You are on page 1of 62

บทบาทของวิศวกรในการพัฒนาโครงการ

การพัฒนาโครงการ
Project Development
ขั้นตอนในการพัฒนาโครงการ

 ระยะก่อนการลงทุน (Pre-investment phase)


– การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
 ระยะลงทุน (investment phase)
– การออกแบบทางวิศวกรรม การทำสัญญา การก่อสร้าง การรับสมัคร
และฝึ กอบรมพนักงาน
 ระยะดำเนินการ (operation phase)
– ดำเนินการให้เป็ นไปตามแผนจนกว่าจะสิ้ นสุ ดโครงการ
ระยะที่ 1 Pre-investment
phase
 Owner Engineer
– วิศวกรที่อยูใ่ นบริ ษทั ที่เป็ นเจ้าของโครงการ
– ค้นหาโอกาสทางธุรกิจ
– ทราบข้อจำกัดในการดำเนินการทางธุรกิจของโครงการ
 Consultant Engineer
– เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในด้านการออกแบบและประเมินผลกระทบของโครงการ
 Supplier
– ผูข้ ายผลิตภัณฑ์ดา้ นเทคโนโลยี
 Lender Engineer
– วิศวกรของสถาบันการเงินที่จะทำหน้าที่ประเมินการสนับสนุนด้านการเงิน
ของโครงการ
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

 การจัดตั้งธุรกิจใหม่
 การเพิม่ กำลังการผลิต เช่น โรงงานน้ำตาลขยายกำลังการผลิต
จาก 2.6 ล้านตันต่อปี เป็ น 3.1 ล้านตันต่อปี
 การเพิม่ ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ เช่น โรงสี ตอ้ งการลงทุน โรงไฟฟ้ า
แกลบ
 การปรับปรุ งอุปกรณ์หลักในโรงงาน เช่น การเปลี่ยนชนิดของ
เชื้อเพลิงจากน้ำมันเตาเป็ นเชื้อเพลิงชีวมวล
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ
 ลดความเสี่ ยงที่จะล้มเหลวในการดำเนินโครงการ
 สามารถประเมินได้อย่างรอบคอบว่าเมื่อดำเนินโครงการแล้วจะ
เป็ นอย่างไรในด้าน
– วัตถุดิบ
– รายได้
– รายจ่าย
– กระแสเงินสด
– ผลกระทบจากการดำเนินงาน
สาเหตุความล้ มเหลวของโครงการ

 ไม่สามารถขายสิ นค้าได้ในปริ มาณที่พอเพียงในราคาพอสมควร


 ไม่สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายในการผลิต
 ไม่สามารถเพิ่มเงินทุนหมุนเวียนให้เพียงพอต่อความต้องการที่จะ
ใช้ได้
 สาเหตุอื่นๆ
– ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมมากจนไม่สามารถดำเนินการได้
ตัวอย่ างโครงการทีล่ ้ มเหลว
สาเหตุของความล้ มเหลวทีอ่ ยู่ในการควบคุมของ
ฝ่ ายบริหาร
 ไม่สามารถเข้าไปแข่งขันในตลาดได้
– เทคโนโลยี
– ต้นทุนการผลิต
 ไม่สามารถผลิตสิ นค้าให้มีคุณภาพสูงได้
– เทคโนโลยี
– บุคลากร
 วัตถุดิบไม่เหมาะสมในการผลิต เช่น มีความชื้นมากเกินไป เป็ นต้น
– ตัวอย่างการใช้ลิกไนต์คุณภาพต่ำในการผลิตไฟฟ้ า
 สาเหตุอื่นๆ
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

 โครงการ
– กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนเพื่อผลิตสิ นค้าหรื อบริ การโดยมุ่งหวัง
จะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนในอนาคตจากการลงทุนนั้นในช่วงเวลา
ที่มีการลงทุน
 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
– การศึกษาวิเคราะห์อนั จะนำไปสู่การตัดสิ นใจลงทุนอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
– เพื่อให้ได้ผลตอบแทนการลงทุนที่คุม้ ค่า
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

 วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการในด้าน
– การตลาด
– วิศวกรรม
– การเงิน
 ต้องระบุก ำลังการผลิตและที่ต้ งั ของโครงการที่เหมาะสม
 ใช้เทคโนโลยีในการผลิตแบบใด
 ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและดำเนินกิจการเพียงไร
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ
 ด้านการตลาด
– ความต้องการผลิตภัณฑ์
– การผลิตของโรงงานที่มีอยูใ่ นปัจจุบนั เป็ นอย่างไร
– การนำเข้าจากต่างประเทศมากน้อยแค่ไหน
– ราคา
 การศึกษาด้านการตลาดเป็ นขั้นตอนแรกของ F.S.
 หากชี้ชดั ว่าโครงการดังกล่าวมีตลาดรองรับจึงศึกษาความเหมาะ
สมด้านอื่นๆต่อไป
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ
 ด้านวิศวกรรม
– ขนาดการผลิตที่เหมาะสมว่าควรเป็ นอย่างไร
– กระบวนการผลิตที่เหมาะสมเป็ นอย่างไร
– ขั้นตอนการผลิตเป็ นอย่างไร
– โรงงานควรจะตั้งอยูท่ ี่ไหน
– ปริ มาณวัตถุดิบที่จะใช้เป็ นเท่าไรและหาได้จากแหล่งใด
– เครื่ องจักรอุปกรณ์ที่จะผลิตมีอะไรบ้าง
– การวางผังโรงงานควรเป็ นอย่างไร
– แผนการก่อสร้างโรงงาน
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

