You are on page 1of 64

การบริหารงานก่อสร้าง

Construction Management
ARC 435

อ.อามาล ภักดีธรรม ฉิ มวิไลทร ัพย ์


CM (Construction Management)
จะมีส่วนร่วมตั้งแต่เริม
่ คิดโครงการก่อสร้าง >> จนสิ้นสุดโครง
เป้าหมายหลัก
1. การวางแผนที่ดี การจัดหาผู้รับจ้างก่อสร้าง (Contractor) ผู้จาหน่ายสินค้า (Supplier) ที่ปรึกษา (Advisor) และ
บุคลากร อื่นอย่างครบถ้วน ด้วยค่าจ้างหรือค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม จัดทาเอกสารการจัดซื้อจัดจ้างร่วมกับผู้ประกอบ
วิชาชีพที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วนสมบูรณ์
2. การปฏิบัติงานตามที่ได้วางแผนไว้ จัดให้มีข้ันตอนในการบริหารงานก่อสร้างอย่างเป็นระบบอันจะทาให้งาน
ก่อสร้างเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
3. การประเมินผลเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ
4. การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม จัดให้มีการบริหารความเสี่ยงอย่างรอบคอบและครบถ้วน

TCQ Control
Man Money (เงิน)
(คน)
คุณภาพ เวลา
Quality Time
Method
Project
Resources Material
Goal
(วิธีการ)
(วัสดุ)
งบประมาณ
Machine Cost
(เครื่องจักร)
องค์ประกอบหลักของการบริหาร (Function of Management)

Pre-Construction Construction Post-Construction

การวางแผน การจัดงาน การจัดบุคลากร การอานวยการ การควบคุม


◦เป็นการจัดทรัพยากร ◦เป็นการสร้างระบบ
◦เป็นการกาหนดแนว ในการวัด การรายงาน
ให้กับโครงการอย่างมี ◦เป็นการจัดคนทางาน
ทางการทางานที่ การคาดการณ์ สิ่งที่จะ
◦เป็นการเตรียมการ ระบบ ให้เหมาะสมกับงาน
ต้องการทาโครงการ ทาให้เกิดการเบี่ยงเบน
ล่วงหน้า • ทาโดยการแตกงาน • คนเหล่านี้จะมี
ให้สาเร็จ ให้กับ ขอบเขตงาน
•เพื่อกาหนด (Breakdown) เป็น ผลกระทบต่องานทุก
• จัดบุคลากรทางาน กาหนดเวลา และ
แนวทางในการ หน่วยย่อยพอที่จะ ส่วนของโครงการ
ในแต่ละความถนัด งบประมาณ
ทางาน จัดการได้ • คนเป็นทรัพยากรที่
ให้อยู่ในทีมที่ • หามาตรการแก้ไข
•ป้องกันปัญหาและ • แบ่งในรูปแบบ สาคัญที่สุดของ
เหมาะสมและมี • รายงานให้ทันต่อ
อุปสรรค โครงสร้างการแตก โครงการ
ประสิทธิภาพ เหตุการณ์
•ทากาหนดเวลา งาน(Work Breakd • เพราะคนเป็น
• ถึงแม้จะเชี่ยวชาญ • ฝ่ายบริหาร สามารถ
หลัก own Structure) ผู้ออกแบบ
ต่างกัน งานที่ ตอบสนอง แก้ไข
•ศึกษาข้อจากัด • ประกอบด้วย งาน ประสานงาน สร้าง
ออกมาต้องกลมกลืน เหตุการณ์ได้ทนั
ต่างๆ (Tasks) งานย่อย โครงการ และแก้ไข
ไปในทิศทาง (การควบคุมเป็นหน้าที่ที่
(Subtask) ชุดงาน ปัญหาต่างๆที่
เดียวกัน ยากที่สุดในการบริหาร
(Work Package) เกิดขึ้น โครงการก่อสร้าง)
ระยะแรก ตั้งแต่เริ่มโครงการไปจนถึงการออกแบบแล้วเสร็จ โดยมีขอบเขตของงาน เช่น
(1) จัดทาแผนแม่บทโครงการ (Master Schedule)
(2) เสนอให้มีการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study)
(3) จัดทาแผนการบริหารโครงการ (Project Management Plan)
(4) จัดทาเอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง ขอบเขตและเงื่อนไขแห่งสัญญาจ้างผู้เชี่ยวชาญในการจัดทารายงาน การวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environ mental Impact Assessment - EIA)
(5) จัดทาเอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง ขอบเขตและเงื่อนไขแห่งสัญญาจ้างผู้ออกแบบ
(6) จัดให้มีการทบทวนแบบก่อสร้างให้ข้อเสนอแนะในความเป็นไปได้ในการก่อสร้าง (Constructability) ความชัดเจน
ของแบบ (Clarity) รวมท้ังความสอดคล้องกันของแบบ (Consistency) ก่อนที่จะมีการ ว่าจ้างผู้รับจ้างก่อสร้าง

