ารั บ การฝึ กอบรมสามารถจ าได ้และมีค วามเข ้าใจเนื้ อ หารวมทั ง้
สามารถนาไปประยุกต์ใช ้ได ้มากน ้อยเพียงใดภายหลังการฝึ กอบรม
4) การถ่ายทอด(Transfer)-ความรู ้ ทักษะ พฤติกรรม ทัศนคติและความสามารถได ้ถูกถ่ายทอดไป
ยังการปฏิบต ั งิ านเป็ นประจาของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมมากน ้อยเพียงใด
5) ผลกระทบ(Impact)-อะไรคือผลกระทบทัง้ ในระยะสัน ้ และระยะยาวของการฝึ กอบรมทีม ่ ต
ี อ
่ การ
ดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อมและการปฏิบต ั งิ านขัน
้ พืน
้ ฐานขององค์กร

เช่นเดียวกับความพยายามในการดาเนินงานต่างๆ งานทีย ่ ากทีส


่ ด
ุ มักเป็ นงานทีม
่ ค
ี ณ
ุ ค่ามากทีส
่ ด
ุ ถึงแม ้ว่าองค์กรจะ
ไม่คอ
่ ยได ้ประเมินคุณค่าของการฝึ กอบรมในแง่ของผลกระทบสูงสุดต่อการปฏิบัตงิ านของพวกเขา แต่ในทีส ่ ด
ุ แล ้ว
การฝึ กอบรมก็ให ้ประโยชน์ถ ้ามีเหตุผลเพียงพอสาหรับเวลา ความพยายามและเงินทีไ่ ด ้ลงทุนไป

สรุปประเด็นสาค ัญ

• ISO 14001 กาหนดมาตรฐานการคาดหวังไว ้ ว่าองค์กรจะจัดการฝึ กอบรมอย่างเหมาะสมเพือ ่ พัฒนาความ


ตระหนั กและความสามารถของพนั กงานตามระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม และมีส่วนในการปรับปรุงการ
ดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อมและการป้ องกันมลพิษ
• ต ้องมีการกาหนดความจาเป็ นในการฝึ กอบรมเฉพาะเรือ ่ งสาหรับบุคลากรทีง่ านของเขาอาจมีผลกระทบ
สิง่ แวดล ้อมและจัดการฝึ กอบรมให ้ทันการ
• วิธ ีก ารประเมิน ความจ าเป็ นของการฝึ กอบรมอย่ า งหนึ่ง คือ การวิเ คราะห์ก ารปฏิบั ต งิ าน (การวิเ คราะห์
ภาระหน ้าทีง่ าน)
• ต ้องท าให ้บุค ลากรทุ ก ด ้านรวมทั ง้ พนั ก งานและผู ้รั บ เหมารายใหม่ ต ระหนั ก ถึง ข ้อก าหนดในนโยบาย
สิง่ แวดล ้อม ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญ ผลกระทบทีเ่ กิดขึน ้ จริงและอาจเกิดขึน ้ ได ้ ขัน
้ ตอนการ
ปฏิบัต งิ านที่เ กีย่ วข ้องกับ การป้ องกัน มลพิษ ข ้อก าหนดของระบบการจั ด การสิง่ แวดล ้อม และบทบาท
หน ้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของพวกเขาในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• บุค ลากรที่ไ ด ้แสดงให ้เห็ น ว่า มีค วามสามารถเท่า น น ั้ ทีจ่ ะได้ร บ ั การอนุ ญ าตให ้ปฏิบั ต งิ านที่อ าจมี
ผลกระทบสิง่ แวดล ้อม
• ต ้องมีแผนการฝึ กอบรมอย่างต่อเนือ ่ งรวมทัง้ การอบรมเพือ ่ ทบทวนและเพิม ่ ทักษะเพือ
่ เป็ นส่วนหนึง่ ของการ
ขับเคลือ ่ นให ้มีการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง
• ต ้องมีการจัดเก็บบันทึกของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมว่าทางานอยูส ่ ว่ นใด ทักษะและความสามารถอยูใ่ นระดับ
ใด
• องค์ก รควรให ้เวลาและความพยายามในการประเมิน อย่า งละเอีย ดถี่ถ ้วนถึง ประสิท ธิผ ลของแผนการ
ฝึ กอบรม
.

แนวทางตรวจประเมิน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 9 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

1. ตรวจสอบว่า พนั ก งานที่ท างาน ในกระบวนการ หรือ กิจ กรรมทีม ่ ผี ลต่อ เกิด ผลกระทบทีส ่ าค ัญต่อ
สิง่ แวดล ้อม ทัง้ หมดมีความสามารถทีเ่ พียงพอ โดยเฉพาะทีเ่ กีย ่ วข ้องกับกฎหมายระบุ
2. ตรวจสอบหลักฐานการชีบ ้ ่งความจาเป็ นในการฝึ กอบรม (Training Needs) ของบุคลากรแต่ละตาแหน่ ง
ตามประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อม และระบบ EMS
3. ตรวจทานขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านเพือ ่ มั่นใจว่า บุคคลใด ๆ ก็ตามทีป ่ ฏิบัตงิ านให ้องค์กร หรือปฏิบัตงิ านใน
นามองค์กร เกิดความตระหนั กในประเด็นต่าง ๆ ตามข ้อกาหนด 4.4.2a ถึง d หรือไม่ เช่น ขัน ้ ตอนการ
ฝึ กอบรม ขัน ้ ตอนการประเมินประสิทธิผลในการฝึ กอบรม กิจกรรมการสร ้างการมีส่วนร่วมของพนั กงาน
และกิจกรรมกลุม ่ เสนอผลงานด ้านสิง่ แวดล ้อม เป็ นต ้น
่ เพือ
4. สุม่ สัมภาษณ์บุคลากรในหน่วยงาน หรือสังเกตการณ์ผลของการทางาน รวมทัง้ บุคลากรทีท ่ างานในนาม
องค์กร เพือ ่ ตรวจสอบความตระหนั กด ้านสิง่ แวดล ้อม เช่น สอบถามนโยบาย และการมีส่วนร่วมทาให ้
บรรลุต ามนโยบายสิง่ แวดล ้อม ความเข ้าใจขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ าน และข ้อกาหนดของระบบการจัดการ
สิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วข ้อง , สอบถามถึง Sig. Aspects และผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญ (Significant
Environmental Impacts) ในงานที่บุค ลากรนั ้น เกีย ่ วข ้อง พร ้อมทั ง้ สอบถามถึง ประโยชน์ท ี่ไ ด ้รั บ จาก
ปรับปรุงการปฏิบัตงิ านของตน , สอบถามถึงบทบาท และความรับผิดชอบของบุคลากรในการบรรลุตาม
ข ้อกาหนดของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม โดยเปรียบเทียบสิง่ ทีบ ่ ค ุ ลากรตอบกับเอกสารทีก ่ าหนดหน ้าที่
ความรับผิดชอบในตาแหน่งนัน ้ ว่าสอดคล ้องกันหรือไม่ , สอบถามถึงผลเสียของการไม่ปฏิบัตต ิ ามขัน้ ตอน
การปฏิบั ต งิ านที่ องค์ก รเป็ นผู ้ก าหนด เช่น ถ ้าไม่ ป ฏิบั ต ต ิ ามขั น้ ตอนดั ง กล่ า วจะเกิด ผลกระทบด ้าน
สิง่ แวดล ้อมอย่างไรบ ้าง หรือถ ้าข ้ามขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ านจะเกิดผลเสียอย่างไร
5. ในกรณีทอ ี่ งค์กรมีผู ้รับเหมาช่วง ให ้ทาการตรวจสอบหลักฐานความพยายาม ขององค์กรในการสร ้างความ
ตระหนัก หรือการควบคุมมลพิษผ่านผู ้รับเหมาช่วงของตน

Tip & Trick สาหร ับการอบรม

การนาระบบไปปฏิบต ั ิ
และการธารงรักษาระบบ มีเ หตุผ ลง่า ยๆอยู่ 2 ประการว่า ท าไมต ้องอบรมพนั ก งานในเรื่อ งที่เ กีย
่ วกับ ระบบการจั ด การ
EMS เกีย
่ วข ้องกับทุก

สิงแวดล ้อม
คน

1. เพราะพนักงานสามารถมีผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อม


2. พนักงานใดๆสามารถทีจ ่ ี ในการปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
่ ะมีแนวคิด ความคิดทีด

พนักงานในแต่ละคนและในแต่ละหน ้าทีใ่ นองค์กร มีบทบาทหน ้าทีใ่ นระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม


เหตุผลในการ ด ้วยเหตุผลนีก
้ ารอบรมต ้องครอบคลุมพอให ้กับพนักงานของท่าน
อบรม
พนั ก งานและผู ้จั ด การของท่ า นควรต ้องตระหนั ก รั บ รู ้ นโยบายสิง่ แวดล ้อม ประเด็ น ปั ญหา
• สร ้างแรงกระตุ ้น
• สร ้างความตระหนั ก
สิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญในงานนั น
้ หน ้าทีแ
่ ละความรับผิดชอบหลักๆ ระเบียบปฏิบัตท ิ เี่ กีย
่ วข ้องกับ
• ความมุง่ มัน
่ งานนั น้ ๆ รู ้ถึงผลดีผลของการไม่กระทาตามระเบียบปฏิบ ้ติด ้านสิง่ แวดล ้อม เช่น การหก การถูก
• ทักษะ/ความสามารถ
• สมรรถนะ ปรับ การถูกฟ้ องร ้อง
• สอดคล ้อง
พนักงานควรได ้รับการอบรมตามความเหมาะสม ทีซ ่ งึ่ ควรมีการปรับให ้เหมาะสมกับความจาเป็ น
ในแต่ละระดับและหน ้าทีใ่ นองค์กรของท่าน แต่ไม่วา่ อย่างไรการอบรมเป็ นเพียงส่วนหนึง่ ของ
การทาให ้มีความสามารถ competence ทีซ ่ งึ่ ประกอบด ้วย การศึกษา การฝึ กอบรม หรือ
แหล่งอบรม ประสบการณ์ทเี่ หมาะสม

สาหร ับบุคคลทีท่ างานทีซ ั


่ งึ่ มีศกยภาพในการก่ อให้เกิดผลกระทบสงิ่ แวดล้อมทีม
่ ี
น ัยสาค ัญ ควรต ้องมีเกณฑ์วธิ กี ารในการประเมินความสามารถนัน
้ ๆ
่ วชาญ
• ผู ้สอน ผู ้เชีย
ภายใน
• ทีป ่ รึกษา
• ลูกค ้า
• ผู ้ขาย ผู ้ส่งมอบ การนาระบบไปปฏิบ ัติ
• สมาคม องค์กร
การค ้า
• ศึกษาด ้วยตัวเอง สิง่ ทีส
่ าคัญคือการกาหนด ว่าพนักงานของท่านทีท ่ างานแล ้วมีผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมทีม
่ น
ี ัย
• Computer base ยะ และ อืน ่ ๆเป็ นใครบ ้าง และเขาเหล่านัน
้ ต ้องมีความรู ้หรือทักษะทีจ
่ าเป็ นอะไร

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 10 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

หัวข ้อการอบรมทีท ่ า่ นได ้จัดทาอยูแ


่ ล ้ว อาจสอดคล ้องกับความต ้องการของระบบ EMS อยูแ
่ ล ้ว
ก็ได ้ ท่านไม่จาเป็ นต ้องอบรมใหม่แต่อย่างใด

การอบรมหน ้างานเป็ นวิธก


ี ารอบรมทีง่ า่ ย และเหมาะสม ในการอบรมทีเ่ กีย
่ วข ้องกับระบบ EMS

ท่านควรทาการวางแผนการอบรมอย่างระวัง หัวข ้อการอบรมต่างๆจะต ้องจัดให ้สอดคล ้องเป็ น


จริงในเวลาทีเ่ หมาะสมและกับบุคลากรทีถ่ ก ี ารทีใ่ ช ้ในการ
ู ต ้องด ้วย ท่านอาจไม่มเี วลาพอ วิธก
อบรมมีมากมายซึง่ รวมถึง การประชุมรายสัปดาห์ การประชุมความปลอดภัย toolbox meeting
ซึง่ สามารถใช ้สาหรับการให ้การอบรมและตอกย้าประเด็นต่างๆด ้านสิง่ แวดล ้อม

เมือ
่ ไหรทีจ
่ าเป็นต้อง การอบรมสิง่ แวดล ้อมให ้กับพนักงานใหม่เป็ นสิง่ ทีน
่ ่าสนใจ ท่านควรจัดทาชุดอบรมปฐมนิเทศ
อบรม
หรือใช ้สือ
่ อบรมประเภท VDO ทีท ่ า่ นได ้อัดไว ้แสดงให ้กับ

ในขณะทีท่ า่ นทาการระบหัวข ้ออบรมทีจ ่ าเป็ น อย่าลืมผู ้จัดการของท่าน รวมถึง ตัวแทนฝ่ าย


• รับพนักงานใหม่ บริหารหรือผู ้จัดการด ้านสิง่ แวดล ้อม และ ผู ้ฝึ กสอนภายในของคุณ
• พนักงานย ้ายหน่วยงาน
• ไม่ทาตามกฏ ระเบียบ
• เปลีย่ นกฏ ระเบียบ
• มีเปลีย่ นกระบวนการ
วัตถุดบ ิ เครือ
่ งจักร
หากท่านมีผู ้รับเหมาช่วง พนักงานชัว่ คราว อย่าลืมกาหนดหัวข ้ออบรมทีจ
่ าเป็ นให ้ด ้วยา
• องค์กรเปลีย ่ นเป้ าหมาย
วัตถุประสงค์ การกาหนดเกณฑ์ วิธก ี ารในการประเมินความรู ้ ทักษะ สาหรับพนักงานทีท ่ างานทีส่ ง่ ผลกระทบ
• มีกฏหมายใหม่
• ต ้องการปรับสมรรถนะใน สิง่ แวดล ้อมทีม ี ัยยะ เป็ นสิง่ ทีก
่ น ่ ระทาไม่งา่ ยนัก การประเมินในรูปแบบทีไ่ ม่เป็ นทางการเช่น การ
การทางาน
ถามพนักงานผู ้นัน ้ ให ้แสดงให ้ดู….. หรือให ้ตอบคาถามบางอย่าง หลังจากนัน ้ อาจทาให ้ท่าน
สามารถกาหนดหัวข ้ออบรมเพิม ่ เติมเพือ
่ ให ้เขามีความรู ้ความสามารถตามทีก่ าหนด

การใช ้ ป้ ายเตือน รูปภาพ ระเบียบปฏิบต


ั ิ ขัน
้ ตอนทางานให ้เห็นโดยง่ายทีพ
่ น
ื้ ทีท
่ างาน สามารถ
้เป็ ่
ใช นสือเสริมในการอบรมทีด ่ ี

บางองค์กรอาจควบรวมการอบรมความตระหนักด ้านสิง่ แวดล ้อมกับความปลอดภัยเข ้าด ้วยกัน


โดยเฉพาะองค์กรทีม
่ ข
ี ้อบังคับทีต
่ ้องอบรมความปลอดภัยตามกฏหมาย เช่นประกาศ
กระทรวงมหาดไทยเรือ ่ งความปลอดภัยในการทางานกับสารเคมี

เรือ
่ งของความสามารถ
ความสามารถ ่ างานหรือมีสว่ นเกีย
ผู ้ทีท ่ วข ้อง ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม
่ น
ี ัยยะ Significant aspect ต ้องมี
ความสามารถตามทีร่ ะบุซงึ่

ในการกาหนดความสามารถ เราต ้องทาการกาหนด “ความรู ้ ความเข ้าใจ ทักษะ สิง่ ทีต


่ ้อง
กระทาได ้”

่ กลุม
ตัวอย่างชือ ่ ความสามารถทีจ
่ าเป็ นทีต
่ ้องสร ้างหรือพัฒนา

• ผู ้ทีเ่ กีย่ วข ้องกับการกาหนดลักษณะปั ญหาสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมที่


มีนัยยะ รวมถึงการจัดการโครงการสิง่ แวดล ้อม
• ผู ้ทีค ่ วบคุมการปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องกฏหมายและข ้อกาหนดอืน ่ ๆ
• ผู ้ทีก ่ ระทางานบางงานทีม ่ ข
ี ้อกฏหมายคุม เช่นทางานกับสารเคมี ผู ้ควบคุมหม ้อไอน้ า
ผู ้ควบคุมมลพิษ …
• ผู ้ทีว่ างแผน ควบคุมในการลดและควบคุมความเสีย ่ งด ้านสิง่ แวดล ้อม รวมทัง้ การ
เตรียมพร ้อมและตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน

ความสามารถอืน
่ ๆในระดับรองลงมา

• ผู ้ทีส ่ ร ้างแรงจูงใจ ทาให ้พนักงานมีสว่ นร่วม


• ผู ้ทีร่ ับผิดชอบในการปรับปรุงผลการปฏิบต ั งิ านด ้านสิง่ แวดล ้อมให ้ดีขน
ึ้
• ความสามารถในการควบคุมการปฏิบต ั ก
ิ าร

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 11 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

จะวัด ประเมินความสามารถนีไ้ ด ้อย่างไร

• อยูใ่ นหัวข ้อการประเมินผลงานประจาปี


• ประเมินผลจากการปฏิบต ั งิ าน โดยดูจากตัวชีว้ ด
ั สมรรถนะ
• ทาการประเมิน ความรู ้ ความเข ้าใจ ทักษะ ตามทีก ่ าหนด
• ดูจากพฤติกรรม การแสดงออกในการทางาน

การกาหนด
ห ัวข้ออบรม ต ัวอย่างการกาหนดห ัวข้ออบรม
1. ระดับผู ้จัดการทัง้ หมด
1. นโยบายสิง่ แวดล ้อม และ ความจาเป็ นในการจัดทาระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
2. ผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม เหตุการณ์ทจ ี่ ะก่อให ้เกิดผลกระทบ ขององค์กร
3. การตัง้ เป้ าหมายด ้านสมรรถนะสิง่ แวดล ้อม และโปรแกรม
4. เทคนิคการลดมลพิษ
5. การรณรงค์สง่ เสริมให ้เกิดการปรับปรุงด ้านสิง่ แวดล ้อม
6. วิธก ี ารพิจารณาความต ้องการการอบรมเพือ ่ ให ้พนักงานมีความสามารถทางานให ้
ISO 14001 แยกกลุม ่ คนที่ บรรลุผล
ต้องได้ร ับการอบรมเป็น 3
กลุม

2. ระดับผู ้ปฏิบต
ั กิ าร
1. พน ักงานทีท ่ างานทีอ ่ าจ
ก่อให้เกิดปัญหา • ความสาคัญทีจ ่ ะต ้องปฏิบต
ั ติ ามนโยบายและแนวทางการจัดการด ้านสิง่ แวดล ้อม
สิง่ แวดล้อมทีม ่ น
ี ัยสาค ัญ • ผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม เหตุการณ์ทจ ี่ ะก่อให ้เกิดผลกระทบ
ต ้องมีความรู ้ความสามารถ
ในงานและการควบคุม
• บทบาทความรับผิดชอบของพนักงานต่อความสาเร็จในการปฏิบต ั ใิ ห ้ได ้ตาม
ปั ญหาสิง่ แวดล ้อมตามที่ นโยบายสิง่ แวดล ้อม
องค์กรกาหนด
้ ง่ หัวข ้ออบรมที่
• การปฏิบต ั ท
ิ ท ่ ามารถช่วยลดปั ญหาด ้านสิง่ แวดล ้อมในองค์กรได ้อย่างไรหรือมี
ี่ าอยูส
2. ตามการชีบ
องค์กรกาหนดเอง ผลเสียอย่างไรหากไม่ปฏิบต ั ติ ามแนวทางทีว่ างไว ้
3. พนักงานทุกคนในองค์กร • บทบาทของตนเองในขณะเกิดเหตุฉุกเฉินและควรจะมีบทบาทอย่างไร
จะต ้องมีความตระหนักใน
เรือ่ งปั ญหาสิง่ แวดล ้อม • วิธก ี ารต่างๆมาตรฐาน เกณฑ์ตา่ งๆทีเ่ กีย ่ วข้อง
จากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์
และบริการขององค์กร
่ วข ้องกับปั ญหาด ้านสิง่ แวดล ้อม
3 หัวหน ้างาน: ทีเ่ กีย
• ปั ญหาอันเกิดจากกิจกรรมทีป ่ ฏิบตั อ ่ ละส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อม
ิ ยูแ
• ข ้อกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้องกับกิจกรรมทีต ่ นเองปฏิบต
ั อ
ิ ยู่
• ผลกระทบอันเกิดจากการไม่ปฏิบต ั ติ ามแนวทางระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• การสอนงานด ้านสิง่ แวดล ้อม

4 ้ จัดหา
ฝ่ ายจัดซือ
• การควบคุม ผู ้รับเหมา ผู ้รับจ ้าง ผู ้ขาย ผู ้รับเหมาช่วง ในประเด็นด ้านสิง่ แวดล ้อม
• เข ้าใจถึงความจาเป็ นในการควบคุมการจัดซือ ้ จัดหา จัดจ ้างทีจ
่ ะส่งผลกระทบต่อการ
ดาเนินการด ้านสิง่ แวดล ้อม

5 ตัวแทนผู ้บริหาร ผู ้จัดการด ้านสิง่ แวดล ้อม


• การวิเคราะห์ปัญหาด ้านสิง่ แวดล ้อม ข ้อกฏหมาย
• ระบบการจัดการด ้านสิง่ แวดล ้อม
• การตรวจประเมิน
• เทคนิควิธก ี ารจัดการมลพิษ
• เทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสม ( เช่น Cleaning Technology, Pollution prevention)

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 12 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

7.3 การตระหน ักถึง

7.3 ความตระหน ัก
องค์กรต ้องทาให ้มั่นใจว่าบุคลากรทีท ่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กรมีความตระหนักถึง
a) นโยบายสิง่ แวดล ้อม
b) ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม
่ นี ัยสาคัญ และผลกระทบทีม ่ อ
ี ยูห
่ รือทีอ
่ าจจะเกิด ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับงานเขา
c) การมีสว่ นร่วมของเขา ต่อประสิทธิผลของระบบของการบริหารสิง่ แวดล ้อม, รวมถึงประโยชน์ของ
การได ้มาซึง่ สมรรถนะสิง่ แวดล ้อม
d) ผลกระทบของการไม่สอดคล ้องกับข ้อกาหนดของระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม, รวมถึงการไม่
บรรลุผลสมบูรณ์ตอ ่ ข ้อผูกพันทีต
่ ้องปฏิบตั ต
ิ าม

ความตระหนัก awareness แปลว่า การรับรู ้ รู ้ตัว ซึง่ ต่างจากคาว่า knowledge ซึง่ แปลว่า ความรู ้
การสร ้างความตระหนัก จึงต้องใชก ้ ารสอ ื่ สารและการกระตุน ้ เป็นหล ัก การกระตุ ้นทีด
่ ต
ี ้องมาจากผู ้บริหาร
ระดับสูงและกิจกรรมต่างๆ ทีร่ วมกิจกรรมด ้วยเพราะกิจกรรมในองค์กรใดๆทีเ่ กิดขึน ้ หมายความว่าต ้องมีผู ้อยู่
เบือ
้ งหลัง ต ้องมีทอ
่ น้ าเลีย
้ ง หากผู ้บริหารไม่เห็นด ้วยกับกิจกรรมจะมีไม่ได ้

ฝ่ ายบริหารสูงสุดมีหน ้าทีร่ ับผิดชอบสาคัญในการสร ้างการตระหนักถึงในองค์กรเกีย ่ วกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมและ


ประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อม เพือ ่ ยกระดับความรู ้และส่งเสริมการปฏิบตั งิ านทีส่ นับสนุนคามั่นสัญญาด ้าน
นโยบายสิง่ แวดล ้อมขององค์กรโดยรวมถึงการทาให ้พนักงานและบุคลากรอืน ่ ๆ ทีท ่ างานภายใต ้การควบคุมของ
องค์กรมีความตระหนักถึงค่านิยมด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กร และค่านิยมเหล่านีส ้ ามารถสนับสนุนกลยุทธ์ทางธุรกิจ
ขององค์กรอย่างไร (ดูทข ี่ ้อ 5.1).

ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรทาให ้มั่นใจว่าบุคลากรทีท ่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กรได้ร ับการกระตุน ้ ให้


− ยกระดับประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อม;
− สนับสนุนการบรรลุผลลัพธ์ทต ี่ งั ้ ใจไว ้ในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม;
− ยอมรับความสาคัญในการบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีด
่ แ
ู ลหรือรับผิดชอบ

ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรทาให ้มั่นใจอีกด ้วยว่าได ้ทาให ้บุคลากรทัง้ หมดทีท ่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กรตระหนัก


ถึง
— นโยบายสิง่ แวดล ้อมขององค์กรและคามั่นสัญญาด ้านนโยบายสิง่ แวดล ้อม
— ความสาคัญของการสอดคล ้องกับข ้อกาหนดในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม
— การสนับสนุนของบุคลากรต่อประสิทธิผลของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม
— ประโยชน์ของประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมทีป ่ รับปรุงแล ้ว
— การดูแลและความรับผิดชอบของบุคลากรในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม;
— ประเด็นสิง่ แวดล ้อมสาคัญทีเ่ กิดขึน ้ จริงหรือทีอ ้ รวมถึงผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ าจเกิดขึน ่ วข ้อง
ในกิจกรรมการทางานของบุคลากร
— ความเสีย ่ งและโอกาสซึง่ กาหนดไว ้ทีต ่ ้องค ้นหาโดยเกีย่ วข ้องกับกิจกรรมการทางานของบุคลากรหาก
มีการบังคับใช ้
— ผลทีต ่ ามมาในการออกจากระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม ข ้อกาหนด รวมถึงพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้
สอดคล ้องทีบ่ งั คับใช ้ขององค์กร

ตัวอย่างวิธก
ี ารในการเพิม ่ สารภายใน ป้ ายและแบนเนอร์ภาพ แคมเปญ การฝึ กอบรม
่ การตระหนักถึงจะรวมถึงการสือ
หรือการศึกษา และการให ้คาปรึกษา

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 13 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

ื่ สาร
7.4 การสอ

ื่ สาร
7.4 การสอ

7.4.1 ทว่ ั ไป
องค์กรต ้องจัดทา, นาไปปฏิบต ั ิ และ ธารงรักษา กระบวนการทีจ ่ ภายในและภายนอกที่
่ าเป็ นสาหรับการสือ
เกีย่ วข ้องกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม, รวมถึง
a) อะไรทีจ ่ ะสือ่ สาร
b) สือ ่ สารเมือ ่ ไหร่
c) สือ ่ สารกับใคร
d) สือ ่ สารอย่างไร
เมือ
่ จัดทากระบวนการสือ ่ สาร , องค์กรต ้อง:
— คานึงถึงข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต ั ต
ิ าม
— ให ้มั่นใจว่าสารสนเทศด ้านสิง่ แวดล ้อมทีส ื่ สารมีความสอดคล ้องกับข ้อมูลจากระบบการจัดการ
่ อ
สิง่ แวดล ้อม และเชือ
่ ถือได ้
องค์กรต ้องตอบสนองต่อการสือ ่ สารทีเ่ กีย่ วข ้องในระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม
องค์กรต ้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศเป็ นหลักฐานของการสือ ่ สาร,ตามความเหมาะสม

7.4.2 การสอ ื่ สารภายใน


องค์กรต ้อง
a) ทาการสือ ่ สารภายในทีเ่ กีย
่ วข ้องกับระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมตามระดับและหน ้าทีต่ า่ งๆขององค์กร,
รวมถึงการเปลีย ่ นแปลงระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม, ตามความเหมาะสม;
b) ให ้มั่นใจว่ากระบวนการสือ ่ สารทาให ้บุคลากรทีท่ างานภายใต ้องค์กรมีสว่ นส่วนร่วมในการปรับปรุงอย่าง
ต่อเนือ
่ ง

7.4.3 การสอ ื่ สารภายนอก


่ สารสารสนเทศทีเ่ กีย
องค์กรต ้องสือ ่ วข ้องตามระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมกับภายนอก, ตามกระบวนการ
่ สารขององค์กรทีไ่ ด ้สร ้างขึน
สือ ้ และตามการกาหนดตามข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง

ทว่ ั ไป

่ สารเกีย
องค์กรควรตัง้ กระบวนการในการสือ ่ วกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมโดยคานึงถึงพันธกรณีทต
ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้
สอดคล ้องโดยกระบวนการเหล่านีค้ วรกาหนด

— ข ้อมูลอะไรทีจ ่ สาร
่ าเป็ นในการสือ
— เมือ่ ใดและภายใต ้สถานการณ์อะไรทีจ ่ สาร
่ าเป็ นต ้องสือ
— จาเป็ นต ้องสือ ่ สารถึงใคร
— วิธท ี จ ่ สาร
ี่ ะสือ

องค์กรสามารถพิจารณาถึงต ้นทุนทีเ่ ป็ นไปได ้และประโยชน์ของวิธก


ี ารทีแ ่ สารที่
่ ตกต่างในการพัฒนากระบวนการสือ
เหมาะสมสาหรับสถานการณ์

่ สารข ้อมูลสิง่ แวดล ้อมควรอยูบ


การสือ ้ ฐานและสอดคล ้องกับข ้อมูลทีเ่ กิดภายในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม
่ นพืน
โดยรวมการประเมินภายในด ้านประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กร (ดูทข ี่ ้อ 9.1)
หมายเหตุ: ข ้อมูลเพิม ่ สารมีอยูใ่ น ISO 14063
่ เติมด ้านการสือ

ในการกาหนดวิธท ี จ ่ สาร องค์กรควรพิจารณาวิธก


ี่ ะสือ ่ สารทีแ
ี ารสือ ่ ตกต่างกันซึง่ สามารถกระตุ ้นความเข ้าใจและการ
ยอมรับในความพยายามด ้านการบริหารสิง่ แวดล ้อมขององค์กรและส่งเสริมการสนทนากับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย วิธก ี าร
่ สารจะมี (อาทิเช่น) การสนทนาแบบไม่เป็ นทางการ วันเปิ ดรับฟั งขององค์กร กลุม
สือ ่ ย่อย การสนทนาในชุมชน การ
มีสว่ นร่วมในเหตุการณ์ของชุมชน เว็บไซต์และอีเมล์ การออกสือ ่ การโฆษณาและจดหมายข่าวเป็ นระยะ ๆ รายงาน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 14 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

ประจาปี หรือตามระยะเวลาอืน
่ ๆ รวมถึงสายด่วนทางโทรศัพท์

องค์กรควรพิจารณาและตอบคาถามทีเ่ กีย ่ วข ้อง ความกังวลหรือปั จจัยนาเข ้าทีม


่ ก ่ สารแบบอืน
ี ารสือ ่ ๆ ในระบบ
บริหารสิง่ แวดล ้อมโดยเป็ นประโยชน์ตอ
่ การกาหนดกระบวนการสาหรับการรับและตอบการสือ ่ สารภายในและ
ภายนอกดังกล่าว

องค์กรต่าง ๆ ควรรักษาเอกสารข ้อมูลทีเ่ ป็ นหลักฐานการสือ ่ สารขององค์กรตามความเหมาะสมเพือ่


— เรียกกลับประวัตก ่ สารกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียเฉพาะเจาะจง การสอบถามหรือความกังวล
ิ ารสือ
— เข ้าใจธรรมชาติของการมีสว่ นร่วมของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียต่าง ๆ ตามกาลเวลา
— ปรับปรุงประสิทธิผลขององค์กรในการพัฒนาการสือ ่ สารในอนาคตและการติดตามรวมถึงการกล่าวถึงความ
กังวลของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียเฉพาะตามจาเป็ น

การสือ่ สารบางอย่างไม่ต ้องทาเป็ นเอกสารหากไม่มป ่ เติมต่อระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม ตัวอย่างเช่น การ


ี ระโยชน์เพิม
่ สารแบบไม่เป็ นทางการ องค์กรควรคานึงถึงหลักธรรมชาติและขนาดขององค์กร ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม
สือ ่ ี
นัยสาคัญ รวมถึงหลักธรรมชาติและความต ้องการและความคาดหวังของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียเมือ ่ มีการกาหนด
กระบวนการในการสือ ่ สาร