 ด้านการเงิน
– จำนวนเงินลงทุนทั้งสิ้ นเป็ นเท่าไร
– ค่าใช้จ่ายในแต่ละด้านเป็ นอย่างไร
– คืนทุนภายในกี่ปี
– ผลตอบแทนการลงทุนในแต่ละปี จะเป็ นอย่างไร
– ผลตอบแทนการลงทุนตลอดอายุโครงการเป็ นเท่าไร
– ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนหรื อไม่
โครงร่ างในการศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ
 1. ส่ วนที่เป็ นการศึกษาพื้นฐาน
– การตลาด
– วิศวกรรม
– การบริ หารและจัดองค์กร
– เงินทุน
– ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่ งแวดล้อม
 2. ส่ วนที่เป็ นการวิเคราะห์
– การเงิน
– เศรษฐศาสตร์
การศึกษาด้ านการตลาด

 ตลาดของสิ นค้าที่เราจะลงทุนผลิตนั้น มีขนาดกว้างใหญ่เพียงใด


 ตลาดดังกล่าวมีลู่ทางที่จะขยายให้กว้างขวางต่อไปได้มากน้อย
ประการใด
 โครงการลงทุนของเราจะยึดครองตลาดได้มากน้อยแค่ไหน
ตลาดจะเป็ นอย่ างไรในอนาคต

 ต้องคาดคะเนภายใต้สมมิตฐานที่สมเหตุสมผล เช่น
 ตลาดของบ้านเรื อนอาคารจัดสรรในกรุ งเทพฯ ขึ้นอยูก่ บั อัตราการ
เพิ่มขึ้นของประชากรที่อาศัยอยูใ่ นเขตนี้
 ความต้องการในการใช้เหล็กมีความสัมพันธ์กบั อัตราการเพิม่ ขึ้น
ใน GDP
 แนวโน้มราคาน้ำมันที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้องการใช้รถขนาดเล็ก
มีสูงขึ้นในอนาคต
เราจะครองตลาดได้ มากน้ อยเพียงใด
 ต้องทราบข้อมูลคู่แข่ง
 โรงงานที่ผลิตสิ นค้าประเภทเดียวกัน
– กำลังการผลิต
– กระบวนการผลิตที่ใช้
– อัตรากำไรที่ได้รับ
– แผนการขยายกำลังการผลิต
– ฐานะทางการเงิน
– แผนและกลยุทธตลาด
– คุณภาพของสิ นค้าที่ผลิต
การศึกษาด้ านวิศวกรรม

 เพื่อตอบคำถามว่า
 ทางด้านเทคนิคเป็ นไปได้หรื อไม่ ที่จะทำการผลิต
 ปั ญหาและอุปสรรคที่จะแก้ไขมีหรื อไม่ เช่น การขาดแคลน
วัตถุดิบ
 ปั จจัยด้านเทคนิคจะบอกถึงงบประมาณสำหรับการลงทุนและ
สำหรับการดำเนินการผลิต
การศึกษาด้ านวิศวกรรม
 ผลิตภัณฑ์และคุณลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์
– คุณภาพ ขนาด แบบ สี สมรรถนะ วัสดุ
– เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ในโครงการ
– เช่น ในการผลิตน้ำตาล ควรจะมีสดั ส่ วนน้ำตาลแต่ละเกรดอย่างไร
 กระบวนการผลิต
– คุณสมบัติของวัตถุดิบที่ใช้
– คุณภาพและข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ในโครงการ
– ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการผลิต
– ต้องศึกษาเทคโนโลยีการผลิตหลายๆรู ป
การศึกษาด้ านวิศวกรรม
 เครื่ องจักรและอุปกรณ์การผลิต
– รวมถึงอุปกรณ์อ ำนวยความสะดวกในการผลิต เช่น ลำเลียง ขนส่ งวัสดุ
และผลิตภัณฑ์ในโครงการ
 สถานที่ต้ งั โรงงาน
– ระยะทางจากโรงงานถึงแหล่งวัตถุดิบและตลาด
– การคมนาคมขนส่ ง
– แรงงานและค่าจ้างแรงงาน
– พลังงานที่ตอ้ งใช้และราคาพลังงาน
การศึกษาด้ านวิศวกรรม
 สถานที่ต้ งั โรงงาน
– น้ำและคุณภาพของน้ำ
– ระบบการกำจัดของเสี ยจากโรงงาน
– ภาษีและการยกเว้นภาษี
– ที่ดินและราคาที่ดิน
 การวางผังโรงงาน
– โรงงาน เครื่ องจักร โกดัง การขนส่ ง
– อาคาร
การศึกษาด้ านวิศวกรรม