ระยะที่สอง ตั้งแต่หลังจากการออกแบบแล้วเสร็จไปจนถึงเริม
่ ต้นก่อสร้าง โดยมีขอบเขตของงาน
เช่น
(1) จัดเตรียมแผนการบริหารงานก่อสร้าง (Construction Management Plan)
(2) จัดทาเอกสารการจัดซือ
้ จัดจ้าง ขอบเขตและเงื่อนไขแห่งสัญญาจ้างผู้รับจ้างก่อสร้าง และผู้ขายที่เกี่ยวข้อง
(3) ประเมินราคาค่าจ้างก่อสร้าง ค่าวัสดุอุปกรณ์การก่อสร้างที่เจ้าของโครงการจัดหาเอง รวมท้ังระยะเวลาในการก่อสร้างที่เหมาะสม
(4) วิเคราะห์ข้อเสนอของผู้เสนอราคา และเปรียบเทียบราคา ตลอดจนเสนอแนะเจ้าของโครงการในการ คัดเลือกผู้เสนอราคาให้เจ้าของ
โครงการพิจารณาว่าจ้างหรือซ้อั วัสดุอป
ุ กรณ์ในการก่อสร้าง
(5) ร่วมจัดทาสัญญาจ้างก่อสร้าง สัญญาซื้อขายวัสดุอุปกรณ์การก่อสร้าง รวมท้ังเอกสารประกอบ เพื่อให้ เจ้าของโครงการลงนามกับผู้
รับจ้างก่อสร้าง หรือผู้ขายสินค้าทีเ่ กี่ยวข้อง
(6) จัดให้มีการทาประกันภัยการก่อสร้าง
(7) ติดตามการขออนุญาตก่อสร้างและขออนุญาตต่างๆจากส่วนราชการ
ระยะที่สาม ตั้งแต่เริ่มต้นการก่อสร้างไปจนถึงการก่อสร้างแล้วเสร็จ โดยมีขอบเขตของงาน เช่น
(1) จัดเตรียมแผนการก่อสร้างโดยละเอียด (Construction Plan)
(2) ควบคุมกากับดูแลและบริหารสัญญาจ้างก่อสร้าง และสัญญาจัดซื้อวัสดุอป
ุ กรณ์ ให้ผู้รับจ้างก่อสร้าง และผู้จาหน่ายสินค้าปฏิบัติ
ตามสัญญาอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการที่ดี
(3) จัดการประชุมโครงการเพื่อกาหนดบทบาทขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบผู้ที่เกี่ยวข้อง ติดตามความก้าวหน้าของงาน และประชุม
แก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการก่อสร้าง รวมท้ังการควบคุมการ ปฏิบัติงานให้เป็ นไปตามมาตรการ เพื่อลดผลกระทบที่มีต่อ
สิ่งแวดล้อมทีเ่ กี่ยวข้อง
(4) ควบคุมแผนงานการก่อสร้าง ปรับปรุงให้สอดคล้องกับการก่อสร้างจริงตลอดโครงการ
(5) พิจารณาตรวจสอบการเบิกเงินงวด งานเปลี่ยนแปลง เพิ่ม-ลด พิจารณาการขยายระยะเวลาสัญญาจ้าง พิจารณาตรวจสอบเอกสาร
แบบก่อสร้างจริง ค่ัมือการใช้งานรวมถึงการจัดฝึกอบรมการใช้งาน อุปกรณ์ เพื่อการส่งมอบงานให้ผู้ว่าจ้าง

การใช้แผนงานก่อสร้าง แผนงานโครงการ รายงานผล


Project Plan ความก้าวหน้าโครงการ
เพื่อควบคุมงาน
การแจ้งปฏิบัติตามแผน
Job request for

ประจาเดือน รายงานประจาเดือน
Months Monthly reports

ประจาสัปดาห์ รายงานประจาสัปดาห์
Weeks Weekly reports

แจ้งปฏิบัติงานประจาวัน รายงานประจาวัน
Daily request Daily reports
การเตรียมงานก่อสร้าง

