You are on page 1of 66

ประเภทงานต่างๆ ที่สถาปนิก

ทำได้ตามข้อบังคับสภา
งานศึกษาโครงการ

งานออกแบบ

ข้อบังคับสภาสถาปนิก งานบริหารและดำเนินการก่อสร้าง
ว่าด้วยหลักเกณฑ์ของผู้ประกอบวิชาชีพ
สถาปัตยกรรมควบคุมแต่ละระดับ พ.ศ.2564
งานตรวจสอบ

งานให้คำปรึกษา
เกิดในช่วงแรกเริ่มของโครงการ (Pre-design)
โดยงานประเภทนี้จะเป็นการศึกษาและบันทึก
ข้อมูล, จัดทำรายงานวิเคราะห์สรุปผลและวาง
แผนงานเพื่อไปสู่ขั้นตอนการออกแบบช่วง
Design ถัดไป ซึ่งขั้นตอนนี้ให้ความสำคัญกับการ
บริการด้าน "ความเป็นไปได้ของโครงการ" หรือการ
จัดทำ Feasibility study

งานศึกษาโครงการ
ตัวอย่างข้อมูลในเชิงปริมาณและงบประมาณ
งานศึกษาโครงการ ในส่วนนี้ประกาศจากสภาสถาปนิกได้กำหนด
ขอบเขตการศึกษางานไว้เหมือนกันคือ
ขอบเขตงาน 1.ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
-สาขาผังเมือง : เพื่อพิจารณาและตัดสินใจในการประสาน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
2.กำหนดความต้องการและข้อจำกัดของโครงการ
-สาขาผังเมือง : จัดทำเป็นโครงการย่อเพื่อการวางกรอบแนว
ความคิดของโครงการ
3.จัดทำสาระสำคัญสำหรับการออกแบบ
4.จัดทำแผนงาน
5.ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่างแผนภาพการจัดทำรายงานศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
งานศึกษาโครงการ สาขาสถาปัตยกรรมหลัก
การศึกษาข้อกฏหมายต่างๆที่เกี่ยวข้องในงาน
ขอบเขตงาน สถาปัตยกรรม
(*เพิ่มเติมในแต่ละสาขา) การศึกษาด้านแนวความคิดในการออกแบบ
การศึกษาและจัดทำผังแม่บท
การศึกษาสภาวะแวดล้อม
การศึกษาวัสดุและอุปกรณ์เฉพาะสำหรับโครงการ
การจัดทำงบประมาณเบื้องต้น
การศึกษาเฉพาะทางอื่นๆ
งานศึกษาโครงการ สาขาสถาปัตยกรรมภายใน
การศึกษาเพื่อกำหนดลักษณะของพื้นที่ในการ
ขอบเขตงาน ออกแบบภายในโครงการ
(*เพิ่มเติมในแต่ละสาขา) วิเคราะห์ข้อมูลในเชิงปริมาณและงบประมาณ
กำหนดแผนแม่บท
สรุป
งานศึกษาโครงการ สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง
การศึกษาเพื่อการออกแบบและวางผังในพื้นที่
ขอบเขตงาน โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับการผังเมืองตามแนว
(*เพิ่มเติมในแต่ละสาขา) นโยบายและกฏหมาย
งานศึกษาโครงการ สาขาภูมิสถาปัตยกรรม
การศึกษาข้อกฏหมาย
ขอบเขตงาน การศึกษาสภาวะแวดล้อม
(*เพิ่มเติมในแต่ละสาขา) การศึกษาวัสดุและพืชพรรณ
การแสดงแนวความคิด
งานศึกษาโครงการ
ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ(Feasbility Study)

คือ การศึกษาข้อมูลความเป็นไปได้ของโครงการ
ก่อนการลงทุนโครงการอสังหาริมทรัพย์แล้วนำ
มาวิเคราะห์เพื่อหาข้อสรุปในเรื่อง
กฏหมายที่บังคับโครงการ
ความคุ้มค่าในการก่อสร้าง(ต้นทุน/ราคา
ขาย)
รูปแบบโครงการที่เหมาะสมกับตลาด
สภาพแวดล้อมของโครงการ

ตัวอย่างการจัดทำรายงานศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
งานศึกษาโครงการ
ความต้องการและข้อจำกัดของโครงการ (Programming)