 โครงสร้างสิ่ งก่อสร้าง
– เพื่อประมาณค่าใช้จ่ายในการลงทุนของโครงการ เช่น ต้องรู้วา่ โกดังมี
ขนาดกี่ตารางเมตร ค่าก่อสร้างต่อตารางเมตรประมาณเท่าใด
– โกดัง ประมาณ 3000 – 4000 บาทต่อตารางเมตร
– ลานตากวัสดุ ประมาณ 700 – 1000 บาทต่อตารางเมตร
– อาคารสำนักงาน ประมาณ 10000 บาทต่อตารางเมตร
การศึกษาด้ านวิศวกรรม
 วัตถุดิบ
– คุณสมบัติและลักษณะเฉพาะ
– ปริ มาณที่ตอ้ งใช้
– แหล่งและปริ มาณที่อาจหาได้
– การเก็บรวบรวมและขนส่ ง
 สาธารณูปโภค
– ไฟฟ้ า
– ไอน้ำ
– น้ำ
– ระบบกำจัดของเสี ย
การศึกษาด้ านการเงิน
 การประมาณเงินลงทุนในโครงการ
– ใช้เงินในด้านใดบ้าง
– จำนวนเท่าไร
– ได้มาจากแหล่งใด
 การประมาณด้านการเงินของโครงการ
– ต้นทุนขาย
– ค่าใช้จ่ายในการบริ หารและอื่นๆ
– งบกำไรขาดทุน
– กระแสเงินสด
การศึกษาด้ านการเงิน

 วิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
– ระยะเวลาคืนทุน
– อัตราผลตอบแทนการลงทุน IRR
– มูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ NPV
Sensitivity Analysis

 การวิเคราะห์วา่ เมื่อตัวแปรใดเปลี่ยนแปลงจะส่ งผลกระทบต่อผล


การวิเคราะห์บา้ ง
– หากมูลค่าการลงทุนเปลี่ยน 10% จะส่ งผลต่อ IRR เป็ นอย่างไร
– หากราคาวัตถุดิบเปลี่ยน 10% จะส่ งผลต่อ IRR เป็ นอย่างไร
ระยะที่ 2 ระยะลงทุน
 ขอใบอนุญาตทีเ่ กีย
่ วข ้อง
 จัดทำข ้อกำหนดในการจัดซอ ื้ และจัดจ ้าง (TOR)
 ทำการประกวดราคา
 ซองเทคนิค
 ซองราคา

 ต่อรองและจัดทำสญ ั ญาจัดหาอุปกรณ์และ
ก่อสร ้าง
 ดำเนินการก่อสร ้าง
ต ัวอย่างใบอนุญาตทีเ่ กีย
่ วข้อง
 ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (รง.4)
 ใบอนุญาตก่อสร ้าง ดัดแปลงและรือ ้ ถอนอาคาร
(อ.1)
 การจัดทำรายงานผลกระทบสงิ่ แวดล ้อม (EIA)
 การขอรับการสง่ เสริมการลงทุน
 การทำสญั ญากู ้เงิน หรือจัดหาเงินทุนใน
โครงการ
TOR (Term of References)
 TOR เป็ นอกสารทำกำหนดขอบเขตและรายละเอียดของภารกิจทีผ ่ ู ้จัด
ทำ TOR ต ้องการให ้ผู ้รับจ ้างดำเนินการ
 โดยการบอกขอบเขตของงานให ้ชด ั เจน ระยะเวลาทีต ่ ้องการ คุณสมบัต ิ
ของผู ้เสนอราคา ซงึ่ ผู ้ซอ ื้ หรือผู ้ว่าจ ้างต ้องการให ้ทำงานตามขอบเขตดัง
กล่าว
 สงิ่ ทีผ
่ ู ้ว่าจ ้างต ้องการให ้ดำเนินการมีกข ี่ น
ั ้ ตอน แต่ละขัน้ ตอนประกอบด ้วย
อะไรบ ้าง ปฎิบต ั งิ านตามสญ ั ญาจะได ้อะไร ผิดสญ ั ญาจะถูกปรับอย่างไร
สงิ่ ต่างๆเหล่านีผ ้ ู ้ว่าจ ้างจะจัดอยูใ่ น TOR ทัง้ หมด เพือ ่ ประกาศหาผู ้ขาย
ตามกรรมวิธต ี อ
่ ไป
 ตัวอย่าง TOR
 <4D6963726F736F667420576F7264202D20C3E8D2A7A2CDBAE0A2B5A2CDA7A7D2B9206E6577332E
646F6378> (swu.ac.th)
 Download (pttplc.com)
Drawing ทีใ่ ชใ้ นโครงการ
 แบบเพือ
่ การประกวดราคา (Tender Drawings)
 สญั ญาแบบ Turn key (ออกแบบรวมก่อสร ้าง) หรือ EPC
(Engineering, Procurement and Construction) Contract อาจใชคำ ้
ว่า Outline Design Drawings (แบบเค ้าโครง) จะใชประกอบส ้ ั ญา