การเตรียมสถานที่ Site Preparation or Mobilization

1. การปรับพื้นที่ก่อสร้าง การขุด และถมดิน


• ตรวจสอบขนาดที่ดิน และสภาพแวดล้อมทั้งภายในและนอกโครงการ
• ทางเข้า- ออก เป็นทางสาธารณะ หรือที่ส่วนบุคคล หรือภาระจายอม
• การหาระดับอ้างอิง เช่น กลางถนนหน้าโครงการการตรวจสอบระดับของพื้นที่รอบๆโครงการ
เพื่อกาหนดระดับอ้างอิง
• การปรับพื้นที่มีทั้งการถมดินและการขุดดิน (พรบ. การขุดดินถมดินฯ)
• การตรวจสอบพื้นทีต ่ ามผังโฉนด กับพ้ันที่ดินหากไม่ถูกต้อง ต้องทาการรังวัดโดยเจ้าหน้าที่
จากกรมที่ดิน
2. การเตรียมหน่วยงานก่อสร้าง กั้นขอบเขต ขึ้นป้ายรายละเอียดต่างๆ
3. การวางผังปักหมุดโครงสร้างใต้พื้นดิน
4. การขออนุญาตปลูกสร้างเพื่อทาการขอน้าประปา-ไฟฟ้า-โทรศัพท์ชั่วคราว
5. วางผังพื้นที่การทางาน และส่วนพักอาศัยของคนงานอย่างเหมาะสม
6. วางระบบรักษาความปลอดภัยภายในพื้นที่โครงการก่อสร้างให้ครอบคลุม
7. จัดทาแผนผังโครงสร้างหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่
8. จัดทาแผนงานหลัก แผนงานย่อยในการก่อสร้างโครงการ
9. จัดทาข้อตกลงและมาตรการในการทางานทั้งหมดเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สินโครงการ
การดาเนินงานก่อสร้าง

การดาเนินงานก่อสร้าง (Construction Process)

1. งานโครงสร้าง (เสาเข็ม, ฐานราก, เสา-คาน, บันได, หลังคา)


2. งานสถาปัตยกรรม (พื้น, ผนัง, ประตู-หน้าต่าง, ฝ้าเพดาน
3. งานระบบอาคาร (สุขาภิบาล, ไฟฟ้าแสงสว่าง-ไฟฟ้ากาลัง, ระบบปรับอากาศ,
ระบบรักษาความปลอดภัย)
4. งานตกแต่งภายใน (สุขภัณฑ์, ครัว, เฟอร์นิเจอร์, ดวงโคม, ราวกันตก)
5. งานภูมิสถาปัตย์ (ถนน, สนามหญ้า, ทางเดินภายนอก, ต้นไม้ ,บ่อน้า, ศาลา)
การแล้วเสร็จของงาน (Completion of Works) แบ่งได้เป็น 2 รูปแบบ คือ
(1) การแล้วเสร็จตามแบบ (Drawing) และรายการก่อสร้าง (Specification) เรียกโดยทั่วไปว่า Practical Completion และ
(2) การแล้วเสร็จสมบูรณ์ของงานทุกอย่างที่กาหนดไว้ในสัญญา เรียกโดยทั่วไปว่า Final Completion