องค์กรควรพิจารณาขัน
้ ตอนในกระบวนการต่อไปนี้
— การเก็บข ้อมูลหรือทาการสอบถามโดยรวมถึงข ้อมูลทีไ่ ด ้จากผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียทีเ่ กีย
่ วข ้อง (ดูทข
ี่ ้อ 4.2)
— การกาหนดกลุม ่ ผู ้รับสารเป้ าหมายและความต ้องการข ้อมูลหรือการสนทนาของกลุม ่
— การเลือกข ้อมูลเกีย ่ วกับความสนใจของผู ้รับสาร
— การตัดสินใจด ้านข ้อมูล จะสือ ่ สารถึงกลุม
่ ผู ้รับสารเป้ าหมาย
— การกาหนดวิธก ี ารและรูปแบบใดทีเ่ หมาะสมในการสือ ่ สาร
— การประเมินและการบ่งชีป ้ ระสิทธิผลของกระบวนการสือ ่ สารเป็ นระยะ ๆ

ส่วนประกอบหลักในการสือ ่ สารของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมมีการสรุปไว ้ในกรอบ 18 โดยแนะนาส่วนประกอบ


เหล่านีเ้ ป็ นส่วนประกอบแก่นหลักขัน ่ สารเกีย
้ ตา่ และองค์กรจะสามารถทาเกินกว่านีไ้ ด ้ตามจาเป็ นในการสือ ่ วกับ
ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมอย่างมีประสิทธิผล

ื่ สาร
ว ัตถุประสงค์และธรรมชาติของการสอ
่ สารภายในมีความสาคัญมากเพือ
การสือ ่ ให ้แน่ใจถึงความมีประสิทธิผลของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม วิธก
ี ารใน
การสือ่ สารนัน
้ รวมไปถึงการประชุมกลุม
่ ตามปกติ จดหมายข่าว แผ่นพับ โปสเตอร์และการสือ ่ สารด ้วยระบบ
คอมพิวเตอร์ภายใน

องค์กรจะต ้องจัดทาระเบียบปฏิบต ั ใิ นการรับข ้อมูล การจัดทาเอกสารและการตอบโต ้ข ้อมูล คาถามของบุคคลที่


สนใจ ระเบียบปฏิบตั น
ิ ัน
้ รวมไปถึงการตอบโต ้สาหรับเรือ ่ งทีส ่ าคัญทีเ่ ป็ นทีส่ นใจ ซึง่ เป็ นข ้อมูลเกีย
่ วกับปั ญหาและ
ผลกระทบสิง่ แวดล ้อมในการปฏิบต ั งิ านขององค์กร ในระเบียบปฏิบต ั น
ิ จ
ี้ ะต ้องรวมไปถึงความจาเป็ นในการสือ ่ สารกับ
สาธารณชนรวมไปถึงสถานการณ์ฉุกเฉินและเรือ ่ งอืน
่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง

การตัดสินใจในการสือ ่ สารสูภ่ ายนอกในเรือ่ งปั ญหาและผลกระทบสิง่ แวดล ้อมจะต ้องจัดทาเป็ นระเบียบปฏิบต ั ิ การ
เปลีย่ นแปลงระเบียบปฏิบต ั น
ิ สี้ ามารถกระทาได ้ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ปั จจัยต่างๆ เช่นประเภทของข ้อมูลทีจ ่
่ ะสือสาร
กลุม
่ เป้ าหมาย และปั จจัยด ้านบุคคลขององค์กร วิธก ี ารในการสือ ่ สารสูภ
่ ายนอกรวมไปถึง รายงานประจาเดือน
รายงานประจาปี จดหมายข่าว และข ้อมูลใน website

การสือ่ สารทีแ ่ ท ้จริงได ้ถูกออกแบบมาเพือ


่ ให ้ประสบความสาเร็จในการแลกเปลีย ่ นความเข ้าใจถึงความหมายของ
ข ้อความ (สารสนเทศ ความคิด ข ้อคิดเห็น ความรู ้สึก) ทีแ ่ ให ้ทราบถึงความหมายทีแ
่ ต่ละคนตัง้ ใจจะสือ ่ ท ้จริงของ
ข ้อความนัน ้ การสือ ่ สารเป็ นการกระทา (ไม่ใช่ถกู ระทา) เป็ นความพยายามทีเ่ กีย่ วข ้องกับลาดับการแลกเปลีย ่ น
ระหว่างผู ้มีสว่ นร่วมดังนี:้

1. ข ้อความจากผู ้ส่งไปยังผู ้รับ


2. ผู ้รับแปลความหมายของข ้อความทีไ่ ด ้ยินส่งกลับไปยังผู ้ส่ง
3. ผู ้ส่งอธิบายความหมายให ้ผู ้รับเข ้าใจชัดเจนขึน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 15 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

4. ผู ้รับปรับข ้อความตามทีเ่ ข ้าใจส่งกลับไปยังผู ้ส่ง


5. ผู ้ส่งยืนยันกับผู ้รับว่าได ้เข ้าใจข ้อความถูกต ้องแล ้วหรือทาซ้าขัน
้ ตอนที4
่ จนกว่าจะเข ้าใจตรงกัน

จากคาอธิบายดังกล่าวข ้างต ้นนี้ จะเป็ นหลักฐานอ ้างอิงทีใ่ ช ้อธิบายว่าการสือ ่ สารในรูปแบบต่างๆ เช่น บันทึกเตือน
ความจา การติดประกาศ อีเมล์ เสียงบันทึกจากโทรศัพท์ สุนทรพจน์ การบรรยาย เอกสารคูม ่ อ
ื หรือสารสนเทศทีเ่ ป็ น
ลายลักษณ์อกั ษรนัน้ ไม่ใช่รป
ู แบบการสือ ่ สารทีแ
่ ท ้จริงทัง้ ทีม ี ารใช ้กันตามปกติโดยทั่วไป เพราะว่าวิธก
่ ก ี ารเหล่านีเ้ ป็ น
เพียงการส่งข ้อมูลให ้ทราบ แต่ขาดขัน ้ ตอนย ้อนกลับและการทาให ้กระจ่างชัดตามขัน ้ ตอนทีจ ่ สาร
่ าเป็ นของการสือ
จริง

ื่ สารภายในและภายนอกองค์กร
ข้อกาหนด ISO 14001 สาหร ับการสอ
่ สารทีม
การสือ ี ระสิทธิผลเป็ นสิง่ ทีจ
่ ป ่ าเป็ นในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม การสือ
่ สารข ้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับใน
ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมหมายถึงการแบ่งอานาจให ้มีส่วนร่วมในการนาไปปฏิบัต ิ การคงไว ้ และการปรับปรุง
ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม การแจ ้งข่าวสารข ้อมูลและการทาให ้พนักงานมีความรู ้จะทาให ้พนักงานเป็ นผู ้มีสว่ นร่วม
อย่างแข็งขันในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ในทางตรงกันข ้ามหากมีการสือ ่ สารข ้อมูลไม่เพียงพอและข ้อมูลไม่
ครบถ ้วนจะทาให ้ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมไม่เข ้มแข็ง

ื่ สารภายในองค์กร
การสอ
ISO 14001 กาหนดว่า ต ้องมีการกาหนดขัน ้ ตอนการสือ ่ สารทีช ั เจนเกีย
่ ด ่ วกับการจัดการสิง่ แวดล ้อมทัง้ ภายในและ
ระหว่างระดับความรับผิดชอบและภาระหน ้าทีต ่ า่ งๆ (เช่น แผนก พืน ้ ทีก
่ ารปฏิบตั งิ าน) ภายในองค์กร มีเหตุผลหลาย
ประการสาหรับการสือ่ สารดังกล่าว ตัวอย่างเช่น:

• เพื่อ แสดงข ้อตกลงด ้านการจั ด การในการปกป้ องสิง่ แวดล ้อม การป้ องกัน ภาวะมลพิษ การปฏิบัต ต ิ าม
กฎหมายและข ้อบังคับ และการปรับปรุงระบบการจัดสิง่ แวดล ้อมอย่างต่อเนือ ่ ง
• เพือ
่ กระตุ ้นให ้พนักงานปฏิบต ั เิ หมือนๆกัน
• เพือ่ เป็ นการแก ้ปั ญหาผลกระทบสิง่ แวดล ้อม
• เพือ ่ ยกระดับความตระหนั กในนโยบายสิง่ แวดล ้อม วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านและ
ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• เพือ ่ ให ้ฝ่ ายต่างๆทัง้ ภายในและภายนอกองค์กรเกิดความเข ้าใจทีด
่ ข
ี น ่ วกับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
ึ้ เกีย
และการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กร

ข ้อกาหนดและวิธก ่ สารภายในองค์กรบางอย่างใน ISO 14001 ได ้แก่:


ี ารสือ

• นโยบายสิง่ แวดล ้อม


• กฎหมายและข ้อกาหนดอืน ่ ๆ
• ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญและผลกระทบ
• วัตถุประสงค์และเป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อม
• การเปลีย ่ นแปลงกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ หรือบริการทีส ่ ง่ ผลกระทบต่อแผนการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• บทบาทและความรับผิดชอบในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• ข ้อกาหนดการฝึ กอบรม ความตระหนัก และความสามารถ
• ขัน
้ ตอนการควบคุมการปฏิบต ั งิ านและการควบคุมเอกสารทีอ ่ าจมีผลกระทบสิง่ แวดล ้อม
• การเตรียมการและการปฏิบต ั กิ ารเพือ
่ แก ้ไขกรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน
• ข ้อกาหนดและผลลัพธ์ของการติดตามตรวจสอบและการวัดผล
• อุบต ิ ารณ์ทางสิง่ แวดล ้อม
ั ก
• การปฏิบต ั ทิ ไี่ ม่เป็ นไปตามกฎหมายและข ้อบังคับ
• การปฏิบต ั ทิ ไี่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนดของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• การป้ องกันแก ้ไข และการติดตามเพือ ่ ให ้เกิดประสิทธิผล
• ผลการตรวจประเมินด ้านสิง่ แวดล ้อม
• การรายงานข ้อมูลระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมให ้แก่ผู ้บริหารระดับสูง
• ผลการทบทวนระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมโดยฝ่ ายบริหาร
• ประสิทธิผลของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 16 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

กล่าวอีกนัยหนึง่ ทุกส่วนของ ISO14001 นัน ่ สาร ซึง่ มีหลายวิธ ี เป็ นทีน


้ จาเป็ นต ้องมีการสือ ่ ่าสังเกตว่าวิธก ่ สาร
ี ารสือ
ต่อไปนีไ ่ สารทีแ
้ ม่มวี ธิ ใี ดเลยทีเ่ ป็ นการสือ ่ ท ้จริงถ ้าไม่มวี งจรการย ้อนกลับระหว่างผู ้รับและผู ้ส่งเพือ ่ ย้าความเข ้าใจซึง่
กันและกัน:

• การติดประกาศสารสนเทศลงบนป้ ายประกาศ
• บทความและการประกาศในจดหมายข่าว วารสาร หรือบันทึกขององค์กร
• การแจ ้งประกาศไปกับซองเงินเดือน
• การแจ ้งด ้วยวาจาหรือเป็ นลายลักษณ์อก
ั ษรในการประชุมของฝ่ ายบริหาร หัวหน ้างานและผู ้ปฏิบต
ั ก
ิ าร
• ข ้อความบนอินทราเน็ตขององค์กร
• ข ้อความอีเมล์

ื่ สารก ับฝ่ายต่างๆภายนอกองค์กร
การสอ
ตามข ้อกาหนด ISO 14001 องค์กรต ้องเปิ ดรับการสือ ่ สารทีเ่ กีย
่ วกับระบบการจัด การสิง่ แวดล ้อมขององค์กรหรือ
เกีย่ วกับประเด็ นทางสิง่ แวดล ้อมโดยทั่วไปจากบุคคลภายนอก กลุ่มต่างๆ หน่ ว ยงานหรือ องค์ก รอืน ่ สาร
่ ๆ การสือ
ทัง้ หมดควรจัดทาเป็ นเอกสาร จดบันทึก และควรมีการตอบสนองอย่าง (คือการเข ้าแฟ้ มเพือ ่ การอ ้างอิงภายหน ้า )
ทันท่วงทีและเหมาะสม

ในโลกของ ISO 14001 ไม่มอ ี งค์กรใดอยู่อย่างเอกเทศ ทุกองค์กรต ้องเต็มใจทีจ ่ ะให ้ข ้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับ
ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมและประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมเมือ ่ มีการร ้องขอ การทีบ
่ ริษัทนาเสนอข ้อมูลให ้ก่อนทีจ่ ะ
มีการร ้องขอจากบุคคลภายนอกทีเ่ กีย ่ วข ้องนั น
้ มีแนวโน ้มทีจ
่ ะได ้รับความมั่นใจและสนั บสนุนจากสาธารณชน เข ้า
ร่วมเป็ นสมาชิกอย่างสมบูรณ์ของชุมชนและวัฒนธรรมท ้องถิน ่

ฝ่ ายต่างๆภายนอกองค์กรทีอ ่ าจมีการสือ่ สารกับองค์กรนัน้ รวมถึง :


• บุคคลทั่วไป
• คนในพืน ้ ที่
• หน่วยงานรัฐทัง้ ในระดับท ้องที่ ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับประเทศ และเจ ้าหน ้าทีช
่ ม
ุ ชน
• ชาวประมง เกษตรกร คนตัดไม ้ พนักงานรักษาป่ า
• ลูกค ้าขององค์กร
• ผู ้ขายเครือ่ งมือ วัสดุและบริการให ้กับองค์กร
• กลุม ่ สาธารณชนทีส ่ นใจ
• ตัวแทนบริษัทนาเทีย ่ ว นักท่องเทีย
่ ว เจ ้าของทีด
่ น ิ
ิ ทรัพย์สน
• สมาคมธุรกิจ
• องค์กรพัฒนาเอกชนด ้านสิง่ แวดล ้อมและด ้านอืน ่ ๆ
• นักเรียนและครูอาจารย์ของมหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน
• สมาคมของชุมชน
• ตัวแทนสือ ่ ข่าวสารทัง้ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ

องค์กรต ้องให ้ความใส่ใจกับกลุม


่ คนเหล่านีแ
้ ละแจ ้งให ้ทราบถึงข ้อมูลต่างๆ เช่น :

• นโยบายสิง่ แวดล ้อม ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญและผลกระทบ วัตถุประสงค์และเป้ าหมายทาง
สิง่ แวดล ้อม
• ผลการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อมเปรียบเทียบกับข ้อกาหนดทางกฎหมาย
• การเตรียมความพร ้อมและแผนการแก ้ปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินสาหรับชุมชนท ้องถิน ่
• การติดตัง้ เครือ
่ งมือควบคุมมลพิษใหม่ในโรงงาน
• ผลการติดตามตรวจสอบด ้านสิง่ แวดล ้อมและแผนงานการตรวจวัด
• บุคคลในองค์กรทีส ่ ามารถติดต่อได ้กรณีมข
ี ้อร ้องเรียนหรือข ้อซักถาม

การสือ่ สารกับฝ่ ายต่างๆภายนอกองค์กรเป็ นสิง่ ทีท ่ สารภายในองค์กรแต่ผลจากความพยายามก็


่ ้าทายมากกว่าการสือ
ให ้คุณค่าในแง่ของความเชือ ่ มั่นของสาธารณชน ภาพลักษณ์และชือ ่ เสียงขององค์กร วิธก ่ สารกับฝ่ ายต่างๆ
ี ารสือ
ภายนอกองค์กรมีดงั เช่น :

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 17 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

• รายงานด ้านสิง่ แวดล ้อมประจาปี ขององค์กร


• รายงานเรือ่ งผลการดาเนินงานต่างๆทีต ่ ้องปฏิบต
ั ต ่ ง่ ให ้หน่วยงานรัฐ
ิ ามกฎหมายทีส
• จดหมายข่าวของบริษัท
• วารสารสมาคมอุตสาหกรรม
• บทความในสือ ่ ต่างๆและบทสัมภาษณ์ของบุคลากรในบริษัท
• การโฆษณา
• การประชุมร่วมกับชุมชน
• การเปิ ดให ้เข ้าชมโรงงาน
• หมายเลขโทรศัพท์สายด่วนสาหรับข ้อร ้องเรียน
• เว็บไซต์อน ิ เตอร์เน็ ตขององค์กร

โปรดสัง เกตว่าสือ่ ต่า งๆเหล่านี้ไ ม่ใ ช่รูป แบบของการสือ


่ สารเลยถ ้าหากว่า ทัง้ สองฝ่ ายไม่มโี อกาสทีจ
่ ะให ้ข ้อมูล
ย ้อนกลับและมั่นใจในความเข ้าใจทีไ่ ด ้รับ

ื่ สาร
องค์ประกอบหล ักในการสอ

่ สารความสาคัญของการบริหารสิง่ แวดล ้อมทีม


ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรสือ ่ ปี ระสิทธิผลและความสาคัญของการกระทาที่
สอดคล ้องกับข ้อกาหนดในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม ข ้อกาหนด (ดูทขี่ ้อ 5.1).

ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรทาให ้มั่นใจว่าจะมีการสือ ่ สารเรือ


่ งต่อไปนีภ
้ ายในองค์กร

— นโยบายสิงแวดล ้อม (ดูทข ี่ ้อ 5.2)
— ความรับผิดชอบและอานาจตามหน ้าทีต ่ ามบทบาททีเ่ กีย่ วข ้อง (ดูทข
ี่ ้อ 5.3)

่ สาร
องค์กรควรสือ
— ประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม่ น
ี ัยสาคัญตามระดับและหน ้าทีท ่ ห
ี่ ลากหลายขององค์กรตามความเหมาะสม (ดูทข ี่ ้อ
6.1.2.5)
— วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม (ดูทข ี่ ้อ 6.2.2)
— ข ้อกาหนดสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วข ้องสาหรับผู ้ให ้บริการจากภายนอกโดยรวมถึงผู ้รับเหมา (ดูทข ี่ ้อ 8.1)
— —ข ้อมูลสมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วข ้องทัง้ ภายในและภายนอกตามทีก ่ สารกาหนดและ
่ ระบวนการสือ
ตามข ้อกาหนดพันธกรณีทต ี่ ้องทาให ้สอดคล ้อง (ดูทข ี่ ้อ 9.1.1)

องค์กรควรทาให ้มั่นใจว่ามีการรายงานผลการตรวจติดตามภายในต่อฝ่ ายบริหารทีเ่ กีย


่ วข ้อง (ดูทข
ี่ ้อ 9.2)
การทบทวนของฝ่ ายบริหารสูงสุดขององค์กรของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมควรรวมการพิจารณาการสือ ่ สารจากผู ้มี
ส่วนได ้ส่วนเสีย(ดูทข
ี่ ้อ 9.3)

ื่ สารภายใน
การสอ

การสือ ่ สารระหว่างและตามระดับและหน ้าทีภ ่ ายในองค์กรเป็ นสิง่ สาคัญต่อประสิทธิผลของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม



ตัวอย่างเช่น การสือสารสาคัญในการแก ้ปั ญหา การประสานงานกิจกรรมต่าง ๆ การติดตามแผนปฏิบต ั ก
ิ ารและการ
พัฒนาระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมต่อไป การให ้ข ้อมูลทีเ่ หมาะสมกับผู ้ทีท่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กรจะช่วยใน
การจูงใจบุคคลเหล่านัน ้ และกระตุ ้นการยอมรับในความพยายามขององค์กรทีจ ่ ะปรับปรุงประสิทธิผลการทางานด ้าน
สิง่ แวดล ้อมโดยจะช่วยให ้พนักงานและผู ้ให ้บริการจากภายนอกทีท ่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กรสามารถบรรลุ
ความรับผิดชอบของตนเองและช่วยองค์กรในการบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม องค์กรควรมีกระบวนการทีเ่ ปิ ด
ให ้มีการสือ่ สารจากทุกระดับชัน
้ ขององค์กรโดยอนุญาตให ้ส่งความคิดเห็นและคาแนะนาในการปรับปรุงระบบบริหาร
สิง่ แวดล ้อมและประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กร ผลจากการสังเกตการณ์ ตรวจติดตามและและ
การทบทวนของฝ่ ายบริหารด ้านระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมควรมีการสือ ่ สารถึงบุคลากรทีเ่ หมาะสมภายในองค์กร

ื่ สารภายนอก
การสอ

การสือ ่ สารกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียภายนอกสามารถเป็ นเครือ ่ งมือสาคัญและมีประสิทธิผลสาหรับการบริหาร


สิง่ แวดล ้อม องค์กรควรคานึงถึงข ้อกาหนดในการสือ ่ สารทีเ่ กีย
่ วข ้องกับพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้องและ
กระบวนการสือ ่ สาร (ดูทข ่ สารข ้อมูลเกีย
ี่ ้อ 7.4.1) และสือ ่ วกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมสูภ ่ ายนอกเมือ ่ จาเป็ นโดย
สามารถพิจารณาว่าจะสือ ่ สารภายนอกถึงผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียเกีย ่ วกับประเด็นสิง่ แวดล ้อมโดยรวมทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 18 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

กระจาย การใช ้และทิง้ ผลิตภัณฑ์

องค์กรควรมีกระบวนการในการสือ ่ สารกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียภายนอกในกรณีสถานการณ์ฉุกเฉินทีส


่ ามารถส่งผล
หรือทาให ้บุคคลเหล่านีก
้ งั วล องค์กรยังสามารถพบว่าการทากระบวนการเป็ นเอกสารมีประโยชน์ในการสือ ่ สาร
ภายนอกด ้วย

การสือ ่ สารถึงผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียภายนอกเกีย่ วกับประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กรควรมีความ


ถูกต ้องแม่นยา น่าเชือ ่ ถือและตรวจสอบได ้ (ดูท ี่ ISO/TS 14033) ข ้อร ้องเรียนด ้านประสิทธิผลการทางานด ้าน
สิง่ แวดล ้อม ตัวอย่างเช่น ในรูปแบบรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์กร ข ้อความประชาสัมพันธ์หรือแคมเปญ
โฆษณา องค์กรต่าง ๆ สามารถพิจารณาวิธก ี ารในการตรวจสอบข ้อร ้องเรียนเกีย ่ วกับประสิทธิผลการทางานด ้าน
สิง่ แวดล ้อม

สรุปประเด็นสาค ัญ

• การสือ่ สารคือวงจรการสือ ่ สารแบบสองทางทีใ่ ห ้ผลลัพธ์คอ ื ความเข ้าใจร่วมกัน


• ถ ้าหากว่าไม่มก ี ารสารวจตรวจตราข่าวสารสิง่ พิมพ์ทเี่ ผยแพร่ไปสิง่ นัน ้ ก็จะเป็ นเพียงแค่บทความทีใ่ ห ้ข ้อมูล
หรือให ้ข ้อมูลทีผ่ ด
ิ พลาดเท่านัน ้
• การสือ ่ สารภายในทีม ี ระสิทธิผลเป็ นรากฐานของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
่ ป
• ISO 14001 ทาให ้เกิดการสือ ่ สารภายนอกองค์กรอย่างเข ้มแข็งในเรือ ่ งประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส
่ าคัญ
• องค์กรทีน ่ าระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมมาปฏิบต ั ติ ้องรับข่าวสาร จัดทาเป็ นเอกสารและตอบข ้อซักถาม ข ้อ
ปั ญหาและข ้อร ้องเรียนจากฝ่ ายต่างๆภายนอกองค์กร
• การสือ ่ สารภายนอกองค์กรในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมเป็ นสิง่ ทีส ่ มควรต ้องปฏิบต ั ิ

การตรวจประเมิน

• ตรวจสอบขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน เรือ


่ ง การสือ ่ สารภายใน และภายนอกองค์กร
• ตรวจทานหาหลักฐานการสือ ่ สารด ้านสิง่ แวดล ้อมภายในองค์กร ว่ามีความเพียงพอเหมาะสม ต่อขนาดของ
องค์กรหรือไม่ เช่น บันทึกรายงานการประชุม กิจกรรมผู ้บริหารพบพนักงาน กิจกรรมการประชุมใน
หน่วยงานก่อนเริม ่ งาน (Morning Meeting) นิทรรศการทางด ้านสิง่ แวดล ้อม อินทราเน็ ต อีเมล์ วารสาร
ภายในองค์กร ป้ านประกาศ เป็ นต ้น
• ตรวจสอบว่าองค์กรมีชอ ่ งทางทีเ่ ปิ ดกว ้าง เพือ ่ งราว ข่าวสารจากปั ญหาด ้านสิง่ แวดล ้อมจากภายนอก
่ รับเรือ
เช่น โทรศัพท์กล่องรับข ้อร ้องเรียนทีต ่ ด ิ ไว ้ด ้านหน ้าโรงงาน การไปเยีย ่ มชุมชน กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์
และการเปิ ดโรงงานให ้ชุมชนมาดูงาน (Open House) รายงานสิง่ แวดล ้อม ป้ ายประกาศต่าง ๆ หน ้า
โรงงาน แผ่นพับประชาสัมพันธ์
• ตรวจสอบการมีอยูข ่ องแผนและผลการประชาสัมพันธ์ และข ้อมูลทีใ่ ช ้ในการสือ ่ สาร เช่น ผลการดาเนินงาน
ด ้านสิง่ แวดล ้อม การรณรงค์ให ้ประหยัดพลังงาน
• ตรวจสอบบันทึกการรับข ้อร ้องเรียนและข ้อเสนอแนะด ้านสิง่ แวดล ้อม
• ตรวจหาหลักฐานว่ามีการดาเนินการแก ้ไขข ้อร ้องเรียน การทาหนังสือแจ ้งกลับผู ้ร ้องเรียนเกีย ่ วกับผลการ
แก ้ไข หรือการชีแ ้ จงเหตุผลในกรณีทป ี่ ั ญหาทีร่ ้องเรียนไม่เกีย ่ วกับองค์กร
• ตรวจสอบรายการสือ ่ สาร Sig. Aspects ว่ามีอะไรบ ้างทีส ่ ามารถสือ่ สารสูภ
่ ายนอก โดยผู ้ใด และทาการ
พิจารณาความเพียงพอเหมาะสม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 19 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

7.5 เอกสารข้อมูล

7.5 เอกสาร สารสนเทศ


7.5.1 ทว่ ั ไป
ระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมขององค์กรต ้องรวมถึง
a) เอกสารสารสนเทศทีก ่ าหนดโดยมาตรฐานนานาชาตินี้
b) เอกสารสารสนเทศ ทีพ ิ ารณาโดยองค์กรว่าจาเป็ นสาหรับระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมทีม
่ จ ่ ี
ประสิทธิผล
หมายเหตุ ขอบเขตของเอกสารสารสนเทศสาหรับระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมอาจแตกต่างระหว่างองค์กร
เนือ
่ งจาก
— ขนาดขององค์กรและประเภทของกิจกรรม กระบวนการ สินค ้าผลิตภัณฑ์ และบริการ
— ความจาเป็ นในการแสดงการสอดคล ้องกับข ้อผูกพัน
— ความซับซ ้อนของกระบวนการ และปฏิสม ั พันธ์
— ความสามารถของบุคลากรทีท ่ างานภายใต ้องค์กร
7.5.2 การจ ัดทาและทาให้ท ันสม ัย
เมือ่ ทาการจัดทาและทาการปรับปรุงข ้อมูลเอกสาร, องค์กรต ้องมั่นใจถึงความเหมาะสม
a) การชีบ ้ ง่ และคาอธิบาย (เช่นชือ ่ เอกสาร วันที่ ผู ้กาหนด หรือหมายเลขอ ้างอิง)
b) รูปแบบ (เช่นภาษา รุน ่ ซอฟท์แวร์ กราฟิ ก) และสือ ่ (เช่นกระดาษ อิเล็กทรอนิกส์)
c) ทบทวนและอนุมัต ิ ตามความเหมาะสมและเพียงพอ
7.5.3 การควบคุมเอกสารสารสนเทศ
เอกสารสารสนเทศทีจ ่ าเป็ นโดยระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม และโดย มาตรฐานนานาชาตินี้ ต ้องได ้รับการ
ควบคุมเพือ ่ ให ้มั่นใจว่า
a) มีพร ้อม และเหมาะสาหรับการใช ้งาน, ทีไ่ หนและเมือ ่ ไหร่ เมือ
่ จาเป็ น
b) ได ้รับการป้ องกันอย่างพอเพียง (เช่น การสูญเสียความลับ,นาไปใช ้อย่างไม่เหมาะสม หรือขาด
ความสมบูรณ์)
สาหรับการควบคุมเอกสารสารสนเทศ,องค์กรต ้องดาเนินการกับกิจกรรมต่อไปนี,้ ทีป ่ ฏิบต
ั ไิ ด ้
— การแจกจ่าย ,การเข ้าถึง,การเรียกหา และ การใช ้
— การจัดเก็บและการเก็บรักษา, รวมถึงการเก็บรักษาให ้อ่านออกได ้ชัดเจน
— ควบคุมการเปลีย ่ นแปลง (เช่นควบคุมเวอร์ชน ั )
— ระยะเวลาจัดเก็บ และการกาจัด
เอกสารสารสนเทศจากภายนอกทีก ่ าหนดโดยองค์กรว่าจาเป็ นสาหรับการวางแผนและการดาเนินงานของ
ระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมต ้องได ้รับการชีบ ้ ง่ ,ตามความเหมาะสม,และควบคุม
หมายเหตุ การเข ้าถึง หมายถึงโดยนัย การตัดสินใจเกีย ่ วกับสิทธิใ์ นการอ่านเอกสารสารสนเทศเท่านัน ้ ,
หรืออนุญาตและให ้อานาจในการอ่านและปรับเปลีย ่ นเอกสารข ้อมูลข่าวสาร

เรือ
่ งของเอกสาร

นิยามการจ ัดทาเอกสาร
ระดับความละเอียดของเอกสารต ้องเพียงพอทีจ ่ ะอธิบายถึงระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมและความเชือ ่ มโยงของงาน
ต่างๆ ในระบบฯ เอกสารต ้องระบุถงึ ช่องทางของเอกสารเพือ ่ ทีจ
่ ะได ้รับรายละเอียดของข ้อมูลข่าวสารมากขึน ้ ใน
เรือ
่ งการปฏิบัตก ิ ารในส่วนพิเศษของระบบฯ ระบบเอกสารนี้สามารถรวมกับระบบการจัดการอืน ่ ๆ ในองค์กรได ้ และ
ไม่จาเป็ นต ้องมีรปู แบบเหมือนกับคูม
่ อ

เอกสารในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมของแต่ละองค์กรจะมีความแตกต่างกันไปขึน


้ อยูก
่ บ
ั ปั จจัยตามทีร่ ะบุนี้

a) ขนาดและประเภทขององค์กร และกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการ


b) ความซับซ ้อนของกระบวนการและความสัมพันธ์เชือ
่ มโยงในกิจกรรมต่างๆ
c) ความรู ้ความสามารถของพนักงานในองค์กร

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 20 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

ยกตัวอย่างเอกสาร ซึง่ รวมถึง

a) นโยบายสิง่ แวดล ้อม วัตถุประสงค์และเป้ าหมายด ้านสิง่ แวดล ้อม


b) ข ้อมูลทางด ้านสิง่ แวดล ้อมทีม
่ น
ี ัยสาคัญ
c) ระเบียบปฏิบต ั ิ
d) ข ้อมูลกระบวนการ
e) โครงสร ้างหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบ
f) แผนฉุกเฉินขององค์กร
g) บันทึกทีต่ ้องการ

การตัดสินใจในเรือ
่ งเอกสารใดๆ ระเบียบปฏิบต
ั จิ ะต ้องขึน
้ อยูบ
่ นพืน
้ ฐานของเรือ
่ งต่างๆ ดังนี้

a) ความต ้องการในแสดงออกถึงความสามารถในการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายและข ้อกาหนดทีเ่ กีย


่ วข ้อง
b) ความต ้องการทีแ
่ น่ใจว่าองค์กรสามารถปฏิบต ั ต
ิ ามระบบฯ ได ้อย่างสม่าเสมอ
c) ประโยชน์ของการปฏิบต ิ ามระบบฯ ซึง่ รวมถึง
ั ต
- ความสะดวกในการปฏิบต ั ติ ามระบบฯ ผ่านทางการสือ ่ สารและการฝึ กอบรม
- ความสะดวกในการรักษาระบบฯ และการทบทวน
- ลดความเสีย ่ งของการลดความสอดคล ้องในข ้อบกพร่อง
- ความสามารในการปฏิบต ั ติ ามและผลทีเ่ ป็ นไปได ้

การสร ้างเอกสารต ้นฉบับเพือ


่ วัตถุประสงค์อน ื่ ๆ นอกเหนือจากระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมสามารถใช ้เป็ นส่วนหนึง่
ของระบบฯ นีไ้ ด ้ สามารถใช ้อ ้างอิงได ้ในระบบนีเ้ ช่นกัน