ด ้วย โดยก่อนเริม
่ การก่อสร ้าง ผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง (ผู ้รับเหมา) จะต ้อง
ออกแบบรายะเอียด และผลิตแบบรายละเอียด (Detailed Design
Drawings) และขออนุมัตท ิ ป
ี่ รึกษาก่อเริม ่ ดำเนินการก่อสร ้าง
Drawing ทีใ่ ชใ้ นโครงการ
 แบบเพือ
่ การก่อสร ้าง (Construction Drawings)
 แบบชุดนีจ ้
้ ะใชประกอบส ั ญาก่อสร ้าง จะใชเป็
ญ ้ น
หลักในการดำเนินการก่อสร ้าง หากมีการแก ้ไขแบบ
ในสาระสำคัญภายหลังจากการลงนามในสญ ั ญา จะ
ผลิตแบบใหม่ จะเป็ นแบบก่อสร ้างเพิม
่ เติม
(Addendum) อาจมีการตกลงราคาค่าก่อสร ้างเพิม ่
เติม
Drawing ทีใ่ ชใ้ นโครงการ
 ้
แบบใชงานเพื อ
่ การก่อสร ้าง (Shop Drawings)
แบบเหล่านีจ ้ ะผลิตโดยผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง
(ผู ้รับเหมา) โดยผู ้ออกแบบ ผู ้ควบคุมงาน หรือที่
ปรึกษาจะเป็ นผู ้ตรวจและอนุมัตก ิ อ่ นให ้ผู ้รับจ ้าง
ทำการก่อสร ้างจริง
Drawing ทีใ่ ชใ้ นโครงการ
 แบบก่อสร ้างจริง (As-built Drawings)
 แบบเหล่านีจ ้ ะผลิตโดยผู ้รับจ ้างก่อสร ้าง (ผู ้รับเหมา) โดยผู ้
ออกแบบ ผู ้ควบคุมงาน หรือทีป ่ รึกษาจะเป็ นผู ้ตรวจและอนุมัตก ิ อ
่ น
ดำเนินการตรวจรับมอบงานก่อ สร ้างขัน ้ สุดท ้าย โดยจะรวบรวมทัง้
แบบก่อสร ้าง และแบบใชงานเพื ้ อ
่ การก่อสร ้าง (Shop Drawings)
ผสานเข ้ากันเป็ นชุดเดียว ว่าทีก ่ อ
่ สร ้างจริง ๆ แล ้วเป็ นอย่างไร มี
อะไรทีแ่ ก ้ไขจากแบบดัง้ เดิมหรือไม่ เพือ ่ เก็บไว ้เป็ นหลักฐาน และ
การซอ่ มบำรุง อาคารหรือโครงสร ้างนัน ้ ในภายหลัง
งานระหว่างการประกวดราคา
- กำหนดคุณสมบัติ ประกาศ จัดหา ผูร้ ่วมประกวดราคา
- จัดการประชุม Prebid Meeting
- ให้ข้อมูลการประกวดราคาแค่ผรู้ ่วมประกวดราคาเพื่อความ
เสมอภาพ โปร่งใส อาจจัดการประชุม ณ สถานที่ตงั ้ โครงการ
- ตรวจรายละเอียดของแบบ และ ราคา ของผูเ้ สนอราคาเพื่อลด
ความขัดแย้ง
- กำหนดกฎเกณฑ์งานเพิ่มลด เจรจาต่อรอง
- ประสานงานระหว่างผูเ้ กี่ยวข้อง เกี่ยวกับสัญญาทัง้ หมด
- จัดการประกวดราคา ประกาศผูช้ นะ และ สรุปผล ดำเนินการ
เซ็นสัญญา
ขัน้ ตอนการจัดการประกวดราคา
- หลังจากได้รบั แบบจากผูอ้ อกแบบแล้ว ทำการจัดหาผูร้ บั เหมาได้
โดยการติดต่อเชิญชวนให้ซื้อแบบเพื่อเสนอราคา
- หากเป็ นงานทางราชการจำเป็ นต้องประกาศทางสาธารณะ
จัดเตรียม Bid Package สำหรับขายผูเ้ ข้าร่วมประกวดราคา คือ
เอกสารที่ประกอบด้วยแบบก่อสร้างครบชุด ระเบียบการ แบบฟอร์ม
ต่างๆที่จ ำเป็ น
- ผูเ้ ข้าร่วมซื้อชุด Bid Package แล้วกลับไปประมาณราคา พร้อมทัง้
ตรวจสอบแบบและเอกสาร
- จัด Bid Meeting เพื่อให้ผเู้ ข้าร่วมทุกเจ้าได้ถามข้อข้อซักถามเกี่ยว
กับทางเทคนิคหรือระเบียบ และทุกคำถามคำตอบจะต้องเปิดเผยกับ
ผูเ้ ข้าร่วมทุกเจ้าเพื่อความโปร่งใส
ขัน้ ตอนการจัดการประกวดราคา
- ผูเ้ ข้าร่วมประกวดราคา ส่งเอกสารตามวันและเวลาที่ก ำหนด ซึ่งเอกสาร
ต่างๆได้แก่ ใบเสนอราคา BOQ เอกสารแนะนำศักยภาพของบริษทั หนังสือ
จดทะเบียน หนังสือค้ำประกันผลงาน หนังสือค้ำประกันทางการเงิน ใบ
ทะเบียนการค้า หนังสือรับรองของสถาปนิกวิศวกร หรือเอกสารต่างๆที่
เจ้าของงานต้องการ
- เจ้าของงานทำการเปิดซองประกวดราคา และประกาศลำดับผูช้ นะ
- เจ้าของงานตรวจสอบเอกสารของผูช้ นะว่าตรงตามระเบียบที่ระบุหรือไม่
และตรวจสอบราคาตามรายการโดยละเอียดว่ามีจดุ ที่ไม่สมเหตุสมผลหรือไม่
- หากมีเหตุผลข้อใดที่ทำให้ผช้ ู นะ ไม่ตรงตามคุณสมบัติหรือมีข้องบกพร่อง
ในการเสนอราคา เจ้าของงานสามารถตัดสิทธ์ ิ เจ้านัน้ และให้เจ้าที่เสนอราคา
ถัดไปและมีความสมบูรณ์พร้อมที่จะรับงานเป็ นผูช้ นะแทน
- ทำการประชุม ร่างสัญญาเพื่อให้ตรวจสอบ และนัดหมายเซ็นสัญญา

