You are on page 1of 34

4.

การปฏิบัติ
เพื่อความปลอดภัย
ทางชีวภาพ

1
วัตถุประสงค

เพื่อใหความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ

เนื้อหา
1. การออกแบบสถานที่ การจัดวางเครื่องมือและอุปกรณในสถานปฏิบัติการ
(Facility design)
2. อุปกรณเพื่อความปลอดภัย (Safety equipment)
3. การปฏิบัติที่ดีทางจุลชีววิทยา (Good Microbiological Practice)

ระยะเวลา 45 นาที

2
มาตรการในการควบคุมความเสี่ยง

elimination
กําจัด
substitution อันตรายจาก
การทํางาน

engineering
controls
ลดความเสี่ยง administrative
ในการทํางาน controls

PPE

3
มาตรการลดความเสี่ยง

• การออกแบบสถานที่ การจัดวางเครื่องมือและ
อุปกรณในสถานปฏิบต
ั ิการ (facility design)
engineering
controls • อุปกรณเพื่อความปลอดภัย (safety equipment)

administrative
controls

PPE การปฏิบัติที่ดีทางจุลชีววิทยา (good microbiological practice)

Modified from https://www.worksafebc.com/en/health-safety/create-manage/managing-risk/controlling-risks

4
การแบงพื้นที่หอ
 งปฏิบัติการตามระดับของความปลอดภัย

พื้นที่สะอาด พื้นที่ปนเปอน

(Clean/Safe Zone) (Dirty/Soil Zone)

ปลอดภัยกวา อันตรายกวา

7
พื้นที่สะอาด (Clean/Safety Zone)

• เปนพื้นที่สะอาดไมปนเปอนเชื้อกอโรค สิ่งสงตรวจ
• เขา-ออกสะดวก ไมมีสิ่งกีดขวาง
• ไมวางอุปกรณทเี่ ปนอันตราย
• ไดแก ประตูทางเขาออก หองพักเจาหนาที่ หองสํานักงาน
หองเก็บอุปกรณสะอาด

8
พื้นที่ปนเปอน (Dirty/Soil Zone)

• อยูดานในของหองปฏิบัติการ หางประตูทางเขาออก

• มีสัญลักษณแสดงเขต

• มีอุปกรณปองกันอันตราย เชน ตูชีวนิรภัย (BSC), ตูดูดควัน

(Fume Hood), ตูเก็บสารเคมีไวไฟ

• ปฏับัติงานที่มีอันตราย เชน การทํางานกับสารเคมีไวไฟ

และระเหยงาย หรือเชื้อกอโรค

9
ปจจัยที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบหองปฏิบัตก
ิ าร/ สถานปฏิบัติการ

ลักษณะของงาน สิ่งที่ดําเนินการ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน


• การวิจัย • กลุมเสี่ยงของเชื้อโรค • เพิ่มจํานวนเชื้อ
• งานตรวจวิเคราะห หรือพิษจากสัตว ที่ • สกัด DNA
(Diagnosis) ดําเนินการดวย • ตรวจวิเคราะหเชื้อ
• การเรียนการสอน • ฯลฯ
• ฯลฯ

• กําหนดระดับความเปนอันตรายของงาน ประเมินความเสี่ยง
• กําหนดระดับความปลอดภัยของสถานที่ (Risk Assessment)
• กําหนดอุปกรณและขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
(Safety Equipment/ Safe and Good Practices)

14
ปจจัยที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบหองปฏิบัตก
ิ าร/ สถานปฏิบัติการ

ระดับความปลอดภัยของสถานที่
• BSL1 และ BSL2  Basic Laboratories
• BSL3  Containment Laboratory
• BSL4  Maximum (High) Containment
Laboratory ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน

กําหนด
Engineer Control Containment Facilities Emergency Facilities Other Equipment
อาคารและหอง ระบบอากาศ อุปกรณในการปองกันการหลุดรอด Shower, Eye Washer โตะปฏิบัติการ, เกาอี้, ลอเข็น
อุปกรณอื่น เชน หมอไอน้ํา ระบบ ของเชื้อสูสิ่งแวดลอม อาทิ BSC, ถังดับเพลิง ฯลฯ
สํารองไฟฟา ระบบน้ํา ระบบ Centrifuge, Autoclave
สุขาภิบาล การจัดการขยะ