ข ้อกาหนด เพือ่ ให ้แน่ใจว่าองค์กรสามารถรักษาเอกสารทีเ่ พือ


่ เพียงพอทีจ
่ ะแสดงถึงประสิทธิผลในการปฏิบต
ั ติ าม
ระบบการจัดการนี้ อย่างไรก็ตามความมุง่ มั่นทีส ่ ้อย่
่ าคัญขององค์กรคือการนาระบบการจัดการสิงแวดล ้อมไปใช างมี
ประสิทธิผลซึง่ แสดงออกด ้วยผลการดาเนินงาน ไม่ใช่การแสดงถึงความซับซ ้อนของระบบการควบคุมเอกสาร

ISO 14001 ใช ้คาว่า “การจัดทาเป็ นเอกสาร” ซึง่ หมายถึงสถานการณ์ใดก็ตามในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมทีต ่ ้อง

จดบันทึกบางสิงบางอย่างลงไป ในทางปฏิบต ั ิ เอกสารรวมถึงนโยบาย ขัน ้ ตอนการปฏิบต
ั งิ าน คูม
่ อ
ื แผนงาน
แผนภาพ ลาดับแผนภาพ บันทึกเตือนความจาและอืน ่ วข ้องกับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม การจดบันทึกก็
่ ๆทีเ่ กีย
จัดเป็ นเอกสารอย่างหนึง่ แต่ ISO 14001 ได ้แยกออกไปต่างหากเพราะว่า:

• เอกสารเป็ นตัวกาหนดว่าต ้องทาอะไรและอะไรควรเกิดขึน



• บันทึกเป็ นข ้อมูลทีบ
่ อกว่าอะไรได ้เกิดขึน
้ แล ้ว

ข ้อกาหนด ISO 14001 ทีต ่ ้องจัดทาเป็ นเอกสาร แต่อย่างไรก็ตามคุณภาพของระบบการจัดการหมายถึง การทา


บางสิง่ อย่างสมา่ เสมอ และขัน้ ตอนการปฏิบต ่ ัดทาเป็ นเอกสารก็ชว่ ยส่งเสริมให ้เกิดการปฏิบต
ั งิ านทีจ ั อ
ิ ย่างสม่าเสมอ
้ ในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมจึงมีการจัดทาเป็ นเอกสารมากกว่าทีก
ดังนัน ่ าหนดไว ้ในมาตรฐานเสมอมา

เช่นเดียวกันกับการดาเนินชีวต ิ โดยทางสายกลาง จึงไม่จาเป็ นต ้องจัดทาเอกสารในทุกๆเรือ ่ งในระบบการจัดการ


สิง่ แวดล ้อม ความรอบคอบเป็ นสิง่ จาเป็ นเมือ
่ ต ้องทาการตัดสินใจว่าเรือ
่ งใด ทีจ ่ ะได ้ประโยชน์จากการเขียนเพือ ่
หลีกเลีย่ งการสร ้างกองภูเขากระดาษหรือสือ ่ อิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนีป ้ ั จจัยทีส
่ าคัญก็คอ
ื เป็ นการทาให ้มัน
่ ใจว่า
เอกสารอยูภ ่ ายใต ้การควบคุมเพือ
่ หลีกเลีย
่ งความสับสนในระบบ

แนวทางปฏิบ ัติการควบคุมเอกสาร
ISO 14001 มิได ้กาหนดเงือ่ นไขว่าจะต ้องควบคุมเอกสารอย่างไร แต่จะกาหนดผลลัพธ์ทต
ี่ ้องการมากกว่า ในบทนี้
จะไม่กล่าวถึงรายละเอียดวิธกี ารควบคุมเอกสาร แต่จะแนะนาดังนี้:

• เอกสาร(ขัน้ ตอนการปฏิบัต งิ าน)ควรมีรูปแบบทีเ่ ป็ นมาตรฐานเพือ


่ จะได ้เป็ นรูปแบบเดียวกันและมีความ
สมบูรณ์ เอกสารขัน
้ ตอนการปฏิบต ั งิ านควรประกอบด ้วย :

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 21 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

- หัวข ้อเรือ่ ง และผู ้จัดทา


- องค์กร แผนกหรือหน ้าที่
- จุดประสงค์ ขอบเขต นิยามของคาทีใ่ ช ้ในขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน
- คาอธิบายขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านซึง่ รวมถึงบุคคลทีร่ ับผิดชอบต่อการมอบหมายอานาจ การชีแ ้ นะ
การดาเนินงานและการอนุมัตผ ิ ลการดาเนินงานตามขัน ้ ตอน
- บันทึก แบบฟอร์ม เอกสารทีเ่ กีย ่ วข ้องและการอ ้างอิงทีม ่ า
- ลายเซ็นอนุมัตข ิ องผู ้ทีไ่ ด ้รับมอบหมายอานาจ
- วันทีไ่ ด ้รับการอนุมัต ิ วันทีข ่ องการทบทวน และวันทีท ่ าการปรับปรุง
• ส าเนาของเอกสารระดับ ที่ 2 และระดับ ที่ 3 ควรท าเครื่อ งหมาย “ไม่ค วบคุม ” และมีข ้อความว่า ส าเนา
เอกสารฉบับนีอ ้ าจไม่ใช่ฉบับล่าสุด ควรอ ้างอิงจากต ้นฉบับหรือจากสือ ่ อิเล็กทรอนิกส์
• เอกสารฉบับควบคุมควรจั ดเก็บลงในสือ ่ อิเล็ กทรอนิกส์อย่างดีทส ี่ ุด ถ ้าเป็ นไปได ้ควรจั ด เก็บข ้อมูลทาง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และจากัดการเข ้าถึงเฉพาะผู ้ทีไ่ ด ้รับอานาจเท่านั น ้ และต ้องเป็ นฉบับทีอ ่ า่ นได ้อย่าง
เดียวแก ้ไขไม่ได ้
• การเปลีย ่ นแปลงเอกสารต ้องทาโดยผู ้มีอานาจเท่านัน ้
• ต ้องมีการทบทวนเอกสารอย่างสม่าเสมอเพือ ่ ความถูกต ้อง ความเกีย ่ วเนือ ่ งสัมพันธ์กน
ั และปรับให ้ทันสมัย
เสมอ
• เมือ ่ มีการเปลีย ่ นแปลงเอกสารต ้องแจ ้งให ้ผู ้ทีไ่ ด ้รับผลกระทบทราบ
• เมือ่ มีการแจกจ่ายสาเนาเอกสาร (เช่น คูม ่ อ ื การแก ้ปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน) จะต ้องจัดเก็บรายชือ ่ เอกสาร
ทีแ่ จกจ่ายเพือ ่ ให ้แน่ใจว่าสาเนาเอกสารทุกฉบับได ้รับการปรับปรุงให ้ทันสมัย และข ้อมูลทีย ่ กเลิกแล ้วให ้
ทาลายทันทีหรือเก็บไว ้ในทีเ่ ก็บเอกสาร
• ในการฝึ กอบรมผู ้ทีไ่ ด ้รับการคัดเลือกในเรือ ่ งวิธก
ี ารเตรียมเอกสาร และฝึ กอบรม ผู ้จัดการและพนักงานทุกคน
ในเรือ ี ารค ้นหาและการใช ้เอกสารนับเป็ นเรือ
่ งวิธก ่ งสาคัญทีต่ ้องดาเนินการ

องค์กรควรพัฒนาและเก็บรักษาเอกสารข ้อมูลทีเ่ พียงพอเพือ ่ ทาให ้มั่นใจ:


• ว่าระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมมีการดาเนินการอย่างมีประสิทธิผล
• ว่าได ้รับความเข ้าใจจากบุคลากรทีท่ างานภายใต ้การควบคุมขององค์กรและผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียอืน
่ ๆ ที่
เกีย
่ วข ้อง
่ วข ้องกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมตามแผน
• ว่ามีการดาเนินกระบวนการทีเ่ กีย
เอกสารข ้อมูลควรมีการเก็บและรักษาในทางทีส ่ ะท ้อนให ้เห็นถึงวัฒนธรรมและความต ้องการขององค์กร

เอกสารข ้อมูลในรูปแบบกระบวนการ แผนการและโปรแกรม (ตัวอย่างเช่น) ควรมีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสมเพือ



ทาให ้มั่นใจในความสอดคล ้อง การทันเวลาและการเกิดผลลัพธ์ซ้า

เอกสารข ้อมูลในรูปแบบบันทึกจะมีการเก็บรักษาเป็ นหลักฐานของผลลัพธ์ทบ ี่ รรลุหรือกิจกรรมทีด


่ าเนินการแล ้วเพือ

เป็ นตัวอย่างการดาเนินการตามข ้อกาหนดในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม ข ้อมูลทีเ่ ป็ นบันทึกผลลัพธ์ทบ ี่ รรลุหรือ
หลักฐานกิจกรรมทีด ่ าเนินการแล ้ว เป็ นส่วนหนึง่ ของเอกสารข ้อมูลขององค์กร แต่อาจมีการควบคุมด ้วยกระบวนการ
บริหารทีแ่ ตกต่างกัน

สาหรับการบริหารกิจกรรมสาคัญอย่างมีประสิทธิผล (ตัวอย่างเช่น ทีเ่ กีย ่ งและโอกาสทีต


่ วข ้องกับความเสีย ่ ้องค ้นหา
ซึง่ กาหนดไว ้) องค์กรสามารถบ่งชีว้ ธิ ใี นการดาเนินกิจกรรมด ้วยการตัง้ กระบวนการทีส ่ ามารถทาเป็ นเอกสารและ
สามารถอธิบายในรายละเอียดทีเ่ หมาะสมถึงวิธใี นการบริหารกิจกรรมต่าง ๆ หากองค์กรตัดสินใจทีจ ่ ะไม่ทา
กระบวนการเป็ นเอกสาร บุคลากรทีไ่ ด ้รับผลกระทบซึง่ ทางานภายใต ้การควบคุมขององค์กรควรได ้รับการแจ ้ง
เกีย่ วกับข ้อกาหนดทีต
่ ้องบรรลุอย่างเหมาะสมด ้วยการสือ ่ สารหรือการอบรม

องค์กรสามารถเลือกทีจ ่ ะทาเอกสารให ้ระบบบริหารในรูปแบบคูม ่ อ


ื ทีป
่ ระกอบด ้วยภาพรวมหรือผลสรุปของระบบ
พร ้อมรายละเอียดของส่วนประกอบหลักและสามารถให ้ทิศทางแก่เอกสารข ้อมูลทีเ่ กีย ่ วข ้อง โครงสร ้างของคูม
่ อ

ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมใด ๆ ดังกล่าว ไม่จาเป็ นต ้องทาตามโครงสร ้างข ้อต่าง ๆ ของ ISO 14001 หรือมาตรฐาน
อืน
่ ใด

ขอบเขตของเอกสารข ้อมูลสามารถแตกต่างกันในแต่ละองค์กร การทาเอกสารข ้อมูลทีไ่ ม่จาเป็ นหรือซับซ ้อนจะ


ลดทอนประสิทธิผลของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม เมือ
่ พิจารณาถึงขอบเขตของเอกสารข ้อมูลทีจ่ ัดทาขึน
้ องค์กร
สามารถพิจารณาประโยชน์ของเอกสารข ้อมูลในด ้านประสิทธิผล ความต่อเนือ
่ งและการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ งของ
ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม.

่ ใด ๆ ก็ได ้ (กระดาษ อิเล็กทรอนิคส์ รูปถ่ายและโปสเตอร์) ทีม


สามารถควบคุมเอกสารข ้อมูลในสือ ่ ป
ี ระโยชน์

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 22 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

ถูกต ้องตามกฎหมาย เข ้าใจง่ายและสามารถเข ้าถึงผู ้ทีต


่ ้องการข ้อมูลทีบ
่ รรจุอยูภ
่ ายใน

หากกระบวนการของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมอยูแ ่ นวเดียวกับกระบวนการของระบบบริหารอืน ่ ๆ องค์กรสามารถทา


การรวมข ้อมูลเอกสารสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ วข ้องกับเอกสารข ้อมูลของระบบบริหารอืน
่ ๆ เหล่านีไ้ ด ้

่ วกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมจะมีการสรุปอยูใ่ นกรอบ 19 ซึง่ เป็ นข ้อมูลแก่นหลักขัน


เอกสารข ้อมูลหลักเกีย ้ ตา่ ทีค
่ วร
ทาเป็ นเอกสาร และ องค์กรสามารถทาได ้มากกว่านีไ้ ด ้ตามจาเป็ นเพือ ่ ประสิทธิผลของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม

เอกสารข้อมูล

องค์กรควรเก็บรักษาเรือ ่ งต่อไปนีเ้ ป็ นเอกสารข ้อมูล


— ขอบเขตของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม (ดูทข ี่ ้อ 4.3);
— นโยบายสิง่ แวดล ้อม (ดูทข ี่ ้อ 5.2);
— ความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องค ้นหาซึง่ กาหนดไว ้ (ดูทข ี่ ้อ 6.1.1);
— กระบวนการทีจ ่ าเป็ นในข ้อ 6.1.1 ถึง 6.1.4 ในด ้านขอบเขตทีจ ่ าเป็ นเพือ
่ ให ้เกิดความมั่นใจว่ามีการ
ดาเนินการกระบวนการเหล่านีต ้ ามแผน (ดูทข ี่ ้อ 6.1.1)
— ประเด็นสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วข ้อง เกณฑ์ทใี่ ช ้ในการกาหนดประเด็น

สิงแวดล ้อมทีส ่ าคัญ รวมถึงประเด็นสิงแวดล ้อมทีม ่ ่ น
ี ัยสาคัญ (ดูทข ี่ ้อ 6.1.2)
— พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง(ดูทข ี่ ้อ 6.1.3)
— ข ้อมูลด ้านวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม (ดูทข ี่ ้อ 6.2.1)
— ข ้อมูลเกีย่ วกับกระบวนการควบคุมการดาเนินงานทีต ่ ้องบรรลุข ้อกาหนดของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมใน
ขอบเขตทีจ ่ าเป็ นเพือ ่ มีความมัน ่ ใจว่าจะมีการดาเนินกระบวนการต่าง ๆ ตามแผน (ดูทข ี่ ้อ 8.1)
— กระบวนการทีจ ่ าเป็ นต ้องจัดเตรียมและตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉินทีเ่ ป็ นไปได ้ดังระบุในข ้อ 6.1.1 ใน
ขอบเขตทีจ ่ าเป็ นเพือ ่ มีความมัน ่ ใจว่าจะการดาเนินกระบวนการต่าง ๆ ตามแผน (ดูทข ี่ ้อ 8.2)

องค์กรควรรักษาเอกสารข ้อมูลเป็ นหลักฐาน (บันทึก) ของเรือ ่ งดังต่อไปนี้


— ความสามารถตามความเหมาะสม (ดูทข ี่ ้อ 7.2);
— การสือ ่ สารตามความเหมาะสม (ดูทข ี่ ้อ 7.4.1);
— การสังเกตการณ์ การวัดผล การวิเคราะห์และผลการประเมินตามความเหมาะสม (ดูทข ี่ ้อ 9.1.1);
— ผลการประเมินความสอดคล ้อง (ดูทข ี่ ้อ 9.1.2);
— การดาเนินการโปรแกรมตรวจติดตามและผลการตรวจติดตาม (ดูทข ี่ ้อ 9.2);
— ผลการทบทวนของฝ่ ายบริหาร (ดูทข ี่ ้อ 9.3);
— หลักธรรมชาติของข ้อบกพร่องทีพ ่ บและการปฏิบต ั ก
ิ ารถัดไปรวมถึงผลการปฏิบต ั ก
ิ ารแก ้ไข (ดูทขี่ ้อ 10.2).

ตัวอย่างข ้อมูลเอกสารอืน
่ ๆ จะรวมถึงรายละเอียดของโปรแกรมและความรับผิดชอบ กระบวนการ ข ้อมูล
กระบวนการ ผังองค์กร มาตรฐานภายในและภายนอก รวมถึงแผนฉุกเฉินของสถานประกอบการ

การสร้างและการอ ัพเดต

เมือ ่ วกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม องค์กรควรทาให ้มัน


่ มีการสร ้างและอัพเดตเอกสารข ้อมูลเกีย ่ ใจว่ามีความเหมาะสม
ในด ้าน
— การบ่งชีแ ้ ละรายละเอียด (ตัวอย่างเช่น ชือ่ วันที่ ผู ้เขียนหรือหมายเลขอ ้างอิง)
— รูปแบบ (ตัวอย่างเช่น ภาษา เวอร์ชน ั่ ซอฟท์แวร์ กราฟฟิ ค) และสือ ่ (ตัวอย่างเช่น กระดาษ
อิเล็กทรอนิกส์)
— การทบทวนภายในและการอนุมัตใิ นด ้านความเหมาะสมและความเพียงพอ

การควบคุมเอกสารข้อมูล

การควบคุมเอกสารข ้อมูลของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมเป็ นเรือ ่ งสาคัญทีจ่ ะต ้องทาให ้มั่นใจว่า


— สามารถบ่งชีข ้ ้อมูลด ้วยองค์กร ฝ่ าย หน ้าที่ กิจกรรม หรือผู ้ติดตามอย่างเหมาะสม
— ข ้อมูลทีอ ่ งค์กรเก็บรักษามีการทบทวนเป็ นประจา แก ้ไขตามจาเป็ นและได ้รับอนุมัตจิ ากผู ้มีอานาจก่อน
ดาเนินการ
— เวอร์ชน ั่ ปั จจุบน ่ วข ้องมีพร ้อมใช ้ในสถานทีต
ั ของข ้อมูลเอกสารทีเ่ กีย ่ งั ้ ทัง้ หมดทีม
่ ก
ี ารดาเนินงานในหน ้าที่

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 23 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

ในระบบทีส ่ าคัญอย่างมีประสิทธิผล โดยรวมถึงหน ้าทีท


่ จ
ี่ าเป็ นในการทาให ้มั่นใจว่ามีการบรรลุข ้อกาหนด
เมือ่ ไม่สามารถทาให ้ข ้อมูลเอกสารมีพร ้อมใช ้ จะต ้องมีการพิจารณาปฏิบต ั ก ิ ารทีส
่ อดคล ้องกับแนวทาง
ปฏิบต ั ท
ิ ก ี่ าหนดไว ้อย่างพอเพียง.
— ข ้อมูลทีล ่ ้าสมัยจะมีการย ้ายออกจากจุดของปั ญหาโดยทันทีและจากสถานทีแ ่ ละในสถานการณ์ทต ี่ ้องใช ้
(ในบางสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น สาหรับจุประสงค์ในการดารงไว ้ซึง่ กฎหมายและ/หรือความรู ้ เอกสาร
ข ้อมูลทีล ่ ้าสมัยสามารถเก็บไว ้เป็ นหลักฐานในเรือ
่ งผลลัพธ์ทบ ี่ รรลุแล ้วได ้)

สามารถควบคุมเอกสารข ้อมูลได ้อย่างมีประสิทธิผลโดย


— การพัฒนารูปแบบทีเ่ หมาะสมซึง่ จะต ้องมีหวั ข ้อทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ หมายเลข วันที่ การแก ้ไข ประวัตก
ิ าร
แก ้ไขและผู ้มีอานาจ
— การมอบหมายการทบทวนและการอนุมัตเิ อกสารข ้อมูลทีอ ่ งค์กรเก็บรักษาตามรายบุคคลทีม่ ค
ี วามสามารถ
ทางเทคนิคทีเ่ พียงพอและผู ้มีอานาจของ องค์กร
— การรักษาระบบการกระจายอย่างมีประสิทธิผล

สรุปประเด็นสาค ัญ

• ต ้องมีการควบคุมเอกสารในระบบการจัด การสิง่ แวดล ้อมเพือ ่ ให ้มั่นใจถึงลาดับความสาคัญ ของเอกสาร


รวมทัง้ การมีรป ู แบบเอกสารเหมือนกัน
• บุคคลทีไ่ ด ้รับอานาจเท่าทีม่ สี ทิ ธิจัดทาหรือเปลีย ่ นแปลงเอกสาร
• พนักงานทุกคนต ้องค ้นหาเอกสารทีเ่ กีย ่ วข ้องกับหน ้าทีแ
่ ละความรับผิดชอบของตนเองในระบบการจัดการ
สิง่ แวดล ้อมได ้ง่าย
• การเก็บเอกสารด ้วยระบบคอมพิวเตอร์เป็ นวิธก ี ารควบคุมและการเข ้าถึงเอกสารทีม ่ ป
ี ระสิทธิผลมากทีส
่ ด

• เอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านต ้องจัดเก็บอย่างเป็ นระเบียบ สามารถบ่งชีไ้ ด ้ อ่านได ้ชัดเจน ระบุวันทีแ ่ ละควร
จะมีรป ู แบบเดียวกัน
• เอกสารฉบับล่าสุดเท่านัน ้ ทีต่ ้องจัดให ้มีอยูใ่ นทีแ
่ ละเวลาทีต่ ้องการ
• เอกสารฉบั บส าเนาต ้องท าเครื่องหมาย “ไม่ ควบคุ ม ” เพื่อเตือนผู ้อ่ านว่ าฉบั บล่ าสุด อาจหาอ่ านได ้จาก
คอมพิวเตอร์
• เอกสารทีเ่ ลิกใช ้ต ้องนาออกไปทาลายหรือทาฉลากระบุวา่ เลิกใช ้และเก็บไว ้ในห ้องเก็บเอกสาร

การตรวจประเมิน

1. ตรวจสอบว่าเอกสารทีเ่ กีย ่ วข ้องกับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมตามทีร่ ะบุในข ้อกาหนด (เอกสารประเภทนี้


ได ้แก่ นโยบายสิง่ แวดล ้อม, วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย, รายละเอียดของขอบเขตของระบบบริหาร
สิง่ แวดล ้อม, คาอธิบายส่วนประกอบหลักของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมและความสัมพันธ์ของ
องค์ประกอบเหล่านัน ้ , บันทึก, เอกสาร ซึง่ รวมถึงบันทึกทีไ่ ด ้รับการกาหนดขึน ้ โดยองค์กรตามความ
จาเป็ น) การได ้รับการควบคุมหมายถึงการควบคุมการอนุมต ั ิ ปรับปรุงแจกจ่าย ในกรอบของระบบ EMS
เป็ นต ้น ซึง่ การตรวจประเมินเรือ ่ งนีต ้ ้องทาการตรวจประเมินกับผู ้ควบคุมเอกสารและผู ้รับผิดชอบในทุก
ส่วนงานกิจกรรม
2. ตรวจทาน คูม ่ อ ื ขัน
้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน เรือ่ ง การควบคุมเอกสาร
3. ตรวจสอบหลักฐานการควบคุมเอกสาร ไม่วา่ ใบขออนุมัตจิ ัดทายกเลิก/เปลีย ่ นแปลงการถือครอง/แก ้ไข/
) เอกสารDocument Action Request – DAR) ในองค์กรขนาดเล็กมักทาการสุม ่ เอกสารในระบบโดยตรง
กับเอกสารอืน ่ ๆขององค์กร ตรวจสอบบัญชีแม่บทเอกสาร หรือทะเบียนเอกสาร (Master List) ของคูม ่ อ

คุณภาพ เอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน วิธก ี ารปฏิบต
ั ิ แบบฟอร์ม
4. ทาการสุม ่ ตรวจว่ามีหลักฐานการอนุมัตเิ อกสารใหม่ และเอกสารทีแ ่ ก ้ไข ก่อนใช ้งานหรือไม่
5. ตรวจสอบทะเบียนการแจกจ่ายเอกสาร (Distribution Lists) หรือทะเบียนผู ้ถือครองเอกสาร (Holder
Lists) และหลักฐานการแจกจ่ายเอกสาร และทาการตรวจสอบทีพ ่ นื้ ทีห
่ น ้างานว่าได ้รับเอกสาร ทีจ ่ าเป็ น
หรือไม่
6. ตรวจสอบวิธก ี ารควบคุมเอกสารภายนอก เช่นดูจาก บัญชีรายการเอกสารภายนอก ตรวจสอบทีพ ่ น
ื้ ทีห่ น ้า
งานว่ามีเอกสารภายนอกได ้รับการควบคุมอย่างเหมาะสมหรือไม่
่ ตรวจเอกสารทีย
7. สุม ่ กเลิก ตรวจว่ามีการชีบ ้ ง่ ให ้ทราบว่ายกเลิก อย่างไร เก็บไว ้นานขนาดไหน ทาไม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 24 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

8. หากมีการใช ้ ระบบควบคุมเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ทาการตรวจสอบความทันสมัยของการ upload


ตรวจสอบว่าผู ้ใช ้งานเอกสารสามารถเข ้าถึงได ้ง่าย โดยการสุม ่ ตรวจ ณ พืน
้ ที่ โดยเน ้นเอกสารทีเ่ กีย ่ วข ้อง
กับหน่วยปฏิบต ั ก ิ าร
9. ระหว่างทาการตรวจประเมินพืน ้ ที่ ให ้ทาการตรวจสอบหน ้างานว่าเอกสารทีม่ อ
ี ยูน ้ พร ้อมใช ้และเป็ น
่ ัน
ปั จจุบน
ั ทีพ
่ น
ื้ ทีป่ ฏิบต ั งิ าน

เรือ
่ งของบ ันทึก

ทาไมต้องมีบ ันทึกในระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อม

เหตุผลของการมีบน ั ทึก นัน


้ ชัดเจนและเป็ นเรือ ่ งพืน
้ ฐานมากๆ ท่านจาต ้องแสดงให ้เห็น
บ ันทึกมีไว้เพือ
่ แสดง
ว่าองค์กรท่านได ้มีการปฏิบต ั ติ ามระบบ EMS ทีไ่ ด ้ออกแบบไว ้ !
ความสอดคล้องก ับ ท่านต ้องไม่ลม
ื ว่านอกจากบันทึกส่วนมาก จะมีไว ้เพือ ่ เป็ นหลักฐานภายในองค์กร แต่ใน
ขณะเดียวกันอาจต ้องมีไว ้ให ้กับบุคคลภายนอกเช่น ลูกค ้า ผู ้ให ้การรับรอง หรือ
สาธารณะ ด ้วย
 ข ้อกาหนดในระบบ การจัดเก็บบันทึกอาจเป็ นเรือ ่ งน่าเบือ
่ ดูเป็ นทางการ แต่หากขาดบันทึก คงจินตนาการ
EMS ขององค์กร ลาบาก หรือแสดงให ้ใครต่อใครเห็นได ้ลาบากว่าท่านได ้มีการปฏิบต ั ต
ิ ามระบบทีก
่ าหนด
 มาตรฐาน ISO14001 ขึน
้ อย่างไร
 ผลการดาเนินงาน
เหตุผลโดยทว่ ั ๆไป
• บันทึกช่วยในการติดตาม ตรวจสอบได ้ว่าเกิดอะไรขึน ้ บ ้างทีเ่ กีย
่ วกับระบบการ
จัดการสิง่ แวดล ้อม และเกิดขึน้ เมือ
่ ใด
• บันทึกประกอบด ้วยข ้อมูลผลการดาเนินงานในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมที่
ผ่านมา ซึง่ ได ้แก่ กิจกรรม สารสนเทศ การเปลีย ่ นแปลงต่างๆ ข ้อมูลเกีย ่ วกับ
ตัวแปรการปฏิบต ั งิ าน กากของเสีย และวันที่
• บันทึกประกอบด ้วยหลักฐานความคืบหน ้า พัฒนา ปรับปรุง ตามวัตถุประสงค์
และเป้ าหมาย
• บันทึกช่วยให ้สามารถติดตามแนวโน ้ม เช่น การเกิดเหตุฉุกเฉินทาง
สิง่ แวดล ้อม การเกิดข ้อบกพร่อง และระดับการปนเปื้ อน เป็ นต ้น
Key Questions • บันทึกเป็ นหลักฐานว่ากิจกรรมต่างๆได ้เกิดขึน

• บันทึกช่วยประเมินประสิทธิผลของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

 บันทึกอะไรทีต ่ ้องเก็บ?
 ใครจะเป็ นคนเก็บ? หล ักการในการจ ัดการก ับบ ันทึก
 เก็บไว ้ทีไ่ หน? หลักการในการจัดการบันทึกนัน ้ เรียบง่าย โดยเริม
่ จากท่านต ้องตัดสินใจว่า บันทึกอะไรที่
 เก็บด ้วยวิธใี ด? ท่านต ้องจัดเก็บ ใครเป็ นคนเก็บ และเก็บไว ้นานขนาดไหน
 เก็บไว ้นานขนาดไหน?
• เริม
่ ต ้นโดยทาการระบุวา ่ บันทึกตามระบบEMS อะไรทีต ่ ้องมี โดยพิจารณาที่
 จะเข ้าถึง เรียกหาบันทึก
ระเบียบปฏิบต ั แ
ิ ละคูม
่ อ
ื ในการทางานต่างๆเพือ ่ พิจารณาว่า จะต ้องมีหลักฐานอะไร
นีไ้ ด ้อย่างไร?
ในการแสดงว่าท่านได ้มีการนาไปปฏิบต ั ิ โดยเฉพาะอย่างยิง่ บันทึกทีจ
่ าเป็ นต ้องมี
 จะทาลายทิง้ ได ้ ตามกฏหมาย
อย่างไร?
• ให ้เน ้นไปทีบ
่ น
ั ทึกทีม่ ค
ี วามสาคัญหรือมีประโยชน์กบ ั องค์กร หากไม่มค ี วามจาเป็ น
ทีต่ ้องเก็บหรือไม่ประโยชน์ทจ ี่ ะเก็บ ก็อย่าเก็บ บันทึกทีท
่ า่ นเก็บนีต
้ ้องสมบูรณ์
เพียงพอ
• ท่านอาจจาเป็ นต ้องสร ้างแบบฟอร็มต่างๆเพือ ่ นาระบบEMSไปปฏิบต ั ใิ ช ้ เมือ
่ ได ้ก็
ตามทีแ ่ บบฟอร็มได ้รับการกรอก มันจะกลายเป็ นบันทึก แบบฟอร็มทีท ่ า่ นออกแบบ
ต ้องเรียบง่ายต่อผู ้ใช ้แบบฟอร็มนัน ้ ๆ
• ให ้กาหนดอายุในการจัดเก็บและทาตามอย่างเคร่งครัด ให้พจ ิ ารณาโดยละเอียด
สาหร ับอายุการจ ัดเก็บบ ันทึกทีต ่ อ
้ งมีตามกฏหมาย

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 25 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

• ในการกาหนดระบบจัดการบันทึก อย่าลืมพิจารณาในเรือ
่ ง
• ผู ้ใด ตาแหน่งงานใด สามาถเข ้าถึง
• บันทึกอะไรทีใ่ ห ้เข ้าถึง
• ในสถานการณ์หรือกรณีใดบ ้าง
• การรักษาความลับ
• การแบ็คอัพสาหรับบันทึกทีส ่ าคัญ

ต ัวอย่างบ ันทึก

บันทึกสิง่ แวดล ้อม รวมถึง


a) บันทึกการร ้องเรียน
หมายเหตุ :
b) บันทึกการฝึ กอบรม
c) บันทึกการตรวจติดตามกระบวนการต่างๆ
บันทึกไม่ใช่หลักฐาน
d) บันทึกการตรวจสอบ การรักษาและการสอบเทียบ
ทัง้ หมดของการแสดง e) บันทึกการทางานของผู ้รับจ ้างช่วงและผู ้ส่งมอบ
ถึงความสอดคล ้องกับ f) บันทึกอุบต ั เิ หตุและอุบตั ก
ิ ารณ์
มาตรฐานฉบับนี้ g) บันทึกการทดสอบการเตรียมพร ้อมสถานการณ์ฉุกเฉิน
h) บันทึกผลการตรวจประเมิน
i) การตัดสินใจในการสือ ่ สารบางเรือ
่ ง
j) บันทึกการปฏิบต ิ ามกฎหมายและข ้อกาหนดทางด ้านสิง่ แวดล ้อม
ั ต
k) บันทึกลักษณะปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยสาคัญ
l) ข ้อมูลการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อม
m) บันทึกความสอดคล ้องกับกฎหมาย
n) การสือ ่ สารกับหน่วยงานหรือองค์กรทีส ่ าม

ตามข ้อกาหนดของ ISO 14001


บันทึกทีต
่ ้องจัดเก็บมีดงั ต่อไปนี้ :
• บันทึกการฝึ กอบรมด ้านสิง่ แวดล ้อมของแต่ละบุคคลในองค์กร
• ผลการตรวจประเมิน ทางสิง่ แวดล ้อมส าหรั บ การทบทวนโดยฝ่ ายบริห าร
ระดับสูง
• การทบทวนของฝ่ ายบริหาร

นอกจากนี้ท่านควรจัดเก็บบันทึกของทุกๆปั จจัยทีช ่ ว่ ยแสดงให ้เห็นว่าระบบการจัดการ