• การแล้วเสร็จของงานประเภทใดจะนามาใช้กับโครงการใดขึ้นอยู่กบ
ั ข้อสัญญาระหว่างผู้ว่าจ้างกับผู้รับจ้างก่อสร้าง
• การแล้วเสร็จของงานตามแบบ และรายการก่อสร้าง เป็นการแล้วเสร็จของงานอย่างครบถ้วนตามแบบและรายการก่อสร้าง และได้ทา
งานเก็บเรียบร้อยแล้ว แต่ไม่รวมถึงการส่งมอบเอกสารต่างๆ และการอบรม บุคลากรของผู้ว่าจ้าง และเงื่อนไขอื่นๆ ในสัญญา
• ในกรณีที่สัญญาจ้างก่อสร้างกาหนดให้ผู้บริหารการก่อสร้างเป็นผู้ออกหนังสือแล้วเสร็จของงาน ผู้บริหาร การก่อสร้างควรออกหนังสือ
รับรองการแล้วเสร็จของงานให้แก่ผู้รับจ้างโดยเร็ว จัดทาหนังสือรับรองการแล้วเสร็จให้ผู้ว่าจ้างลงนามโดยเร็ว และส่งมอบให้แก่ผู้รับ
จ้างก่อสร้างโดยไม่ชักช้า
• เมื่อได้ออกหนังสือรับรองการแล้วเสร็จของงานให้แก่ผู้รับจ้างแล้ว ถือว่าระยะเวลาประกันผลงาน (Maintenance Period) ตามสัญญา
เริ่มต้นนับแต่วันที่ออกหนังสือรับรองการแล้วเสร็จของงาน
• ผู้บริหารการก่อสร้างควรจัดทาเอกสารการชาระเงินงวดสุดท้าย (Final Payment) และดาเนินการอื่นๆ ที่จาเป็น เช่น แจ้งให้ผู้รับจ้าง
จัดทาหนังสือค้าประกัน ผลงาน (Maintenance Bond) ส่งมอบให้แก่ผู้ว่าจ้างพร้อมกับการรับเงินค่าจ้างงวดสุดท้าย
• ในกรณีของการแล้วเสร็จของงานตามแบบและรายการก่อสร้าง (Practical Completion) ควรให้ผู้รับจ้างก่อสร้างจัดส่งเอกสารที่
เกี่ยวข้อง จัดอบรมบุคลากรของผู้รบ
ั จ้าง และเงื่อนไข อื่นๆ ของสัญญาก่อสร้างให้แล้วเสร็จก่อน เอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น

- แบบก่อสร้างจริง As-build Drawing - รายการวัสดุก่อสร้างที่ใช้จริง


- แผนงานก่อสร้าง - รายงานความก้าวหน้าโครงการ
- สรุปผลการเบิกงวดงาน S-Curve - รายงาน-เบิกงวดงานประจาเดือน
- รายงานการประชุมประจาสัปดาห์ - เอกสารงานเพิ่ม-ลดของโครงการ
- เอกสารการส่งขออนุมัติงาน - เอกสารคู่มือการใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์งานระบบ
ระยะที่สี่ การส่งมอบและรับมอบงาน (Delivery and Acceptance of Works) โดยมีขอบเขต
ของงาน เช่น
(1) เมื่อผู้รับจ้างส่งมอบงาน ไม่ว่าจะเป็นการแล้วเสร็จของงานเป็นส่วนๆ การแล้วเสร็จตามงวดงาน (ในกรณีที่ ถือว่าเป็นการส่งมอบงาน)
หรือการแล้วเสร็จท้ังหมด หากการทางาน ดังกล่าวยังไม่ครบถ้วน ผู้บริหารการก่อสร้างควรแจ้งให้ผู้รับจ้างก่อสร้างนั้นทางานที่ส่ง
มอบให้ครบถ้วนก่อน
(2) ผู้บริหารการก่อสร้างควรจะทาบัญชีรายการงานเก็บ (Punch List) ในขณะที่ตรวจความ สมบูรณ์ของงานที่ส่งมอบ แล้วให้ผู้ร่วม
ตรวจสอบลงลายมือชือ ่ ไว้ พร้อมกาหนดระยะเวลาให้ผู้รับจ้างก่อสร้าง ทาการแก้ไข แล้วส่งมอบงานใหม่
(3) งานที่ส่งมอบทุกงาน ผู้บริหารการก่อสร้างควรดาเนินการให้ผู้รับจ้างก่อสร้างทาการทดสอบและทดลอง การทางานที่ส่งมอบนั้นเป็น
ไประบบตามหลักวิชาช่างเพื่อให้แน่ใจว่างานที่ส่งมอบนั้นเป็นไปตาม วัตถุประสงค์อย่างครบถ้วนและไม่มีส่วนบกพร่อง
(4) งานที่ส่งมอบทุกงาน ผู้บริหารการก่อสร้างควรขอให้ผู้รับจ้างก่อสร้างส่ง หนังสือรับรองของผู้ผลิต (Warranty) คู่มือการใช้และการ
บารุงรักษา (Manual) เอกสารการอนุญาตให้ใช้ (License) ของเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา และเอกสารอื่นๆ ในทานองเดียวกัน
ส่งมอบให้ผู้ว่าจ้างโดยครบถ้วน
(5) ผู้บริหารการก่อสร้างควรขอให้ผู้รบ
ั จ้างก่อสร้างส่งแบบก่อสร้างจริง (As-Built Drawing) อย่างครบชุด ตามจานวนชุดที่กาหนดไว้
ในสัญญาจ้างระหว่างผู้ว่าจ้างกับผู้รับจ้างก่อสร้าง และ ตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแบบก่อสร้างจริง
(6) งานที่ส่งมอบทุกงาน ผู้บริหารการก่อสร้างควรดาเนินการให้ผู้รับจ้างก่อสร้างจัดการให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะงานจัดอบรมบุคลากรของ
ผู้ว่าจ้างเพื่อให้สามารถใช้งานเหล่าน้ันได้
(7) ในกรณีที่สัญญาจ้างระหว่างผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างมีข้อกาหนดให้ผู้รับจ้างก่อสร้างดาเนินการอื่นๆ ในการส่งมอบงานด้วย ผู้บริหาร
การก่อสร้างควรขอให้ผู้รบ
ั จ้างก่อสร้างดาเนินการเหล่าน้ันให้แล้วเสร็จด้วย
การปิดงาน (Project Close-Out)
• เมื่อได้มีการออกหนังสือรับรองการแล้วเสร็จของงาน และได้รับมอบเอกสารต่างๆ จากผู้รับจ้างก่อสร้างครบถ้วนแล้ว ผู้บริหาร
การก่อสร้างควรส่งมอบเอกสารเหล่านั้นให้แก่ผู้ว่าจ้าง และขอให้ผู้รับจ้างก่อสร้าง ลงลายมือชื่อรับเอกสารเหล่านั้นไว้
• ผู้บริหารการก่อสร้างควรดาเนินการส่งคืนสิง่ อานวยความสะดวกที่ผู้วา่ จ้างจัดหาให้ และทาบัญชีรายการสิ่ง
อานวยความสะดวกดังกล่าว ให้ผู้รับจ้างลงลายมือชื่อรับคืนไว้ด้วย
• เมื่อผู้ว่าจ้างรับมอบเอกสารและสิ่งอานวยความสะดวกคืนแล้ว โดยทั่วไปถือว่างานของผู้บริหารการก่อสร้างแล้วเสร็จ เว้นแต่
ข้อสัญญาจะระบุไว้เป็นอย่างอื่น