ประเภทของสญญาในงาน
ก่อสร้าง
 ประเภทเหมารวม (Lump-sum)
 ประเภทราคาต่อหน่วย (Unit-price)
 ประเภทค่าใชจ่้ ายจริงบวกค่าดำเนินการและ
กำไร (Cost plus fixed fee and profit)
 ประเภทมีรางวัลและค่าปรับ (Reward & Fine)
ประเภทเหมารวม (Lump-sum)
 เป็ นสญ ั ญาทีน ิ มใชกั้ นทัว่ ไป
่ ย
 ผู ้รับจ ้างตกลงทีจ่ ะทำงานทัง้ หมดในวงเงินที่
กำหนดแก่ผู ้ว่าจ ้าง
 ผู ้ว่าจ ้างตกลงจะจ่ายเงินเป็ นงวดๆ ตามผลงานที่
เสร็จตามทีร่ ะบุกน ั ไว ้
 เหมาะกับงานก่อสร ้างทีม ่ รี ป
ู แบบรายละเอียด
ครบถ ้วนแล ้วเท่านัน ้

สญญาแบบเหมารวม

ข้อดี ข้อเสย ี
 ทราบวงเงินดำเนินการแน่นอน  เสย ี เวลาในการรอคอยให ้รูป
 สามารถทำงานให ้เสร็จเป็ น แบบและรายละเอียดสมบูรณ์
ตอนๆตามทีก ่ ำหนด  เปลีย ่ นแปลงรูปแบบและ
 ตรวจสอบปริมาณและผลงาน รายการในภายหลังทำได ้
ได ้ชดั เจน ลำบากหรือทำให ้แผนงานต ้อง
 ชำระเงินงวดได ้ตามผลงานและ เปลีย ่ น
 ผู ้รับจ ้างอาจเผือ่ ราคารับเหมา
เงือ
่ นไขทีก ่ ำหนด
ก่อสร ้างในกรณีทรี่ าคาวัสดุอาจ
เพิม ่ ขึน ้
ประเภทราคาต่อหน่วย
(Unit-price)
 ผู ้รับจ ้างได ้ทำตารางปริมาณงานและราคาต่อหน่วยของปริมาณ
งานต่างๆไว ้ในแต่ละรายการ
 การเบิกจ่ายคิดตามปริมาณผลงานทีท ่ ำได ้จริง
 รวมทัง้ งานทีอ ่ าจเพิม
่ ในภายหลัง
 เกิดความยุตธิ รรมทัง้ สองฝ่ าย
 เหมาะกับงานก่อสร ้างทีม ่ รี ป
ู แบบรายละเอียดไม่ครบถ ้วน
 หรืองานทีม ่ ลี กั ษณะเหมือนซ้ำๆกัน เชน ่ งานถนน งานขุดดิน งาน
คอนกรีต เป็ นต ้น