15
ปจจัยที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบหองปฏิบัตก
ิ าร/ สถานปฏิบัติการ

Engineer Control Containment Facilities Emergency Facilities Other Equipment


อาคารและหอง ระบบอากาศ อุปกรณในการปองกันการ Shower, Eye Washer โตะปฏิบัติการ, เกาอี้,
อุปกรณอื่น เชน หมอไอน้ํา หลุดรอดของเชื้อสู ถังดับเพลิง ลอเข็น ฯลฯ
ระบบสํารองไฟฟา ระบบน้ํา สิ่งแวดลอม อาทิ BSC,
ระบบสุขาภิบาล การจัดการ Centrifuge, Autoclave
ขยะ

จัดทํา SOP ในการทํางาน การใชงานอุปกรณแตละชิ้น รวมถึงการรักษาและการซอมบํารุง

ทดสอบระบบ และอบรมผูใชงานทั้งหมดที่เกี่ยวของ

16
ผูที่เกี่ยวของกับการออกแบบหองปฏิบต
ั ิการ

ผูใชงาน วิศวกร เจาหนาที่ความ


ปลอดภัยทางชีวภาพ

นักออกแบบภายใน สถาปนิก

17
ขั้นตอนการออกแบบหองปฏิบัตก
ิ าร

เก็บขอมูลจากผูใชเพื่อ รวบรวมขอมูล พิจารณาปจจัย


กําหนดเปาหมายในการ ที่เกี่ยวของสําหรับการ ดาน Biosafety และ
ใชหอง ออกแบบทั้งหมด Biosecurity ที่ตองการ

พิจารณาประเด็น พิจารณาประสิทธิภาพของระบบการจัดการ
ดานความปลอดภัยอื่นๆ (Operational Efficiency) ที่ตองการ

ออกแบบ และประมาณ
รางผังหอง การใชงานที่ งบประมาณในการจัดสราง
กําหนดใหเปนสัดสวน และ
กําหนดที่ตั้งของหอง
18
ทางเขา-ออก

• หากมีผูปฏิบัติงานคอนขางมากควรกําหนดและ
จัดระเบียบการเขา-ออก
• ควรแยกกันระหวางประตูเขา-และประตูออก
• จัดพื้นที่สําหรับผูมาติดตอที่ไมมีสวนเกี่ยวของ
โดยประตูควรจะปดไวตลอดเวลาในขณะ
ปฏิบัติงาน
• อาจจัดหนวยรักษาความปลอดภัยเพื่อดูและ
การเขา-ออก หรืออาจใชระบบการเขา-ออก
โดยระบบคียการด

19
ประตู

• มีขนาดกวางพอที่จะสามารถนําเครื่องมือขนาดใหญเขาออกไดสะดวก
• สามารถเปดกวางเพื่อใหผูปฏิบัติงานเขาออกไดสะดวกในกรณีเกิดเหตุ
ฉุกเฉิน

20
พื้น ผนัง และเพดานหองปฏิบต
ั ิการ

• พื้นผิวเรียบเปนเนื้อเดียวกัน ไมมีรูพรุน และปราศจากรอยตอ


• พื้นตองสามารถรองรับเครื่องมืออุปกรณที่มีน้ําหนักมากไดหลายชนิด
• ผลิตมาจากวัสดุที่แข็งแรง ทนทานตอสารเคมีที่เปนกรดและดางได
• พื้นผิวตองไมลื่น
• สามารถทําความสะอาดไดงาย