การปฏิบต
ั ิหลังโครงการก่อสร้างเสร็จสิน

1. ปิดสานักงานโครงการ / ปิดสาธารณูปโภคต่างๆที่เคยเข้ามาในโครงการ
2. ปิดบัญชีของผู้ขาย ตัวแทนจาหน่ายวัสดุทั้งหมดว่าเสร็จสิ้นการทางานโครงการนีแ
้ ล้ว

3. แจ้งออกและเสร็จสิ้นภารกิจของพนักงานและเจ้าหน้าที่ที่จ้างไว้ชั่วคราวในการดาเนินโครงการ

4.เก็บรวบรวมข้อมูลหลักฐาน เอกสารทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับโครงการตั้งเริม
่ จนเสร็จสิน
้ โครงการ
WEEKLY PROGRESS REPORT
PROJECT : The one signature
12 กรกฎาคม 2566
อัพเดทความก้าวหน้างานเสาเข็มบริเวณแปลงบ้าน
คลับเฮาส์ 100 %
ซุม้ โครงการ 100%
บ้าน 74%
*รอสรุ ปแบบสระว่ ายนา้ แปลง 66B*

แปลงที่ตอกเสร็จสิน้
อยู่ระหว่างดาเนินการ
อัพเดทความก้าวหน้างานท่อระบายนา้
99 %

อยู่ระหว่างดาเนินการ
แล้วเสร็จ
คงเหลือบริเวณด้านหน้า
ดาเนินการหลังก่อสร้างเขื่อนเสร็จ
อัพเดทความก้าวหน้างานถนน
แอสฟั ลต์ 5 cm.

งานหยุดชั่วคราว ติดงานระบบใต้ดนิ
คอนกรีต 15 cm.
อยู่ระหว่างดาเนินการ 62 %

หินคลุก 15 cm.
อยู่ระหว่างดาเนินการ 99 %

ลูกรัง 25 cm.
อยู่ระหว่างดาเนินการ 99 %
ชัน้ ดินเดิม
คงเหลือบริเวณด้านหน้า
ดาเนินการหลังก่อสร้างเขื่อนเสร็จ
อัพเดทความก้าวหน้างานสะพาน