สิง่ แวดล ้อมเป็ นไปตามข ้อกาหนด ISO 14001 ซึง่ อาจได ้แก่ :
• ตารางข ้อมูลประเด็นปั ญหาและผลกระทบสิง่ แวดล ้อม
• รายการประเด็นปั ญหาและผลกระทบสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญ และวิธก ี ารกาหนด
ความสาคัญของผลกระทบ
• รายการกฎหมาย ใบอนุ ญ าตทางสิ่ง แวดล อ ้ มที่ เ กี่ย วข อ้ งกั บ ประเด็ น ปั ญหา
สิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญ
• บันทึกการตรวจสอบการสอดคล ้องข ้อกาหนดกฏหมายหรือข ้อกาหนดทีเ่ กีย ่ วข ้อง
• ผลการติด ตามตรวจสอบและการวัด เกีย ่ วกับ ตัว ชีว้ ัด ผลการด าเนิน งานทาง
สิง่ แวดล ้อม
• รายงานแผนการจั ด การสิง่ แวดล ้อม การติด ตามความก ้าวหน ้าของงานเพือ ่
บรรลุวต ั ถุประสงค์และเป้ าหมาย
• การฝึ กอบรมด ้านสิง่ แวดล ้อม ใครได ้รับการฝึ กอบรมแล ้วบ ้าง ฝึ กอบรมเรือ ่ ง
อะไร และเพือ ่ ให ้มีความสามารถระดับใด
• ใบอนุญาติ หรือเอกสารสาคัญทางกฏหมายต่างๆ
• บันทึกการสอบเทียบ
• บันทึกการตรวจประเมินต่างๆ
• รายงานการหกปนเปื้ อน หรือ รายงานอุบต ั ก ิ ารณ์ตา่ งๆ
• การตัดสินใจขององค์กรในเรือ ่ สารด ้านปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส
่ งการสือ ่ าคัญกับหน่วยงาน
ภายนอก
• การสือ ่ สารกับหน่วยงานภายนอก
• ประวัตก ิ ารเปลีย่ นแปลงเอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 26 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL7.0

• สั ญ ญาและข ้อตกลงของผู ้รั บ เหมาและผู ้จั ด หาวั ส ดุอุป กรณ์ ท ี่เ กี่ย วข ้องกับ
สิง่ แวดล ้อม
• การแก ้ไขปั ญหากรณีอบ ุ ต
ั ก
ิ ารณ์ฉุกเฉิน การอพยพ และการสืบสวนอุบต ั ก
ิ ารณ์
• การติด ตามตรวจสอบด ้านสิง่ แวดล ้อม การสุ่มตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์จ าก
ห ้องทดลอง การสอบเทียบเครือ ่ งมือ
• การตรวจตราและการป้ องกั น บ ารุ ง รั ก ษาเป็ นประจ าตามระบบการจั ด การ
สิง่ แวดล ้อม
• ข ้อบกพร่อง การวิเคราะห์สาเหตุ และการปฏิบต ั ก
ิ ารแก ้ไขและป้ องกัน
• การติดตามประสิทธิผลของการปฏิบต ั ก
ิ ารแก ้ไขและการป้ องกัน
• รายงานผลการปฏิบัตต ิ ามกฎหมายและรายงานด ้านสิง่ แวดล ้อมต่อหน่วยงาน
รัฐ
• ผลการตรวจประเมินทางสิง่ แวดล ้อม
• หัวข ้อประชุมและผลการประชุมการทบทวนของฝ่ ายบริหาร

สรุปประเด็นสาค ัญ
1. บันทึกใช ้เป็ นหลักฐานว่าระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมเป็ นไปตามข ้อกาหนดของ ISO 14001 และ
นโยบายรวมทัง้ ขัน้ ตอนการปฏิบต ั งิ านขององค์กร
2. บันทึกเป็ นประวัตข ่ วข ้องกับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
ิ ้อมูลทีเ่ กีย
3. บันทึกต ้องจัดเก็บอย่างเป็ นระบบจึงจะมีคณ ุ ค่าต่อระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

การตรวจประเมิน

1. ตรวจทานเอกสารระเบียบปฏิบต ิ ารระบุ การเก็บรักษา การป้ องกัน การเรียกใช ้ ระยะเวลาการ


ั ก
จัดเก็บ รวมไปถึงการทาลายบันทึก ว่าระบุเกณฑ์ วิธก ี าร ไว ้อย่างเหมาะสมหรือไม่
2. ระหว่างการตรวจประเมินพืน ้ ทีโ่ ดยทั่วไป มีบนั ทึกใดทีไ่ ม่ถก ้ ง่ เพือ
ู ชีบ ่ การควบคุมหรือไม่อย่างไร

3. ทดสอบระยะเวลาในการจัดเก็บบันทึก โดยการสุมเรียกหาบันทึกทีจ ่ าเป็ นกับผู ้ทีเ่ กีย
่ วข ้อง
4. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของบันทึก โดยเฉพาะบันทึกทีเ่ กีย ่ วข ้องกับ การปฏิบต ั งิ านทีม ่ เี กีย
่ วข ้องกับ
ปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม
่ น
ี ัยยะ

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 27 of 27 29 August 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

ISO 14001:2015
: ISO14001 Guide Book
CL 8.0

Just for Customer


Guide Series

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 1 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

Contents
8.1 การวางแผนและการควบคุมการดาเนินการ .....................................................................................3
ทั่วไป ...................................................................................................................................... 3
นิยามการควบคุมการปฏิบต ั ก
ิ าร ..................................................................................................... 4
การแปลความหมายข ้อกาหนด การควบคุมการปฏิบต ั ก
ิ าร .................................................................... 4
บทบาทสาคัญของการป้ องกันดูแลรักษาเครือ ่ งจักร ............................................................................ 5
บทสรุปเกีย ่ วกับเอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน ................................................................................... 5
การจัดทาเอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน-ใครและอย่างไร ..................................................................... 5
ความรับผิดชอบของผู ้จัดหาวัสดุ อุปกรณ์และผู ้รับเหมา ....................................................................... 6
การบ่งชีค ้ วามต ้องการในการควบคุมการปฏิบต ั งิ าน ............................................................................. 6
การกาหนดการควบคุมการปฏิบต ั งิ าน .............................................................................................. 6
สรุปประเด็นสาคัญ...................................................................................................................... 7
การตรวจประเมิน ........................................................................................................................ 7

8.2 การเตรียมความพร ้อมและการตอบสนองกรณีฉุกเฉิน ...................................................................8


ความสาคัญของการป้ องกัน .......................................................................................................... 8
สรุปประเด็นสาคัญ.................................................................................................................... 11
การตรวจประเมิน ...................................................................................................................... 11

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 2 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

8.1 การวางแผนและการควบคุมการดาเนินการ

8.1 การวางแผนและการควบคุมการดาเนินการ

องค์กรต ้องจัดทา, นาไปปฏิบต ั ,ิ ควบคุมและธารงรักษา กระบวนการทีจ ่ าเป็ นให ้บรรลุข ้อกาหนดระบบ


การบริหารสิง่ แวดล ้อม, และการนากิจกรรมตามทีไ่ ด ้ระบุใน6.1 และ 6.2ไปปฏิบต ั โิ ดย
• จัดทาเกณฑ์การปฏิบต ั งิ านสาหรับกระบวนการ
• ทาการควบคุมกระบวนการ, ตามเกณฑ์การปฏิบต ั งิ าน
หมายเหตุ การควบคุมสามารถรวมถึงการควบคุมทางวิศวกรรมและขัน ้ ตอนปฏิบต ั .ิ การควบคุมสามารถ
นามาใช ้ตามลาดับชัน ้ (เช่นกาจัด การทดแทน การบริหารจัดการ) และสามารถใช ้อย่างเอกเทศ หรือใช ้
ร่วมกัน

องค์กรต ้องควบคุมการเปลีย ่ นแปลงตามแผน และการทบทวนผลกระทบของการเปลีย ่ นแปลงทีไ่ ม่ได ้


ตัง้ ใจ, กระทากิจกรรมเพือ
่ ลดผลข ้างเคียงด ้านลบใด ๆ, ตามความจาเป็ น.
องค์กรจะให ้แน่ใจว่าการให ้หน่วยงานอืน ่ ดาเนินการแทน ได ้รับการควบคุมหรือมีอท ิ ธิพล ชนิดและระดับ
ของการควบคุมหรือการมีอท ่ ะใช ้กับกระบวนการเหล่านี้ ต ้องได ้รับการระบุไว ้ในระบบการบริหาร
ิ ธิพลทีจ
สิง่ แวดล ้อม

เพือ
่ สอดคล ้องกับมุมองวงจรวัฏจักรชีวต ิ , องค์กรต ้อง:
a)จัดการควบคุม,ตามความเหมาะสม, เพือ ่ ให ้แน่ใจว่า ข ้อกาหนดสิง่ แวดล ้อมได ้ถูกระบุในการออกแบบ
และพัฒนากระบวนการพัฒนาสาหรับผลิตภัณฑ์และบริการ ,โดยคานึงถึงแต่ละขัน ้ ตอนของวงจรวัฏจักร
ชีวติ
b)พิจารณาข ้อกาหนดสิง่ แวดล ้อมสาหรับการจัดซือ ้ จัดจ ้างผลิตภัณฑ์และบริการ, ตามความเหมาะสม
c)สือ ่ สารข ้อกาหนดสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย
่ วข ้องให ้กับผู ้ให ้บริการภายนอก รวมถึงผู ้รับเหมา
d)คานึงถึงความจาเป็ นเพือ ่ ให ้ข ้อมูลเกีย่ วกับผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยสาคัญ ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการ
ขนส่งหรือส่งมอบ,การใช ้ , การบาบัดเมือ ้ สุดชีวต
่ สิน ิ และการจัดการเศษซากของผลิตภัณฑ์และบริการ

องค์กรต ้องธารงรักษาเอกสารสารสนเทศในขอบเขตทีจ
่ าเป็ นเพือ ่ มั่นว่ากระบวนการได ้
่ สร ้างความเชือ
ดาเนินการตามแผน

ทว่ ั ไป

องค์กรควรทาให ้มั่นใจว่าการปฏิบต ั งิ านและกระบวนการทีเ่ กีย่ วข ้อง มีการดาเนินการในหนทางทีม ่ ก


ี ารควบคุมเพือ

บรรลุคามั่นสัญญาด ้านนโยบายสิง่ แวดล ้อม เพือ ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมและบริหารประเด็นสิง่ แวดล ้อมที่
่ บรรลุวต
มีนัยสาคัญ พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้องรวมถึงความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องมีการกล่าวถึง

เพือ
่ ให ้การวางแผนการควบคุมการปฏิบต ั งิ านอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล องค์กรควรกาหนดทีท ่ จี่ าเป็ นต ้อง
มีการควบคุมดังกล่าวและเพือ
่ วัตถุประสงค์อะไรโดยควรกาหนดประเภทและระดับการควบคุมทีไ่ ด ้ตามความต ้องการ
ขององค์กร การควบคุมการปฏิบต ั งิ านทีเ่ ลือกไว ้ควรมีการรักษาและประเมินประสิทธิภาพอย่างต่อเนือ
่ งเป็ นระยะ ๆ

เมือ
่ มีการกาหนดการควบคุมทีจ ่ าเป็ น หรือพิจารณาการเปลีย
่ นแปลงในการควบคุมทีม ่ อ
ี ยู่ ควรมีการพิจารณาถึง
ความเสีย ่ งและโอกาสทีต
่ ้องมีการกล่าวถึง และถึงผลใด ๆ ทีต ่ ามมาโดยไม่ตงั ้ ใจซึง่ สามารถส่งผลได ้ องค์กรจึงควร
ควบคุมการเปลีย ่ นแปลงตามแผนและทบทวนผลทีต ่ ามมาของการเปลีย่ นแปลงทีไ่ ม่ได ้ตัง้ ใจโดยปฏิบต ั ก
ิ ารบรรเทา
ผลกระทบย ้อนกลับตามจาเป็ น

่ มีการพิจารณาการควบคุมสาหรับผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมย ้อนกลับ องค์กรสามารถอ ้างอิงลาดับขัน


เมือ ้ จากหนัก
ไปหาน ้อยดังต่อไปนี้
— การขจัด อาทิเช่น ประกาศห ้ามใช ้ PCBs, CFCs ฯลฯ
่ นสีทใี่ ช ้ตัวทาละลายเป็ นสีทใี่ ช ้น้ า
— การแทนที่ อาทิเช่น การเปลีย
— การควบคุมด ้านวิศวกรรม อาทิเช่น การควบคุมการปล่อยก๊าซ เทคโนโลยีการลดการปล่อย ฯลฯ
— การควบคุมด ้านการจัดการ อาทิเช่น กระบวนการ การควบคุมด ้วยสายตา คูม ่ อ
ื การทางาน เอกสาร
ข ้อมูลความปลอดภัย (SDS/MSDS/CSDS) ฯลฯ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 3 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

นิยามการควบคุมการปฏิบ ัติการ

การควบคุมปฏิบต ั ก
ิ ารรวมไปถึงการประเมินการปฏิบต ั กิ าร ต ้องสอดคล ้องกับปั ญหาสิง่ แวดล ้อมในระบบการจัดการ
สิง่ แวดล ้อมขององค์กร และต ้องแน่ใจว่าปั ญหาสิง่ แวดล ้อมได ้ถูกควบคุมหรือลดผลกระทบจากปั ญหานัน ้ ๆ เพือ
่ ทีจ
่ ะ
ได ้รับและคงไว ้ซึง่ นโยบายสิง่ แวดล ้อม วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย
ในส่วนการควบคุม การปฏิบต ั กิ ารของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม จะเป็ นการกาหนดแนวทางในการปฏิบต ั ก
ิ ารใน
แต่ละวันหรือตามระยะเวลาทีก ่ าหนด ข ้อกาหนด ระบุวา่ การควบคุมการปฏิบต ั กิ ารนีต
้ ้องเป็ นเอกสารในการควบคุม
ซึง่ ถ ้ากิจกรรมดังกล่าวไปมีเอกสารสาหรับการปฏิบต ั งิ าน อาจนาไปสูก ่ ารเบีย่ งเบนไปจากนโยบายสงิ่ แวดล้อม
ว ัตถุประสงค์และเป้าหมาย

การควบคุมปฏิบต ั ก ิ ารรวมไปถึงการประเมินการปฏิบต ิ ารซึง่ สอดคล ้องกับปั ญหาสิง่ แวดล ้อมในระบบการจัดการ


ั ก
สิง่ แวดล ้อมขององค์กร และต ้องแน่ใจว่าปั ญหาสิง่ แวดล ้อมได ้ถูกควบคุมหรือลดผลกระทบจากปั ญหานัน ้ ๆ เพือ
่ ทีจ
่ ะ
่ ่
ได ้รับและคงไว ้ซึงนโยบายสิงแวดล ้อม วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย

้ องระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมจะเป็ นแนวทางในการปฏิบต


ในส่วนนีข ั ก
ิ ารโดยละเอียดในแต่ละวันหรือตามระยะเวลา
ทีก
่ าหนด การปฏิบต ั น ี้ ้องการเอกสารในการควบคุมสถานการณ์ของปั ญหา ซึง่ ถ ้ากิจกรรมดังกล่าวไปมีเอกสาร
ิ ต
สาหรับการปฏิบตั งิ านอาจนาไปสูค ่ วามบกพร่องของนโยบายสิง่ แวดล ้อม วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย

การควบคุมการปฏิบัตก
ิ ารเป็ นวิธก ่ งค์กรใช ้ในการป้ องกันภาวะมลพิษจากการปฏิบัตงิ าน การควบคุมนั น
ี ารต่างๆทีอ ้
สามารถทาได ้โดย :

• การใช ้เครื่องมือเครือ
่ งจั กร เช่น เครื่องดักจั บก๊าซ ตัวกรอง เครื่องท าการตกตะกอน ถังท าใส ส่ว นการ
บาบัดแบบชีวภาพและเคมีเพือ ่ กาจัดหรือลดระดับการปล่อยก๊าซเสียหรือของเสีย
• การมีการเตือนและการปิ ดวาล์วทีถ ่ ก
ู ควบคุมโดยผลการวัดจากเครือ ่ งมือวัดอัตโนมัต ิ เช่น ค่าความเป็ นกรด
ด่าง ค่าการนาไฟฟ้ าเฉพาะ อุณหภูม ิ ความทึบแสง ความเข ้มข ้นของก๊าซ ระดับของเหลวในถัง
• การมีแ ผนงานการป้ องกั น ดู แ ลรั ก ษาเครื่อ งจั ก รเป็ นประจ าที่จั ด ท าขึน
้ เพื่อ ไม่ ใ ห ้เกิด ปั ญหาที่อ าจมี
ผลกระทบสิง่ แวดล ้อมก่อนทีเ่ หตุการณ์นัน ้ จะเกิดขึน

• การมี ขัน
้ ตอนการปฏิบต ั งิ านเป็ นเอกสารหรือด ้วยวาจา

คนจ านวนมากที่น าระบบการจั ด การสิง่ แวดล ้อมไปใช ้มั ก คิด ว่า ข ้อก าหนด ISO 14001 นั น ้ เกีย
่ วข ้องกับ การท า
เอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน ในความเป็นจริงแล้วกล ับตรงก ันข ้าม ข ้อกาหนดข ้อนีเ้ กีย
่ วข ้องกับการ จัดทาระบบ
ควบคุม การติดตัง้ เครือ
่ งจักรควบคุมมลพิษ กิจกรรมป้ องกันมลพิษทีม ่ ป
ี ระสิทธิผลและการปฏิบัตงิ านตามขัน ้ ตอนที่
เขียนไว ้ในเอกสารอย่างเหมาะสม

ตามมาตรฐานกาหนดว่าเอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านจาเป็ นต ้องใช ้เฉพาะเมือ ่ อาจเกิดปั ญหาภาวะมลพิษได ้หาก


ขาดเอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบั ต งิ าน หรือ กล่า วได ้ว่า ถ ้าหากการปฏิบั ต งิ านด าเนิน ไปอย่า งราบรื่น ดีอ ยู่แ ล ้ว ก็ ไ ม่
จาเป็ นต ้องใช ้เอกสารขัน
้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน

การแปลความหมายข้อกาหนด การควบคุมการปฏิบ ัติการ

ข ้อก าหนดมาตรฐาน ISO 14001 ข ้อนี้ก ล่า วถึง ความจ าเป็ นของการระบุกจ ิ กรรมและการปฏิบัต งิ านทีก
่ ่อ ให ้เกิด
ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส
่ าคัญ ซึง่ ต ้องมีการควบคุมในเรือ
่ ง การป้ องกันภาวะมลพิษ การปฏิบัตต ิ ามกฎหมาย
และข ้อกาหนดอืน ่ ๆ การปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง และ การบรรลุวต ั ถุประสงค์และเป้ าหมาย

การควบคุมอาจอยูใ่ นรูปของ:

• การใช ้เครือ
่ งจักรหรือเครือ
่ งมือทางอิเล็กทรอนิกส์สาหรับการลดการปล่อยของเสีย
• การมีแ ผนงานการป้ องกัน ดูแ ลรั ก ษาเครื่อ งจั ก รเป็ นประจ าเพื่อ ลดการสึก กร่ อ นและความเสีย หายของ
เครือ
่ งจักร
• การทาการติดตามตรวจสอบและสังเกตผลการปฏิบต ั งิ านของเครือ
่ งจักรและระดับของมลพิษ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 4 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

บทบาทสาค ัญของการป้องก ันดูแลร ักษาเครือ


่ งจ ักร

การป้ องกั น ดู แ ลรั ก ษาเครื่อ งจั ก รเป็ นสิง่ ที่มั ก ถู ก มองข ้ามมากที่สุด อย่ า งหนึ่ง ในระบบการจั ด การสิง่ แวดล ้อม
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศกาลังพัฒนา หากองค์กรลงทุนมากขึน ้ ในเรือ ่ งการซ่อมบารุงเป็ นประจาเพือ่ ยับยัง้
ปั ญหาก่อนทีป ่ ั ญหาจะเกิดขึน ้ ก็จะสามารถประหยัดเวลา ความพยายามและเงินได ้มาก ทัง้ นี้จะสามารถหลีกเลีย ่ ง
การสูญเสียวัสดุ สารเคมี เชือ ้ เพลิง ผลิตภัณฑ์ เวลา และเงินได ้จากเหตุการณ์ตา่ งๆเหล่านี้ :

• การรั่วไหลของข ้อต่อ วาล์ว ปั๊ ม ท่อและถัง


• การขัดข ้องของเครือ่ งจักร ปั๊ มและเครือ ่ งมือควบคุมมลพิษ
• การอุดตันของปั๊ ม วาล์ว ท่อและเครือ ่ งจักรอืน
่ ๆ
• เครือ
่ งมือวัดอ่านได ้ไม่ถก
ู ต ้องเนือ
่ งจากขาดการสอบเทียบมาตรฐาน
• การระเบิด ท่อแตก ถังแตก ไฟไหม ้

บทสรุปเกีย
่ วก ับเอกสารขนตอนการปฏิ
ั้ บ ัติงาน

เอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านต ้องมีการแจกจ่ายเพือ ่ ใช ้ควบคุมการปฏิบัต ก ิ าร นอกจากประเด็นทีว่ ่าถ ้าหากไม่ม ี


เอกสารขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ านอาจจะทาให ้การปฏิบัตงิ านคลาดเคลือ ่ น ไปจากนโยบายสิง่ แวดล ้อม วัตถุประสงค์
และเป้ าหมาย กล่าว)คือมีความเสีย ่ งทีจ
่ ะเกิดภาวะมลพิษแล ้ว ขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านควรจัดทาเป็ นเอกสารเมือ ่ (
กิจกรรมนัน ้ มีความซับซ ้อน ทาไม่สม่าเสมอ ทาโดยบุคคลและเวลาต่างๆกัน หรือมีความไวต่อตัวแปรการปฏิบัตก ิ าร
ทีห
่ ลากหลาย เอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านจะช่วยให ้เกิดความคงเส ้นคงวา มีการกาหนดเป้ าหมาย ข ้อจากัด และ
สภาพการปฏิบต ั งิ านทีช ั เจน และเกิดความระมัดระวังซึง่ จะเป็ นประโยชน์เมือ
่ ด ่ มีการฝึ กอบรมพนักงานใหม่

หน ้าทีต่ ่างๆในองค์กรที่มักมีการจัดทาเอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมถึงแม ้ว่าบาง


หน า้ ที่อ าจมีค วามเกี่ย วข ้องกั บ สิง่ แวดล ้อมไม่ ชั ด เจนนั ก แต่จ ริง ๆแล ้วทุ ก หน า้ ที่ม ีบ ทบาทในระบบการจั ด การ
สิง่ แวดล ้อมทีม
่ ก
ี ารวางแผนอย่างดี

• การผลิต
• การซ่อมบารุง
• การจัดซือ้ วัตถุดบ ิ
• การขนส่งวัตถุดบ ิ และการขนส่งสินค ้า
• การจัดการและการจัดเก็บวัตถุดบ ิ และผลิตภัณฑ์
• การจัดซือ ้ การจัดส่ง การรับสินค ้า
• การจัดการของผู ้จัดหาวัสดุอป ุ กรณ์และผู ้รับเหมา
• การบาบัดกากของเสีย การปล่อยของเสีย การรีไซเคิล การนากลับมาใช ้ใหม่
• การปฏิบัตก ิ ารในห ้องทดลอง(เช่น การเก็บตัวอย่าง การวิเคราะห์ การสอบเทียบมาตรฐาน การทา
ความสะอาด)
• การเปิ ดและปิ ดเครือ ่ งจักร อุปกรณ์หรือกระบวนการ
• การวิจัย พัฒนา ออกแบบ วิศวกรรม การก่อสร ้าง
• การเลิกใช ้เครือ่ งจักรอุปกรณ์

องค์กรควรกาหนดการควบคุมการปฏิบัตงิ านทีจ ่ าเป็ น อาทิเช่น เอกสารกระบวนการ สัญญาหรือข ้อตกลงกับผู ้จัดหา


(ซัพพลายเออร์) หรือคูม ื ผู ้ใช ้งานสุดท ้าย
่ อ

การจ ัดทาเอกสารขนตอนการปฏิ
ั้ บ ัติงานใครและอย่างไร-

การวิเคราะห์การปฏิบัตก ิ ารเป็ นเครือ


่ งมือทีม
่ ปี ระโยชน์ในการแบ่งกิจกรรมออกเป็ นงานย่อยๆ บุคคลทีท ่ างานนี้ได ้ดี
ทีส
่ ุดคือคนทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการปฏิบัตงิ านนั น ้ ๆทุกวัน เลือกพนั กงานทีป่ ฏิบัตงิ านได ้โดดเด่นของหน่ วยงานแล ้วใช ้
ความรู ้และประสบการณ์จากพวกเขา ผู ้จัดการและหัวหน ้างานควรมีสว่ นเกีย ่ วข ้องด ้วยแต่ไม่ควรมีบทบาทเหนือผู ้อืน ่
ในการวิเคราะห์ เมือ ่ ได ้ทาการแบ่งย่อยกิจกรรมออกเป็ นงานทีง่ ่ายทีส ่ ดุ เท่าทีจ ่ ะเป็ นไปได ้แล ้ว ให ้เขียนเรียงเป็ น
ลาดับขัน ้ ตอน ก็จะได ้เอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน รูปแบบของเอกสารได ้กล่าวไปแล ้วในบททีเ่ กีย ่ วกับการควบคุม
เอกสาร

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 5 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

้ ตอนการปฏิบัตงิ าน (ไม่วา่ จะเป็ นเอกสารหรือไม่ก็ตาม) เป็ นสิง่ ทีไ่ ด ้ปฏิบัตจ


ข ้อควรระวัง ขัน ิ ริง ถ ้าหากในการปฏิบัต ิ
จริงแตกต่างจากทีเ่ ขียนไว ้ในเอกสารจะทาให ้เอกสารฉบับนัน ้ กลายเป็ นเพียงทฤษฎีเท่านัน ้

ความร ับผิดชอบของผูจ
้ ัดหาว ัสดุ อุปกรณ์และผูร้ ับเหมา

องค์กรจะต ้องรับผิดชอบต่อผลกระทบสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กิดจากผู ้รับเหมาและผู ้จัดหาวัสดุอป ุ กรณ์ ดังนัน


้ จึงเป็ นหน ้าทีข
่ อง
องค์กรทีจ ่ ะต ้องทาให ้มั่นใจว่าผู ้จัดหาวัสดุอป
ุ กรณ์และผู ้รับเหมาทุกรายมีความตระหนั กในข ้อกาหนดของระบบการ
จัดการสิง่ แวดล ้อมและปฏิบัตต ิ ามข ้อกาหนดทีเ่ กีย ่ วข ้อง นี่คอ
ื เหตุผลว่าทาไมต ้องมีการจัดแผนงานการฝึ กอบรม
ความตระหนักด ้านสิง่ แวดล ้อมให ้กับบุคคลทีป ั งิ านชัว่ คราวในพืน
่ ฏิบต ้ ทีข
่ ององค์กร

ี้ วามต้องการในการควบคุมการปฏิบ ัติงาน
การบ่งชค

องค์กรสามารถควบคุมการปฏิบต ั งิ านเพือ่
— จัดการประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ี ัยสาคัญซึง่ กาหนดไว ้
่ น
— ทาให ้มั่นใจในการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
— บรรลุวตั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมและทาให ้มั่นใจในความสอดคล ้องกับนโยบายสิง่ แวดล ้อมโดยรวม
คามั่นสัญญาในการปกป้ องสิง่ แวดล ้อม การป้ องกันมลภาวะและการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง
— หลีกเลีย่ งหรือลดผลกระทบย ้อนกลับต่อสิง่ แวดล ้อมหรือผลกระทบย ้อนกลับต่อองค์กร
— เพิม
่ โอกาสทางธุรกิจให ้กับองค์กร

จากพืน้ ฐานของขอบเขตในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมและปฏิบต ั ก


ิ ารทีก
่ าหนดในข ้อ 6.1 และ 6.2 องค์กรควร
กาหนดการควบคุมการปฏิบต ั งิ านทีจ
่ าเป็ น (ดูทข ี่ ้อ 6.1 และ 6.2) โดยใช ้มุมมองจากการประเมินวัฏจักรชีวต

ผลิตภัณฑ์ซงึ่ มีการปฏิบตั งิ านสาหรับหน ้าทีด ่ ้าน (อาทิเช่น) การวิจัยและพัฒนา การออกแบบ การขาย การตลาด
การจัดซือ้ จัดจ ้างและการบริหารสิง่ อานวยความสะดวก

ควรมีการกาหนดประเภทและขอบเขตของการควบคุมหรืออิทธิพลทีป ่ ระยุกต์ใช ้ในช่วงขัน ้ ตอนประเมินวัฏจักรชีวต ิ


ผลิตภัณฑ์อยูใ่ นระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม การพิจารณามุมมองจากการประเมินวัฏจักรชีวต ิ ผลิตภัณฑ์ควรทาให ้เร็ว
ทีส ุ เท่าทีเ่ ป็ นไปได ้อาทิเช่น ในกระบวนการออกแบบและพัฒนา ซึง่ จะช่วยให ้ได ้โอกาสทีด
่ ด ่ ก
ี ว่าในการปรับปรุง
ประสิทธิภาพการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมของกิจกรรม กระบวนการ ผลิตภัณฑ์หรือบริการต่าง ๆ อีกทัง้ ช่วยองค์กร
ลดความเป็ นไปได ้ในการโอนถ่ายผลกระทบสิง่ แวดล ้อมย ้อนกลับไปยังขัน ้ ตอนอืน ่ โดยจะส่งผลให ้เกิดมูลค่ามากขึน ้
ต่อองค์กรและปกป้ องสิง่ แวดล ้อม หลายๆองค์กรสามารถมีประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ่ นี ัยสาคัญในระยะการใช ้งาน
ผลิตภัณฑ์ผา่ นการประยุกต์ใช ้ข ้อมูลทีอ ่ งค์กรมอบให ้ ตัวอย่างวิธกี ารของการมีอท ิ ธิพลต่อประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ่ ี
นัยสาคัญในกรณีนเี้ ช่น
— การศึกษาวิธบ ี ริหารผลกระทบสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กีย ่ วข ้อง
— การเข ้าถึงข ้อมูลได ้โดยง่าย (ตัวอย่างเช่น บนเว็บไซต์ FAQ)
— การตัง้ กลุม ่ ผู ้ใช ้เพือ
่ แบ่งปั นข ้อมูลและคอยทาการอัพเดตผู ้ใช ้

่ มีการบังคับใช ้ องค์กรควรพิจารณาว่าผู ้ให ้บริการจากภายนอกและกระบวนการจ ้างผู ้รับเหมาสามารถส่งผล


เมือ
กระทบต่อความสามารถขององค์กรในการบริหารประเด็นสิง่ แวดล ้อมและบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
ได ้อย่างไร

การกาหนดการควบคุมการปฏิบ ัติงาน

การควบคุมการปฏิบต ั งิ านสามารถดาเนินการได ้หลายรูปแบบ อาทิเช่น มีกระบวนการ มีคม ู่ อ


ื การทางาน การควบคุม
เชิงกายภาพ การใช ้บุคลากรทีเ่ ชีย
่ วชาญ หรือการผสมผสานสิง่ เหล่านี้ ทางเลือกสาหรับวิธก ี ารควบคุมเฉพาะจะ
ขึน
้ อยูก
่ บ
ั จานวนของปั จจัยต่าง ๆ อาทิเช่น ทักษะและประสบการณ์ของคนทีป ั งิ านและความซับซ ้อนรวมถึง
่ ฏิบต
นัยสาคัญด ้านสิง่ แวดล ้อมของตัวการปฏิบต ั งิ านเอง องค์กรสามารถเลือกทีจ
่ ะวางแผนและจัดตัง้ กระบวนการเพือ ่
ยกระดับความสามารถในการดาเนินการควบคุมในลักษณะสมา่ เสมอ ปฏิบต ั คิ งเส ้นคงวา อย่างเป็ นระบบ

วิธก
ี ารโดยทั่วไปในการกาหนดการควบคุมการปฏิบต ั งิ านจะมี
1. การเลือกวิธก ี ารควบคุม
2. การเลือกเกณฑ์การปฏิบต ั งิ านทีย
่ อมรับได ้ ตัวอย่างเช่น ลักษณะการปฏิบต
ั งิ านของเครือ
่ งจักรและการ
วัดผลหรือน้ าหนักหรืออุณหภูม ิ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 6 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