21
โตะปฏิบัติการ

• ผลิตจากวัสดุที่คงทน ทนตอความรอน ทนตอการกัดกรอนของสารเคมี


• ทําความสะอาดงาย

22
ระบบระบายอากาศ

• หองปฏิบัติการที่มีการใชสารเคมีจะตองมีการระบายอากาศอยางตอเนื่อง
• ตองออกแบบระบบระบายอากาศในหองปฏิบัติการใหไอสารเคมีที่เกิดขึ้น
ไมถูกนํากลับมาหมุนเวียนอีก และสารเคมีที่ปลอยออกมาตองกักเก็บหรือ
ถูกกําจัดออกเพื่อปองกันอันตรายจากการลุกติดไฟ
• บริเวณที่นําอากาศบริสุทธิ์เขาจะตองหลีกเลี่ยงการนําอากาศที่มีสารเคมี
หรือสารติดไฟจากสวนอื่นๆ เขามาในพื้นที่หองปฏิบัติการ
• ควรมีระบบอากาศไหลเขา และไหลออกโดยไมวนเวียนอยูภายในหอง
หรือมีความดันอากาศภายในหองปฏิบัติการจะตองมีคานอยกวาภายนอก
หรือมีความดันอากาศเปนลบ
• อากาศที่มีสารอันตรายตองไดรับการบําบัดใหมีคุณภาพตามกฎหมายกอน
ทิ้งออกสูภายนอกอาคาร
• อากาศเสียจากหองปฏิบัติการที่ระบายผานพื้นที่อื่นที่ไมใชหองปฏิบัติการ
ตองสงผานออกไปภายนอกอาคารโดยใชทอลม
23
ระบบสาธารณูปโภค

อาทิ น้ําประปา ไฟฟา แกส และระบบสื่อสาร


• เจาหนาที่ควรทราบตําแหนงและที่ตั้งและวิธีการเปด-ปดวาวล/ แผง
ควบคุม เพื่อใหสามารถเขาถึงไดในกรณีฉุกเฉิน
• หากเปนทอควรมีการระบุลูกศรแสดงทิศทางการไหล รวมทั้งระบุชื่อใน
แตละทอวาเปนการสงผานสิ่งใด
• ในกรณีของแกส ควรมีระบบตัดอัตโนมัติเพื่อปองกันการรั่ว/ระเบิด

24
อางน้ํา

• มีอางลางมือ แยกจากอางลางวัสดุอุปกรณ และอยูภายในบริเวณที่


ปฏิบัติงาน
• ทําจากวัสดุที่ทนทานสารเคมี การปดเปดแบบไมใชมืออาจจําเปน
• ทอน้ําทิ้งควรแยกจากระบบทอน้ําเสียทั่วไป โดยตอไปยังระบบบําบัดน้ํา
เสียกอนปลดปลอยสูสิ่งแวดลอม

25
มาตรการลดความเสี่ยง

• การออกแบบสถานที่ การจัดวางเครื่องมือและอุปกรณ
ในสถานปฏิบัติการ (facility design)
engineering
controls • อุปกรณเพื่อความปลอดภัย (safety

administrative equipment)
controls

PPE การปฏิบัติที่ดีทางจุลชีววิทยา (good microbiological practice)

Modified from https://www.worksafebc.com/en/health-safety/create-manage/managing-risk/controlling-risks

26
อุปกรณเพื่อความปลอดภัย
(Safety Equipment)

อุปกรณสําหรับเหตุฉุกเฉิน อุปกรณสําหรับงานปกติ

• อุปกรณหรือน้ําเกลือสําหรับลางตา • อางลางมือ
• ฝกบัวฉุกเฉิน • Autoclave
• ชุดปฐมพยาบาล • ตูชีวนิรภัย (Biosafety Cabinet, BSC)
• ชุดจัดการสารชีวภาพรั่วไหล • ตูดูดควัน (Fume Hood)
• ระบบเตือนภัย • ตูเก็บสารเคมี
• อุปกรณดับเพลิง • เครื่องหมุนเหวี่ยง (Centrifuge)
• อุปกรณอื่นๆ

27
อุปกรณหรือน้ําเกลือสําหรับลางตา

• ควรติดไวประจําที่ในบริเวณที่สามารถเขาถึงไดงาย โดยไมมีสิ่งกีดขวาง
และมีจํานวนเหมาะสม
• หากเปนแบบเปดดวยเทา หรือมือผลัก น้ําไมควรพนเขาตาโดยตรง แต
ควรพนเขาตาผานทางฐานจมูก
• หัวพนน้ําควรมีฝาครอบปองกันฝุนละออง และทําความสะอาดอยาง
สม่ําเสมอ โดยการ Flush น้ําทิ้งอยางนอยอาทิตยละครั้ง มีการ
ตรวจสอบวาใชงานไดดี
• น้ําเกลือลางตา ควรเปนแบบพรอมใชงาน มีการตรวจสอบวาไมหมดอายุ
และอยูในสภาพใชงานได เชนไมขุน ไมมีตะกอน ไมเปลี่ยนสี