*Appproach Slap ฝั่ งโครงการยังไม่สามารถดาเนินการได้


เนื่องจากติดแนวท่อประปาชั่วคราว จะดาเนินการรือ้ ถอนแนว
ประปาชั่วคราวได้หลังทาเขื่อนเสร็จ
อยู่ระหว่างกระบวนการก่อสร้าง
Type V จานวน 14 หลัง
Type T จานวน 8 หลัง
Type T(ไม่มีสระ) จานวน 1 หลัง

TK วิรยิ มหา วิริยะ วิริยะ คา คา


&T ะ เมฆ สันติ สันติ คา
P เงิน เงิน คา วิริยะ วิรยิ วิรยิ วิรยิ
TK TK วิรยิ สัน วิริยะ วิริยะ
เงิน เงิน สันติ ะ ะ ะ
&T &T ะ ติ สันติ สันติ สันติ สันติ
P สันติ
P สัน
ติ
TK คา คา มหา
TK
&T เงิน เงิน เมฆ
&T
P P
การบริหารงานก่อสร้าง
Construction Management
ARC 435
“CPM”

อ.อามาล ภักดีธรรม ฉิ มวิไลทร ัพย ์


Method & Techniques
1. ระบบตารางเวลาแบบแท่ง (Bar Chart)
2. ระบบโครงข่าย (Network Diagram) เป็นเครื่องมือที่นิยมเช่นเดียวกับ Bar Chart
ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ของงานก่อน-หลังได้ วิธีการเขียนใช้ลูกศรบอกลาดับ จึงมัก
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Arrow Diagram
3. ระบบสายงานวิกฤติ (Critical Path Method) หรือ CPM เป็นการนาแผนผังลูกศร
มาพัฒนาโดยเพิ่มเติมรายละเอียดส่วนที่วิธีของ Network Diagram ขาดหายไป
ได้แก่ การแสดงความสัมพันธ์ของแต่ละงานอย่างชัดเจน การที่ผู้บริหารงานโครงการ
จะเขียนแผนผังแบบนี้ได้ดีต้องมีความเข้าใจในรายละเอียด และลาดับความสัมพันธ์
ของงาน
หลักการ คือ การใช้ระบบโครงข่าย Network Diagram และเพิ่มการคานวณด้าน
ระยะเวลา
4. ระบบการประเมินผลและปรับปรุงแก้ไข (Project Evaluation and Review
Technique : PERT)
5. ระบบวงจรกาหนดก่อน (Precedence Network)
6. ระบบการวางแผนแบบดุลยภาพ (Line of Balance)
ทาความเข้าใจ ระบบโครงข่าย (Network Diagram)

วิธีการเขียน คือ การกาหนดจุดเริ่มต้น


และจุดสิ้นสุด โดยใช้ลูกศรเป็นตัวเชื่อม
บนเส้นลูกศรจะแสดงชื่องาน ส่วนใต้เส้น
จะระบุระยะเวลาของงานนั้นๆ

จากแผนผังอ่านได้ว่า
จุดที่ 1 เป็นจุดเริ่มต้นโครงการ งาน A และ B
เป็นงานเริ่มต้น
งาน C ทาต่อจากงาน A และ B หมายถึง
จะเริ่มได้ต่อเมื่องาน Aและ B เสร็จก่อน)
งาน D ทาต่อจากงาน B (ไม่จาเป็นว่า
งาน A จะเสร็จหรือไม่)
จุดที่ 5 เป็นจุดสิ้นสุดโครงการ โดยมีงาน C และ
D เป็นงานสุดท้าย
(เส้นประเป็นเส้นเปล่า ไม่มีกิจกรรม เขียนเพื่อ
เชื่อมต่อโครงข่ายให้ครอบถ้วนและถูกต้อง
ตามลาดับ)
ระบบสายงานวิกฤติ (Critical Path Method)
Node "I" และ "J" หมายถึงจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของงาน
โดย A คือชื่องาน และ T คือเวลาในระหว่าง Node "I" และ "J"
ในการเขียนสายงานวิกฤติ จะมีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง
ด้านเวลา ที่ต้องนามาคานวณดังนี้ คือ
ESD = Earliest Start Date วันที่เริ่มงานเร็วที่สุด
EFD = Earliest Finish Date วันที่เสร็จงานเร็วที่สุด
LSD = Latest Start Date วันที่สามารถเริ่มงานช้าที่สุด
LFD = Latest Finish Date วันที่เสร็จงานช้าที่สุด