คือ การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำรายละเอียด
โปรแกรมของโครงการ (Project Programming)
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระบุความต้องการของ
โครงการในแง่ของการใช้งาน รูปแบบของโครงการ
หรือเงื่อนไขแผนงานเบื้องต้น เพื่อระบุแนวทางของ
โครงการไปนำเสนอทีมงาน
งานศึกษาโครงการ จัดทำรายงาน ''เบื้องต้น'' : เสนอแนวทางและวิธี
การตลอดการทำงาน
ขั้นตอนในการดำเนินงาน จัดทำรายงาน ''แสดงการพัฒนา'' : รวบรวม
ข้อมูล
จัดทำร่างรายงานฉบับ ''สมบูรณ์'' : เสนอการ
วิเคราะห์และสรุปผลพร้อมข้อเสนอแนะ
(*ขั้นตอนนี้ในสาขาภูมิสถาปัตยกรรมจะไม่มีการร่างรายงาน)
จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
งานศึกษาโครงการ
ขั้นตอนในการดำเนินงาน

วิเคราะห์
จัดทำแผน จัดทำรายงาน
รวบรวมข้อมูล +
การทำงาน นำเสนอ
สรุปผล

ศึกษาข้อมูลโครงการเบื้องต้น รวบรวมข้อมูลที่มีผลต่อ วิเคราะห์และสรุปผลข้อมูลจากการศึกษา ทำรายงานสรุปผลจาก


เพื่อทำรายงานเสนอวิธีการ โครงการเพื่อการพัฒนา พร้อมข้อเสนอแนะและทางเลือกที่เหมาะ การศึกษารวมไปถึง
และแผนการทำงาน กับจุดประสงค์โครงการ ข้อเสนอแนะและทางเลือก
กำหนดรายละเอียดโครงการและแนวความคิดในการ
ออกแบบและวางผัง
พัฒนารูปแบบการจัดทำแบบและเอกสารการก่อสร้าง
กำหนดรูปแบบและรายการวัสดุก่อสร้าง
ประมาณราคาก่อสร้าง
ตรวจสอบรูปแบบระหว่างการก่อสร้างที่ก่อสร้างใหม่
ดัดแปลงรื้อถอน เคลื่อนย้าย บูรณะ ฟื้ นฟู หรืออนุรักษ์

งานออกแบบ
งานออกแบบ ในส่วนนี้ประกาศจากสภาสถาปนิกได้กำหนด
ขอบเขตงาน ขอบเขตการศึกษางานไว้ร่วมกันคือ
1.ศึกษาข้อมูลโครงการที่จำเป็นต่อการออกแบบ
2.กำหนดรายละเอียดโครงการ
3.กำหนดแนวความคิดที่จะใช้ออกแบบและวางผัง
4.ออกแบบงาน
5.จัดทำแบบและรายการประกอบแบบเพื่อยื่นหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
6.จัดทำแบบและรายการประกอบแบบเพื่อก่อสร้าง
7.ประมาณราคา
8.ตรวจสอบรูปแบบระหว่างการก่อสร้าง
9.ดำเนินการตามข้อตกลงหรือสัญญาและให้ข้อมูลแบบละเอียด
งานออกแบบ สาขาผังเมือง
งานออกแบบและวางผังพื้นที่
ขอบเขตงาน งานออกแบบและวางผังแม่บท
(*เพิ่มเติมในแต่ละสาขา) จัดทำข้อกำหนดเกณฑ์
จัดทำข้อกำหนดทางกฎหมาย
งานออกแบบ สาขาภูมิสถาปัตยกรรม
การวางผังบริเวณ
ขอบเขตงาน ให้คำปรึกษาผู้ให้บริการ
(*เพิ่มเติมในแต่ละสาขา) งานที่ต้องการความรู้ความสามารถเฉพาะ
งานออกแบบ สาขาสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์
ร่วมประสานงานกับสาขาวิชาชีพอื่นๆ
ขอบเขตงาน ตรวจรับงาน
(*เพิ่มเติมในแต่ละสาขา)
งานออกแบบ
การจัดทำแบบและรายการประกอบแบบ