สญญาแบบราคาต่
อหน่วย
ข้อดี ข้อเสย ี
 งบประมาณอาจคลาดเคลือ ่ น
 ก่อสร ้างได ้ทันที โดยไม่ต ้องรอ
รูปแบบสมบูรณ์หรือรู ้ปริมาณ ได ้ง่าย
 ถ ้าราคาต่อหน่วยกำหนดไม่
งานทัง้ หมด
 การจ่ายเงินแต่ละงวดจ่ายตาม ครบ จะเสย ี เวลาในการตกลง
ปริมาณงานจริงทีท ่ ำได ้ ราคากันใหม่
 การตรวจสอบปริมาณงานเพือ ่
 ผลงานแต่ละงวดขึน ้ อยูก
่ บ
ั ผู ้รับ
จ ้างเองทีท
่ ำได ้ จ่ายเงิน ต ้องคิดละเอียด
 การเร่งรัดงานทำได ้ยาก เพราะ
ไม่ทราบปริมาณงานทีแ ่ น่ชดั

สญญาประเภทคิ ดค่าใชจ ้ า่ ยบวกค่าดำเนิน
การและกำไร
(Cost Plus Fixed fee and Profit)
 ้
ใชในกรณี ทเี่ จ ้าของงานต ้องการเร่งรัดงานให ้เสร็จเร็วทีส
่ ด

 เป็ นลักษณะงานพิเศษทีเ่ จ ้าของงานและผู ้รับเหมาไม่เคย
ทำมาก่อน
 ตกลงค่าดำเนินการและกำไรไว ้ก่อน
 ค่าใชจ่้ ายคิดตามต ้นทุนจริงทีจ ่ า่ ยไป
 เจ ้าของงานอาจต ้องควบคุมค่าใชจ่้ ายเอง

สญญาประเภทคิ ้ า่ ยบวก
ดค่าใชจ
ค่าดำเนินการและกำไร
ข้อดี ี
ข้อเสย
 ทำได ้โดยไม่ต ้องรอแบบ  ไม่สามารถคาดการณ์งบประมาณ
รายละเอียด ได ้
 ประหยัดเวลาในการ  เจ ้าของงานต ้องควบคุมค่าใชจ่้ าย
ก่อสร ้าง เองอย่างใกล ้ชด ิ
 ประหยัดค่าใชจ่้ ายเพราะ  ผู ้รับเหมาอาจใชเทคนิ ้ คการ
จ่ายตามค่าก่อสร ้างจริง ก่อสร ้างทีส ิ้ เปลืองทำให ้ค่า
่ น
ก่อสร ้างแพง
 ต ้องหาผู ้รับเหมาทีซ ื่ สต
่ อ ั ย์ความ
รับผิดชอบสูง
ผูเ้ กีย
่ วข้องในงานก่อสร้าง
 เจ ้าของงาน (Owner, Client)
 สำนักงานผู ้ออกแบบ (Design Firm)
 ผู ้รับเหมางานก่อสร ้าง (Contractor)
 สำนักงานทีป ่ รึกษา (Consultant)
ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง (Contractor)
 เป็ นผู ้ดำเนินการก่อสร ้างให ้งานเป็ นไปตามทีอ ่ อกแบบ
 ผู ้รับเหมาหลัก (Main contractor)
 โครงการก่อสร ้างขนาดใหญ่จะมีมล ู ค่าโครงการสูงมาก
 ผู ้รับเหมาหลักจะมีความพร ้อมหลายด ้าน โดยเฉพาะด ้านการเงิน

 ผู ้รับเหมาหลักจะเป็ นผู ้รับเหมาทัง ็ ต์สญ


้ โครงการและเป็ นผู ้ทีเ่ ซน ั ญา
ก่อสร ้างกับเจ ้าของงานโดยตรง
 ผู ้รับเหมาชว่ ง (Sub contractor)
 รับงานก่อสร ้างบางสว ่ นจากผู ้รับเหมาหลัก
 ผู ้รับเหมาหลักจะตัดงานทีต ่ วั เองคิดว่าไม่มค ี วามช ำนาญหรือควบคุม
ต ้นทุนไม่ได ้ออกมา
สำน ักงานทีป
่ รึกษา (Consultant)
 ทำหน ้าทีเ่ ปรียบเสมือนตัวแทนเจ ้าของ
 ควบคุมคุณภาพของงานก่อสร ้าง
 เป็ นผู ้มีความชำนาญเฉพาะด ้าน
 Consultant และ Design Firm ควรแยกจากกัน
เพือ่ ป้ องกันการสมยอมกัน
Tradition Project Delivery
• รูปแบบ ทัวไป
่ การว่าจ้างผูอ้ อกแบบและผูก้ ่อสร้างแยกกัน
• อาจมีคอนซัลแทนช์ บริษทั ที่ปรึกษา ควบคุมคุณภาพงาน
• ปัญหาอาจเกิดจากการติดต่อประสานงานระหว่างองค์การ

Owner

Designer
Contractor
(and Consultant)

Subcontractor Subcontractor Subcontractor


Turnkey Project หรือ EPC Project
• ความรับผิดชอบเกือบทัง้ หมด อยู่ที่ผรู้ บั เหมาก่อสร้าง
• ลดต้นทุนการจ้างผูอ้ อกแบบ
• ได้ความรวดเร็ว ปัญหาการประสานงานระหว่างองค์การลดลง
• ปัญหาเรื่องการตรวจสอบคุณภาพงาน อาจจะเพิ่มขึน้
Owner