จากผัง จะมีองค์ประกอบเพิ่มอีก 2 อย่าง คือ


FF (Free Float) หมายถึง ระยะเวลา "เผื่อ" ของงาน
TF (Total Float) หมายถึง ระยะเวลา "เผื่อทั้งหมด" ของงาน
**ถ้า TF = 0 หมายความว่า EFD และ LFD อยู่ทต ี่ าแหน่ง
เดียวกัน คือ งานไม่ช้ากว่าแผนที่กาหนดไว้ หรือหมายถึง
งานนั้นเป็นงานวิกฤต (Critical Activity)
***ระยะเวลาตั้งแต่ ESD ถึง LFD เป็นระยเเวลาทั้งหมด
ทีท
่ างาน A ได้
ตัวอย่าง
Critical Path Method

จากแผนผัง อ่านได้ว่า
ที่จุดเริ่มต้น 0,0
งานที่ 1 เป็นงานเริ่มต้น ใช้เวลา 4 วัน งานเสร็จเร็วสุดวันที่ 4
งานที่ 5 เป็นงานเริ่มต้น ใช้เวลา 6 วัน งานเสร็จเร็วสุดวันที่ 6
งานที่ 2 ทาต่อจากงานที่ 1 และงานที่ 5 ดังนั้นจึงสามารถเริ่มงานได้เร็วที่สุดคือ วันที่ 6 (แม้ว่าวันที่ 4 งานที่ 1 จะเสร็จแล้ว
แต่งานที่ 2 ยังไม่สามารถเริ่มได้เนื่องจากต้องรองานที่ 5 ให้เสร็จก่อน) ใช้เวลา 2 วัน ดังนั้นจึงสามารถเสร็จ
ได้เร็วที่สุดวันที่ 8
งานที่ 9 เป็นงานเริ่มต้น ใช้เวลา 5 วัน งานเสร็จเร็วสุดวันที่ 5
งานที่ 6 ทาต่อจากงานที่ 2 (เส้นประจากจุด D มายังจุด C) และงานที่ 9 ดังนั้นแม้ว่างานที่ 9 จะแล้วเสร็จตั้งแต่วันที่ 5
แต่งานที่ 6 จะไม่สามารถเริ่มได้จนกว่างานที่ 2 จะแล้วเสร็จ ดังนั้นงานที่ 6 จะสามารถเริ่มได้วันที่ 8
คานวณลักษณะนี้ไปเรื่องจนสิ้นสุดโครงการ จะสามารถระบุได้ว่า ระยะเวลาทางานของโครงการรวมทั้งหมด 19 วัน
ตัวอย่าง
Critical Path Method

วิธีทา สมมติให้เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรม
ที่ไม่มีกิจกรรมใดนาหน้ามีค่าเป็น 0 ดังนั้นเวลา

เริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรม A และ B มีค่าเป็นศูนย์ จากหลักเกณฑ์ที่ได้กล่าวมาแล้ว


เวลาแล้วเสร็จเร็วที่สดุ ของกิจกรรม A และ คานวณได้ ดังนี้ คือ
กิจกรรม A : EF = 0 + 8 = 8
กิจกรรม B : EF = 0 + 4 = 4

เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรม C และ D มีค่าเท่ากับเวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุดของกิจกรรม A ส่วนเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรม E


มีค่าเท่ากับเวลาแล้วเสร็จที่สุดของกิจกรรม B การคานวณเวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุดของกิจกรรม C, D และ E ก็ทาได้เช่นเดียวกับของ
กิจกรรม A และ B คือ
กิจกรรม C : ES = 8; EF = 8 + 6 = 14
กิจกรรม D : ES = 8; EF = 8 + 11 = 19
กิจกรรม E : ES = 4; EF = 4 + 9 = 13
สาหรับกิจกรรมสุดท้าย F เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด คือ เวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุดของกิจกรรม C และเวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุดของกิจกรรม F
ก็สามารถคานวณได้คือ
กิจกรรม F : ES = 14; EF = 14 + 3 = 17

กิจกรรมสุดท้าย คือ G เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดเลือกจากเวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุดของกิจกรรม D, E และ F โดยเลือกค่าที่มากที่สุด


คือของกิจกรรม D ดังนั้น
กิจกรรม G : ES = 19; EF = 19 + 1 = 20
ตัวอย่าง
Critical Path Method

https://youtu.be/lsywP5ZR_w0

https://youtu.be/yCHvSs4-G8Y

https://youtu.be/PfWwseXQiJs
เตรียมความพร้ อมสอบรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปั ตยกรรม
วิชา "ปฏิบัติวชิ าชีพ"