ตัวอย่าง design concept ตัวอย่างรายการประกอบแบบ


งานออกแบบ
การประมาณราคาค่าก่อสร้าง (construction estimate) คือ การคำนวณหางบประมาณค่าก่อสร้างทั้งหมด
ด้วยการอาศัยการถอดแบบ(quantities take-
off) เพื่อหาปริมาณงานก่อสร้างแล้วนำมา
คำนวณหาค่าใช้จ่ายทางตรง (ค่าวัสดุก่อสร้าง
และราคาค่าแรงงาน) และทางอ้อม (ค่าอานวย
การ กาไร ภาษี และอื่นๆ)
การประมาณราคาของทางราชการ หรือ ราคา
กลาง (estimate cost) จึงไม่ใช่ราคามาตรฐาน
(standard cost) แต่เป็นราคาใกล้เคียง
เนื่องจากมีปัจจัยอื่นเกี่ยวข้อง เช่น ถอดแบบ
ปริมาณคลาดเคลื่อน
ตัวอย่างการประมาณราคาค่าก่อสร้าง
สาขาสถาปัตยกรรมหลัก

งานออกแบบ การวางแผนเรื่องการทำงาน พูดคุยกับคนร่วมงาน


ศึกษา และ ทำข้อมูลที่จะใช้ในการออกแบบ
ขั้นตอนการดำเนินการ 2.1) วัตถุประสงค์ เช่น งบประมาณ
2.2) ขอบเขตที่ดิน
2.3) กฎหมายบังคับเบื้องต้น
การดำเนินการ มี 6 ขั้นตอน ดังนี้
3.1) การออกแบบแนวคิดและประโยชน์ของพื้นที่
เช่น การทำ Analysis แนวคิดของอาคาร
การประมาณราคา และ การสรุปแนวความคิด
3.2) พัฒนาแนวความคิด - แบบร่างของการแสดง
ความพันธ์อาคาร/พื้นที่โดยรอบ
3.3) ทำแบบร่างอาคาร
3.4) ทำแบบขออนุญาตก่อสร้าง และ แบบก่อสร้าง
3.5) ติดต่อปรึกษา กับผู้รับเหมา ก่อสร้าง
3.6) ลงพื้นที่ควบคุม/ตรวจสอบ การก่อสร้าง
งานออกแบบ
ขั้นตอนการดำเนินการ

ลง site
แบบก่อสร้าง ติดต่องาน
ออกแบบ พัฒนาแบบ
ทำแบบร่าง คุมงาน
แบบขออนุญาต
แนวคิด อาคาร กับผู้รับเหมา ตรวจสอบ

ก่อสร้าง
ลักษณะการทำแบบร่าง
สาขาสถาปัตยกรรมภายใน

งานออกแบบ งานบริการก่อนออกแบบ
เช่น รวบรวมข้อมูลอาคาร สภาพแวดล้อม สาขาอื่นที่
ขั้นตอนการดำเนินการ เกี่ยวข้อง
การออกแบบเบื้องต้น - แนวคิด
การทำแบบร่าง
พัฒนาแบบ
รายละเอียด
เช่น การวางเฟอร์นิเจอร์/รายการประกอบแบบ
สาขาภูมิสถาปัตยกรรม

งานออกแบบ การวางแผนเรื่องการทำงาน
ศึกษา และ ทำข้อมูลที่จะใช้ในการออกแบบ
ขั้นตอนการดำเนินการ 2.1) วัตถุประสงค์
2.2) ขอบเขตที่ดิน
2.3) กฎหมายบังคับเบื้อต้น
งานบริการช่วงออกแบบ
3.1) การออกแบบแนวคิดและประโยชน์ของพื้นที่
การประมาณราคา และ การสรุปแนวความคิด
3.2) พัฒนาแนวการออกแบบ
3.3) ทำแบบขออนุญาตก่อสร้าง
3.4) ทำแบบก่อสร้าง
3.5) ติดต่อปรึกษา กับผู้ก่อสร้าง
3.6) ตรวจสอบ การก่อสร้าง
สาขาสถาปัตยกรรมผังเมือง

งานออกแบบ ดำเนินงานก่อนการออกแบบ
เช่น ศึกษาค่าระดับของพื้นที่
ขั้นตอนการดำเนินการ งานออกแบบขั้นต้น
เช่น ค้นหาข้อมูล วิเคราะห์แนวคิด
งานออกแบบขั้นพัฒนา
เช่น งบประมาน และ การทำแบบต่างๆ
งานออกแบบขั้นสุดท้าย
เช่น สรุปความคิด ทำผังสรุปงานทั้งหมด
งานบริหารจัดการ
คำนวนราคา และควบคุมค่าก่อสร้าง
ควบคุมการก่อสร้าง
การรับรองผลการทดสอบวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้