28
ฝกบัวฉุกเฉิน

• ควรติดตั้งในบริเวณเดียวกันกับอุปกรณลางตาฉุกเฉิน หรือตําแหนงที่
สามารถเขาถึงไดงาย
• ควรติดตั้งสูงจากพื้นประมาณ 7–8 ฟุต หางจากกําแพงอยางนอย 25 นิ้ว
• เปนแบบเปดดวยการผลัก หรือดึงโซ

ใชเฉพาะเคมี
เทานั้น

29
ชุดปฐมพยาบาล (First Aid Kit)

อุปกรณเบื้องตนสําหรับชวยเหลือผูไดรับบาดเจ็บ ประกอบดวยอุปกรณ
อยางนอย ดังนี้
o แอลกฮอล ลางทําความสะอาดแผล
o เบตาดีน ยาใสแผลสด
o กอซพันแผล ขนาด 3 นิ้ว ผากอซปดแผล 2x2 นิ้ว
o ผาพันเคล็ด ขนาด 3 นิ้ว
o อุปกรณทําแผล (ปลอดเชื้อ)
o พลาสเตอรปดแผล

ควรเก็บไวในกลองที่ปดมิดชิดหรือกันน้ํา
ควรติดไวประจําที่ในบริเวณที่สามารถเขาถึงไดงาย โดยไมมีสิ่งกีดขวาง
30
ชุดจัดการสารชีวภาพรั่วไหล (Biological Hazard Spill Kit)

• ควรติดไวประจําที่ในบริเวณที่สามารถเขาถึงไดงาย โดยไมมีสิ่งกีดขวาง
• ตองประกอบดวยอุปกรณอยางนอย ดังนี้
• น้ํายาฆาเชื้อ
• วัสดุดูดซับ
• PPE (ชุดปฏิบัติการ ถุงมือยาง แวนตานิรภัย และหนากากอนามัย)
• อุปกรณสําหรับเก็บวัสดุปนเปอนเชื้อโรค (ปากคีบ ชุดโดยผง ถุงใสขยะ
ติดเชื้อ หรือถุงพลาสติก)

31
ระบบเตือนภัย

• ควรมีการติดตั้งระบบเตือนภัยที่สงเสียงไดทั่วอาคาร อาจเปนเสียง
กระดิ่ง หรือเสียงระฆัง และอาจมีไฟสีแดงกะพริบ
• เจาหนาที่ควรทราบตําแหนงและที่ตั้งและวิธีการเปดระบบเตือนภัย
เพื่อใหสามารถเปดสัญญานไดในกรณีฉุกเฉิน

32
อุปกรณดบ
ั เพลิง

• อุปกรณดับเพลิงในหองปฏิบัติการมี 2 แบบ ไดแก แบบติดตั้งถาวร


(น้ําพุเพดานแบบอัตโนมัต)ิ และแบบเคลื่อนยายได (ทอประปาดับเพลิง
และถังดับเพลิง)
• อุปกรณชนิดเคลื่อนยายไดควรติดตั้งอยูในจุดที่เห็นไดชัดเจน เขาถึง
และใชงานได
• ถังดับเพลิงมีหลายประเภท ตามตนกําเนิดเพลิง ควรจัดหาใหเหมาะสม
กับงานที่ดําเนินการ
• มีการตรวจสอบวาใชงานไดเปนประจํา

33
อางลางมือ

• มีอางลางมือ แยกจากอางลางวัสดุอุปกรณ เปดปดแบบผลัก หากเปนไป


ไดควรเปนระบบใชเทาเหยียบหรือเปนระบบเปดปดอัตโนมัติ
• ติดตั้งอยูใกลบริเวณทางออกจากหองปฏิบัติการ