3. การตัง้ กระบวนการตามจาเป็ นทีก


่ าหนดวิธกี ารวางแผน การดาเนินการและการควบคุมการปฏิบต ั งิ านที่
กาหนดไว ้
4. การทาเอกสารกระบวนการเหล่านีต ้ ามจาเป็ น ในรูปแบบคูม
่ อ
ื ป้ าย ฟอร์ม วีดโี อ รูปถ่าย ฯลฯ
5. การประยุกต์ใช ้ทางเลือกเชิงเทคโนโลยี อาทิเช่น ระบบอัตโนมัต ิ วัสดุ เครือ
่ งมือและซอฟต์แวร์

การควบคุมการปฏิบต
ั งิ านจะมีการจัดหาสาหรับการวัดผล การสังเกตการณ์และการประเมิน รวมถึงการตัดสินว่ามี
การบรรลุเกณฑ์การปฏิบต ั งิ านหรือไม่

ทันทีทม
ี่ ก ั งิ าน องค์กรควรสังเกตการณ์การใช ้งานอย่างต่อเนือ
ี ารจัดตัง้ การควบคุมการปฏิบต ่ งและประสิทธิภาพของ
การควบคุมเหล่านี้ รวมถึงการวางแผนและการดาเนินการปฏิบต ั ก
ิ ารใด ๆ ทีจ
่ าเป็ น

สรุปประเด็นสาค ัญ

• การควบคุมการปฏิบต ั ก
ิ ารรวมถึงเครือ ่ งมือควบคุมมลพิษ สัญญาณเตือน การป้ องกันดูแลรักษาและขัน ้ ตอน
การปฏิบต ั ก ิ าร
• การป้ องกันดูแลรักษาเป็ นการช่วยการควบคุมการปฏิบต ั ก
ิ ารและการป้ องกันภาวะมลพิษ
• ISO 14001 กาหนดให ้จัดทาขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านเป็ นเอกสารสาหรับงานซึง่ หากไม่มเี อกสารดังกล่าว
อาจทาให ้เกิดปั ญหาสิง่ แวดล ้อมได ้
• เอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านกาหนดบทบาท ความรับผิดชอบ อานาจหน ้าทีแ ั งิ าน ซึง่
่ ละเกณฑ์การปฏิบต
ช่วยให ้ผลการดาเนินงานมีความสม่าเสมอและมีประโยชน์สาหรับการฝึ กอบรม
• ขัน
้ ตอนการปฏิบต ั งิ านควรจัดทาเป็ นเอกสารก็ตอ ่ เมือ ่ ทาให ้เกิดประโยชน์เพิม
่ ขึน้
• การวิเคราะห์การปฏิบัตก ิ ารเป็ นเทคนิคทีม ่ ป
ี ระโยชน์ในการแบ่งกิจกรรมออกเป็ นงานส่วนย่อยๆเพือ ่ จัดทา
เอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน
• ่ วชาญของแต่ละพืน
ผู ้เชีย ้ ทีเ่ ป็ นแหล่งความรู ้ทีด
่ ที ส
ี่ ด
ุ ในการวิเคราะห์การปฏิบต ั ก ิ าร
• เอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ านควรมีรปู แบบเดียวกันทีเ่ ป็ นมาตรฐาน
• ต ้องมีก ารสื่อ สารให ้ผู ้รั บ เหมาที่ป ฏิบั ต งิ านในโรงงานและผู ้จั ด หาวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ท ราบถึง ข ้อก าหนดที่
เกีย ่ วข ้องในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

การตรวจประเมิน

1. ตรวจสอบว่าการปฏิบต ั งิ านต่าง ๆ ทีซ ่ งึ่ เกีย่ วข ้องกับประเด็นสงิ่ แวดล้อมทีม ่ น


ี ัยสาค ัญ ได ้รับการควบคุม
โดยดูจากกิจกรรมขององค์กรต่างๆ ไม่วา่ (man machine material method maintenance)
2. ทาการตรวจสอบพืน ้ ที่ ทาการสัมภาษณ์ และหาหลักฐานการควบคุมการทางานในกิจกรรมขององค์กรที่
เกีย ่ วข ้องกับ aspects and impacts ว่าเพียงพอเหมาะสมอย่างไร
3. ทาการตรวจสอบพืน ้ ที่ ว่าเอกสาร วิธก ี ารในการควบคุมได ้มีการจัดทาเพือ ่ จัดการกับประเด็นปั ญหา
สิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยยะอย่างเพียงพอหรือไม่
4. ทาการสัมภาษณ์ สังเกตการณ์ทางานว่า พนักงานทีทางานมีผลต่อปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยยะ ได ้รับการ
อบรมอย่างเพียงพอเหมาะสม
5. ทาการตรวจสอบพืน ้ ที่ ว่ามีมาตรการควบคุม ตรวจวัด บันทึก อย่างเพียงพอเหมาะสมในการจัดการกับ
ประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยยะเพือ ่ ลดผลกระทบ
6. ตรวจสอบ ณ สถานทีว่ า่ มี เครือ ่ งมือ เครือ ่ งจักร วิธกี ารทางานทีไ่ ม่เหมาะสมในการควบคุมกิจกรรมทีม ่ ผ
ี ล
ต่อประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมหรือไม่ อย่างไร
7. มีขน ั ้ ตอน แผน ในการดาเนินงานในกรณีทเี่ กิดภาวะฉุกเฉิน หรือในกรณี start-up or shut-down
procedures ทีเ่ กีย่ วข ้องกับประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีม่ นี ัยยะหรือไม่

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 7 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

8.2 การเตรียมความพร้อมและการตอบสนองกรณีฉุกเฉิน
8.2 การเตรียมความพร้อมและตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉิน
องค์กรต ้องจัดทา, นาไปปฏิบตั ิ และธารงรักษา กระบวนการทีจ
่ าเป็ นในการเตรียมการ และ ตอบสนองต่อ
สถานการณ์ฉุกเฉินทีอ่ าจจะเกิด ตามระบุใน 6.1.1

องค์กรต ้อง
a) เตรียมการสาหรับการตอบสนองโดยการวางแผนกิจกรรมเพือ ่ ป้ องกันหรือบรรเทาผลกระทบด ้านลบต่อ
สิง่ สิง่ แวดล ้อมจากสถานการณ์ฉุกเฉิน
b) ตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน ้ จริง
c) ดาเนินกิจกรรมเพือ ่ ป้ องกันและบรรเทาผลกระทบสิง่ แวดล ้อมจากสถานการณ์ฉุกเฉิน, ทีเ่ หมาะสมกับ
ขนาดของเหตุฉุกเฉินและผลกระทบสิง่ แวดล ้อมทีอ ่ าจจะเกิด
d) ทดสอบแผนการตอบสนองเป็ นระยะๆ ,หากเป็ นไปได ้
e) ทบทวนและปรับเปลีย ่ นกระบวนการและแผนตอบสนอง เป็ นระยะๆ, โดยเฉพาะหลังการเกิดเหตุฉุกเฉิน
หรือการทดสอบ
f) ให ้สารสนเทศและการอบรมทีเ่ กีย ่ วข ้อง เพือ
่ การเตรียมความพร ้อมและตอบสนอง ตามความเหมาะสม,
กับผู ้มีสว่ นได ้เสีย, รวมถึงบุคลากรทีท ่ างานภายใต ้การควบคุม

องค์กรต ้องธารงรักษาเอกสารสารสนเทศ ในขอบเขตทีจ


่ าเป็ นเพือ ่ มั่นว่ากระบวนการได ้
่ ให ้มีความเชือ
ดาเนินการตามแผน

ในการตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉิน ควรมีการพิจารณาในด ้านผลกระทบทางสิง่ แวดล ้อมขัน ้ ต ้นทีส


่ ามารถส่งผลและ
ผลกระทบทางสิง่ แวดล ้อมขัน
้ ทีส ้ ได ้ตามการตอบสนองมาจากผลกระทบทางสิง่ แวดล ้อมขัน
่ องทีเ่ กิดขึน ้ ต ้น
ตัวอย่างเช่น การพิจารณาความเป็ นไปได ้ด ้านมลอากาศในการตอบสนองเรือ ่ งเพลิงไหม ้

องค์กรควรมีการเตรียมการตามประเภทของสถานการณ์ตา่ ง ๆ เช่น การหกของสารเคมีจานวนเล็กน ้อย ความ


ล ้มเหลวของเครือ ่ งมือลดการปล่อยก๊าซ หรือสถานการณ์ด ้านสิง่ แวดล ้อมทีร่ น
ุ แรงเป็ นอันตรายต่อคนและ
สิง่ แวดล ้อมในวงกว ้าง องค์กรควรมีการเตรียมการสาหรับสถานการณ์แต่ละประเภท

เป็ นความรับผิดชอบขององค์กรทีจ ่ ะพัฒนามาตรการระบบการป้ องกันสภาวะฉุกเฉิน ซึง่ เหมาะสมกับความต ้องการ


เฉพาะ ในการพัฒนาระเบียบปฏิบต ั อ ิ งค์กรต ้องพิจารณาเรือ่ งต่างๆ ดังนี้
a) ธรรมชาติของกิจกรรมทีอ ่ าจเกิดสภาวะฉุกเฉินขององค์กร เช่น สารเคมีตด ิ ไฟ ขนาดของภาชนะบรรจุ
สารเคมี ก๊าซทีม ่ แ
ี รงดัน ท่อส่งสารอันตราย เป็ นต ้น
b) อุบต ั เิ หตุทม ี่ โี อกาสจะเกิดขึน ้ ได ้
c) วิธก ี ารทีเ่ หมาะสมในการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินนัน ้ ๆ
d) การปฏิบต ั กิ ารเพือ ่ ลดผลกระทบสิง่ แวดล ้อมให ้น ้อยทีส ่ ด

e) การปฏิบต ั กิ ารเพือ ่ การจัดการของเสียหลังเกิดอุบต ั เิ หตุแล ้ว
f) การบวนการประเมินอุบต ั เิ หตุเพือ
่ การแก ้ไขและป้ องกันอุบต ั เิ หตุ
g) ต ้องมีกระบวรการทดสอบแผนการเตรียมพร ้อมตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน
h) การฝึ กอบรมพนักงานถึงการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉิน
i) การเตรียมพร ้อมของเบอร์โทรศัพท์สาหรับการติดต่อบุคคลและหน่วยงานทีส ่ าคัญในการขอความ
ช่วยเหลือ
j) เส ้นทางอพยพและจุดรวมพล
k) ศักยภาพในการเกิดอุบต ั เิ หตุสาหรับกิจกรรมบริเวณใกล ้เคียง (โรงงาน ถนน รถไฟ เป็ นต ้น)
l) ความเป็ นไปได ้ในการขอความช่วยเหลือจากองค์กรเพือ ่ นบ ้านใกล ้เคียง

ความสาค ัญของการป้องก ัน

ข ้อกาหนด ISO 14001 ในตอนต ้นๆ ได ้กาหนดเกณฑ์ทส ี่ าคัญประการหนึง่ ในนโยบายสิง่ แวดล ้อมคือการป้ องกัน
ภาวะมลพิษ ไม่ใช่การขจัดหรือการลดภาวะมลพิษ การป้ องกันนั บเป็ นสาระสาคัญของระบบมาตรฐาน ISO 14001 ที่
โดดเด่นข ้อหนึง่ คือ ข ้อ 8.2 นี้ การเตรียมความพร ้อมและการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน องค์กรส่วนใหญ่
เมือ ่ ารแก ้ไขปั ญหาโดยมองข ้ามสิง่ ทีม
่ คิดถึงเหตุการณ์ฉุกเฉินก็จะมุง่ เน ้นทีก ่ ค
ี ณ
ุ ค่ามากกว่าคือการเตรียมความพร ้อม
หรือการป้ องกัน จุดประสงค์ของข ้อกาหนด ISO 14001 ข ้อนีค ้ อ
ื :

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 8 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

• ลดความเสีย่ งการเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินให ้เหลือน ้อยทีส ่ ด



• ระบุเหตุการณ์ฉุกเฉินทีเ่ ป็ นไปได ้ให ้มากทีส ่ ดุ
• จัดทาแผน นาไปปฏิบัตแ ิ ละซักซ ้อมแผนเพือ ่ แก ้ไขปั ญหาได ้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิผล สาหรับทุก
เหตุการณ์ฉุกเฉินทีม ี ลกระทบสิง่ แวดล ้อมได ้
่ ผ
• ลดผลกระทบของเหตุการณ์ฉุกเฉินทีม ่ ต ่ สิง่ แวดล ้อมให ้เหลือน ้อยทีส
ี อ ่ ด

• ทาการปรับปรุงขัน้ ตอนการปฏิบัตก ิ ารเตรียมความพร ้อมและการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินอย่าง
ต่อเนือ
่ ง

การระบุสถานการณ์ทอ
ี่ าจเกิดเหตุฉุกเฉินได้

สิง่ แรกทีข ่ ้อกาหนดข ้อนี้ต ้องการคือการระบุอบ ุ ัต ก


ิ ารณ์ อุบัตเิ หตุและเหตุฉุกเฉินทัง้ หมดทีอ
่ าจจะเกิดขึน ้ ได ้ภายใต ้
สภาวะการปฏิบัตงิ านตามปกติ และในระหว่างเหตุการณ์เช่นการเริม ่ เดินเครือ
่ งจักร การหยุดเครือ
่ งจักร เหตุการณ์
อื่น ๆที่ไ ม่ เ ป็ นไปตามการปฏิบั ต งิ านตามปกติ และเหตุก ารณ์ ท ี่อ ยู่น อกเหนื อ การควบคุม ขององค์ก ร มีก ลยุท ธ์
หลากหลายทีส ่ ามารถนามาใช ้ระบุเหตุการณ์ฉุกเฉินทีอ่ าจเกิดขึน ้ ดังตัวอย่าง

• ทบทวนอุบต ั ก
ิ ารณ์ทบี่ นั ทึกในไว ้ 5 ปี ทผ ี่ า่ นมา
• ตรวจสอบสถิตป ิ ระเภทอุบต ั ก
ิ ารณ์และเหตุฉุกเฉินทีเ่ คยเกิดขึน ้ รวมทัง้ พืน
้ ที่ เวลาทีเ่ กิด กะ(shifts) สภาพ
การปฏิบต
ั ก
ิ าร สภาพอากาศและปั จจัยสาคัญอืน ่ ๆ
• ทบทวนประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีอ ่ าจเกิดเป็ นเหตุฉุกเฉินได ้ภายใต ้สภาพการปฏิบต ั งิ านทีผ ่ ด
ิ ปกติ
• ระดมความคิดจากกลุม ่ บุคคลทีท ่ างานในพืน ้ ทีต
่ า่ งๆถึงเหตุการณ์ฉุกเฉินและอุบต ั ก
ิ ารณ์ทเี่ ป็ นไปได ้
ตัวอย่างของเหตุการณ์ฉุกเฉินทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ดังแสดงในตารางข ้างล่าง

เหตุการณ์ฉุกเฉินทีอ ้
่ าจเกิดขึน ้ ทีท
พืน ่ อ
ี่ าจเกิดเหตุฉุกเฉิน

• ไฟไหม ้ การระเบิด • บริเวณเก็บสารเคมีอน ั ตราย


• ก๊าซรั่ว หก • บริเวณเก็บกากของเสียอันตราย
• อุบต
ั ภ
ิ ยั ทางธรรมชาติฟ้ าผ่า แผ่นดินไหว น้ า - • ถังเก็บน้ ามัน เชือ้ เพลิง สารเคมีขนาดใหญ่
ท่วม สภาพอากาศทีเ่ ลวร ้าย • กระบวนการเริม ่ เดินเครือ่ งจักรและหยุด
• งานล ้มเหลว เครือ่ งจักรหรือโครงสร ้าง เครือ
่ งจักร
เสียหาย • ภาชนะอัดความดันสูง
• ไฟฟ้ าดับ ก๊าซหมด • รางหรือถนนลาเรียงวัสดุ
• การชนกัน • จุดรับส่งสินค ้าขึน ้ ลงจากยานพาหนะ
• การก่อการร ้าย การจับเป็ นตัวประกัน • โรงบาบัดกากของเสียและจุดปล่อยของเสีย
• รางระบายน้ าฝน

พื้น ที่ท ี่อ าจเกิด เหตุก ารณ์ ฉุ ก เฉิน ได ้ควรท าเครื่อ งหมายบนแผนที่ไ ว ้ให ้ชัด เจนและ จั ด อุป กรณ์ ส าหรั บ
เหตุการณ์ฉุกเฉินไว ้ใกล ้ๆ พืน ่ าจเสียหายได ้จากก๊าซหรือสิง่ อืน
้ ทีใ่ กล ้เคียงทีอ ่ ๆทีเ่ กิดจากเหตุการณ์ฉุกเฉินในโรงงาน
ควรระบุและทาเครือ ่ งหมายไว ้บนแผนทีส ่ าหรับการแจ ้งให ้ทราบอย่างรวดเร็วหรือกระทาการใดๆถ ้าหากเกิดเหตุการณ์
ฉุกเฉินขึน ้ ควรมีการระบุทศ ิ ทางของลมไว ้บนแผนทีเ่ พือ ่ กาหนดพืน ้ ทีใ่ ต ้ลมทีเ่ ป็ นไปได ้มากทีส
่ ด
ุ บริเวณใกล ้เคียงที่
อ่อนไหวต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินนัน ้ รวมถึง :

• แหล่งทีอ ่ ยูอ่ าศัย อุตสาหกรรม พืน ้ ทีก่ ารเกษตร สถานทีพ


่ ักผ่อนทางธรรมชาติ หรือพืน ้ ทีต่ กปลา
• แหล่งน้ าดืม ่ (เช่น น้ าผิวดินหรือน้ าใต ้ดิน)
• พืน
้ ทีท
่ ไี่ วต่อการเปลีย ่ นแปลงสภาพสิง่ แวดล ้อม พืน ่ นุรักษ์ธรรมชาติและสิง่ มีชวี ต
้ ทีอ ิ ทีใ่ กล ้สูญพันธุุุ ์
• บริเวณทีม ่ ค
ี ณ ุ ค่าทางประวัตศ ิ าสตร์และวัฒนธรรม

ระด ับของเหตุการณ์ฉุกเฉิน

แผนแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุ กเฉินของหลายๆองค์กรกาหนดเป็ น 3 ระดับ ส าหรั บจั ด การกับเหตุการณ์ท ม


ี่ ี
ขนาดและขอบเขตต่างๆกัน

1. สามารถจัดการได ้โดยบุคคลในแผนกนัน
้ ๆเอง

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 9 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

2. ต ้องการความช่วยเหลือจากทีมแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินในโรงงานและอาจต ้องการอพยพคน


ออกจากโรงงาน
3. ต ้องการความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอกอย่างเต็มที่ อาจต ้องอพยพคนในพืน
้ ทีใ่ กล ้เคียงหรือทาการ
ป้ องกันอันตราย

แผนการแก้ไขปัญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน

ในการจัดทาแผนการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินในโรงงานนั น ่ วชาญ ในบทนี้จะกล่าวถึง


้ ต ้องอาศัยผู ้เชีย
ข ้อกาหนดพืน้ ฐานทีค่ วรมีในแผน ทัง้ นีม้ าตรฐาน ISO 14001 ไม่ได ้กาหนดให ้มีการจัดทาแผนการแก ้ไขปั ญหากรณี
เหตุการณ์ฉุกเฉินเป็ นเอกสาร แม ้ว่าในความเป็ นจริงจะไม่สามารถเข ้าใจได ้ว่าแผนงานนัน ้ สัมฤทธิผ
์ ลหรือไม่ถ ้าหาก
ไม่มเี อกสารแผนงานให ้ปฏิบต ิ าม สิง่ สาคัญทีค
ั ต ่ วรกาหนดในแผนการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน ได ้แก่:

ขนตอนการเตื
ั้ อนภ ัยครงแรก
ั้

ควรจะท าอะไรบ ้างเมื่อ ได ้พบเหตุ ฉุ ก เฉิน ทางสิง่ แวดล ้อม(หรือ เหตุฉุ ก เฉิน ที่อ าจเกิด ขึน
้ ได )้ จะติด ต่อกับใคร
หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินอะไร รายงานเหตุการณ์ตอ ่ ใคร แก ้ไขปั ญหาขัน
้ ต ้นอย่างไร

กาหนดสายการบ ังค ับบ ัญชา

อธิบ ายโครงสร ้างองค์ก รของทีม แก ้ไขปั ญ หากรณี เ หตุก ารณ์ ฉุ ก เฉิน ว่า ใครเป็ นคนสั่ง การ สายการรายงานเป็ น
อย่างไร แต่ละคนต ้องรับผิดชอบอะไรบ ้าง

อธิบายการแก้ไขปัญหากรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินระด ับต่างๆ

กาหนดหัวข ้อแผนปฏิบต ั ก
ิ ารสาหรับเหตุการณ์ไฟไหม ้ สารเคมีรั่วไหล ก๊าซรั่ว หรืออืน ่ ๆในระดับ 1 ระดับ 2 และระดับ
3 และรวมถึง การก าหนดค าสั่ง การ การดูแ ลความปลอดภัย ของพื้น ที่เ กิด เหตุ การแจ ้งขอความช่ว ยเหลือ จาก
ภายนอก การสือ่ สารทัง้ ภายในและภายนอก แผนการอพยพ (ทัง้ ในโรงงานและพืน ้ ทีใ่ กล ้เคียง) จุดรวมพล วิธก
ี ารลด
และขจัดผลกระทบ

การรายงาน

กาหนดว่าใครเป็ นผู ้รับผิดชอบในการรายงานเหตุการณ์ฉุกเฉินภายในโรงงานและองค์กร และรายงานต่อหน่วยงาน


นอกองค์กร อาทิ ชุมชน หน่วยงานรัฐ และสือ่ สารมวลชน

การค้นหาอุบ ัติการณ์

อธิบายขัน
้ ตอนการปฏิบต ั ส ้ เหตุการณ์นัน
ิ าหรับทีมแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินหลังเสร็จสิน ้ แล ้ว เพือ
่ สืบค ้นหา
สาเหตุและวิธก
ี ารป้ องกันและแก ้ไขมิให ้อุบต
ั กิ ารณ์นัน
้ เกิดขึน
้ อีก

้ มการแก้ไขปัญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน
การฝึ กซอ

ISO 14001 กาหนดให ้มีการซ ้อมแผนฉุ กเฉินหากทาได ้ในทางปฏิบัต ิ กาหนดการซ ้อมแผนฉุ กเฉินควรครอบคลุม
เหตุฉุกเฉินชนิดต่างๆและทุกพืน ้ ที่ ควรมีการประเมินประสิทธิผลของการฝึ กซ ้อมแผนฉุ กเฉินและปรับปรุงให ้ดีขน
ึ้
หากจาเป็ น หรือทาการซ ้อมเพิม
่ มากขึน ้ เพือ
่ ให ้ได ้ผลตามทีก
่ าหนดไว ้

แผนการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินฉบับสาเนาต ้องแจกจ่ายให ้ทั่วทัง้ องค์กรและทุกคนต ้องรับรู ้ถึงขัน


้ ตอน
การเตือนภัยครัง้ แรกและการอพยพ สมาชิกของทีมแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินต ้องเป็ นผู ้นาในการปฏิบัต ิ
อย่างสม่าเสมอและทุกๆคนในพืน ่ วรได ้รับการฝึ กซ ้อมการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินและการอพยพ ควร
้ ทีค
จัดเก็บบันทึกผลการฝึ กซ ้อมและบันทึกการเปลีย ่ นแปลงขัน ้ ตอนการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุฉุกเฉิน

สิง่ ทีน
่ อกเหนือไปจากเอกสารอืน ่ ๆคือแผนการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุ กเฉินนั น ้ ต ้องทาให ้ทันสมัยอยู่เสมอ
ประกอบด ้วย รายชือ ่ บุคคลและหมายเลขโทรศัพท์ทต ี่ ด
ิ ต่อได ้ในปั จจุบัน และการอธิบายขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน
เฉพาะทีเ่ ป็ นปั จจุบน
ั เท่านัน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 10 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

แต่ละองค์กรมีหน ้าทีร่ ับผิดชอบในการทาแผนการตระเตรียมและตอบสนองกรณีฉุกเฉินทีเ่ หมาะสมกับความต ้องการ


เฉพาะขององค์กร ในการตัง้ แผนการต่าง ๆ องค์กรควรมีการพิจารณาถึง

— สภาพทางสิง่ แวดล ้อมทีเ่ กิดขึน ้ จริงและทีเ่ ป็ นไปได ้โดยรวมถึงภัยพิบต ั ท


ิ างธรรมชาติ
— หลักธรรมชาติของอันตรายทีส ่ ถานประกอบการ ตัวอย่างเช่น ของเหลวทีต ่ ด
ิ ไฟง่าย ถังจัดเก็บ
ก๊าซอัดและมาตรการทีจ ่ ะมีการดาเนินการในกรณีทเี่ กิดการหกหรือการไหลออกมาโดยบังเอิญ
— ประเภทและขนาดของสถานการณ์ฉุกเฉินทีส ่ ว่ นใหญ่มแ
ี นวโน ้ม
— เครือ ่ งมือและทรัพยากรทีจ ่ าเป็ น
— ความเป็ นไปได ้สาหรับสถานการณ์ฉุกเฉิน ณ สถานทีใ่ กล ้เคียง (ตัวอย่างเช่น โรงงาน ถนน ทาง
รถไฟ)
— วิธที เี่ หมาะสมทีส ่ ด
ุ ในการตอบสนองสถานการณ์ฉุกเฉิน
— ปฏิบต ั ก ิ ารทีจ่ าเป็ นในการลดความเสียหายด ้านสิง่ แวดล ้อม
— หน่วยงานฉุกเฉินและความรับผิดชอบ
— เส ้นทางอพยพและจุดรวมพล
— รายชือ ่ บุคคลสาคัญและหน่วยงานช่วยเหลือโดยมีรายละเอียดการติดต่อ ตัวอย่างเช่น หน่วย
ดับเพลิงและการบริการล ้างสารทีห ่ ก
— ความเป็ นไปได ้ในการช่วยเหลือกันและกันจากองค์กรเพือ ่ นบ ้าน
— กระบวนการสือ ่ สารภายในและภายนอก
— ปฏิบต ั ก ิ ารบรรเทาและตอบสนองทีด ่ าเนินการสาหรับประเภทสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ
— กระบวนการสาหรับการประเมินหลังกรณีฉุกเฉินโดยมีการประเมินการตอบสนองตามแผนเพือ ่
กาหนดและดาเนินการปฏิบต ั ก
ิ ารแก ้ไขและป้ องกัน
— การทดสอบกระบวนการตอบสนองกรณีฉุกเฉินเป็ นระยะ ๆ
— ข ้อมูลวัสดุอน ั ตรายโดยมีผลกระทบทีเ่ ป็ นไปได ้ของแต่ละวัสดุตอ ่ สิง่ แวดล ้อม และมาตรการทีจ ่ ะ
ดาเนินการในกรณีมก ี ารไหลออกโดยบังเอิญ
— การฝึ กอบรมหรือข ้อกาหนดความสอดคล ้องโดยรวมข ้อกาหนดสาหรับบุคลากรทีต ่ ้องตอบสนอง
กรณีฉุกเฉินและการทดสอบประสิทธิภาพ

่ มโยงกับระบบบริหารอืน
ในการวางแผนการตระเตรียมกรณีฉุกเฉิน ควรมีการพิจารณาถึงการเชือ ่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วกับการ
ต่อเนือ
่ งทางธุรกิจรวมถึงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

องค์กรควรเก็บรักษาเอกสารข ้อมูลในขอบเขตทีจ
่ าเป็ นเพือ
่ ทาให ้มั่นใจว่ามีการดาเนินกระบวนการทีจ
่ าเป็ นสาหรับ
การเตรียมการและตอบสนองกรณีฉุกเฉินตามแผน

สรุปประเด็นสาค ัญ
• การป้ องกัน (เช่น การจั ด การความเสีย่ ง) เป็ นองค์ป ระกอบส าคัญ ของการเตรีย มการแก ้ไขปั ญ หากรณี
เหตุการณ์ฉุกเฉิน
• องค์กรต ้องมีขัน้ ตอนสาหรับการระบุแหล่ง ชนิด ผลกระทบของอุบัตเิ หตุต่อสิง่ แวดล ้อม และเหตุการณ์
ฉุกเฉินทีอ
่ าจเกิดขึน
้ ได ้
• แผนงานการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินควรรวมถึงการอธิบายบทบาทและ ความรับผิดชอบใน
การแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุฉุกเฉิน การลดผลกระทบ การสือ ่ สารภายในและภายนอกองค์กร การฝึ กอบรม
การซ ้อมแผนฉุกเฉิน การค ้นหาอุบต
ั ก
ิ ารณ์ และการทบทวนขัน ้ ตอนการปฏิบตั ก
ิ าร
• ต ้องมีการซ ้อมแผนฉุกเฉินเพือ
่ ทดสอบประสิทธิผลของแผนการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉิน
• ต ้องปรับปรุงแผนการแก ้ไขปั ญหากรณีเหตุการณ์ฉุกเฉินให ้ทันสมัยอยูเ่ สมอ

การตรวจประเมิน
1. ตรวจสอบเอกสารในระบบในระบบ EMS ทีท ่ าการระบุสถานการณ์ฉุกเฉิน ว่า ทุกๆสถานการณ์เหตุฉุกเฉินที่
ศักยภาพในการเกิดขึน ้ และการเกิดอุบต
ั เิ หตุทมี่ ศ ั ยภาพในการเกิดขึน
ี ก ้ ทีส
่ ามารถส่งผลกระทบต่อ
สิง่ แวดล ้อม ได้ร ับการระบุครบถ้วนหรือไม่
2. ตรวจทาน emergency response plans ว่ามีไว ้ในเพือ ่ ลดผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อม หรือไม่ แผน
emergency response plans นัน้ มีรายละเอียดทีเ่ พียงพอเหมาะสมต่อความเสียงของกิจกรรม จานวน
พนักงานทีเ่ กีย่ วข ้องอย่างไร

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 11 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 8.0

3. ตรวจสอบว่า emergency response plans ได ้รับการฝึ กปฏิบต


ั ต
ิ ามแผนและมีการปรับปรุง
emergency response plans หลังการฝึ กปฏิบต
ั ิ
4. ตรวจทานบันทึก หมายเลขติดต่อ แผนการติดต่อ องค์กรภายนอกในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 12 of 12 9 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

ISO 14001:2015
: ISO14001 Guide Book
Cl 9.0

Just for Customer


Guide Series

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 1 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

Contents
9 การประเมินสมรรถนะ ................................................................................................................... 3
9.1 การเฝ้ าระวัง การวัด การวิเคราะห์ และ การประเมิน .......................................................................... 3
จุดประสงค์ของการติดตามตรวจสอบและการวัดผล ............................................................................ 3
ควรติดตามตรวจสอบและ/หรือควรวัดอะไร ....................................................................................... 3
หัวข ้อต่อไปนีค ้ อ
ื หัวข ้อทั่วไปทีต ่ ้องติดตามตรวจสอบเป็ นประจา ............................................................. 4
การติดตามตรวจสอบและการวัดผลบางอย่างทีค ่ วรทาประจา ตัวอย่างเช่น : ............................................. 4
การเฝ้ าระวังและการวัดผลจะเป็ นหลักฐาน ในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม อาทิเช่น......................................... 4
เพิม
่ เติม ................................................................................................................................... 5
9.1.2 การประเมินการสอดคล ้อง ....................................................................................................... 7
สรุปประเด็นสาคัญ...................................................................................................................... 8
9.2 การตรวจประเมินภายใน ........................................................................................................... 10
การตรวจประเมินระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมคืออะไร........................................................................ 10
การตรวจประเมินในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมในทางปฏิบต ั ิ ............................................................. 10
รายละเอียดบางประการเกีย ่ วกับการตรวจประเมินระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ......................................... 11
การแปลความหมายของข ้อกาหนด ISO 14001 .............................................................................. 11
ข ้อกาหนดของขัน้ ตอนการปฏิบต ั กิ ารตรวจประเมิน ........................................................................... 11
การตรวจประเมินการปฏิบต ั ติ ามข ้อกาหนดด ้านสิง่ แวดล ้อม ................................................................. 11
สรุปประเด็นสาคัญ.................................................................................................................... 12
การตรวจประเมิน ...................................................................................................................... 12
9.3 การทบทวนฝ่ ายบริหาร ............................................................................................................ 13
จุดประสงค์ของการทบทวนโดยฝ่ ายบริหาร..................................................................................... 13
คาอธิบาย............................................................................................................................... 13
ภาพรวมของการทบทวนโดยฝ่ ายบริหาร ........................................................................................ 14
สรุปประเด็นสาคัญ.................................................................................................................... 15
การตรวจประเมิน ...................................................................................................................... 15