งานบริหารและดำเนินการก่อสร้าง
อาชีพที่เกี่ยวข้อง : project manager / construction manager
งานบริหารโครงการ (project management)

ขอบเขตงาน

งานบริหารโครงการ
การกำหนดรายละเอียดของโครงการตามวัตถุประสงค์
การควบคุมและวางแผนงาน
ควบคุมมูลค่าโครงการ / ควบคุมคุณภาพ
ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
กระบวนการให้ความเห็นชอบโดยรัฐ
การจัดซื้อจัดจ้าง
การสรุปความคืบหน้า และรายงานให้ผู้ว่าจ้างอนุมัติ
การประเมินและสรุปความสำเร็จของโครงการ
งานบริหารการก่อสร้าง (construction management)

ขอบเขตงาน

การบริหาร และควบคุมงานก่อสร้าง
การวิเคราะห์ ทดสอบ และติดตามประเมินผล
การตรวจสอบแบบ และเอกสารประกอบการก่อสร้าง
การประเมินหลังการเข้าใช้โครงการ
งานบริหารโครงการ (project management)

ขั้นตอนการดำเนินการช่วงก่อนออกแบบ
ศึกษาโครงการเพื่อกำหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์
ศึกษาที่ตั้ง สภาพแวดล้อม กฏหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับโครงการ
จัดหาและว่าจ้างสถาปนิก ผู้รับเหมา และการจัดซื้อวัสดุบางส่วน

ขั้นตอนการดำเนินการช่วงออกแบบ
ตรวจสอบและควบคุมโครงการต่าง ๆ ให้ดำเนินไปตามแผนและงบประมาน
ขั้นตอนการดำเนินการช่วงก่อนก่อสร้าง
ตรวจสอบแบบก่อสร้างและเอกสารที่จำเป็นเพื่อขออนุญาต
ดำเนินการขออนุญาตก่อสร้าง
จัดทำเอกสารเพื่อประกวดราคา และเสนอผู้รับบริการในการคัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้าง
งานบริหารการก่อสร้าง (construction management)

ขั้นตอนการดำเนินการช่วงการก่อสร้าง
ควบคุมคุณภาพการก่อสร้าง วัสดุอุปกรณ์ ฝีมือแรงงาน และกรรมวิธีการก่อสร้าง
จัดให้มีสถาปนิก วิศวกร และช่างเทคนิค ตามความจำเป็นของสาขางาน
ตรวจสอบปริมาณงานแล้วเสร็จเพื่อเสนออนุมัติชำระเงินค่าก่อสร้าง

ขั้นตอนการดำเนินการช่วงหลังการก่อสร้าง
ตรวจสอบระบบต่าง ๆ ในอาคาร
รวบรวมเอกสารต่าง ๆ อย่างเป็นหมวดหมู่ เช่น แบบก่อสร้าง /แบบรายละเอียดตามการ
ก่อสร้างจริง (As built drawing) /ใบรับรองคุณภาพวัสดุ
ตัวอย่างแบบประเมินราคาในงาน construction management

ที่มา : ผลงานวิชา construction


management and cost control สาขา
สถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะ
สถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
https://issuu.com/punikachaloeyrit
h/docs/cost_estimate_book
ตัวอย่างแบบประเมินราคาในงาน construction management หมวดโครงสร้าง

ที่มา : ผลงานวิชา construction


management and cost control สาขา
สถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะ
สถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
https://issuu.com/punikachaloeyrit
h/docs/cost_estimate_book
ตัวอย่างแบบประเมินราคาในงาน construction management หมวดสถาปัตยกรรม

ที่มา : ผลงานวิชา construction


management and cost control สาขา
สถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะ
สถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
https://issuu.com/punikachaloeyrit
h/docs/cost_estimate_book
ตัวอย่างแบบประเมินราคาในงาน construction management หมวดงานระบบ