34
หมอนึ่งอัดไอน้ํา (Autoclave)

• ควรติดตั้งบนพื้นที่ไดระดับ และมั่นคง ไมเกิดแรงกระแทกหรือ


สั่นสะเทือน และทําการยืดตัวเครื่องเพื่อปองกันการเคลื่อนที่
• กอใหเกิดความรอน ไอน้ํา และความดันสูง ควรวางในพื้นที่ที่ระบาย
อากาศไดดี ไกลจากบริเวณที่ปฏิบัติงาน
• ไมควรวางใกลน้ําหรือสารเคมี เตาเสียบหรืออุปกรณไฟฟา และใต
อุปกรณตรวจจับไฟไหม เนื่องจากไอน้ําพุงออกมาจากเครื่องอาจ
กอใหเกิดอันตราย หรือกระตุนอุปกรณตรวจจับไฟไหมได
• ไมควรวางวัสดุไวไฟ เชน กระดาษหรือพลาสติก
หรือของเหลวไวไฟอื่นๆ ไวใกลกับเครื่อง Autoclave
• ใชงานอยางถูกวิธี
• มีการตรวจสอบเกณฑมาตรฐานทางชีวภาพตามที่กําหนด

35
ตูชีวนิรภัย (Biological Safety Cabinet - BSC)

• ควรวางในบริเวณที่หางจากแหลงกําเนิดลม เชน พัดลม


เครื่องปรับอากาศ หนาตาง ประตู ทางเดิน
• วางหางผนังหรือมีพื้นที่วางรอบตูไมนอยกวา 30 ซม. และพื้นที่วาง
เหนือตู 30-35 ซม. เพื่อมิใหรบกวนการไหลเวียนของอากาศ และความ
สะดวกในการบํารุงรักษา
• หากจําเปนตองวางใกลอุปกรณควบคุมแรงลมอื่น ควรเวนระยะที่
เหมาะสม ที่แรงลมจะไมกระทบการไหลของอากาศในตู
• ติดตั้งใหถูกวิธีโดยชางผูชํานาญ

36
ตูดูดควัน (Fume Hood)

• ควรติดตั้งในบริเวณดานในสุดของหอง หางจากแหลงกําเนินลม อาทิ


ประตู หนาตาง หรือทางเดิน เพื่อปองกันการรบกวนการไหลเวียนของ
อากาศ
• ไมควรใชเปนตูเก็บสารเคมี

37
ตูเก็บสารเคมี

• วัสดุที่ใชควรทนทานตอการกัดกรอนของสารเคมี หากเก็บสารที่มี
คุณสมบัติไวไฟ ควรบุดวยฉนวนกันไฟ และวางหางจากแหลงกําเนิด
ความรอน เชน เครื่องใชไฟฟา
• การเก็บสารเคมีควรเก็บตามหลักการเขากันได (Compatible) ไมควร
เรียงตามตัวอักษร

38
เครื่องปน อุปกรณอน
ื่ ทีท
่ า
ํ ใหเกิดละออง

• ควรติดตั้งบนโตะหรือพื้นที่มีความแข็งแรง มั่นคง และไมอยูบนพื้นผิว


เดียวกับอุปกรณหรือเครื่องมือที่ไวตอการสั่นสะเทือน เชน เครื่องชั่ง
• ควรตั้งเครื่องหมุนเหวี่ยง ในระดับที่ผูใชงานสามารถเห็นพื้นที่วางชองใส
หลอด (Bucket) ภายในเครื่องไดอยางถูกตอง

39
อุปกรณอน
ื่ ๆ

• ภาชนะบรรจุเชื้อตองมีฝาปดสนิท ไมรั่วซึม
• มีเครื่องมือและอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับจัดเก็บภาชนะบรรจุ
• มีเครื่องมือและอุปกรณสําหรับการขนสงหรือเคลื่อนยาย ซึ่งสามารถ
ปองกันการตกหลนของภาชนะบรรจุ
• ถังขยะมีฝาปดซึ่งสามารถเปดไดโดยไมใชมือสัมผัส

40

You might also like