Contractor

Subcontractor Subcontractor Subcontractor Designer


Owner-Builder Project
• ประหยัดงบประมาณ เนื่ องจากเจ้าของงาน มี In-House
Engineer และ Designer รวมถึงอาจควบคุมงานก่อสร้างเอง
ด้วย
• รวดเร็ว ลดปัญหาการประสานงานระหว่างองค์กร
• บุคลากรของเจ้าของโครงการควรต้องมีความเชี่ยวชาญระดับ
หนึ่ ง หรืออาจใช้กบั โครงการที่ไม่ซบั ซ้อนนัก
Owner

Subcontractor Subcontractor Subcontractor Designer


งานระหว่างการก่อสร้าง
- ให้ข้อมูลตัวอย่างของวัสดุ และสิ่งที่เปลี่ยนแปลง
- จัดทำแผนการใช้เงิน Cash Flow สำหรับเจ้าของงาน
- ดูแลประเด็นทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องในระหว่างก่อสร้าง
- ติดตามการจัดซื้อ วัสดุ ทรัพยากรที่ส ำคัญ มิให้ล่าช้า ขาดแคลน
- ตรวจสอบการตรวจรับงวดงาน
- ควบคุมราคา Cost Control
- ควบคุมเวลา Time Control
- ปรับปรุงแผนงาน วิเคราะห์ความล่าช้าโครงการ วิเคราะห์งบ
ประมาณ
- โครงการ หาแนวทางแก้ไขปัญหา
- ประสานงานเพื่อลดความขัดแย้งระหว่างองค์การ
- CM อาจเป็ น Consultant ผูค้ วบคุมงานด้านเทคนิคด้วยหรือไม่กไ็ ด้
งานในช่วงรับมอบสิ่งก่อสร้าง
- ช่วยดำเนินเรื่องการเปิดใช้อาคาร ใบขออนุญาตต่างๆ
เช่น โรงงาน หรือ การจดทะเบียนอาคารชุด
- ทดสอบเครื่องจักรและสิ่งปลูกสร้าง (Commissioning)
- Performance Guarantee
- Capacity Test
- Efficiency Test
- พิจารณางาน และเงิน งวดสุดท้าย
- จัดทำ Punch List (รายการงานแก้ไข) และเอกสาร
ยืนยัน
- ตรวจสอบเอกสารและแบบก่อสร้างจริง As built
ระยะที่ 3 ระยะดำเนินการ
 บทบาทของวิศวกรในการดำเนินการ
 Product Design Engineer
 Operation/Production/Manufacturing Engineer

 Maintenance Engineer

 Product QA Engineer

 Performance Engineer

 SHE (Safety, Health and Environment)

 Sales Engineer
Product Design Engineer
 A product design engineer is a professional
who uses computer software to create, test and
improve product designs for a range of
consumer goods and manufacturing processes.
These engineers are involved with every step
of the development process from the blueprint
of an idea to production.
 ตัวอย่าง Fujitsu air conditioning R&D, Makita
R&D
Operation Engineer
 An operations engineer maintains a company's
operations system.
 บางครัง้ เรียก Process Engineer
 ควบคุมการเดินเครือ ่ งให ้มีประสท ิ ธิภาพ
(Efficiency) ดี ความเชอ ื่ ถือได ้ (Reliability) ดี มี
ความปลอดภัย และไม่มผ ี ลต่อสงิ่ แวดล ้อม
 ตัวอย่างเชน ่ การเดินเครือ ่ งโรงกลัน่ โรงไฟฟ้ า
Production Engineer
 “วิศวกรฝ่ ายผลิต (Production Engineer)” มีหน ้าทีห ่ ลักๆ เลยก็
คือ คอยควบคุมดูแล “ยอดการผลิต” ให ้ได ้ตามแผนทีว่ างไว ้
คอยปรับปรุงพัฒนาสายการผลิต ลดเวลาการผลิต ลดต ้นทุนการ
ผลิต เพิม
่ ยอดการผลิต หรือ Productivity ตลอดเวลา
 “วิศวกรฝ่ ายผลิต (Production Engineer)” มีหน ้าทีใ่ นการ
ปรับปรุง พัฒนา ออกแบบ อุปกรณ์ เครือ ่ งมือ หรือ เครือ ่ งจักร
ต่างๆ เพือ ิ ธิภาพมากทีส
่ ให ้การผลิตมีประสท ่ ด
ุ มีคณ
ุ ภาพทีด ่ ี ลด
เวลา ลดต ้นทุน เพิม่ Productivity และเพิม
่ กำไร

https://article.in.th/production-engineer-427
้ ฐานของ “วิศวกรฝ่ายผลิต (Production
ความต้องการพืน
Engineer)”

1. ต ้องเรียนจบปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ หรือเกีย ่ วข ้อง