ที่มา : ผลงานวิชา construction


management and cost control สาขา
สถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะ
สถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
https://issuu.com/punikachaloeyrit
h/docs/cost_estimate_book
ตัวอย่างแผนจัดการภาคสนามในงาน construction management

ที่มา : ผลงานวิชา construction management and cost control สาขาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
https://issuu.com/punikachaloeyrith/docs/cost_estimate_book
ตัวอย่างแผนจัดการภาคสนาม เรื่องเครื่องกลที่ใช้

ที่มา : ผลงานวิชา construction management and cost control สาขาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
https://issuu.com/punikachaloeyrith/docs/cost_estimate_book
ตัวอย่างแผนจัดการภาคสนาม เรื่องแผนด้านความปลอดภัย

ที่มา : ผลงานวิชา construction management and cost control สาขาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
https://issuu.com/punikachaloeyrith/docs/cost_estimate_book
ตัวอย่างแผนการติดตามความก้าวหน้า

ที่มา : ผลงานวิชา construction management and cost control สาขาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
https://issuu.com/punikachaloeyrith/docs/cost_estimate_book
งานตรวจสอบ
งานตรวจสอบ
หมายถึง งานสำรวจ ค้นคว้า การวิเคราะห์
การทดสอบ รวมทั้งการหาข้อมูล และสถิติต่างๆ
เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ประกอบการตรวจและวินิจฉัย
งานที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรม
งานตรวจสอบ
ผู้ตรวจสอบอาคาร

ต้องเป็น วิศวกร มี ใบประกอบวิชาชีพ ผ่านการอบรมหลักสูตร


หรือ สถาปนิก ผู้ตรวจสอบอาคารไม่
น้อยกว่า 45 ชั่วโมง

จากนั้นจึงจะไปขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบอาคารกับ กรมโยธาธิการและผังเมือง
ได้ และต้องมีการทำประกันวิชาชีพจึงจะเป็นผู้ตรวจสอบอาคารได้โดยสมบูรณ์