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 2 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

9 การประเมินสมรรถนะ

9.1 การเฝ้าระว ัง การว ัด การวิเคราะห์ และ การประเมิน

9.1.1 ทว่ ั ไป

องค์กรต ้องเฝ้ าระวัง วัด วิเคราะห์ และ ประเมิน สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อม
องค์กรต ้องกาหนด
a) สิง่ ทีจ ่ าเป็ นต ้องวัดและเฝ้ าระวัง
b) วิธก ี ารสาหรับการเฝ้ าระวัง การวัด การวิเคราะห์ และการประเมิน, ทีส ่ ามารถปฏิบต ั ไิ ด ้, เพือ
่ ให ้
มั่นใจถึงความถูกต ้องของผลลัพธ์
c) เกณฑ์ทซ ี่ งึ่ องค์กรใช ้ในการประเมินสมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อม, โดยใช ้ตัวชีบ
้ ง่ ทีเ่ หมาะสม
d) เมือ ่ ใดทีต ่ ้องดาเนินการวัดและเฝ้ าระวัง
e) เมือ ่ ใดทีผ ่ ลการเฝ้ าระวังและการวัดต ้องได ้รับการวิเคราะห์และการประเมินผล

่ งมืออุปกรณ์ทใี่ ช ้ในการการเฝ้ าระวังและตรวจวัดเป็ นเครือ


องค์กรต ้องมั่นใจว่าเครือ ่ งมือทีไ่ ด ้รับการสอบ
เทียบหรือได ้รับการทวนสอบ และได ้รับการธารงรักษาตามความเหมาะสม
องค์กรต ้องประเมินสมรรถนะการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อม และประสิทธิผลของระบบการบริหาร
สิง่ แวดล ้อม

่ สารสารสนเทศทีเ่ กีย
องค์กรต ้องสือ ่ วข ้องกับสมรรถนะผลการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อมทัง้ ภายในและ
ภายนอก,ตามทีร่ ะบุในกระบวนการสือ ่ สารและตามความจาเป็ นจากข ้อผูกพันทีต่ ้องปฏิบต
ั ต
ิ าม

องค์กรต ้องเก็บรักษาข ้อมูลสารสนเทศทีเ่ หมาะสมเพือ


่ เป็ นหลักฐานการการเฝ้ าระวัง ,การวัด, การวิเคราะห์
และการประเมินผล

จุดประสงค์ของการติดตามตรวจสอบและการว ัดผล
การติดตามตรวจสอบเกีย ่ วข ้องกับการสอดส่องดูแลหรือการสังเกตการปฏิบัตงิ านเป็ นประจาเพือ
่ ทาให ้มั่นใจว่าผล
การดาเนินการเป็ นทีน ่ ่ าพึงพอใจ เพือ ่ ตรวจสอบความก ้าวหน ้าและการปรับปรุงทีต
่ ้องการและเพือ่ ตรวจหาปั ญหา
การวัด เกิด ขึน
้ เมือ
่ มีการอ่านค่าเชิงปริมาณของตัวแปรต่างๆในการปฏิบัตก ิ าร การปล่อยของเสีย หรือผลกระทบ
สิง่ แวดล ้อม การติดตามตรวจสอบและการวัดผลใช ้ในการ :

• ตรวจสอบความก ้าวหน ้าของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม เช่น ตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายในการลด


จานวนข ้อบกพร่องในการฝึ กอบรมบุคคล
• ระบุแหล่งของปั ญหาและผลกระทบสิง่ แวดล ้อมอย่างทันท่วงทีและถูกต ้อง
• ่ มีบางสิง่ ผิดปกติ
เร่งให ้เกิดการแก ้ไขและป้ องกันอย่างรวดเร็วและเหมาะสมเมือ
• ประเมินผลการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อมเปรียบเทียบกับข ้อกาหนดกฎหมาย
• เป็ นการแสดงความขยันหมั่นเพียรและใช ้ประเมินตนเอง
• ทาตามข ้อตกลงในนโยบายสิง่ แวดล ้อม

ควรติดตามตรวจสอบและ/หรือควรว ัดอะไร
มีตวั แปรจานวนมากทีค ่ วรมีการติดตามตรวจสอบเพือ ่ วกับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม องค์กรส่วนใหญ่
่ ให ้ข ้อมูลเกีย
ติดตามตรวจสอบตัวแปรน ้อยเกินไปและทาไม่บอ ่ ยนัก หลักในการกาหนดแผนงานการติดตามตรวจสอบคือการระบุ
ตัวแปรทีส ่ ะสามารถตรวจสอบระบบ การจัดการสิง่ แวดล ้อมได ้ชัดเจน และประเมินว่าต ้องทาบ่อยเพียงใด
่ าคัญทีจ
การติดตามตรวจสอบและการวัดผลต ้องการความถูกต ้องและความแม่นยาระดับใด เพือ ่ ทาให ้มั่นใจว่าระบบการ
จัดการสิง่ แวดล ้อมยังคงดาเนินไปด ้วยดี

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 3 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

้ อ
ห ัวข้อต่อไปนีค ื ห ัวข้อทว่ ั ไปทีต
่ อ
้ งติดตามตรวจสอบเป็นประจา
• ผลการปฏิบต ั งิ านตามข ้อกาหนดของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมโดยรวม
• ความก ้าวหน ้าของงานเพือ ่ บรรลุวต
ั ถุประสงค์และเป้ าหมาย
• ตัวชีว้ ด
ั ผลการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อมตามแผนงานการจัดการสิง่ แวดล ้อม และตามข ้อกาหนดกฎหมาย
• การปฏิบต ั งิ านของการผลิต เครือ ่ งจักร กระบวนการทีก ่ ให ้เกิดปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส
่ อ ่ าคัญและเครือ
่ งจักร
ควบคุมมลพิษ

การติดตามตรวจสอบและการว ัดผลบางอย่างทีค ่ :
่ วรทาประจา ต ัวอย่างเชน
• การปล่อยของเสียสูอ ่ ากาศ การปล่อยน้ าเสียลงแหล่งน้ า การทิง้ กากของเสีย
• ผลกระทบสิง่ แวดล ้อมด ้านอากาศ น้ า ดิน สิง่ มีชวี ต ิ นิเวศวิทยา มนุษย์
• การใช ้พลังงาน
• การใช ้ การจัดการ การจัดเก็บและการทิง้ สารเคมี เชือ ้ เพลิง/
เพือ
่ ให ้องค์กรสามารถรายงานและสือ่ สาร
วัสดุและกากของเสียอันตราย

ประสิทธิผลการทางานด ้านสิงแวดล ้อม
• ความจาเป็ นของการฝึ กอบรม ตารางกาหนดการฝึ กอบรม
ความตระหนักและความสามารถด ้านสิง่ แวดล ้อมของ ของตนเองได ้อย่างถูกต ้องแม่นยา จีงต ้อง
พนักงาน มีระบบสาหรับการเฝ้ าระวัง การวัดผล การ
• การสือ่ สารจากฝ่ ายต่างๆและการโต ้ตอบขององค์กร วิเคราะห์และการประเมินประสิทธิผลการ
• การแก ้ไขปั ญหากรณีอบ ุ ต
ั ก
ิ ารณ์ฉุกเฉิน ทางานด ้านสิง่ แวดล ้อม
• การประกันคุณภาพและการควบคุมคุณภาพสาหรับการสุม ่
ตัวอย่างและการวิเคราะห์ในห ้องปฏิบต ิ ารด ้านสิง่ แวดล ้อม
ั ก
• ประสิทธิผลและความทันต่อเหตุการณ์ในการป้ องกันแก ้ไข
• ผลการดาเนินงานด ้านสิง่ แวดล ้อมของผู ้รับเหมา
• เอกสารได ้รับการปรับปรุงให ้มีความทันสมัยและมีการควบคุมอย่างพอเพียงหรือไม่

การเฝ้าระว ังและการว ัดผลจะเป็นหล ักฐาน ในระบบบริหารสงิ่ แวดล้อม เชน



— การตรวจสอบย ้อนกลับความคืบหน ้าของคามั่นสัญญาในการบรรลุนโยบายสิง่ แวดล ้อม รวมถึง
วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมและการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง
— การให ้ข ้อมูลเพือ ่ กาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม
่ น
ี ัยสาคัญ
— การเก็บข ้อมูลด ้านการปล่อยก๊าซและการระบายออกเพือ ่ บรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง;
— การเก็บข ้อมูลด ้านการใช ้น้ า พลังงานหรือวัสดุเพือ ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม;
— การให ้ข ้อมูลเพือ ่ สนับสนุนหรือประเมินการควบคุมการปฏิบต ั งิ าน
— การให ้ข ้อมูลเพือ ่ ประเมินประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กร
— การให ้ข ้อมูลเพือ ่ ประเมินประสิทธิผลการทางานของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม

่ งมือทีใ่ ช ้ในการวัดสาหรับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมต ้องสอบเทียบมาตรฐานอย่างสม่าเสมอเพือ


เครือ ่ ทาให ้มั่นใจ
ว่าค่าทีอ่ า่ นได ้มีความถูกต ้อง และต ้องติดตามตรวจสอบการปฏิบต ิ ามกฎหมายและกฎระเบียบด ้านสิง่ แวดล ้อมเป็ น
ั ต
ประจาเพือ ่ ให ้เป็ นไปตามตามข ้อตกลงในนโยบายสิง่ แวดล ้อม ประเภทของการวัดผลบ่งบอกถึงความต ้องการใน
การทาให ้เครือ ่ งมือดังกล่าวมีความน่าเชือ่ ถือ (ตัวอย่างเช่น การสอบเทียบ)
องค์กรควรพิจารณาในการใช ้ห ้องทดสอบทีม ่ เี ทคนิคการทดสอบซึง่ ได ้รับการรับรองโดยหน่วยงานทีใ่ ห ้การรับรอง
ระดับชาติหรืออนุมัตโิ ดยผู ้ตัง้ กฎ หากไม่สามารถได ้รับการรับรองหรืออนุมัต ิ องค์กรสามารถพิจารณาวิธท ี เี่ หมาะสม
อืน
่ ๆ ในการตรวจสอบความถูกต ้องแม่นยาของผลลัพธ์ อาทิเช่น การวิเคราะห์ตวั อย่างแยก การทดสอบเทียบกับ
วัสดุทอี่ ้างอิงซึง่ ได ้รับการรับรองและโปรแกรมทดสอบความชานาญห ้องทดสอบ

สิง่ ทีค ่ ถือได ้ของข ้อมูล ดังนัน


่ วรพิจารณาพิเศษในการเฝ้ าระวังและการวัดผล คือการรับประกันความถูกต ้องเชือ ้
ภายใต ้เงือ่ นไขทีค
่ วบคุมได ้ (มีระบบ มีเกณฑ์)สาหรับ:
— เทคนิคการเลือกตัวอย่างและการเก็บข ้อมูล
— การจัดหาการสอบเทียบทีเ่ พียงพอ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 4 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

— การใช ้มาตรฐานวัดทีส่ ามารถตรวจสอบย ้อนกลับได ้ตามมาตรฐานสากลหรือระดับชาติ


— การใช ้บุคลากรทีช
่ านาญ
— การตีความข ้อมูลและการวิเคราะห์แนวโน ้ม

เพิม
่ เติม
สรุปประเด็นสาค ัญ

• ควรกาหนดสิง่ ทีจ ่ าเป็ นต ้องมีการเฝ้ าระวังและวัดผลโดยคานึงถึงวัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม ประเด็น



สิงแวดล ้อมทีม ่ นี ัยสาคัญ พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องและการควบคุมการปฏิบต ั งิ านโดยควรมีการ
กาหนดความถีแ ่ ละวิธท ี จ ี่ ะใช ้ในการเก็บข ้อมูล
• เพือ ่ ประหยัดทรัพยากรในการวัดผล องค์กรควรเลือกตัวบ่งชีท ้ เี่ กีย
่ วข ้องซึง่ ง่ายต่อการเข ้าใจและให ้ข ้อมูล
ทีม ่ ป ี ระโยชน์สาหรับการประเมินประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญ
• ้
การคัดเลือกตัวบ่งชีควรสะท ้อนให ้เห็นหลักธรรมชาติและขนาดของการดาเนินงานขององค์กร รวมถึงมี
ความเหมาะสมกับผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม ตัวอย่างของตัวบ่งชีจ ้ ะรวมถึงพารามิเตอร์เชิงกายภาพ อาทิ
เช่น อุณหภูม ิ ค่าแรงดัน pH และการใช ้วัสดุ ประสิทธิผลของพลังงาน ทางเลือกในการบรรจุและขนส่ง ดู
เพิม ่ เติมได ้ที่ ISO 14031
• ควรมีการวิเคราะห์และใช ้ผลการเฝ้ าระวังและการวัดผลเพือ ่ บ่งชีข ้ ้อบกพร่อง การยึดมั่นขีดจากัดตามที่
พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องตัง้ ไว ้ แนวโน ้มประสิทธิผลการทางานและโอกาสในการปรับปรุงอย่าง
ต่อเนือ ่ ง
• การวิเคราะห์ข ้อมูลสามารถรวมการพิจารณาด ้านคุณภาพของข ้อมูล ความถูกต ้อง ความเพียงพอและความ
สมบูรณ์ทจ ี่ าเป็ นต่อการสร ้างข ้อมูลทีน ่ ่าเชือ ่ ถือ เครือ ่ งมือเชิงสถิตส ิ ามารถนาไปใช ้ในการเพิม ่ ความ
น่าเชือ ่ ถือในการตัดสินใจว่าสามารถบรรลุผลทีพ ่ งึ ประสงค์หรือไม่ เครือ ่ งมือเหล่านีส ้ ามารถรวมเทคนิคเชิง
กราฟฟิ ค การจัดทาดัชนี การรวบรวมหรือการชัง่ อย่างเหมาะสม
• กระบวนการทีเ่ ป็ นลายลักษณ์อก ั ษรสาหรับการดาเนินการเฝ้ าระวัง การวัดผล การวิเคราะห์และการประเมิน
สามารถช่วยในความคงเส ้นคงวา การทาซ้าได ้และความน่าเชือ ่ ถือของข ้อมูลทีส ่ ร ้างผลลัพธ์การเฝ้ าระวัง
การวิเคราะห์และการวัดผลรวมถึงการประเมินควรมีการเก็บรักษาเป็ นเอกสารข ้อมูล
• การติดตามตรวจสอบและการวัดผลอย่างละเอียดถีถ ่ ้วนเป็ นสิง่ สาคัญทีท ่ าให ้มีการปรับปรุงการดาเนินงาน
ด ้านสิง่ แวดล ้อมอย่างสม่าเสมอและต่อเนือ ่ ง
• การติดตามการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายเป็ นภาระผูกพันในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ISO 14001
• ผลการทดสอบจะดีก็ตอ ่ เมือ่ ตัวอย่างทีน ่ ามาทดสอบได ้มาโดยปราศจากความลาเอียง และมีการสอบเทียบ
เครือ ่ งมือวัดอย่างถูกต ้อง
• ทุกๆสิง่ ที่ ISO 14001 กล่าวว่า “ต้องคงร ักษาไว้” นนต้ ั้ องทาการว ัดผลและติดตามตรวจสอบ

การตรวจประเมิน

1. ตรวจสอบว่ามีการเฝ้ าติดตามและวัดลักษณะจาเพาะทีส ่ าคัญ (Key Characteristic) ของการปฏิบตั งิ านที่


สามารถมีผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อมทีม ่ น
ี ัยสาค ัญ อย่างครบถ ้วนหรือไม่
2. ตรวจสอบว่ามีการติดตาม ตรวจวัด ทีค ่ รอบคลุมในด ้าน สมรรถนะทางด ้านสิง่ แวดล ้อม, การควบคุมการ
ั งิ านม และความสอดคล ้องกับวัตถุประสงค์และเป้ าหมายขององค์กร หรือไม่ โดยค่าตัวชีว้ ด
ปฏิบต ั
สมรรถนะสิง่ แวดล ้อม ควรมีกรอบทีค
่ รอบคลุมดังนี้
• Management Performance Indicator เช่น จานวนการบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย
จานวนพนั กงานทีเ่ ข ้าร่วมโครงการ จานวนข ้อเสนอแนะในการปรับปรุงด ้านสิง่ แวดล ้อมจาก
พนั ง งาน จ านวนครั ง้ ในการตรวจติด ตามเทีย บแผน จ านวนข ้อเสนอแนะ ข ้อร ้องเรีย นด ้าน/
สิง่ แวดล ้อมจากภายนอก และการคืนทุนจากโครงการปรับปรุงด ้านสิง่ แวดล ้อมเป็ นต ้น
• Operational Performance Indicator เช่ น ปริม าณวั ส ดุ ท ี่ใ ช ้หน่ ว ยการผลิต ปริม าณการ
recycle หรือ reuse วัส ดุท ใี่ ช ้ ปริม าณพลังงานทีใ่ ช ้ต่อปี หรือ ต่อหน่ วยการผลิต จ านวน NC
Products ต่อ หน่ ว ยการผลิต ปริม าณขยะต่อ ปี หรือ ต่อ หน่ ว ยการผลิต และปริม าณมลพิษ
ทีป
่ ล่อยต่อปี เป็ นต ้น (อากาศ น้ า)

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 5 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

• Environmental Condition Indicator เช่น การตรวจวัดความเข ้มข ้นของมลพิษทางอากาศ


รอบรัว้ โรงงาน การตรวจวัดกลิน ่ ของโรงงานในระยะทางทีค ่ าดว่าได ้รับผิดกระทบ การตรวจวัด
เสียงทีร่ อบรัว้ โรงงาน การวัดการเปลีย ่ นแปลงของระดับน้ าใต ้ดิน การวัดความเข ้มข ้นของการ
ปนเปื้ อนในน้ าใต ้ดินและน้ าผิวดิน เป็ นต ้น
3. ตรวจสอบว่า รายงานปฏิบต ั ก
ิ าร ทีใ่ ห ้ข ้อมูลในการ ดาเนินงานทีเ่ กีย
่ วข ้องกับสถานะของ วัตถุประสงค์และ
เป้ าหมายและตัวชีว้ ด ั สมรรถนะ ตามระบบและความถีท ่ ก
ี่ าหนด
4. อุปกรณ์ทใี่ ช ้ในการติดตาม ตรวจสอบ ทีส่ าคัญ ได ้รับการชีบ้ ง่ และ calibrated

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 6 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

9.1.2 การประเมินการสอดคล้อง

9.1.2 การประเมินการสอดคล้อง
องค์กรต ้องจัดทา, นาไปปฏิบต ั ิ และธารงรักษา กระบวนการทีจ
่ าเป็ นเพือ
่ ประเมินการบรรลุผลตามข ้อผูกพัน
ทีต
่ ้องปฏิบต
ั ต
ิ าม
องค์กรต ้อง:
a) ่ ใี่ ช ้ในการประเมินการสอดคล ้อง
พิจารณาความถีท
b) ประเมินการสอดคล ้องและดาเนินกิจกรรม ถ ้าจาเป็ น
c) ธารงรักษาความรู ้และความเข ้าใจในสถานะการสอดคล ้อง

องค์กรต ้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศเพือ
่ เป็ นหลักฐานของการประเมินผลลัพธ์ของข ้อผูกพันทีต
่ ้อง
ปฏิบต
ั ต
ิ าม

องค์กรควรมีการจัดทา นาไปใช ้ และธารงรักษา ขัน


้ ตอน สาหรับการประเมินความสอดคล ้องกับข ้อกาหนด
กฎหมายเป็ นระยะตามรอบเวลาและจัดเก็บผลของการประเมินความสอดคล ้อง

องค์กรสามารถทาการประเมินความสอดคล ้องในกฎหมายแต่ละฉบับหรือรวมๆกันก็ได ้

ี ารทีเ่ ราสามารถใช ้ในการประเมินความสอดคล ้อง เช่น


วิธก

1. การตรวจประเมิน audits,
2. การทบทวนเอกสาร บนทัก document and/or records review,
3. การตรวจสอบสถานประกอบการ facility inspections,
4. การสัมภาษณ์ interviews,
5. การทบทวนงาน โครงการ project or work reviews,
6. ่ ปกติ กับการทดสอบ/การวิเคราะห์ และ/หรือ ทาการทวนสอบการสุม
การสุม ่ /ทดสอบ routine sample
analysis or test results, and/or verification sampling/testing
7. การเข ้าสารวจสถานประกอบการ หรือสังเกตโดยตรง facility tour and/or direct observation

ควรมีการประเมินประสิทธิผลการทางานต่อพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องทัง้ หมดเป็ นระยะ ๆ ถึงแม ้ว่าความถี่


และแต่ละช่วงเวลาจะแตกต่างตาม
— ข ้อกาหนดทางกฎหมายขององค์กร
— ความสัมพันธ์กน ั ของข ้อกาหนดทีป ่ รับใช ้เป็ นพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
— การเปลีย ่ นแปลงในพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
— ประสิทธิผลการทางานในอดีตขององค์กรทีเ่ กีย ่ วข ้องกับพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
โดยรวมถึงผลกระทบย ้อนกลับทีเ่ ป็ นไปได ้ซึง่ เกีย ่ วข ้องกับข ้อบกพร่อง
— การเปลีย ่ นแปลงทีค ่ าดไว ้ในด ้านประสิทธิผลการทางานของกระบวนการหรือกิจกรรม
ตัวอย่างเช่น ประสิทธิผลการทางานของโรงงานบาบัดน้ าเสียสามารถแตกต่างไปตามปริมาณของ
น้ าเสียทีไ่ ด ้รับ

การประเมินความสอดคล ้องควรเป็ นกระบวนการทีท ่ าซา้ โดยใช ้ปั จจัยนาเข ้าจากด ้านอืน


่ ๆ ของระบบบริหาร
สิง่ แวดล ้อมเพือ ่ ตัดสินว่าองค์กรกาลังบรรลุ พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้องหรือไม่
วิธท ี ใี่ ช ้ในการประเมินความสอดคล ้องจะรวมถึงการเก็บข ้อมูลและสารสนเทศ (ตัวอย่างเช่น) โดย
— การตรวจสอบสิง่ อานวยความสะดวก
— การเฝ้ าระวังหรือสัมภาษณ์โดยตรง
— การทบทวนโครงการหรืองาน
— การทบทวนการวิเคราะห์ตวั อย่างหรือผลการทดสอบ และการเปรียบเทียบข ้อจากัดด ้าน
กฎระเบียบ
— การตรวจพิสจ ่ ตัวอย่างทดสอบ
ู น์จากการสุม
— การทบทวนเอกสารข ้อมูลทีจ ่ าเป็ นทางกฎหมาย (ตัวอย่างเช่น การสาแดงของเสียทีเ่ ป็ นอันตราย
การนาส่งตามกฎระเบียบ)

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 7 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

พันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบตั ใิ ห ้สอดคล ้องสามารถดาเนินการโดยกระบวนการต่างๆของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม อาทิเช่น


— การกาหนดประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยสาคัญ (ดูทข ่ งและโอกาสที่
ี่ ้อ 6.1.2.5) รวมถึงความเสีย
ต ้องค ้นหา (ดูทข ี่ ้อ 6.1.1);
— การวางแผนปฏิบต ั ก
ิ าร (ดูทข
ี่ ้อ 6.1.4);
— การตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม (ดูทข ี่ ้อ 6.2.2);
— การพัฒนากระบวนการในการตระหนักถึง (ดูทข ี่ ้อ 7.3) การสือ ่ สารภายนอก (ดูทข ี่ ้อ 7.4.3) การ
วางแผนและควบคุมการปฏิบต ั งิ าน (ดูทข ี่ ้อ 8.1) รวมถึงการเฝ้ าระวังและการวัดผล (ดูทข ี่ ้อ 9.1).
ประสิทธิผลของกระบวนการเหล่านีแ ้ ละผลลัพธ์ทบ ี่ รรลุยังสามารถใช ้เป็ นหลักฐานในการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ิ
ให ้สอดคล ้องได ้

องค์กรสามารถเลือกทีจ ่ ะทบทวนรายงานและการสือ ่ สารจากผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย (ตัวอย่างเช่น รายงานการ


ตรวจสอบสถานประกอบการตามระเบียบหรือการตรวจติดตามของลูกค ้า) หรือการสือ ่ สารกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียโดย
เฉพาะทีเ่ กีย
่ วกับพันธกรณีทตี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง

เมือ
่ มีการพบความล ้มเหลวหรือความล ้มเหลวทีเ่ ป็ นไปได ้ในการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง องค์กร
ควรมีการลงมือปฏิบต ั ก ิ าร ข ้อบกพร่องและกระบวนการปฏิบต ั ก
ิ ารแก ้ไขขององค์กร (ดูทข ี่ ้อ 10.2) สามารถนาไปใช ้
ในการจัดการกับการแก ้ไขทีจ ่ าเป็ น องค์กรควรสือ ่ สารหรือรายงานความล ้มเหลวในการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ิ
ให ้สอดคล ้องต่อผู ้ทีม ี ว่ นได ้ส่วนเสียทีเ่ กีย
่ ส ่ วข ้องอย่างเหมาะสมและตามต ้องการ (ดูทข ี่ ้อ 7.4).

องค์กรควรเก็บรักษาเอกสารข ้อมูลเป็ นหลักฐานการประเมินความสอดคล ้อง โดยสามารถรวม

— รายงานผลการประเมินความสอดคล ้อง
— รายงานการตรวจติดตามภายในและภายนอก
่ สารและรายงานภายในและภายนอก
— การสือ

สรุปประเด็นสาค ัญ

องค์กรควรจัดทาความถี่ และ วิธกี ารในการประเมินความสอดคล ้องนีใ้ ห ้เหมาะสมกับขนาดขององค์กร ชนิด และ


ความซับซ ้อน การกาหนดความถีค ่ วรขึน
้ อยูก
่ บ
ั ปั จจัยเช่น ประสบการณ์ในการผิดพลาดหรือเกิดปั ญหาในอดีต หรือ
ตามกาหนดโดยกฎหมาย ในการประเมินความสอดคล ้องเป็ นสิง่ ดีทจ ี่ ะใช ้ระบบ Independent review โดยการให ้มี
การ cross check กันได ้ในองค์กร

แผนงานการประเมินความสอดคล ้องนี้ สามารถควบรวมกับการกิจกรรมการประเมินอืน ่ ๆ ขององค์กรซึง่ รวมถึงการ


ตรวจประเมินภายในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมหรืออาชีวอนามัย หรือ การตรวจสอบความปลอดภัยตามปกติก็
ได ้ ไม่จาเป็ นต ้องทาซ้าซ ้อนหรือแยกบันทึกแต่อย่างใด

เช่นเดียวกันกับข ้อกาหนดอืน
่ ๆทีไ่ ม่ใช่กฎหมายทีอ
่ งค์กรเกีย
่ วข ้อง ในประเด็นนี้องค์กรอาจจะแยกกระบวนการ
ประเมินความสอดคล ้องต่างหาก หรือทาไปพร ้อมๆกันกับการประเมินความสอดคล ้องกฎหมาย เช่นการที่
องค์กรปฏิบัตติ าม RoHs ระบบในการติดตามความสอดคล ้องอาจมีรอบเวลา วิธก ี ารทีไ่ ม่เหมือนกับการประเมิน
ความสอดคล ้องกับกฎหมาย

องค์กรควรตัง้ กระบวนการในการประเมินขอบเขตทีบ ่ รรลุพันธกรณีทต


ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องด ้วยการเฝ้ าระวัง การ
วัดผล การวิเคราะห์และการทบทวนประสิทธิผลการทางานต่อพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องตามทีร่ ะบุในข ้อ
4.2 และ 6.1.3
กระบวนการนีส ้ ามารถช่วยองค์กรในการแสดงให ้เห็นคามั่นสัญญาในการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
เข ้าใจสถานะความสอดคล ้อง ลดความเป็ นไปได ้ในการละเมิดกฎระเบียบหรือเลีย ่ งปฏิบต ั ก ิ ารย ้อนกลับจากผู ้มีสว่ น
ได ้ส่วนเสีย

การตรวจติดตามภายใน (ดูทข ี่ ้อ 9.2) สามารถนาไปใช ้เพือ ่ ตัดสินประสิทธิผลของกระบวนการทีอ ่ อกแบบและ


ดาเนินการเพือ ่ ประเมินการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ไม่สามารถนาไปใช ้เพือ
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง แต่มก ่ แสดงว่าได ้บรรลุ
พันธกรณีทตี่ ้องปฏิบตั ใิ ห ้สอดคล ้องขององค์กร อย่างไรก็ตาม องค์กรสามารถใช ้เทคนิคการตรวจติดตามในการ
ประเมินการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้อง

ด ้วยการประเมินความสอดคล ้อง องค์กรจะมีความรู ้และตระหนักถึงสถานะของความสอดคล ้อง ความถีใ่ นการ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 8 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

ประเมินความสอดคล ้องควรมีความเหมาะสมในการเก็บความรู ้และความตระหนักถึงให ้ทันสมัย ควรมีการดาเนินการ


ประเมินในลักษณะทีใ่ ห ้ปั จจัยนาเข ้าได ้ทันเวลาต่อการทบทวนของฝ่ ายบริหาร (ดูทข ี่ ้อ 9.3) เพือ
่ ว่าฝ่ ายบริหาร
สูงสุดจะสามารถทบทวนการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้องขององค์กรและรักษาความตระหนักถึงสถานะ
ความสอดคล ้องขององค์กร

สรุปประเด็นสาค ัญ

1. ในเรือ
่ งการประเมินความสอดคล ้องกับกฎหมาย องค์กรต ้องมีระเบียบปฏิบต ั ิ ขณะทีก่ ารประเมินความ
สอดคล ้องกับข ้อกาหนดอืน ่ อาจไม่จาเป็ นต ้องมีขน ั ้ ตอนปฏิบตั ิ
2. ข ้อกาหนดข ้อนี้ เป็ นการเริม่ ต ้นของกระบวนการแก ้ไขและป้ องกัน ดังนัน ้ ในกรณีทพ ี่ บความไม่สอดคล ้อง
ต ้องมีระบบในการดาเนินการต่อตามข ้อกาหนด 9.x
3. บันทึกการประเมินความสอดคล ้องนีต ้ ้องมีการจัดเก็บเป็ นอย่างดี เพราะถือเป็ นเอกสารหนึง่ ในการแสดง
สมรรถนะของระบบ EMS
4. ข ้อกาหนดข ้อนี้ แยกออกจากข ้อกาหนด การติดตามตรวจวัดข ้อ 9.1 1.เนือ ่ งจากในการตรวจติดตามและ
การตรวจวัดนัน้ เราสามารถทาการตรวจติดตามวัด ในปั จจัยอืน ่ งึ่ อาจกาหนดเองเช่นการวัดค่า
่ ๆ ทีซ
สมรรถนะในกระบวนการผลิตในแง่พลังงานตามกรอบนโยบาย ดังนัน ้ เราไม่ได ้ทาการวัดแค่ประเด็นการ
สอดคล ้องกับข ้อกาหนดกฎหมายเท่านัน ้ จึงมีการแยกข ้อกาหนดออกมาต่างหาก

การตรวจประเมิน

• ตรวจสอบว่าประเด็นทีเ่ กีย ่ วข ้องกับกฎหมายหรือข ้อกาหนดอืน ่ ๆ ได ้รับการประเมินการสอดคล ้องทัง้ หมด ซึง่


หลักฐานการประเมินการสอดคล ้องอาจมาจากบันทึกทีหลายหลาย (audits, document and/or records
review, facility inspections, interviews, project or work reviews, routine sample analysis or test
results, and/or verification sampling/testing, facility tour and/or direct observation) ให ้ทาการสุม ่
ตรวจ โดยเน ้นลาดับความสาคัญกับประเด็นปั ญหาสิง่ แวดล ้อมทีส ่ าคัญ รวมถึง ปั ญหามลพิษต่างๆ
• ทาการตรวจทาน คูม ่ อ
ื ขัน้ ตอนการปฏิบต ั งิ านเรือ
่ ง การประเมินความสอดคล ้องกับกฎหมาย และการประเมิน
ความสอดคล ้องกับข ้อกาหนดอืน ่ ๆ ว่าจัดทาได ้อย่างเหมาะสมหรือไม่
• ่ ตรวจบันทึกเพือ
สุม ่ พิสจ ู น์ทราบความถูกต ้องของบันทึก และรูปแบบการจัดเก็บ ซึง่ รวมถึงค่าวิเคราะห์หรือ
ทดสอบค่าพารามิเตอร์ด ้านสิง่ แวดล ้อม ต่างๆ
• ตรวจสอบ แผนการตรวจสอบการสอดคล ้องกับกฎหมาย ได ้มีการจัดทาและปฏิบต ั ต
ิ ามอย่างเคร่งครัด ผู ้ทีท
่ า
หน ้าทีต
่ รวจสอบการสอดคล ้องกับข ้อกาหนดกฎหมายมีความสามารถอย่างเพียงพอ
• ในกรณีทพ ี่ บสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนด หรือ ใกล ้ๆกับเกินค่า limit องค์กรได ้มีการกระทาการออกรายงาน
ข ้อบกพร่อง เพือ ่ วิเคราะห์หาสาเหตุ ดาเนินกสนแก ้ไขและป้ องกันการเกิดซ้า หรือไม่