2. ต ้องมีทักษะในการวิเคราะห์ แก ้ไขปั ญหาเป็ นอย่างดี มี
กระบวนการคิดทีเ่ ป็ นหลักการ
3. ต ้องมีทักษะการพูด การนำเสนองาน ทีย ่ อดเยีย ่ ม
4. มีความสามารถในการจัดการ วางแผน ปรับปรุงพัฒนาทีด ่ ี
5. มีความเป็ นผู ้นำสูง (Leadership)
6. สามารถทำงานในสภาวะใต ้แรงกดดันได ้ดี
7. มีความรู ้ทางด ้านซอฟต์แวร์วศ ิ วกรรมทีเ่ กีย
่ วข ้อง

https://article.in.th/production-engineer-427
Maintenance Engineer
1. Facility & Utility Maintenance หรือ หน่วยงานซอ ่ มบำรุงทั่วไป
เชน่ งานซอ ่ มสร ้างหรืองานก่อสร ้าง งานไฟฟ้ า งานระบบน้ำ และงา
นทั่วๆไป
2. Machine Maintenance หรือ หน่วยงานซอ ่ มบำรุงเครือ
่ งจักรใน
กระบวนการผลิต
 Mechanical Maintenance
 Electrical Maintenance
 C&I (Control and Instrument) Maintenance
 Civil Maintenance

https://article.in.th/maintenance-engineer-999
Maintenance Engineer
 1. ทำการวางแผนในการซอ ่ มบำรุง หรือทีเ่ รียกว่า PM
(Preventive Maintenance)
 2. ทำการแก ้ไขปั ญหาเครือ ่ งจักร และอุปกรณ์ เครือ ่ งมือต่างๆ
ตามทีม่ ก
ี ารร ้องขอมา ทีเ่ รียกว่า ใบแจ ้งซอ่ ม หรือ Work Order
 3. จัดทำกิจกรรมต่างๆ เพือ ่ ลดการสูญเสย ี ของเครือ ่ งจักร เครือ
่ ง
มือ และอุปกรณ์ เชน ่ จัดทำ กิจกรรม LEAN, 5S, KAIZEN และ
กิจกรรมอืน่ ๆ เป็ นต ้น
 4. ควบคุมดูแล Spare part หรือ อะไหล่ในการซอ ่ มบำรุง

https://article.in.th/maintenance-engineer-999
Maintenance Engineer
1. ต ้องมีความสามารถพืน ้ ฐานในด ้านชา่ ง เชน
่ สามารถวิเคราะห์ได ้
ว่าถ ้าอะไรเกิดเสย ี หายมาจะทำการซอ ่ มแซมอย่างไร มีทักษะใน
การใชอุ้ ปกรณ์ทางชา่ ง เป็ นตัน
2. ต ้องมีความรู ้พืน ้ ฐานกับสว่ นงานทีร่ ับผิดชอบ เชน่ รับผิดชอบด ้าน
ไฟฟ้ า ก็ควรมีความรู ้ด ้านไฟฟ้ า รับผิดชอบแม่พม ิ พ์ก็ควรมีความรู ้
ด ้านแม่พม ิ พ์ เป็ นต ้น
3. ต ้องมีความรู ้พืน ้ ฐานเกีย
่ วกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทีเ่ กีย่ วกับ
ชา่ ง เชน่ Auto Cad, Solid Work, PLC Program หรือ อืน ่ ๆ เป็ นต ้น

https://article.in.th/maintenance-engineer-999
Maintenance Engineer
4. มีทักษะในการคำนวณ แปลงหน่วย หรือ คณิตศาสตร์ตา่ งๆ ทีใ่ ช ้
ในงานชา่ ง เพราะทุกๆวันต ้องได ้ใชงานการคำนวณต่
้ างๆ
5. มีทักษะในการแก ้ไขปั ญหา ในกรณีทเี่ กิดปั ญหาแบบฉุกเฉิน ต ้อง
มีสติ รู ้ว่าต ้องทำการแก ้ไขปั ญหาอย่างไร
6. สุดท ้ายทีส ่ ำคัญมากๆ คือ ต ้องสามารถทำงานหนักๆได ้ ทำงาน
ภายใต ้ภาวะความกดดันทีส ่ งู เนือ ่ ม
่ งจากว่า หากไม่สามารถซอ
่ งจักรได ้ องค์กรก็ไม่สามารถจะผลิตได ้ องค์กร ก็ไม่สามารถสง่
เครือ
งานขายได ้ และก็จะไม่มก ี ำไร

https://article.in.th/maintenance-engineer-999
QA Engineer
 Quality Assurance (QA) Engineer job description should contain
the following duties and responsibilities:
 Test current products and identifying deficiencies
 Suggest solutions to identified product problems
 Investigate product quality in order to make improvements to
achieve better customer satisfaction
 Plan, create and manage the overall Quality Planning strategy
 Collaborate with the Product Development team to ensure
consistent project execution
 Identify key KPIs for product quality
 Prepare and present reports and metrics to Senior Management

You might also like