งานตรวจสอบ
ประเภทอาคารที่ต้องผ่านการตรวจสอบอาคาร
อาคารสูงตั้งแต่ 23 เมตรขึ้นไป
อาคารขนาดใหญ่พิเศษ (พื้นที่ตั้งแต่ 10,000 ตร.ม. ขึ้นไป)
อาคารชุมนุมคน (พื้นที่ตั้งแต่ 1,000 ตร.ม. ขึ้นไป)
โรงมหรสพ
โรงแรม (ตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรมจำนวน 80 ห้องขึ้นไป)
อาคารชุด
อาคารโรงงาน
อาคารสถานบริการ (พื้นที่ 200 ตร.ม. ขึ้นไป)
ป้าย (สูงตั้งแต่ 15 ม. ขึ้นไปหรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตร.ม. ขึ้นไป)
งานตรวจสอบ
การตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
การตรวจสอบใหญ่
การตรวจสอบประจำปี
งานตรวจสอบ
การตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
การตรวจสอบใหญ่
กระทำทุก 5 ปี กำหนดให้การตรวจสอบครั้งแรก เป็นการตรวจสอบใหญ่
งานตรวจสอบ
การตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
การตรวจสอบประจำปี
เป็นการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารตาม
แผนการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารประจําปี
งานตรวจสอบ
ขอบเขตที่ต้องทำการตรวจสอบ
การตรวจสอบความมั่นคงของอาคาร
การตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณ์ต่างๆ
ของอาคารเพื่ออพยพผู้ใช้อาคาร
การตรวจสอบระบบบริหารจัดการความปลอดภัย
ภายในอาคาร
งานตรวจสอบ
ขอบเขตที่ต้องทำการตรวจสอบ
การตรวจสอบความมั่นคงของอาคาร
(ก) การต่อเติมดัดแปลงปรับปรุงตัวอาคาร
(ข) การเปลี่ยนแปลงน้ําหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร
(ค) การเปลี่ยนสภาพการใช้อาคาร
(ง) การเปลี่ยนแปลงวัสดุก่อสร้างหรือวัสดุตกแต่งอาคาร
(จ) การชํารุดสึกหรอของอาคาร
(ฉ) การวิบัติของโครงสร้างอาคาร
(ช) การทรุดตัวของฐานรากอาคาร
งานตรวจสอบ
ขอบเขตที่ต้องทำการตรวจสอบ
การตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
(ก) ระบบบริการและอำนวยความสะดวก
(ข) ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม
(ค) ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
งานตรวจสอบ
ขอบเขตที่ต้องทำการตรวจสอบ
การตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
(ก) ระบบบริการและอำนวยความสะดวก
(1) ระบบลิฟต์
(2) ระบบบันไดเลื่อน
(3) ระบบไฟฟ้า
(4) ระบบปรับอากาศ
งานตรวจสอบ
ขอบเขตที่ต้องทำการตรวจสอบ
การตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
(ข) ระบบสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม
(1) ระบบประปา
(2) ระบบระบายน้ำเสียและบำบัดน้ำเสีย
(3) ระบบระบายน้ำฝน
(4) ระบบจัดการมูลฝอย
(5) ระบบระบายอากาศ
(6) ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและเสียง
งานตรวจสอบ
ขอบเขตที่ต้องทำการตรวจสอบ
การตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคาร
(ค) ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย
(1) บันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
(2) เครื่องหมายและไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน
(3) ระบบระบายควันและควบคุมการแพร่กระจายควัน
(4) ระบบไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน
(5) ระบบลิฟต์ดับเพลิง
(6) ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
(7) ระบบติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง
(8) ระบบการจ่ายน้ำดับเพลิง
(9) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
(10) ระบบป้องกันฟ้าผ่า
งานตรวจสอบ
ขอบเขตที่ต้องทำการตรวจสอบ
การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณ์ต่างๆ
ของอาคารเพื่ออพยพผู้ใช้อาคาร
(ก) สมรรถนะบันไดหนีไฟและทางหนีไฟ
(ข) สมรรถนะเครื่องหมายและไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน
(ค) สมรรถนะระบบแจ้งสัญญาณเหตุเพลิงไหม้
งานตรวจสอบ
ขอบเขตที่ต้องทำการตรวจสอบ
การตรวจสอบระบบบริหารจัดการความปลอดภัยภายในอาคาร
(ก) แผนการป้องกันและระงับอัคคีภัยภายในอาคาร
(ข) แผนการซ้อมอพยพผู้ใช้อาคาร
(ค) แผนการบริหารจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยภายในอาคาร
(ง) แผนการบริหารจัดการของผู้ตรวจสอบอาคาร
การให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้คำปรึกษาในงานศึกษา
โครงการ งานออกแบบและวางผัง งานบริหาร
โครงการ การก่อสร้าง งานตรวจสอบต่างๆ
โดยเสนอแนวความคิด แนวทางเลือกต่างๆ โดย
แสดงความเห็นจากประสบการณ์ หรือการวิเคราะห์
เชิงคุณภาพและปริมาณ เพื่อประกอบการตัดสินใจ
ให้กับผู้มีอำนาจตัดสินใจ