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 9 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

9.2 การตรวจประเมินภายใน
9.2 การตรวจประเมินภายใน
9.2.1 ทว่ ั ไป
องค์กรต ้องดาเนินการตรวจสอบภายใน ตามช่วงเวลาทีว่ างแผนไว ้เพือ ่ ให ้สารสนเทศของระบบการบริหาร
สิง่ แวดล ้อมว่า:
a) สอดคล ้องต่อ
1) ข ้อกาหนดขององค์กรสาหรับระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม
2) ข ้อกาหนดมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้
b) มีการนาไปปฏิบต ั แ
ิ ละธารงรักษาอย่างมีประสิทธิผล

9.2.2 โปรแกรมการประเมินภายใน
องค์กรต ้องจัดทา, นาไปปฏิบต ั ิ และ ธารงรักษา โปรแกรมการตรวจติดตามภายใน, รวมถึง ความถี,่ วิธก ี าร,
ความรับผิดชอบ,ข ้อกาหนดการวางแผน และการรายงานการตรวจประเมินภายใน
เมือ
่ จัดทาโปรแกรมการตรวจประเมินภายใน , องค์กรต ้องคานึงถึงความสาคัญของกระบวนการทีเ่ กีย ่ วข ้อง
กับสิง่ แวดล ้อม, การเปลีย
่ นแปลงทีม่ ผ
ี ลต่อองค์กรและผลของการตรวจประเมินก่อนหน ้านี้
องค์กรต ้อง
a) ระบุหลักเกณฑ์การตรวจประเมินและขอบข่ายการตรวจประเมินแต่ละครัง้
b) เลือกผู ้ตรวจประเมิน และทาการตรวจประเมินเพือ ่ ให ้แน่ใจกระบวนการตรวจประเมินมีความความเทีย ่ ง
ธรรมและไม่เอนเอียง
c) ทาให ้แน่ใจว่าผลการตรวจประเมินได ้รายงานสูร่ ะดับจัดการทีเ่ กีย
่ วข ้อง
องค์กรต ้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศ เป็ นหลักฐานของการปฏิบต ั ต
ิ ามโปรแกรมการตรวจประเมินและ
ผลการตรวจประเมิน

การตรวจประเมินระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อมคืออะไร


นิยามการตรวจประเมิน

การตรวจประเมินใช ้คาต่างๆทีม
่ ค
ี วามหมายเฉพาะดังนี้ :

• เป็นระบบ-ทาให ้เป็ นระเบียบ เป็ นวิธกี าร เป็ นแผนงาน


• ทาเป็นเอกสาร-การบันทึกเป็ นลายลักษณ์อก ั ษร
• การพิสจ ู น์-ข ้อมูลได ้รับการตรวจสอบ ทาให ้ถูกต ้องและได ้รับการยืนยัน
• เป็นรูปธรรม-เป็ นอิสระ ไม่ลาเอียง ไม่มผ ี ลประโยชน์ขดั แย ้งกัน
• การประเมินผล- การประเมิน การใช ้วิจารณญาณ
• หล ักฐาน-การสังเกตและข ้อมูลทีไ่ ด ้พิสจ ู น์แล ้ว
• เกณฑ์การตรวจประเมิน-มาตรฐานทีใ่ ช ้เปรียบเทียบกับผลการตรวจประเมิน (เช่น ISO 14001 ในกรณี
ของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม)
• ขอบเขตของการตรวจประเมิน -ข ้อกาหนดของ ISO 14001 พืน ้ ทีป
่ ฏิบัตก
ิ าร และกรอบเวลาการตรวจ
ประเมิน
• วตั ถุป ระสงค์ข องการตรวจประเมิน -ประเมิน ว่า ได ้มีก ารน าระบบการจั ด การสิง่ แวดล ้อมไปใช ้อย่า ง
เหมาะสมหรือไม่

การตรวจประเมินในระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อมในทางปฏิบ ัติ


การตรวจประเมินในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมมักดาเนินการหนึง่ หรือสองครัง้ ต่อปี อาจจาแนกการตรวจประเมิน
เป็ นการตรวจประเมินภายในหรือภายนอก โดยปกติแล ้วการตรวจประเมิน ภายในจะเกีย ่ วข ้องกับบุคลากรทีไ่ ด ้รับการ
ฝึ กอบรมภายในส่วนงานทีถ
่ ูกตรวจประเมินหรือจากส่วนงานอืน
่ ๆภายในองค์กร บางครัง้ อาจว่าจ ้างผู ้ตรวจประเมินมือ
อาชีพจากภายนอกมาร่วมตรวจด ้วย

การตรวจประเมินภายนอกอาจจะเป็ นผู ้ให ้ใบรับรองซึง่ จะประเมินความเหมาะสมของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม


เพือ ่ ทาให ้มั่นใจว่าระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมยังคงมีความเหมาะสมอยู่ นอกจากนั น
่ ออกใบรับรอง ISO เพือ ้ มีการ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 10 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

ตรวจติดตามผลเป็ นระยะทุก 6 เดือน หรือทุก 1 ปี

่ วก ับการตรวจประเมินระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อม


รายละเอียดบางประการเกีย
บุคคลทีม
่ บ ่ าคัญในการตรวจประเมินระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม ได ้แก่
ี ทบาทและความรับผิดชอบทีส

• ผูถ้ ก ู ตรวจประเมิน- องค์กรหรือส่วนงานทีถ ่ กู ประเมิน(มักจะเป็ นลูกค ้าด ้วย)


• ทีมงานตรวจประเมิน-บุคคลทีม ่ ค
ี ณ
ุ สมบัตติ ามกาหนด ขึน ้ ตรงกับหัวหน ้าผู ้ตรวจประเมินซึง่ เป็ นผู ้นาการ
ตรวจประเมิน
• ผูจ ่ นงาน ห ัวหน้างานหรือพน ักงาน-รับผิดชอบต่อการให ้ความร่วมมือในการตรวจประเมิน การให ้
้ ัดการสว
ข ้อมูลตามทีผ ่ ู ้ประเมินร ้องขอ
• ผูบ ้ ริหารระด ับสูงของสว่ นงาน- รับผิดชอบในการมอบหมายให ้มีการปฏิบต ั ติ ามผลการตรวจประเมิน

การแปลความหมายของข้อกาหนด ISO 14001


ข ้อกาหนด กาหนดว่า องค์กรต ้องจัดทากาหนดการตรวจประเมินภายในระบบ การจัดการสิง่ แวดล ้อมเพือ ่ ตัดสิน
ว่าระบบยั งคงเป็ นไปตามข ้อกาหนดทั ง้ หมดใน ISO 14001 หรือไม่ และปรั บปรุงให ้ทั นสมัย อยู่เสมอ กล่าวคือ)
ขอบเขตของการตรวจประเมินแต่ละครัง้ ไม่ได (บารุงรักษาอย่างเหมาะสม้ ้ครอบคลุมทุกข ้อกาหนดของมาตรฐาน
หรือ ไม่ จ าเป็ นต ้องตรวจประเมิน ทุ ก หน า้ ที่ใ นส่ว นงาน แต่ไ ด ้ก าหนดว่า ต ้องให ้ความส าคั ญ กั บ ประเด็ น ปั ญหา
สิง่ แวดล ้อมทีส่ าคัญโดยการพิจารณาจากผลการตรวจประเมินครัง้ ทีผ ่ า่ นมา

องค์กรจาเป็ นต ้องจัดทากาหนดการตรวจประเมินทีม ่ ค
ี วามสมดุลระหว่างความเข ้มงวดกับ ความยืดหยุ่น เพือ
่ ให ้
สามารถตรวจสอบเรื่องทีส ่ าคัญ ทีส
่ ุดได ้ทันเวลา ควรมีการตรวจประเมินข ้อกาหนดทัง้ หมดของมาตรฐานทุกๆปี
ในทางปฏิบตั ิ การตรวจประเมินข ้อกาหนด ISO 14001 และพืน ่ ว่ นงาน
้ ทีส

ข้อกาหนดของขนตอนการปฏิ
ั้ บ ัติการตรวจประเมิน
ขัน
้ ตอนการตรวจประเมินภายในควรมีข ้อมูลเหล่านี้ :

• ขอบเขต ความถี(่ เช่น กาหนดการ) วิธกี าร


• บทบาทและความรับผิดชอบของสมาชิกทีมงานตรวจประเมิน ผู ้จัดการและพนักงาน
• คุณวุฒแิ ละประสบการณ์ของสมาชิกทีมงานตรวจประเมินและหัวหน ้าผู ้ตรวจประเมิน
• ออกแบบและจัดทารายการตรวจเช็คสาหรับการตรวจประเมิน
• รูปแบบของรายงานการตรวจประเมิน การแจกจ่าย และกาหนดการทบทวนและการตอบในประเด็นทีต ่ รวจ
พบ
• กาหนดความรับผิดชอบ(ใคร อย่างไร)สาหรับการรายงานสิง่ ทีต
่ รวจพบจากการประเมินให ้กับผู ้บริหาร
ระดับสูง
• กาหนดความรับผิดชอบสาหรับการจัดทาแผนปฏิบต ั ก
ิ ารและการนาไปปฏิบต ่ จัดการกับสิง่ ทีต
ั เิ พือ ่ รวจพบ
(เช่น ปฏิบต
ั ก
ิ ารป้ องกันและแก ้ไข)

การตรวจประเมินการปฏิบ ัติตามข้อกาหนดด้านสงิ่ แวดล้อม


เพือ่ ให ้เป็ นไปตามข ้อกาหนด ISO 14001 องค์กรต ้องชักนาให ้มีการตรวจประเมินเป็ นระยะในเรือ
่ งการปฏิบต
ั ต
ิ าม
ข ้อกาหนดต่างๆดังนี:้

• กฎหมาย กฎระเบียบและใบอนุญาตทีเ่ กีย ่ วกับสิง่ แวดล ้อมทัง้ ในระดับชุมชน ท ้องถิน


่ จังหวัด ภูมภ
ิ าคและ
ระดับประเทศ
• ข ้อกาหนดของการปฏิบต ั อ
ิ ย่างสม่าเสมอ
• นโยบายบริษัท แผนงานและขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ าน
• วิธกี ารจัดการสิง่ แวดล ้อมทีด่ ต
ี ามประเภทของอุตสาหกรรมขององค์กร

หลักการและขัน ้ ตอนการปฏิบต
ั ข ้ ะเหมือนกับการตรวจประเมินในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
ิ องการตรวจประเมินนีจ
แม ้ว่าขอบเขต มาตรฐาน วัตถุประสงค์และรายการตรวจเช็คต่างๆจะแตกต่างกัน

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 11 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

สรุปประเด็นสาค ัญ
• การตรวจติดตามภายในของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมขององค์กรควรมีการดาเนินการตามเวลาทีว่ างแผนไว ้
เพือ ่ กาหนดและให ้ข ้อมูลต่อฝ่ ายบริหารว่าระบบสามารถสอดคล ้องกับการจัดการตามแผนและมีการ
ดาเนินการรวมถึงรักษาอย่างเหมาะสมหรือไม่โดยสามารถใช ้ผลในการบ่งชีโ้ อกาสสาหรับการปรับปรุง
ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมขององค์กรได ้
• องค์กรควรจัดตัง้ โปรแกรมตรวจติดตามภายในเพือ ่ นาการวางแผนและดาเนินการตรวจติดตามภายใน
รวมถึงบ่งชีก ้ ารตรวจติดตามทีจ ่ าเป็ นในการบรรลุวต ั ถุประสงค์ของโปรแกรมตรวจติดตาม โปรแกรมตรวจ
ติดตามและความถีใ่ นการตรวจติดตามภายในควรอยูบ ่ นพืน
้ ฐานของหลักธรรมชาติของการดาเนินงานของ
องค์กรในด ้านประเด็นสิง่ แวดล ้อมและผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อมทีเ่ ป็ นไปได ้ ความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้อง
ค ้นหา ผลการตรวจติดตามภายในและภายนอกครัง้ ก่อน รวมถึงปั จจัยต่าง ๆ ทีเ่ กีย ่ วข ้อง (ตัวอย่างเช่น การ
เปลีย ่ นแปลงทีก ่ ระทบองค์กร ผลการเฝ้ าระวังและวัดผลรวมถึงสถานการณ์ฉุกเฉินครัง้ ก่อน) และควรมีการ
พิจารณากระบวนการจ ้างผู ้รับเหมาทีม ่ เี งือ
่ นไขการตรวจติดตามเป็ นการควบคุมในการวางแผนโปรแกรม
ตรวจติดตาม
• องค์กรควรกาหนดความถีใ่ นการตรวจติดตามภายในโดยโปรแกรมตรวจติดตาม ทีซ ่ งึ่ สามารถ ครอบคลุม
หนึง่ ปี หรือหลาย ๆ ปี และสามารถประกอบด ้วยการตรวจติดตามหนึง่ ครัง้ หรือมากกว่านี้
• แต่ละครัง้ ของการตรวจติดตามภายในไม่จาเป็ นต ้องครอบคลุมระบบทัง้ หมด ตราบเท่าทีโ่ ปรแกรมตรวจ
ติดตามทาให ้มัน ่ ใจว่าหน่วยงานและหน ้าทีข ่ ององค์กรทัง้ หมด ส่วนประกอบของระบบ และขอบเขตระบบ
บริหารสิง่ แวดล ้อมแบบเต็มจะมีการตรวจติดตามเป็ นระยะ
• การตรวจติดตามภายในควรมีการวางแผนและดาเนินการด ้วยวัตถุประสงค์เดียวและผู ้ตรวจติดตามหรือทีม
ตรวจติดตามบางส่วนทีม ่ ผ ่ วชาญด ้านเทคนิคให ้การช่วยเหลือตามความเหมาะสมซึง่ คัดเลือกจาก
ี ู ้เชีย
ภายในองค์กรหรือจากแหล่งภายนอก ความชานาญโดยรวมของผู ้เชีย ่ วชาญควรมีเพียงพอต่อการบรรลุ
วัตถุประสงค์ในการตรวจติดตามและเพือ ่ บรรลุขอบเขตการตรวจติดตามเฉพาะรวมถึงให ้ความมั่นใจตาม
ระดับความน่าเชือ ่ ถือทีแ ่ สดงในผลลัพธ์ได ้
• ผลการตรวจติดตามภายในสามารถแสดงในรูปแบบของรายงานตามพืน ้ ฐานการตรวจพิสจ ู น์และใช ้เพือ

แก ้ไขหรือป้ องกันข ้อบกพร่องเฉพาะหรือเพือ ่ บรรลุวต
ั ถุประสงค์ของโปรแกรมตรวจติดตามหนึง่ ข ้อหรือ
มากกว่านัน ้ และเพือ ่ ให ้ปั จจัยนาเข ้าต่อการทบทวนของฝ่ ายบริหาร
• การตรวจประเมินด ้านสิง่ แวดล ้อมเป็ นการตรวจเช็คเป็ นระยะในเรือ ่ งระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมขององค์กร
หรือสถานภาพของการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย และเป็ นตัวเร่งให ้มี การปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
อย่างต่อเนือ ่ ง
• ในขัน ้ ตอนการปฏิบัตก ิ ารตรวจประเมินต ้องระบุบทบาท ความรับผิดชอบ ขอบเขต เกณฑ์ วัตถุประสงค์
กาหนดการ เกณฑ์การเลือกผู ้ตรวจประเมิน ข ้อกาหนดสาหรับการรายงาน การทบทวน และการดาเนินการ
เมือ่ ตรวจพบสิง่ ทีต ่ ้องจัดการจากการตรวจประเมิน

การตรวจประเมิน
1. ตรวจสอบว่า การตรวจประเมิน ได ้มีการกระทา โดยคานึงถึงความสาค ัญด้านสงิ่ แวดล้อมของการ
ปฏิบ ัติงานนนๆหรืั้ อไม่ ไม่วา่ การวางโปรแกรมการตรวจ การกาหนดผู ้ตรวจ การจัดทารายการคาถาม
2. ตรวจทานว่าการตรวจติดตามภายใน ครอบคลุม ทัง้ “กิจกรรมการปฏิบต ั ก
ิ ารใดๆในองค์กร (planned
arrangements)” และ “ข ้อกาหนด ISO14001”
3. ตรวจดูผลของการตรวจประเมินภายใน รอบทีผ ่ า่ นๆมา ว่าได ้มีการกระทาการตรวจประเมินภายใน ที่
สามารถ ดักจับปั ญหา ระบุโอกาสในการปรับปรุงให ้กับองค์กรได ้หรือไม่
4. ผู ้ทีร่ ับผิดชอบในการตรวจประเมินสิง่ แวดล ้อมในกระบวนการผลิต มีความรู ้ในการป้ องกันมลพิษ Cleaning
Technology ข ้อกาหนด กฎหมาย ได ้ดีเพียงไร
5. ตรวจทาน รายการคาถาม นิยามของการผิดข ้อกาหนด ได ้มีการกาหนด ระบุ จัดทาไว ้ เพือ ่ เอือ
้ อานวยให ้
ผู ้ตรวจติดตามภายใน สามารถทาการตรวจประเมินเพือ ่ ให ้สามารถระบุอากาศในการปรับปรุงได ้อย่าง
เหมาะสมหรือไม่ โดยพิจารณาจากความสามารถ ระดับของผู ้ใช ้รายการคาถาม
6. ตรวจทานเอกสาร ขัน ้ ตอนปฏิบต ั ข
ิ องการตรวจประเมินต ้องจัดทาขึน ้ ได ้มีการนาไปปฏิบต
ั ิ และคงรักษาไว ้
อย่างเหมาะสมหรือไม่

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 12 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

9.3 การทบทวนฝ่ายบริหาร
9.3 การทบทวนฝ่ายบริหาร

ผู ้บริหารระดับสูงต ้องทาการทบทวนระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมขององค์กร,ตามแผนทีไ่ ด ้วางแผนไว ้,


เพือ ่ ให ้มั่นใจการเหมาะสมอย่างต่อเนือ ่ ง,ความเพียงพอ และการมีประสิทธิผล
การทบทวนฝ่ ายบริหาร ต ้องคานึงถึง
a) สถานะของการดาเนินการจากทบทวนก่อนหน ้า
b) การเปลีย ่ นแปลงใน
1)ปั จจัยภายนอกและภายในทีเ่ กีย ่ วข ้องกับระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม
2)ความจาเป็ นและความคาดหวังของผู ้มีสว่ นได ้เสีย, รวมถึงข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต
ั ต
ิ าม
3)ประเด็นด ้านสิง่ แวดล ้อมทีม ่ นี ัยสาคัญ
4)ความเสีย ่ งและโอกาส
c) ขอบเขตทีว่ ต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมได ้บรรลุ
d) สารสนเทศด ้านสมรรถนะสิง่ แวดล ้อมขององค์กร, รวมทัง้ แนวโน ้ม
1)สิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนดและดาเนินการแก ้ไข
2)ผลการเฝ้ าระวังและการวัด
3)การบรรลุผลกับข ้อผูกพันทีต ่ ้องปฏิบต ั ต
ิ าม
4)ผลการตรวจประเมิน
e) ความเพียงพอของทรัพยากร
f) การสือ ่ สารกับผู ้มีสว่ นได ้เสียภายนอก, รวมถึงคาร ้องเรียน
g) โอกาสสาหรับการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง

ผลลัพธ์ของการทบทวนฝ่ ายบริหารต ้องรวมถึง:


— ผลสรุปทีเ่ กีย ่ วกับความเหมาะสม, เพียงพอ และประสิทธิผลของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมอย่าง
ต่อเนือ่ ง
— การตัดสินใจทีเ่ กีย ่ วข ้องกับโอกาสการปรับปรุงอย่างต่อเนือ
่ ง
— การตัดสินใจเกีย ่ วกับความจาเป็ นใดๆในการเปลีย ่ นแปลงระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม, รวมถึง
ทรัพยากร
— การดาเนินกิจกรรม,ถ ้าจาเป็ น,เมือ ่ วัตถุประสงค์ไม่บรรลุ
— โอกาสในการปรับปรุงการควบรวมระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อมกับกระบวนการทางธุรกิจอืน ่ ๆ, ถ ้า
จาเป็ น
— สิง่ ทีเ่ กีย
่ วของใด ๆ กับทิศทางกลยุทธ์ขององค์กร
องค์กรต ้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศไว ้เป็ นหลักฐานของผลลัพธ์จากการทบทวนฝ่ ายบริหาร

จุดประสงค์ของการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
ต ้องมีก ารจั ด ท าก าหนดการทบทวนของฝ่ ายบริห ารเพื่อ ประเมิน ระบบการจั ด การสิง่ แวดล ้อม ซึง่ เป็ นโอกาสให ้
ผู ้บริห ารระดับสูงได ้ยืนยันในข ้อตกลงการปรับปรุงระบบการจั ดการสิง่ แวดล ้อมอย่างต่อเนื่อง และเป็ นการแสดง
ความเป็ นผู ้นาด ้านสิง่ แวดล ้อม

คาอธิบาย
ตามช่วงเวลาทีก ่ าหนด ฝ่ ายบริหารสูงสุดขององค์กรควรดาเนินการทบทวนระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมเพือ่ ประเมินการ
พัฒนาอย่างยั่งยืนต่อเนือ
่ ง ความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบ การทบทวนนีค ้ วรครอบคลุมประเด็น
สิง่ แวดล ้อมของกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ทีอ ่ ายในขอบเขตของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม
่ ยูภ

การทบทวนของฝ่ ายบริหารสามารถทาร่วมกันกับกิจกรรมบริหารแบบอืน ่ ๆ (ตัวอย่างเช่น การประชุมของ


คณะกรรมการ การประชุมการดาเนินงาน) หรือสามารถดาเนินการเป็ นกิจกรรมต่างหาก การทบทวนของฝ่ ายบริหาร
สามารถประสานกับวงจรการวางแผนและการตัง้ งบประมาณขององค์กรรวมถึงประสิทธิผลการทางานด ้าน
สิง่ แวดล ้อมสามารถนามาประเมินในช่วงการทบทวนของฝ่ ายบริหารสูงสุดในด ้านประสิทธิผลการทางานของธุรกิจ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 13 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

่ ให ้การตัดสินลาดับความสาคัญและทรัพยากรสาหรับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมจะมีความสมดุลกับการ


ทัง้ หมดเพือ
จัดลาดับความสาคัญทางธุรกิจอืน ่ ๆ และความต ้องการทรัพยากร

ปั จจัยนาเข ้าสาหรับการทบทวนของฝ่ ายบริหารสามารถรวม


— ผลการตรวจติดตามและการประเมินการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง
— การสือ ่ สารจากผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียภายนอกโดยรวมถึงข ้อร ้องเรียนด ้วย
— ประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กร
— ขอบเขตทีม ่ ก
ี ารบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมขององค์กร
— สถานะของปฏิบต ั ก
ิ ารแก ้ไข
— ปฏิบต ั ก ิ ารติดตามจากการทบทวนของฝ่ ายบริหารครัง้ ก่อน
— สถานการณ์การเปลีย ่ นแปลงทีร่ วม
— บริบทขององค์กร
— การเปลีย ่ นแปลงในกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการต่าง ๆ ขององค์กร
— ผลการประเมินประเด็นสิง่ แวดล ้อมทีม ่ น
ี ัยสาคัญและความเสีย ่ งและโอกาสทีต ่ ้องค ้นหาจากการพัฒนาใหม่
หรือทีต ่ ามแผน
— การเปลีย ่ นแปลงในพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต ั ใิ ห ้สอดคล ้องขององค์กร
— มุมมองของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย
— ความทันสมัยของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
— บทเรียนทีเ่ รียนรู ้จากสถานการณ์กรณีฉุกเฉิน
— ความเพียงพอของทรัพยากร
— คาแนะนาในการปรับปรุง

ผลลัพธ์จากการทบทวนระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมควรรวมการตัดสินใจด ้าน


— ความเหมาะสม ความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบ
— โอกาสสาหรับการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง
— ความต ้องการในการเปลีย ่ นแปลงต่อทรัพยากรทางกายภาพ บุคคลและทางการเงิน
— ปฏิบต ั ก ิ ารหากจาเป็ นเมือ ่ ไม่สามารถบรรลุวต ั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม
— ปฏิบต ั ก ิ ารเกีย่ วกับการเปลีย ่ นแปลงทีเ่ ป็ นไปได ้ต่อนโยบายด ้านสิง่ แวดล ้อม วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อม
และส่วนประกอบอืน ่ ๆ ของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม
— ปฏิบต ั ก ิ ารเกีย่ วกับการปรับปรุงการบูรณาการของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมกับกระบวนการทางธุรกิจอืน ่ ๆ
หากจาเป็ น
— นัยยะของทิศทางเชิงกลยุทธ์ขององค์กร


ตัวอย่างเอกสารข ้อมูลทีเ่ ก็บเป็ นหลักฐานของผลการทบทวนของฝ่ ายบริหารจะรวมถึงสาเนาวาระการประชุม รายชือ
ผู ้เข ้าร่วม เอกสารการนาเสนอการตัดสินใจของฝ่ ายบริหารทีบ
่ น
ั ทึกในรายงาน รายงานการประชุมหรือระบบการ
ตรวจสอบย ้อนกลับ

ฝ่ ายบริหารสูงสุดสามารถตัดสินว่าใครควรเข ้าร่วมในการทบทวนของฝ่ ายบริหาร โดยปกติ จะรวมถึงเจ ้าหน ้าทีด ่ ้าน


สิง่ แวดล ้อม ผู ้จัดการของหน่วยงานสาคัญ และฝ่ ายบริหารสูงสุด ทัง้ นี้ ตัวแทนของระบบบริหารอืน ่ ๆ (ตัวอย่างเช่น
คุณภาพ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การต่อเนือ ่ งธุรกิจ) อาจต ้องเข ้าร่วมเพือ
่ จุดประสงค์ของการบูรณาการด ้วย

ภาพรวมของการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
ก าหนดการทบทวนระบบการจั ดการสิง่ แวดล ้อมโดยฝ่ ายบริหารไม่ควรน ้อยกว่า 1 ครั ง้ ต่อปี และการทบทวนควร
เกีย
่ วข ้องกับผู ้บริหารระดับสูงทุกคน (ผู ้บริหาร, ผู ้ทาการตัดสินใจ)ในส่วนงาน รวมทัง้ หัวหน ้าเจ ้าหน ้าทีฝ
่ ่ ายบริหาร
หรือผู ้จัดการทั่วไป และตัวแทนฝ่ ายจัดการด ้านสิง่ แวดล ้อม

ตัวแทนฝ่ ายจัดการด ้านสิง่ แวดล ้อมควรเตรียมเอกสารโดยสรุปเพือ


่ ให ้ผู ้บริหารได ้อ่านทบทวนเตรียมตัวก่อ นเข ้า
ประชุม ซึง่ ควรมีข ้อมูลต่างๆดังนี้ :

• นโยบายสิง่ แวดล ้อม


• บทสรุปของสิง่ ทีต
่ รวจพบจากการตรวจประเมินภายในและภายนอก
• สรุปข ้อบกพร่องของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม และการปฏิบต
ั ก
ิ ารป้ องกันและแก ้ไข

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 14 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

• รายการวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ความคืบหน ้า และกาหนดเวลาการบรรลุผล


• หัวข ้อการประชุมทบทวนโดยฝ่ ายบริหารและประเด็นสาคัญทีจ
่ ะอภิปราย

การประชุมควรดาเนินการตามหัวข ้อการประชุม และเปิ ดโอกาสให ้มีการอภิปราย และทาการตัดสินใจอย่างเพียงพอ


ตัวอย่างหัวข ้อการประชุม ได ้แก่ :
• สรุปประเด็นสาคัญของสรุปผลการประชุมทีจ ่ ัดทาโดยตัวแทนฝ่ ายจัดการด ้านสิง่ แวดล ้อม
• การอภิปรายโดยผู ้บริหารระดับสูงในเรือ ่ งความเหมาะสมของนโยบายด ้านสิง่ แวดล ้อมและวัตถุประสงค์และ
เป้ าหมาย โดยพิจารณาถึงความเปลีย ่ นแปลงของปั จจั ยด ้านความมุ่งหมายของธุร กิจ การผลิต ข ้อกาหนด
กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
• การสือ ่ สารและข ้อร ้องเรียนจากหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้อง
• ชนิดและแนวโน ้มของข ้อบกพร่องในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• ประสิทธิผลของการปฏิบต ั ก
ิ ารป้ องกันและแก ้ไขโดยพิจารณาจากข ้อกาหนดกฎหมาย
• ทรัพยากรทีต ่ ้องการสาหรับการดารงไว ้และการปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• วิสย ั ทัศน์การจัดการสิง่ แวดล ้อมทีร่ เิ ริม
่ ขึน
้ ทีส่ ว่ นงาน

ควรมีก ารบัน ทึก ผลการประชุม โดยระบุผู ้เข ้าร่ว มประชุม ค าอภิป ราย และการตัด สินใจจากการทบทวนโดยฝ่ าย
บริหาร จากข ้อสรุปของการประชุมควรมีการกาหนดแผนปฏิบัตก ิ ารพร ้อมด ้วยผู ้รับผิดชอบและกาหนดการแล ้วเสร็จ
ซึง่ จะเป็ นส่วนหนึง่ ของการปรับปรุงแผนงานการจัดการสิง่ แวดล ้อมให ้ทันสมัย ควรมีกาหนดวันทีข ่ องการทบทวนครัง้
ต่อไปเพือ ่ ให ้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนือ
่ ง

สรุปประเด็นสาค ัญ
ผู ้บริหารระดับสูงต ้อง :

• ทบทวนการจัดการอย่างสม่าเสมอเพือ ่ ประเมินความเหมาะสม ความพอเพียง และความมีประสิทธิผลของ


ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
• ทาการตัดสินใจอย่างระมัดระวังจากการทบทวน
• ผลลัพธ์จากการตรวจประเมินทางสิง่ แวดล ้อม(
• ข ้อบกพร่อง และการปฏิบต ั ก
ิ ารป้ องกันและแก ้ไข (
• ความก ้าวหน ้าของงานตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย (
• ข ้อมูลอืน ่ วข ้องกับระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม (
่ ๆทีเ่ กีย

การทบทวนโดยฝ่ ายบริหารต ้องพิจารณาการเปลีย


่ นแปลงในเรือ
่ ง:

• ข ้อกาหนดทางกฎหมายด ้านสิง่ แวดล ้อม


• สภาพเศรษฐกิจและธุรกิจ
• ผลิตภัณฑ์และบริการขององค์กร
• เทคโนโลยี
• ความคิดเห็นของสาธารณชนและความต ้องการของสังคม
ผู ้บริหารระดับสูงต ้องจัดสรรทรัพยากรทีจ ่ คงรักษาระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมไว ้และทาให ้
่ าเป็ นอย่างเพียงพอเพือ
เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง

การตรวจประเมิน
1. ตรวจสอบว่า การทบทวนของฝ่ ายบริหารนี้ ได ้มี การระบุโอกาสในการปรับปรุง และ/หรือใช ้เพือ
่ การ
ควบคุมระบบ EMS ในภาพรวม จริง!!
2. ตรวจสอบว่า ผู ้บริหารระดับสูงได ้ทาการทบทวนระบบ EMS จริงหรือไม่ โดยการทาการสัมภาษณ์
3. ตรวจสอบว่า ผลลัพธ์จากการทบทวนของฝ่ ายบริหาร นัน
้ มีการตัดสินใจ และการดาเนินการใดๆ ที่
เหมาะสม โดยการตรวจทานบันทึกการทบทวนและบันทึกทีเ่ กีย่ วข ้อง
4. ตรวจสอบว่า การทบทวนของฝ่ ายบริหารนี้ มีการระบุ/ ประเมินโอกาสในการปรับปรุง และความจาเป็ นใน
่ นส่วนหนึง่ ส่วนใดของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม บางไหม อย่างไร
การปรับเปลีย

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 15 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL 9.0

5. ระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมยังคงมีความเหมาะสมอย่างต่อเนือ