เฉลยข้ อสอบ

จากคาถามทัง้ 7 ข้ อ มีคาอธิบายเพื่อนาไปประยุกต์ ใช้ กับโจทย์ ท่ อี าจจะเปลี่ยนแปลง ดังนี ้


ข้ อ1. งานที่ใช้ เวลามากที่สุดได้ แก่ งาน
ตอบ งาน E (เนื่องจากมีระยะเวลาในการทางานมากที่สุด)
ข้ อ 2. หากโครงการเป็ นไปตามแผนงาน จะแล้ วเสร็จเร็วที่สุดภายใน กี่วัน
ตอบ 18 วัน (ให้ นักศึกษาจาไว้ เป็ นหลักการนะครับ ว่ างานที่ทงั ้ เร็วและช้ าที่สุด
หากเป็ นไปตามการวางแผนงานแล้ ว ก็คืองานที่อยู่บน "เส้ นวิกฤต" นั่นเอง เร็วกว่ านีไ้ ม่ ได้
เนื่องจากต้ องทาให้ เสร็จทุกงาน และงานที่นามาคิดเวลาโดยรวมคืองานที่ใช้ เวลามากที่สุดในแต่
ละช่ วงเวลาเดียวกัน มี LF (LATE FINISH) พร้ อมกัน ซึ่งหากช้ ากว่ านีก้ ็จะทาให้ เวลารวมทัง้
โครงการยืดออกไป
ข้ อ 3. งานที่มีเวลาเผื่อมากที่สุดได้ แก่ งาน

ตอบ งาน D (เนื่องจากในช่ วงเวลาการทางานที่ต้องจบพร้ อมกัน (LATE FINISH)


ของงาน D คืองาน E จากรูปด้ านบน แต่ งาน E ใช้ เวลาทางาน 6 วัน แต่ งาน D ใช้ เวลาในการ
ทางาน 2 วัน 2 งานนีอ้ ยู่ในช่ วงการทางานเดียวกันซึ่งต้ องเสร็จก่ อนงาน F จึงจะทาต่ อได้ ถึงแม้
งาน D จะเสร็จก่ อน งาน F ก็ยังเริ่มไม่ ได้ เพราะต้ องรองาน E เสร็จเหมือนกัน แต่ งาน E ใช้ เวลา 6
วัน มากกว่ างาน D 4 วัน ช่ วงเวลา 4 วันนีจ้ งึ ถือว่ าเป็ นเวลาเผื่อของงาน D ที่จะใช้ ในช่ วงก่ อนหรือ
หลังงานของตัวเองก็ได้ )

ข้ อ 4. มีเวลาเผื่อรวม

ตอบ 7 วัน (เนื่องจากเหตุผลข้ างต้ น)

ข้ อ 5.งานที่เป็ นงานวิกฤตมีจานวน

ตอบ 5 งาน (เนื่องจากเหตุผลข้ างล่ าง)

ข้ อ 6. ได้ แก่ งาน

ตอบ งาน A , C , E , F , H (เนื่องจากงานวิกฤตคืองานที่ใช้ เวลาการทางานมาก


ที่สุดในช่ วงการทางานเดียวกัน ซึ่งหากดูจากเริ่มงานจนจบโครงการก็จะได้ สายงานที่เป็ นสายงาน
วิกฤตของโครงการนัน้ ออกมาตามรูปด้ านล่ าง )
ข้ อ 7. หากงาน B ไม่ เป็ นไปตามแผนล่ าช้ ากว่ ากาหนด 2 วัน รวมทางาน B เป็ นเวลา 4 วัน
โครงการนีจ้ ะแล้ วเสร็จช้ ากว่ ากาหนด กี่วัน

ตอบ 19 วัน (เนื่องจากในช่ วงเวลาการทางานเดียวกันงานที่เป็ นงานวิกฤตที่


กาหนดเวลารวมของโครงการไม่ ใช่ งาน B แต่ เป็ นงาน C เนื่องจากเดิมมีเวลาการทางานมากกว่ า
อยู่ท่ ี 3 วัน ทาให้ มีเวลารวมเท่ ากับ 18 วัน แต่ ถ้าหากงาน B เพิ่มมาเป็ น 4 วัน ก็จะมากกว่ างาน C
ซึ่งเป็ นงานวิกฤตเดิมอยู่ 1 วัน ทาให้ เวลารวมบวกมาอีก 1 วัน เป็ น 19 วัน )

You might also like