งานให้คำปรึกษา
1. ขอบเขตของงานให้คำปรึกษา
2. ขั้นตอนการดำเนินงาน

งานให้คำปรึกษา
งานให้คำปรึกษา ในส่วนนี้ประกาศจากสภาสถาปนิกได้กำหนด
ขอบเขตการศึกษางานได้แก่
ขอบเขตงานของงานให้คำปรึกษา
1. ให้คำปรึกษางานศึกษาโครงการ
- สาขาสถาปัตยกรรมหลัก : ให้คำปรึกษางานศึกษาโครงการ
- สาขาภายในและมัณฑนศิลป์ : ให้คำปรึกษาด้านวิชาการและวิชาชีพที่
สอดคล้องกับโครงการ
- สาขาภูมิสถาปัตยกรรม : ให้คำปรึกษาเพื่อจำแนกตามขอบเขตงาน
ขั้นตอนการดำเนินงานของการให้บริการ
ของงานโครงการ
- สาขาผังเมือง : ให้คำปรึกษาเพื่อจำแนกตามขอบเขตงาน ขั้นตอนการ
ดำเนินงานของการให้บริการของงานโครงการ
งานให้คำปรึกษา
ขอบเขตงานของงานให้คำปรึกษา
2. ให้คำปรึกษางานออกแบบ
- สาขาสถาปัตยกรรมหลัก : ให้คำปรึกษางานออกแบบ
- สาขาภายในและมัณฑนศิลป์ : ให้คำปรึกษาข้อมูลมาตรฐานของวัสดุ
อุปกรณ์ที่ใช้ในโครงการ
- สาขาภูมิสถาปัตยกรรม : ให้คำปรึกษาจำแนกตามขอบเขตงาน ขั้น
ตอนของการให้บริการของงานออกแบบ
- สาขาผังเมือง : ให้คำปรึกษาจำแนกตามขอบเขตงาน ขั้นตอนของ
การให้บริการของงานออกแบบ
งานให้คำปรึกษา
ขอบเขตงานของงานให้คำปรึกษา
3. ให้คำปรึกษางานบริหารและการก่อสร้าง
- สาขาสถาปัตยกรรมหลัก : ให้คำปรึกษางานบริหารและการก่อสร้าง
- สาขาภายในและมัณฑนศิลป์ : ให้คำปรึกษากฏหมายและข้อบังคับ
ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
- สาขาภูมิสถาปัตยกรรม : ให้คำปรึกษาจำแนกตามขอบเขตงาน ขั้น
ตอนของการให้บริการของงานออกแบบ
และการก่อสร้าง
- สาขาผังเมือง : ให้คำปรึกษาจำแนกตามขอบเขตงาน ขั้นตอนของ
การให้บริการของงานออกแบบและการก่อสร้าง
งานให้คำปรึกษา
ขอบเขตงานของงานให้คำปรึกษา
4. ให้คำปรึกษางานตรวจสอบ
- สาขาสถาปัตยกรรมหลัก : ให้คำปรึกษางานตรวจสอบ
- สาขาภายในและมัณฑนศิลป์ : ให้คำปรึกษาเรื่องงบประมาณ
- สาขาภูมิสถาปัตยกรรม : ให้คำปรึกษาจำแนกตามขอบเขตงาน ขั้น
ตอนของการให้บริการของงานตรวจสอบ
- สาขาผังเมือง : ให้คำปรึกษาจำแนกตามขอบเขตงาน ขั้นตอนของ
การให้บริการของงานตรวจสอบ
งานให้คำปรึกษา สาขาสถาปัตยกรรมหลัก
1. จัดทำรายงานดำเนินการให้คำปรึกษาแต่ละขั้นตอน
ขั้นตอนการดำเนินงาน ของแต่ละขอบเขตงานและรายละเอียด
2. กำหนดวิธีการให้คำปรึกษาที่สามารถตรวจสอบใน
เชิงคุณภาพและปริมาณ
3. สรุปการให้คำปรึกษา โดยการจัดทำเป็นรายงาน
งานให้คำปรึกษา สาขาออกแบบภายในและมัณฑนศิลป์
1. ให้ข้อเสนอแนะในการทำโครงการช่วงก่อนการ
ขั้นตอนการดำเนินงาน ก่อสร้าง
2. ให้คำแนะนำในช่วงระหว่างการก่อสร้าง
งานให้คำปรึกษา สาขาภูมิสถาปัตยกรรม
1. กำหนดขั้นตอนและวิธีการให้คำปรึกษาที่สามารถ
ขั้นตอนการดำเนินงาน ตรวจสอบคุณภาพและปริมาณงาน
2. จัดทำรายงานการดำเนินการให้คำปรึกษาตามขั้น
ตอนของขอบเขตงานและรายละเอียด
3. สรุปการให้คำปรึกษา โดยการจัดทำเป็นรายงาน
งานให้คำปรึกษา สาขาผังเมือง
1. จัดทำรายงานการดำเนินการให้คำปรึกษาตามขั้น
ขั้นตอนการดำเนินงาน ตอนของแต่ละขอบเขตงานและรายละเอียด
2. กำหนดวิธีการตรวจสอบ
3. สรุปการให้คำปรึกษา โดยการจัดทำเป็นรายงาน
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม

กษิดิ์เดช ตระกูลตั้งมั่น 6134004025 AR404


กัลปชัย เดชวัฒนธรรม 6134005625 AR405
ชงกร เทพรักษ์ 6134008525 AR407
ภานุดนย์ ลือชาพาณิชย์กุล 6134047025 AR439
ชลกร ธีระบุญชัยกุล 6134011325 TA402
ชาดา บัญชาวัฒนะ 6134013625 TA403
THANK YOU

FOR

PARTICIPATION

You might also like