่ ง มีความเพียงพอ และมีประสิทธิผล การ
ทบทวนนีต
้ ้องรวมไปถึงการ
6. ตรวจสอบว่า ระยะเวลา รอบเวลา ของการทบทวนเหมาะสม
7. ตรวจสอบว่า หลักฐานแนบท ้ายการทบทวนว่า ข ้อมูลนาเข ้าในการทบทวน มีการเตรียมการไว ้ เพียงพอ
เหมาะสม สอบย ้อนได ้ และครอบคลุม ชนิดประเภทของข ้อมูลนาเข ้าตามทีก
่ าหนด
END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 16 of 16 11 ธันวาคม 2563


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL10.0

ISO 14001:2015
: ISO14001 Guide Book
CL10.0

Just for Customer


Guide Series

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 1 of 7 15 December 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL10.0

Contents
10 การปรับปรุง .............................................................................................................................3
จะทาการปฏิบต ั ก
ิ ารป้ องกันและแก ้ไขอย่างไร.................................................................................... 4
สรุปประเด็นสาคัญ...................................................................................................................... 5
10.3 การปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ ง ........................................................................................................7

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 2 of 7 15 December 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL10.0

10 การปร ับปรุง
10 การปร ับปรุง

10.1 ทว่ ั ไป
องค์กรต ้องพิจารณาโอกาสสาหรับการปรับปรุง (ดู 9.1, 9.2, และ 9.3) และดาเนินกิจกรรมทีจ
่ าเป็ นเพือ
่ ให ้
่ งุ่ หวังของระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม.
บรรลุผลลัพธ์ตามทีม

10.2 สงิ่ ทีไ่ ม่เป็นไปตามข้อกาหนดและกิจกรรมการแก้ไข


่ เกิดสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนด, องค์กรต ้อง
เมือ
a) ตอบสนองต่อสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนด และ, เท่าทีส ่ ามารถได ้
1) ทากิจกรรมเพือ ่ ควบคุมและแก ้ไข
2) ดาเนินการกับผลทีต ่ ามมา, รวมถึงการเยียวยาผลกระทบสิง่ แวดล ้อมด ้านลบ
b) ประเมินความจาเป็ นสาหรับกิจกรรมเพือ ่ กาจัดสาเหตุของสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนด, เพือ

ไม่ให ้เกิดขึน้ ซา้ หรือเกิดขึน ้ ทีอ่ น
ื่ ๆ, โดย
1) ทบทวนสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนด
2) พิจารณาสาเหตุของสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนด
3) พิจารณาว่ามีสงิ่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนดทีค ่ ล ้ายคลึงกันอยู่ , หรืออาจมีโอกาสเกิด
c) ดาเนินการแก ้ไขทีจ ่ าเป็ น
d) ทบทวนประสิทธิผลของการดาเนินการแก ้ไขทีไ่ ด ้กระทา
e) ทาการเปลีย ่ นแปลงระบบการบริหารสิง่ แวดล ้อม, ถ ้าจาเป็ น
การดาเนินการแก ้ไขต ้องเหมาะสมกับความสาคัญของผลกระทบของสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนดทีเ่ กิด ,
รวมถึงผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม
องค์กรต ้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศไว ้เป็ นหลักฐานของ
— ลักษณะของสิง่ ทีไม่เป็ นไปตามข ้อกาหนดและการดาเนินการใด ๆ ต่อมา
— ผลของการดาเนินการแก ้ไขใดๆ

ทว่ ั ไป

ขึน
้ อยูก่ บั ธรรมชาติของความไม่สอดคล ้องซึง่ องค์กรต ้องจัดทาระเบียบปฏิบตั เิ พือ
่ พิจารณาถึงความสอดคล ้องกับ
ระบบฯ ทีอ ่ งค์กรได ้กาหนดขึน
้ องค์กรอาจจะมีการกาหนดแผนอย่างกว ้างๆ ในการจัดการกับปั ญหาทีพ ่ บ ซึง่ ปั ญหา
ทีเ่ กิดขึน ้ และระยะยาว ซึง่ ต ้องเหมาะสมกับระดับปฏิบต
้ อาจเป็ นกิจกรรมการแก ้ไขในระยะสัน ั ต
ิ า่ งๆ

ข้อบกพร่องคืออะไร

“มีข ้อบกพร่อ งในระบบการจั ด การสิง่ แวดล ้อม” ค ากล่า วนี้ไ ม่ม ีอ งค์ก รใดต ้องการได ้ยิน จากผู ้ตรวจประเมิน หรือ
ผู ้จัดการ จะเห็นได ้ว่าไม่มใี ครจงใจจะทาให ้เกิดข ้อบกพร่อง แต่ว่าถ ้ามองใน แง่บวกการค ้นพบข ้อบกพร่อ งคือ
โอกาสทีอ ่ งค์กรจะได้ปร ับปรุงระบบการจ ัดการสงิ่ แวดล้อมและ ผลการดาเนินงานด้านสงิ่ แวดล้อมโดยรวม
ในมุมมองของผู ้ตรวจประเมิน

ข ้อบกพร่องมี 2 ชนิด คือข ้อบกพร่องหลักและข ้อบกพร่องเล็กน ้อย

ข้อบกพร่องหล ัก

่ าให ้เกิดผลเสียร ้ายแรงต่อความมั่นคงและความมีประสิทธิผลของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม มี


เป็ นข ้อบกพร่องทีท
ตัวอย่างดังนี้ :

• ข ้อก าหนด ISO 14001 ที่ไ ม่ ไ ด ้น าไปปฏิบั ต ิ เช่น ขาดแผนงานการติด ตามตรวจสอบการปฏิบั ต ต


ิ าม
ข ้อก าหนดอย่ า งมีป ระสิท ธิผ ล หรือ ความล ้มเหลวของการจั ด ท าเอกสารก าหนดบทบาทและความ
รับผิดชอบในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 3 of 7 15 December 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL10.0

• ไม่ได ้จั ดทาขัน


้ ตอนการปฏิบัตงิ าน เช่น ไม่มข
ี ัน
้ ตอนการตอบข ้อซักถามและข ้อร ้องเรียนจากหน่ วยงาน
ภายนอก หรือขาดขัน ้ ตอนการควบคุมเอกสารทีม ่ ปี ระสิทธิผล
• ความล ้มเหลวในการดาเนินการป้ องกันและแก ้ไขข ้อบกพร่อง
• ข ้อบกพร่องเล็กน ้อยหลายๆข ้อรวมกัน

ข้อบกพร่องเล็กน้อย

เป็ นข ้อข ้อบกพร่องทีไ่ ม่สง่ ผลเสียหายรุนแรงต่อการดาเนินงานของระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม เช่น :

• มีบค ุ คลจานวน 1 คนหรือ2-3 คน(จากจานวนมาก)ทีไ่ ม่ปฏิบต ั ต


ิ ามขัน้ ตอนการปฏิบต ั ท
ิ ถ ู ต ้องซึง่ อาจส่งผล
ี่ ก
กระทบสิง่ แวดล ้อม หรือทาให ้การปรับปรุงขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านให ้ทันสมัยตามกาหนดการขององค์กร
ล ้มเหลว
• ขัน้ ตอนการปฏิบต ั งิ านทีต่ ้องการการปรับปรุงอีกเพียงเล็กน ้อยเพือ ่ ให ้เกิดประสิทธิผล เช่น ไม่มก ี ารปรับปรุง
รายการกฎหมาย ในช่ว ง 6 เดือ นที่ผ่า นมา หรือ ผู ้รั บ เหมาไม่ไ ด ้รั บข ้อมูล ตามข ้อก าหนดของระบบการ
จัดการสิง่ แวดล ้อม
• การบันทึกไม่สมบูรณ์ เช่น บันทึกการซ่อมบารุงเครือ ่ งจักรบาบัดกากของเสียขาดหายไป (แต่ไม่มห ี ลักฐาน
ว่าเครือ ้ เสีย ซึง่ หากเครือ
่ งจักรนัน ่ งจักรเสียก็จะเป็ นข ้อบกพร่องหลัก) หรือการบันทึกข ้อมูลเกีย ่ วกับผู ้ทีเ่ ข ้า
รั บ การฝึ กอบรมเรื่อ งความตระหนั ก ในระบบการจั ด การสิง่ แวดล ้อมไม่ส มบูร ณ์ (แต่ไ ด ้จั ด การฝึ กอบรม
มิฉะนัน ้ แล ้วจะกลายเป็ นข ้อบกพร่องหลัก)

การดาเนินการป้องก ันและแก้ไขคืออะไร

การแปลความหมายนิยามของการป้ องกันและการแก ้ไขมีทแ ี่ ตกต่างกันอยู่เล็กน ้อย ความหมายอย่างเป็ นทางการ


ตามมาตรฐาน ISO การปฏิบั ต ิก ารแก ้ไข คือ การกระท าหลั ง จากเกิด ความบกพร่ อ งหรือ เกิด อุ บั ต ิ ก ารณ์ ท าง
สิง่ แวดล ้อมหรือ เหตุฉุ ก เฉิน ขึน้ เป็ นการกระท าเพื่อ ป้ องกัน การเกิด เหตุก ารณ์ เ ดิม ซ้ า หรือ เกิด ข ้อบกพร่ อ งหรือ
สถานการณ์ฉุกเฉินซ้าอีก ส่วนการปฏิบัตก ิ ารป้ องกัน ตามความหมายของ ISO หมายถึง การกระทาล่วงหน ้าเพือ ่
ป้ องกันข ้อบกพร่องทีอ
่ าจเกิดขึน ้

สาหรับคานิยามทีม ่ ผ ี ู ้อืน
่ ให ้ไว ้กล่าวว่า การปฏิบต
ั ก
ิ ารแก ้ไขคือการปฏิบตั ท
ิ ันทีหลังค ้นพบข ้อบกพร่องหรืออุบต ั ก
ิ ารณ์
หรือเหตุฉุกเฉินเพือ ่ แก ้ปั ญหาเฉพาะหน ้าและควบคุมสถานการณ์ให ้ได ้ ส่วนการปฏิบัตก ิ ารป้ องกัน คือ การดาเนิน
ตามขัน้ ตอนเพือ ่ ค ้นหาสาเหตุของปั ญหาและนาไปเปลีย ่ นแปลงระบบเพือ ่ กาจั ดความเสีย ่ งในการเกิดปั ญหาซ้า การ
ปฏิบัตกิ ารป้ องกันอาจเป็ นการกาจัดต ้นตอข ้อบกพร่องหรืออุบัตก ิ ารณ์ทอ ี่ าจเกิดขึน
้ ด ้วยเช่นเดียวกับคานิยามของ
ISO 14001

คานิยามทัง้ สองกลุม
่ นัน
้ มีความมุง่ หมายเหมือนกันคือ การปฏิบต
ั ก
ิ ารป้ องกันและแก ้ไขนั่นคือ :

• เป็ นสิง่ ทีส


่ าคัญทีจ ่ งในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม
่ ะช่วยให ้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนือ
• ต ้องกระทาทันที
• ต ้องอยูบ ่ นพืน้ ฐานของการทดสอบและความเข ้าใจสาเหตุของปั ญหา

จะทาการปฏิบ ัติการป้องก ันและแก้ไขอย่างไร


ขัน
้ ตอนต่อไปนีส ้ ามารถใช ้ระบุ สืบสวนและวิเคราะห์หาสาเหตุ แล ้วทาการตัดสินใจและนาไปปฏิบัตก
ิ ารป้ องกันและ
แก ้ไขสาหรับข ้อบกพร่องในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อม

1. ระบุข ้อบกพร่องในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมจากการตรวจตราเป็ นประจา หรือการติดตามตรวจสอบ การ


ตรวจประเมินด ้านสิง่ แวดล ้อม การวิเคราะห์แนวโน ้ม การสังเกตของพนักงานหรือผู ้บริหาร ข ้อร ้องเรียน
ประสบการณ์หรือวิธก ี ารอืน
่ ๆ
2. สืบสวนปั ญหาโดยทีมงานทีม ่ ค
ี วามรู ้รวมทัง้ พนักงานทีป ่ ฏิบต
ั กิ ารใกล ้ชิดกับเหตุการณ์ในพืน ้ ทีม่ ป
ี ั ญหา และ
บุคคลทีม ่ อ
ี านาจและนาวิธก ี ารแก ้ไขปั ญหาไปปฏิบต ั ิ การสืบสวนเป็ นการค ้นหาสาเหตุของปั ญหา แจกแจง
ปั ญหาอย่างเป็ นระบบ และไม่ยด ึ ติดอยูก
่ บ
ั อาการปั ญหาภายนอกหรือ “แก ้ไขอย่)างรวดเร็วโดยวิธท ี าง(
วิศวกรรม”
3. วิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดถีถ ่ ้วนและถูกต ้อง ตรวจสอบวิธก ี ารแก ้ปั ญหาหลายๆวิธ ี แล ้วเลือกวิธก ี าร
แก ้ปั ญหาทีม่ ป
ี ระสิทธิผลและยืนนานมากทีส ่ ด
ุ จากข ้อกาหนด ISO 14001 เสนอว่าการปฏิบต ั กิ ารป้ องกันและ

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 4 of 7 15 December 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL10.0

แก ้ไขต ้องมีน้ าหนักเพียงพอทีจ ่ ะสามารถแก ้ไขปั ญหาใหญ่ๆได ้และต ้องมีขอบเขตกว ้างขวางเพียงพอทีจ ่ ะ


ลดผลกระทบสิง่ แวดล ้อมใดๆได ้(กล่าวคือ เหมาะสมกับความรุนแรงของปั ญหาและลักษณะของผลกระทบ
สิง่ แวดล ้อม) ในแง่ของกฎหมาย การป้ องกันและแก ้ไขเป็ นเรือ ่ งของความขยันหมั่นเพียร กล่าวโดยสรุป
วิธก ่ าเหตุซงึ่ จะทาให ้ปั ญหาหมดไป
ี ารแก ้ไขปั ญหาควรแก ้ทีส
4. นาแผนปฏิบต ิ ารและหมายกาหนดการไปใช ้ในการแก ้ปั ญหาทัง้ ในระยะสัน
ั ก ้ และระยะยาวโดยกาหนด
บุคคลทีร่ ับผิดชอบ แผนปฏิบต ั ก ิ ารนีจ ้ ะกลายเป็ นส่วนหนึง่ ของแผนงานการจัดการสิง่ แวดล ้อม
5. ต ้องติดตามตรวจสอบอย่างสม่าเสมอถึงความก ้าวหน ้าในการนาการป้ องกันและการแก ้ไขไปปฏิบต ั ทิ ท
ี่ าให ้
เกิดการเปลีย ่ นแปลงในระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมและติดตามผลอย่างต่อเนือ ่ งเพือ
่ ทาให ้มั่นใจว่าการ
เปลีย ่ นแปลงแก ้ไขให ้ผลลัพธ์ตามทีต ่ ้องการ
6. การเปลีย ่ นแปลงขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ านใดๆทีเ่ ป็ นผลมาจากการปรับปรุงระบบการจัดการสิง่ แวดล ้อมต ้อง
จัดทาเป็ นเอกสารและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข ้องต ้องได ้รับทราบและได ้ฝึ กอบรมขัน
้ ตอนการปฏิบต ั งิ านใหม่นี้

ข้อบกพร่องในมุมมองของผูใ้ ห้ใบร ับรอง ISO14001

ถ ้าหากมีการตรวจพบข ้อบกพร่องหลักในระหว่างการตรวจประเมิน ก็จะเลือ ่ นการออกใบรับรอง ISO 14001 ออกไป


จนกว่าจะได ้แก ้ไขข ้อบกพร่องนั น
้ การแก ้ไขและการตรวจประเมินต ้องทาภายใน 90 วัน มิฉะนั น ้ แล ้วจะต ้องทาการ
ตรวจประเมินใหม่ทัง้ หมด ทาให ้ยืดระยะเวลาการได ้รับใบรับรองออกไปอีก สาหรับข ้อบกพร่องเล็กน ้อย ผู ้ตรวจประเมิน
จะขอให ้เขีย นเป็ นแผนงานการแก ้ไขปั ญหาภายใน 60 วัน ถ ้าแผนนั น ้ ส่งภายในกาหนดและเป็ นทีพ ่ อใจ ผู ้ตรวจ
ประเมินอาจให ้ดาเนินการออกใบรับรอง ISO 14001 ต่อไป ส่วนการตรวจสอบว่าได ้มีการปฏิบัตก ิ ารป้ องกันและ
แก ้ไขแล ้วจะดาเนินการในการตรวจประเมินครัง้ ต่อไป โดยปกติคอ ื ภายใน 6 เดือน

การพิจารณาข้อบกพร่องขนสุ
ั้ ดท้าย

โดยธรรมชาติแล ้วระบบเป็ นเครือข่ายทีเ่ กีย่ วข ้องเชือ่ มโยงกัน ความล ้มเหลวหรือมีจุดอ่อนทีส


่ ว่ นใดส่วนหนึง่ ของ
ระบบจะส่งผลกระทบถึงส่วนอืน ่ ๆไม่ทางใดก็ทางหนึง่ การแก ้ไขความบกพร่องของข ้อกาหนดข ้อหนึง่ ของระบบการ
จัดการสิง่ แวดล ้อมอย่างทันการณ์นัน
้ เป็ นสิง่ ทีส
่ าคัญมากต่อการคงอยู่ของทัง้ ระบบ โดยปกติแล ้วปั ญหาหนึง่ จะชัก
นาให ้เกิดปั ญหาอืน
่ ๆตามมา ความล ้มเหลวของการจัดการกับปั ญหาอย่างทันทีอาจจะทาให ้ระบบล ้มเหลวด ้วยอย่าง
หลีกเลีย
่ งไม่ได ้

สรุปประเด็นสาค ัญ
องค์กรควรบ่งชีโ้ อกาสในการปรับปรุงตามผลทีไ่ ด ้จาก
o การสังเกตการณ์ การวัดผล การวิเคราะห์และการประเมินเกีย ่ วกับประสิทธิผลการทางานด ้าน
สิง่ แวดล ้อมและการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้อง(ดูทขี่ ้อ 9.1);
o การตรวจติดตามระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม (ดูทข ี่ ้อ 9.2)
o การทบทวนของฝ่ ายบริหาร (ดูทข ี่ ้อ 9.3)

ข ้อบกพร่องคือการล ้มเหลวในการบรรลุข ้อกาหนดทีก ่ วกับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมหรือในด ้าน


่ ล่าวถึงเกีย
ประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อม สถานการณ์ตา่ ง ๆ สามารถเกิดขึน ้ ได ้เมือ
่ ส่วนหนึง่ ของระบบบริหาร

สิงแวดล ้อมไม่สามารถทาหน ้าทีต่ ามทีต
่ งั ้ ใจไว ้หรือไม่สามารถบรรลุข ้อกาหนดด ้านประสิทธิผลการทางานด ้าน
สิง่ แวดล ้อมได ้

ตัวอย่างของสถานการณ์ดงั กล่าวจะรวม

• ข ้อบกพร่องด ้านประสิทธิผลการทางานของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม อาทิเช่น


— ไม่ได ้มีการประเมินประเด็นสิง่ แวดล ้อมของผลิตภัณฑ์ในด ้านนัยสาคัญ
— ไม่ได ้มีการมอบหมายความรับผิดชอบสาหรับการตระเตรียมและตอบสนองกรณีฉุกเฉิน
— ความล ้มเหลวในการประเมินการบรรลุพันธกรณีทต ี่ ้องปฏิบต
ั ใิ ห ้สอดคล ้องเป็ นระยะ ๆ
• ข ้อบกพร่องด ้านประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อม อาทิเช่น
— ไม่สามารถบรรลุวต ั ถุประสงค์การลดพลังงาน
— ไม่สามารถดาเนินการตามข ้อกาหนดการบารุงรักษาตามตาราง
— ไม่สามารถบรรลุเกณฑ์การดาเนินงาน (ตัวอย่างเช่น ข ้อจากัดทีไ่ ด ้รับอนุญาต)

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 5 of 7 15 December 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL10.0

• กระบวนการตรวจติดตามภายในตามทีอ ่ ธิบายในข ้อ 9.2 เป็ นแนวทางหนึง่ ในการบ่งชีข ้ ้อบกพร่องเป็ นระยะ


ๆ อีกแนวทางหนึง่ คือการมอบหมายความรับผิดชอบในการบ่งชีข ้ ้อบกพร่องและรายงานความเป็ นไปได ้ที่
จะเกิดปั ญหาจริงแก่บค ุ ลากรทงหมดที ั้ ท
่ างานภายใต้การควบคุมขององค์กร
• ทันทีทพ ี่ บข ้อบกพร่อง ควรมีการตรวจสอบเพือ ่ ตัดสินสาเหตุเพือ ่ ให ้การปฏิบต ั ก
ิ ารแก ้ไขจะสามารถมุง่ เน ้น
ไปทีส ่ ่
่ วนของระบบบริหารสิงแวดล ้อมทีเ่ หมาะสม ในการพัฒนาแผนสาหรับการค ้นหาข ้อบกพร่อง องค์กร
ควรพิจารณาปฏิบต ั ก
ิ ารอะไรทีค ่ วรลงมือเพือ ่ แก ้ปั ญหา การเปลีย ่ นแปลงอะไรทีค ่ วรทาเพือ่ แก ้ไข
สถานการณ์และฟื้ นฟูการดาเนินงานตามปกติรวมถึงอะไรทีค ่ วรทาเพือ ่ กาจัดสาเหตุและป้ องกันการเกิดซ้า
หรือเกิดขึน ้ ทีอ ่ น ื่ ลักษณะและเวลาของปฏิบต ั กิ ารดังกล่าวควรเหมาะสมกับหลักธรรมชาติและขนาดของ
ข ้อบกพร่องรวมถึงผลกระทบด ้านสิง่ แวดล ้อม
• หากมีการพบปั ญหาทีเ่ ป็ นไปได ้แต่ไม่มข ี ้อบกพร่องจริงอยู่ การปฏิบต ั กิ ารสามารถลงมือกระทาเพือ ่ ป้ องกัน
การเกิดข ้อบกพร่อง ปั ญหาทีเ่ ป็ นไปได ้นีส ้ ามารถค ้นพบได ้โดยใช ้วิธ ี (อาทิเช่น) การคาดการณ์ปฏิบต ั ก
ิ าร
แก ้ไขข ้อบกพร่องจริงในพืน ้ ทีท ่ ใี่ ช ้งานอืน ่ ๆ ทีเ่ กิดกิจกรรมเหมือนกัน การวิเคราะห์แนวโน ้มหรือการศึกษา
การทางานทีม ่ ค ี วามเสีย ่ งและโอกาสทีก ่ าหนดไว ้ในข ้อ 6.1.1
• เมือ ่ ปฏิบต ั ก ิ ารต่าง ๆ ส่งผลต่อการเปลีย ่ นแปลงในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม จึงควรมีการอัพเดตเอกสาร
ข ้อมูลทีเ่ กีย ่ วข ้องและความต ้องการความชานาญ เมือ ่ มีการนาไปใช ้ควรมีการสือ ่ สารการเปลีย ่ นแปลงถึงผู ้
ทีจ่ าเป็ นต ้องทราบ ฝ่ ายบริหารควรทาให ้มั่นใจว่ามีการดาเนินการปฏิบต ั กิ ารแก ้ไขและปฏิบต ั กิ ารในการ
ป้ องกันปั ญหาก่อนเกิดขึน ้ และว่ามีการทบทวนอย่างเป็ นระบบรวมถึงการติดตามเพือ ่ ทาให ้มั่นใจใน
ประสิทธิผลของปฏิบต ั ก ิ ารทีล ่ งมือ
• องค์กรควรเก็บรักษาเอกสารข ้อมูลเป็ นหลักฐานของหลักธรรมชาติของข ้อบกพร่องรวมถึงปฏิบต ั ก
ิ ารต่อมา
ทีด ่ าเนินการ และผลการปฏิบต ั ก ิ ารแก ้ไขทีด ่ าเนินการ
• การสือ ่ สารเกีย ่ วกับข ้อบกพร่องอย่างเปิ ดเผยและทันเวลาโดยไม่กลัวการถูกทาโทษเป็ นสิง่ จาเป็ น
• บุคคลทีม ่ อี านาจในการริเริม ่ และดาเนินการตามการเปลีย ่ นแปลงทีจ ่ าเป็ นใดๆต ้องเป็ นผู ้รับผิดชอบต่อการ
ปฏิบต ั ก ิ ารป้ องกันและแก ้ไข
• ต ้องมีการสืบสวนทัง้ อาการและรากเหง ้าสาเหตุของข ้อบกพร่องอย่างทั่วถึง
• บุคคลทุกระดับทีร่ ับผิดชอบและมีความรู ้เกีย ่ วกับพืน ่ ไี่ ด ้รับผลกระทบจากข ้อบกพร่องควรมีสว่ น
้ ทีท
เกีย ่ วข ้องในการสืบสวนข ้อบกพร่อง
• ต ้องกาหนดวิธก ี ารทีถ ่ าวรในการแก ้ไขปั ญหาและป้ องกันมิให ้เกิดปั ญหาซ้าอีกและนาไปปฏิบต ั โิ ดยทันที
• วิธก ี ารแก ้ไขปั ญหาควรเป็ นการเปลีย ่ นแปลงสิง่ ทีเ่ ป็ นพืน ้ ฐานของปั ญหา (กล่าวคือการปรับปรุงระบบ)
ไม่ใช่เพียงแค่จัดการกับอาการของปั ญหา
• การนาวิธก ี ารแก ้ไขปั ญหาไปปฏิบต ั ติ ้องมีการติดตามตรวจสอบเพือ ่ ให ้แน่ใจว่าได ้ผลลัพธ์เป็ นไปตามที่
ต ้องการ
• ต ้องปรับเปลีย ่ นเอกสารขัน ้ ตอนการปฏิบต ั งิ านให ้สอดคล ้องกับการปฏิบต ั กิ ารป้ องกันและแก ้ไข รวมทัง้ ต ้อง
แจ ้งให ้บุคคลทีเ่ กีย ่ วข ้องทราบและได ้รับการฝึ กอบรม

การตรวจประเมิน

1. สุม่ ตรวจ สิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนด กิจกรรมการแก ้ไข ป้ องกัน ไม่วา่ จากผลการตรวจติดตาม ตรวจวัด
ตรวจประเมิน การสอบinspection ว่าได ้รับการจัดอย่างเหมาะ กับผลกระทบต่อสิง่ แวดล ้อม หรือสภาพ
ปั ญหานัน้ ๆหรือไม่
2. ทบทวน เอกสารระเบียบปฏิบต ั ิ และ ตรวจสอบว่า มีการกระทาตามวิธก ี ารทีร่ ะบุหรือไม่ หรือวิธที รี่ ะบุไว ้
เพียงพอเหมาะสมหรือไม่
3. มีการจัดการกับ สิง่ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อกาหนด กิจกรรมการแก ้ไข ป้ องกันทีล ่ า่ ช ้า ไม่สมเหตุสมผลหรือไม่
การสืบสวน หาสาเหตุได ้มีการกระทาอย่างจริงๆ จังๆ หรือทาแบบขอไปที

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 6 of 7 15 December 2020


คูม
่ อ
ื ตีความข ้อกาหนด ISO 14001 CL10.0

10.3 การปร ับปรุงอย่างต่อเนือ


่ ง
10.3 การปร ับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง
องค์กรต ้องปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ งของความเหมาะสม, เพียงพอ, และประสิทธิผลของระบบการบริหาร
สิง่ แวดล ้อม เพือ ่ สมรรถนะด ้านสิง่ แวดล ้อม
่ เพิม

่ งเป็ นคุณลักษณะสาคัญของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมทีม


การปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ป
ี ระสิทธิผลเพือ ่ ยกระดับ
ประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมโดยสามารถทาให ้บรรลุได ้ด ้วยการบรรลุวตั ถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมและ
การยกระดับระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมทัง้ หมดหรือส่วนประกอบใด ๆ องค์กรสามารถกระตุ ้นพนักงานทุกคนให ้
สนับสนุนความคิดในการปรับปรุง

องค์กรควรประเมินประสิทธิผลการทางานด ้านสิง่ แวดล ้อมและประสิทธิผลการทางานของกระบวนการระบบบริหาร


สิง่ แวดล ้อมอย่างต่อเนือ ่ หาโอกาสในการปรับปรุง ฝ่ ายบริหารสูงสุดควรเข ้าไปมีสว่ นร่วมโดยตรงในการประเมิน
่ งเพือ
นีผ
้ า่ นกระบวนการทบทวนของฝ่ ายบริหาร

้ ้อบกพร่องของระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมยังให ้โอกาสสาคัญสาหรับการปรับปรุง เพือ


การบ่งชีข ่ ตระหนักถึงการ
ปรับปรุงดังกล่าว องค์กรควรรู ้สิง่ บกพร่องอะไรทีย
่ ังคงอยูแ
่ ละเข ้าใจสาเหตุทย
ี่ งั คงอยูโ่ ดยสามารถทาให ้บรรลุได ้ด ้วย
การวิเคราะห์สาเหตุทแี่ ท ้จริงของข ้อบกพร่องในระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม

แหล่งข ้อมูลทีม
่ ป
ี ระโยชน์บางแหล่งสาหรับการปรับปรุงอย่างต่อเนือ
่ งจะรวม

— ประสบการณ์ทไี่ ด ้รับจากข ้อบกพร่องและปฏิบต ั ก


ิ ารแก ้ไขทีเ่ กีย
่ วข ้อง
— การเปรียบเทียบภายนอกในด ้านการปฏิบต ั ท
ิ ด
ี่ ี
— สมาคมการค ้าและกลุม ่ เพือ่ น
— กฎหมายใหม่หรือการเปลีย ่ นแปลงทีน
่ าเสนอสาหรับข ้อบังคับทีม ่ อ
ี ยู่
— ระบบบริหารสิง่ แวดล ้อมและผลการตรวจติดตามอืน ่ ๆ
— การประเมินและการวิเคราะห์ผลจากการสังเกตการณ์และการวัดผล
— บทความด ้านเทคโนโลยีใหม่ๆ
— มุมมองของผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสียโดยรวมพนักงาน ลูกค ้าและผู ้จัดหา (ซัพพลายเออร์)

การดาเนินการปร ับปรุงอย่างต่อเนือ
่ ง

เมือ
่ พบโอกาสในการปรับปรุง ควรมีการประเมินเพือ
่ ตัดสินว่าอะไรทีค
่ วรลงไม ้ลงมือ และมีการวางแผนปฏิบต
ั ก
ิ าร
่ นแปลงระบบบริหารสิง่ แวดล ้อม
สาหรับการปรับปรุง รวมถึงการเปลีย

การปรับปรุงต่างๆ ไม่จาเป็ นต ้องดาเนินการในทุกเรือ


่ งพร ้อมกัน การปรับปรุงอย่างต่อเนือ
่ งของระบบบริหาร
สิง่ แวดล ้อมสามารถกลายเป็ นความยากต่อการบรรลุในการยกระดับสมรรถนะ หรือ ทาได ้แต่ไม่คุ ้มค่า ตัวอย่าง
ปฏิบต ั ก
ิ ารปรับปรุงมีอยูใ่ นกรอบข ้างล่างนี้

ต ัวอย่างการปร ับปรุง

— การตัง้ กระบวนการสาหรับการประเมินวัสดุใหม่เพือ ่ สนับสนุนการใช ้วัสดุทม ี่ อ


ี น
ั ตรายน ้อย
— การปรับปรุงการฝึ กอบรมพนักงานในด ้านวัสดุและการเคลือ ่ นย ้ายเพือ ่ ลดการเกิดของเสียขององค์กร
— การเริม่ กระบวนการบาบัดน้ าเสียเพือ ่ ให ้เกิดการใช ้น้ าใหม่อกี ครัง้
— การดาเนินการเปลีย ่ นแปลงค่าเริม ่ ต ้นของเครือ ่ งมือผลิตใหม่อก ี ครัง้ ให ้มีการพิมพ์เอกสารเป็ นสองหน ้าที่
สานักงานการพิมพ์
— การออกแบบเส ้นทางขนส่งใหม่เพือ ่ ลดการใช ้พลังงานฟอสซิลโดยบริษัทขนส่ง
— การตัง้ วัตถุประสงค์ด ้านสิง่ แวดล ้อมเพือ
่ ดาเนินการทดแทนพลังงานในการปฏิบต ั งิ านของหม ้อต ้มและลด
การปล่อยก๊าซอนุภาค
— การพัฒนาวัฒนธรรมการปรับปรุงด ้านสิง่ แวดล ้อมภายในองค์กร
— การพัฒนาความเป็ นหุ ้นส่วนกับผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย
— การพิจารณาการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนในกระบวนการทางธุรกิจขององค์กร

END

สถาบันมาตรฐานอังกฤษ Page 7 of 7 15 December 2020

You might also like